You are on page 1of 14

เพจ : พี่ น็อต GoodBrain ติวสอบราชการ

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

1. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
1. กรุงเทพมหานครเป็นราชการส่วนกลาง
2. อำเภอเป็นราชการส่วนกลาง
3. จังหวัดเป็นราชการส่วนท้องถิ่น
4. องค์การบริหารส่วนตำบลเป็นราชการส่วนท้องถิ่น

2. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. กระทรวงเป็นราชการส่วนกลาง
2. อำเภอเป็นราชการส่วนภูมิภาค
3. กรุงเทพมหานครเป็นราชการส่วนท้องถิ่น
4. สำนักงานประกันสังคมเป็นราชการส่วนท้องถิ่น

4. ข้อใดไม่ใช่ราชการส่วนกลางตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
1. กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
2. สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ
3. สำนักงานปลัดกระทรวงการต่างประเทศ
4. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
1. การจัดตั้งกรมให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ
2. การยุบส่วนราชการให้ออกเป็นกฎกระทรวง
3. การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในปัจจุบัน คือ อบจ. , อบต , สุขาภิบาล และเทศบาล เท่านั้น
4. การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค คือ จังหวัด , อำเภอ และตำบล

เอกสารประกอบการเรียน "สรุปกฎหมาย ก.พ. รอบ 8 พ.ค. 65"


เพจ : พี่ น็อต GoodBrain ติวสอบราชการ

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

6. การจัดตั้งกรมใหม่ ให้ดำเนินการอย่างไร
1. ตราเป็นพระราชบัญญัติ
2. ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
3. ตราเป็นพระราชกำหนด
4. ออกเป็นกฎกระทรวง

7. กระทรวง ทบวง กรมที่มีเหตุพิเศษจะแบ่งท้องที่ออกเป็นเขต เพื่อให้มีหัวหน้าส่วนราชการประจำเขตนั้น ให้


ดำเนินการอย่างไร
1. ตราเป็นพระราชบัญญัติ
2. ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
3. ตราเป็นพระราชกำหนด
4. ออกเป็นกฎกระทรวง

8. หน่วยงานใดมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของสำนักนายกรัฐมนตรี และราชการที่ ครม.มิได้กำหนดให้


เป็นหน้าที่ของกรมใดโดยเฉพาะ
1. สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
2. สำนักปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
3. สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
4. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

9. ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบราชการในกระทรวง
1. สำนักงานรัฐมนตรี
2. สำนักงานปลัดกระทรวง
3. สำนักนายกรัฐมนตรี
4. กรม

เอกสารประกอบการเรียน "สรุปกฎหมาย ก.พ. รอบ 8 พ.ค. 65"


เพจ : พี่ น็อต GoodBrain ติวสอบราชการ

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

10. ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน สำนักงานปลัดกระทรวงมีฐานะตามข้อใด


1. กระทรวง
2. ทบวง
3. กรม
4. ไม่มีข้อใดถูก

11. ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภออยู่สังกัดกระทรวงใด
1. กระทรวงการคลัง
2. กระทรวงกลาโหม
3. กระทรวงมหาดไทย
4. กระทรวงพาณิชย์

12. หน่วยงานใดรวมท้องที่นำเอาหลายๆอำเภอเข้าด้วยกัน
1. องค์การบริหารส่วนตำบล
2. อำเภอ
3. จังหวัด
4. ภาค

13. แผนที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชน


ในท้องถิ่นในจังหวัด เรียกว่าอะไร
1. แผนปฏิรูปจังหวัด
2. แผนพัฒนาจังหวัด
3. แผนปฏิรูปเศรษฐกิจ
4. แผนพัฒนาชุมชน

เอกสารประกอบการเรียน "สรุปกฎหมาย ก.พ. รอบ 8 พ.ค. 65"


เพจ : พี่ น็อต GoodBrain ติวสอบราชการ

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

14. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด
1. บริหารราชการตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของราชการและตามแผนพัฒนาจังหวัด
2. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
3. บริหารราชการตามคำแนะนำของงผู้ตรวจราชการกระทรวง
4. ควบคุมดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในอำเภอ

15. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทน
1. การให้อำนาจในการอนุมัติการปฏิบัติราชการ
2. การให้อำนาจในการอนุญาต
3. การให้อำนาจในการทำนิติธรรม
4. ถูกทุกข้อ

16. การมอบอำนาจปฏิบัติราชการแทน สามารถทำได้อย่างไร


1. ทำเป็นหนังสือเท่านั้น
2. ทำได้ด้วยวาจา
3. ทำเป็นหนังสือและวาจา
4. ทำเป็นหนังสือและวาจาเท่านั้น

เอกสารประกอบการเรียน "สรุปกฎหมาย ก.พ. รอบ 8 พ.ค. 65"


เพจ : พี่ น็อต GoodBrain ติวสอบราชการ

แนวข้อสอบ พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

1. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่การบริหาราชเพื่อบรรลุเป้าหมายต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด


1. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
2. การให้เอกชนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ
3. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
4. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

2. การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายใดต่อไปนี้
1. ความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน
2. ประโยชน์สูงสุดของประเทศ
3. ความสงบและปลอดภัยของสังคมส่วนรวม
4. ถูกทุกข้อ

3. พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่2) ในวาระแรกเริ่มจัดทำแผน โดยมีห้วง


ระยะเวลาใด (บ่าย)
1. พ.ศ. 2562 - 2565
2. พ.ศ. 2562 - 2566
3. พ.ศ. 2563 - 2565
4. พ.ศ. 2563 - 2566

4. ข้อใดไม่ใช่แนวทางการบริหารราชเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
1. มีการจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้ล่วงหน้า
2. ภารกิจที่มีความเกี่ยวข้องกับหลายส่วนราชการหรือภารกิจใกล้เคียงหรือต่อเนื่องกัน ให้กำหนดแนวทางเพื่อ
ให้เกิดการบริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน
3. การกระจายอำนาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการสั่ง การอนุญาต และการปฏิบัติราชการ
4. พัฒนาความรู้ในส่วนราชการเพื่อให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ

เอกสารประกอบการเรียน "สรุปกฎหมาย ก.พ. รอบ 8 พ.ค. 65"


เพจ : พี่ น็อต GoodBrain ติวสอบราชการ

แนวข้อสอบ พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

5. การประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่ ให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใด
1. กรมบัญชีกลาง
2. สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและสำนักงบประมาณ
3. คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสำนักงบประมาณ
4. สำนักงบประมาณ

6. การลดขั้นตอนโดยการกระจายอำนาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการสั่ง การอนุญาต และการปฏิบัติราชการ


ต้องมุ่งผลให้เกิดสิ่งใด
1. การลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่รัฐ
2. ความเท่าเทียมกันของการปฏิบัติงาน
3. ความสะดวกและรวดเร็วในการบริการประชาชน
4. ถูกทุกข้อ

7. การบริการประชาชนและการติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ต้องดำเนินการโดยใช้ขั้นตอนใด
1. ระบบเครือข่ายสารสนเทศกลาง
2. แพลตฟอร์มดิจิทัลกลางที่สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน)
3. ศูนย์บริการร่วม
4. ถูกทั้ง 1. และ 2.

เอกสารประกอบการเรียน "สรุปกฎหมาย ก.พ. รอบ 8 พ.ค. 65"


เพจ : พี่ น็อต GoodBrain ติวสอบราชการ

แนวข้อสอบ พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

8. การอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดต่อราชการเพียงแห่งเดียว
หมายถึงข้อใดต่อไปนี้
1. ศูนย์บริการร่วม
2. ระบบสารสนเทศกลาง
3. ศูนย์ดำรงธรรม
4. สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ

9. กรณีส่วนราชการได้รับหนังสือจากประชาชน ต้องตอบกลับภายในกี่วัน
1. 7 วัน
2. 15 วัน
3. 30 วัน
4. 60 วัน

เอกสารประกอบการเรียน "สรุปกฎหมาย ก.พ. รอบ 8 พ.ค. 65"


เพจ : พี่ น็อต GoodBrain ติวสอบราชการ

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.วิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง

1. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองไม่ได้บังคับใช้กับหน่วยงานใด
1. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
2. องค์กรที่ใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ
3. การดำเนินงานเกี่ยวกับนโยบายการต่างประเทศ
4. ถูกทุกข้อ

2. การยกเว้นไม่ให้นำบทบัญญัติมาใช้บังคับแก่การดำเนินกิจการหรือหน่วยงานใดนอกจากที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ตามมาตรา 4 ต้องตราเป็นกฎหมายใด
1. พระราชบัญญัติ
2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกำหนด
4. กฎกระทรวง

3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
1. สอดส่องดูแลและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.นี้
2. มีหนังสือเรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบการพิจารณาได้
3. ทำรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.นี้เสนอคณะรัฐมนตรีอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง
4. ถูกทุกข้อ

เอกสารประกอบการเรียน "สรุปกฎหมาย ก.พ. รอบ 8 พ.ค. 65"


เพจ : พี่ น็อต GoodBrain ติวสอบราชการ

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.วิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง

4. เจ้าหน้าที่บุคคลใดสามารถทำการพิจารณาทางปกครองต่อได้
1. เคยเป็นคู่หมั้นหรือเคยเป็นคู่สมรส
2. เป็นเจ้าหนี้ ลูกหนี้ หรือนายจ้าง
3. บุพการีหรือผู้สื บสันดาน
4. เคยเป็นผู้แทนโดยชอบธรรม เคยเป็นผู้พิทักษ์หรือผู้แทน หรือตัวแทนของคู่กรณี

5. บุคคลใดที่ไม่สามารถเป็นคู่กรณีในการพิจารณาทางปกครองได้
1. บุคคลธรรมดา
2. นิติบุคคล
3. คณะบุคคล
4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง

8. การพิจารณาพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงให้ดำเนินการการดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
1. แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง
2. รับฟังพยานหลักฐาน คำชี้แจง ความเห็นของคู่กรณี หรือพยานบุคคล ตลอดทุกครั้ง
3. ขอข้อเท็จจริงหรือความเห็นจากคู่กรณี พยานบุคคล
4. ขอให้ผู้ครอบครองเอกสาร ส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง

เอกสารประกอบการเรียน "สรุปกฎหมาย ก.พ. รอบ 8 พ.ค. 65"


เพจ : พี่ น็อต GoodBrain ติวสอบราชการ

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.วิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง

6. คำสั่งทางปกครองที่ทำเป็นหนังสือต้องจัดให้มีเหตุผลไว้ด้วย และเหตุผลนั้นอย่างน้อยต้องประกอบด้วยอะไร
1. ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ
2. ข้อกฎหมายที่อ้างอิง
3. ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินิจ
4. ถูกทุกข้อ

7. การออกคำสั่งทางปกครองเป็นหนังสือ เจ้าหน้าที่ต้องออกคำสั่งนั้นให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลากี่วัน
1. 7 วัน
2. 15 วัน
3. 30 วัน
4. 90 วัน

9. ข้อใดไม่ใช่เหตุในการขอพิจารณาใหม่
1. มีพยานหลักฐานใหม่ อันทำให้ข้อเท็จจริงที่ฟังแล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสำคัญ
2. คู่กรณีที่แท้จริงมิได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง
3. เจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจที่จะทำคำสั่งทางปกครองนั้นมีความประสงค์ให้พิจารณาใหม่
4. ถูกทุกข้อ

เอกสารประกอบการเรียน "สรุปกฎหมาย ก.พ. รอบ 8 พ.ค. 65"


เพจ : พี่ น็อต GoodBrain ติวสอบราชการ

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

1. กรณีการละเมิดของเจ้าหน้าที่ที่ไม่ใช่การปฏิบัติหน้าที่ ผู้เสียหายต้องฟ้องใคร และฟ้องศาลใด


1. ฟ้องเจ้าหน้าที่ ศาลปกครอง
2. ฟ้องเจ้าหน้าที่ ศาลยุติธรรม
3. ฟ้องหน่วยงานของรัฐ ศาลปกครอง
4. ฟ้องหน่วยงานของรัฐ ศาลยุติธรรม

2. กรณีหน่วยงานของรัฐได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย สิทธิที่จะเรียกให้อีกฝ่ ายชดใช้ค่าเสียหาย มีอายุความกี่ปี


1. 1 ปี 2. 2 ปี
3. 3 ปี 4. 10 ปี

3. เจ้าหน้าที่ละเมิดหน่วยงานในการปฏิบัติงาน หน่วยงานออกคำสั่งทางปกครองเรียกค่าชดเชยกับเจ้าหน้าที่ได้ไหม
เพราะเหตุใด
1. ได้ เพราะกฎหมายให้อำนาจออกคำสั่งทางปกครองในกรณีนี้
2. ได้ ถ้าเจ้าหน้าที่ยังไม่เกษียณ
3. ไม่ได้ เพราะหากเรียกร้องชดใช้ต้องฟ้องศาลให้มีคำพิพากษา
4. ไม่ได้ เพราะกฎหมายไม่ได้บัญญัติ

4. กรณีเจ้าหน้าที่ละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานของรัฐมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ โดย


มีอายุความอย่างไร
1. กำหนดอายุความ 2 ปี นับแต่เกิดเหตุ
2. กำหนดอายุความ 2 ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการละเมิด
3. กำหนดอายุความ 2 ปี นับแต่รู้ตัวเจ้าหน้าที่ผู้จะพึงใช้ค่าสินไหมทดแทน
4. กำหนดอายุความ 2 ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่ผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหม
ทดแทน

เอกสารประกอบการเรียน "สรุปกฎหมาย ก.พ. รอบ 8 พ.ค. 65"


เพจ : พี่ น็อต GoodBrain ติวสอบราชการ

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม

1. ข้อใดคือความหมายของมาตรฐานทางจริยธรรม
1. หลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
2. หลักเกณฑ์การดำเนินการของเจ้าหน้าที่รัฐ
3. หลักเกณฑ์การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่รัฐ
4. หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่รัฐ

2. เจ้าหน้าที่ได้รับคำชมจากประชาชนว่าปฏิบัติงานดี มีความเป็นธรรมกับทุกคน ซึ่งตรงกับมาตราฐานจริยธรรมข้อใด


1. กล้าตัดสินใจและกระทำในสิ่งที่ถูกต้องเป็นธรรม
2. ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่
3. ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ
4. ดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ

3. หน่วยงานใดเป็นผู้จัดทำประมวลจริยธรรมของข้าราชการการเมือง
1. คณะรัฐมนตรี
2. สภากลาโหม
3. รัฐวิสาหกิจ
4. คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน

4. การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่รัฐตาม พ.ร.บ.มาตรฐานจริยธรรม ต้องดำเนินการอย่างไร


1. กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจำหน่วยงานของรัฐ
2. จัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อเสริมสร้างให้มีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
3. ทุกสิ้นปี งบประมาณ จัดทำรายงานประจำปี ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กำหนด
4. ถูกทุกข้อ

เอกสารประกอบการเรียน "สรุปกฎหมาย ก.พ. รอบ 8 พ.ค. 65"


คอร์สเจาะข้อสอบ พี่น็อต  ติวสอบราชการ

กฎหมาย ก.พ. พี่น็อต  ติวสอบราชการ

รอบ พค 

You might also like