You are on page 1of 48

สรุป

วิชา ความรู้และลักษณะ
การเป็นข้าราชการที่ดี
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่ นดิน พ.ศ. 2534

การบริ หารราชการแผ่นดินได้กาหนดกรอบการบริ หารราชการแผ่นดิน ไว้ 7 ประการ คื อ


ต้อ งเป็ นไปเพื่ อ เพื่ อ ประโยชน์ สุ ข ของประชาชน เกิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ต่ อ ภารกิ จ ของรั ฐ ความมี
ประสิ ทธิภาพ ความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจแห่ งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน การลดภารกิ จและยุบ
เลิ ก หน่ ว ยงานที่ ไ ม่ จ าเป็ น การกระจายภารกิ จ และทรั พ ยากรให้แก่ ทอ้ งถิ่ น การกระจายอานาจ
ตัดสิ นใจ การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมี
ผูร้ ับผิดชอบต่อผลของงาน

1.การจัดระเบียบบริหารราชการส่ วนกลาง
ให้จดั ระเบียบบริ หารราชการส่ วนกลาง ดังนี้
1.1 สานักนายกรัฐมนตรี
1.2 กระทรวง หรื อทบวงซึ่ งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง (สานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะ
เป็ นกระทรวง)
1.3 ทบวง
1.4 กรม
ส่ วนราชการทั้ง 4 ส่ วน เป็ นนิ ติบุคคล โดยการจัดตั้ง การรวม หรื อการโอนส่ วนราชการให้
ตราเป็ นพระราชบัญญัติ แต่ถา้ การรวมหรื อการโอนส่ วนราชการโดยไม่มีการกาหนดตาแหน่ งหรื อ
อัต ราของข้า ราชการหรื อลู ก จ้า งเพิ่ ม ขึ้ น หรื อยุบให้ต ราเป็ นพระราชกฤษฎี ก า และก าหนดให้
สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อนและสานักงบประมาณมีหน้าที่ตรวจสอบดูแลมิ ให้มีการ
กาหนดตาแหน่งหรื ออัตราของข้าราชการหรื อลูกจ้างของส่ วนราชการที่จดั ตั้งขึ้นใหม่จนกว่าจะครบ
กาหนดสามปี หากมีการเปลี่ยนชื่อส่ วนราชการให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
ข้าราชการหรื อลู กจ้างซึ่ งต้องพ้นจากราชการเพราะเหตุยุบตาแหน่ ง อันเนื่ องมาแต่ การยุบ
ส่ วนราชการ ให้ขา้ ราชการหรื อลูกจ้างได้รับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระ
ราชกฤษฎีกา
การแบ่งส่ วนราชการภายในสานักงานรั ฐมนตรี กรม ให้ออกเป็ นกฎกระทรวงที่ตราโดย
รัฐมนตรี เจ้าสังกัดและเสนอความเห็ นร่ วมกับสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อนและสานัก
งบประมาณ

1.1 การจัดระเบียบราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ได้กาหนดโครงสร้างไว้ ดังนี้


1.1.1 สานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ นกระทรวง ส่ วนราชการภายในสานักนายก ฯ มี
ฐานะเป็ นกรม มีนายกรัฐมนตรี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการกาหนดนโยบาย
เป้าหมาย ให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรี แถลงไว้ต่อรัฐสภาหรื อที่คณะรัฐมนตรี กาหนดโดย
จะให้มีรองนายกรั ฐมนตรี และรั ฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วย ทั้งนี้ การสั่งและการ
ปฏิ บตั ิ ราชการของรองนายกรั ฐมนตรี และรั ฐมนตรี ประจาสานักนายกรั ฐมนตรี ให้เป็ นไปตามที่
นายกรั ฐมนตรี มอบหมาย หากไม่มีนายกรั ฐมนตรี ดว้ ยเหตุใดก็ตามให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้
รองนายกรั ฐมนตรี คนใดคนหนึ่ งเป็ นผูป้ ฏิ บตั ิ หน้าที่แทน หรื อรั ฐมนตรี คนใดคนหนึ่ งเป็ นผูป้ ฏิ บตั ิ
หน้าที่แทนก็ได้
นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าที่ กากับโดยทัว่ ไปซึ่ งการบริ หาร
ราชการแผ่นดิน ของ
ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค และส่ วนราชการซึ่ งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่ วนท้องถิ่น /
มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี กากับการบริ หารราชการของกระทรวง หรื อทบวงหนึ่ งหรื อหลาย
กระทรวงหรื อทบวง / บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ ายบริ หารทุกตาแหน่ ง / สั่งให้ขา้ ราชการซึ่ งสังกัด
กระทรวง ทบวง กรมหนึ่ งมาปฏิ บตั ิ ร าชการ ส านักนายกรั ฐมนตรี หรื อย้า ยข้า ราชการซึ่ งสังกัด
กระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง / แต่งตั้งที่ปรึ กษาและ
ข้าราชการการเมืองให้ปฏิบตั ิราชการในสานักนายกรัฐมนตรี / วางระเบียบปฏิบตั ิราชการโดยความ
เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแล้ว
สานักนายกรั ฐมนตรี นอกจากมีนายกรั ฐมนตรี รอง ฯ และรัฐมนตรี ประจาสานัก
นายก ฯ ให้มีปลัดสานักนายกรั ฐมนตรี (ข้าราชการพลเรื อนสามัญ) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ
รองลงมา (ยกเว้นส่ วนราชการที่ข้ ึนตรงนายก ฯ) มีอานาจหน้าที่ รับผิดชอบควบคุมราชการประจาใน
สานักนายกรัฐมนตรี
1.1.3 สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ นกรมขึ้นตรงกับนายก ฯ มีอานาจหน้าที่
เกี่ ยวกับราชการทางการเมื อง มี เลขาธิ การนายกรั ฐมนตรี (ข้าราชการการเมื อง) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชา
ข้าราชการ และให้มีรองเลขาธิ การนายกรั ฐมนตรี ฝ่ายการเมื อง (ข้าราชการการเมื อง) และรอง
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร (ข้าราชการพลเรื อนสามัญ) เป็ นผูช้ ่วย
1.1.4 สานักเลขาธิ การคณะรั ฐมนตรี มี ฐานะเป็ นกรมขึ้ นตรงนายก ฯ มี อานาจหน้าที่
เกี่ ยวกับราชการของคณะรั ฐมนตรี รั ฐสภา และราชการในพระองค์ มี เลขาธิ การคณะรั ฐมนตรี
(ข้าราชการพลเรื อนสามัญ) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ ขึ้ นตรงต่ อนายกรั ฐ มนตรี และให้มี ร อง
เลขาธิการคณะรัฐมนตรี (ข้าราชการพลเรื อนสามัญ) เป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการ

1.2 การจัดระเบียบราชการในกระทรวง
1.2.1 ให้จดั ระเบียบราชการของกระทรวง มี (1) สานักงานรัฐมนตรี (2) สานักงาน
ปลัดกระทรวง (3) กรม
กระทรวงมีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม ส่ วน
การจัดระเบียบราชการในกระทรวงที่เกี่ ยวกับการทหาร และการศึกษา ให้เป็ นไปตามกฎหมายว่า
ด้วยการนั้น
1.2.2 ในกระทรวง มี รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ และ
รับผิดชอบในการกาหนดนโยบาย เป้ าหมาย และผลสัมฤทธิ์ ของงานในกระทรวงให้สอดคล้องกับ
นโยบายที่คณะรั ฐมนตรี แถลงไว้ต่อรั ฐสภาหรื อที่คณะรั ฐมนตรี กาหนด หรื ออนุ มตั ิ โดยจะให้มี
รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงเป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการก็ได้
1.2.3 ในกระทรวงมีปลัดกระทรวงเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการรองจากรัฐมนตรี มี
อานาจหน้าที่รับผิดชอบควบคุ มราชการประจาในกระทรวง ปฏิ บตั ิราชการ กากับการทางานของ
ส่ วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสานการปฏิบตั ิงานของส่ วนราชการในกระทรวงให้
มีเอกภาพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่ งรัดติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการใน
กระทรวง
1.2.4 ภายในกระทรวง ให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่สองส่ วนราชการขึ้นไปอยู่
ภายใต้ “กลุ่ มภารกิ จ”เดี ยวกันก็ได้ มีผูด้ ารงตาแหน่ งไม่ ต่ากว่าอธิ บดี หรื อรองปลัดกระทรวงเป็ น
หัวหน้ากลุ่มภารกิจ ปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงหรื อขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี ตามที่กาหนดโดย
กฎกระทรวง และในกรณี ที่ข้ ึนตรงต่อรัฐมนตรี ตอ้ งรายงานผลการดาเนิ นงานต่อปลัดกระทรวงด้วย และ
ให้อานาจหน้าที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับราชการของส่ วนราชการในกลุ่มภารกิ จเป็ นอานาจหน้าที่
ของหัวหน้ากลุ่มภารกิจ
1.2.5 กระทรวงใดมีภารกิจเพิ่มขึ้น มีความจาเป็ นที่ตอ้ งมีรองปลัดกระทรวงมากกว่าที่
กาหนด ให้ ก.พ. และ ก.พ.ร. ร่ วมกันพิจารณา แล้วนามติดงั กล่าวไปเสนอ ค.ร.ม. (แก้ไขเพิ่มเติมปี 50)
1.2.5 สานักงานรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุ การ
รัฐมนตรี (ข้าราชการการเมือง) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการ
ของสานักงานรัฐมนตรี ข้ ึนตรงต่อรัฐมนตรี ว่าการกระทรวง
1.2.6 ส านักงานปลัด กระทรวงมี อ านาจหน้า ที่ เกี่ ยวกับราชการประจ าทัว่ ไปของ
กระทรวง และราชการที่ คณะรั ฐมนตรี มิ ไ ด้ก าหนดให้เ ป็ นหน้า ที่ ข องกรมใดกรมหนึ่ งในสั งกัด
กระทรวงโดยเฉพาะ รวมทั้งกากับและเร่ งรัดการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการในกระทรวงให้
เป็ นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏิบตั ิราชการของกระทรวง

1.3 การจัดระเบียบราชการในทบวงซึ่งสั งกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรื อกระทรวง


1.3.1 ทบวง คื อ ส่ วนราชการที่ สภาพและปริ มาณของงานไม่ เหมาะสมที่จะ
จัดตั้งเป็ นกระทรวง และจัดตั้งสังกัดสานักนายกรั ฐมนตรี หรื อกระทรวง เพื่อให้มีรัฐมนตรี ว่าการ
ทบวงเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ โครงสร้างและการบริ หารราชการเป็ นไปในลักษณะเดียงกับ
กระทรวงตามข้อ 1.2.1- 1.2.6

1.4 การจัดระเบียบราชการในกรม
1.4.1 กรมแบ่ งส่ วนราชการ เป็ น (1) สานักงานเลขานุ การกรม (2) กองหรื อส่ วน
ราชการที่มีฐานะเทียบกอง หากมีเหตุพิเศษที่จะต้องแบ่งส่ วนราชการภายในกรมเป็ นเขตตามพื้นที่ตอ้ ง
ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
1.4.2 กรมมีอธิบดี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการ
ของกรมให้เกิ ดผลสั มฤทธิ์ และเป็ นไปตามเป้ าหมาย แนวทาง และแผนการปฏิ บตั ิ ราชการของ
กระทรวงและในกรณี ที่มี กฎหมายอื่ นกาหนดอานาจหน้า ที่ของอธิ บดี ไว้เป็ นการเฉพาะ การใช้
อานาจและการปฏิบตั ิหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าวให้คานึ งถึงนโยบายที่คณะรัฐมนตรี แถลงไว้ต่อ
รัฐสภาหรื อที่คณะรัฐมนตรี กาหนดหรื ออนุ มตั ิ และนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบตั ิราชการ
ของกระทรวงด้วย ในกรมหนึ่งจะให้มีรองอธิบดีและช่วยอธิบดีปฏิบตั ิราชการก็ได้
1.4.3 สานักงานเลขานุ การกรม มี อานาจหน้าที่เกี่ ยวกับราชการทัว่ ไปของกรม มี
เลขานุการกรมเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการ
1.4.4 ในการปฏิ บตั ิ ราชการของส่ วนราชการภายในกรม สามารถจัด ตั้ง ”หน่ ว ย
บริ การรู ปแบบพิเศษ” (SDU) โดยหน่วยดังกล่าวจะมีลกั ษณะ ดังนี้ (แก้ไขเพิ่มเติมปี 50)
- เป็ นงานลักษณะบริ การ ในภารกิจของกรม
- ไม่มีฐานะเป็ นส่ วนราชการ แต่อยูใ่ นกากับของส่ วนราชการนั้น
- รายได้ไม่ตอ้ งนาส่ งเงินคลังแผ่นดิน

2. การจัดระเบียบบริหารราชการส่ วนภูมภิ าค
การจัดระเบียบบริ หารราชการส่ วนภูมิภาค ดังนี้
2.1 จังหวัด
2.1.1 จังหวัดมีฐานะเป็ นนิ ติบุคคล โดยการตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ให้
ตราเป็ นพระราชบัญญัติ
2.1.2 คณะกรมการจังหวัด คือ คณะหัวหน้าส่ วนราชการ ซึ่ งทาหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษา
ของผูว้ ่าราชการจังหวัดในการบริ หารราชการแผ่นดินในจังหวัดและให้ความเห็ นชอบในการจัดทา
แผนพัฒนาจังหวัด โดยประกอบด้วย ผูว้ ่าราชการจังหวัดเป็ นประธาน รองผูว้ ่าราชการจังหวัดหนึ่ ง
คนตามที่ผูว้ ่าราชการจังหวัดมอบหมาย ปลัดจังหวัด อัยการจังหวัดซึ่ งเป็ นหัวหน้าที่ทาการอัยการ
จังหวัด ผูบ้ งั คับการตารวจภูธรจังหวัด และหัวหน้าส่ วนราชการประจาจังหวัดจากกระทรวงและ
ทบวงต่างๆ เว้นแต่กระทรวงมหาดไทยซึ่ งประจาอยูใ่ นจังหวัด กระทรวง หรื อทบวงละหนึ่ งคน เป็ น
กรมการจังหวัดและหัวหน้าสานักงานจังหวัดเป็ นกรมการจังหวัดและเลขานุการ แต่หากผูว้ ่าราชการ
จังหวัดเห็ นสมควรจะแต่ งตั้งให้หัวหน้าส่ ว นราชการประจาจังหวัดในราชการส่ วนภู มิภาคเป็ น
กรมการจังหวัดเพิ่มขึ้นก็ได้
2.1.3 ผูว้ ่าราชการจังหวัด ซึ่ งต้องสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีอานาจหน้าที่
(1) บริ ห ารราชการตามกฎหมายและระเบี ยบแบบแผนของทางราชการของ
จังหวัดในราชการส่ วนภูมิภาค ตามที่คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย
และตามคาแนะนา คาชี้แจงของผูต้ รวจราชการกระทรวง
(2) กากับดูแลการปฏิบตั ิราชการอันมิใช่ราชการส่ วนภูมิภาคของข้าราชการซึ่ ง
ประจ าอยู่ในจังหวัด นั้น ยกเว้นข้าราชการทหาร ข้า ราชการฝ่ ายตุ ล าการ ข้า ราชการฝ่ ายอัยการ
ข้าราชการพลเรื อนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดินและข้าราชการครู
(3) ประสานงานและร่ วมมื อกับข้า ราชการทหาร ข้า ราชการฝ่ ายตุ ล าการ
ข้าราชการฝ่ ายอัยการ ข้าราชการพลเรื อนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน
และข้าราชการครู ผูต้ รวจราชการและหัวหน้าส่ วนราชการในระดับเขตหรื อภาค ในการพัฒนา
จังหวัดหรื อป้องปัดภัยพิบตั ิสาธารณะ
(4) เสนองบประมาณต่ อกระทรวงที่ เกี่ ยวข้อง หรื อต่ อส านักงาบประมาณ ตาม
โครงการหรื อแผนพัฒนาจังหวัด และรายงานให้กระทรวงมหาดไทยทราบ
(5) ควบคุมดูแลการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่นในจังหวัดตามกฎหมาย
(6) กากับการปฏิบตั ิหน้าที่ของพนักงานองค์การของรัฐบาลหรื อรัฐวิสาหกิจ
(7) บรรจุ แต่งตั้ง ให้บาเหน็จ และลงโทษข้าราชการส่ วนภูมิภาคในจังหวัดตามที่
ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรื ออธิบดีมอบหมาย
ในกรณี ที่ไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งผูว้ ่าราชการจังหวัด หรื อมีแต่ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้
ให้รองผูว้ ่าราชการจังหวัด ผูช้ ่วยผูว้ ่าราชการจังหวัด ปลัดจังหวัดรักษาราชการแทนตามลาดับ ถ้ามี
รองผูว้ ่า ราชการจังหวัด ผูช้ ่ ว ยผูว้ ่าราชการจังหวัด หรื อปลัดจังหวัดหลายคน ให้ปลัดกระทรวง
แต่งตั้งรอง หรื อผูช้ ่วย หรื อปลัดจังหวัดคนใดคนหนึ่ งแล้วแต่กรณี เป็ นผูร้ ักษาราชการแทน หากไม่
มีขา้ ราชการทั้ง 3 ตาแหน่ งข้างต้นให้หัวหน้าส่ วนราชการประจาจังหวัดซึ่ งมีอาวุโสตามระเบียบ
แบบแผนของทางราชการเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
การยกเว้น จ ากัด หรื อตัด ทอน อ านาจหน้า ที่ ข องผู ว้ ่ า ราชการจัง หวัด หรื อ ให้
ข้าราชการของส่ วนราชการใดมี อานาจหน้าที่ในการบริ หารราชการส่ วนภูมิภาคเช่ นเดียวกับผูว้ ่า
ราชการจังหวัด ต้องตราเป็ นพระราชบัญญัติ
2.1.4 ให้แบ่งส่ วนราชการของจังหวัด เป็ น 2 ส่ วนคือ
(1) สานักงานจังหวัด มี หน้าที่เกี่ ยวกับราชการทัว่ ไปและการวางแผนพัฒนา
จังหวัดของจังหวัดนั้น มีหวั หน้าสานักงานจังหวัดเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ
(๒) ส่ ว นราชการต่ า ง ๆ ซึ่ งกระทรวง ทบวง กรม ได้ต้ งั ขึ้ น มี หั ว หน้า ส่ ว น
ราชการประจาจังหวัดนั้น ๆ เป็ นผูป้ กครองบังคับบัญชารับผิดชอบ
2.1.5 พรบ. ฉบับ นี้แ ก้ ไขเพิ่ม เติ มปี 2550 (ฉบับที่ 7) กาหนดให้จงั หวัด และกลุ่ ม
จังหวัดสามารถของบประมาณรายจ่ายประจาปี 2550 ได้ และกาหนดให้จงั หวัดมีหน้าที่ ดังนี้
(1) นาภารกิจของรัฐและนโยบายไปปฏิบตั ิให้เกิดผลสัมฤทธิ์
(2) ดู แลให้มีการปฏิ บตั ิ และบังคับการให้เป็ นไปตามกฏหมาย เพื่อให้เกิ ด
ความสงบเรี ยบร้อยและเป็ นธรรมในสังคม
(3) จัดให้มีการคุม้ ครอง ป้องกัน ส่ งเสริ ม และช่วยเหลือประชาชนและชุมชน
ที่ดอ้ ยโอกาสเพื่อให้เกิดความเป็ นธรรมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมในการดารงชีวิตอย่างพอเพียง
(4) จัดให้มีการบริ การภาครัฐเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงอย่างเสมอหน้า
รวดเร็ วและมีคุณภาพ
(5) จัด ให้มี การส่ งเสริ ม อุด หนุ น และสนับสนุ นองค์ก รปกครองท้องถิ่ น
เพื่ อ ให้ ส ามารถด าเนิ น การตามอ านาจหน้ า ที่ ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่ น และใหมี ขี ด
ความสามารถพร้อมที่จะดาเนินการตามภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนจากกรทรวง ทบวง กรม
ให้จงั หวัดมี แผนพัฒนาจังหวัด ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิ จและ
สังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด โดยแผนต้องได้จากการ
ปรึ กษาหารื อร่ ว มกันของราชการส่ วนภูมิ ภ าค ส่ วนกลาง ท้องถิ่ น ภาคประชาสั งคม ภาคธุ ร กิ จ
ทั้งหมดในจังหวัด เมื่ อจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดแล้วแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่น และแผนของส่ วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัด ต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว
ให้จงั หวัดจัดให้มี คณะกรรมการธรรมาภิบาล (ก.ธ.จ.) ประกอบด้วยผูต้ รวจสานัก
นายกรั ฐมนตรี เป็ นประธาน ผูแ้ ทนประชาสังคม ผูแ้ ทนสมาชิ กสภาท้องถิ่ นที่ไม่ได้ดารงตาแหน่ ง
ผูบ้ ริ ห าร และผู แ้ ทนภาคู ร กิ จ เอกชน ทาหน้า ที่ ส อดส่ อ งและเสนอแนะการปฏิ บ ัติ ภ ารกิ จ ของ
หน่วยงานภาครัฐในจังหวัดให้ใช้วิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีและเป็ นไปตามาตรา 3/1

2.2 อาเภอ
2.2.1 อาเภอ เป็ นส่ วนราชการรองจากจังหวัด โดยการตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอาเภอ ให้
ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
2.2.2 อาเภอมีหน้าที่ภายในเขตอาเภอ ดังนี้ (แก้ไขเพิ่มเติมปี 50)
(1) หน้าที่ของจังหวัดในขอบเขตอาเภอให้เป็ นหน้าที่ของอาเภอ
(2) ส่ งเสริ ม สนับสนุน และจัดให้มีการบริ การร่ วมกันของหน่วยงานของรัฐใน
ลักษณะศูนย์บริ การร่ วม
(3) ประสานงานกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ นเพื่อร่ วมกับชุ มชนในการ
ดาเนิ นการให้มีแผนชุ มชน เพื่อรองรับการสนับสนุ นจากองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น จังหวัด และ
กระทรวง ทบวง กรม
(4) ไกล่เกลี่ยหรื อจัดให้มีการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทเพื่อให้เกิ ดความสงบ
เรี ยบร้อยในสังคม
2.2.3 นายอาเภอ เป็ น ข้าราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทย ปกครองบังคับบัญชา
ข้าราชการในอาเภอ และรับผิดชอบงานบริ หารราชการของอาเภอ โดยมี ปลัดอาเภอและหัวหน้า
ส่ ว นราชการประจ าอ าเภอซึ่ งกระทรวง ทบวง กรมต่ า ง ๆ ส่ งมาประจ าให้ปฏิ บตั ิ ห น้า ที่ เ ป็ นผู ้
ช่วยเหลือนายอาเภอ
ในกรณี ผดู ้ ารงตาแหน่งนายอาเภอ แต่ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้นายอาเภอแต่งตั้ง
ปลัดอาเภอ หรื อหัวหน้าส่ วนราชการประจาอาเภอผูม้ ีอาวุโสตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ
เป็ นผูร้ ักษาราชการแทน แต่ถา้ กรณี ที่ไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่ งนายอาเภอ ให้ผวู ้ ่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง
ปลัดอาเภอ หรื อหัวหน้าส่ วนราชการประจาอาเภอผูม้ ีอาวุโส ตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ
เป็ นผูร้ ักษาราชการแทน โดยนายอาเภอมีอานาจและหน้าที่ดงั นี้
(1) บริ หารราชการตามกฎหมายและระเบี ยบแบบแผนของทางราชการตามที่
คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย หรื อคาแนะนาและคาชี้แจงของผูว้ ่า
ราชการจังหวัดและผูม้ ีหน้าที่ตรวจการอื่น
(2) ควบคุมดูแลการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่นในอาเภอตามกฎหมาย
(3) ถ้ากฎหมายใดมิ ได้บญั ญัติว่าการปฏิ บตั ิ ตามกฎหมายนั้นเป็ นหน้าที่ของผูใ้ ด
โดยเฉพาะ ให้เป็ นหน้าที่ของนายอาเภอที่จะต้องรักษาการให้เป็ นไปตามกฎหมายนั้นด้วย
2.2.4 ตาม พรบ. นี้ ฉบับที่ 7 กาหนดให้มี ”คณะบุคคลผูท้ าหน้าที่ไกล่เกลี่ยประนอมข้อ
พิพาทของประชาชน” ประกอบด้วย นายอาเภอ หรื อพนักงานอัยการประจาจังหวัด หรื อปลัดอาเภอที่
ได้รับมอบหมายเป็ นประธาน และบุคคลที่คู่กรณี เลือก ข้างละ 1 คน มี หน้าที่ดาเนิ นการไกล่ เกลี่ยข้อ
พาทของคู่ กรณี ที่ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่ งมี ภูมิลาเนาในเขตอาเภอ ในเรื่ องพิพาททางแพ่งเกี่ ยวกับที่ดิน มรดก
และข้อพิพาททางแพ่งที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิ นสองแสนบาท โดยสัญญาประณี ประนอมยอมความการไกล่
เกลี่ ยมี ผลเช่ นเดี ยวกับคาชี้ ขาดของอนุ ญาโตตุ ลาการ หากคู่ กรณี ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่ งไม่ ทาตามสัญญาให้
พนักงานอัยการยืน่ คาร้องบังคับต่อศาล (ให้มีคณะบุคคล ฯ ทัว่ ทั้งประเทศ รวมทั้ง กทม.)
ในความอาญา ที่เกิ ดขึ้นในอาเภอ ที่ยอมความกัน ยกเว้นคดี เกี่ ยวกับเพศ ถ้าผูเ้ สี ยหาย
และผูถ้ ูกกล่าวหายินยอม ให้นายอาเภอ หรื อปลัดอาเภอที่นายอาเภอมอบหมายเป็ นผูไ้ กล่เกลี่ย
2.2.4 อาเภอแบ่งส่ วนราชการ ดังนี้
(1) สานักงานอาเภอ มีหน้าที่ราชการทัว่ ไปของอาเภอนั้น ๆ มีนายอาเภอเป็ น
ผูป้ กครองบังคับบัญชาข้าราชการ
(2) ส่ วนต่าง ๆ ซึ่ งกระทรวง ทบวง กรม ได้ต้ งั ขึ้นในอาเภอนั้น

3. การจัดระเบียบบริหารราชการส่ วนท้ องถิ่น


3.1 มีการจัดระเบียบบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น เป็ น 4 รู ปแบบ ดังนี้
(1) องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
(2) เทศบาล
(3) สุ ขาภิบาล (ปัจจุบนั ไม่มีรูปแบบนี้อีกแล้ว)
(4) ราชการส่ วนท้องถิ่ นอื่นตามที่มีกฎหมายกาหนด (กรุ งเทพมหานคร เมื อง
พัทยา และ อบต.)

4. การปฏิบัติราชการแทน
อานาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุ มตั ิ การปฏิบตั ิราชการ หรื อการดาเนิ นการอื่น ผูด้ ารง
ตาแหน่งอาจมอบอานาจให้ผดู ้ ารงตาแหน่งอื่นปฏิบตั ิราชการแทนได้โดย ตามที่เห็นสมควร ยกเว้น
การมอบอานาจที่กฎหมายกาหนดไว้เป็ นการเฉพาะ ในการมอบอานาจที่กฎหมายกาหนดเป็ นการ
เฉพาะ ให้ผดู ้ ารงตาแหน่งมีอานาจมอบอานาจให้ผวู ้ ่าราชการจังหวัด หรื อผูว้ ่าอาจมอบอานาจต่อไป
ได้ตามที่เจ้าของอานาจกาหนดเงื่อนไข (แก้ไขเพิ่มเติมปี 50)
ต้องจัดทาเป็ นหนังสื อ ให้ผูม้ อบอานาจพิจารราถึ งการอานวยความสะดวกแก่ ประชาชน
ความรวดเร็ วในการปฏิบตั ิราชการ การกระจายอานาจความรับผิด ชอบตามสภาพของตาแหน่ งของ
ผูร้ ับมอบอานาจ เมื่อได้มอบอานาจแล้ว ผูม้ อบอานาจมีหน้าที่กากับดูแลและติดตามผลการปฏิบตั ิ
ราชการของผุร้ ับมอบอานาจ และมีอานาจแก้ไขหรื อแนะนาการปฏิบตั ิราชการได้

5. การรักษาราชการแทน
การรักษาราชการแทน คือ การสัง่ ให้ขา้ ราชการของผูด้ ารงตาแหน่งที่ต่ากว่ามาปฏิบตั ิหน้าที่
แทนตาแหน่งที่ว่างหรื อผูด้ ารงตาแหน่งไม่สามารถปฏิบตั ิงานได้ โดยมีอานาจเทียบเท่าตาแหน่งนั้น
ทุกประการ ไม่ว่าจะเป็ นการอานาจที่รับมอบมาจากตาแหน่งอื่น หรื อการเป็ นกรรมการโดยตาแหน่ง
โดยมีหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้
5.1 กรณี ที่ไม่ มีนายกรั ฐมนตรี หรื อไม่ อาจปฏิ บตั ิ ราชการได้ ให้รองนายกรั ฐมนตรี หรื อ
รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่ งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทนตามลาดับ หากมีผดู ้ ารงตาแหน่ งรอง ฯ หรื อ รมต.
หลายคนให้คณะรัฐมนตรี เลือกคนใดคนหนึ่ง
5.2 ในกรณี ไมมีรัฐมนตรี ว่าการกระทรวง หรื อไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้รัฐมนตรี ช่วยว่า
การกระทรวงนั้นเป็ นผูร้ ั ก ษาราชการแทนอันดับแรก หากไม่ มี ใ ห้ค ณะรั ฐ มนตรี ม อบหมายให้
รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
5.3 ในกรณี ที่ไม่ มีเลขานุ การรั ฐมนตรี หรื อไม่ อาจปฏิ บตั ิ ราชการได้ ให้ผูช้ ่ วยเลขานุ การ
รั ฐมนตรี เป็ นผูร้ ั กษาราชการแทน ถ้าไม่ มี ผูช้ ่ วยเลขานุ การรั ฐมนตรี ให้รัฐมนตรี ว่ าการกระทรวง
แต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงนั้นเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
5.4 ในกรณี ที่ไม่ มีปลัดกระทรวง หรื อไม่ อาจปฏิ บตั ิ ราชการได้ ให้รองปลัดกระทรวงเป็ น
ผูร้ ั ก ษาราชการแทน ถ้ามี ร องปลัด กระทรวงหลายคน ให้รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงแต่ งตั้งรอง
ปลัดกระทรวงคนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่ งรองปลัดกระทรวง ให้
แต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงที่ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
5.5 ในกรณี ที่ไม่มีอธิบดีหรื อไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้รองอธิ บดีเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ถ้ามีรองอธิ บดีหลายคน ให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้งรองอธิ บดีคนใดคนหนึ่ งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ถ้าไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่ งรองอธิ บดีให้แต่งตั้งข้าราชการในกรมซึ่ งดารงตาแหน่ งเทียบเท่ารองอธิ บดี
รักษาราชการแทน ทั้งนี้รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเห็นสมควรจะแต่งตั้งข้าราชการคนใดคนหนึ่ งซึ่ ง
ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่ารองอธิบดีหรื อเทียบเท่า เป็ นผูร้ ักษาราชการแทนก็ได้

6. การบริหารราชการในต่ างประเทศ
กฎหมายได้วางกรอบการโครงสร้ าง และวิธีการปฏิ บตั ิ งานในต่างประเทศ โดยให้มีคณะ
ผูแ้ ทน ทาหน้าที่ในการรั บนโยบายจากรั ฐบาลมาปฏิ บตั ิ มี หัวหน้าคณะผูแ้ ทนเป็ นผู ้ บงั คับบัญชา
สู งสุ ดใสถานทูต หรื อสถานกงสุ ล รายละเอียด ดังนี้
6.1 คณะผูแ้ ทน คือ บรรดาข้าราชการฝ่ ายพลเรื อน หรื อข้าราชการฝ่ ายทหารประจาการใน
ต่างประเทศซึ่ งได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุ ลใหญ่ สถานกงสุ ล
สถานรองกงสุ ล ส่ วนราชการของกระทรวงการต่ างประเทศซึ่ งเรี ยกชื่ อเป็ นอย่างอื่นและปฏิ บตั ิ
หน้าที่เช่ นเดี ยวกับสถานเอกอัครราชทูตหรื อสถานกงสุ ลใหญ่ และคณะผูแ้ ทนถาวรไทยประจ า
องค์การระหว่างประเทศ โดยให้ขา้ ราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศเป็ นหัวหน้าคณะผูแ้ ทน
6.2 หัวหน้า คณะผูแ้ ทนเป็ นผูร้ ั บนโยบายและคาสั่ งจากนายกรั ฐ มนตรี ใ นฐานะหัว หน้า
รั ฐ บาล คณะรั ฐ มนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิ บตั ิ การให้เหมาะสมกับการปฏิ บตั ิ ราชการใน
ต่างประเทศ และเป็ นหัวหน้าบังคับบัญชาบุคคลในคณะผูแ้ ทน
6.3 รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง รั ฐ มนตรี ว่ า การทบวง ปลั ด ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี
ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิ บดี หรื อ ผูด้ ารงตาแหน่ งเทีย บเท่า อาจมอบอานาจให้หัว หน้าคณะ
ผูแ้ ทนปฏิบตั ิราชการแทนได้

7. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
7.1 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เรี ยกย่อว่า “ก.พ.ร.” ประกอบด้วยนายกรั ฐมนตรี
หรื อรองนายกรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมนตรี มอบหมายเป็ นประธาน รัฐมนตรี หนึ่ งคนที่นายกรัฐ มนตรี
กาหนดเป็ นรองประธาน ผูซ้ ่ ึ งคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่ องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
มอบหมายหนึ่งคน และกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิไม่เกิ นสิ บคน (วาระ 4 ปี ไม่เกิ นสองวาระติดต่อกัน)
ซึ่ งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูม้ ีความรู ้ความเชี่ยวชาญในทางด้านนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์
การบริ หารรัฐกิจ การบริ หารธุรกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยาองค์การ และสังคมวิทยาอย่างน้อยด้าน
ละหนึ่ งคน โดยคณะรัฐมนตรี อาจกาหนดให้กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิอย่างน้อยสามคนแต่ไม่เกิ นห้า
คนต้องทางานเต็มเวลา เลขาธิ การ ก.พ.ร. เป็ นกรรมการและเลขานุ การ ก.พ.ร. มีอานาจหน้าที่
ดังต่อไปนี้
7.1.1 เสนอแนะ ให้คาปรึ กษา เสนอความเห็นต่อในการตราพระราชกฤษฎีกาและกฎ
ตีความและวินิจฉัยปั ญหา รายงานเมื่ อมี การขัดมาตรา ๓/๑ แก่ คณะรั ฐมนตรี เกี่ ยวกับการพัฒนา
ระบบราชการ และงานของรัฐอย่างอื่น ซึ่ งรวมถึงโครงสร้างระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบ
บุคลากร มาตรฐานทางคุณธรรมและจริ ยธรรม ค่าตอบแทน และวิธีปฏิบตั ิราชการอื่น
7.1.2 เสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดตั้ง การ
รวม การโอน การยุบเลิก การกาหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกาหนดอานาจหน้าที่ และการแบ่งส่ วน
ราชการภายในของส่ วนราชการ
7.1.3 ติดตาม ประเมินผล และแนะนาเพื่อให้มีการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ี และ
รายงานต่อคณะรัฐมนตรี พร้อมทั้งข้อเสนอแนะ
7.1.4 จัดทารายงานประจาปี เกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราชการและงานของรัฐ
อย่างอื่นเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อสภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒิสภา
7.2 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ รับผิดชอบงานเลขานุการของ ก.พ.ร. โดย
เป็ นส่ วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ข้ ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี โดยมีเลขาธิ การ ก.พ.ร. ซึ่ งมีฐานะ
เป็ นอธิบดีเป็ นผูบ้ งั คับบัญชา

8. ข้ อกาหนดอื่น ๆ ทีค่ วรรู้


8.1 “ทบวงการเมือง” ที่ปรากฏในกฎหมายอื่น หมายถึง กระทรวง ทบวง กรม (ความเป็ นนิ ติ
บุคคล)
8.2 พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ประกาศใช้เมื่อ วันที่ ๒๑
สิ งหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ เป็ นปี ที่ ๔๖ ในรัชกาลปัจจุบนั อานันท์ ปันยารชุน เป็ นผูร้ ับสนองพระบรม
ราชโองการ
สรุปสาระสาคัญ

พระราชกฤษฎีกา ว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารบ้ านเมืองทีด่ ี พ.ศ. 2546และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม ปี


2562

หมวด 1 การบริ หารบ้านเมืองที่ดี

มาตรา 6 พระราชกฤษฎีกา มีเป้าหมาย ดังนี้

1) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน

2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ

3) มีประสิ ทธิภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

4) ไม่มีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจาเป็ น

5) มีการปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการให้ทนั ต่อเหตุการณ์

6) ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ

7) มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสม่าเสมอ

หมวด 2 การบริ หารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน

หมายถึง การปฏิบตั ิราชการที่มีเป้าหมายเพือ่ เกิดความผาสุ ขและความเป็ นอยูข่ องประชาชนมีความ


สงบและปลอดภัยของสังคมส่ วนรวมตลอดจนประโยชน์สูงสุ ดของประเทศ

มาตรา 8 กาหนดให้มีแนวทางบริ หารราชการ ดังนี้

1) กาหนดภารกิจของส่ วนราชการต้องทาไปเพื่อความผาสุ ขของประชาชนและ


สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่ งรัฐ และแนวนโยบายของรัฐบาล

2) ต้องปฏิบตั ิไปโดยความซื่ อสัตย์สุจริ ต สามารถตรวจสอบได้

3) ก่อนเริ่ มดาเนินการ ต้องศึกษาวิเคราะห์ผลดี และผลเสี ยให้ครบถ้วน

ด้วยความโปร่ งใส ภารกิจใดมีผลกระทบต่อประชาชน ตั้งรับฟังความคิดเห็นของ

ประชาชนตระหนักถึงประโยชน์ส่วนรวมที่จะได้รับ

4) เป็ นหน้าที่ตอ้ งรับฟังความคิดเห็น ความพึงพอใจของสังคม และประชาชน

ที่ได้รับบริ การเพื่อนามาปรับปรุ งเสนอแนะผูม้ ีอานาจปรับปรุ งให้เหมาะสม

5) พบปัญหาอุปสรรคการดาเนินการ ให้รีบแก้ไขปัญหาอุปสรรคโดยเร็ ว หากพบว่า

ปัญหาอุปสรรคเกิดจากส่ วนราชการ ระเบียบ ข้อบังคับ รี บแจ้งให้ส่วนราชการเกี่ยวข้อง

ทราบเพื่อปรับปรุ งโดยเร็ ว และแจ้งให้ ก.พ.ร.ทราบด้วย

หมวด 3 การบริ หารราชการเพื่อให้เกิดผลผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ

มาตรา 9 เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐให้ส่วนราชการปฏิบตั ิ ดังนี้

1) ก่อนดาเนินการ ต้องจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการไว้เป็ นการล่วงหน้า

2) ในแผนปฏิบตั ิราชการ ต้องมีรายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลาและงบประมาณ

ที่ตอ้ งใช้เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วดั ความสาเร็ จ

3) ต้องจัดให้มีการติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิตามแผนปฏิบตั ิราชการ

4) การปฏิบตั ิตามแผนปฏิบตั ิราชการเกิดผลกระทบต่อประชาชน ต้องรี บแก้ไขหรื อ


บรรเทาหรื อเปลี่ยนแปลงแผนปฏิบตั ิราชการให้เหมาะสม

มาตรา 10 ภารกิจใดมีความเกี่ยวข้องกับหลายส่ วนราชการ ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกาหนด


แนวปฏิบตั ิราชการ เพื่อให้เกิดการบริ หารราชการบูรณาการพร้อมกัน โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อ
ภารกิจของรัฐ

มาตรา 11 การพัฒนาความรู ้ในส่ วนราชการ ที่มีลกั ษณะเป็ นองค์แห่ งการเรี ยนรู ้อย่างสม่าเสมอ
เพื่อนาความรู ้มาประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ ว ส่ งเสริ มพัฒนาความรู ้ความสามารถ สร้าง
วิสัยทัศน์และเปลี่ยนทัศนคติ ให้มีการเรี ยนรู ้ร่วมกัน

มาตรา 16 ให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการนั้น โดยจัดทาเป็ นแผน 4 ปี


สอดคล้องกับแผนบริ หารราชการแผ่นดิน แต่ละปี งบประมาณให้จดั ทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี โดย
ระบุสาระสาคัญเกี่ยวกับนโยบายการปฏิบตั ิราชการ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน รวมทั้ง
ประมาณการรายได้รายจ่ายเมื่อสิ้ นปี งบประมาณให้จดั ทารายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบตั ิ
ราชการ

หมวด 4 การบริ หารราชการอย่างมีประสิ ทธิภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

มาตรา 20 ให้ส่วนราชการกาหนดเป้าหมาย แผนการทางาน ระยะเวลาแล้วเสร็ จของงานหรื อ


โครงการและงบประมาณที่จะต้องใช้ และต้องเผยแพร่ ให้ขา้ ราชการและประชาชนทราบ

มาตรา 23 การจัดซื้ อหรื อจัดจ้าง ให้ดาเนินการโดยเปิ ดเผยและเที่ยงธรรม พิจารณาถึงประโยชน์


และผลเสี ยทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค์ที่จะใช้ ราคาและประโยชน์ระยะยาว
ของส่ วนราชการที่จะได้รับประกอบกัน
ในกรณี ที่วตั ถุประสงค์ในการใช้เป็ นเหตุตอ้ งคานึงถึงคุณภาพ การดูแลรักษาเป็ นสาคัญ ให้ สามารถ
ทาได้โดยไม่ตอ้ งถือราคาต่าสุ ดในการเสนอซื้ อหรื อจ้างเสมอไป

มาตรา 24 ภารกิจใด หากจาเป็ นต้องได้รับอนุญาต อนุมตั ิ หรื อเห็นชอบจากส่ วนราชการอื่น

ให้ส่วนราชการนั้นแจ้งผลการพิจารณาให้ทราบภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้รับคาขอ

มาตรา 25 ในการวินิจฉัยชี้ขาดปัญหา ให้ต้ งั คณะกรรมการ หากผูแ้ ทนส่ วนราชการนั้นมีความ

คิดเห็นแตกต่างกันให้บนั ทึกความเห็นของฝ่ ายน้อยให้ปรากฏในเรื่ องนั้น ห้ามมิให้ใช้บงั คับการ


วินิจฉัยในปัญหาด้านกฎหมาย

มาตรา 25 ในการวินิจฉัยชี้ขาดปัญหา ให้ต้ งั คณะกรรมการ หากผูแ้ ทนส่ วนราชการนั้นมีความ

คิดเห็นแตกต่างกันให้บนั ทึกความเห็นของฝ่ ายน้อยให้ปรากฏในเรื่ องนั้น ห้ามมิให้ใช้บงั คับการ


วินิจฉัยในปัญหาด้านกฎหมาย

มาตรา 26 การสั่งราชการให้ทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เว้นแต่ผบู ้ งั คับบัญชามีความจาเป็ นไม่อาจ สั่ง


ได้ ให้ผรู ้ ับคาสั่งบันทึกไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร และเมื่อปฏิบตั ิแล้วให้บนั ทึกรายงานอ้างคาสั่งด้วย
วาจาไว้ดว้ ย

หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน

มาตรา 27 ให้กระจายอานาจการบริ หารตัดสิ นใจให้แก่ผดู ้ ารงตาแหน่งรับผิดชอบเรื่ องนั้น ๆ

โดยตรง ต้องมุ่งผลให้เกิดความสะดวกรวดเร็ วในการบริ การประชาชน

ลดขั้นตอน กลัน่ กรองงาน หากใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรื อโทรคมนาคมจะเป็ นการเพิ่ม


ประสิ ทธิภาพและประหยัดค่าใช้จ่าย
มาตรา 28 ให้ส่วนราชการจัดทาแผนภูมิข้นั ตอนและระยะเวลาการดาเนินการ รวมทั้งรายละเอียด
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยเปิ ดเผย ณ ที่ทาการเพือ่ ให้ประชาชนหรื อผูเ้ กี่ยวข้องเข้าตรวจดูได้

มาตรา 30 ให้มีศูนย์บริ การประชาชนรวมทั้งประจาจังหวัด อาเภอ

หมวด 6 การปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการ

มาตรา 33 ส่ วนราชการต้องจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน มีความจาเป็ นหรื อสมควร

ดาเนินการต่อไป โดยคานึงถึงแผนการบริ หารราชการแผ่นดิน นโยบาย คาสั่ง

งบประมาณ ความคุม้ ค่าของภารกิจ ทั้งนี้ ก.พ.ร.จะกาหนดหากมีการปรับปรุ ง

เปลี่ยนแปลงต้องให้คณะรัฐมนตรี เห็นชอบ

มาตรา 36 ในกรณี ที่สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเห็นว่ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับหรื อ


ประกาศ ไม่สอดคล้องหรื อเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบนั ไม่เอื้อต่อการพัฒนาเป็ นอุปสรรคต่อ
การดารงชีวิตของประชาชน ให้แนะนาส่ วนราชการนั้นดาเนินการแก้ไขโดยเร็ว

หมวด 7 การอานวยความสะดวกและการสนองความต้องการของประชาชน

มาตรา 37 ให้ส่วนราชการกาหนดระยะเวลาแล้วเสร็ จของงานแต่ละงานและประกาศให้ประชาชน


และข้าราชการทราบเป็ นการทัว่ ไป ให้เป็ นหน้าที่ของผูบ้ งั คับบัญชาต้องตรวจสอบให้การปฏิบตั ิงาน
แล้วเสร็ จตามกาหนดไว้

มาตรา 38 เมื่อส่ วนราชการได้รับติดต่อสอบถามเป็ นหนังสื อจากประชาชนหรื อส่ วนราชการ


ด้วยกัน ต้องตอบคาถามหรื อแจ้งดาเนินการให้ทราบภายใน 15 วัน หรื อตามกาหนดไว้ในมาตรา 37
มาตรา 39 ให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบเครื อข่ายสารสนเทศของส่ วนราชการเพื่ออานวยความ
สะดวกแก่ประชาชน สามารถติดต่อสอบถามหรื อขอข้อมูลหรื อแสดงความคิดเห็น

มาตรา 41 เมื่อได้รับคาร้องเรี ยน เสนอแนะ หรื อความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิหน้าที่ พบปัญหา


อุปสรรค ปัญหาจากบุคคล เป็ นหน้าที่ของส่ วนราชการนั้นต้องพิจารณาดาเนินการปรับปรุ ง แล้ว
แจ้งให้บุคคลที่ร้องเรี ยนทราบด้วยหากสามารถติดต่อได้ หรื อแจ้งผ่านระบบเครื อข่ายสารสนเทศ

มาตรา 44 ต้องจัดให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณรายจ่ายแต่ละปี รายการเกี่ยวกับการ


จัดซื้ อ/จัดจ้าง และสัญญาใดที่มีการอนุมตั ิให้จดั ซื้ อ/จัดจ้าง ให้ประชาชนสามารถขอดู /ตรวจสอบได้
ณ ที่ทาการหรื อระบบเครื อข่ายสารสนเทศ ทั้งนี้ตอ้ งไม่เกิดความได้ เปรี ยบเสี ยเปรี ยบแก่บุคคล
เกี่ยวข้อง หรื อกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อห้าม/ตกลงไว้ในสัญญาต้องได้รับความคุม้ ครอง

หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ

มาตรา 45 ให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผูป้ ระเมินอิสระดาเนินการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ


ของส่ วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริ การ ความพึงพอใจของประชาชน
ผูร้ ับบริ การ ความคุม้ ค่าในภารกิจ

มาตรา 46 จัดให้มีการประเมินภาพรวมของผูบ้ งั คับบัญชาแต่ละระดับหรื อหน่วยงานในส่ วน


ราชการก็ได้ ทั้งนี้ ต้องกระทาเป็ นความลับและเป็ นประโยชน์แห่ งความสามัคคีของข้าราชการ

มาตรา 47 การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของข้าราชการ เพื่อประโยชน์ในการบริ หารงานบุคคลให้


คานึงถึงผลการปฏิบตั ิงานเฉพาะตัวของข้าราชการผูน้ ้ นั ในตาแหน่งที่ปฏิบตั ิ ประโยชน์และ
ผลสัมฤทธิ์ที่หน่วยงานผูน้ ้ นั สังกัดปฏิบตั ิงาน
มาตรา 48 ส่ วนราชการใดดาเนินการให้บริ การที่มีคุณภาพและเป็ นไปตามเป้าหมาย รวมทั้งความ
พึงพอใจแก่ประชาชน ให้ ก.พ.ร.เสนอคณะรัฐมนตรี จดั สรรเงินเพิ่มพิเศษเป็ นบาเหน็จความชอบ
หรื อนาไปใช้ปรับปรุ งการปฏิบตั ิงาน

มาตรา 49 ส่ วนราชการใดได้ดาเนินงานไปตามเป้าหมาย สามารถเพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์ โดย


ไม่เพิ่มค่าใช้จ่ายและคุม้ ค่าภารกิจ สามารถลดค่าใช้จ่ายต่อหน่วยตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ.ร.กาหนด ให้
ก.พ.ร.เสนอคณะรัฐมนตรี จัดสรรเงินรางวัลการเพิม่ ประสิ ทธิภาพให้แก่ส่วนราชการนั้น

และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม ปี พ.ศ. 2562

การจัดทาแผนปฏิบัติราชการ

ปรับการจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการให้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ชาติและแผน


อื่นที่เกี่ยวข้อง

เปลี่ยนจากการจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการระยะ 4 ปี เป็ นการจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการระยะ 5 ปี โดย


จัดทาแผนระยะที่ 1 ในห้วงเวลา 3 ปี แรก คือ ปี งบประมาณ พ.ศ.2563 - ปี งบประมาณ พ.ศ.2565

ปรับโครงสร้ างส่ วนราชการ

ให้ส่วนราชการทบทวนภารกิจของหน่วยงานว่าภารกิจใดมีความจาเป็ น หรื อ สมควรยกเลิก


ปรับปรุ ง หรื อเปลี่ยนแปลงการดาเนินการ (มาตรา 7)

ห้ามจัดตั้งส่ วนราชการที่มีภารกิจหรื อหน้าที่เหมือนกันส่ วนราชการที่ยบุ เลิก โอน หรื อรวมไปแล้ว


ยกเว้นเพื่อรักษาความมัน่ คงของรัฐหรื อเศรษฐกิจของประเทศ หรื อการรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม
ของประชาชน และต้องได้รับความเห็นชอบจาก ก.พ.ร. จึงจะจัดตั้งได้ (มาตรา 8)
การยกระดับการทางานของภาครัฐโดยการเชื่ อมโยงแพลตฟอร์ มดิจทิ ัลกลาง

การให้บริ การประชาชนและการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานราชการด้วยกันต้องกระทา
โดยแพลตฟอร์ มดิจิทลั กลางที่สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทลั (องค์การมหาชน) จัดทาขึ้น (มาตรา 6)

สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทลั (องค์การมหาชน) จัดทาแพลตฟอร์ มดิจิทลั กลางภายใน 90 วัน


หลังจากนั้นหัวหน้าส่ วนราชการจะต้องดาเนินการให้มีการใช้แพลตฟอร์ มดิจิทลั กลางให้แล้วเสร็ จ
ภายใน 2 ปี (มาตรา 10) เพื่อสามารถติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยราชการและให้บริ การ
ประชาชนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

1. การพิจารณาของอธิดีกรมการปกครอง ต้องอยูภ่ ายใต้บงั คับบัญชาของ พ.ร.บ.วิธีปฏิบตั ิราชการ


ทางปกครอง
2. การเตรี ยมการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคาสั่งทางปกครอง , การดาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัด
ให้มีคาสั่งทางปกครอง , การเตรี ยมการของเจ้าหน้าที่เพื่อออกกฎ, การดาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อ
ออกกฎ คือวิธีปฏิบตั ิราชการทางการปกครอง
3. การออกระเบียบ ไม่ใช่คาสั่งทางปกครอง
4. การประกาศเตือน ไม่ใช่คาสัง่ ทางปกครอง
5. พระราชบัญญัติไม่ใช่กฎ
6. การเตรี ยมการและดาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคาสังทางปกครอง คือการพิจารณาทาง
ปกครอง
7. เจ้าหน้าที่จะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้ถา้ คู่หมั้นหรื อคู่สมรสของคู่กรณี , ญาติของคู่กรณี
, นายจ้างของคู่กรณี หรื อเป็ นคู่กรณี เองไม่ได้
8. ถ้ากรณี เคยเป็ นลูกจ้างของคู่กรณี เจ้าหน้าที่ทาการพิจารณาทางปกครองได้
9. คู่กรณี ไม่มีสิทธินาทนายความของตนเข้ามาในการพิจารณาทางปกครองได้
10. คู่กรณี ไม่มีสิทธิแต่งตั้งบุคคลหนึ่งบุคคลใดแทนตนในการพิจารณาทางปกครอง
11. เจ้าหน้าที่ไม่มีสิทธิหา้ มการปฏิบตั ิหน้าที่ของผูแ้ ทนของคู่กรณี ที่ไม่ทราบข้อเท็จจริ งในเรื่ องที่
พิจารณาทางปกครองอย่างพียงพอ
12. เมื่อมีการแต่งตั้งตัวแทนร่ วมของคู่กรณี ๆ จะยกเลิกการให้ตวั แทนร่ วมดาเนินการแทนตนมิได้
13. ในการพิจารณาทางปกครองเจ้าหน้าที่จะต้อง แจ้งสิ ทธิและหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาทาง
ปกครองให้คู่กรณี ทราบ , ให้คูก้ รณี มีโอกาสที่จะได้รับทราบข้อเท็จจริ งอย่างเพียงพอ , ให้คู่กรณี มี
โอกาสได้โต้แย้งและแสดงหลักฐานของตนเอง , ไม่อนุญาตให้ตรวจดูเอกสารหรื อพยานหลักฐาน
ได้ ในกรณี ที่ตอ้ งรักษาไว้เป็ นความลับ
14. คาสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณ์หรื อโต้แย้งต่อไปได้ ให้ระบุกรณี ที่อาจอุทธรณ์หรื อโต้แย้งไว้
ในคาสั่งด้วย
15. คาสั่งทางปกครองที่ทาเป็ นหนังสื อ ต้องจัดให้มีเหตุผลไว้ดว้ ย
16. คาสั่งทางปกครองที่มีขอ้ ผิดพลาดเล็กน้อย เจ้าหน้าที่อาจแก้ไขเพิ่มเติมได้เสมอ
17. คาสั่งทางปกครองที่ตอ้ งให้เจ้าหน้าที่อื่นให้ความเห็นชอบก่อน จะไม่เสี ยไปถ้าเจ้าหน้าที่น้ นั ได้
ให้ความเห็นชอบในภายหลังถือว่าใช้ได้

18. การอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองที่ไม่ออกโดยรัฐมนตรี ต้องยืน่ ต่อเจ้าหน้าที่ผทู ้ าคาสั่งทางปกครอง


ภายใน 15 วัน
19. คาสั่งของรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทยไม่ตอ้ งอุทธรณ์ภายในฝ่ ายปกครอง คู่กรณี สามารถ
ฟ้องต่อศาลปกครองได้
20. คาสั่งของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท ไม่สามารถอุทธรณ์ได้แต่สามารถฟ้องศาลปกครองได้
21. หากได้รับการวินิจฉัยความผิดถึงที่สุด และเห็นว่าคาสั่งทางปกครองที่ได้รับไม่เป็ นธรรม
สามารถฟ้องศาลปกครองภายใน 90 วันนับแต่วนั รับทราบคาสั่ง
22. เจ้าหน้าที่ตอ้ งพิจารณาคาอุทธรณ์ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ที่ได้รับอุทธรณ์
23. การอุทธรณ์ไม่เป็ นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคาสัง่ ทางปกครอง
24. กรณี เห็นด้วยกับอุทธร์ ให้ดาเนินการเปลี่ยนแปลงคาสั่งทางปกครองตามความเห็นของตน
25. กรณี ไม่เห็นด้วยกับอุทธรณ์ ให้รายงานความเห็นพร้อมเหตุผลไปยังผูม้ ีอานาจพิจารณาอุทธรณ์
26. การเพิกถอนคาสั่งทางปกครองที่ลกั ษณะเป็ นการให้ประโยชน์ตอ้ งกระทาภายใน 90 วัน นับแต่รู้
ถึงเหตุที่จะเพิกถอนคาสั่งนั้น
27. ผูท้ ี่ไม่รู้ถึงความไม่ชอบด้วยกฎหมายของคาสัง่ ทางปกครองในขณะที่รับคาสัง่ ทางปกครอง
สามารถอ้างความเชื่อโดยสุ จริ ตได้เมื่อถูกเพิกถอนคาสั่งทางปกครอง
28. ผูท้ ี่ได้รับผลกระทบจากการเพิกถอนคาสั่งทางปกครองต้องร้องขอค่าทดแทนภายใน 180 วันนับ
แต่ได้รับแจ้งให้ทราบถึงการเพิกถอนนั้น
29. การยืน่ ขอให้พิจารณาใหม่ ต้องกระทาภายใน 90 วัน นับแต่วนั ผูน้ ้ นั ได้รู้ถึงเหตุซ่ ึ งอาจขอให้
พิจารณาใหม่
30. เจ้าหน้าที่อาจยึดอายัดทรัพย์สินของผูท้ ี่ไม่ชาระเงินตามกาหนดของคาสั่งทางปกครอง
31. คาสัง่ ทางปกครองที่กาหนดให้ละเว้นกระทา หากฝ่ าฝื นต้องชาระค่าปรับทางปกครองไม่ต่ากว่า
20,000 บาทต่อวัน
32. คาสัง่ ทางปกครองที่กาหนดให้กระทาแล้วไม่ปฏิบตั ิตาม เจ้าหน้าที่สามารถเข้าดาเนินการด้วย
ตนเองได้
33. เจ้าหน้าที่อาจใช้กาลังเข้าดาเนินการเพืใ่ ห้เป็ นไปตามมาตราการบังคับทางปกครองได้ หากมีการ
ต่อสู ้ขดั ขวาง
34. การแจ้งคาสั่งทางปกครอง เจ้าหน้าที่จะกระทาด้วยวาจาก็ได้
35. การแจ้งทางไปรษณี ยต์ อ้ งแจ้งโดยไปรษณี ยต์ อบรับเท่านั้น
36. การแจ้งภายในประเทศให้ถิอว่าได้รับเมื่อครบกาหนด 7 วันนับตั้งแต่วนั ส่ ง
37. การแจ้งคาสั่งทางปกครองจะกระทาได้โดยการประกาศในหนังสื อพิมพ์ ในกรณี ไม่รู้ตวั ผูร้ ับ
กรณี รู้ตวั แต่ไม่รู้ภูมิลาเนา กรณี มีผรู ้ ับเกิน 100 คนขึ้นไป
38. ในกรณี ประกาศหรื อลงหนังสื อพิมพ์ให้ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อพ้น 15 วันนับแต่วนั ได้แจ้ง
39. ในกรณี ที่เจ้าหน้าที่กระทาการอย่างหนึ่งอย่างใด ให้นบั วันสิ้ นสุ ดของระยะเวลานั้นรวมเข้า
ด้วยกัน แม้วนั สุ ดท้ายจะเป็ นวันหยุดการทางาน
40. นายกองค์การบริ หารส่ วนตาบล ไม่สามารถจะเป็ นพยานในการส่ งหนังสื อเพื่อแจ้งคาสั่งทาง
ปกครองในกรณี ผรู ้ ับไม่ยอมรับหรื อไม่มีผรู ้ ับ
41. ค่าปรับทางปกครองมี 4 ระดับคือ 20,000 บาทสาหรับคณะกรรมการ และรัฐมนตรี
42. 15,000 บาทสาหรับปลัด อธิบดี ผูว้ ่าฯ
43. 10,000 บาทสาหรับนายอาเภอ หัวหน้าส่ วนราชการประจาจังหวัด ผูบ้ ริ หารท้องถิ่น ผูแ้ ทนของ
รัฐวิสาหกิจหรื อหน่วยงานรัฐอื่นๆ
44. 5,000 บาทสาหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายอื่นๆ ส่ วนเอกชนที่ใช้อานาจทางปกครอง
ต้องเสนอให้รัฐมนตรี พิจารณาเป็ นรายไปทั้งนี้ไม่เกิน 1.000 บาท
45. ชั้นศาลปกครองได้แก่ ศาลปกครองชั้นต้น และศาลปกครองสู งสุ ด
46. ศาลปกครองชั้นต้นแบ่งออกเป็ นสองประเภท ได้แก่ศาลปกครองกลาง และศาลปกครองส่ วน
ภูมิภาค
47. ในวาระแรกกฎหมายได้กาหนดให้จดั ตั้งศาลปกครองในรู ปภูมิภาคจานวน 16 แห่ ง
48. การเปิ ดทาการของศาลปกครองในภูมิภาค กฎหมายกาหนดให้เปิ ดทาการไม่นอ้ ยกว่าปี ละ 7 ศาล
49. คดีที่ไม่อยูใ่ นศางปกครองมี ,การดาเนินการเกี่ยวกับวินยั ทหาร , คดีที่อยูใ่ นอานาจศาลแรงงาน ,
คดีที่อยูใ่ นอานาจศาลภาษีอากร , คดีที่อยูใ่ นอานาจศาลล้มละลาย
50. การฟ้องในคดีโต้แย้งคาสั่งทางปกครองต้องฟ้องภายใน 90 วัน นับแต่วนั ทราบคาสั่ง
51. การฟ้องเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองต้องฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วนั ที่รู้หรื อควรรู ้ถึงเหตุแห่ งการ
ฟ้องคดี
52. ผูฟ้ ้องคดีตอ้ งเป็ นผูเ้ ดือดร้อนเสี ยหายอันเนื่องมาจากการกระทาทางปกครอง
53. ผูท้ ี่จะได้แต่งตั้งเป็ นตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น ต้องมีอายุ 35 ปี
54. ก.ศป. หมายถึงตุลาการศาลปกครอง
55. คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองมี 13 คน
56. องค์คณะของศาลปกครองชั้นต้นต้องมีอย่างน้อย 3 คน
57. สานักงานศาลปกครองเป็ น หน่วยงานอิสระ
58. ประธานศาลปกครองสู งสุ ด เป็ นประธารกรรมการตุลาการศาลปกครองสู งสุ ด
59. การฟ้องคดีที่ศาลปกครองในกรณี ขอให้ศาลปกครองสัง่ ให้หน่วยงานของรัฐชดใช้เงิน ต้องเสี ย
ค่าธรรมเนียมศาล ร้อยละ 2.5 ไม่เกิน 200,000 บาท
60. การฟ้องคดีปกครองเกี่ยวกับการกระทาละเมิดหรื อสัญญาทางปกครอง จะต้องยืน่ ฟ้ องภายใน
ระยะเวลา 5 ปี นับแต่วนั ที่ได้รู้หรื อควรรู ้ถึงเหตุแห่ งการฟ้องคดี
"สรุปพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562"

รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 76 วรรคสาม กาหนดให้ “รัฐ


พึงจัดให้มีมาตรฐานทางจริ ยธรรม เพื่อให้หน่วยงานของรัฐใช้เป็ นหลักในการกาหนดประมวล
จริ ยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น ๆ ซึ่ งต้องไม่ต่ากว่ามาตรฐานทางจริ ยธรรม
ดังกล่าว”

ดังนั้น เพื่อให้การจัดทาประมวลจริ ยธรรมเป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อยและมีมาตรฐานเดียวกัน


ควรมี “กฎหมายว่าด้วยมาตรฐานทางจริ ยธรรมใช้เป็ นหลักในการจัดทาประมวลจริ ยธรรมของ
หน่วยงานของรัฐเพื่อใช้เป็ นหลักเกณฑ์ในการปฏิบตั ิตนของเจ้าหน้าที่ของรัฐ กระบวนการรักษา
จริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ รวมทั้งมาตรการและกลไกที่มีประสิ ทธิภาพเพื่อเสริ มสร้างให้มีการ
ปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรม” จึงจาเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติน้ ี

สาระสาคัญของพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562

พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย 3 หมวด 1 บทเฉพาะกาล


รวม 22 มาตรา มีผลใช้บงั คับตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ประกาศฯ
เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2562 จึงมีผลใช้บงั คับตั้งแต่วนั ที่ 17 เมษายน 2562) มีสาระสาคัญโดยสรุ ป
ดังนี้

1. สภาพการใช้บงั คับ (มาตรา 3)

เป็ นหลักเกณฑ์ในการปฏิบตั ิตนของ “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง


หรื อผูป้ ฏิบตั ิงานอื่นในหน่วยงานของรัฐ ในสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่าง
อื่นและมีฐานะเป็ นกรม ราชการส่ วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรื อหน่วยงานอื่นของรัฐ
ในฝ่ ายบริ หารแต่ไม่หมายความรวมถึง หน่วยงานธุรการของรัฐสภา องค์กรอิสระ ศาล และองค์กร
อัยการ

2. มาตรฐานทางจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ (มาตรา 5)

คือ หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่ งจะต้องประกอบด้วย

1) ยึดมัน่ ในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ และการ


ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข

2) ซื่ อสัตย์สุจริ ต มีจิตสานึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่

3) กล้าตัดสิ นใจและกระทาในสิ่ งที่ถูกต้องชอบธรรม

4) คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว และมีจิตสาธารณะ

5) มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

6) ปฏิบตั ิหน้าที่อย่างเป็ นธรรมและไม่เลือกปฏิบตั ิ

7) ดารงตนเป็ นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ

มาตรฐานทางจริ ยธรรมทั้ง 7 ข้อนี้ ให้ใช้เป็ นหลักสาคัญในการจัดทาประมวลจริ ยธรรมของ


หน่วยงานของรัฐที่จะกาหนดเป็ นหลักเกณฑ์ในการปฏิบตั ิตนของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เกี่ ยวกับสภาพ
คุณงามความดีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องยึดถือ สาหรับการปฏิบตั ิงาน การตัดสิ นความถูกผิด การ
ปฏิบตั ิที่ควรกระทาหรื อไม่ควรกระทา ตลอดจนการดารงตนในการกระทาความดีและละเว้นความ
ชัว่

3. ผูร้ ับผิดชอบในการจัดทาประมวลจริ ยธรรม (มาตรา 6)

ให้องค์กรกลางบริ หารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐ[1] (ก.พ.) มีหน้าที่จดั ทา “ประมวล


จริ ยธรรม” สาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยูใ่ นความรับผิดชอบ

ทั้งนี้ หน่วยงานของรัฐอาจจัดทา “ข้อกาหนดจริ ยธรรม” เพื่อใช้บงั คับกับเจ้าหน้าที่ของรัฐใน


หน่วยงานนั้นเพิ่มเติมจากประมวลจริ ยธรรมให้เหมาะสมแก่ภารกิจที่มีลกั ษณะเฉพาะของหน่วยงาน
ของรัฐนั้นด้วยก็ได้

4. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม (ก.ม.จ.) (มาตรา 8 มาตรา 13 และ มาตรา 14)

ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมคณะหนึ่ง เรี ยกโดยย่อว่า “ก.ม.จ.”[2] มีหน้าที่และอานาจ


ดังต่อไปนี้

1) เสนอแนะและให้คาปรึ กษาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ ดา้ นมาตรฐานทางจริ ยธรรมและการ


ส่ งเสริ มจริ ยธรรมภาครัฐต่อคณะรัฐมนตรี

2) กาหนดแนวทางหรื อมาตรการในการขับเคลื่อน การดาเนินกระบวนการรักษาจริ ยธรรม รวมทั้ง


กลไกและการบังคับใช้ประมวลจริ ยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อให้องค์กรกลางบริ หารงาน
บุคคล หรื อผูบ้ งั คับบัญชานาไปใช้ในกระบวนการบริ หารงานบุคคลอย่างเป็ นรู ปธรรม
3) กาหนดแนวทางในการส่ งเสริ มและพัฒนาเพื่อเสริ มสร้างประสิ ทธิภาพให้เจ้าหน้าทีข่ องรัฐมี
ความรู ้ความเข้าใจ เกี่ยวกับมาตรฐานทางจริ ยธรรมและยึดถือแนวทางปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรม
รวมทั้งเสนอแนะมาตรการในการเพิม่ พูนประสิ ทธิภาพและเสริ มสร้างแรงจูงใจในการปฏิบตั ิตาม
ประมวลจริ ยธรรมแก่หน่วยงานของรัฐต่อคณะรัฐมนตรี

4) กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินการตามมาตรฐานทางจริ ยธรรม โดยอย่างน้อยต้องให้


หน่วยงานของรัฐ จัดให้มีการประเมินความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริ ยธรรม และให้มี
การประเมินพฤติกรรมทางจริ ยธรรมสาหรับ เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น

5) ตรวจสอบรายงานประจาปี ของหน่วยงานของรัฐ และรายงานสรุ ปผลการดาเนินงานดังกล่าว


เสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อทราบอย่างน้อยปี ละหนึ่งครั้ง

6) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดจากการใช้บงั คับพระราชบัญญัติน้ ี

7) ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ ีหรื อตามที่คณะรัฐมนตรี มอบหมาย

8) กาหนดหลักเกณฑ์เป็ นระเบียบ คู่มือ หรื อแนวทางปฏิบตั ิเพื่อให้องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล


และหน่วยงานของรัฐ ใช้เป็ นหลักเกณฑ์สาหรับการจัดทาประมวลจริ ยธรรมและข้อกาหนด
จริ ยธรรม รวมทั้งการกาหนดกระบวนการรักษาจริ ยธรรม ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ โดยมีหน้าที่ให้
คาแนะนาแก่องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล และหน่วยงานของรัฐในการปฏิบตั ิตาม
พระราชบัญญัติน้ ี

9) ในกรณี ที่ปรากฏแก่ ก.ม.จ. ว่า การจัดทาประมวลจริ ยธรรมขององค์กรกลางบริ หารงานบุคคล


หรื อข้อกาหนดจริ ยธรรมของหน่วยงานของรัฐแห่ งใดไม่สอดคล้องกับมาตรฐานทางจริ ยธรรมหรื อ
มีการปฏิบตั ิที่ไม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ที่ ก.ม.จ. กาหนด ให้ ก.ม.จ. แจ้งให้องค์กรกลาง
บริ หารงานบุคคล หรื อหน่วยงานของรัฐแห่ งนั้นดาเนิ นการแก้ไขให้ถูกต้อง และให้เป็ นหน้าที่
ขององค์กรกลางบริ หารงานบุคคล หรื อหน่วยงานของรัฐที่จะต้องดาเนิ นการโดยเร็ ว
5. การรักษาจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐและนาจริ ยธรรมไปใช้ในกระบวนการบริ หารงานบุคคล

(มาตรา 19 และ มาตรา 20)

ให้หน่วยงานของรัฐดาเนินการ ดังต่อไปนี้

1) กาหนดให้มีผรู ้ ับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริ ยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ ในการนี้อาจ


มอบหมายให้ส่วนงานที่มีหน้าที่และภารกิจในด้านจริ ยธรรม ธรรมาภิบาล หรื อที่เกี่ยวกับการ
บริ หารงานบุคคล หรื อคณะกรรมการและกลุ่มงานจริ ยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐที่มีอยูแ่ ล้ว เป็ น
ผูร้ ับผิดชอบก็ได้

2) ดาเนินกิจกรรมการส่ งเสริ ม สนับสนุน ให้ความรู ้ ฝึ กอบรม และพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐใน


หน่วยงานของรัฐ และจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิ ทธิภาพเพื่อเสริ มสร้างให้มีการปฏิบตั ิ
ตามประมวลจริ ยธรรม รวมทั้งกาหนดกลไกในการส่ งเสริ มให้ประชาชนมีส่วนร่ วมในการ
ตรวจสอบพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตลอดจนสร้างเครื อข่ายและประสานความร่ วมมือ
ระหว่างหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน

3) ทุกสิ้ นปี งบประมาณ ให้จดั ทารายงานประจาปี ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กาหนดเสนอต่อ ก.ม.จ.


โดยให้หน่วยงานของรัฐเสนอรายงานประจาปี ผ่านองค์กรกลางบริ หารงานบุคคลเพื่อประเมินผลใน
ภาพรวมของหน่วยงานของรัฐ เสนอต่อ ก.ม.จ. ด้วย

ให้องค์กรกลางบริ หารงานบุคคลแต่ละประเภท มีหน้าที่กากับดูแลการดาเนินกระบวนการรักษา


จริ ยธรรมและการประเมินผลการปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรม รวมทั้งให้มีหน้าที่และอานาจจัด
หลักสู ตรการฝึ กอบรมการเผยแพร่ ความเข้าใจ ตลอดจนการกาหนดมาตรการจูงใจเพื่อพัฒนา
และส่ งเสริ มให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐมีพฤติกรรมทางจริ ยธรรม เป็ นแบบอย่างที่ดี
และมาตรการที่ใช้บงั คับแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐซึ่ งมีพฤติกรรมที่เป็ นการฝ่ าฝื น
มาตรฐาน ทางจริ ยธรรมหรื อไม่ปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรม โดยอาจกาหนดมาตรการเพื่อใช้ใน
การบริ หารงานบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทนั้น

6. การใช้บงั คับประมวลจริ ยธรรม/หลักเกณฑ์เดิม (มาตรา 22)

บรรดาประมวลจริ ยธรรม กฎ ระเบียบ หรื อหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มี


ผลใช้บงั คับอยูใ่ นวันก่ อนวันที่พระราชบัญญัติน้ ีใช้บงั คับให้คงมีผลใช้บงั คับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขดั
หรื อแย้งกับพระราชบัญญัติน้ ี จนกว่าจะมีการกาหนดประมวลจริ ยธรรม หรื อหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ
จริ ยธรรมตามพระราชบัญญัติน้ ี
หน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้ าทีร่ าชการ
แนวทางการปฏิบัติตนของข้ าราชการทีด่ ี
ข้ าราชการ คือ บุคคลที่ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความเสี ยสละเป็ นที่พ่ ึงของประชาชนและทาคุณประโยชน์
ต่อประเทศชาติ โดยยึดถือความถูกต้อง มีจริ ยธรรมในการปฏิบตั ิหน้าที่ มีความซื่ อสัตย์สุจริ ตไม่
กระทาตนอ ล่นอกทางหรื อประพฤติตนในทางที่เสื่ อมเสี ยต่อหน้าที่การงาน มุ่งประโยชน์ส่วนรวม
เป็ นที่ต้ งั ให้สมเกียรติศกั ดิ์ แห่ งจรรยาข้าราชการที่ดี
วันที่ 1 เมษายน ของทุกปี จึงกาหนดให้เป็ นวันข้าราชการพลเรื อน เนื่องจากข้าราชการเป็ นผูท้ ี่
ทางาน ต่างพระเนตรพระกรรณพระมหากษัตริ ยใ์ นการบริ หารดูแลประชาชน ดังนั้น การจะเป็ น
ข้าราชการที่ดีน้ นั นอกจาก การเป็ นคนดีตามกฎหมายและสังคมแล้วข้าราชการยังต้องมีวินยั และ
จรรยาข้าราชการที่ให้ถือปฏิบตั ิ ทั้งนี้ เพื่อ ศักดิ์ศรี และความมีเกียรติของตาแหน่งซึ่ งเป็ นสิ่ งสาคัญที่
ถือปฏิบตั ิกนั มาแต่อดีต
ข้าราชการที่ดีนอกจากจะยึดหลักจรรยาข้าราชการที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ
พล เรื อนพ.ศ. 2551 แล้ว ยังควรน้อมนาพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ
พลอดุลยเดช พระราชทานแก่ขา้ ราชการพลเรื อน เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2556 มาใช้ในการปฏิบตั ิ
หน้าที่ดว้ ยความว่า
“ข้าราชการ ไม่ว่าอยูใ่ นตาแหน่งใด ระดับไหนมีหน้าที่อย่างไร ล้วนแต่มีความสาคัญอยูใ่ นงานของ
แผ่นดิน ทั้งสิ้ นทุกคนทุกฝ่ ายจึงไม่ควรจะถือตัวแบ่งแยกกัน หากต้องยกย่องนับถือให้เกียรติกนั
สมัครสมาน ร่ วมมือ ร่ วมคิด กันให้การปฏิบตั ิบริ หารงานของแผ่นดินดาเนิ นไปอย่างมีเอกภาพ และ
ได้ผลพึงประสงค์ สมบูรณ์พร้อมทุกส่ วน
ปัจจุบนั จรรยาข้าราชการเป็ นไปตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรื อน พ.ศ. 2551 หมวด 5
การ รักษาจรรยาข้าราชการ มาตรา 78 กาหนดว่าข้าราชการพลเรื อนสามัญ ต้องรักษาจรรยา
ข้าราชการตามที่ส่วน ราชการกาหนดในเรื่ องการยึดมัน่ และยืนหยัดทาในสิ่ งที่ถูกต้อง ความซื่ อสัตย์
สุ จริ ตและความรับผิดชอบการปฏิบตั ิ หน้าที่ดว้ ยความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ปฏิบตั ิหน้าที่โดยไม่
เลือกปฏิบตั ิ และมุ่งสัมฤทธิ์ผลของงาน
“จรรยาข้าราชการ” หมายถึง แนวทางในการประพฤติปฏิบตั ิตนของข้าราชการ เพื่อให้การปฏิบตั ิ
หน้าที่มี ประสิ ทธิภาพสู งสุ ด และดารงตนในสังคมอย่างเหมาะสมทั้งนี้ เพื่อประโยชน์สุขของ
ประชาชน
“ข้าราชการ” หมายถึง ข้าราชการพลเรื อน พนักงานราชการ และลูกจ้างในสังกัดข้าราชการพลเรื อน
การทางานราชการเป็ นการทางานเพื่อประเทศชาติและประชาชน ซึ่ งเป็ นงานที่มีผลกระทบทั้งใน
ปัจจุบนั และอนาคตต่อสังคมมากกว่าที่จะมีผลต่อตนเองและพวกพ้อง ดังนั้น อาชีพราชการในทุก
ชาติทุกสังคมจึงได้รับ ความคาดหวังจากประชาชนในประเทศชาติว่าข้าราชการจะปฏิบตั ิงานปฏิบตั ิ
ตนโดยยึดถือความถูกต้องเป็ นธร ซื่ อสัตย์ รับผิดชอบ เสี ยสละ และมีจริ ยธรรมในการทางานสู ง
ข้าราชการจึงเป็ นบุคคลที่ตอ้ งทาหน้าที่ในการ สาธารณประโยชน์ต่อประชาชนโดยไม่เลือกข้างและ
ต้องนานโยบายของชาติมาปฏิบตั ิให้เกิดประสิ ทธิผล การปฏิบตั ิหน้าที่ให้แก่ประชาชนอย่างมี
คุณภาพจึงขึ้นอยูก่ บั การปฏิบตั ิหน้าที่ของข้าราชการซึ่ งจะต้องซึ่ งจะต้องมีจิตสานึกใน หน้าที่ กระทา
ในสิ่ งที่ถูกต้อง เป็ นธรรมเสี ยสละ และมุ่งประโยชน์ส่วนรวมเป็ นที่ต้ งั
ข้าราชการทุกท่านต้องรักษาจรรยาข้าราชการตามที่ส่วนราชการกาหนดไว้โดยมุ่งประสงค์ให้
ข้าราชการที่ดีมีเกียรติและศักดิ์ศรี ความเป็ นข้าราชการ โดยเฉพาะในด้านต่าง ๆ ดังนี้

1. การยึดมัน่ และยืนหยัดทาในสิ่ งที่ถูกต้องข้าราชการพึ่งยึดมัน่ ในระบบคุณธรรม ปฏิบตั ิหน้าที่ตาม


กรอบ มายด้วยความถูกต้อง เช่น ปฏิบตั ิหน้าที่โดยยึดถือความถูกต้องตามหลักวิชาการกฎหมายกล้า
ที่จะปฏิเสธต่อ สนอหรื อผลประโยชน์ที่ไม่ถูกต้องและปฏิบตั ิหน้าที่อย่างถูกต้องตามคาสั่งของ
ผูบ้ งั คับบัญชาที่ถูกกฎหมายกฎเกณฑ์ เหตุผลอันชอบธรรม
2. ความซื่ อสัตย์สุจริ ตและความรับผิดชอบข้าราชการต้องปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความซื่ อสัตย์ สุ จริ ตทั้ง
ต่อ เองและผูอ้ ื่น ไม่แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบตระหนักและสานึกในหน้าที่ความรับผิดชอบ
ของตนเอง หน่วยงาน และต่อสังคม เช่น ไม่ใช้เวลาราชการเพื่อไปทางานนอกที่ให้ผลประโยชน์ต่อ
ตนเองและครอบครัว ไม่มุ่งหวังหรื อแสวงหาประโยชน์อนั มิควรได้จากการปฏิบตั ิงาน ไม่รับ
ของขวัญหรื อของกานันอันมีค่ามากเกินกว่า ที่กฎหมายกาหนด และใช้ดุลพินิจในการตัดสิ นใจด้วย
ความสุ จริ ตใจ ตรงตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย
3. การปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความโปร่ งใสและสามารถตรวจสอบได้ ข้าราชการต้องปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ย
ความ โปร่ งใสเปิ ดเผยอย่างมีเหตุผลด้วยความบริ สุทธิ์ใจ พร้อมรับการตรวจสอบ เช่น กาหนด
ระยะเวลาในการปฏิบตั ิงาน ของแต่ละขั้นตอน เก็บหลักฐานการปฏิบตั ิงานไว้พร้อมสาหรับการ
ตรวจสอบ หรื อกรณี ที่ไม่สามารถปฏิบตั ิหรื อ กระทาตามคาขอของผูร้ ับบริ การ สามารถชี้แจงหรื อ
ให้เหตุผลที่เหมาะสมได้
4. การปฏิบตั ิหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบตั ิอย่างไม่เป็ นธรรมข้าราชการต้องปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความเสมอ
ภาค เป็ นธรรม และปราศจากอคติ เช่น ปฏิบตั ิหน้าที่ตอ้ งกระทาอย่างถูกต้องบนพื้นฐานของความ
เสมอภาคมีมาตรฐาน ในการใช้หลักการและเหตุผลอย่างเสมอต้นเสมอปลายไม่กระทาการอันใด
เป็ นการช่วยเหลืออุปถัมภ์ หรื อเลือก ปฏิบตั ิอย่างไม่เป็ นธรรม
5. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ข้าราชการต้องปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความมุ่งมัน่ กระตือรื อร้น อย่างเต็ม
ความ สามารถเพื่อให้งานสาเร็ จสมบูรณ์ อย่างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล เช่น ปฏิบตั ิหน้าที่
ด้วยความทุ่มเท สติปัญญา ความรู ้ ความคิดที่มีอยูใ่ ห้กบั งานอย่างเต็มที่มุ่งมัน่ ปฏิบตั ิงานให้บรรลุผล
ตามเป้าหมายโดยวิธีการ กระบวนการที่ถูกต้อง และเป็ นธรรม ด้วยความเป็ นมืออาชีพและพัฒนา
ตนเองให้เป็ นผูม้ ีความรู ้ความสามารถและความชานาญในการปฏิบตั ิงาน
หากข้าราชการทุกท่านมีความมุ่งมัน่ ตั้งใจที่จะปฏิบตั ิตามจรรยาข้าราชการข้างต้นอย่างจริ งจังโดย
ยึด ประโยชน์ของประเทศชาติ และประชาชนเป็ นสาคัญแล้วความดีงามทั้งหลายจะส่ งผลให้การ
ปฏิบตั ิงานราชการ มีความเจริ ญก้าวหน้าในหน้าที่ มีประสิ ทธิภาพ คุณภาพของงานเพิ่มมากยิง่ ขึ้น
ทั้งเป็ นที่ศรัทธาเชื่อถือ ของประชาชน สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กบั หน่วยงานและนาพาประเทศชาติ
ให้มีความเจริ ญรุ่ งเรื องต่อไป
ประมวลจริยธรรมข้ าราชการพลเรื อน ได้ กาหนดแนวทางให้ ข้าราชการประพฤติปฏิบัติรวม 10
ประการ สรุปได้ ดงั นี้

1.ข้าราชการต้องยึดมัน่ ในจริ ยธรรม และยืนหยัดกระทาในสิ่ งที่ถูกต้อง และเป็ นธรรม

2.ข้าราชการต้องมีจิตสานึกที่ดี และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เสี ยสละ ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความ


รวดเร็ ว โปร่ งใส และสามารถตรวจสอบได้

3.ข้าราชการต้องแยกเรื่ องส่ วนตัวออกจากตาแหน่งหน้าที่ และยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของ


ประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน

4.ข้าราชการต้องละเว้นจากการแสวง ประโยชน์ที่มิชอบโดยอาศัยตาแหน่งหน้าที่ และไม่กระทาการ


อันเป็ นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตน และประโยชน์ส่วนรวม

5.ข้าราชการต้องเคารพ และปฏิบตั ิตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอย่างตรงไปตรงมา

6.ข้าราชการต้องปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ย ความเที่ยงธรรม เป็ นกลางทางการเมือง ให้บริ การแก่ประชาชน


โดยมีอธั ยาศัยที่ดี และไม่เลือกปฏิบตั ิโดยไม่เป็ นธรรม

7.ข้าราชการต้องปฏิบตั ิตามกฎหมายว่า ด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการอย่างเคร่ งครัด และ


รวดเร็ ว ไม่ถ่วงเวลาให้เนิ่นช้า และใช้ขอ้ มูลข่าวสารที่ได้มาจากการดาเนินงานเพื่อการในหน้าที่ และ
ให้ขอ้ มูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันการณ์ และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริ ง

8.ข้าราชการต้องมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษาคุณภาพ และมาตรฐานแห่ งวิชาชีพโดยเคร่ งครัด

9.ข้าราชการต้องยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข

10.ข้าราชการต้องเป็ นแบบอย่างที่ดีในการดารงตน รักษาชื่อเสี ยง และภาพลักษณ์ของราชการ


โดยรวม
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ พ.ศ. 2539
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้
ประกาศว่า

โดยที่สมควรมีกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ


รัฐสภา ดังต่อไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.


2539

มาตรา 2(1) พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา


เป็ นต้นไป

มาตรา 3 บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับใด ๆ ในส่ วนที่มีบญั ญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัติ


นี้หรื อซึ่ งขัดหรื อแย้งกับบทแห่ งพระราชบัญญัติน้ ี ให้ใช้พระราชบัญญัติน้ ีแทน

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติน้ ี

“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรื อผูป้ ฏิบตั ิงานประเภทอื่น ไม่ว่าจะ
เป็ นการแต่งตั้งในฐานะเป็ นกรรมการหรื อฐานะอื่นใด

“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่น


และมีฐานะเป็ นกรม ราชการส่ วนภูมิภาค ราชการส่ วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ต้ งั ขึ้นโดย
พระราชบัญญัติหรื อพระราชกฤษฎีกา และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีพระราช
กฤษฎีกากาหนดให้เป็ นหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติน้ ีดว้ ย
มาตรา 5 หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายในผลแห่ งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้
กระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่ ในกรณี น้ ีผเู ้ สี ยหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้โดยตรง แต่จะ
ฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้

ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซ่ ึ งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่ งใดให้ถือว่า


กระทรวงการคลังเป็ นหน่วยงานของรัฐที่ตอ้ งรับผิดตามวรรคหนึ่ง

มาตรา 6 ถ้าการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่มิใช่การกระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่ เจ้าหน้าที่ตอ้ ง


รับผิดในการนั้นเป็ นการเฉพาะตัว ในกรณีน้ ีผเู ้ สี ยหายอาจฟ้องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง แต่จะฟ้อง
หน่วยงานของรัฐไม่ได้

มาตรา 7 ในคดีที่ผเู ้ สี ยหายฟ้องหน่วยงานของรัฐ ถ้าหน่วยงานของรัฐเห็นว่าเป็ นเรื่ องที่


เจ้าหน้าที่ตอ้ งรับผิดหรื อต้องร่ วมรับผิด หรื อในคดีที่ผเู ้ สี ยหายฟ้องเจ้าหน้าที่ถา้ เจ้าหน้าที่เห็นว่าเป็ น
เรื่ องที่หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดหรื อต้องร่ วมรับผิด หน่วยงานของรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ดงั กล่าวมี
สิ ทธิขอให้ศาลที่พิจารณาคดีน้ นั อยูเ่ รี ยกเจ้าหน้าที่หรื อหน่วยงานของรัฐ แล้วแต่กรณี เข้ามาเป็ น
คู่ความในคดี

ถ้าศาลพิพากษายกฟ้องเพราะเหตุที่หน่วยงานของรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ที่ถูกฟ้องมิใช่ผตู ้ อ้ งรับผิด


ให้ขยายอายุความฟ้องร้องผูท้ ี่ตอ้ งรับผิดซึ่ งมิได้ถูกเรี ยกเข้ามาในคดีออกไปถึงหกเดือนนับแต่วนั ที่
คาพิพากษานั้นถึงที่สุด

มาตรา 8 ในกรณี ที่หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผเู ้ สี ยหายเพื่อการ


ละเมิดของเจ้าหน้าที่ ให้หน่วยงานของรัฐมีสิทธิเรี ยกให้เจ้าหน้าที่ผทู ้ าละเมิดชดใช้ค่าสิ นไหม
ทดแทนดังกล่าวแก่หน่วยงานของรัฐได้ถา้ เจ้าหน้าที่ได้กระทาการนั้นไปด้วยความจงใจหรื อ
ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
สิ ทธิเรี ยกให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีได้เพียงใดให้คานึงถึงระดับความ
ร้ายแรงแห่ งการกระทาและความเป็ นธรรมในแต่ละกรณี เป็ นเกณฑ์โดยมิตอ้ งให้ใช้เต็มจานวนของ
ความเสี ยหายก็ได้

ถ้าการละเมิดเกิดจากความผิดหรื อความบกพร่ องของหน่วยงานของรัฐหรื อระบบการ


ดาเนินงานส่ วนรวม ให้หกั ส่ วนแห่ งความรับผิดดังกล่าวออกด้วย

ในกรณี ที่การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าทีห่ ลายคน มิให้นาหลักเรื่ องลูกหนี้ร่วมมาใช้บงั คับและ


เจ้าหน้าที่แต่ละคนต้องรับผิดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนเฉพาะส่ วนของตนเท่านั้น

มาตรา 9 ถ้าหน่วยงานของรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ได้ใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผเู ้ สี ยหาย สิ ทธิที่จะ


เรี ยกให้อีกฝ่ ายหนึ่งชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ตนให้มีกาหนดอายุความหนึ่งปี นับแต่วนั ที่
หน่วยงานของรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ได้ใช้ค่าสิ นไหมทดแทนนั้นแก่ผเู ้ สี ยหาย

มาตรา 10 ในกรณี ที่เจ้าหน้าที่เป็ นผูก้ ระทาละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐไม่ว่าจะเป็ นหน่วยงาน


ของรัฐที่ผนู ้ ้ นั อยูใ่ นสังกัดหรื อไม่ ถ้าเป็ นการกระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่การเรี ยกร้องค่าสิ นไหม
ทดแทนจากเจ้าหน้าที่ให้นาบทบัญญัติมาตรา 8 มาใช้บงั คับโดยอนุโลม แต่ถา้ มิใช่การกระทาในการ
ปฏิบตั ิหน้าที่ให้บงั คับตามบทบัญญัติแห่ งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์

สิ ทธิเรี ยกร้องค่าสิ นไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ท้งั สองประการตามวรรคหนึ่ง ให้มีกาหนดอายุ


ความสองปี นับแต่วนั ที่หน่วยงานของรัฐรู ้ถึงการละเมิดและรู ้ตวั เจ้าหน้าที่ ผูจ้ ะพึงต้องใช้ค่าสิ นไหม
ทดแทน และกรณี ที่หน่วยงานของรัฐเห็นว่าเจ้าหน้าที่ผนู ้ ้ นั ไม่ตอ้ งรับผิด แต่กระทรวงการคลัง
ตรวจสอบแล้วเห็นว่าต้องรับผิด ให้สิทธิเรี ยกร้องค่าสิ นไหมทดแทนนั้นมีกาหนดอายุความหนึ่งปี
นับแต่วนั ที่หน่วยงานของรัฐมีคาสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง

มาตรา 11 ในกรณี ที่ผเู ้ สี ยหายเห็นว่า หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดตามมาตรา 5 ผูเ้ สี ยหายจะ


ยืน่ คาขอต่อหน่วยงานของรัฐให้พิจารณาชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนสาหรับความเสี ยหายที่เกิดแก่ตน
ก็ได้ ในการนี้หน่วยงานของรัฐต้องออกใบรับคาขอให้ไว้เป็ นหลักฐานและพิจารณาคาขอนั้นโดยไม่
ชักช้า เมื่อหน่วยงานของรัฐมีคาสั่งเช่นใดแล้วหากผูเ้ สี ยหายยังไม่พอใจในผลการวินิจฉัยของ
หน่วยงานของรัฐก็ให้มีสิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วย
คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ภายในเก้าสิ บวันนับแต่วนั ที่ตนได้รับแจ้งผลการวินิจฉัย

ให้หน่วยงานของรัฐพิจารณาคาขอที่ได้รับตามวรรคหนึ่งให้แล้วเสร็ จภายในหนึ่งร้อยแปดสิ บ
วัน หากเรื่ องใดไม่อาจพิจารณาได้ทนั ในกาหนดนั้นจะต้องรายงานปัญหาและอุปสรรคให้รัฐมนตรี
เจ้าสังกัดหรื อกากับหรื อควบคุมดูแลหน่วยงานของรัฐแห่ งนั้นทราบและขออนุมตั ิขยายระยะเวลา
ออกไปได้ แต่รัฐมนตรี ดงั กล่าวจะพิจารณาอนุมตั ิให้ขยายระยะเวลาให้อีกได้ไม่เกินหนึ่งร้อยแปด
สิ บวัน

มาตรา 12 ในกรณี ที่เจ้าหน้าที่ตอ้ งชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนที่หน่วยงานของรัฐได้ใช้ให้แก่


ผูเ้ สี ยหายตามมาตรา 8 หรื อในกรณี ที่เจ้าหน้าที่ตอ้ งใช้ค่าสิ นไหมทดแทนเนื่ องจากเจ้าหน้าที่ผนู ้ ้ นั ได้
กระทาละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐตามมาตรา 10 ประกอบกับมาตรา 8 ให้หน่วยงานของรัฐที่
เสี ยหายมีอานาจออกคาสั่งเรี ยกให้เจ้าหน้าทีผ่ นู ้ ้ นั ชาระเงินดังกล่าวภายในเวลาที่กาหนด

มาตรา 13 ให้คณะรัฐมนตรี จดั ให้มีระเบียบเพื่อให้เจ้าหน้าที่ซ่ ึ งต้องรับผิดตามมาตรา 8 และ


มาตรา 10 สามารถผ่อนชาระเงินที่จะต้องรับผิดนั้นได้โดยคานึงถึงรายได้ ฐานะ ครอบครัวและ
ความรับผิดชอบ และพฤติการณ์แห่ งกรณี ประกอบด้วย

มาตรา 14 เมื่อได้มีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นแล้ว สิ ทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้อง


ทุกข์ตามมาตรา 11 ให้ถือว่าเป็ นสิ ทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง

มาตรา 15 ให้นายกรัฐมนตรี รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี


ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ

บรรหาร ศิลปอาชา

นายกรัฐมนตรี

หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ การที่เจ้าหน้าที่ดาเนินกิจการต่าง ๆ


ของหน่วยงานของรัฐนั้น หาได้เป็ นไปเพื่อประโยชน์อนั เป็ นการเฉพาะตัวไม่ การปล่อยให้ความรับ
ผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ในกรณี ที่ปฏิบตั ิงานในหน้าที่และเกิดความเสี ยหายแก่เอกชนเป็ นไป
ตามหลักกฎหมายเอกชนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์จึงเป็ นการไม่เหมาะสมก่อให้เกิด
ความเข้าใจผิดว่า เจ้าหน้าที่จะต้องรับผิดในการกระทาต่าง ๆ เป็ นการเฉพาะตัวเสมอไปเมื่อการที่ทา
ไปทาให้หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกเพียงใดก็จะมีการฟ้องไล่เบี้ยเอาจาก
เจ้าหน้าที่เต็มจานวนนั้น ทั้งที่บางกรณี เกิดขึ้นโดยความไม่ต้ งั ใจ หรื อความผิดพลาดเพียงเล็กน้อยใน
การปฏิบตั ิหน้าที่ นอกจากนั้น ยังมีการนาหลักเรื่ องลูกหนี้ร่วมในระบบกฎหมายแพ่งมาใช้บงั คับ
ให้เจ้าหน้าที่ตอ้ งร่ วมรับผิดในการกระทาของเจ้าหน้าที่ผอู ้ ื่นด้วย ซึ่ งระบบนั้นมุ่งหมายแต่จะได้เงิน
ครบโดยไม่คานึงถึงความเป็ นธรรมที่จะมีต่อแต่ละคน กรณี เป็ นการก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมแก่
เจ้าหน้าที่และยังเป็ นการบัน่ ทอนกาลังขวัญในการทางานของเจ้าหน้าที่ดว้ ยจนบางครั้งกลายเป็ น
ปัญหาในการบริ หารเพราะเจ้าหน้าที่ไม่กล้าตัดสิ นใจดาเนินงานเท่าที่ควร เพราะเกรงความ
รับผิดชอบที่จะเกิดแก่ตน อนึ่ง การให้คุณให้โทษแก่เจ้าหน้าที่เพื่อควบคุมการทางานของเจ้าหน้าที่
ยังมีวิธีการในการบริ หารงานบุคคล และการดาเนินการทางวินยั กากับดูแลอีกส่ วนหนึ่ง อันเป็ น
หลักประกันมิให้เจ้าหน้าที่ทาการใด ๆ โดยไม่รอบคอบอยูแ่ ล้ว ดังนั้น จึงสมควรกาหนดให้
เจ้าหน้าที่ตอ้ งรับผิดทางละเมิดในการปฏิบตั ิงานในหน้าที่เฉพาะเมื่อเป็ นการจงใจกระทาเพื่อการ
เฉพาะตัว หรื อจงใจให้เกิดความเสี ยหายหรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น และให้แบ่งแยก
ความรับผิดของแต่ละคนมิให้นาหลักลูกหนี้ร่วมมาใช้บงั คับ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความเป็ นธรรมและ
เพิ่มพูนประสิ ทธิภาพในการปฏิบตั ิงานของรัฐ จึงจาเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติน้ ี
ประมวลกฎหมายอาญา ความผิดต่ อตาแหน่ งหน้ าที่ราชการ
-------------------------

มาตรา ๑๔๗๑ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด เบียดบัง


ทรัพย์น้ นั เป็ นของตน หรื อเป็ นของผูอ้ ื่นโดยทุจริ ต หรื อโดยทุจริ ตยอมให้ผอู ้ ื่นเอาทรัพย์น้ นั เสี ย ต้อง
ระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสน
บาท

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๔๘๒ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรื อจูงใจ


เพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรื อหามาให้ซ่ ึ งทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรื อผูอ้ ื่น ต้อง
ระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสน
บาท หรื อประหารชีวิต

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๔๙๓ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบญั ญัติแห่ งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด


หรื อสมาชิกสภาเทศบาล เรี ยก รับ หรื อยอมจะรับทรัพย์สิน หรื อประโยชน์อื่นใดสาหรับตนเองหรื อ
ผูอ้ ื่นโดยมิชอบ เพื่อกระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งไม่ว่าการนั้นจะชอบหรื อมิ
ชอบด้วยหน้าที่ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่ ง
แสนบาทถึงสี่ แสนบาท หรื อประหารชีวิต
[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล
กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๐๔ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน กระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งโดย


เห็นแก่ทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใด ซึ่ งตนได้เรี ยก รับ หรื อยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนได้รับแต่งตั้ง
เป็ นเจ้าพนักงานในตาแหน่งนั้น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และ
ปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๑๕ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด ๆ ใช้


อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต อันเป็ นการเสี ยหายแก่รัฐ เทศบาล สุ ขาภิบาลหรื อเจ้าของทรัพย์น้ นั
ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่
แสนบาท

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๒๖ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จดั การหรื อดูแลกิจการใด เข้ามีส่วนได้เสี ย


เพื่อประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น เนื่องด้วยกิจการนั้น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บ
ปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๓๗ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จ่ายทรัพย์ จ่ายทรัพย์น้ นั เกินกว่าที่ควรจ่าย
เพื่อประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี และปรับตั้งแต่สอง
หมื่นบาทถึงสองแสนบาท

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๔๘ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่หรื อแสดงว่าตนมีหน้าที่เรี ยกเก็บหรื อ


ตรวจสอบภาษีอากร ค่าธรรมเนียม หรื อเงินอื่นใด โดยทุจริ ตเรี ยกเก็บหรื อละเว้นไม่เรี ยกเก็บภาษี
อากร ค่าธรรมเนียมหรื อเงินนั้น หรื อกระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใด เพื่อให้ผมู ้ ีหน้าที่เสี ยภาษี
อากรหรื อค่าธรรมเนียมนั้นมิตอ้ งเสี ย หรื อเสี ยน้อยไปกว่าที่จะต้องเสี ย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้
ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๕๙ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่กาหนดราคาทรัพย์สินหรื อสิ นค้าใด ๆ เพื่อ


เรี ยกเก็บภาษีอากรหรื อค่าธรรมเนียมตามกฎหมาย โดยทุจริ ตกาหนดราคาทรัพย์สินหรื อสิ นค้านั้น
เพื่อให้ผมู ้ ีหน้าที่เสี ยภาษีอากรหรื อค่าธรรมเนียมนั้นมิตอ้ งเสี ยหรื อเสี ยน้อยไปกว่าที่จะต้องเสี ย ต้อง
ระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสน
บาท

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๖๑๐ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ตรวจสอบบัญชีตามกฎหมาย โดยทุจริ ต


แนะนา หรื อกระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใด เพื่อให้มีการละเว้นการลงรายการในบัญชี ลง
รายการเท็จในบัญชี แก้ไขบัญชี หรื อซ่ อนเร้น หรื อทาหลักฐานในการลงบัญชีอนั จะเป็ นผลให้การ
เสี ยภาษีอากรหรื อค่าธรรมเนียมนั้นมิตอ้ งเสี ย หรื อเสี ยน้อยกว่าที่จะต้องเสี ย ต้องระวางโทษจาคุก
ตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่ งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๗๑๑ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ


เพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ด หรื อปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต ต้องระวาง
โทษจาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี หรื อปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๘ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ทาให้เสี ยหาย ทาลาย ซ่ อนเร้น เอาไปเสี ย หรื อทาให้
สู ญหายหรื อทาให้ไร้ประโยชน์ ซึ่ งทรัพย์หรื อเอกสารใดอันเป็ นหน้าที่ของตนที่จะปกครองหรื อ
รักษาไว้ หรื อยินยอมให้ผอู ้ ื่นกระทาเช่นนั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่ง
แสนสี่ หมื่นบาท

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๙ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ดูแล รักษาทรัพย์หรื อเอกสารใด กระทาการอัน


มิชอบด้วยหน้าที่ โดยถอน ทาให้เสี ยหาย ทาลายหรื อทาให้ไร้ประโยชน์ หรื อโดยยินยอมให้ผอู ้ ื่น
กระทาเช่นนั้น ซึ่ งตราหรื อเครื่ องหมายอันเจ้าพนักงานได้ประทับหรื อหมายไว้ที่ทรัพย์หรื อเอกสาร
นั้นในการปฏิบตั ิการตามหน้าที่ เพื่อเป็ นหลักฐานในการยึดหรื อรักษาสิ่ งนั้น ต้องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่ งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล
กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๐ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่รักษาหรื อใช้ดวงตราหรื อรอยตราของราชการ


หรื อของผูอ้ ื่น กระทาการอันมิชอบด้วยหน้าที่ โดยใช้ดวงตราหรื อรอยตรานั้น หรื อโดยยินยอมให้
ผูอ้ ื่นกระทาเช่นนั้น ซึ่ งอาจทาให้ผอู ้ ื่นหรื อประชาชนเสี ยหาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อ
ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๑ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทาเอกสาร กรอกข้อความลงในเอกสารหรื อ


ดูแลรักษาเอกสาร กระทาการปลอมเอกสารโดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหน้าที่น้ นั ต้องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินสิ บปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๒ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทาเอกสาร รับเอกสารหรื อกรอกข้อความลงใน


เอกสาร กระทาการดังต่อไปนี้ในการปฏิบตั ิการตามหน้าที่

(๑) รับรองเป็ นหลักฐานว่า ตนได้กระทาการอย่างใดขึ้น หรื อว่าการอย่างใดได้กระทาต่อ


หน้าตนอันเป็ นความเท็จ

(๒) รับรองเป็ นหลักฐานว่า ได้มีการแจ้งซึ่ งข้อความอันมิได้มีการแจ้ง

(๓) ละเว้นไม่จดข้อความซึ่ งตนมีหน้าที่ตอ้ งรับจด หรื อจดเปลี่ยนแปลงข้อความเช่นว่านั้น


หรื อ
(๔) รับรองเป็ นหลักฐานซึ่ งข้อเท็จจริ งอันเอกสารนั้น มุ่งพิสูจน์ความจริ งอันเป็ นความเท็จ

ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่ หมื่นบาท

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๓ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ในการไปรษณี ย ์ โทรเลขหรื อโทรศัพท์ กระทา


การอันมิชอบด้วยหน้าที่ดงั ต่อไปนี้

(๑) เปิ ด หรื อยอมให้ผอู ้ ื่นเปิ ด จดหมายหรื อสิ่ งอื่นที่ส่งทางไปรษณี ยห์ รื อโทรเลข

(๒) ทาให้เสี ยหาย ทาลาย ทาให้สูญหาย หรื อยอมให้ผอู ้ ื่นทาให้เสี ยหาย ทาลายหรื อทาให้
สู ญหาย ซึ่ งจดหมายหรื อสิ่ งอื่นที่ส่งทางไปรษณี ยห์ รื อโทรเลข

(๓) กัก ส่ งให้ผดิ ทาง หรื อส่ งให้แก่บุคคลซึ่ งรู ้ว่ามิใช่เป็ นผูค้ วรรับซึ่ งจดหมาย หรื อสิ่ งอื่นที่
ส่ งทางไปรษณี ยห์ รื อโทรเลข หรื อ

(๔) เปิ ดเผยข้อความที่ส่งทางไปรษณี ย ์ ทางโทรเลขหรื อทางโทรศัพท์

ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่ งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๔ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน รู ้หรื ออาจรู ้ความลับในราชการ กระทาโดยประการใด


ๆ อันมิชอบด้วยหน้าที่ ให้ผอู ้ ื่นล่วงรู ้ความลับนั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกิน
หนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล
กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๕ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ปฏิบตั ิการให้เป็ นไปตามกฎหมาย หรื อคาสั่ง
ซึ่ งได้สั่งเพื่อบังคับการให้เป็ นไปตามกฎหมาย ป้องกันหรื อขัดขวางมิให้การเป็ นไปตามกฎหมาย
หรื อคาสั่งนั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล


กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๖ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ละทิง้ งานหรื อกระทาการอย่างใด ๆ เพื่อให้งาน


หยุดชะงักหรื อเสี ยหาย โดยร่ วมกระทาการเช่นนั้นด้วยกันตั้งแต่หา้ คนขึ้นไป ต้องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่ งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

ถ้าความผิดนั้นได้กระทาลงเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกฎหมายแผ่นดิน เพื่อบังคับ
รัฐบาลหรื อเพื่อข่มขู่ประชาชน ผูก้ ระทาต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิ บปี และปรับไม่เกินสองแสน
บาท

You might also like