You are on page 1of 54

รวมกฎหมายท้องถิ่น 11 ฉบับ

By.. Be Better
หลักกฏหมายที่ใช้สอบท้องถิ่น

รัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
ฉบับที่ 20 ตราไว้วันที่ 6 เมษายน 2560

รัฐธรรมนูญเป็นกฏหมายสูงสุดของประเทศ
“อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย”
พระมหากษัตริย์เป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี
และศาล

มีสมาชิก 500 คน (แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง 350 คน แบบบัญชีรายชื่อ 150 คน)


มีอายุคราวละ 4 ปี ** เมื่ออายุของ สส. สิ้นสุดลงเลือกตั้งใหม่ภายใน 45 วัน

รัฐสภา

นิติบัญญัติ I. สภาผู้แทนราษฎร : ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็น ประธานรัฐสภา


เป็น สส. แล้วจะเป็น สว. อีกไม่ได้นะ **

วุฒิสภา : ประธานวุฒิสภา เป็น รองประธานรัฐสภา

มีสมาชิก 200 คน (**วาระแรกให้มี 250 คน) ที่มาจากการเลือกกันเอง


การเลือก สว. ให้ตราเป็น พระราชกฤษฎีกา และมีอายุคราวละ 5 ปี ** มากกว่า สส. 1 ปี
ถ้าเคยเป็น สว. แล้วแต่สมาชิกภาพสุดสิ้นไม่เกิน 2 ปี จะไปเป็นรัฐมนตรีหรือดำรง
ตำแหน่งทางการเมืองไม่ได้ แต่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นได้

ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะตราขึ้นเป็นกฏหมายได้ ต้องได้รับ
คำแนะนำและยินยอมจากรัฐสภาแล้ว แล้ว นายกรัฐมนตรี นำขึ้นทูลเกล้า
เพื่อประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา
มาจากบุคคลซึ่งสภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบ
r
นายกรัฐมนตรี + รัฐมนตรีอื่นไม่เกิน 35 คน
คณะรัฐมนตรี (นายกฯห้ามดำรงตำแหน่งเกิน 8 ปี และรัฐมนตรีอายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี)

บริหาร • นายกรัฐมนตรีคนแรกของไทย * พระยามโนปกรณ์


หน้าที่ของรัฐ : ดำเนินการให้ทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา 12 ปี โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
"
ศาลยุติธรรม : มีอำนาจพิพากษาคดีทั้งปวง
.
ประธานศาลฎีกา : เมธินี ชโลธร
ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา
.

v
.
.
.
.
.
.
-
,

ศาล ศาลปกครอง : พิพากษาคดีปกครองอันเนื่องมาจากการใช้อำนาจทางปกครอง


' l
, , - - 1
-

ศาลปกครองชั้นต้น และ ศาลปกครองสูงสุด


1
-
e
-
/
/

ศาลทหาร : พิจารณาพิพากษาคดีอาญาของบุคคลซึ่งอยู่ในอำนาจของศาลทหาร
1
'
,

ศาลทหารชั้นต้น ศาลทหารชั้นกลาง และ ศาลทหารสูงสุด

ศาลรัฐธรรมนูญ
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ มี 9 คน (ดำรงตำแน่งคราวละ 7 ปี เพียงวาระเดียว)

0 •

วินิจฉัยความชอบด้วยกฏหมายหรือร่างกฏหมาย

:ะ วินิจฉัยปัญหาและอำนาจหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎร
วุฒิสภา คณะรัฐมนตรี และองค์กรอิสระ

หน้าที่และอำนาจอื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม
การทุจริตแห่งชาติ

7
มี 3 คน มี 9 คน
อำนาจและหน้าที่ ไต่สวนและมีความเห็นเกี่ยวกับ

เสนอแนะต่อหน่วยงานของรัฐ เกี่ยวกับ พฤติการณ์ที่ร่ำรวยผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่ หรือ

การปรับปรุงกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบหรือ จงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อำนาจขัดต่อบัญญัติแห่ง

คำสั่ง ที่สร้างความเดือดร้อนหรือไม่เป็นธรรม รัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติ


องค์กรอิสระ ตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง
แก่ประชาชน (เป็นสื่อกลางระหว่างหน่วยงาน
ของรัฐกับประชาชน) กำหนดให้มีการยื่นบัญชีทรัพย์สิน
** ดำรงตำแหน่ง 7 ปีทั้งหมด และหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่ง

คณะกรรมการการเลือกตั้ง และพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตาม ทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ

(กกต.) คำแนะนำของวุฒิสภา
7

มี 7 คน อายุไม่ต่ำกว่า 45 และไม่เกิน 70 ปี คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


มี 7 คน

¥
ดำเนินการให้มีการจัดการการเลือกตั้ง
ระดับชาติและระดับท้องถิ่น คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน

มีอำนาจสั่งระงับการเปลี่ยนแปลงหรือ
¥

มี 7 คน
ยกเลิกการเลือกตั้ง
ดูแลการดำเนินงานของพรรคการเมือง เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการเงินการคลัง
ของรัฐ ** จำ
อ่านเรียงลำดับจำนวนคนจากน้อยไป
หามากแบบทวนเข็มนาฬิกา
การปกครองส่วนท้องถิ่น

ให้มีการจัดการปกครองแบบท้องถิ่น ตามหลัก แห่งการ


ปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น

โดยคำนึงถึง
เจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น
ความสามารถในการปกครองตนเองในด้านรายได้ จำนวน
และความหนาแน่นของประชากร และพื้นที่ที่รับผิดชอบ
ประกอบกัน

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอำนาจดูแลและจัด
ทำบริการสาธารณะ โดยให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
-
-
-

i.

เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตาม
หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน รัฐต้องดำเนินการให้องค์กรปกครองส่วน
ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้ ท้องถิ่นมี รายได้เป็นของตนเอง \

i
แก่ประชาชนในท้องถิ่น โดยการจัดระบบภาษีหรือการจัดสรรภาษีที่ i

เหมาะสม (ส่งเสริมและพัฒนาการหารายได้ของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร -
การบริหารงานบุคคลขององค์กร
ราชการส่วนท้องถิ่น f- ปกครองส่วนท้องถิ่น
i
** สมาชิกสภาท้องถิ่นต้องมาจาก
วางหลักการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมี
การเลือกตั้งและผู้บริหารท้องถิ่นก็
อิสระในกิจกรรมต่างๆ เพื่อคุ้มครองผล
ให้มาจากการเลือกตั้ง ต้องคำนึง
ประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นเป็นหลัก
ถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน
การป้องกันการทุจริต และการใช้จ่ายเงินอย่าง
มีประสิทธิภาพ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อกันเพื่อเสนอข้อ
บัญญัติหรือเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นได้
ขุ
ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับหน้าที่ของรัฐ

รัฐดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็น
เวลา 12 ปี โดย “ไม่เก็บค่าใช้จ่าย”

จัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ และองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น และภาคเอกชน ในการจัดการการศึกษาทุก
ระดับ โดยดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตาม
ความต้องการอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล

จัดให้มี “ยุทธศาสตร์ชาติ” เป็นเป้าหมายการพัฒนา


ประเทศอย่างยั่งยืน

วิสัยทัศน์ : ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง และ


ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(2561 - 2580) ประเทศชาติมั่นคง รัฐเพื่อประชาชน
*ปัจจุบัน ประชาชนมีสุข เป้าหมาย 6 ด้าน
คุณภาพสิ่งแวดล้อม
ยกระดับเศรษฐกิจ
ความเสมอภาค
พัฒนาคน เสริมสร้าง
ทางสังคม
ศักยภาพมนุษย์

รัฐพึงพัฒนาระบบบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปตาม
“หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี”
พระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
5 กันยายน 2534

ประโยชน์สุขของประชาชน
ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
การบริหารราชการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ลดภารกิจและยกเลิก
โดยต้องคำนึงถึง .. หน่วยงานที่ไม่จำเป็น
การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น
การตอบสนองความต้องการของประชาชน

หลักการรวมอำนาจการปกครอง (Centralization)
: การบริหารราชการส่วนกลาง >> กระทรวง,กรม
“รวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลาง มีอำนาจในการสั่งการทั่วประเทศ”

รูปแบบการบริหารราชการแผ่นดิน หลักการแบ่งอำนาจการปกครอง (Deconcentralization)


: การบริหารราชการส่วนภูมิภาค
“ส่วนกลางสั่งการและควบคุมบังคับบัญชาราชการส่วนภูมิภาค”

หลักการกระจายอำนาจการปกครอง (Decentralization)
: การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
“แบ่งภารกิจของรัฐให้กับราชการส่วนท้องถิ่นที่มีฐานะเป็น
นิติบคุคล”
การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง

สำนักนายกรัฐมนตรี (เป็นกระทรวง)
กระทรวง ทบวง กรม

การจัดตั้ง การรวม หรือการโอนส่วนราชการ ต้อง “ตราเป็นพระราชบัญญัติ”


แต่การจัดตั้ง รวม โอน ที่ไม่มีการกำหนดตำแหน่งหรืออัตราข้าราชการหรือ
ลูกจ้างเพิ่มขึ้น ต้อง “ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา”
การเปลี่ยนชื่อและการยุบส่วนราชการ “ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา”

ตรวจสอบดูแลไม่ให้มีการกำหนด
สำนักคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ตำแหน่งเพิ่มขึ้น จนกว่าจะครบ
หน้าที่
และสำนักงบประมาณ กำหนด 3 ปี

การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักนายกรัฐมนตรี กรม หรือส่วนราชการ


ออกเป็น “กฎกระทรวง”

การจัดระเบียบราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี

i.
° สำนักนายกรัฐมนตรี
*
มีฐานะเป็นกระทรวง

ส่วนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็น กรม

สายงาน ไม่ได้ขึ้นตรงกับนายกฯ •
สำนักงานปลัดสำนักนายกฯ , กรมประชาสัมพันธ์ ,
(อยู่ภายใต้บังคับบัญชาของนายกฯ) สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

: ** ที่เหลือขึ้นตรงกับนายกฯ

** สำนักงบประมาณ สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี ไม่ใช่


กระทรวงการคลัง
ราชการทางการเมือง
สำนักงานเลขาธิการนายกฯ
ผู้บังคับบัญชา : เลขาธิการนายกรัฐมนตรี (ข้าราชการการเมือง)

ราชการของคณะรัฐมนตรีรัฐสภา
สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ผู้บังคับบัญชา : เลขาธิการคณะรัฐมนตรี (ข้าราชการพลเรือนสามัญ)

ราชการประจำทั่วไปของสำนักนายกรัฐมนตรี
สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ผู้บังคับบัญชา : ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (ข้าราชการพลเรือนสามัญ)

การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหรือทบวง

สำนักงานรัฐมนตรี
สำนักงานปลัดกระทรวง
กรม
กระทรวง ผู้บังคับบัญชา : รัฐมนตรีว่าการกระทรวง

ปลัดกระทรวง : รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในกระทรวง และเป็นผู้บังคับบัญชา


ข้าราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี

กระทรวงใดมีภารกิจเพิ่มขึ้น มีความจำเป็นต้องมี “รองปลัดกระทรวง” มากกว่าที่กำหนด


ให้ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.)
ร่วมกันอนุมัติเพิ่มเป็นกรณีพิเศษได้

สำนักงานรัฐมนตรี มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง
และมีเลขาธิการรัฐมนตรี เป็นผู้บังคับบัญชา

*
มี สำนักเลขานุการกรม และกอง (บางกรมก็ไม่มี)
* กรมมี อธิบดี เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ
การจัดระเบียบราชการในกรม
* สำนักงานเลขานุการกรม : ดูแลราชการทั่วไปของกรม
• เลขานุการกรม เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ
การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค

จังหวัด
มีฐานะเป็นนิติบุคคล

การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด “ตราเป็นพระราชบัญญัติ”


* นำภารกิจของรัฐ และนโยบายไปปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์
* ดูแลให้มีการบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย
* จัดให้มีการคุ้มครอง ป้องกัน ส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชน
* การบริการภาครัฐ
* การส่งเสริม สนับสนุน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ให้จังหวัดมี “คณะกรมการจังหวัด” ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัด

ประกอบด้วย
ประธาน : ผู้ว่าราชการจังหวัด
คณะกรมการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดจังหวัด อัยการจังหวัด ผู้บังคับการตำรวจภูธร
หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดจากกระทรวง และ หัวหน้าสำนักงาน
จังหวัด เป็น เลขานุการ
ผู้ว่าราชการจังหวัด สังกัดกระทรวงมหาดไทย

คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด “ก.ธ.จ” (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร)


มีหน้าที่ สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัด
ให้ใช้วิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี มีผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน

การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอำเภอ “ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา”


อำเภอ มีศูนย์บริการร่วม (คณะบุคคล) ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยและ
ไม่เป็นนิติบุคคล ประนอมข้อพิพาทของประชาชน
** กรณีพิพาททางแพ่งเกี่ยวกับที่ดิน มรดก และข้อพิพาททาง
แพ่งอื่นที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน สองแสนบาท
การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น

องค์การบริหารส่วนจังหวัด
เทศบาล (เปลี่ยนมาจากสุขาภิบาล พ.ศ. 2542)
องค์การบริหารส่วนตำบล
ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่กฎหมายกำหนด คือ
กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)

มีหน้าที่
เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับ
การพัฒนาระบบราชการ
เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานอื่นของรัฐ
งานที่เกี่ยวข้องกับรัฐ

ประกอบด้วย
ประธาน : นายกรัฐมนตรี
รองประธาน : รัฐมนตรีหนึ่งคนที่นายกรัฐมนตรีกำหนด
ผู้ซึ่งคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมาย
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน 10 คน
เลขาธิการ ก.พ.ร.

“สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ”
สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มี เลขาธิการ ก.พ.ร. (ข้าราชการพลเรือนสามัญ)
เป็นผู้บังคับบัญชา และรับผิดชอบงานธุรการ ก.พ.ร. ซึ่งไม่มีฐานะเป็นกรม
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546

พ.ศ. 2546 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562


(10 ต.ค. 2546) (1 พ.ค. 2562)

ทักษิณ ชินวัตร ประยุทธ จันทร์โอชา


ปฏิรูปราชการจาก ม 3/1 “รัฐธรรมนูญ 2560 : รัฐจัดให้มียุทธศาสตร์
พรบ.การบริหารราชการแผ่นดิน เป็นเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ”

- การปฏิบัติงานของส่วนราชการตอบสนองต่อ - ตรา พรบ. การจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ 2560 และ


การพัฒนาประเทศและศักยภาพของประชาชน แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศ 2560 แทน
- ประโยชน์สุขของประชาชน แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
- เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี - ปรับปรุงการจัดทำแผนปฏิบัติราชการให้
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กับ เป้าหมาย 7 ประการ

เพื่อเกิดประโยชน์สุขของประชาชน
เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภรกิจของรัฐ
มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์
ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของราชการสม่ำเสมอ

" "
การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน

“ประชาชนเป็นศูนย์กลางที่จะได้รับการบริการจากรัฐ”

@ เกิดความผาสุกและความอยู่ดีกินดีของประชาชน
เป้าหมาย • เพื่อความสงบและความปลอดภัยของสังคม
④ เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ

มีหลักการสำคัญดังนี้

การกำหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้องเป็นไปเกิดประโยชน์สุขของ
ประชาชน (ต้องสอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐ)

การปฏิบัติภารกิจต้องเป็นไปโดยซื่อสัตย์ สุจริต ตรวจสอบได้และมุ่งเกิด


ประโยชน์สุขแก่ประชาชน

ก่อนปฏิบัติภารกิจต้องศึกษาผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นในทุกด้าน

ข้าราชการมีหน้าที่รับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคม

กรณีเกิดปัญหาให้รีบแก้ไขโดยเร็ว (และแจ้งเรื่องให้ ก.พ.ร. ทราบด้วย)


การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ

มีขั้นตอนการดำเนินงานของรัฐดังนี้

จัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้ล่วงหน้า
การกำหนดแผนปฏิบัติการ ต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอน ระยะเวลา
และงบประมาณ รวมทั้งเป้าหมายของภารกิจ
ติดตามและประเมินผลตามแผนปฏิบัติราชการ
กรณีเกิดผลกระทบกับประชาชน เป็นหน้าที่ของส่วนราชการที่ต้องแก้ไขหรือ
บรรเทาผลกระทบนั้น
ภารกิจใดมีความเกี่ยวข้องหลายส่วนราชการ ให้ส่วนราชการบริหารราชการแบบ
บูรณาการร่วมกัน

ส่วนราชการมีหน้าทีพ
่ ัฒนาองค์ความรู้ในส่วนราชการและบุคลากร เพื่อให้มี
ลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ
รับข้อมูลข่าวสารและประมวลผลความรู้
องค์การแห่ง
การเรียนรู้
สร้างวิสัยทัศน์และทัศนคติของข้าราชการ

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ร่วมกันจัดทำแผนนิติบัญญัติ
ยุทธศาสตร์ชาติ
ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ แผน 5 ปี สอดคล้องกับ

¥
แผนแม่บท
รัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ สำนักงบประมาณ แผนการปฏิรูปประเทศ
ดำเนินการจัดสรรงบประมาณ แผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

สิ้นปีงบประมาณ : จัดทำรายงานแสดงผล แห่งชาติ และนโยบายของคณะ


. . . .

รัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา
สัมฤทธิ์ต่อรัฐมนตรี

กรณีกฎหมายว่าด้วยวิธีงบประมาณ ให้ส่วนราชการต้องจัดทำแผนเพื่อขอรับงบประมาณ ให้


สำนักงบประมาณและคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ร่วมกันกำหนดแนวทางจัดทำแผน
การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

ส่วนราชการกำหนดเป้าหมาย แผนการทำงาน ระยะเวลาแล้วเสร็จ งบประมาณที่


ต้องใช้ และเผยแพร่ให้ทราบโดยทั่วกัน

จัดทำต้นทุนบัญชีในการทำบริการสาธารณะตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรม
บัญชีกลางกำหนด

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสำนักงบประมาณ

จัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วน
ราชการดำเนินงานเพื่อรายงานต่อคณะรัฐมนตรี

* ประเภทและสภาพของภารกิจ

การประเมินความคุ้มค่า ความเป็นไปได้ของภารกิจ
คำนึงถึง
*

* ประโยชน์ที่รัฐและประชาชนพึงได้รับ
ให้คำนึงถึงประโยชน์หรือผล
เสียทางสังคมและผลเสียอื่นที่
* รายจ่ายที่ต้องเสียไปก่อนและหลังการดำเนินการ
ไม่อาจคำนวณเป็นตัวเงินด้วย

การจัดซื้อ/จัดจ้าง

วัตถุประสงค์ของการจัดซื้อจัดจ้างต้องคำนึงถึง คุณภาพและการดูแลรักษา เป็นสำคัญ

: (โดยไม่ต้องถือราคาต่ำสุดก็ได้)
ในภารกิจใด หากต้องได้รับการอนุมัติหรือการอนุญาตจากส่วนราชการอื่น
ให้แจ้งผลการพิจารณา 15 วัน
**ทั้งนี้หากมิได้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน มีความเสียหายเกิดขึ้นให้ถือว่า
ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

การสั่งราชการโดยปกติให้ทำเป็น ลายลักษณ์อักษร
จัดให้มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจลง
ไปสู่ผู้ดำรงตำแหน่งที่มีหน้าที่รับผิดชอบใน
การดำเนิการเรื่องนั้นโดยตรง

การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน กำหนดหลักเกณฑ์ควมคุมติดตามและ
กำกับดูแลการใช้อำนาจ แต่ต้องไม่
สร้างหรือกลั่นกรองงานที่ไม่จำเป็น
“สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิตอล”
(องค์กรมหาชน) กำหนดให้ใช้ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือโทรคมนาคม เพื่อ
“แพลตฟอร์มดิจิตอลกลาง” เพื่อให้ ประโยชน์ในการลดขั้นตอนในการติดต่อราชการ
ส่วนราชการใช้ในการบริการประชาชนและ เพิ่มประสิทธิภาพและประหยัดค่าใช้จ่าย
การติดต่อประสานงานระหว่างกัน

ศูนย์บริการร่วม

เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย
l
และเพื่อให้ประชาชนสามารถติดต่อสอบถาม รวมทั้งยื่นเรื่อง
คำร้อง คำขอต่างๆ ตามอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการได้

2 ในกระทรวงเดียวกันจัดให้มีการตั้งศูนย์บริการร่วมเพียงแห่งเดียว

ศูนย์บริการร่วม : จัดให้มีเจ้าหน้าที่รับเรื่องและดำเนินการส่งต่อให้
3 ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง โดยต้องให้มีการให้ข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ตามอำนาจหน้าที่ของทุกส่วนราชการในกระทรวง

4 ให้ส่วนราชการระดับจังหวัดหรืออำเภอ ตั้งศูนย์บริการร่วมได้
การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ

การทบทวนภารกิจ
ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจว่าภารกิจใดควร “ยกเลิก ปรับปรุง
หรือควรดำเนินการต่อ”
** ถ้าเห็นสมควรว่ายกเลิก ให้ส่วนราชการดำเนินการปรับปรุง อำนาจ
หน้าที่ โครงสร้าง อัตรากำลัง เสนอคณะรัฐมนตรี

การยุบ โอน รวมส่วนราชการ

ห้าม มิให้มีการจัดตั้งส่วนราชการที่มีอำนาจหน้าที่มีลักษณะเดียวกันหรือ
คล้ายคลึงกัน เว้นแต่

l
มีเหตุผลและความจำเป็นเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ
เศรษฐกิจของประเทศ
รักษาผลประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน
โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

การทบทวนกฎหมาย

ส่วนราชการมีหน้าที่ตรวจสอบและทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ฯลฯ โดย


ให้ทันต่อสมัยแลเหมาะสมกับสภาวการณ์หรือสอดคล้องกับความจำเป็นทาง
เศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ

ในกรณีที่ สำนักงานกฤษฎีกา เห็นว่ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับหรือประกาศ ที่อยู่ใน


ความรับผิดชอบของส่วนราชการใด ไม่สอดคล้องหรือเหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน ไม่
เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาประเทศ เป็นอุปสรรคต่อการดำรงชีวิตและก่อให้เกิดภาระเกิน
สมควรกับประชาชน ให้สำนักงานกฤษฎีกาเสนอแนะต่อส่วนราชการนั้นทำการแก้ไข
ปรับปรุง หรือยกเลิกโดยเร็ว
การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน

การบริการประชาชนหรือการติดต่อประสานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน
ให้มีกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของแต่ละงานไว้ด้วย
** คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) จะกำหนดระยะเวลา
แล้วเสร็จของหน่วยงานไว้ก็ได้

หากส่วนราชการได้รับการติดต่อหรือสอบถามเป็นหนังสือจาก
ประชาชนหรือหน่วยงานใด ให้พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน

ส่วนราชการจัดให้มี ระบบเครือข่ายสารสนเทศ
เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชน

กระทรวงดิจิตอลเพื่อการเศรษฐกิจและสังคม (เดิมชื่อ กระทรวงเทคโนโลยี


สารสนเทศและการสื่อสาร) วางระบบเครือข่ายสารสนเทศกลาง

กรณีที่มีการร้องเรียนว่าทางราชการได้ออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศ


ก่อให้เกิดปัญหาใดๆก็ตาม ให้หน่วยงานชี้แจงให้ผู้ร้องเรียนหรือเสนอแนะ
ทราบภายใน 15 วัน

การปฏิบัติราชการใดโดยหลักให้ถือเป็นเรื่องเปิดเผย เว้นแต่
เป็นการรักษาความมั่นคงของประเทศ
การรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล

ส่วนราชการต้องจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณประจำปี
และประชาชนมีสิทธิขอดูหรือตรวจสอบข้อมูลได้
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ

• ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ
• คุณภาพการให้บริการ
จัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระ
ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ
ในประเด็นต่อไปนี้ : ความคุ้มค่าในภารกิจ

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)

เสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรรางวัลเงินเพิ่มพิเศษให้กับส่วนราชการใดที่
ดำเนินการบริการได้อย่างมีคุณภาพและเป็นไปตามเป้าหมาย และสามารถ
เพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์โดยไม่เพิ่มค่าใช้จ่ายได้

บทเบ็ดเตล็ด

กระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่ดูแลและให้ความช่วยเหลือ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำ หลักเกณฑ์
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

แต่ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” จะจัดทำหลักเกณฑ์


การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไม่ต้องครบ 7 ข้อก็ได้
เพราะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ใช่ส่วนราชการ
ตามพระราชกฤษฎีกานี้

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักการเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ (ฉบับที่ 2)
มาตรา 9 “ให้จัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการเป็นแผน 3 ปี
(เดิม พ.ศ. 2546 เป็น 5 ปี) โดยมีห้วงระยะเวลาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2565
มาตรา 10 สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิตอล (องค์การมหาชน) จัดให้มีแพลตฟอร์ม
ดิจิตอลกลาง ภายใน 90 วัน นับแต่วันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับ และส่วนราชการต้องใช้
แพลตฟอร์มดิจิตอลกลางภายใน 2 ปี
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก
ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2558


พ้นกำหนด 180 วัน
v

บังคับใช้วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับกับบรรดาการอนุญาต การจดทะเบียนหรือการแจ้งที่มีกฎหมายหรือ
กฎกำหนดให้ต้องขออนุญาต จดทะเบียน หรือแจ้งก่อนการดำเนินการใด “เพื่อให้มีกฎหมาย
กลางที่จะกำหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการพิจารณาอนุญาตและมีการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม

เจ้าหน้าที่ : เจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ซึ่งใช้


อำนาจหรือได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครองของรัฐ

อนุญาต : การที่เจ้าหน้าที่ยินยอมให้บุคคลกระทำการใดที่มีกฎหมายที่กำหนด
ให้ต้องได้รับความยินยอม

ผู้อนุญาต : ผู้ซึ่งกฎหมายกำหนดให้มีอำนาจการอนุญาต

กฎหมายว่าด้วยการอนุญาต : บรรดากฎหมายที่มีบทบัญญัติให้กำหนดให้การดำเนิน
การใดหรือการประกอบกิจการจะต้องได้รับการอนุญาตก่อนจึงจะดำเนินการได้

• รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
• การดำเนินการของศาลและเจ้าหน้าที่ใน
กระบวนการพิจารณาคดี
พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก่

• การดำเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

การปฏิบัติการทางทหาร
• กฎหมายว่าด้วยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

กิจการหรือหน่วยงานใดที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ให้
ตราเป็น “พระราชกฤษฎกีกา”
ให้ผู้อนุญาตพิจารณากฎหมายที่ให้อำนาจในการอนุญาต
ทุก 5 ปี นับแต่วันที่
ว่าสมควรปรับปรุงกฎหมายนั้นเพื่อยกเลิกการอนุญาต
พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
หรือจัดให้มีมาตรการอื่นแทนการอนุญาตหรือไม่

ผู้อนุญาตเสนอผลการพิจารณาต่อคณะรัฐมนตรี

หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข

คู่มือสำหรับประชาชน
ประกอบด้วย การยื่นคำขอขั้นตอนและระยะเวลา
เพื่อพิจารณาคำขออนุญาต
ในการพิจารณา

ปิดประกาศ ณ สถานที่ที่กำหนดให้ยื่นคำขอ
รายการเอกสารหรือหลักฐานที่ต้อง
เผยแพร่ผ่านสื่ออิเลกทรอนิกส์
ยื่นพร้อมคำขอ
จัดทำสำเนาได้โดยคิดค่าใช้จ่ายตามสมควร

** การจัดทำคู่มือให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน

จะกำหนดให้ยื่นคำขอผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ก็ได้

ตรวจสอบขั้นตอนและระยะเวลาในการพิจารณา
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) อนุญาต ว่ามีความเหมาะสมตามหลักเกณฑ์และวิธี
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่

หากเห็นว่าระยะเวลาล่าช้าเกินสมควรให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและสั่งการให้ผู้อนุญาต
ดำเนินการแก้ไขให้เหมาะสมโดยเร็ว
การขอรับคำขออนุญาต

จะต้องตรวจสอบคำขอและรายงานเอกสารหลักฐานที่ยื่นพร้อม
คำขอให้ถูกต้องครบถ้วน
ถ้าไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ..
จัดให้มี เจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่รับคำขอ - ให้แก้ไขหรือเพิ่มเติมได้ในขณะนั้น โดยให้ผู้ยื่นคำขอ
จะต้องตรวจสอบคำขอ ดำเนินการให้ครบถ้วน
- หากทำไม่ได้ในขณะนั้น ให้ลงบันทึกความบกพร่องไว้
และกำหนดระยะเวลา ที่ต้องดำเนินการแก้ไข

กรณีจัดทำเอกสารคำขอถูกต้องหรือแก้ไขถูกต้องแล้ว
เจ้าหน้าที่จะเรียกเอกสารหรือหลักฐานอื่นเพิ่มเติมอีกไม่ได้

ให้พนักงานเจ้าหน้าที่คืนคำขอให้แก่ผู้ยื่นคำขอพร้อมทั้งแจ้งเป็น
กรณีผู้ยื่นคำขอไม่แก้ไขเพิ่มเติม หนังสือถึงเหตุแห่งการคืนคำขอให้ทราบด้วย
หรือไม่ส่งเอกสารหลักฐานเพิ่มเติม ผู้ยื่นคำขอจะอุทธรณ์คำสั่งคืนคำขอตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครองหรือยื่นคำขอใหม่ก็ได้

ถ้าแล้วเสร็จแล้วแจ้งผู้ยื่นภายใน 7 วัน

การพิจารณาคำขออนุญาต

หากไม่แล้วเสร็จ แจ้งเป็นหนังสือแสดงเหตุแห่งความล่าช้า

กรณีไม่แจ้งผู้ยื่นคำขอทราบเท่ากับ ทุก 7 วันจนกว่าจะแล้วเสร็จ

ถือว่าผู้อนุญาตกระทำการหรือ *ส่งสำเนาเอกสารแจ้งให้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

ละเว้นกระทำการเพื่อให้เกิดความ (ก.พ.ร.) ทราบด้วย

เสียหายแก่ผู้อื่น *ก.พ.ร. เห็นความล่าช้านั้นเกินกว่าเหตุ รายงานต่อคณะ


รัฐมนตรี พร้อมทั้งเสนอแนะให้มีการพัฒนาหรือปรับปรุง
หน่วยงาน
คณะรัฐมนตรีกำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตชำระค่าธรรมเนียมการต่ออายุใบ
อนุญาตแทนการยื่นคำขอต่ออายุใบอนุญาตก็ได้ โดยการ
“ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา”
อายุใบขออนุญาต

*ก่อนตราพระราชกฤษฎีกาให้คณะรัฐมนตรีส่งร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว
ให้สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน

ศูนย์รับคำขออนุญาต

เพื่อรับคำขอและชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการอนุญาตต่างๆ
เป็นส่วนราชการ ในสำนักนายรัฐมนตรี
การจัดตั้งตราเป็น พระราชกฤษฎีกา

รับคำขอและค่าธรรมเนียม คำอุทธรณ์
ให้ข้อมูล ชี้แจง และแนะนำผู้ยื่นคำขอให้ทราบถึงหลักเกณฑ์
วิธีการและเงื่อนไขในการขออนุญาต
ส่งคำขอหรือคำอุทธรณ์ที่ได้รับให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและคอย
หน้าที่ของศูนย์ฯ ติดตามเร่งรัด
กรณีเห็นว่าเกิดภาระเกินสมควรแก่ประชาชน ให้เสนอคณะ
รัฐมนตรีเพื่อสั่งการปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสม
รวบรวมปัญหาและอุปสรรคของศูนย์เสนอ ก.พ.ร. เพื่อรายงาน
คณะรัฐมนตรี

เมื่อมีการจัดตั้งศูนย์รับคำขออนุญาตแล้วให้ดำเนินการมีผลดังต่อไปนี้

การยื่นคำขอหรือการส่งเอกสารค่าธรรมเนียม ณ ศูนย์รับคำขอ ให้เป็นไปโดย


ชอบด้วยกฎหมายว่าด้วยการอนุญาต
เงินค่าธรรมเนียมที่ศูนย์ฯได้รับไว้ ให้นำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
หน่วยงานของผู้อนุญาตมีสิทธิให้หักค่าใช้จ่ายจากเงินที่ต้องนำส่งคลัง ให้ศูนย์ฯ
หักเงินดังกล่าวแทน
ศูนย์ฯต้องส่งเรื่องให้ผู้อนุญาตไม่ช้ากว่า 3 วันทำการ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่3)
พ.ศ. 2560

“งานสารบรรณ” งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การรับ


การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย
“งานสารบรรณอิเลกทรอนิกส์” การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่าน
ระบบสื่อสารด้วยวิธีทางอิเลกทรอนิกส์

หมวด 1
“ชนิดของหนังสือ

ส่วนที่ 1 หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี โดยใช้ กระดาษตราครุฑ


หนังสือภายนอก หนังสือที่ติดต่อระหว่างส่วนราชการหรือส่วนราชการถึงบุคคลภายนอก

ส่วนที่ 2 หนังสือราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอก ใช้ติดต่อกันภายใน


หนังสือภายใน กระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกันใช้ กระดาษบันทึกข้อความ

ส่วนที่ 3 หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
หนังสือประทับตรา ขึ้นไป ใช้ กระดาษตราครุฑ

คำสั่ง : ผู้บังคับการสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย
ส่วนที่ 4
หนังสือสั่งการ ระเบียบ : หลักปฏิบัติงานเป็นการประจำ
ใช้ กระดาษตราครุฑ
ข้อบังคับ : กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจขงกฎหมาย
ประกาศ : ข้อความที่ทางส่วนราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบใช้
กระดาษตราครุฑ

ส่วนที่ 5 แถลงการณ์ : ข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจใน


หนังสือประชาสัมพันธ์ กิจการของทางราชการใช้ กระดาษตราครุฑ

ข่าว : บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ทราบ

ส่วนที่ 6
หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานทางราชการ

หนังสือรับรอง : ส่วนราชการออกให้เพื่อรับรองแก่บุคคล นิติบุคคลหรือหน่วยงาน เพื่อ


วัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งให้ปรากฏแก่บุคคลทั่วไปไม่จำเพาะเจาะจงใช้ กระดาษตราครุฑ

รายงานการประชุม : การบันทึกความเห็นของผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม และมติของที่


ประชุมไว้เป็นหลักฐาน

บันทึก : ข้อความผู้ซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอต่อผู้บังคับบัญชาหรือข้อความที่เจ้าหน้าที่หรือหน่วย
งานระดับต่ำกว่าส่วนราชการระดับกรมติดต่อกันในการปฏิบัติราชการใช้ กระดาษบันทึกข้อความ

หนังสืออื่น : หนังสือหรือเอกสารอื่นใดที่เกิดขึ้นเนื่องจากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เพื่อเป็น
หลักฐานทางราชการ (ภาพถ่าย ฟิล์ม แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพถ่าย สื่อกลางบันทึกข้อมูล)
ด่วนที่สุด : ปฏิบัติในทันที
หนังสือที่ต้อง ปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ
ด่วนมาก : ปฏิบัติโดยเร็ว
ตัวอักษรสี แดง ขนาด 32 พอยท์
ส่วนที่ 7 ด่วน : เร็วกว่าปกติเท่าที่จะทำได้
เบ็ดเตล็ด หนังสือเวียน : หนังสือที่มีผู้รับจำนวนมากและมีใจความอย่างเดียวกัน เพิ่มรหัสตัว
พยัญชนะ ว หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง

หนังสือภาษาต่างประเทศใช้ กระดาษตราครุฑ
หมวด 2
“การรับและการส่งหนังสือ”

“หนังสือรับ” หนังสือที่ได้รับเข้ามาจากภายนอก
o *การรับหนังสือที่มีชั้นความลับ ต้องเป็นไปตาม ระเบียบว่าด้วย
การรักษาความลับของทางราชการ

จัดลำดับความสำคัญและความเร่งด่วนของหนังสือเพื่อดำเนิน
0

การก่อน-หลัง
ส่วนที่ 1
การรับหนังสือ


ประทับตรารับหนังสือ (มุมขวาด้านบนของหนังสือ)
กรอกรายละเอียด เลขรับ,วันที่,เวลา

ลงทะเบียนรับหนังสือในทะเบียนหนังสือรับ

จัดแยกหนังสือที่ลงทะเบียนรับแล้วส่งให้ส่วนราชการที่
เกี่ยวข้องดำเนินการ

0 หนังสือส่ง หนังสือที่ส่งออกไปภายนอก

ส่วนที่ 2 0
ก่อนบรรจุซองหนังสือส่ง ให้ตรวจโดยเจ้าหน้าที่ของหน่วย
การส่งหนังสือ งานสารบรรณกลาง

② การส่งหนังสือโดยทางไปรษณีย์ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบ
หรือวิธีการที่การสื่อสารแห่งประเทศไทยกำหนด
หมวด 3
“การเก็บรักษา ยืม และทำลายหนังสือ”

การเก็บระหว่างปฏิบัติ ประทับตรากำหนดเก็บหนังสือไว้ที่มุมล่างด้านขวาของ
กระดาษและลงลายมือชื่อ
ส่วนที่ 1 หนังสือที่ต้องเก็บตลอดไปประทับตรา ห้ามทำลายด้วย
การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
การเก็บรักษา หมึกสีแดง
หนังสือที่มีกำหนดเวลา ประทับตรา เก็บถึง พ.ศ. .. ด้วย
การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ หมึกสีน้ำเงิน

อายุการเก็บหนังสือ

โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี
เว้นแต่ ..

หนังสือที่ต้องสงวนเป็นความลับ
หนังสือที่เป็นหลักฐานทางอรรถคดี
หนังสือที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์
หนังสือที่ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้วและเป็นคู่สำเนาที่มีต้นเรื่องที่จะค้นได้จาก
ที่อื่นให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี
หนังสือที่เป็นธรรมดาสามัญซึ่งไม่มีความสำคัญ (เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 1 ปี)
หนังสือเกี่ยวกับเอกสารในทางการเงิน (สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ตรวจสอบแล้วไม่มีปัญหาเก็บไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี)

ส่งมอบให้ สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร


หนังสือที่มีอายุครบ 20 ปี
ภายในวันที่ 31 มกราคม ของปีถัดไป

หนังสือที่ยังไม่ครบกำหนดทำลาย >>> ฝากกองจดหมายเหตุแห่งชาติเก็บไว้


ส่วนที่ 2
การยืม

การยืมระหว่างส่วนราชการ
ผู้ยืมและผู้อนุญาต = หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป
การยืมหนังสือที่ส่งเก็บแล้ว
การยืมภายในส่วนราชการเดียวกัน
ผู้ยืมและผู้อนุญาต = หัวหน้าส่วนราชการระดับแผนกขึ้นไป

การยืมหนังสือที่ปฏิบัติยังไม่เสร็จหรือที่เก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบให้ถือปฏิบัติตาม
หลักการการยืมหนังสือที่ส่งเก็บแล้ว

การให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือจะกระทำมิได้ เว้นแต่จะให้ดูหรือคัดลอก และจะต้องได้รับการอนุญาต


จากหัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป

ส่วนที่ 3
การทำลาย

ทำลายภายใน 60 วันหลังจากสิ้นปีปฏิทิน

หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมแต่งตั้ง “คณะกรรมการทำลายหนังสือ”
มีประธาน และกรรมการอย่างน้อยอีก 2 คน
ข้าราชการพลเรือนหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นประเภท
วิชาการระดับปฏิบัติการหรือประเภททั่วไประดับชำนาญงานขึ้นไป

การทำลายหนังสือ “การเผา” หรือวิธีอื่นใดที่จะไม่ให้หนังสือนั้นอ่านเป็นเรื่องได้

กองจดหมายเหตุแห่งชาติ พิจารณารายรในบัญชีหนังสือขอทำลายแล้วแจ้งให้ส่วน
ราชการที่ส่งบัญชีหนังสือขอทำลายทราบดังนี้
เห็นชอบ = ทำลายได้ และ ถ้าไม่แจ้งให้ทราบภายใน 60 วัน = ทำลายได้
หมวด 4
“มาตรฐานตรา แบบพิมพ์ และซอง”

สูง 3 เซนติเมตร
ตราครุฑ
สูง 1.5 เซนติเมตร

ตราชื่อส่วนราชการ
3. 5cm

he4.5cm

ตรากำหนดเก็บหนังสือ คือ ตราที่ใช้ประทับบนหนังสือเก็บ คำว่า เก็บถึงพ.ศ. .. หรือ คำว่า ห้ามทำลาย


ขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์ 24 พอยท์
มาตรฐานกระดาษและซอง “กระดาษปอนด์ขาว น้ำหนัก 60 กรัม/ตรม.”
A4 = 210 mm X 297 mm
A5 = 148 mm X 210 mm
A6 = 52 mm X 74 mm
มาตรฐานซอง “กระดาษสีขาวหรือน้ำตาล น้ำหนัก 80 กรัม/ตรม.”
เว้นแต่ซองขนาด C4 น้ำหนัก 120 กรัม/ตรม.
C4 = 229 mm X 324 mm
C5 = 162 mm X 229 mm
C6 = 114 mm X 162 mm
ขนาดดีแอล = 110 mm X 220 mm

กระดาษตราครุฑ : A4 พิมพ์ครุฑด้วยหมึกดำหรือครุฑดุน กึ่งกลางกระดาษ


กระดาษบันทึกข้อความ : A4,A5 พิมพ์ครุฑหมึกดำ มุมบนด้านซ้าย
ซองหนังสือ : บรรจุหนังสือ พิมพ์ครุฑหมึกดำ มุมบนด้านซ้ายของซอง
ตรารับหนังสือ : ตราที่ใช้ประทับบนหนังสือ

สมุดส่งหนังสือและใบรับหนังสือ
สมุดส่ง : สมุดรายกรส่งหนังสือ ขนาด A5 พิมพ์ 2 หน้า
สมุดรับ : กำกับไปกับหนังสือที่ส่ง A8 พิมพ์หน้าเดียว
กฎหมายท้องถิ่น

พระราชบัญญัติแผนและขั้นตอน
การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2542
(แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549)
**รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

“องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล


กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่กฎหมายจัดตั้ง

ประธาน = นายกรัฐมนตรี
ผู้ทรงคุณวุฒิ 12 คน
คณะกรรมการการกระจายอำนาจ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 12 คน
ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัด 2 คน
(อยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี) ผู้บริหารเทศบาล 3 คน
ผู้บริหารกรุงเทพฯและพัทยา 2 คน
ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล 5 คน
(โดยให้ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท
เลือกกันเอง)
อำนาจหน้าที่
จัดทำแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กำหนดการจัดระบบการบริการสาธารณะ
ปรับปรุงสัดส่วนภาษีและอากร และรายได้
กำหนดหลักเกณฑ์กรถ่ายโอนภารกิจ
เสนอรายงานเกี่ยวกับการกระจายอำนาจต่อคณะรัฐมนตรีปีละ 1 ครั้ง

** สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจ สังกัดในสำนักงานปลัดสำนักนายกฯ
การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะ

การถ่ายโอนภารกิจการให้บริการสาธารณะที่รัฐดำเนินการอยู่ใน
วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายในกำหนด
เวลา 4 ปีดังนี้
ภารกิจที่เป็นการดำเนินการซ้ำซ้อนระหว่างรัฐกับองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
ภารกิจที่เป็นการดำเนินงานตามนโยบายของรัฐ

การกำหนดภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระยะแรก กำหนดระยะ
เวลาต้องเกิน 10 ปี

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบบริการ
สาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง

การจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากร

ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป มีการกำหนดการจัดสรรภาษีและอากร


เงินอุดหนุน และรายได้อื่นให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ละประเภทอย่าง
เหมาะสม

**ให้องค์กรปกครองท้องถิ่นมีรายได้คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 และมีจุดมุ่งหมายที่จะให้องค์กรปกครองส่วนท้องมีรายได้เพิ่ม
คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลในอัตรา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35

ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีการพนัน ภาษีการศึกษา
อาจมีรายได้จากภาษีอากร
ภาษีมูลค่าเพิ่มไม่เกินร้อยละ 30
ค่าธรรมเนียมและเงินรายได้
ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีสรรพสามิต ฯลฯ
แผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

มีสาระสำคัญดังนี้

อำนาจหน้าที่ในการให้บริการสาธารณะแต่ละรูปแบบ

หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการในการจัดสรร
สัดส่วนภาษีอากร

การเสนอให้แก้ไขหรือจัดให้มีกฎหมายที่จำเป็นเพื่อ
ดำเนินการตามแผนการกระจายอำนาจ

การจัดระบบการบริหารงานบุคคลของอค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
พระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2542

การบริหารงานบุคคลในองค์กรบริหารส่วนจังหวัด
ประธาน : ผู้ว่าราชการจังหวัด
หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด 3 คน
ผู้ทรงคุณวุฒิ 4 คน (ต้องมีทะเบียนบ้านในจังหวัดนั้น)
คณะกรรมการข้าราชการ
ผู้แทน องค์การบริหารส่วนจังหวัด 4 คน
องค์กรบริหารส่วนจังหวัด
- นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
- สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
- ปลัดองค์หารบริหารส่วนจังหวัด **เลขานุการ
- ผู้แทนข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด
หน้าที่
*
กำหนดคุณสมบัติและคุณลักษณะต้องห้ามที่มีความจำเป็นเฉพาะสำหรับข้าราชการใน

องค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น
• กำหนดจำนวน อัตราตำแหน่ง อัตราเงินเดือนและวิธีจ่ายเงินเดือน
• กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขต่างๆในระบบงานราชการ
• กำหนดระเบียบเกี่ยวกับการบริหารและปฏิบัติงาน
* กำกับ ดูแล และส่งเสริมการพัฒนาความรู้แก่ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด

การดำเนินการต่างๆต้องได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดก่อน
ประธาน : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
คณะกรรมการกลางข้าราชการ ผู้แทนองค์การบริหารส่วนจังหวัด 6 คน
องค์การบริหารส่วนจังหวัด (นายก อบจ. 3 + ปลัดอบจ. 3)
ผู้ทรงคุณวุฒิ 6 คน
เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาข้าราการ คณะกรรมการกลางต้องกำหนดหลักเกณฑ์ให้ข้าราชการ
อบจ. แต่ละแห่ง มีโอกาสโอนไปปฏิบัติหน้าที่ในระหว่าง อบจ.ด้วยกันได้
การบริหารงานบุคคลในเทศบาล

ประธาน : ผู้ว่าราชการจังหวัด
หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด 5 คน
ผู้ทรงคุณวุฒิ 6 คน (ต้องมีทะเบียนบ้านในจังหวัดนั้น)
คณะกรรมการ
ผู้แทนเทศบาล 6 คน
พนักงานเทศบาล
- นายกเทศมนตรี 2 คน
- ประธานสภาเทศบาล 2 คน
- ผู้แทนพนักงานเทศบาล 2 คน
- เลขานุการ : ข้าราชการหรือพนักงานเทศบาล
(ผู้ว่าฯแต่งตั้ง)

เพื่อให้การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาลแต่ละแห่งเป็นไปโดยมี
มาตรฐานสอดคล้องกันให้มี ..

ประธาน : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ผู้แทนองค์การบริหารส่วนจังหวัด 6 คน
คณะกรรมการกลาง
(นายกเทศมนตรี 3 + ปลัดเทศบาล 3)
พนักงานเทศบาล
ผู้ทรงคุณวุฒิ 6 คน
เลขานุการ : ข้าราชการในกรมการปกครองไม่ต่ำกว่ารองอธิบดี
การบริหารงานบุคคลในองค์การบริหารส่วนตำบล

ประธาน : ผู้ว่าราชการจังหวัด
นายอำเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด 8 คน
ผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน (ต้องมีทะเบียนบ้านในจังหวัดนั้น)
คณะกรรมการ ผู้แทนองค์การบริหารส่วนตำบล 9 คน
พนักงานส่วนตำบล - ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล 3 คน
- ประธานกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบล 3 คน
- ผู้แทนพนักงานส่วนตำบล 3 คน
- เลขานุการ : ข้าราชการหรือพนักงานส่วนตำบล
(ผู้ว่าฯแต่งตั้ง)

ประธาน : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ผู้แทนองค์การบริหารส่วนตำบล 6 คน
คณะกรรมการกลาง
(ประธานกรรมการบริหารองค์กรบริหารส่วนตำบล 3
พนักงานส่วนตำบล
+ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล 3)
ผู้ทรงคุณวุฒิ 6 คน
เลขานุการ : ข้าราชการในกรมการปกครองไม่ต่ำกว่ารอง
อธิบดี

การบริหารงานบุคคลในกรุงเทพมหานคร
**เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร
การบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา

ประธาน : ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี
นายอำเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดชลบุรี 3 คน
ผู้ทรงคุณวุฒิ 4 คน
คณะกรรมการ ผู้แทนเมืองพัทยา 4 คน
พนักงานเมืองพัทยา - นายกเมืองพัทยา
- สมาชิกสภาเมืองพัทยา
- ปลัดเมืองพัทยา
- ผู้แทนพนักงานเมืองพัทยา (ผู้ว่าฯจัดให้มีการคัดเลือก)

คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น

เรียกโดยย่อว่า “ก.ถ.”

กำกับดูแลการบริหารงานบุคคลของพนักงาน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทุกรูปแบบ
รองรับการกระจายอำนาจแก่ท้องถิ่น

กำหนดมาตรฐานกลางและ ประสานงานกับส่วนราชการอื่น
แนวทางในการรักษาระบบคุณธรรม อำนาจหน้าที่ เพื่อส่งเสริมให้การบริหารงานบุคคล
>> การแต่งตั้ง, พ้นจากตำแหน่ง ส่วนท้องถิ่นมีประสิทธิภาพ
โครงสร้างอัตราเงินเดือน กำหนดแนวทางการพัฒนา
การบริหารงานบุคคลเพื่อรองรับ
การกระจายอำนาจการปกครองส่วนท้องถิ่น

** รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยดำเนินการจัดให้มีการคัดเลือก “ประธาน ก.ถ.”


(ดำรงตำแหน่ง 6 ปีได้วาระเดียว)
การจ่ายเงินเดือน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งจะกำหนดสูงกว่าร้อยละ 40
ของเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์กรปกครองส่วนถิ่นไม่ได้
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับ
การจัดตั้งองค์กรส่วนท้องถิ่นต่างๆ

ในส่วนนี้จะแยกเป็นแต่ละส่วนของพระราชบัญญัติ
แต่ละฉบับให้เห็นภาพชัดเจนและจำง่ายมากขึ้น
พระราชบัญญัติทุกฉบับ
เกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้สนองพระบรมราชโองการ วันใช้บังคับ
มี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รักษาการทั้งหมด

พ.ศ. 2496 จอมพล ป. พิบูลสงคราม (นายกฯ) ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ

t.it
-
1
/
/
พระราชบัญญัติเทศบาล

\
ในราชกิจจานุเบกษา

'
e
,
/
e-

-
ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา

/
-
/

\
,
1
y
พ.ศ. 2540 พลเอกเชาวลิต ยงใจยุทธ (นายกฯ) ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ
พระราชบัญญัติ 1
/
i
\
-
1
-
,
/

ในราชกิจจานุเบกษา
องค์การบริหารส่วนจังหวัด
,

ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2562 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา


-
-
.
,

e
_
e

พ.ศ. 2537 บัญญัติ บรรทัดฐาน (รองนายกฯ) เมื่อพ้นกำหนด 90 วันนับแต่วัน


พระราชบัญญัติสภาตำบล

/
/
_
,
1
1

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
และองค์การบริหารส่วนตำบล
-
_

ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2562 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา


\

y
.

พ.ศ. 2542 ชวน หลีกภัย (นายกฯ)


พระราชบัญญัติระเบียบ ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ
/
1
-
1
/
/
\
-

บริหารราชการเมืองพัทยา ในราชกิจจานุเบกษา
i
-

ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา


/

-
/

/


พระราชบัญญัติเทศบาล
พ.ศ. 2496

การจัดตั้งเทศบาล

เทศบาลตำบล : ท้องถิ่นซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตำบล

เทศบาลเมือง : ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดหรือท้องถิ่นชุมชนที่มีราษฎรตั้งแต่ 10000 คน ขึ้นไป

เทศบาลนคร : ท้องถิ่นที่มีราษฎรตั้งแต่ 50000 คนขึ้นไป

การเปลี่ยนชื่อเทศบาล เปลี่ยนแปลงฐานะ หรือการเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลหรือยุบเลิกให้


กระทำได้โดย ประกาศกระทรวงมหาดไทย

สภาเทศบาล
องค์การเทศบาล
.

อำนาจหน้าที่ของนายกฯแต่องค์กรของ
นายกเทศมนตรี
ส่วนท้องถิ่นจะสรุปรวมให้ตอนท้าย

สภาเทศบาลตำบล สมาชิก 12 คน สมาชิกภาพจะสิ้นสุดลงก็ต่อเมื่อยื่นหนังสือ


สภาเทศบาล
สภาเทศบาลเมือง สมาชิก 18 คน ลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวัดและขาดประชุม
สมาชิกสภาเทศบาลมา
สภาเทศบาลนคร สมาชิก 24 คน เกิน 3 ครั้งติดต่อกัน
จากการเลือกตั้ง

- รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
- ให้มีบำรุงทางบกทางน้ำ
หน้าที่ของเทศบาล
(การจัดระบบบริการ
- การดูแลการจราจร ถนนหรือทางเดินสาธารณะ การกำจัดปฏิกูล
สาธารณะของเทศบาล) - ป้องกันระงับโรคติดต่อ การจัดการศึกษา ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน
- บำรุงศิลปะ จารีต ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น

กิจการใดอันอยู่ภายใต้อำนาจหน้าที่ของเทศบาลตั้งแต่ 2 แห่งขึ้นไป เรียกว่า “สหการ”


การตราเทศบัญญัติ

เทศบาลมีอำนาจในการตราเทศบัญญัติโดยไม่ขัดหรือแย้งต่อบทกฎหมาย

ในเทศบัญญัติ จะกำหนดโทษปรับผู้ละเมิดเทศบัญญัติไว้
แต่ห้ามมิให้กำหนดเกินกว่า 1000 บาท

“เทศพาณิชย์” ของเทศบาล ตราเป็นเทศบัญญัติ

** กิจการใดที่เทศบาลมีรายได้หรือผลพลอยได้อันเกิดจากการกระทำตาม
อำนาจหน้าที่จะไม่ตราเป็นเทศบัญญัติก็ได้

นายกเทศมนตรี
ผู้เสนอร่างเทศบัญญัติ สมาชิกสภาเทศบาล โดยสมาชิกสภาเทศบาลลงนามรับรองไม่น้อยกว่า 2 คน
ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเทศบาลนั้น

ร่างเทศบัญญัติใดเกี่ยวกับการเงิน ต้องมีคำรับรองของนายกเทศมนตรี
(หากมีข้อสงสัยว่าร่างใดเกี่ยวกับการเงินให้ ประธานสภาเทศบาล วินิจฉัย)

เทศบาลตำบล
>> ประธานสภาเทศบาลส่งร่างไปยัง “นายอำเภอ”
—> ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณา
ภายใน 7 วัน
นับแต่วันที่สภาเทศบาลมีมติเห็นชอบ
เทศบาลเมืองและเทศบาลนคร
>> ประธานสภาส่งร่างให้ “ผู้ว่าราชการจังหวัด” พิจารณา
การคลังและทรัพย์สินของเทศบาล

งบประมาณรายจ่ายประจำปีของเทศบาล ต้องตราขึ้นเป็น “เทศบัญญัติ”

การพิจารณาร่างเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจำปี

กรณีสภาเทศบาล ไม่รับหลักการ ผู้ว่าราชการจังหวัด ตั้งคณะกรรมการจำนวน 15 คน เพื่อ


แห่งร่างเทศบัญญัติงบประมาณ พิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้ง โดยแก้ไข ปรับปรุงหรือ
รายจ่ายประจำปี ยืนยันสาระสำคัญในร่างเทศบัญญัตินั้น

คณะกรรมการพิจารณาร่างเทศบัญญัติให้
แล้วเสร็จภายใน 15 วัน แล้วรายงาน
ต่อผู้ว่าฯ

เสนอร่างฯ
ผู้ว่าฯ ส่งร่างที่ผ่านการพิจารณา > นายกเทศมนตรี > สภาเทศบาล
ภายใน 7 วัน
ถ้าไม่เสนอร่างฯ
ภายในเวลา
“เทศบัญญัติ” มีผลบังคับ Y
สั่งให้นายกเทศมนตรีพ้นจาก
ใช้เมื่อประกาศไว้ที่เปิด ผู้ว่าฯรายงานต่อ
→ ตำแหน่งการพิจารณาร่าง
เผยที่สำนักงานเทศบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
แล้ว 7 วัน

ให้ ร่างเทศบัญญัตินั้นตกไป
“สภาเทศบาล” พิจารณาร่างเทศบัญญัติงบ หากไม่แล้วเสร็จหรือมีมติ
> และผู้ว่าฯเสนอ รมต.มหาดไทย
ประมาณรายจ่ายให้แล้วเสร็จ ภายใน 30 วัน ไม่เห็นชอบ
มีคำสั่ง “ยุบสภาเทศบาล”
นับแต่วันที่ได้รับร่าง
พระราชบัญญัติ
สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537

**แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 7
เรื่องจำนวนสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม
ของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง

“สภาตำบล”

สภาตำบลมีฐานะเป็นนิติบุคคล

กำนัน >> ประธานสภาตำบล


ผู้ใหญ่บ้านของทุกหมู่บ้านในตำบล
สมาชิกสภาตำบล
แพทย์ประจำตำบล
สมาชิกซึ่งได้รับเลือกตั้งจากราษฎร (หมู่บ้านละ 1 คน)

อำนาจหน้าที่ของสภาตำบล

พัฒนาตำบลตามแผนงานโครงการและงบประมาณของสภาตำบล
เสนอแนะส่วนราชการในการบริหารราชการและพัฒนาตำบล
ปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตำบลตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะการปกครองที่ดี

“สภาตำบลมีรายได้จาก ยกตัวอย่างรายได้ เช่น


องค์การบริหารส่วนจังหวัด - รายได้จากทรัพย์สินของสภาตำบล
รายได้และรายจ่ายของสภาตำบล
-

จัดสรรให้” - จากสาธารณูปโภคของสภาตำบล
- มีผู้อุทิศให้ เงินอุดหนุนจากรัฐ และอื่นๆ
ทุกปีงบประมาณให้รัฐบาล
**รายได้ของสภาตำบล ให้ได้รับการ
จัดสรรเงินให้แก่สภา
ยกเว้นภาษีโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
ตำบลเป็น “เงินอุดหนุน”
ตามประมวลรัษฎากรและไม่ต้องนำส่ง
คลังเป็นรายได้แผ่นดิน
“องค์การบริหารส่วนตำบล”

(สภาตำบลที่มีรายได้ ไม่รวมเงินอุดหนุนติดต่อกัน 3 ปี เฉลี่ยมากกว่า 150000 บาท)

กระทรวงมหาดไทยประกาศยุบสภาตำบลทั้งหมดและองค์การบริหารส่วนตำบลที่มี
ประชากรไม่ถึง 2000 คน ให้ยุบรวมกับองค์การบริหารส่วนตำบลอื่น

อำนาจหน้าที่

พัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่ง อำนาจหน้าที่ขององค์การ


บริหารส่วนตำบลตามพระราชบัญญัตินี้ไม่เป็นการตัดอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง
กรม หรือหน่วยงานของรัฐ

กำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บ (ไม่เกินหนึ่งพันบาท) และ


กำหนดโทษ

นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
การออกข้อบัญญัติ ผู้มีสิทธิเสนอร่าง สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล
(ใช้บังคับในเขตองค์การ ราษฎรในเขตตำบลนั้น
บริหารส่วนตำบล)

สภาองค์การบริหารส่วนตำบล +
นายอำเภอเห็นชอบ

นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
ลงชื่อรับและประกาศบังคับใช้
ขู้
การตราข้อบัญญัติ
“งบประมาณรายจ่ายประจำปีและ
งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม”

*งบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์การบริหารส่วนตำบล
คือ ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล

นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเสนอตามระเบียบและวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด

นายอำเภอ
สภาองค์การบริการส่วนตำบล
สภาองค์การบริหารส่วนตำบล >> เพื่อขออนุมัติ >> >
มีมติยืนยันตามร่างฯ
เห็นชอบ ภายใน 15 วัน
**สภา อบต. พิจารณาให้แล้วเสร็จ
*พิจารณาไม่แล้วเสร็จ ภายใน 60 วัน และจะแปรญัตติ
= อนุมัติ เพิ่มเติมรายการหรือจำนวนใน
การตราข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย รายการไม่ได้
สภา อบต. พิจารณาร่างให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน
ถ้าพิจารณาไม่แล้วเสร็จภายในกำหนด หรือมีมติไม่รับร่าง นายอำเภอส่งร่าง
“นายอำเภอ” เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดให้มีคำสั่ง ยุบสภา อบต.

ส่งกลับนายอำเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด
ผู้ว่าฯเห็นชอบ < < <
เพื่อลงชื่ออนุมัติ พิจารณาภายใน 15 วัน

กรณีสภา อบต. ไม่รับหลักการแห่งร่างข้อบัญญัติ

ให้นายอำเภอตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่งจำนวน 7 คนเพื่อพิจารณาร่างข้อบัญญัติให้แล้ว
เสร็จภายใน 15 วัน เสนอต่อนายอำเภอ แล้วส่งร่างที่ผ่านการพิจารณาให้นายก
องค์การบริหารส่วนตำบล เสนอต่อสภา อบต. ภายใน 7 วัน

นายกองค์การบริหารส่วนตำบลไม่เสนอร่างฯภายในเวลาที่กำหนด = “พ้นจากตำแหน่ง”
ขู้ขู้
พระราชบัญญัติ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540

**ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2546แก้ไขเพิ่มเติมให้ “นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมาจากการเลือกตั้ง”

องค์การบริหารส่วนจังหวัด = นิติบุคคลและเป็นราชการส่วนท้องถิ่น

สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด

สมาชิกสภา อบจ. มาจากการเลือกตั้งของประชาชน

การเลือกตั้งถือเกณฑ์จำนวนราษฎรแต่ละจังหวัดดังนี้

ราษฎร น้อยกว่า 5 แสนคน มีสมาชิกสภา 24 คน


ราษฎรเกิน 5 แสนคนแต่ไม่เกิน 1 ล้านคน มีสมาชิกสภา 30 คน
ราษฎรเกิน 1 ล้านคน แต่ไม่เกิน 1 ล้าน 5 แสนคน มีสมาชิกสภา 36 คน
ราษฎรเกิน 1 ล้าน 5 แสนคน แต่ไม่เกิน 2 ล้านคน มีสมาชิกสภา 42 คน
ราษฎรเกิน 2 ล้านคนขึ้นไปให้มีสมาชิกสภา 48 คน

อำเภอหนึ่งให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา อบจ. อำเภอละ 1 คน

ประธานสภา 1 คน
การดำเนินการของสภา อบจ.
รองประธานสภา 2 คน

ใน 1 ปีให้มีสมัยประชุมสามัญ 2 สมัย ผู้ว่าราชการจังหวัดต้องกำหนดให้


มีการประชุมครั้งแรกภายใน 15 วัน ที่มีการประกาศผลการเลือกตั้ง

ประชุมครั้งแรกไม่ได้ = เลือกประธานสภาไม่ได้ = ผู้ว่าราชการจังหวัดเสนอรัฐมนตรีมีคำสั่งยุบสภา


อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด

มีอำนาจในการดำเนินกิจการภายในจังหวัด เช่น แผนพัฒนา อบจ., สนับสนุน


สภาตำบลและส่วนราชการท้องถิ่นอื่นในการพัฒนาท้องถิ่น เป็นต้น

อบจ. ทำกิจการใดๆนอกเขตจังหวัดได้ แต่เมื่อได้รับ


ความยินยอมจากราชการส่วนท้องถิ่นอื่นหรือ อบจ.จังหวัดอื่น

อบจ. อาจให้บริการ โดยเรียกเก็บค่าบริการได้ โดย “ตราเป็นข้อบัญญัติ”

**การตราข้อบัญญัติ ในเขต อบจ. บทกำหนดโทษ


จำคุกไม่เกิน 6 เดือนหรือปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท

การตราข้อบัญญัติของ อบจ.

ส่งร่างที่เห็นชอบ
ประธานสภา อบจ. ผู้ว่าราชการจังหวัด
7 วัน

เห็นชอบ นายก อบจ. ลงนามใช้บังคับได้

ผู้ว่าราชการจังหวัด
พิจารณาภายใน 15 วัน ไม่เห็นชอบ สภา อบจ. พิจารณาใหม่
และมีมติยืนยันตามข้อบัญญัติเดิมด้วย
คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3

นายก อบจ.ลงนามใช้บังคับ
และแจ้งผู้ว่าราชการจังหวัดทราบ

นายก อบจ. อาจออกข้อบัญญัติชั่วคราว ที่ไม่ใช่ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือข้อบัญญัติ


งบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติมได้เมื่อได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสามัญประจำสภา อบจ.
พระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542

เหตุผลในการประกาศใช้
ฉบับแรก พ.ศ. 2542

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กำหนดให้สมาชิกสภาท้องถิ่นต้องมาจากการ
เลือกตั้ง แต่ เนื่องจากการปกครองท้องถิ่นในรูปแบบเมืองพัทยาในปัจจุบันซึ่งมี
ปลัดเมืองพัทยาทำหน้าที่บริหารกิจการเมืองพัทยาโดยสัญญาจ้าง ซึ่งไม่สอดคล้อง
กับบัญญัติรัฐธรรมนูญ และเพื่อจัดระเบียบการปกครองเมืองพัทยาและความเป็น
อิสระในการกำหนดนโยบาย

ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552

บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสภาวะในปัจจุบัน เป็นการจำกัดสิทธิของ
ประชาชน ทั้งสิทธิของผู้สมัครรับเลือกตั้งและผู้มีสิทธิเลือกตั้ง

ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562

แก้ไขเพิ่มเติม เกี่ยวกับ จำนวนสมาชิกเมืองพัทยา ผู้มีสิทธิเลือกตั้งและสมัคร


รับเลือกเป็นนายกเมืองพัทยา

การจัดตั้งเมืองพัทยา

“เมืองพัทยา” มีฐานะเป็นนิติบุคคล

ให้จัดตั้งเมืองพัทยาเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอาณาเขตตามเขตเมืองพัทยา

การแก้ไขเปลี่ยนแปลงเขตเมืองพัทยาให้ ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
สภาเมืองพัทยา

ประกอบด้วย “สมาชิกจำนวน 24 คน” มีอายุคราวละ 4 ปี


(สมาชิกเป็นผู้แทนของประชาชนในเขตเมืองพัทยา)

ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา

นายกเมืองพัทยาควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารกิจการเมืองพัทยา
และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานเมืองพัทยา

สำนักปลัดเมืองพัทยา
ส่วนราชการเมืองพัทยา
ส่วนราชการอื่นๆ

ปลัดเมืองพัทยา เป็นผู้บังคับบัญชารองจากนายกเมืองพัทยา

**นายกเมืองพัทยา เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

อำนาจหน้าที่และการตราข้อบัญญัติ

การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย
: ให้นายกเมืองพัทยาและทีมงานมีฐานะเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือ
ตำรวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

การประกอบการพาณิชย์เมืองพัทยา ให้ ตราเป็นข้อบัญญัติ แต่กิจการใดมี


รายได้ตามอำนาจหน้าที่ไม่ต้องตราเป็นข้อบัญญัติก็ได้

การกำหนดโทษในการตราข้อบัญญัติ
**จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 10000 บาท

ข้อบัญญัติเกี่ยวกับการคลังต้องมีมาตรฐานไม่ต่ำกว่ามาตรฐานกลางที่
กระทรวงมหาดไทยกำหนด
งบประมาณรายจ่ายประจำปี ให้ ตราเป็นข้อบัญญัติ

ร่างข้อบัญญัติการเงิน : กรณีเกิดข้อสงสัยว่าร่างใดเป็นร่างการเงินที่ต้องมี
คำรับรองของนายกเมืองพัทยาให้ประธานสภาเมืองพัทยาเป็นผู้วินิจฉัย

ร่างข้อบัญญัติที่สภาเมืองที่ไม่เห็นชอบให้ปัด
ตกไปและเสนอใหม่เมื่อพ้น 180 วัน

** ปลัดเมืองพัทยา เป็นผู้รับผิดชอบในการประกาศข้อบัญญัติ
การคลังของเทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบล
โดยรวมแล้วมีความคล้ายคลึงกัน

การจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากรของเทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบล


ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542

รายได้

ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
ภาษีบำรุงท้องที่
ภาษีป้าย
ภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากร (รวมภาษีธุรกิจเฉพาะ)
ไม่เกินร้อยละ 30 “สรรพากรจัดเก็บ”
ภาษีสรรพสามิต : ภาษีสุรา+ยาสูบ ออกข้อบัญญัติจัดเก็บเพิ่มขึ้น
ไม่เกินร้อยละ 30 “สรรพสามิตจัดเก็บ”
ค่าภาคหลวงแร่ (หลังจากหักส่งเป็นรายได้ของรัฐร้อยละ 40)
- องค์การบริหารส่วนตำบล/เทศบาล ที่มีพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่
ประทานบัตรให้ได้รับการจัดสรรในอัตราร้อยละ 20
- องค์การบริหารส่วนตำบล/เทศบาล อื่น ที่มีพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่
ครอบคลุมพื้นที่ประทานบัตรให้ได้รับการจัดสรรในอัตราร้อยละ 10
ค่าภาคหลวงปิโตรเลียม (หลังจากหักส่งเป็นรายได้ของรัฐร้อยละ 40)
- องค์การบริหารส่วนตำบล/เทศบาล ที่มีพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่ตาม
สัมปทานให้ได้รับการจัดสรรในอัตราร้อยละ 20
- องค์การบริหารส่วนตำบล/เทศบาล อื่น ที่อยู่ในจังหวัดที่มีพื้นที่
ครอบคลุมพื้นที่สัมปทานให้ด้รับการจัดสรรร้อยละ 10
ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขายสุรา/เล่นการพนัน
“ออกข้อบัญญัติ” จัดเก็บเพิ่มในอัตราไม่เกินร้อยละ 10
การคลังและทรัพย์สิน

เทศบาล

งบประมาณประจำปีของเทศบาลต้องตราขึ้นเป็น “เทศบัญญัติ”

เทศบัญญัติงบประมาณเพิ่มเติม ตราขึ้นเมื่องบปะมาณประจำปีไม่เพียงพอ

การจ่ายเงินอุดหนุนและการจ่ายเงินเพื่อการลงทุน จะกระทำได้ก็ต่อเมื่อ
ได้รับความเห็นชอบจาก สภาเทศบาล+ผู้ว่าราชการจังหวัด

การจ่ายเงินกู้เมื่อถึงกำหนดชำระ

กระทรวงมหาดไทยต้องตราระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการคลัง

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจัดให้มีการตรวจสอบการคลัง การบัญชี
หรือการเงินอื่นๆของเทศบาลปีละครั้ง

เงินค่าตอบแทนประธานสภาตำบล รองประธานสภา
ตำบล สมาชิกสภาตำบล และเลขานุการสภาตำบล ให้
องค์การบริหารส่วนตำบล เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย

องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจออกข้อบัญญัติเพื่อเก็บภาษีอากร (ภาษีธุรกิจ
เฉพาะ,ขายสุรา,เล่นการพนัน) และค่าธรรมเนียมเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 10

ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลเพื่อเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม เพิ่มขึ้นจากอัตราที่เรียกเก็บตามประมวล
รัษฎากร *ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เก็บเพิ่มขึ้นถือเป็นภาษีมูลค่าเพิ่ม
ถ้าประมวลรัษฎากรเรียกเก็บร้อยละ 0 องค์การบริหารส่วนตำบลเก็บ 0
ถ้าประมวลรัษฎากรเรียกเก็บในอัตราอื่น องค์การบริหารส่วนตำบลเรียกเก็บได้ 1 ใน 9
การจัดสรรรายได้และรายจ่าย “เมืองพัทยา”

• การจ่ายเงินสะสมและการตั้งงบประมาณรายจ่ายของเงินสะสมให้เป็นไปตาม
ระเบียบที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด

• งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อการใด จะโอนไปเพื่อใช้จ่ายสำหรับการอื่นไม่ได้

• เมื่อสิ้นปีงบประมาณ นายกเมืองพัทยา ประกาศรายรับรายจ่ายประจำปี ให้


ประชาชนทราบภายใน 30 วัน


*สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน เป็นผู้ตรวจสอบงานบัญชีเมืองพัทยา

• รัฐบาลตั้งงบประมาณอุดหนุนเมืองพัทยาโดยตรง

รายได้

ภายในเขตจังหวัด (เก็บได้ไม่เกิน)
• น้ำมันลิตรละ 10 สตางค์
การเงินการคลังของ • ยาสูบมวนละ 10 สตางค์
องค์การบริหารส่วนจังหวัด • ก๊าซปิโตรเลียม กิโลกรัมละ 10 สตางค์
• ภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากรร้อยละ 30
(กรมสรรพากร)

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บตามประมวลรัษฎากรในจังหวัดใดให้ส่งมอบให้
องค์การบริหารส่วนจังหวัด ร้อยละ 5 ของภาษีที่จัดเก็บได้

องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอำนาจออกข้อบัญญัติเก็บภาษีบำรุงองค์การบริหารส่วนจังหวัด
จากการค้าภายในจังหวัด
องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอำนาจออกข้อบัญญัติเพื่อเก็บภาษอากรและค่าธรรมเนียม
เพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 10
มาจากการเลือกตั้งของประชาชน รองนายก

วาระ 4 ปี มีได้ไม่เกิน 4 คน นายกเมืองพัทยาและทีมงาน มีฐานะเป็น


การมอบหมายงานในหน้าที่นายกเมือง ถ้าไม่มีรองนายก แต่งตั้งหัวหน้า พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ
พัทยาให้ทำภายใน 7 วันนับจากวันประกาศผลการเลือกตั้ง ส่วนราชการเมืองพัทยาแทน

“นายกองค์การบริหารส่วนตำบล”
“นายกเมืองพัทยา”
“นายกเทศมนตรี” (องค์การบริหารส่วนตำบล)
(เมืองพัทยา)
(เทศบาล) มาจากการเลือกตั้งของประชาชน
มาจากการเลิือกตั้งของประชาชน วาระ 4 ปี
นายกของแต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วาระ 4 ปี รองนายก ไม่เกิน 2 คน
รองนายก เทศบาลตำบลไม่เกิน 2 คน แถลงนโยบายต่อสภาโดยไม่มีการลงมติ
เทศบาลเมืองไม่เกิน 3 คน “นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด” ภายใน 30 วันนับจากมีการประกาศผล
เทศบาลนครไม่เกิน 4 คน (องค์การบริหารส่วนจังหวัด) การเลือกตั้ง
แถลงนโยบายต่อสภาโดยไม่มีการลงมติ มาจากการเลือกตั้งของประชาชน วาระ 4 ปี ปลัดอบต.รักษาการแทน
ภายใน 30 วันนับจากประกาศผลการ นายก อบจ.และทีมงานเป็นเจ้าพนักงานตาม นายก อบต.และทีมงานเป็นเจ้าพนักงาน
เลือกตั้ง ประมวลกฎหมายอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา
ควบคุมกิจการของเทศบาลและเป็นผู้ รองนายก
บังคับบัญชา พนักงานเทศบาลและ ***นายกเมืองพัทยาอัตราเงินเดือนตามที่
สมาชิกสภา
ลูกจ้างเทศบาล กำหนดในพระราชกฤษฎีกา แต่องค์กรอื่นๆ
องค์บริหารส่วนจังหวัด
กำหนดนโยบายและรับผิดชอบการ ตามระเบียบของกระทรวงมหาดไทย
48 คน 36/42 คน 24/36 คน
บริหารราชการของเทศบาล
มีได้ 4 คน มีได้ 3 คน มีได้ 2 คน
**ลาออกกับผู้ว่าราชการจังหวัด
M M

โชค า า . .
ดีจ้

You might also like