You are on page 1of 98

วิชาความรู้และลักษณะข้าราชการที่ดี

page 1

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 4 กันยายน 2534


บังคับใช้วันถัดจากวันประกาศ : 5 กันยายน 2534
ผู้รักษาการ : นายกรัฐมนตรี

เป้าหมายของการบริหารราชการ

~ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
~ เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
~ ความมีประสิทธิภาพ
~ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ
~ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
~ การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จําเป็น
~ การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น
~ การกระจายอํานาจตัดสินใจ
~ การอํานวยความสะดวก
~ การตอบสนองความต้องการของประชาชน
page 2

การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น


รวมอํานาจ แบ่งอํานาจ กระจายอํานาจ

รัฐธรรมนูญ

อํานาจอธิปไตย
(ประชาชน)

นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ


ประธานสภา นายก + ครม. ศาล
ร่าง & เขียนกฎหมาย ดูแลประเทศ พิพากษาคดี

ภูมิภาค กลาง ท้องถิ่น


• จังหวัด • สํานักนายกรัฐมนตรี • อบจ.
• อําเภอ • กระทรวง • อบต.
• ทบวง • เทศบาล
• กรม • กทม. รูปแบบ
• พัทยา พิเศษ
page 3
การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง

1. สํานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็น กระทรวง


2. กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง
3. ทบวง ซึ่งสังกัด สํานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
4. กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นมีฐานะเป็นกรม
ซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง
**สํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียก
ชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม มีฐานะเป็นนิติบุคคล

การเกิดของราชการส่วนกลาง

1. การจัดตั้ง การรวม หรือการโอน สํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง


ทบวง กรม ตราเป็น “พ.ร.บ.” รวมถึงการจัดตั้งอายุ และเปลี่ยนแปลง
เขต จังหวัด
2. การรวม การโอน การเปลี่ยนชื่อ และการยุบ ***ถ้าไม่มีการกําหนด
ตําแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือลูกจ้าง ตราเป็น “พ.ร.ฎ” รวมถึง
การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขต

สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน + สํานักงบประมาณ
ตรวจสอบดูแลไม่ให้มีการกําหนดตําแหน่งราชการจนกว่าจะครบ 3 ปี
page 4

การแบ่งส่วนราชการ

1. การแบ่งส่วนราชการภายในสํานักงานรัฐมนตรี และกรมหรือส่วน
ราชการอื่นที่มีฐานะเป็นกรมให้ออกเป็น กฎกระทรวง
2. การแบ่งส่วนราชการภายในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันในทบวง
มหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยหรือสถาบัน
นั้น

การยุบส่วนราชการ

1. ข้าราชการหรือลูกจ้างซึ่งผลจากราชการเพราะ ยุบตําแหน่งให้ได้รับ
เงินชดเชยตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดใน พ.ร.ฎ.
2. กรณีมีส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ประสงค์
จะโอนย้ายข้าราชการหรือลูกจ้างกระทําได้โดยให้ถือว่าเป็นข้าราชการ
หรือลูกจ้างนั้นพ้นจากตําแหน่งแต่ต้องกระทําภายใน 30 วัน
3. งบประมาณของหน่วยงานให้ระงับและส่งคืนคลัง
4. ทรัพย์สินของหน่วยงาน แล้วแต่รัฐมนตรีที่รักษาการกําหนดตาม
ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
page 5

1. สํานักนายกรัฐมนตรี

ผู้บังคับบัญชา : นายกรัฐมนตรี
ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ : รองนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี

• การจัดระเบียบราชการในสํานักนายกฯรัฐมนตรี ให้เป็นไปตาม
กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เกิดขึ้น
ใหม่ในสํานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็นกรม

การพ้นตําแหน่งนายกรัฐมนตรี การปฎิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี

1. ถ้าตําแหน่งนายกรัฐมนตรีว่างลงให้
• ตาย
คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รองนายกฯ
• ขาดคุณสมบัติ
คนใดคนหนึ่ง เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน
• ต้องคําพิพากษาจําคุ
นายกรัฐมนตรี
• ส.ส.มีมติไม่ไว้วางใจ
2. ถ้าไม่มีตําแหน่งรองนายกฯ หรือมี
• ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็น
แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้คณะ
รัฐมนตรีสิ้นสุดลง
รัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีคนใด
• วุฒิสภามีมติถอดถอน
คนหนึ่งแทน
page 6

หน้าที่ของนายกรัฐมนตรี

• กํากับโดยทั่วไปซึ่งการบริหารงานราชการแผ่นดินและมีอํานาจสั่งสอบสวน
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
• มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี กํากับการบริหารราชการ
• บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารทุกตําแหน่ง
• สั่งให้ข้าราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบัติราชการสํานัก
นายยกรัฐมนตรี
• แต่งตั้งข้าราชการ แต่ถ้าเป็นข้าราชการตั้งแต่ระดับอธิการบดีขึ้นไป ต้องได้
รับอนุมัติจาก ครม.
• แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานที่ปรึกษา หรือคณะที่ปรึกษาของนายก
รัฐมนตรี
• แต่งตั้งข้าราชการการเมืองในการปฏิบัติราชการในสํานักนายกรัฐมนตรี
• ว่าระเบียบปฏิบัติราชการ เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ใช้
บังคับได้
• ดําเนินการอื่นๆ ในการปฎิบัติตามนโยบาย
page 7

การแบ่งส่วนราชการในสํานักนายกรัฐมนตรี

สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

1. มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง
2. ผู้บังคับบัญชา : เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็น “ข้าราชการการเมือง”
3. ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ
• รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง
เป็น “ข้าราชการการเมือง”
• รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร และผู้ช่วยเลขาธิการ
นายกรัฐมนตรี เป็น “ข้าราชการพลเรือนสามัญ”

สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

1. มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และราชการในพระองค์


2. ผู้บังคับบัญชา : เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
เป็น “ข้าราชการพลเรือนสามัญ”
3. ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ
• รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และ
• ผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
page 8

สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

1. มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจําทั่วไป
2. ผู้บังคับบัญชา : ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
3. ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ
• รองปลัดสํานักนายกฯรัฐมนตรี และ
• ผู้ช่วยปลัดสํานักนายกฯรัฐมนตรี

1. รับผิดชอบความคุมราชการประจําสํานักนายกรัฐมนตรี
2. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในสํานักนายกรัฐมนตรี
รอง จากนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจําสํานัก
นายกรัฐมนตรี
3. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

• สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
• กรมประชาสัมพันธ์
• สํานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.)
page 9

2. กระทรวง
ให้สํานักงานปลัดกระทรวง และส่วนราชการที่
เรียกชื่ออย่างอื่น มีฐานะเป็นกรม

ผู้บังคับบัญชากระทรวง : รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ : รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
ปลัดกระทรวง + รองปลัดกระทรวง
• การจัดระเบียบราชการในกระทรวง ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการ
ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
• กระทรวงทหารกับกระทรวงการศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมายเฉพาะกับ
กระทรวงนั้นๆ

การจัดระเบียบส่วนราชการในกระทรวง

สํานักงานรัฐมนตรี

1. มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง
2. ผู้บังคับบัญชา : เลขานุการรัฐมนตรี
3. ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ : ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี
• ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
page 10

สํานักงานปลัดกระทรวง

1. มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไป
2. ผู้บังคับบัญชา : ปลัดกระทรวง
3. ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ : รองปลัดกระทรวง

หน้าที่ปลัดกระทรวง
1. รับผิดชอบควบคุมราชการประจําในกระทรวง
2. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในกระทรวงรองจาก
รัฐมนตรี
3. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสํานักงานปลัดกระทรวง

การออกกฎกระทรวง
1. กระทรวงอาจออกกฎกระทรวง กําหนดให้ ส่วนราชการระดับกรม
ตั้งแต่ 2 ส่วนราชการขึ้นไปอยู่ภายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็ได้
2. ให้มีหัวหน้ากลุ่มภารกิจดํารงตําแหน่งไม่ตํ่ากว่าอธิบดี รับผิด
ชอบราชการและบังคับบัญชาข้าราชการ
page 11

การแต่งตั้งรองปลัดกระทรวง
1. กระทรวงใดจัดให้มีกลุ่มภารกิจ และมีปริมาณงานมาก จะต้องมี
รองปลัดกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการเพิ่มขึ้นเป็นสองคน
ก็ได้
2. ให้คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) และคณะกรรมการ
พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) จัดประชุมโดยคะแนนเสียงกรรมการ
แต่ละฝ่ายมากกว่าครึ่งหนึ่งแล้วมีมติให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อ
พิจารณาแต่งตั้ง

กรม

กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น เว้นแต่บางกระทรวงเห็นว่า


ไม่มีความจําเป็นจะไม่แยกส่วนราชการตั้งขึ้นเป็นกรมก็ได้

ผู้บังคับบัญชา :: อธิบดี (ลูกน้องปลัดกระทรวง)


page 12

3. ทบวง
สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง

ให้สํานักงานปลัดกระทรวง และส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น มีฐานะเป็นกรม

ผู้บังคับบัญชากระทรวง :: รัฐมนตรีว่าการทบวง
ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ :: รัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง
ปลัดทบวง + รองปลัดทบวง + ผู้ช่วยปลัดทบวง

Note

• การจัดระเบียบราชการในทบวง ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการ
ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
• กระทรวงมหาลัย ให้เป็นไปตามกฎหมายเฉพาะกับกระทรวงนั้นๆ
• ปัจจุบันไม่มีทบวง ยกฐานะเป็นกระทรวงหมดแล้ว ทบวงทําหน้าที่คล้าย
กระทรวงทุกอย่าง เพิ่มอย่างเดียวคือมีผู้ช่วยปลัดทบวง
• ถ้าไม่ได้กล่าวถึงบวงให้วางอํานาจไว้เช่นกระทรวง
page 13

สํานักงานรัฐมนตรี

1. มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง
2. ผู้บังคับบัญชา :: เลขานุการรัฐมนตรี
3. ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ :: ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี
• ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการทบวง

สํานักงานปลัดทบวง

1. มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจําทั่วไป
2. ผู้บังคับบัญชา :: ปลัดทบวง
3. ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ :: รองปลัดทบวง

หน้าที่ปลัดทบวง
1. รับผิดชอบควบคุมราชการประจําในทบวง
2. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในทบวงรองจากรัฐมนตรี
3. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสํานักงานปลัดทบวง
page 14

4. กรม
สังกัดหรือไม่สังกัด สํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง

ผู้บังคับบัญชากรม :: อธิบดี
ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ :: รองอธิบดี (ตามที่อธิบดีมอบหมาย)

การจัดระเบียบส่วนราชการในกรม

สํานักงานเลขานุการกรม

1. มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจําทั่วไป
2. ผู้บังคับบัญชา :: เลขานุการกรม

กองหรือส่วนราชการที่มีฐานะเทียบเท่ากอง

เว้นแต่บางกลุ่มเห็นว่าไม่มีความจําเป็นจะไม่แยกส่วนราชการ
ตั้งขึ้นเป็นกองก็ได้

1. มีอํานาจที่กําหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนั้นๆ
2. ผู้บังคับบัญชา :: ผู้อํานวยการกอง หัวหน้ากอง หัวหน้าส่วนราชการ
(ตามลําดับ)
page 15

กรมใดมีความจําเป็นจะแบ่งส่วนราชการโดยให้มีส่วนราชการอื่นนอกจาก
นี้ก็ได้
• อํานาจหน้าที่ของกรมให้เป็นไปตามที่ กําหนดในกฎกระทรวงแบ่งส่วน
ราชการของกรมหรือตามกฏหมายว่าด้วยอํานาจหน้าที่ของกรมนั้น
• สํานักงานตํารวจแห่งชาติ แบ่งส่วนราชการให้เหมาะสมกับราชการของ
ตํารวจ

การแบ่งท้องที่เพื่อปฏิบัติงานทางราชการ
กระทรวง ทบวง กรมใดมีเหตุพิเศษ จะแบ่งท้องที่ออกเป็นเขตเพื่อ
ปฏิบัติงานทางวิชาการ ให้ตราเป็น “พ.ร.ฎ.”
****เราไม่บังคับกับส่วนราชการตํารวจ
page 16

การบริหารราชการในต่างประเทศ

1. “คณะผู้แทน” บรรดาข้าราชการฝ่ายพลเรือน หรือข้าราชการฝ่าย


ทหารประจําการในต่างประเทศ ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใน
สถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล สถานรองกงสุล
ส่วนราชการของกระทรวงการต่างประเทศซึ่งเรียกอีกชื่อเป็นอย่างอื่น

2. “หัวหน้าคณะผู้แทน” ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่ง


ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งหัวหน้าคณะผู้แทนตามรับเบียบพิธีการ
ทูต หรือระเบียบพิิธีการกงสุล

3. “รองหัวหน้าคณะผู้แทน” ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศ
ซึ่งได้รับการแต่ง
page 17

การรักษาราชการแทนในต่างประเทศ

กระทรวง มอบอํานาจ + คําสั่ง


ทบวง
กระทรวงการต่างประเทศ
กรม

นโยบาย + คําสั่ง

นายกรัฐมนตรี หัวหน้าคณะผู้แทน (ใหญ่สุด)

- ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
- ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
-ให้รักษาราชการแทน(ครม.กําหนด)

รองหัวหน้าคณะผู้แทน (ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ)

- ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
- ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
-ให้รักษาราชการแทน(ครม.กําหนด)

# ไม่บังคับใช้กับข้าราชการฝ่ายทหาร บุคคลในคณะผู้แทน
page 18

หน้าที่หัวหน้าคณะผู้แทน
1. บริหารราชการตามกฏหมาย
2. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรีกระทรวงทบวงกรมมอบหมายหรือตาม
ที่นายกรัฐมนตรีสั่งการ
3. บังคับบัญชาบุคคลในคณะผู้แทนและข้าราชการฝ่ายพลเรือนที่ไม่ใช่คณะ
ผู้แทน ซึ่งประจําอยู่ในประเทศที่ตนมีอํานาจ
4. รายงานผลการปฏิบัติราชการของคณะผู้แทนและข้าราชการพลเรือน
page 19

การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค

1. จังหวัด

ข้อมูลทั่วไป
1. ผู้บังคับบัญชา :: ผู้ว่าราชการจังหวัด
หัวหน้าบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝ่ายบริหาร
• ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ :: รองผู้ว่าราชการจังหวัด และ
ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด
• ผู้ช่วยดูแลราชการประจํา :: ปลัดจังหวัด และ
หัวหน้าส่วนราชการ
2. จังหวัดมีฐานะเป็น “นิติบุคคล”
3. การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ตราเป็น “พ.ร.บ.”
page 20

หน้าที่ผู้ว่าราชการจังหวัด
1. บริหารราชการตามกฏหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการ
2. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือ
ตามที่นายกรัฐมนตรีสั่งการในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
3. บริหารราชการตามคําแนะนําและคําชี้แจงของผู้ตรวจราชการกระทรวงใน
เมื่อไม่ขัดต่อกฎหมาย
4. กํากับดูแลการปฎิบัติราชการอันมิใช่ราชการส่วนภูมิภาคของราชการซึ่ง
ประจําอยู่ในจังหวัดนั้น ยกเว้นข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ
ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการใน
สํานักงานตรวจเงินแผ่นดินและข้าราชการครู
5. ประสานงานและร่วมมือกับข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ
ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการใน
สํานักงานตรวจเงินแผ่นดินและข้าราชการครู ผู้ตรวจราชการและหัวหน้าส่วน
ราชการในระดับเขตหรือภาค ในการพัฒนาจังหวัดหรือป้องกันภัยพิบัติ
สาธารณะ
6. เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
7. กํากับดูแล อปท.
8. กํากับการปฎิบัติหน้าที่ของพนักงานองค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ
9. บรรจุ แต่งตั้ง ให้บําเหน็จ และลงโทษข้าราชการส่วนภูมิภาคในจังหวัดตา
มกฏหมาย
page 21
คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด “ก.ธ.จ.”

ทําหน้าที่สอดส่อง เสนอแนะการปฏิบัติภารกิจ (มีทุกจังหวัดยกเว้น กทม.)

คณะกรรมการจังหวัด ที่ปรึกษาของผู้ว่าฯ ในการบริหารราชการแผ่นดิน

ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธาน
~ รองผู้ว่าราชการ
~ ปลัดจังหวัด ยกเว้น!!
~ อัยการจังหวัด กระทรวงมหาดไทย

~ ผู้บังคับการตํารวจภูธรจังหวัด
~ หัวหน้าส่วนราชการประจําจังหวัดจากกระทรวงและทบวง
หัวหน้าสํานักงานจังหวัด กรมการจังหวัดและเลขานุการ

จัดทําแผนพัฒนาจังหวัด ;; ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ
และ ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น
page 22

การแบ่งส่วนราชการของจังหวัด
1. สํานักงานจังหวัด >> ราชการทั่วไปและการวางแผนพัฒนาจังหวัด
ผู้บังคับบัญชา :: หัวหน้าสํานักงานจังหวัด
2. ส่วนต่างๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้จัดตั้งขึ้น >>
ราชการของกระทรวง ทบวง กรมนั้นๆ
ผู้บังคับบัญชา :: หัวหน้าส่วนราชการประจําจังหวัดนั้นๆ

อํานาจจังหวัด
1. นําภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์
2. ดูแลให้มีการปฏิบัติและบังคับการให้เป็นไปตามกฏหมาย เพื่อให้
เกิดความสงบเรียบร้อย
3. จัดให้มีการคุ้มครอง ป้องกัน ส่งเสริม และช่วยเหลือประชาชนและ
ชุมชนที่ได้โอกาส
4. จัดให้มีการบริหารภาครัฐเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่าง
รวดเร็ว และมีคุณภาพ
5. จัดให้มีการส่งเสริม อุดหนุน และสนับสนุน อปท.
6. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับกําหนด
page 23

การรักษาราชการแทนผู้ว่าในจังหวัด

1. ผู้ว่าราชการจังหวัด ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
ผู้ว่าราชการจังหวัด
หรือไม่ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งให้ปลัดกระทรวง
แต่งตั้งรองผู้ว่าฯ คนใดคนหนึ่ง (กรณีมีหลาย
คน)
รองผู้ว่าฯ
2. รองผู้ว่าฯ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้หรือไม่มี
ผู้ดํารงตําแหน่งให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้งผู้ช่วย

ผู้ช่วยผู้ว่าฯ ผู้ว่า
3. ผู้ช่วยผู้ว่าฯ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้หรือ
ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้ง
ปลัดจังหวัด
ปลัดจังหวัด
4. ปลัดจังหวัด ไม่อาจปฏิบัติราชการได้หรือ

หัวหน้าส่วนราชการ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้ง
หัวหน้าส่วนราชการประจําจังหวัดหัวหน้า
5. ส่วนราชการประจําจังหวัด (อาวุโสที่สุด
ตามระเบียบ)

จาก ** ถ้ามีหลายคน ปลัดกระทรวงแต่งตั้ง


• ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด
ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด และนายอําเภอสังกัดกระทรวงมหาดไทย
page 24

2. อําเภอ

ข้อมูลทั่วไป
1. ผู้บังคับบัญชา :: นายอําเภอ
ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ :: ปลัดอําเภอ
2. การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตอําเภอ ตราเป็น “พ.ร.ฎ.”
3. ในจังหวัดหนึ่งให้มีหน่วยงานราชการบริหารรองจากจังหวัด
เรียกว่า “อําเภอ” ไม่ใช่นิติบุคคล

อํานาจหน้าที่นายอําเภอ
1. บริหารราชการตามกฏหมายและระเบียบแบบแผนทาง
ราชการ ถ้ากฎหมายใดไม่ได้บัญญัติว่าการปฎิบัติตามกฏหมาย
นั้นเป็นหน้าที่ของผู้ใดโดยเฉพาะให้เป็นหน้าที่ของนายอําเภอ
2. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรีกระทรวง ทบวง กรม มอบ
หมายหรือตามหน้าที่นายกรัฐมนตรีสั่งการ
3. บริหารราชการตามคําแนะนําและคําชี้แจงของผู้ว่าราชการ
จังหวัดและผู้มีหน้าที่ตรวจการอื่น
4. ควบคุมดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในอําเภอตามกฏ
หมาย
page 25

การไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาททางแพ่ง
ในอําเภอหนึ่งให้มีคณะบุคคลทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยเรื่องพิพาททางแพ่งเกี่ยว
กับที่ดิน มรดก และข้อพิพาททางแพ่งอื่น ที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 200,000 บาท
หรือมากกว่านั้นตามที่กําหนดใน พ.ร.ฎ.

การไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาททางอาญา
บรรดาความผิดที่มีโทษทางอาญา หากเป็นความผิดอันยอมความได้ และ
ไม่ใช่ความผิดที่เกี่ยวกับเพศ ทั้งสองฝ่ายปฏิบัติตามคําไกล่เกลี่ย ให้คดีเลิก
แล้วกันไป

คณะบุคคลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท
ให้นายอําเภอจัดทํารายชื่อบุคคลที่ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อ
พิพาท โดยให้ทั้งคู่พิพาทเลือกบุคคลจากรายชื่อฝ่ายละหนึ่งคน โดยมีนาย
อําเภอ พนักงานอัยการประจําจังหวัด หรือปลัดอําเภอ คนใดคนหนึ่งเป็น
ประธาน
page 26

การแบ่งส่วนราชการของอําเภอ
1. สํานักงานอําเภอ >> ราชการทั่วไปของอําเภอนั้นๆ
ผู้บังคับบัญชา ;; นายอําเภอ
2. ส่วนต่างๆซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งขึ้น >> ราชการของกระทรวง
ทบวง กรมนั้นๆ
ผู้บังคับบัญชา ;; หัวหน้าส่วนราชการประจําอําเภอนั้นๆ

การรักษาราชการแทนนายอําเภอ

กรณีไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งนายอําเภอ

~ ตาย / ลาออก ฯลฯ


~ ผู้ว่าฯ แต่งตั้ง

ปลัดอําเภอ / หัวหน้าส่วนราชการประจําอําเภอ

มีนายอําเภอแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้

~ งานเยอะทําไม่ไหว
~ นายอําเภอแต่งตั้ง

ปลัดอําเภอ / หัวหน้าส่วนราชการประจําอําเภอ
page 27

อํานาจของอําเภอ
1. อํานาจและหน้าที่ตามที่กําหนดในเขตจังหวัดและทําตามแผน
พัฒนาจังหวัด
2. ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มีการบริการร่วมกันของหน่วยงานของ
รัฐในลักษณะศูนย์บริการร่วม
3. ประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อร่วมมือกับชุมชนไกล่
เกลี่ยหรือจัดให้มีการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท เพื่อให้เกิดความสงบ
เรียบร้อยในสังคม

** การจัดการปกครองอําเภอนอกจากที่ได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ
นี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปกครองท้องที่
🖇
📖
page 28
การจัดระเบียบท้องถิ่น

1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
2. เทศบาล
3. สุขาภิบาล (ปัจจุบันยกฐานะเป็นเทศบาล)
4. ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมายกําหนด (อบต./พัทยา/กทม.)

การปฏิบัติราชการแทน = การมอบอํานาจ
หลักพิจารณาการมอบอํานาจ
1. อํานวยความสะดวกแก่ประชาชน
2. ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ
3. การกระจายความรับผิดชอบ
การมอบอํานาจให้ทําเป็นหนังสือ โดยผู้ดํารงตําแหน่งนั้นอาจมอบ
อํานาจให้ผู้ดํารงตําแหน่งอื่นในส่วนราชการเดียวกันหรือส่วนราชการอื่น หรือผู้
ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ปฏิบัติราชการแทนได้ ทั้งนีต
้ ามหลักเกณฑ์ที่กําหนด
ใน “พ.ร.ฎ.”
ไม่ได้บังคับกับกฎหมายที่บัญญัติให้ต้องออกใบอนุญาตหรือผู้มีอํานาจ
อนุญาตไว้เป็นการเฉพาะ

1. ฝ่ายผู้มอบอํานาจ มีหน้าที่กํากับ ดูแล ให้คําปรึกษาแก่ผู้รับมอบ


2. ฝ่ายผู้รับมอบอํานาจ ปฎิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย
page 29

1. การปฏิบัติราชการแทน ผู้ดํารงตําแหน่งยังอยู่ในตําแหน่ง อยู่ในที่ทํางาน


เป็นเหนื่อยงานเยอะทําไม่ไหวจึงมอบอํานาจเพื่อแบ่งเบาภาระงาน
2. การรักษาราชการแทน ผู้ดํารงตําแหน่งยังอยู่ในตําแหน่ง แต่ไม่อยู่ในที่
ทํางาน เช่น ติดราชการต่างจังหวัด ป่วย ลากิจ
3. การปฎิบัติหน้าที่แทน ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งนั้นพูดง่ายๆ หลุดจากตําแหน่ง
เช่น ครบวาระ ตาย ลาออก โดนไล่ออก

การรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี
~ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
~ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
~ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง ; (กรณีมีรองนายกรัฐมนตรีหลายคน)
~ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
~ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
~ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง
page 30

การรักษาการในกระทรวง

รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
~ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
~ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
~ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคนใดคนหนึ่ง
(กรณีมี รมต. ช่วยว่าการกระทรวงหลายคน)
~ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
~ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
~ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง บังคับแก่รัฐมนตรีว่าการทบวงด้วย
page 31

เลขานุการรัฐมนตรี
~ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
~ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
~ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมอบหมาย

ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี (กรณีมีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีหลายคน)
~ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
~ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
~ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแต่งตั้ง

ข้าราชการในกระทรวงหนึ่งคน บังคับแก่เลขานุการรัฐมนตรีว่าการทบวงด้วย
page 32
ปลัดกระทรวง
~ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
~ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
~ นายกรัฐมนตรี(สํานักนายกรัฐมนตรี) /
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมอบหมาย

รองปลัดกระทรวงคนใดคนหนึ่ง (กรณีมีรองปลัดกระทรวงหลายคน)
~ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
~ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
~ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมอบหมาย หรือ
นายกรัฐมนตรีกรณีสํานักนายกรัฐมนตรี

ข้าราชการในกระทรวงหนึ่งคน
(ไม่ตํ่ากว่าอธิบดี)

รองปลัดกระทรวง
~ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งรองปลัดกระทรวง
~ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
~ ปลัดกระทรวงแต่งตั้ง

ข้าราชการในกระทรวงหนึ่งคน ใช้บังคับแก่กรณีที่ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
(ไม่ตํ่ากว่าผอ.กอง) ปลัดทบวงหรือรองปลัดทบวงด้วย
page 33

การรักษาในกรม

อธิบดี
~ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
~ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
~ ปลัดกระทรวงแต่งตั้ง

รองอธิบดีคนใดคนหนึ่ง (กรณีมีรองอธิบดีหลายคน)
~ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง
~ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
~ ปลัดกระทรวงแต่งตั้ง

ข้าราชการในกรม
(ตําแหน่งเทียบเท่ารองอธิบดี) หรือข้าราชการตั้งแต่หัวหน้ากองขึ้นไป

รองอธิบดี
~ ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งรองอธิบดี
~ ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
~ อธิบดีแต่งตั้ง
ข้าราชการในกระทรวงหนึ่งคน
(ไม่ตํ่ากว่าหัวหน้ากอง)
page 34
• กรณีที่ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งเลขานุการกรม / หัวหน้าส่วนราชการ หรือมีแต่
ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้อธิบดีแต่งตั้งข้าราชการในกรมหนึ่งคน (ไมตํ่ากว่า
หัวหน้ากอง) รักษาการแทน
• การรักษาการในกลุ่มให้นํามาบังคับแก่กรณีที่ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งเลขาธิการ
รองเลขาธิการ ผู้อํานวยการ รองผู้อํานวยการ หรือตําแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น
ซึ่งเทียบเท่า ปลัดกระทรวงหรืออธิบดี ในส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมี
ฐานะเป็นกรมด้วย
• ผู้รักษาราชการแทนมีอํานาจหน้าที่เช่นเดียวกับ บุคคลที่ตนรักษาราชการ
แทน
page 35

กรณีไม่มีผู้ดํารงตําแหน่ง คนที่มอบหมายบุคคล
ให้รับตําแหน่งแทน

นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง คณะรัฐมนตรี
เลขานุการรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ปลัดกระทรวง นายกฯ / รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
รองปลัดกระทรวง ปลัดกระทรวง
อธิบดี ปลัดกระทรวง
page 36

ทําหน้าที่เสนอแนะและให้คําปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรี
เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ

ประธาน นายกรัฐมนตรี / รองนายกฯ ที่นายกฯมอบหมาย

รองประธาน(1) ผู้แทน(1) ผู้ทรงคุณวุฒิ(10)

ครม. แต่งตั้งจากผู้มีความรู้ด้าน
นิติศาสตร์
เศรษฐศาสตร์

รัฐมนตรีที่นายก ผู้แทนคณะกรรมการ รัฐศาสตร์

รัฐมนตรีกําหนด การกระจายอํานาจ การบริหารรัฐกิจ


การบริหารธุรกิจ
การเงินการคลัง
จิตวิทยาองค์การ
สังคมวิทยา
3-5 คนทํางานเต็มเวลา
-

เลขาธิการ (ก.พ.ร.) เลขานุการ


-

*** ผู้ทรงคุณวุฒิ มีวาระ 4 ปี ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน


page 37

คุณสมบัติผู้ทรงคุณวุฒิ
1. สัญชาติไทย
2. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย ไร้ความสามารถ
3. ไม่เคยได้รับโทษจําคุก ยกเว้นประมาทหรือลหุโทษ
4. ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง
5. ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ

การพ้นจากตําแหน่งของผู้ทรงคุณวุฒิ
1. ครบวาระ 4 ปี หรือ ตาย
2. ลาออก
3. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม
4. คณะรัฐมนตรีให้ออก

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
เป็นส่วนราชการในสํานักนายกรัฐมนตรี รับผิดชอบงานธุรการ
ของ ก.พ.ร. เลขาธิการ ก.พ.ร. เป็นผู้บังคับบัญชา
page 38
อํานาจหน้าที่ ก.พ.ร.
1. เสนอแนะและให้คําปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ
2. เสนอแนะและให้คําปรึกษาแก่หน่วยงานอื่น
3. รายงานต่อคณะรัฐมนตรีในกรณีที่มีการดําเนินการขัดหรือไม่สอดคล้องกับ หลัก
เกณฑ์ที่กําหนด
4. เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกําหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดตั้ง การรวม
การโอน การยุบเลิก การกําหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกําหนดอํานาจหน้าที่ และ
การแบ่งส่วนราชการ
5. เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกา
6. ดําเนินการให้มีการชี้แจงทําความเข้าใจแก่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
และประชาชนทั่วไป
7. ติดตาม ประเมินผล และแนะนํา เพื่อให้มีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
8. ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้
9. กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม รวมตลอดทั้งกําหนดแนวทาง
ปฏิบัติ ในกรณีที่เป็นปัญหา มติของคณะกรรมการตามข้อนี้ เมื่อได้รับความเห็นชอบ
จากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้ใช้บังคับได้
10. เรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบการ
อย่างอื่นเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา
11. แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือ คณะทํางาน
12. ปฎิบัติหน้าที่อื่นตามที่กําหนดใน พ.ร.บ.
page 39

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา :: วันที่ 9 ตุลาคม 2546


บังคับใช้ ถัดจากวันประกาศ :: วันที่ 10 ตุลาคม 2546
ผู้รักษาการ :: นายกรัฐมนตรี
แก้ไขล่าสุดฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562

คํานิยาม

“ส่วนราชการ” ส่วนราชการตามกฏหมายว่าด้วยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง


กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกํากับของราชการฝ่ายบริหาร
** แต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ. อบต. เทศบาล กทม.
พัทยา)
“รัฐวิสาหกิจ” รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดย พ.ร.บ. หรือ พ.ร.ฎ.
“ข้าราชการ” พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานในส่วนราชการ (ทุกคน
ทุกหมู่เหล่า)
page 40

เป้าหมายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเป็น
5. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์
6. ประชาชนได้รับอํานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความ
ต้องการของประชาชน
7. มีการประเมินผลการปฎิบัติงานอย่างสมํ่าเสมอ
page 41

1. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน

เป้าหมาย เพื่อให้เกิดความผาสุก ความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ความสงบ


และความปลอดภัยของสังคม ตลอดจนสูงสุดของประเทศ
•• ประชาชนเป็นศูนย์กลางที่ได้รับการบริการจากรัฐ

แนวทางการบริหารราชการ ดังนี้
1. การกําหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์
และสอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐ
2. การปฎิบัติภารกิจต้องเป็นไปด้วยความซื่อสัตย์สุจริตตรวจสอบได้
และมุ่งให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน
3. ก่อนเริ่มดําเนินการ ส่วนราชการต้องจัดให้มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดี
ผลเสียให้ครบถ้วนทุกด้าน
4. เป็นหน้าที่ของราชการที่จะต้องคอยรับฟังความคิดเห็นและความพึง
พอใจของสังคมโดยรวม
5. ในกรณีที่เกิดปัญหาและอุปสรรคจากการดําเนินการ ให้ส่วนราชการ
ดําเนินการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค นั้นโดยเร็ว และให้แจ้ง ก.พ.ร. ทราบ
ด้วย
page 42

2. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจ

การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ให้ส่วนราชการปฎิบัติ
ดังต่อไปนี้
1. ปีอนดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติราชการไว้ล่วงหน้า
2. กําหนดขั้นตอน ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัดความ
สําเร็จของภารกิจ
3. จัดให้มีการติดตามและประเมินผล ตามมาตรฐาน ก.พ.ร.
4. ถ้าการปฎิบัติภารกิจเกิดผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องดําเนินการ
แก้ไขให้เหมาะสม

แผนปฎิบัติราชการ
ให้ส่วนราชการจัดทําแผนปฎิบัติราชการ โดยจัดทําแผนเป็นแผน 5 ปี
ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนปฏิรูปประเทศ แผน
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงต่อสภา
กรณีที่กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณกําหนดให้ส่วนราชการต้องทํา
แผนปฏิบัติราชการเพื่อขอรับงบประมาณ ให้สํานักงบประมาณและ ก.พ.ร. ร่วม
กันกําหนดแนวทางการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ
page 43

แผนปฎิบัติราชการประจําปี
ในแต่ละปีงบประมาณให้ส่วนราชการจัดทําแผนปฎิบัติราชการประจําปี
โดยให้ระบุสาระสําคัญเกี่ยวกับนโยบายการปฏิบัติราชการ เป้าหมาย
ผลสําเร็จของงาน และงบประมาณรายได้และรายจ่ายและทรัพยากรอื่น แล้ว
เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบโดยให้สํานัก งบประมาณจัดสรร
เงินสําหรับภารกิจนั้น

รูปภาพการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ

ส่วนราชการจัดทํา >> แผนปฎิบัติราชการ 5 ปี


ช่วงแรกจัดทําแผน 3 ปี (ปีงบ 2563-2565)
สอดคล้อง - ยุทธศาสตร์ชาติ
- แผนแม่บท
- แผนการปฏิรูปประเทศ
- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
- นโยบายของรัฐมนตรี
(สํานักงบประมาณ + ก.พ.ร. ตรวจสอบป้องกันเพิ่มภาระงาน)

>> รัฐมนตรี >>> เห็นชอบ >>>> สํานักงบประมาณจัดสรรเงิน


page 44

สิ้นปีงบประมาณ
ส่วนราชการ >> จัดทําแผนปฎิบัติราชการประจําปี (1 ปี)
รายงานแสดงผลสัมฤทธิ์

>> คณะรัฐมนตรี

3. การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

เพื่อให้การปฏิบัติราชการภายในส่วนราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ให้ส่วนราชการกําหนดเป้าหมาย >> แผนการทํางาน >> ระยะเวลาเสร็จ
โครงการ >> งบประมาณ และต้องเผยแพร่ให้ทราบทั่วกัน

1. จัดทําบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะ (เกณฑ์ตามกรมบัญชีกลาง
กําหนด)
2. คํานวณรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะ รายงานให้สํานักงบ
ประมาณ กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ กรณีที่รายจ่ายต่อหน่วยของ
ราชการใดสูงกว่าส่วนราชการอื่นที่เป็นประเภทและคุณภาพเดียวกัน ให้จัด
ทําแผนการลดรายจ่าย (ภายใน 15 วัน ไม่ทักท้วงให้ใช้ตามแผน)
page 45

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
+ สํานักงบประมาณ

จัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฎิบัติภารกิจของรัฐ

รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อเป็น
แนวทางในการพิจารณาว่า
ภารกิจใดสมควรจะได้ดําเนิน
การต่อไปหรือยุบเลิก

~ ประเภทและสภาพของแต่ภารกิจ
~ ความเป็นไปได้ของภารกิจ
~ ประโยชน์ที่รัฐและประชาชนจะได้รับ
~ รายจ่ายที่ต้องเสียไปก่อนและหลังทํา
~ ประโยชน์หรือผลเสียทางสังคม
~ ประโยชน์หรือผลเสียอื่น ซึ่งไม่อาจคํานวณ
เป็นตัวเงินได้ด้วย
page 46

3. การจัดซื้อหรือจัดจ้าง ในส่วนราชการดําเนินการโดยเปิดเผยและเที่ยง
ธรรม โดยพิจารณาถึงประโยชน์และผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน
คุณภาพ วัตถุประสงค์ที่จะใช้ ราคา และประโยชน์ระยะยาว
***คํานึงถึงคุณภาพและการดูแล รักสาเป็นสําคัญไม่ต้องถือราคาตํ่าสุด
4. ในการปฎิบัติภารกิจ หากจําเป็นต้องได้รับอนุญาต อนุมัติหรือความเห็น
ชอบจากส่วนราชการอื่น ให้สวนราชการที่มีอํานาจพิจารณา ต้องแจ้งผลการ
พิจารณาในส่วนราชการที่ยื่นคําขอทราบภายใน 15 วันนับตั้งแต่วันที่ได้
รับคําขอ (กรณีเกิน 15 วัน ประกาศกําหนดระยะเวลาไว้ให้ส่วนราชการอื่น
ทราบ)
5. แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาวินิจฉัย (ชี้ขาดปัญหา) ไม่ได้บังคับกับการ
วินิจฉัยด้านกฎหมาย
6. การสั่งราชการโดยปกติให้กระทําเป็นลายลักษณ์อักษร เว้นแต่มีความ
จําเป็นที่ไม่อนุญาตสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรในขณะนั้น จะสั่งราชการด้วย
วาจาก็ได้แต่ให้ผู้ได้รับคําสั่ง บันทึกไว้เป็นไรรักอักษรในภายหลังและให้
รายงานผู้สั่งการทราบ
page 47
4. การลดขั้นตอนปฏิบัติงาน

1. ให้ส่วนราชการจัดให้มกี ารกระจายอํานาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการสั่งการ
อนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ ให้แก่ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการดําเนิน
การในเรื่องนั้นโดยตรง เพื่อให้เกิดความรวดเร็วและลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ
มุ่งผลให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการบริการประชาชน
2. ให้ส่วนราชการกําหนดหลักเกณฑ์การควบคุม ติดตาม และกํากับดูแลการใช้
อํานาจและความรับผิดชอบของผู้รับมอบอํานาจและผู้มอบอํานาจไว้ด้วย
3. ก.พ.ร. ด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีจะกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ
หรือแนวทางในการกระจายอํานาจการตัดสินใจ
4. ถ้าใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือโทรคมนาคม แล้วจะเป็นการลดขั้นตอน เพิ่ม
ประสิทธิภาพและประหยัดค่าใช้จ่าย รวมทั้งไม่เกิดผลเสียหายแก่ราชการให้
ส่วนราชการดําเนินการให้เหมาะสม
5. ใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลกลางที่สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน)
จัดทําขึ้น
6. สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล จะต้องทําแพลตฟอร์มให้เสร็จภายใน 90 วัน
นับแต่วันที่ พ.ร.ฎ. นี้มีผลบังคับใช้
7. เมื่อแพลตฟอร์มเสร็จแล้ว ให้หัวหน้าส่วนราชการนํามาใช้ในการบริการ
ประชาชนและการติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ภายใน 2 ปี
นับแต่วันที่แพลตฟอร์มเสร็จ (หากไม่เสร็จให้รายงาน ก.พ.ร. พิจารณาขยาย
เวลา)
page 48
เป้าหมาย
- ความรวดเร็ว
- ลดขั้นตอน
- สะดวกรวดเร็วในการให้
บริการประชาชน
ส่วนราชการการ
- กระจายอํานาจ
การตัดสินใจ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ - หาข้อมูล

แพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง
- จัดทํา
ของสํานักงานพัฒนารัฐบาล
(องค์การมหาชน)
page 49

การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม
1. ในกระทรวงหนึ่งให้เป็นหน้าที่ของปลัดกระทรวง จะต้องจัดตั้งศูนย์บริการ
ร่วม เพื่ออํานวยความสะดวกแก่ประชาชน ในการติดต่อสอบถาม ขอทราบ
ข้อมูล ขออนุญาต ขออนุมัติในเรื่องใดๆ ที่เป็นอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการ
ในกระทรวงเดียวกัน โดยติดต่อเจ้าหน้าที่ ณ ศูนย์บริการร่วมเพียงแห่ง
เดียว โดยยื่นที่เดียวเหมือนการยื่นเอกสารให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกแห่ง
2. ในจังหวัดให้ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอําเภอ และปลัดอําเภอผู้เป็น
หัวหน้าประจําอําเภอ ร่วมกันจัดตั้งศูนย์บริการร่วม ณ ศาลากลางจังหวัด
ที่ว่าการอําเภอ หรือกิ่งอําเภอตามสมควร

กระทรวง A

- ปลัดกระทรวง A จัดตั้ง
- สอบถาม
- ขอทราบข้อมูล
- ขออนุญาต
ศูนย์บริการร่วม

ในกระทรวง A ประชาชน สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ ณ ศูนย์บริการร่วมเพียงแห่งเดียว


page 50

5. การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ

** ให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตนว่ามีความจําเป็น
หรือไม่ ตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนปฏิรูปประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่
แถลงต่อรัฐสภา รวมถึงงบประมาณ ความคุ้มค่าของภารกิจ และ
สถานการณ์อื่นประกอบกัน

การพิจารณาปรับปรุงภารกิจแบ่งออกเป็น

1. ส่วนราชการเห็นเอง กรณีที่ส่วนราชการเห็นควรยกเลิก ปรับปรุง หรือ


เปลี่ยนแปลงภารกิจ ให้ส่วนราชการดําเนินการปรับปรุงอํานาจหน้าที่
โครงสร้าง อัตรากําลัง ให้สอดคล้องกันแล้วเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา
ดําเนินการต่อไป
page 51

2. ก.พ.ร. ขอแจม ถ้า ก.พ.ร. พิจารณาเห็นว่าภารกิจใดสมควร


เปลี่ยนแปลง ยกเลิก เพิ่มเติม ให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา
ถ้าเห็นชอบแล้วให้ดําเนินการปรับปรุงภารกิจ

3. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ตาดี) เห็นว่ากฎหมาย


กฎระเบียบข้อบังคับ หรือประกาศ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วน
ราชการใด ไม่สอดคล้องหรือเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
ไม่เอื้ออํานวยต่อการพัฒนาประเทศ เป็นอุปสรรคต่อการประกอบ
กิจการหรือการดํารงชีวิตของประชาชน หรือก่อให้เกิดภาระหรือความ
ยุ่งยากต่อประชาชน เสนอแนะต่อส่วนราชการนั้นเพื่อดําเนินการ
แก้ไขปรับปรุง หรือยกเลิกโดยเร็วต่อไป

• ถ้าส่วนราชการที่ได้รับการเสนอแนะไม่เห็นชอบด้วยคําเสนอแนะ
ของคณะกรรมการกฤษฎีกาให้เสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อ
พิจารณาวินิจฉัย
page 52

เสนอ
ส่วนราชการ ก.พ.ร. หลักการพิจารณาทบทวน

ทบทวนถึง -ยุทธศาสตร์ชาติ -งบประมาณ


-ความจําเป็น? -แผนแม่บท -ความคุ้มค่า
-สมควรยกเลิก? -แผนการปฏิรูปประเทศ -สถานการณ์อื่น
-สมควรปรับปรุง? -แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
-สมควรเปลี่ยนแปลง? สังคมแห่งชาติ
-นโยบายของคณะรัฐมนตรี

เสนอ
เสนอให้การแก้ไข ค.ร.ม.
สคก. ส่วนราชการ
ดําเนินการแก้ไข
-เห็นว่ากฎหมาย กฎระเบียบ ไม่เหมาะสม
-ไม่เอื้ออํานวยต่อการพัฒนาประเทศ
-เป็นอุปสรรคต่อการดํารงชีวิตของประชาชน

• กรณีที่มีการยุบเลิก โอน หรือรวมส่วนราชการใดห้ามไม่ให้จัดตั้งส่วน


ราชการเดียวกันคล้ายคลึงกัน ยกเว้นมีการเปลี่ยนแปลงแผนการบริหาร
ราชการแผ่นดิน/รักษาความมั่นคงของรัฐ และได้รับความเห็นชอบจาก ก.พ.ร.
page 53

6. การอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน

1. การปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้องกับการบริการประชาชน ให้มีการกําหนด
ระยะเวลาแล้วเสร็จของงาน และประกาศให้ประชาชนและข้าราชการทราบ
เป็นการทั่วไป
2. การกําหนดระยะเวลาเสร็จของงานแต่ ก.พ.ร. เห็นว่าล่าช้าเกินสมควร
ก.พ.ร. จะกําหนดเวลาแล้วเสร็จให้ปฏิบัติตาม
3. ส่วนราชการใดได้รับการติดต่อสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชนหรือ
จากส่วนราชการด้วยกัน ส่วนราชการนั้นจะต้องตอบคําถามหรือแจ้งการ
ดําเนินการให้ทราบภายใน 15 วัน
4. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จัดให้มีระบบเครือข่าย
สารสนเทศกลางเพื่ออํานวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่ประชาชน
5. ในกรณีการแจ้งผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศ ไม่ให้เปิดเผยชื่อหรือที่
อยู่ของผู้ร้องเรียนเสนอแนะหรือแสดงความคิดเห็น
6. เสียงราชการต้องจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณรายจ่าย
แต่ละปี ให้ประชาชนสามารถขอดูหรือตรวจสอบได้ ณ สถานที่ทําการ และ
ระบบเครือข่ายสารสนเทศ
page 54

7. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ

ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กําหนด

คณะผู้ประเมินอิสระประเมินผลการปฏิบัติราชการ คณะรัฐมนตรี

จัดสรรเงินพิเศษ
-ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ
-คุณภาพการให้บริการ เสนอ
-ความพึงพอใจของประชาชน
-ความคุ้มค่าในภารกิจ
ก.พ.ร.

ส่วนราชการใดดําเนินการให้บริการที่มีคุณภาพ
และเป็นไปตามเป้าหมายที่กําหนด รวมทั้งเป็น
ที่พึ่งพอใจแก่ประชาชน

ส่วนราชการที่ทํางานได้ตามเป้าหมายเพิ่มผลงาน
ผลสัมฤทธิ์โดยไม่เพิ่มค่าใช้จ่ายและคุ้มค่าต่อ
ภารกิจของรัฐหรือลดค่าใช้จ่ายต่อหน่วยได้ตาม
หลักเกณฑ์
page 55

บทเบ็ดเตล็ด

>>> ให้ อปท. จัดทําหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตาม


แนวทางของ พ.ร.ฎ. นี้โดยอย่างน้อยต้องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการลด
ขั้นตอนการปฎิบัติงาน และการอํานวยความสะดวก และการตอบสนอง
ความต้องการของประชาชน โดยมีกระทรวงมหาดไทยดูแลและให้ความ
ช่วยเหลือ

>>> ให้องค์การมหาชนและรัฐวิสาหกิจ จัดให้มีหลักเกณฑ์การบริหาร


กิจการตาม พ.ร.ฎ. นี้ในกรณีที่ ก.พ.ร. เห็นว่าองค์การมหาชนหรือ
รัฐวิสาหกิจใดไม่จัดให้มีหลักเกณฑ์ตาม พ.ร.ฎ. นี้หรือมีแต่ไม่
สอดคล้องให้แจ้งรัฐมนตรีซึ่งมีหน้าที่กํากับดูแลองค์การมหาชนหรือ
รัฐวิสาหกิจ
page 56

ประกาศในราชกิจจ์จานุเบกษา :: วันที่ 14 พฤศจิกายน 2539


บังคับใช้เมื่อพ้นกําหนด 180 วัน นับแต่วันถัดจากวันประกาศ
ผู้รักษาการ :: นายกรัฐมนตรี

พ.ร.บ.นี้ไม่ได้บังคับกับ ?

องค์การทางศาสนา

นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ

การพิจารณาของนายกฯ/ องค์กรใช้อํานาจตาม
รัฐสภา + ครม.
รมต. รัฐธรรมนูญ

การสั่งการของ คกก.
นโยบายการต่างประเทศ กระบวนการยุติธรรม
กฤษฎีกา
ทางอาญา
ราชการทหาร
พิพากษาคดีของศาล
page 57

• ถ้าหน่วยงานใดไม่อยากบังคับใช้ พ.ร.บ. นี้ให้ตราเป็น พ.ร.ฎ. ตามข้อ


เสนอของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

“ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” การเตรียมการและการดําเนินการ
ของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคําสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึงการ
ดําเนินการใดๆ ในทางปกครอง (จะเริ่มตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงการ
ปฎิบัติเพื่อเกิดเป็นคําสั่งทางปกครอง/กฎ)

“ การพิจารณาทางปกครอง” การเตรียมการและการดําเนินการ
ของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคําสั่งทางปกครอง (แค่เตรียมการ
แต่ไม่ได้นําไปปฏิบัติ ชื่อก็บอกไว้อยู่แล้วว่าแค่พิจารณา)
page 58

คําสั่งทางปกครอง

(1) การใช้อํานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติ
สัมพันธ์ระหว่างบุคคล ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับหรือมี
ผลต่อสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ทั้งถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การ
อนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน
แต่ไม่ใช่การออกกฎ
(2) การอื่นที่กําหนดในกฎกระทรวง
“กฎ” พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น
ระเบียบ ข้อบังคับมีผลบังคับเป็นการทั่วไป มิใช่เฉพาะกลุ่ม (จําว่าคนหมู่
มากถึงตั้งเป็นกฎ เพราะคนเยอะวุ่นวาย)
“คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท” คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นสําหรับการ
วินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหน้าที่ตามกฏหมาย
“เจ้าหน้าที่” บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใช้อํานาจทางปกครอง
ของรัฐในการดําเนิน ทั้งในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐ
“คู่กรณี” ผู้ยื่นคําขอหรือผู้คัดค้านคําขอ ผู้อยู่ในบังคับหรือจะอยู่ในบังคับ
ของคําสั่งทางปกครอง และผู้ซึ่งได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทาง
ปกครองเนื่องจากสิทธิของผู้นั้นจะถูกกระทบกระเทือนจากผลของคําสั่งทาง
ปกครอง
page 59

คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

ประธาน >> คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง (มีวาระ 3ปี เป็นซํ้าได้) 1 คน

~ ปลัดสํานักนายกฯรัฐมนตรี
~ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
~ เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
~ เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
~ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา

* ผู้ทรงคุณวุฒิ (มีวาระ 3 ปี เป็นซํ้าได้) 5 ถึง 9 คน

เลขานุการ + ผู้ช่วยเลขานุการ << เลขาธิการ คกก.กฤษฎีกาแต่งตั้งขรก.ในสังกัด

จาก ** พ้นจากตําแหน่งเมื่อ ครม. มีมติให้ออก / ตาย / ลาออก / ล้มละลาย /


ไร้ความสามารถ / รับโทษจําคุก / มีเหตุให้ผล
page 60

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

รับผิดชอบงานธุรการ

ทําหน้าที่เป็น สํานักงานเลขานุการ

ของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

หน้าที่คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

1. สอดส่องดูแลให้คําแนะนําเกี่ยวกับ พ.ร.บ.นี้
2. ให้คําปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่
3. มีหนังสือเรียกเจ้าหน้าที่/บุคคล ชี้แจงพิจารณา
4. เสนอแนะการตรา พ.ร.ฎ./กฎกระทรวง/พ.ร.บ.
5. ทํารายงานเสนอ ครม. ปีละ 1 ครั้ง
page 61

1. เจ้าหน้าที่

เจ้าหน้าที่ที่พิจารณาทางปกครองไม่ได้

1. เป็นคู่กรณีเอง
2. เป็นคู่หมั้น/คู่สมรสของคู่กรณี
3. เป็นญาติของคู่กรณี ถ้าเป็นพี่น้องนับได้ 3 ชั้น
ญาติทางแต่งงานนับได้ 2 ชั้น
4. เป็นหรือเคยเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของคู่กรณี
5. เป็นเจ้าหนี้/ลูกหนี้/นายจ้างของคู่กรณี
page 62

2. คู่กรณี

บุคคลที่สามารถกระทําการในกระบวนการพิจารณาทางปกครองได้

1. ผู้ซึ่งบรรลุนิติภาวะ (20 ปีบริบูรณ์)


2. ผู้ซึ่งมีกฎหมายเฉพาะกําหนดว่าทําได้
3. บุคคลธรรมดา นิติบุคคล คณะบุคคล โดยผู้แทน/ตัวแทน แล้วแต่กรณี
4. ผู้ซึ่งมีประกาศของนายกรัฐมนตรีหรือนายกฯ มอบหมายว่ากระทําได้

3. การพิจารณา

เอกสารที่ยื่นต่อเจ้าหน้าที่ให้ทําเป็นภาษาไทย ถ้าเป็นภาษาต่างประเทศ
ให้คู่กรณีทําเป็นภาษาไทยที่มีการรับรองความถูกต้อง (ตามหลักเกณฑ์
และวิธีการในกฎกระทรวง) ภายในเวลาที่กําหนด
page 63

เจ้าหน้าที่ต้องพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นว่าจําเป็นแก่การพิสูจน์

1. พยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง
2. รับฟังพยานหลักฐาน คําชี้แจง หรือความเห็นของคู่กรณีหรือของพยาน
บุคคล
3. ขอข้อเท็จจริงหรือความเห็นจากคู่กรณี พยานบุคคล หรือพยาน
ผู้เชี่ยวชาญ
4. ขอให้ผู้ครอบครองเอกสารส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง
5. ออกไปตรวจสถานที่

เจ้าหน้าที่ต้องให้คู่กรณีมีโอกาสที่จะได้ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอและ
มีโอกาสได้โต้แย้งและแสดงพยานหลักฐานของตน ยกเว้น!!!

1. เมื่อมีความจําเป็นรีบด่วนหากช้าไปจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่าง
ร้ายแรงแก่บุคคล/ประโยชน์สาธารณะ
2. ระยะเวลาที่กฎหมายหรือกฎกําหนดไว้ในการทําคําสั่งห้าหกคงต้อง
ล่าช้าออกไป
3. เป็นข้อเท็จจริงที่คู่กรณีนั้นเองได้ให้ไว้ในคําขอคําให้การหรือคําแถลง
4. เห็นได้ชัดเจนว่าไม่ควรให้โอกาส
5. เป็นมาตรการบังคับทางปกครอง
page 64

4. รูปแบบและผลของคําสั่งทางปกครอง

คําสั่งทางปกครอง

ระบุ วัน/เดือน/ปี ปีที่ทําคําสั่ง ชื่อ ตําแหน่งเจ้าหน้าที่


ลายมือชื่อการออกคําสั่งให้ทําเสร็จภายใน 30 วัน

เจ้าหน้าที่ต้องทําเป็นหนังสือ ถ้าผู้รับคําสั่งร้องขอและ
เป็นเหตุอันสมควรภายใน 7 วัน

การยืนยันคําสั่งทางปกครอง ต้องจัดให้มีเหตุผล ประกอบด้วย

1. ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสําคัญ
2. ข้อกฎหมายที่อ้างอิง
3. ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินิจ
page 65

แต่ไม่ได้บังคับกับกรณีดังต่อไปนี้

1. เป็นกรณีที่มีผลตรงตามคําขอและไม่กระทบสิทธิ์และหน้าที่ของ
บุคคลอื่น
2. เหตุผลนั้นเป็นที่รู้กันอยู่แล้ว
3. ต้องรักษาไว้เป็นความลับ
4. ออกคําสั่งด้วยวาจาหรือเป็นกรณีเร่งด่วนแต่ต้องให้เหตุผลเป็น
ลายลักษณ์อักษรในเวลาอันควร

การกําหนดเงื่อนไขการออกคําสั่งทางปกครอง

1. การกําหนดให้สิทธิ์หรือภาระหน้าที่เริ่มมีผลหรือสิ้นผล
ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง
2. การกําหนดให้การเริ่มมีผลหรือสิ้นผลของสิทธิ์หรือภาระ
หน้าที่ต้องขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ในอนาคตที่ไม่แน่นอน
3. ขอสงวนสิทธิ์ที่จะยกเลิกคําสั่งทางปกครอง
4. การกําหนดให้ผู้ได้รับประโยชน์ต้องกระทําหรืองดเว้นกระทํา
หรือต้องมีภาระหน้าที่บางประการ
page 66

คําสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมาย
เป็นการให้ประโยชน์แก่ผู้รับคําสั่งทางปกครอง

1. มีกฎหมายกําหนดให้เพิกถอนได้
2. คําสั่งทางปกครองนั้นมีข้อกําหนดให้ผู้รับประโยชน์ต้องปฏิบัติ
แต่ไม่มีแฟนปฏิบัติภายในเวลาที่กําหนด
3.ข้อเท็จจริงและพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป
4. บทกฎหมายเปลี่ยนแปลงไป
5. อาจเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะ

กรณีที่คําสั่งทางปกครองยังไม่สมบูรณ์

1. ยังไม่มีผู้ยื่นคําขอในกรณีที่เจ้าหน้าที่จะดําเนินการเองไม่ได้
2. ต้องจัดให้มีเหตุผลในคําสั่งทางปกครอง
3. การรับฟังคู่กรณีที่จําเป็นต้องทําได้ดําเนินการมาโดยไม่สมบูรณ์
4.คําสั่งทางปกครองที่ต้องให้เจ้าหน้าที่อื่นให้ความเห็นชอบก่อน
page 67

5. การอุทธรณ์คําสั่งทางปกครอง

เห็นด้วย


พิจารณา < 30 วัน
คู่กรณี เจ้าหน้าที่

ยื่นอุทธรณ์ < 15 วัน

ไม่เห็นด้วย
ผู้มีอํานาจ
พิจารณา < 30 วัน + 30 วัน

6. การเพิกถอนคําสั่งทางปกครอง

• การเพิกถอนคําสั่งทางปกครองที่มีลักษณะเป็นการให้ประโยชน์ต้อง
กระทําภายใน 90 วัน
• การเพิกถอนคําสั่งทางปลุกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งเป็นเงิน/
ทรัพย์สิน คํานึงถึงความเชื่อโดยสุจริตของผู้รับประโยชน์+สาธารณะ
ประกอบกัน
• กรณีผู้ได้รับผลกระทบจากการเพิกถอน ต้องร้องขอค่าทดแทนภายใน
180 วัน
page 68

กรณีผู้รับคําสั่งทางปกครองจะอ้างความเชื่อโดยสุจริตไม่ได้

1. แสดงความเท็จ ปกปิดข้อความจริง
2. ข้อความไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน
3. ไม่รู้ถึงความไม่ชอบด้วยกฎหมาย (รู้ว่าผิดแต่ก็ทํา) หรือประมาท
เลินเล่ออย่างร้ายแรง

7. การขอให้พิจารณาใหม่

1. มีพยานหลักฐานใหม่
2. ก็รณีที่แท้จริง ไม่ได้อยู่ในกระบวนการพิจารณา
3. เจ้าหน้าที่ไม่มีอํานาจที่จะทําคําสั่งทางปกครอง
4. กฎหมายที่ใช้ในคดีได้เปลี่ยนแปลงไปในทางที่เป็นประโยชน์แก่คู่กรณี
page 69

8. การบังคับทางปกครอง

บททั่วไป

• การบังคับทางปกครองไม่ใช่บังคับกับหน่วยงานรัฐด้วยกัน
• หากบุคคลนั้นถึงแก่ความตาย ใหทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดก
เป็นผู้อยู่ในบังคับของมาตรการการบังคับทางปกครองนั้น

การบังคับตามคําสั่งทางปกครองที่กําหนดให้ชําระเงิน

กรณีแจ้งชําระเงิน

ยึด/อายัด
ทรัพย์สิน

เจ้าหน้าที่ นาย A
< 7 วัน > 7 วัน
page 70

หน่วยงานรัฐต้องดําเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สินภายใน 10 ปีนับแต่
วันที่คําสั่งทางปลุกครองที่กําหนดให้ชําระเงินเป็นที่สุด ในกรณีดังต่อไปนี้
1) ไม่มีการอุทธรณ์คําสั่งต่อเจ้าหน้าที่ภายในระยะเวลาอุทธรณ์
2) เจ้าหน้าที่มีคําวินิจฉัยยกอุทธรณ์
3) ศาลมีคําสั่งหรือคําพิพากษาฟ้อง

ให้เจ้าหน้าที่ผู้ออกคําสั่งสามารถจากการบังคับทางปกครองมีอํานาจ
1) มีหนังสือสอบถามสถาบันการเงิน เกี่ยวกับซับสินของผู้อยู่ในบังคับ
ของมาตราการบังคับทางปกครอง
2) มีหนังสือให้นายทะเบียน ระงับการจดทะเบียนที่เกี่ยวกับทรัพย์สิน
ไว้เป็นการชั่วคราว
page 71

การบังคับโดยเจ้าพนักงานบังคับคดี

ในกรณีที่มีการบังคับให้ชําระเงินและคําสั่งทางปกครองที่กําหนดให้
ชําระเงินเป็นที่สุดแล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับคดี ยื่นคําขอต่อศาล
ภายใน 10 ปี ถ้าศาลเห็นด้วยให้ออกหมายบังคับคดีต่อเจ้าพนักงาน
บังคับคดีให้เป็นเจ้าหนี้ตามคําพิพากษา และผู้อยู่ในบังคับคดีเป็นลูก
หนี้ตามคําพิพากษา

การบังคับตามคําสั่งทางปกครองที่กําหนดให้กระทําหรือละเว้นกระทํา

“ ค่าปรับบังคับการ” คาบปรับที่เจ้าหน้าที่สั่งให้ผู้ที่ฝ่าฝืนหรือไม่
ปฏิบัติตามคําสั่งทางปกครอง ชําระเป็นรายวันไปจนกว่าจะยุติ
การฝ่าฝืนคําสั่งหรือได้มีการปฏิบัติตามคําสั่งแล้ว
page 72

อยู่ในบังคับคดีของคําสั่งทางปลุกครองฝ่าฝืนเจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการบังคับ
คือ
(1) เจ้าหน้าที่เข้าดําเนินการด้วยตนเองหรือมอบหมายให้บุคคลอื่นกระทําการ
แทน โดยผู้อยู่ในบังคับของคําสั่งทางปกครองจะต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายและเงิน
เพิ่มรายวันในอัตรา 25 % ต่อปี
(2) ให้มีการชําระค่าปรับจํานวนที่สมควรแก่เหตุไม่เกิน 50,000 บาทต่อวัน

เจ้าหน้าที่ต้องมีคําสั่งเตือนเป็นหนังสือ ก่อนที่จะมีการชําระค่าปรับ
โดยจะต้องระบุ
(1) มาตรการบังคับทางปกครองที่จะใช้ให้ชัดแจ้ง
(2) ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มรายวัน หรือค่าปรับบังคับการ

ให้กรมบังคับคดี + สํานักงาน ก.พ.ร. + สํานักงาน ก.พ. + สํานักงบประมาณ


และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องร้วมกันจัดทําโครงสร้างกรมบังคับคดี กรอบอัตรา
กําลังข้าราชการ และพนักงานราชการ และกําหนดงบประมาณ
page 73

9. ระยะเวลาและอายุความ

(1) กําหนดเป็นวัน สัปดาห์ เดือน หรือปีนั้น (ไม่นับวันแรกเพราะ


ยังไม่ได้ดําเนินการ) แต่ถ้าเริ่มดําเนินการวันนั้นสามารถกําหนด
โดยเจ้าหน้าที่
(2) ระยะเวลาสิ้นสุด ให้นับวันสุดท้ายของการทํางานเข้าด้วย แม้
จะเป็นวันหยุดงานของเจ้าหน้าที่ แต่ถ้าเป็นหยุดตามประเพณี ให้
นับเป็นวันทํางานถัดไป
page 74

10. การแจ้ง

การแจ้งสามารถทําได้โดยวาจาและหนังสือ

1. การแจ้งเป็นหนังสือให้ส่งหนังสือไปยังภูมิลําเนาของผู้นั้น ให้ถือว่า
ได้รับแจ้งตั้งแต่ในขณะที่ไปถึง
2. การแจ้งเป็นหนังสือโดยวิธีให้บุคคลนําไปส่งถ้าผู้รับไม่ยอมรับหรือ
ไม่รับ ให้วางหนังสือหรือปิดหนังสือไว้ที่เห็นได้ง่าย ณ สถานที่นั้น ต่อ
หน้าเจ้าพนักงานเป็นพยานถือว่าได้รับแจ้ง
3. การแจ้งโดยวิธีส่งทางไปรษณีย์ กรณีภายในประเทศให้ถือว่าได้รับ
แจ้งเมื่อครบกําหนด 7 วัน และ 15 วัน กรณีต่างประเทศ
4. มีผู้รับเกิน 50 คน กระทําโดยวิธีปิดประกาศไว้ ณ ที่ทําการของเจ้า
หน้าที่/ที่ว่าการอําเภอ
5. ในกรณีที่ไม่รู้ตัวผู้รับหรือรู้ตัวแต่ไม่รู้ภูมิลําเนา หรือรู้ตัวและรู้
ภูมิลําเนาแต่มีผู้รับเกิน 100 คน ให้แจ้งประกาศในหนังสือพิมพ์ซึ่งแพร่
หลายในท้องถิ่นนั้น ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อผลระยะ 15 วัน
6. กรณีมีเหตุจําเป็นเร่งด่วนการแจ้งทางการส่งโทรสารนั้น แต่ต้องมี
หลักฐานจากหน่วยงานที่จัดบริการโทรคมนาคม ถือว่าได้รับแจ้งตามวัน
เวลา ที่ปรากฏในหลักฐาน
page 75

11. คณะกรรมการที่มีอํานาจดําเนินการพิจาณาทางปกครอง

• การนัดประชุมต้องทําเป็นหนังสือและแจ้งให้กรรมการทุกคนทราบล่วงหน้า
ไม่น้อยกว่า 3 วัน
• ในการประชุมต้องมีรายงานการประชุมเป็นหนังสือ
• คําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาทต้องมีลายมือชื่อของกรรมการ
ที่วินิจฉัยในเรื่องนั้น

นอกจากพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการพ้นจากตําแหน่งเมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) เป็นบุคคลล้มละลาย
(4) เป็นคนไร้ความสามารถ
(5) ได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก
เว้นแต่เป็นความผิดลหุโทษหรือความผิดอันได้กระทําโดยประมาท
(6) มีเหตุต้องพ้นจากตําแหน่งก่อนครบวาระตามกฏหมายว่าด้วยการนั้น
page 76

หมวด 2 ความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ

111
ใคร ทําอะไร โทษ โทษ+

เจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซื้อ ทํา จัดการ/ จําคุก 5-20 ปี จําคุก


รักษาทรัพย์ เบียดบัง ปรับ 100,000 ตลอดชีวิต
ทรัพย์นั้นเป็นของตน -400,000 บาท
หรือของผู้อื่นโดยทุจริต

เจ้าพนักงาน ข่มขืนใจหรือจูงใจ เพื่อให้ จําคุก 5-20 ปี ประหารชีวิต


บุคคลหาทรัพย์สินหรือ ปรับ 100,000
ประโยชน์อื่นใดแก่ตนเอง -400,000 บาท
หรือผู้อื่น
page 77

ใคร ทําอะไร โทษ โทษ+

เจ้าพนักงาน รับหรือยอมจะรับ จําคุก 5-20 ปี ประหารชีวิต


* สมาชิกสภา ทรัพย์สินให้ตนเองหรือ ปรับ 100,000
นิติบัญญัติแห่งรัฐ ผู้อื่นกระทําชอบที่ชอบ -400,000 บาท
ส.จ. ส.ท.
ด้วยหน้าที่

เจ้าพนักงาน เรียกรับทรัพย์สินหรือ จําคุก 5-20 ปี จําคุก


ยอมจะรับไว้ก่อนที่ ปรับ 100,000 ตลอดชีวิต
ตนจะได้รับตําแหน่ง -400,000 บาท

เจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซื้อ ทํา จัดการ จําคุก 5-20 ปี จําคุก


หรือรักษาทรัพย์ใดๆ ปรับ 100,000 ตลอดชีวิต
ใช้อํานาจโดยทุจริต -400,000 บาท

1 1
ทําให้เสียหายแก่รัฐ
เทศบาล สุขาภิบาล
หรือเจ้าของทรัพย์
page 78

ใคร ทําอะไร โทษ โทษ+

เจ้าพนักงาน มีหน้าที่จัดการหรือดูแล จําคุก 1-10 ปี


กิจการใด เข้ามีส่วนได้ ปรับ 20,000
เสียเพื่อประโยชน์สําหรับ -200,000 บาท
ตนเองหรือผู้อื่นเนื่องด้วย
กิจการนั้น

เจ้าพนักงาน มีหน้าที่จ่ายทรัพย์ จ่าย จําคุก 1-10 ปี


ทรัพย์นั้นเกินกว่าที่ควร ปรับ 20,000
จ่าย เพื่อประโยชน์ -200,000 บาท
สําหรับตนเอง/ผู้อื่น

เจ้าพนักงาน มีหน้าที่ เรียกเก็บหรือ จําคุก 5-20 ปี จําคุก


แสดงตนว่ามีหน้าที่เรียก ปรับ 100,000 ตลอดชีวิต
เก็บ ตรวจสอบภาษีอากร -400,000 บาท

1 1
ค่าธรรมเนียม แต่ทุจริตไม่
ให้เสีย หรือเสียน้อยไป 1
page 79

ใคร ทําอะไร โทษ โทษ+

เจ้าพนักงาน มีหน้าที่กําหนดราคาทรัพย์สิน จําคุก 5-20 ปี จําคุก


หรือสินค้าใดๆ เพื่อเรียกเก็บ ปรับ 100,000 ตลอดชีวิต
ภาษีอากร หรือค่าธรรมเนียม -400,000 บาท
แต่ทุจริตมาให้เสียหรือเสีย
น้อยไป

เจ้าพนักงาน มีหน้าที่ตรวจสอบบัญชี แต่ จําคุก 5-20 ปี จําคุก


ทุจริต ลงรายการเท็จ แก้ไข ปรับ 100,000 ตลอดชีวิต
บัญชีหรือซ่อนเร้น หรือทํา -400,000 บาท
หลักฐานในการลงบัญชีอัน
จะเป็นผลทําให้เสียภาษี
อากร หรือค่าธรรมเนียมนั้นมี
ต้องเสีย หรือเสียน้อยกว่าที่
จะต้องเสีย

เจ้าพนักงาน ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ จําคุก 1-10 ปี ทั้งจําทั้งปรับ


หน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้ ปรับ 20,000
เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่ง -200,000 บาท
ผู้ใดปฏิบัติหรือละเว้นการ
ปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต
page 80

ใคร ทําอะไร โทษ โทษ+

เจ้าพนักงาน เอกสารที่ปกครองหรือรักษาไว้ จําคุกไม่เกิน 7 ปี


ทําให้เสียหาย ทําลายซ่อน ปรับไม่เกิน
เร้น เอาไปเสีย ทําให้สูญหาย 140,000 บาท
หรือทําให้ไร้ประโยชน์ซึ่ง
ทรัพย์ หรือ ยินยอมให้ผู้อื่น
กระทําเช่นนั้น

เจ้าพนักงาน มีหน้าที่ ดูแลรักษาทรัพย์ จําคุกไม่เกิน 5 ปี ทั้งจําทั้งปรับ


หรือเอกสารใด แต่ถอน ปรับไม่เกิน
ทําให้เสียหายทําลายหรือ 100,000 บาท
ทําให้ไร้ประโยชน์ โดย


ยินยอมให้ผู้อื่นกระทําเช่น
นั้น ซึ่งตราหรือเครื่องหมาย
อันเจ้าพนักงานได้ประทับหรือ
หมายไว้ที่ทรัพย์หรือเอกสาร
นั้นในการปฏิบัติตามหน้าที่
เพื่อเป็นหลักฐานในการยึด
หรือรักษาสิ่งนั้น
page 81

ใคร ทําอะไร โทษ โทษ+

เจ้าพนักงาน ตนเองหรือคนอื่น ใช้ดวง จําคุกไม่เกิน 5 ปี ทั้งจําทั้งปรับ


ตราหรือรอยตราราชการ ซึ่ง ปรับไม่เกิน
ทําให้ผู้อื่นหรือประชาชน 100,000 บาท
เสียหาย

เจ้าพนักงาน หน้าที่ทําเอกสาร กรอก จําคุกไม่เกิน 10 ปี

ข้อความลงในเอกสาร หรือ ปรับไม่เกิน

ดูแลรักษาเอกสาร กระทํา 200,000 บาท

ปลอม เอกสารโดยอาศัย
โอกาสที่ตนมีตําแหน่งที่น
เต้น
page 82

เจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทําเอกสาร รับเอกสาร หรือกรอกข้อความลงในเอกสาร

1. รับรองเป็นหลักฐานว่า ตนได้กระทําอย่างใดขึ้นหรือว่า การอย่างใดได้


กระทําต่อหน้าตนอันเป็นความเท็จ
2. รับรองว่า มีการแจ้งแก่ความจริงไม่ได้มีการแจ้ง
3. ไม่จดข้อความซึ่งตนมีหน้าที่ต้องรับจด หรือเปลี่ยนแปลงข้อความ
4. รับรองเอกสารที่เป็นความเท็จ

ต้องระวังโทษจําคุกไม่เกิน 7 ปี ปรับไม่เกิน 140,000 บาท


page 83

เจ้าพนักงาน มีหน้าที่ในการไปรษณีย์ โทรเลข โทรศัพท์ กระทําการมิชอบด้วยหน้าที่

1. เปิด/ยอมให้ผู้อื่นเปิดจดหมายหาสิ่งที่ส่งทาง ไปรษณีย์ โทรเลข


หรือโทรศัพท์
2. ทําให้เสียหาย ทําลาย ทําให้สูญหาย หรือยอมให้ผู้อื่นทําให้เสีย
หาย ทําลาย หรือทําให้สูญหายซึ่งจดหมายหรือสิ่งอื่นที่ส่งทาง
ไปรษณีย์ หรือโทรเลข
3. กักส่งให้ผิด หรือส่งให้แก่บุคคลซึ่งรู้ว่ามิใช่เป็นผู้ควรรับ ซึ่งจดหมาย
หรือสิ่งอื่นที่ส่งทางไปรษณีย์ หรือโทรเลข
4. เปิดเผยข้อความที่ส่งทางไปรษณีย์ ทางโทรเลขหรือทางโทรศัพท์

ต้องระหว่างโทษจําคุกไม่เกิน 5 ปี
ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
หรือทั้งจําทั้งปรับ
page 84

• เจ้าพนักงานรู้หรืออาจรู้ความลับในราชการ เปิดเผยให้ผู้อื่นรู้ความลับ
นั้น ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน 5ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือ
ทั้งจําทั้งปรับ
• เจ้าพนักงาน มีหน้าที่ปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมายหรือคําสั่ง ถ้า
ป้องกันหรือขัดขวางไม่ให้การเป็นไปตามกฏหมาย ต้องระวางโทษจําคุก
ไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
• เจ้าพนักงานละทิ้งงานหรือกระทําการอย่างใดๆ เพื่อให้งานหยุดชะงัก
หรือเสียหาย โดยร่วมกระทําเช่นนั้นด้วยกันตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ต้อง
ระวางโทษจําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้ง
ปรับ
• ถ้าความผิดนั้นได้กระทําลงเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกฎหมาย
แผ่นดิน เพื่อบังคับรัฐบาลหรือเพื่อข่มขู่ประชาชน ผู้กระทําต้องระวาง
โทษจําคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท
page 85

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา :: วันที่ 16 เมษายน 2562


บังคับใช้วันถัดจากวันประกาศ :: วันที่ 17 เมษายน 2562
ผู้รักษาการ :: นายกรัฐมนตรี

“หน่วยงานของรัฐ” กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ ที่เรียกชื่ออย่างอื่น


และมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรือ
หน่วยงานอื่นของรัฐ ในฝ่ายบริหาร แต่ไม่รวมถึง หน่วยงานธุรกิจของ
รัฐสภา องค์กรอิสระ ศาล และ องค์กรอัยการ

“เจ้าหน้าที่” ของรัฐข้าราชการ พนักงาน


ลูกจ้าง หรือ ผู้ปฏิบัติงานอื่น ในหน่วย
งานของรัฐ

“กรรมการ”
กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
page 86

“องค์กรกลางบริหารงานบุคคล”
~ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
~ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
~ คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
~ คณะกรรมการกรรมการกลางบริหารงานบุคคลของเจ้าหน้าที่ของ
รัฐในฝ่ายบริหาร
~ คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
page 87

มาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจริยธรรม

~ ยึดมั่นในชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์


~ ซื่อสัตย์สุจริต
~ กล้าตัดสินใจ
~ คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
~ มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
~ ปฎิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรม
~ เป็นแบบอย่างที่ดี
page 88

องค์กรกลางบริหารงานบุคคล มีหน้าที่จัดทํา ประมวลจริยธรรม ถ้า


ไม่มีให้องค์กรต่อไปนี้ เป็นผู้จัดทํา
1. คณะรัฐมนตรี สําหรับข้าราชการการเมือง
2. สภากลาโหม สําหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรือน
กลาโหม
3. สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สําหรับบริหารและ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
4. คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน สําหรับผู้
บริหาร เจ้าหน้าที่ และผู้ปฏิบัติงานขององค์การมหาชน
page 89

คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
“ก.ม.จ.”

นายกรัฐมนตรี/รองนายกฯ (นายกมอบหมาย) ประธาน


ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน รองประธาน
~ ผู้แทนที่ได้รับมอบหมายจาก
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
ในสถาบันอุดมศึกษา
กรรมการโดย
~ คณะกรรมการข้าราชการครู
ตําแหน่ง
และบุคลากรทางการศึกษา
~ คณะกรรมการข้าราชการตํารวจ
~ คณะกรรมการมาตรฐานการบริหาร
งานบุคคลส่วนท้องถิ่น
~ สภากลาโหม
* ผู้ทรงคุณวุฒิ (นายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง 5 คน) กรรมการ
วาระ 3 ปี ไม่เกิน 2 วาระ
เลขาธิการ ก.พ. กรรมการและ
เลขานุการ
ข้าราชการในสํานักงาน ก.พ. (เลขาธิการ ก.พ. แต่งตั้ง) ผู้ช่วยเลขานุการ

จาก*พ้นตําแหน่งเมื่อ ตาย/ลาออก/ขาดคุณสมบัติ/ก.ม.จ.มติให้ออกคะแนน
เสียงเกินครึ่ง
สํานักงาน ก.พ. มีหน้าที่ปฏิบัติงานธุรการ งานประชุม งานวิชาการ ให้แก่ ก.ม.จ.
page 90

คุณสมบัติผู้ทรงคุณวุฒิ

1. มีสัญชาติไทย
2. มีอายุไม่ตํ่ากว่า 45 ปี
3. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
4. ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ
5. ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก
6. ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง
7. ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย หรือให้ออก ปลดออก หรือไล่ออก
8. ไม่เคยต้องให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน
9. ไม่เคยต้องคําพิพากษาต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ
10. ไม่อยู่ในระหว่างต้องห้ามมิให้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง
11. ไม่เคยพ้นจากตําแหน่งเพราะศาลฎีกา
page 91

หน้าที่ ก.ม.จ.

1. เสนอแนะและให้คําปรึกษาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทาง
จริยธรรม และการส่งเสริมจริยธรรมภาครัฐต่อคณะรัฐมนตรี
2. กําหนดแนวทางหรือมาตรการในการขับเคลื่อน การดําเนิน กระบวนการรักษาจริยธรรม
3. กําหนดแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพให้เจ้าหน้าที่
4. กํากับ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินการตามมาตรฐานทางจริยธรรม
5. ตรวจสอบรายงานประจําปี
6. ตีความและวินิจฉัยปัญหา
7. ปฎิบัติหน้าที่อื่น
ก.ม.จ. จัดให้มีการทบทวนมาตรฐานทางจริยธรรม ทุก 5 ปี

การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ

1. กําหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจําหน่วยงานของรัฐ
2 ดําเนินกิจกรรมการส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้ ฝึกอบรม และพัฒนาเจ้าหน้าที่
3. ทุกสิ้นปีงบประมาณ ให้จัดทํารายงานประจําปี เสนอต่อ ก.ม.จ.

ให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคลแต่ละประเภท มีหน้าที่กํากับดูแลการดําเนิน
กระบวนการรักษาจริยธรรม
page 92

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา :: วันที่ 14 พฤศจิกายน 2539


บังคับใช้วันถัดจากวันประกาศ :: วันที่ 15 พฤศจิกายน 2539
ผู้รักษาการ :: นายกรัฐมนตรี

“เจ้าหน้าที่” ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้


ปฏิบัติงานประเภทอื่นไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งใน
ฐานะเป็นกรรมการหรือฐานะอื่นใด

“หน่วยงานของรัฐ” กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่


เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค
ราชการส่วนท้องถิ่น รวมถึงรัฐวิสาหกิจ (จัดตั้งโดย พ.ร.บ./
พ.ร.ฎ.) หน่วยงานอื่นของรัฐ (พ.ร.ฎ.)
page 93

ฟ้อง
เกี่ยวกับงาน หน่วยงานของรัฐ

ผู้เสียหาย

ฟ้อง
ไม่ใช่งาน เจ้าหน้าที่

• ในคดีที่ผู้เสียหาย ฟ้องหน่วยงานของรัฐ แต่หน่วยงานของรัฐเห็นว่า


เจ้าหน้าที่ต้องร่วมรับผิด หรือถ้าผู้เสียหายฟ้องเจ้าหน้าที่ แต่เจ้าหน้าที่
เห็นว่าหน่วยงานของรัฐ ต้องร่วมรับผิด ให้หน่วยงานของรัฐ
และเจ้าหน้าที่มีสิทธิ์ขอให้ศาลพิจารณา

• ถ้าศาลยกฟ้องเพราะหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ไม่ผิด ให้ขยาย
ความออกไป 6 เดือน เพื่อหาผู้ทําผิด
page 94

กรณีหน่วยงานรัฐต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหายแทนเจ้าหน้าที่

หน่วยงานของรัฐมีสิทธิ์เรียกค่าสินไหม ถ้าเจ้าหน้าที่กระทําด้วยความ
จงใจหรือประมาทเลินเล่อร้ายแรง
1. ค่าสินไหมคํานึงถึงความร้ายแรง ไม่ต้องเก็บเต็มจํานวนความเสียหาย
ก็ได้
2. ถ้าเกิดความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐ หรือระบบการดําเนินงาน
ให้หักส่วนแบ่งความรับผิดชอบออกด้วย
3. เจ้าหน้าที่หลายคน ให้รับผิดชอบค่าสินไหมทดแทนของตน
ไม่เกี่ยวกับลูกหนี้
page 95

กรณีที่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่จ่ายเงินให้แก่ผู้เสียหาย

• มีสิทธิ์ที่จะเรียกให้อีกฝ่ายชดใช้ค่าเสียหายแก่ตน กําหนดอายุ
1 ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ จ่ายค่าสินไหมแก่ผู้
เสียหาย

หน่วยงานของรัฐ ผู้เสียหาย

เจ้าหน้าที่
page 96

กรณีเจ้าหน้าที่เป็นผู้กระทําละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ

1. ถ้าเป็นการกระทําขณะปฎิบัติหน้าที่ ให้คํานึงถึงความเป็นธรรมและ
ความร้ายแรง
2. ถ้าไม่เกี่ยวกับงาน ให้บังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ทั้งสองกรณีมีอายุความ 2 ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการ
ละเมิดรู้ตัวเจ้าหน้าที่
หน่วยงานของรัฐ เห็นว่าเจ้าหน้าที่ไม่มีความผิด แต่กระทรวงการคลัง
ตรวจสอบแล้วเห็นว่าผิด ให้มีสิทธิ์เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนมีอายุ
ความ 1 ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐมีคําสั่งความเห็นของกระทรวงการ
คลัง
page 97

~ ผู้เสียหายยื่นคําขอต่อหน่วยงานของรัฐให้พิจารณาชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทน หากผู้เสียหายไม่พอใจให้มีสิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการ
วินิจฉัยร้องทุกข์ภายใน 90 วัน นับตั้งแต่วันที่ตนได้รับผลการวินิจฉัย
~ ให้หน่วยงานของรัฐพิจารณาคําขอภายใน 180 วัน ถ้าไม่ทันต้อง
รายงานปัญหาต่อรัฐมนตรี เจ้าสังกัดพิจารณาขยายได้ 180 วัน

ยื่นคําขอ
ผู้เสียหาย หน่วยงานของรัฐ
พิจารณา < 180 วัน

ทัน ไม่ทัน
- ผู้เสียหายไม่พอใจ
- รายงาน
- ร้องทุกข์ภายใน 90 วัน

คณะกรรมการ รมต.เจ้าสังกัด
วินิจฉัยร้องทุกข์
อนุมัติ ขยาย < 180 วัน

จาก * เมื่อได้จัดตั้งศาลปกครองขึ้นแล้ว สิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการ


วินิจฉัยร้องทุกข์ ให้ถือว่าเป็นสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง

You might also like