You are on page 1of 62

ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542


และแก้ไขเพิ่มเติม 2545 (ฉบับที่2)
2553 (ฉบับที่3) และ 2562 (ฉบับที่4)
- ต้นทุนที่สร้างได้ง่ายๆ คือ ต้นทุนทางความรู-้
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
เกิดจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
ฉบับที่ 16 มาตรา 81
ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ)
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒
เป็นปีที่ ๕๔ ในรัชกาลปัจจุบัน
ฉบับที่ 1 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 19 สิงหาคม 2542
ฉบับที่ 2 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 19 ธันวาคม 2545
ฉบับที่ 3 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 22 กรกฎาคม 2553
ฉบับที่ 4 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 1 พฤษภาคม 2562
หมายเหตุ ให้มีผลบังคบใช้ ในวันถัดจากประกาศราชกิจานุเบกษา
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ

ฉบับที่ 1 นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี


ฉบับที่ 2 พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ฉบับที่ 3 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี
ฉบับที่ 4 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ชวน+ทัก+สิทธิ์+ยุทธ์
พ.ร.บ. นี้เกิดจาก รัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
(ฉบับที่ 16 มาตราที่ 81)
9 หมวด 78 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

เหตุผลการประกาศใช้
ฉบับที่ 1 (42)
เพื่อเป็นกฎหมายแม่บทในการบริหารและการจัดการศึกษาอบรม
ฉบับที่ 2 (45)
จัดตั้งกระทรวงวัฒนธรรม ให้มคี ณะกรรมการอาชีวศึกษา
ฉบับที่ 3 (53)
แยกเขต สพป.+ สพม.
ฉบับที่ 4 (62)
แยกคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไปสังกัดกระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
• หมวด 1 บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ
• หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
• หมวด 3 ระบบการศึกษา
• หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
• หมวด 5 การบริหารและการจัดการการศึกษา
• หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
• หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
• หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
• หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
*มุ่ง ที่ ระบบ พบ แนวการ บริหาร มาตรฐาน ครู กร โน
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

“การศึกษา”
กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล และสังคมฯ
“การศึกษาขั้นพื้นฐาน” (ก่อน + ถม+ยม)
การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา (อ.1-ม.6+ปวช.)
“การศึกษาตลอดชีวิต”
การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนา
คุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
“สถานศึกษา”
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
“สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน”
โรงเรียน
ศูนย์การเรียน
วิทยาลัย
สถาบัน
มหาวิทยาลัย
หน่วยงานการศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน
ที่มีอำนาจหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ ในการจัดการศึกษา
วัย+เรียน+ศูนย์+วิท+บัน+ลัย
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

“สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน”
สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
“มาตรฐานการศึกษา”
ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์และ
มาตรฐานที่ ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง และเพื่อใช้
เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริมและกำกับดูแล
การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา
นั้น
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

“การประกันคุณภาพภายใน”1/3
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและ มาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษา
นั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษานั้น
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

“การประกันคุณภาพภายนอก” 1/5
หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ
และ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสำนักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.)หรือบุคคลหรือ
หน่วยงานภายนอกที่สำนักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกัน
คุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

“ผู้สอน” (ไม่มีครูผู้ช่วย)
ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ
“ครู”
บุคลากรวิชาชีพซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและ
การส่งเสริมการเรียนรู้ ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาทั้ง
ของรัฐและเอกชน
“คณาจารย์”
บุคลากรซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยใน
สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

“ผู้บริหารสถานศึกษา” (ผอ.รร.+ รองผอ.รร.)


บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาแต่ละแห่ง
ทั้งของรัฐและเอกชน

“ผู้บริหารการศึกษา” (ผอ.เขต+รอง ผอ.เขต)


บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษานอก
สถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

“บุคลากรทางการศึกษา”
(ผอ.รร.+รอง ผอ.รร.+ผอ.เขต+รองผอ.เขต+ศน.)
ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษารวมทั้งผู้สนับสนุน
การศึกษาเป็นผู้ทำหน้าที่ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับ
การจั ด กระบวนการเรี ย นการสอน การนิ เ ทศ และการบริ ห าร
การศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่าง ๆ
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

หมวด 1
ความมุ่งหมายและหลักการ (มาตรา 6-9)
มาตรา 6
การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่
สมบูรณ์ทั้งด้าน.....
ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ = เก่ง
คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม = ดี
อยู่ร่วมกับผู้ได้อย่างมีความสุข = มีสุข (มุ่งหมายสูงสุด)

*เก่ง + ดี + มีสุข*
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

หมวด 1
ความมุ่งหมายและหลักการ (มาตรา 6-9)
มาตรา7
ในกระบวนการเรียนรู้ ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับ
การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุขฯ
มาตรา 8 การจัดการศึกษาให้ยึดหลักดังนี้
(1) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน (Education for all)
(2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (All for Education)
(3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
***ตลอด ร่วม ต่อ***
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 9 การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา


ให้ยึดหลักดังนี้
(๑) มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
(๒) มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และ
องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น
(๓) มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพ
การศึกษาทุกระดับและ ประเภทการศึกษา
(๔) มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากร
ทางการศึกษา และการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
อย่างต่อเนื่อง
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

(๕) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา


(๖) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น

เอก + กระจาย + มาตร + ครู + ทรัพ + ร่วม


ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

หมวด 2
สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา (มาตรา 10-14)
มาตรา 10
การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการ
รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมี
คุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
สรุปประเด็น
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ มาตรา 10----------------ไม่น้อยกว่า 12 ปี
รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2560 มาตรา 54--------เป็นเวลา 12 ปี
ปัจจุบันรัฐบาลอุดหนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน-------จำนวน 15 ปี
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

โครงการสนับสนุนการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้น
พื้นฐาน (เดิมโครงการเรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ)
ทั้งหมด 5 รายการ
1 ค่าจัดการเรียนการสอน
2 ค่าหนังสือเรียน
3 อุปกรณ์การเรียน
4 เครื่องแบบนักเรียน
5 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
6ค่าใช้จ่ายอื่นตามที่ ครม. เห็นชอบ
เรียน+สือ+กร+แบบ+พัฒ + อื่น
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
กิจกรรมวิชาการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
กิจกรรมคุณธรรม ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด
อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ทัศนศึกษา อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ICT อย่างน้อย 40 ชั่วโมงต่อปีต่อคน
เวลาตามหลักสูตรแกนกลาง 51 ปรับปรุง 60
ประถม 120 hr/ปี
ม.ต้น. 120 hr/ปี
ม.ปลาย 360 hr/ปี
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

อัตราเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวประเภทในระบบโรงเรียนสายสามัญ

ระดับก่อนประถมศึกษา (3 ปี) ได้รับจำนวน 1,700 บาทต่อคนต่อปี


ระดับประถมศึกษา (6 ปี) ได้รับจำนวน 1,900 บาทต่อคนต่อปี
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (3 ปี) ได้รับจำนวน 3,500 บาทต่อคนต่อปี
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (3 ปี) ได้รับจำนวน 3,800 บาทต่อคนต่อปี

17/19/35/38 = ก่อน+ถม+ต้น+ปลาย
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 10 สิทธิทางการศึกษา รัฐจัดให้

คนทั่วไป รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี
รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดย
ไม่เก็บค่าใช้จ่าย
คนมีความบกพร่อง มีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป็นพิเศษ
คนพิการ จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ
โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
มีความสามารถพิเศษ จัดด้วยรูปแบบทีเ่ หมาะสม คำนึงถึงความสามารถ
ของบุคคล
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 13 บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิ์ไดรับสิทธิประโยชน์


ดังต่อไปนี้
(1) การสนับสนุนจากรัฐ ให้มคี วามรูค้ วามสามารถในการอบรม
เลี้ยงดู
(2) เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(3) การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายในการศึกษา

รู้+เงิน+ภาษีศึกษา
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
หมวด 3
ระบบการศึกษา มาตรา 15-21

มาตรา 15
การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ
การศึกษาในระบบ Formal Education
การศึกษานอกระบบ non-Formal Education
การศึกษาตามอัธยาศัย InFormal Education

ใน=แน่นอน//นอก=ยืดหยุ่น+กลุ่ม//อัธ+สนใจ
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 16 การศึกษาในระบบมีสองระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา
การศึกษาในระบบ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาระดับอุดมศึกษา

ก่อนประถมศึกษา ระดับต่ำกว่าปริญญา

ประถมศึกษา ระดับปริญญา(รัฐ+เอกชน)
มหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย
มัธยมศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สามัญ+อาชีวะ ประถม ม.ต้น ม.ปลาย


ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 17
ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวน 9 ปี โดยให้เด็กซึ่ง
มีอายุย่างเข้าปีที่ 7 เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
จนอายุย่างเข้าปีที่ 16 เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่ 9 ของการศึกษาภาคบังคับ

บังคับ 9 ปี ย่าง 7 ย่าง 16


ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 18 การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ให้จัดในสถานศึกษา ดังต่อไปนี้
(๑) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ศูนย์พัฒนาเด็กก่อน เกณฑ์ของสถาบันศาสนา ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะ
แรกเริ่มของเด็กพิการและเด็กซึ่งมีความต้องการพิเศษ หรือสถานพัฒนา
เด็กปฐมวัยที่เรียกชื่ออย่างอื่น
(๒) โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียน
ที่สังกัดสถาบันพุทธศาสนา หรือศาสนาอื่น
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

(๓) ศูนย์การเรียน ได้แก่ สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัดการศึกษา


นอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์
และสถาบันสังคมอื่น
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

หมวด 4
แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22-30
มาตรา 22 การจัดการศึกษา
ต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้
ถือว่า ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา
ต้อง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ
เต็มตามศักยภาพ(Children Center)
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

หมวด 4
แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22-30
มาตรา 23 การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย
ต้องเน้นความสำคัญ ทั้งความรู้ (K)
คุณธรรม (A)
กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการ
ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา (P)
(K P A //8กลุ่มสาระ+ พหุปัญญา)
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรูให้สถานศึกษาและ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังต่อไปนี้
(1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความ
ถนัดของผู้เรียนโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
(2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์
และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและ แก้ไขปัญหา
(3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
(4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่าง
ได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝัง คุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกวิชา
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

(5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม


สื่อการเรียนและอำนวยความสะดวก เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมี
ความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
เรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการ
สอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

(6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสาน


ความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และ บุคคลในชุมชนทุกฝ่าย
เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 25
รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ทุกรูปแบบ ได้แก่
ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์
หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ
สวนพฤกษศาสตร์ อุทยาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ
แหล่งข้อมูล และแหล่งการเรียนรู้อื่นอย่างพอเพียง
และมีประสิทธิภาพ
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณา
จากพัฒนาการของผู้เรียน
ความประพฤติ
การสังเกตพฤติกรรมการเรียน
การร่วมกิจกรรม
การทดสอบ
พัฒ+พฤติ+สัง+กิจ+สอบ
ควบคู่ไปในกระบวนการเรียน การสอนตามความเหมาะสมของ
แต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 27 ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ: กำหนดแกนกลาง)
เพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดำรงชีวิต
และการประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ ให้
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่ จัดทำสาระของหลักสูตร

กพฐ. = กำหนดหลักสูตรแกนกลาง
รร. = สาระหลักสูตร
เลขา กพฐ. = มีอำนาจปรับปรุงแก้ไข
ศธ.ประกาศใช้//รมว.ศธ.= ลงนามประกาศใช้หลักสูตรแกนกลาง
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 30
ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
รวมทั้งการ ส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสม
กับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา

วิจัย เพื่อ พัฒนาการเรียนรู้


ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

หมวด 5
การบริหารและการจัดการการศึกษา
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตรา 31
กระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริม และกำกับ
ดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท และการอาชีวะศึกษา แต่ไม่
รวมถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวงอื่น
ฯลฯ
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
มาตรา 32
การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้มีองค์กรหลักที่เป็น
คณะบุคคลในรูปสภาหรือในรูปคณะกรรมการจำนวน 3 องค์กร ได้แก่

สภาการศึกษา ปัจจุบันมี 41 คน ะ เหลือ17


แลว
) น
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( ไม่เกินป27ย
่ ี นคน)
เ ล
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ไม่เกิน 32 คน)

ภา+ขั้น+อา = 41/17/32
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
มาตรา 33 สภาการศึกษา
(๑) พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติทบี่ ูรณาการศาสนา
ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับ การศึกษาทุกระดับ
(๒) พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาเพื่อ
ดำเนินการให้เป็นไปตามแผน
(๓) พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากร
เพื่อการศึกษา
(๔) ดำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษา
(๕) ให้ความเห็นหรือคำแนะนำเกี่ยวกับกฎหมายและ
กฎกระทรวง
*** การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานการศึกษา
ให้เสนอต่อ คณะรัฐมนตรี ****
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
มาตรา 37
การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ยึดเขตพื้นที่
การศึกษา โดยคำนึงถึง (ยึดเขตคำนึงระดับ)
ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จำนวนสถานศึกษา
จำนวนประชากร
วัฒนธรรมและความเหมาะสมด้านอื่นด้วย
ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของสภาการศึกษา = ประกาศเขต
ยกเว้นอาชีวศึกษา
ดับ+ถาน+กร+ธรรม+อื่น
สพป.183+สพม+42 รวม 225 เขต
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 38
ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา
ให้มีคณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(โดน ม.44 ยุบไปเรียบร้อยแล้ว และถ่ายโอนอำนาจหน้าที่ต่างเข้า
ไปที่ กศจ.)
มีอำนาจหน้าที่ กำกับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 39 ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัด
การศึกษา (4 งาน)
วิชาการ
งบประมาณ
การบริหารบุคคล
การบริหารทั่วไป
วิ+มาน+คน+ไป
ไปยัง กศจ.
สำนักงานเขตพื้นที่
สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 40 ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ทำหน้าที่กำกับและส่งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
1. ประธานกรรมการ เล็ก นร.ไม่เกิน 300 คน
2. ผู้แทนผู้ปกครอง (1 คน) ใหญ่นร. เกิน 300 คน
3. ผู้แทนครู (1 คน)
จำนวน คกก.สถานศึกษา
4. ผู้แทนองค์กรชุมชน (1 คน) เล็ก 9 ใหญ่ 15
5. ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (1 คน)
6. ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา (1 คน)
7. ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์หรือผู้แทนองค์กรศาสนา (เล็ก 1 ใหญ่ 2 )
8. ผู้ทรงคุณวุฒิ (เล็ก 1 ใหญ่ 6 )
9. ***ผอ.รร.เป็นกรรมการและเลขานุการ***
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 41
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิ์จัดการศึกษาในระดับใดระดับ
หนึ่งหรือทุกระดับตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการ
ภายในท้องถิ่น (อปท. ระดับใดระดับหนึ่งหรือทุกระดับ)
มาตรา 42
ให้กระทรวงศึกษาธิการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน
ความพร้อมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 43
การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชนให้มีความเป็นอิสระ
โดยมีการกำกับติดตาม การประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจาก
รัฐ (เอกชนฐานะเป็นนิติบุคคล)
มาตรา 45
ให้สถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภท
มาตรา 46
รัฐต้องให้การสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือการ
ยกเว้นภาษี และสิทธิประโยชน์อย่างอื่นที่เป็นประโยชน์ในทางการศึกษา
แก่สถานศึกษาเอกชนตามความเหมาะสม
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

หมวด 6
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐาน การศึกษา ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษา
ระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย
ระบบการประกันคุณภาพภายใน
ระบบการประกันคุณภาพภายนอก
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 48
ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็น
ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
ภายใน
ü มีการจัดทำรายงานประจำปี (SAR) เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ü สถานศึกษาประเมินตนเองทุกปี
ü สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา อย่างน้อย 1 ครั้งในทุกๆ 3 ปี
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 49
ให้มสี ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะ
เป็นองค์การมหาชนทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก
และทำการประเมินผลการจัดการศึกษา ทีม่ ิใช่การจัดการอุดมศึกษาซึ่งอยู่ใน
อำนาจหน้าที่ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
หรือกระทรวงอื่น เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดย
คำนึงถึงความมุ่งหมาย หลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ
ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

ภายนอก
ü สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.)
อย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 5 ปี
ü ครั้งแรก 6 ปี รอบ 1 เพื่อยืนยัน
ü รอบ 2 เพื่อ รับรอง
ü รอบ 3 เพื่อตัดสินผล
ü รอบ 4 ปัจจุบัน (59-63)
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
มาตรา 51
ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตาม
มาตรฐานที่ กำหนด ให้สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา จัดทำข้อเสนอแนะ การปรับปรุงแก้ไข ต่อหน่วยงานต้น
สังกัด เพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด หาก
มิได้ดำเนินการ ดังกล่าว ให้สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษารายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือ
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อดำเนินการให้มีการปรับปรุง แก้ไข
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรฐานเพื่อนประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน
ระดับพื้นฐาน 3 มาตรฐาน

มาตรฐานการศึกษาของชาติ มี 3 มาตรฐาน 11 ตัวบ่งชี้


1.คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์
2.แนวการจัดการศึกษา
3.แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
หมวด 7
ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

มาตรา 51/1 คำว่า คณาจารย์ ในหมวดนี้ ให้หมายความว่า บุคลากร


ซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชนแต่ไม่รวมถึงบุคลากร
ซึ่งสังกัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 53
ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษามี
ฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหาร ของสภาวิชาชีพ ในกำกับของ
กระทรวง
(ทำให้เกิด พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546)
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
มาตรา 54
ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู
(ทำให้เกิด พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ.2547)

มาตรา 55
ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิ
ประโยชน์เกื้อกูลอื่น สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
(ทำให้เกิด พรบ. เงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจำตำแหน่ง
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผู้รักษาการนายกรัฐมนตรี )
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡
หมวด ๙
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

มาตรา 63 รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐาน


อื่นเพื่อใช้ประโยชน์สำหรับการศึกษา
มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาทาง
วิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษา
มาตรา 65 ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยี
เพื่อการศึกษา เพื่อให้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ
ในการผลิต
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

มาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ในโอกาสแรกที่ทำได้ เพื่อให้มี
ความรู้และทักษะเพียง
มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและการ
พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา
มาตรา 68 ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยี
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

PMOC = ศูนย์การปฏิบัติการนายก
MOC = ศูนย์การปฏิบัติการกระทรวง
DOC = ศูนย์การปฏิบัติการ สพฐ.
AOC = ศูนย์การปฏิบัติการเขต
SOC = ศูนย์การปฏิบัติการโรงเรียน

MIS Management Information System : เพื่อบริการ


DSS Decision Support System : เพื่อตัดสินใจ
EIS Executive Information system : เพื่อผู้บริหารระดับสูง
ES Expert System : เพื่อผู้เชี่ยวชาญ
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

E-Learning = เรียนรู้ผ่านอิเล็กทรอนิกส์
E-Filling = ระบบงานสารบรรณผ่านอิเล็กทรอนิกส์
E-training = การฝึกผ่านอิเล็คทรอนิกส์

B-OBEC โปรแกรมเพื่อบันทึกรายงานการก่อสร้าง
M-OBEC รายงานครุภัณฑ์
P-OBEC บริหารงานบุคคล

เว็ปกระทรวง www.MOE.go.th
เว็ปสพฐ www.OBEC.go.th
ྨ Êͺ¤Ãټٌª‹Ç by ¤ÃÙ¹Ô¡

DLIT = Distance Learning information Technology

ระบบการเรียนรู้ผ่านอินเตอร์เน็ต
ครูขาดแคลน รร.ขนาดกลาง+ใหญ่

DLTV = Distance Learning Television

ครูทางไกลผ่านดาวเทียม
รร.ห่างไกล + มีขนาดเล็ก

You might also like