You are on page 1of 21

พระราชกฤษฎีกา หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ฉบับที่ 2 พ.ศ.

2562
บังคับใช้ นับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ฉ. 2 ประกาศ 26 เมษายน 2562)
ผู้รักษาการพรบ. นายกรัฐมนตรี
ส่วนราชการ  ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทวง กรม และหน่วย่งานอื่นของรัฐที่ อยู่ในกากับ
ของราชการฝ่ายบริหาร ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป้าหมาย 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกินความจาเป็น
5. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์
6. ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
7. มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่าเสมอ
แผนปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ต้องทาเป็น แผน 5 ปี ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ / แผนแม่บท /
แผนการปฏิรูปประเทศ / แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ / นโยบายของครม.ที่แถลงต่อรัฐสภา
*** ระยะแรกให้ทาเป็น แผน 3 ปี ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2563 - 2565
แพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง การบริการประชาชนและการติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการ ต้องทาโดยใช้ แพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง
ที่ สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) กาหนด (ภายใน 90 วันนับแต่ประกาศ)
 หน่วยงานราชการต้องนาแพลตฟอร์มไปใช้ ภายใน 2 ปี นับจากพ้นระยะเวลา 90 วันหลังประกาศ
(กรณีที่ไม่สามารถเริ่มใช้ได้ันตามก
ทั าหนด ให้หัวหน้าส่วนราชการนั้นเสนอ ก.พ.ร. ให้พิจารณาขยาย
ระยะเวลาดังกล่าว)
การทบทววนภารกิจของ ให้ส่วนราชการทบทวนภารกิจของตนว่ามีความจาเป็น หรือสมควรยกเลิก/ปรับปรุง/เปลี่ยนแปลง โดยคานึงถึง
ส่วนราชการ ยุทธศาสตร์ชาติ / แผนแม่บท /แผนการปฏิรูปประเทศ / แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ / นโยบายของ
ครม.ที่แถลงต่อรัฐสภา / กาลังเงินงบประมาณของประเทศ / ความคุ้มค่าของภารกิจ /สถานการณ์อื่นประกอบกัน
กรณียุบเลิก / โอน / รวม ห้ามไม่ให้จัดตั้งส่วนราชการที่มีภารกิจหรืออานาจหน้าที่ลักษณะเดียวกันขึ้นอีก เว้นแต่
มีเหตุผลและความจาเป็นเพื่อรักษาคตวามมั่นคงของรัฐ / เศรษฐกิจชองประเทศ / รักษาผลประโยชน์ร่วมของ
ประชาชน และได้รับความเห็นชอบจากก.พ.ร.
เป้าหมาย 1  เพื่อให้เกิดความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน / ความสงบ / ปลอดภัยของสังคมส่วนรวม /
เกิดประโยชน์สุขของ ตลอดจนประโยชน์สุขของประเทศ
ประชาชน  ประชาชนเป็นศูนย์กลางที่จะได้รับการบริการจากรัฐ
 การกาหนดภารกิจของรัฐ / ส่วนราชการ ต้องสอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐ นโยบายของครม. และ
มุ่งให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
 ซื่อสัตย์ สุจริต ตรวจสอบได้ ก่อนเริ่มดาเนินการต้องศึกษาวิเคราะห์ผลดี -เสีย ให้ครบทุกด้าน
 ภารกิจใดที่จะมีผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องดาเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
หรือชี้แจงทาความเข้าใจเพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับ
 เป็นหน้าที่ของข้าราชการในการรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมและประชาชน
 เมื่อพบปัญหาจากการดาเนินการ หากเป็นอุปสรรคจากส่วนราชการอื่นหรือระเบียบข้อบังคับที่ออกมา
สามารถแจ้งส่วนราชการที่เกี่ยวข้อทราบ รวมถึงแจ้งก.พ.ร.ด้วย
เป้าหมาย 2  ส่วนราชการต้องมีแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า ต้องมีรายละเอียดขั้นตอน / ระยะเวลา /
เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจ งบประมาณที่ต้องใช้ / เป้าหมายของภารกิจ / ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ / ตัวชี้วัดความสาเร็จ
ของรัฐ  ส่วนราชการต้องมีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนตามเกณฑ์ที่กาหนดขึ้น
 กรณีที่ภารกิจใดมีความเกี่ยวข้องกับหลายส่วนราชการ ให้กาหนดแนวทางปฏิบัติราชการเพื่อให้เกิดการ
แผนบริหารราชการ บริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน
แผ่นดิน (แผน 4 ปี)  ให้ส่วนราชการมีหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติราชการของผู้ว่าราชการ/หัวหน้าคณะผูแ้ ทนใน
แผนนิติบัญญัติ (ยกเลิก) ต่างประเทศ เพื่อให้การบริหารราชการแบบบูรณาการในจังหวัด/ต่างประเทศ
 ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ภายใน เพื่อให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
 ก.พ.ร. กาหนดมาตรการกากับการปฏิบัติราชการโดยวิธีการจัดทาความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร

 สานักงบประมาณ และ ก.พ.ร. ร่วมกันกาหนดแนวทางจัดทาแผนปฏิบัติราชการเพื่อขอรับงบประมาณ


เป้าหมายที่ 3  ให้ส่วนราชการกาหนดเป้าหมาย แผนการทางาน ระยะเวลาแล้วเสร็จของงาน/โครงการ งบประมาณ
การมีประสิทธิภาพ เกิด และต้องเผยแพร่ให้ข้าราชการและประชาชนทราบ
ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจ  ให้ส่วนราชการจัดทาบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภท (หลักเกณฑ์ตาม
ของรัฐ กรมบัญชีกลาง)
o คานวณรายจ่ายต่อหน่วยของงานตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกาหนด
o รายงานให้สานักงบประมาณ, กรมบัญชีกลาง, ก.พ.ร. ทราบ
o ถ้ารายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะที่มีปริมาณและคุณภาพคล้ายคลึงกันกับของส่วน
ราชการอื่น แต่รายจ่ายมากกว่า ให้ทาแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วยของงาน เสนอสานัก
งบประมาณ, กรมบัญชีกลาง และก.พ.ร. ภายใน 15 วัน ถ้าไม่มีการทักท้วง ให้ถือปฏิบัติได้
 ให้สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานักงบประมาณ ร่วมกัน
จัดการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดาเนินการอยู่ รายงานครม
o คานึงถึงประเภทและสภาพของแต่ละภารกิจ / ความเป็นไปได้ของภารกิจที่ดาเนินการ /
ประโยชน์ที่รัฐและประชาชนจพึงได้ / รายจ่ายที่ต้องเสียไปก่อน-หลังที่ส่วนราชการด่าเนินการ
** ความคุ้มค่า หมายถึง ประโยชน์/ผลเสียทางสังคม หรืออื่นๆซึ่งไม่อาจคานวณเป็นตัวเงินได้
 การจัดซื้อจัดจ้าง ดาเนินการโดยเปิดเผยและเที่ยงธรรม ของที่ต้องคานึงถึงคุณภาพและการดูแลรักษา
ในการใช้งาน สามารถทาได้โดยไม่ต้องถือราคาต่าสุดเสมอไป
 ภารกิจที่ต้องได้รับอนุญาตจากส่วนราชการอื่น ให้ส่วนราชการนั้นแจ้งผลการพิจารณาความเห็นชอบ
ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับคาขอ (หรือตามระยะเวลาที่มีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับกาหนด โดยต้อง
แจ้งระยะเวลาให้แก่ส่วนราชการที่มาขออนุญาตด้วย) ** ถ้าพ้นระยะเวลาที่กาหนดแล้วยังไม่ได้
ดาเนินการให้ถือว่าข้าราชการที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องและหัวหน้าส่วนราชการนั้น ประมาทเลินเล่ออย่าง
ร้ายแรง เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าความล่าช้านั้นไม่ได้เกิดจากความผิดของตน
 การวินิจฉัยชี้ขาดปัญหา ให้ส่วนราชการที่รับผิดชอบในปัญหานั้นๆ พิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดโดยเร็ว การ
ตั้งคณะกรรมการพิจารณาวินิจฉัย ให้ดาเนินการเท่าที่จาเป็น มติกรรมการถือว่าผูกพันต่อส่วนราชการ
แม้ว่ากรรมการที่เป็นผู้แทนของส่วนราชการเข้าร่วมพิจารณาวินิจฉัยด้วยหรือไม่ก็ตาม ถ้ามีความเห็นต่าง
ให้บันทึกไว้ด้วย
 การสั่งราชการ ให้ทาเป็น ลายลักษณ์อักษร หรือสามารถสั่งราชการด้วยวาจาได้ แต่ผู้รับคาสั่งต้อง
บันทึกคาสั่งเหล่านั้นเป็นลายลักษณ์อักษร เมื่อปฏิบัติราชการตามคาสั่งแล้วให้ บันทึกรายงานให้ผู้สั่ง
ราชการทราบ และให้อ้างอิงคาสั่งด้วยวาจาในบันทึกดังกล่าวด้วย
เป้าหมายที่ 4  ให้ส่วนราชการจัดให้มีการกระจายอานาจการตัดสินใจ เกี่ยวกับการสั่ง / อนุญาต / อนุมัติการปฏิบัติ
ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ราชการ ให้แก่ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการดาเนินการเรื่องนั้นโดยตรง เพื่อให้เกิดความรวดเร็ว ลด
ขั้นตอน โดยมุ่งหวังความสะดวกและรวดเร็วในการบริการประชาชน
o ส่วนราชการที่กระจายอานาจมีหน้าที่กาหนดหลักเกณฑ์การควบคุม ติดตาม กากับดูแลการใช้
อานาจ ความรับผิดชอบของผู้รับมอบอานาจและผู้มอบอานาจไว้ด้วย (เอา IT เข้ามาช่วย)
o ก.พ.ร. เป็นผู้กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ แนวทางในการกระจายอานาจการตัดสินใจ
 งานที่เกี่ยวข้องกับการบริการประชาชนให้ทาแผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลา การดาเนินการ
รายละเอียดอื่นๆแต่ละขั้นตอนเปิดเผยไว้ที่ส่วนราชการนั้นและทาง IT
 แพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง
 เป็นหน้าที่ของปลัดกระทรวงแต่ละกระทรวงที่ต้องจัดให้ส่วนราชการภายในกระทรวงที่รับผิดชอบ
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริการประชาชน ร่วมกันจัดตั้ง ศูนย์บริการร่วม เพื่ออานวยความสะดวกแก่
ประชาชนในการขออนุญาต หรือขอทราบข้อมูลใดๆที่เป็นอานาจของส่วนราชการในกระทรวงเดียวกัน
o ให้มีเจ้าหน้าที่รับเรื่อง ดาเนินการส่งต่อเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการดาเนินการต่ อ โดยมีเอกสาร
คาขอต่างๆเตรียมไว้พร้อมที่จะบริการประชาชน ณ ศูนย์บริการร่วม
o เจ้าหน้าที่ของหน่วยราชการมีหน้าที่เตรียมเอกสารที่ต้องใช้ให้แก่เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการร่วม
o เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการร่วม มีหน้าาที่ให้ข้อมูล รับเอกสาร ตรวจสอบความครบถ้วนพร้อมทััง
แจ้งระยะเวลาที่ต้องใช้ดาเนินการเรื่องนั้นๆ
 ผู้ว่าราชการ / นายอาเภอ / ปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจากิ่งอาเภอ จัดให้ส่วนราชการที่รับผิดชอบ
การบริการประชาชนเรื่องเดียวกันร่วมกัน จัดตั้งศูนย์บริการร่วม ไว้ ณ ศาลากลางจังหวัด / ที่ว่าการ
อาเภอ / ที่ว่าการกิ่งอาเภอ หรือสถานที่อื่นตามเห็นสมควร
เป้าหมายที่ 5  ให้ส่วนราชการทบทวนภารกิจของตนว่ามีความจาเป็น หรือสมควรยกเลิก/ปรับปรุง/เปลี่ยนแปลง โดย
การปรับปรุงภารกิจของ คานึงถึงยุทธศาสตร์ชาติ / แผนแม่บท /แผนการปฏิรูปประเทศ / แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ส่วนราชการ แห่งชาติ / นโยบายของครม.ที่แถลงต่อรัฐสภา / กาลังเงินงบประมาณของประเทศ / ความคุ้มค่าของ
ภารกิจ /สถานการณ์อื่นประกอบกัน
 กรณียุบเลิก / โอน / รวม ห้ามไม่ให้จัดตั้งส่วนราชการที่มีภารกิจหรืออานาจหน้าที่ลักษณะเดียวกันขึ้น
อีก เว้นแต่มีเหตุผลและความจาเป็นเพื่อรักษาคตวามมั่นคงของรัฐ / เศรษฐกิจชองประเทศ / รักษา
ผลประโยชน์ร่วมของประชาชน และได้รับความเห็นชอบจากก.พ.ร.
 ส่วนราชการมีหน้าที่สารวจ ตรวจสอบ ทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับและประกาศที่อยู่ใน
ความรับผิดชอบให้ทันสมัยเหมาะสมกับภาวการณ์ โดยคานึงถึงความสะดวกรวดเร็วและลดภาระของ
ประชาชนเป็นสาคัญ
o สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สามารถเสนอแนะส่วนราชการให้ดาเนินการปรับปรุง
แก้ไข หรือยกเลิกได้ ถ้าส่วนราชการไม่เห็นด้วย ให้เสนอเรื่องต่อครม.พิจารณาวินิจฉัย
เป้าหมายที่ 6  การปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้องกับการบริการประชาชน ให้กาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานและ
การอานวยความสะดวก ประกาศให้ประชาชนทราบ หน่วยงานใดไม่กาหนด ก.พ.ร. จะพิจารณาและกาหนดให้
และตอบสนองความ  หน่วยงานที่ได้รับการสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชน/ส่วนราชการด้วยกันเกี่ยวกับงานในอานาจ
ต้องการของประชาชน หน้าที่ของส่วนราชการ ต้องดาเนินการตอบคาถาม / แจ้งการดาเนินการภายใน 15 วัน หรือตาม
กาหนดที่ทาประกาศไว้
 ดาเนินการแพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง ที่ สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) กาหนด
 กรณีที่ได้รับคาร้องเรียน / เสนอแนะ / ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติราชการ อุปสรรค ความยุ่งยาก
จากบุคคลใด โดยมีสาระตามสมควร ให้เป็นหน้าที่ของหน่วยราชการที่ต้องพิจารณาดาเนินการให้ลุล่วง
* กรณีที่มีที่อยู่ของบุคคลนั้นให้แจ้งเขาด้วย หรืออาจแจ้งผ่านทาง IT ของส่วนราชการก็ได้ (โดยห้าม
เปิดเผยชื่อหรือที่อยู่ของผู้ร้องเรียน
 ส่วนราชการที่มีหน้าที่ออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อใช้บังคับกับส่วนราชการอื่น ต้องคอยตรวจสอบ
ว่ากฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่ออกเป็นอุปสรรค ความยุ่งยาก ซับซ้อน ล่าช้าต่อการปฏิบัติหน้า ที่ของส่วน
ราชการอื่นหรือไม่ เพื่อดาเนินการแก้ไขโดยเร็ว
o ส่วนราชการ / ข้าราชการ สามารถแจ้งร้องเรียนส่วนราชการที่ออกกฎ / ระเบียบ / ข้อบังคับ
ผ่านทางก.พ.ร. ได้ (ก.พ.ร. สามารถพิจารณาและแจ้งให้ส่วนราชการผู้ออกกฎนั้นปรับปรุง
แก้ไขหรือยกเลิกได้)
o กรณีส่วนราชการผู้ออกกฎ ได้รับแจ้งโดยตรงให้รีบพิจารณาโดยทันที และชี้แจงภายใน 15 วัน
 การปฏิบัติราชการโดยปกติให้ถือว่าเป็นเรื่องเปิดเผย เว้นแต่ในเรื่องที่มีความจาเป็นเพื่อประโยชน์ในการ
รักษาความมั่นคงของประเทศ / เศรษฐกิจ / ความสงบเรียบร้อย / สิทธิส่วนบุคคล
 ต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณรายจ่ายแต่ละปี รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง สัญญาที่มีการ
อนุมัติจัดซื้อจัดจ้างแล้วให้ประชาชนสามารถตรวจสอบ ในการจัดทาสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง ห้ามให้มี
ข้อความ/ข้อตกลงห้ามไม่ให้เปิดเผยข้อความในสัญญา
เป้าหมายที่ 7  ให้ส่วนราชการจัดให้มี คณะผู้ประเมินอิสระ ประเมินผลการปฏิบัติราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของ
การประเมินผลการปฏิบัติ ภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชน ความคุ้มค่าในภารกิจ ตามเกณฑ์และ
ราชการ ระยะเวลาที่ก.พ.ร.กาหนด
 ให้ส่วนราชการจัดให้มี การประเมินภาพรวมของผู้บังคับบัญชาในแต่ละระดับแบบเป็นความลับ
 กรณีที่การบริการมีคุณภาพตามเป้าหมายที่กาหนด ก.พ.ร.เสนอครม.จัดสรรเงินเพิ่มพิเศษเป็นบาเหน็จ
ความชอบแก่ส่วนราชการหรือข้าราชการในสังกัด ตามหลักเกณฑ์และวิธีการของก.พ.ร.
 ส่วนราชการที่บรรลุเป้าหมายและเพิ่มผลงานโดยไม่เพิ่มค่าใช้จ่าย ก.พ.ร.เสนอครม.จัดสรรเงินรางวัล
การเพิ่มประสิทธิภาพ ให้แก่ส่วนราชการนั้น
เบ็ดเตล็ด  กระทรวงมหาดไทย ดูแล / ให้ความช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทาหลักเกณฑ์การบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดีตามแนวทางพ.ร.ฎ.นี้อย่างน้อยต้องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ
o เป้าหมาย 4 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
o เป้าหมาย 6 การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
 องค์การมหาชน / รัฐวิสาหกิจ ให้มีหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามแนวทางพ.ร.ฎ.นี้
o กรณีที่ก.พ.ร. เห็นว่าไม่ทา หรือทาไม่สอดคล้อง ให้แจ้งรัฐมนตรีที่มีหน้าที่กากับดูแล
พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
บังคับใช้ วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ประกาศวันที่ 21 สิงหาคม 2534) ปัจจุบัน ฉบับ 8 3 ธ.ค. พ.ศ. 2553
ผู้รักษาการพรบ. นายกรัฐมนตรี
เป้าหมาย 1. ประโยชน์สุขของประชาชน
*ม. 3/1* 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
3. ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ
4. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป็น
5. การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอานาจการตัดสินใจ
6. การอานวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน
** การจัดสรรงบประมาณ การบรรจุแต่งตั้ง ให้คานึงถึงหลักการข้างต้น
** การกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือน ให้คานึงถึงคุณภาพและปริมาณงานของส่วนราชการนั้นๆ
การบริหารราชการ 1. สานักนายกรัฐมนตรี
ส่วนกลาง 2. กระทรวง หรือทบวงที่มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง
*นิติบคุ คลทั้งหมด 3. ทบวง ซึ่งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
4. กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม สังกัด/ไม่สังกัดสานักนายก/กระทรวง/ ทบวง
การบริหารราชการส่วน 1. จังหวัด (นิติบุคคล)
ภูมิภาค 2. อาเภอ
การบริหารราชการส่วน 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
ท้องถิ่น 2. เทศบาล
3. สุขาภิบาล
4. ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมายกาหนด (กทม. / ชลบุรี)
ตราพระราชบัญญติ  การจัดตั้งราชการส่วนกลาง
 การรวม / โอน ราชการส่วนกลาง ที่มีการกาหนดตาแหน่งและอัตราของข้าราชการ/ลูกจ้างเพิ่ม
 ตั้ง / ยุบ / เปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด
ตราพระราชกฤษฎีกา  การรวม / โอน ราชการส่วนกลาง ที่ไม่มีการกาหนดตาแหน่งและอัตราของข้าราชการ/ลูกจ้างเพิ่ม
(ก.พ. & สานักงบประมาณ คอยตรวจสอบไม่ให้มีการกาหนดอัตราเพิ่มภายระยะเวลา 3 ปี)
 การเปลี่ยนชื่อ ราชการส่วนกลาง (ถ้าชื่อตาแหน่งข้าราชการเปลี่ยน ให้ระบุไว้ด้วย)
 การยุบ ราชการส่วนกลาง (ทรัพย์สินส่งต่อให้หน่วยงานอื่น / หนี้สินครม.หาวิธีเอง / ข้าราชการพ้น
ตาแหน่งแต่ได้เงินชดเชย / หรือโอนย้ายไปหน่วยงานอื่นได้ ภายใน 30 วัน
 ตั้ง / ยุบ / เปลี่ยนแปลงเขตอาเภอ
ตรากฎกระทรวง  แบ่งส่วนราชการ ภายในสานักนายกรัฐมนตรี / กรม
รมต.เจ้าสังกัดเป็นผู้ออกกฎ/ครม.เห็นชอบ/ก.พ.ดูเรื่องการจัดอัตรากาลัง/สานักงบประมาณดูเรื่องงบ
ตราพระราชบัญญติ ตราพระราชกฤษฎีกา
จัดตั้งราชการส่วนกลาง ยุบราชการส่วนกลาง
รวม / โอน ราชการส่วนกลาง + เพิ่มตาแหน่งอัตรากาลัง รวม / โอน ราชการส่วนกลาง + ไม่เพิ่มตาแหน่งอัตรากาลัง
ตั้ง / ยุบ / เปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ตั้ง / ยุบ / เปลี่ยนแปลงเขตอาเภอ
เปลี่ยนชื่อ ราชการส่วนกลาง
สานักนายกรัฐมนตรี  นายกรัฐมนตรี (ผู้บังคับบัญชา) กรณีตาแหน่งนายกว่างลง ด้วยการตาย / โดนถอดตาแหน่ง ให้รอง
นายก ปฏิบัติหน้าทีแ่ ทน ถ้าไม่มีรอง ให้ครม.แต่งตั้งรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง
 มีสานักงานเลขาธิการนายก / มีรองนายก / รัฐมนตรีประจากระทรวง / ปลัดสานักนายก รอง&ผชปลัด
 ส่วนราชการภายใน มีฐานะเป็นกรม ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
 ทาหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง
 มีเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นผู้บังคับบัญชา (ปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี)
 ข้าราชการการเมือง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี / รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง
 ข้าราชการพลเรือนสามัญ รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร/ผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
 อานาจหน้าที่ งานราชการของครม. / รัฐสภา / ราชการในพระองค์
กระทรวง 1. สานักงานรัฐมนตรี (ข้าราชการการเมือง: เลขานุการรัฐมนตรี / ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี)
ภายในกระทรวงมี 2. สานักงานปลัดกระทรวง (ปลัดทาหน้าที่ควบคุมราชการในกระทรวง ฐานะเป็นกรม)
3. กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
 จัดตั้งส่วนราชการในกระทรวง ซึ่งไม่มีฐานะเป็นกรม แต่มีผู้บังคับบัญชาเป็นอธิบดี ให้ทาเป็น พรฎ
 2 กรมขึ้นไป รวมเป็นกลุ่มภารกิจได้ ต้องมีหัวหน้าตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดี (รองปลัดกระทรวง)
กรม ภายในกรมมี
** มีอธิบดี เป็น 1. สานักงานเลขานุการกรม
ผู้บังคับบัญชา 2. กอง หรือส่วนราชการที่มีฐานะเทียบกอง
การมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทน
 อานาจในการสั่ง อนุญาต อนุมัติ ดาเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ คาสั่งที่ไม่ได้มีกาหนดเรื่องห้ามมอบอานาจ สามารถมอบอานาจให้
ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทนได้ ทั้งในส่วนราชการเดียวกันและส่วนราชการอื่น
 เพื่ออานวยความสะดวกแก่ประชาชน ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตาแหน่งผู้รับ
มอบอานาจ (ตามหลักเกณฑ์ พ.ร.ฎ.)
 ปกติห้ามไม่ให้มอบอานาจเกี่ยวกับการออกใบอนุญาต แต่เพื่ออานวยความสะดวกแก่ประชาชน ให้พิจารณาตามที่เห็นสมควรได้
 การมอบอานาจให้ทาเป็นหนังสือมอบอานาจ
การรักษาราชการแทน
 ผูม้ ีอานาจเช่นเดียวกับผู้ที่ตนแทน
 กรณีตาแหน่งนั้นๆ ไม่มี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
 ผู้มอบหมาย กรณีตาแหน่งนั้นมีหลายคน (ผู้มอบหมายทาหน้าที่เลือก)
ผู้รักษาราชการแทน อันดับแรก ผู้รักษาราชการแทน อันดับสอง
ตาแหน่ง
ผู้รักษาราชการแทน ผู้มอบหมาย ผู้รักษาราชการแทน ผู้มอบหมาย
นายกรัฐมนตรี รองนายกฯ ครม. รัฐมนตรี ครม.
รัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วยว่าการ ครม. รัฐมนตรี ครม.
เลขานุการรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี รัฐมนตรี ข้าราชการในกระทรวง รัฐมนตรี
ปลัดกระทรวง รองปลัดกระทรวง รัฐมนตรี ขรก. ไม่ต่ากว่าอธิบดี รัฐมนตรี
รองปลัดกระทรวง ขรก.ไม่ต่ากว่าผอ.กอง ปลัดกระทรวง
อธิบดี รองอธิบดี ปลัดกระทรวง ขรก.เทียบเท่ารองอธิบดี ปลัดกระทรวง
รองอธิบดี ขรก.เทียบเท่ารองอธิบดี/หน.กอง อธิบดี
อานาจหน้าที่ภายใน  อานาจภายในจังหวัด
จังหวัด ม.52/1 1. นาภารกิจของรัฐ / นโยบายของรัฐบาล ไปปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์
2. ดูแลให้มีการปฏิบัติ / บังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อความสงบเรียบร้อย เป็นธรรมในสังคม
3. จัดให้มีการคุ้มครอง / ป้องกัน / ส่งเสริม / ช่วยเหลือประชาชนที่ด้อยโอกาส
4. จัดให้มีการบริการภาครัฐ ให้ประชาชนเข้าถึงได้อย่างเสมอหน้า รวดเร็ว มีคุณภาพ
5. จัดให้มีการส่งเสริม / อุดหนุน / สนับสนุนอปท. ให้มีขีดความสามารถพร้อมดาเนินตามภารกิจรัฐ
6. ปฏิบัติหน้าที่อนื่ ตามที่ครม. กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นของรัฐมอบหมาย
คณะกรมการจังหวัด : ที่ปรึกษาผู้ว่าราชการในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัด
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด (ประธาน)
2. รองผู้ว่าราชการจังหวัด
3. ปลัดจังหวัด
4. หัวหน้าอัยการจังหวัด
5. ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัด
6. หัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดจากกระทรวงต่างๆ กระทรวงละ 1 คน (ยกเว้นมหาดไทย)
7. หัวหน้าสานักงานจังหวัด (เลขานุการ)
** ผู้ว่าอาจแต่งตั้งหัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัด หนึ่งคนหรือหลายคน เป็นกรมการจังหวัดเฉพาะการได้
แผนพัฒนาจังหวัด  จัดทาให้สอดคล้องกับแนวทางพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ / ความต้องการของประชาชน
 ผู้ว่า ประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่าง หัวหน้าส่วนราชการที่มีที่ตั้งในจังหวัด / ผู้บริหารอปท.ทั้งหมด /
ผู้แทนภาคประชาสังคม / ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน *** เหมือนกันกับการทาแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
 เมื่อประกาศใช้แผนพัฒนาจังหวัดแล้ว ให้จัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นของอปท. ต่อ
คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด (ก.ธ.จ.) (มีทุกจังหวัด ยกเว้นกทม)
 สอดส่อง / เสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัด (ยึดตามวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และหลักตาม ม.3/1
 หากพบการละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย / ทุจริต > แจ้งผู้ว่าราชการ / หัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อดาเนินการตามอานาจ
 ประกอบด้วย 1. ผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี ซึ่งมีเขตอานาจในจังหวัด (ประธาน)
2. ผู้แทนสมาชิกสภาท้องถิ่น ที่ไม่ได้ดารงตาแหน่งผู้บริหาร
3. ผู้แทนภาคเอกชน
อานาจหน้าที่ 1. บริหารราชการตาม กฎหมาย / ระเบียบแบบแผนของทางราชการ / ตามแผนพัฒนาจังหวัด
ผู้ว่าราชการจังหวัด 2. บริหารราชการตาม ครม. / กระทรวง / ทบวง / กรม มอบหมาย, คาสั่งนายกฯในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
3. บริหารราชการตาม คาแนะนา / ชี้แจง ของผู้ตรวจราชการกระทรวง (ต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย มติครม)
4. กากับดูแล การปฏิบัติราชการ ที่ไม่ใช่ราชการส่วนภูมิภาคของข้าราชการประจาในจังหวัดให้ปฏิบัติ
ราชการตามกฎหมาย รวมถึงการยับยั้งการกระทาใดๆของข้าราชการในจังหวัดที่ขัดต่อกฎหมาย
ยกเว้น ขรก.ทหาร / ตุลาการ / อัยการ / พลเรือนในมหาวิทยาลัย / สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน / ครู
5. ประสานงาน / ร่วมมือ ขรก.ทหาร / ตุลาการ / อัยการ / พลเรือนในมหาวิทยาลัย / สานักงานตรวจ
เงินแผ่นดิน / ครู / ผู้ตรวจราชการ / หัวหน้าส่วนราชการในระดับเขตหรือภาค ในการพัฒนาจังหวัด
หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ
6. เสนองบประมาณ ต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง เสนอขอจัดตั้งงบประมาณ ต่อสานักงบประมาณ
7. กากับดูแล การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
8. กากับการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานองค์การของรัฐบาล/รัฐวิสาหกิจ มีอานาจทารายงาน/แสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงานขององค์การดังกล่าวต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัดองค์การนั้นๆ
9. บรรจุ / แต่งตั้ง / ให้บาเหน็จ / ลงโทษ ข้าราชการส่วนภูมิภาคในจังหวัดตามที่ได้รับมอบหมาย
** การยกเว้น / จากัด / ตัดทอน อานาจผู้ว่าฯในการบริหารราชการในจังหวัด ให้ ตราเป็นพ.ร.บ.
ผู้รักษาราชการแทนผู้ว่าฯ เรียงลาดับดังนี้
กรณีผู้ว่าฯไม่อาจปฏิบัติ 1. รองผู้ว่าราชการ
ราชการได้ 2. ผู้ช่วยผู้ว่าราชการ
3. ปลัดจังหวัด
4. หัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัด ซึ่งมี อาวุโสตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ
** กรณีตาแหน่งนั้นๆมีหลายคน ให้ปลัดกระทรวง แต่งตั้งคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
อานาจหน้าที่ของอาเภอ 1. เหมือนอานาจหน้าที่ของจังหวัด ม 52/1
2. ส่งเสริม สนับสนุน จัดให้มีการบริการร่วมกันของหน่วยงานของรัฐในลักษณะ ศูนย์บริการร่วม
3. ประสานงานกับอปท. เพื่อร่วมมือกับชุมชนในการดาเนินการให้มีแผนชุมชน เพื่อรองรับการสนับสนุน
งบประมาณจากอปท. จังหวัด กระทรวง ทบวง กรม
4. ไกล่เกลี่ย / จัดให้มีการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
การไกล่เกลี่ยประนอมข้อ  ไกล่เกลี่ย ประนอมข้อพิพาทในเรื่อง พิพาททางแพ่งเกี่ยวกับ ที่ดิน มรดก ข้อพิพาททางแพ่งอื่นที่มีทุน
พิพาท ทรัพย์ไม่เกิน 200,000 บาท
 นายอาเภอโดยความเห็นชอบของคณะกรมการจังหวัด จัดทาบัญชีรายชื่อบุคคลที่ทาหน้าที่เป็นคณะ
บุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท
 เมื่อคู่พิพาทยิมยอมให้ให้วิธีการไกล่เกลี่ย ให้ทั้ง 2 ฝ่ายเลือกบุคคลจากบัญชีรายชื่อ ฝ่ายละ 1 คน
 นายอาเภอ พนง.อัยการประจาจังหวัด/ปลัดอาเภอที่ได้รับมอบหมายเป็นประธาน ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ย
 คณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ย มีอานาจหน้าที่ รับฟังข้อพิพาทโดยตรงจากทั้งคู่ และดาเนินการให้เกิด
ข้อตกลงยินยอมร่วมกันโดยเร็ว
o ตกลงกันได้ จัดทาสัญญาประนอมยอมความ
o ตกลงกันไม่ได้ สั่งจาหน่ายข้อพิพาท
 กรณีคู่พิพาทฝ่ายใดไม่ปฏิบัติตามสัญญาประนอมยอมความ ให้คู่พิพาทอีกฝ่าย ยื่นคาร้องต่อพนง.อัยการ
พนง.อัยการ ยื่นคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อออกข้อบังคับให้ทาตามสัญญา
 ** อายุความในการฟ้องร้องคดี ให้สะดุดหยุดลงตั้งแต่วันที่ยื่นข้อพิพาทถึงวันจาหน่ายข้อพิพาท
โทษทางอาญา ที่เกิดขึ้นในเขตอาเภอ กรณีเป็นโทษทางอาญาที่ยอมความได้ (ไม่ใช่ความผิดเกี่ยวกับเพศ)
 ถ้าผู้เสียหาย/ผู้ถูกกล่าวหายินยอม นายอาเภอ/ปลัดอาเภอ มอบหมายผู้ไกล่เกลี่ยตามสมควรแก่กรณี
o ถ้ายอมความกันได้ ให้ทาหนังสือตามที่ไกล่เกลี่ย และให้ถือว่าคดีอาญานั้นเป็นอันยกเลิก
o ถ้าไม่ยินยอม สั่งจาหน่ายข้อพิพาท (อายุความการร้องทุกข์ให้เริ่มนับตั้งแต่วันที่จาหน่าย)
นายอาเภอ อานาจหน้าทีน่ ายอาเภอ
1. บริหารราชการตาม กฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ
2. บริหารราชการตาม ที่ครม. กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย คาสั่งนายกฯในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
3. บริหารราชการตาม คาแนะนา / ชี้แจงของผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้มีอานาจตรวจการอื่น
4. ควบคุม ดูแล การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในอาเภอ
ผู้รักษาราชการแทน กรณี ผู้รักษาราชการแทน ผู้แต่งตั้ง
ไม่มีนายอาเภอ ปลัดอาเภอ / หัวหน้าส่วนราชการ ผู้ว่าราชการ
นายอาเภอไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ปลัดอาเภอ / หัวหน้าส่วนราชการ นายอาเภอ
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)
ก.พ.ร. จานวน หมายเหตุ
นายก / รองนายก (ประธาน) 1 นายกมอบหมาย
รัฐมนตรี (รองประธาน) 1 นายกกาหนด
ผู้ทรงคุณวุฒิ 8 – 10 ครม.เลือก | ด้านนิติศาสตร์ / เศรษฐศาสตร์ / รัฐศาสตร์ / การบริหารรัฐกิจ / การ
(3 – 5 คนทาเต็มเวลา) บริหารธุรกิจ / การเงินการคลัง / จิตวิทยาองค์การ / สังคมวิทยา อย่างน้อยด้ านละ 1 คน
เลขาธิการก.พ.ร. 1 เลขานุการ โดยตาแหน่ง
** ผู้ทรงคุณวุฒิ วาระ 4 ปี ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน
** ถ้าผู้ทรงคุณวุฒิว่างก่อนวาระ ให้แต่ตั้งใหม่ภายใน 30 วัน เว้นแต่วาระเหลือไม่ถึง 180 วัน ไม่ต้องแต่งตั้งก็ได้
** การประชุม องค์ประชุมต้องไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนเท่าที่มี ให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าเท่ากันให้ประธานออกเสียงเพิ่ม
** สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ให้สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี รับผิดชอบงานธุรการของก.พ.ร.
อานาจหน้าที่
1. เสนอแนะ / ให้คาปรึกษาครม. การพัฒนาระบบราชการของรัฐ / โครงสร้างระบบราชการ / ระบบงบประมาณ / ระบบบุคลากร /
มาตรฐานคุณธรรมจริยธรรม / ค่าตอบแทน / วิธีปฏิบัติราชการอื่นให้เป็นไปตามหลักการ ม.3/1
2. เสนอแนะ / ให้คาปรึกษาหน่วยงานอื่นของรัฐที่ไม่ได้อยู่ในกากับของราชการฝ่ายบริหาร ตามที่หน่วยงานดังกล่าวร้องขอ
3. รายงานต่อครม. กรณีที่มีการดาเนินการขัด/ไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ ม. 3/1
4. เสนอต่อครม. กาหนดหลักเกณฑ์ / มาตรฐานในการ จัดตั้ง / รวม / โอน / ยุบเลิก / กาหนดชื่อ / เปลี่ยนชื่อ / กาหนดอานาจหน้าที่ /
การแบ่งส่วนราชการภายในของส่วนราชการ
5. เสนอความคิดเห็นต่อครม. ในการตราพรฎ และกฎที่ออกตามพรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
6. ดาเนินการให้มีการชี้แจงทาความเข้าใจแก่ส่วนราชการ / เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง / ประชาชนทั่วไป ตลอดทั้งการฝึกอบรม
7. ติดตาม / ประเมินผล / แนะนา ให้มีการปฏิบัติตามพรบ.ระเบียบบริหารฯ และรายงานต่อครม. พร้อมทั้งข้อเสนอแนะ
8. ตีความ / วินิจฉัยปัญหาที่เกิดจากการปฏิบัติตามพรบ.นี้ กาหนดแนวทางปฏิบัติในกรณีที่เป็นปัญหา มติของก.พ.ร.ในข้อนี้ เมื่อได้รับ
ความเห็นชอบจากครม.แล้ว ให้บังคับได้ตามกฎหมาย
9. เรียกให้เจ้าหน้าที่/บุคคลอื่นใดมาชี้แจง/แสดงความคิดเห็นประกอบการพิจารณา
10. จัดทารายงานประจาปี เกี่ยวกับการพัฒนา / จัดระบบราชการ / งานของรัฐอย่างอื่นเสนอต่อ ครม. เพื่อเสนอต่อรัฐสภา
11. แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทางาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่างๆตามที่มอบหมาย และกาหนดอัตราเบี้ยประชุม/
ค่าตอบแทนอื่นด้วยก็ได้
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 / ฉ.3 พ.ศ. 2562 (ประกาศ 4 เม.ย. 62)
บังคับใช้ วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ผู้รักษาการพรบ. นายกรัฐมนตรี
ข้าราชการพลเรือน บุคคลที่บรรจุและแต่งตั้งตามพรบ.นี้ โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง กรม ฝ่ายพลเรือน
ข้าราชการฝ่ายพลเรือน ข้าราชการพลเรือน และข้าราชการอื่นในกระทรวง กรม ฝ่ายพลเรือน ตามกฎหมายนั้น

คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
ก.พ. จานวน หมายเหตุ
นายก / รองนายก (ประธาน) 1 นายกมอบหมาย
รัฐมนตรี (รองประธาน) 1 นายกกาหนด
ปลัดกระทรวงการคลัง 1
ผู้อานวยการสานักงบประมาณ 1
เลขาธิการคณะกรรมกรมพัฒนฯ 1
ผู้ทรงคุณวุฒิ 5–7 โปรดเกล้าแต่งตั้ง | ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล / การบริหารและการจัดการ / กฎหมาย
เลขาธิการก.พ. 1 เลขานุการ โดยตาแหน่ง
** ผู้ทรงคุณวุฒิ วาระ 3 ปี เป็นซ้าได้
ถ้าเหลือไม่น้อยกว่า 3 คน ให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป / ถ้าตาแหน่งว่างลง ต้องแต่งตั้งภายใน 30 วัน ยกเว้นเหลือไม่ถึง 180 วัน
อานาจหน้าที่
1. เสนอแนะ / ให้คาปรึกษาครม. เกี่ยวกับนโยบาย / ยุทธศาสตร์ การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ในด้านมาตรฐานค่าตอบแทน /
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล / การวางแผนกาลังคน เพื่อให้ส่วนราชการใช้เป็นแนวทางดาเนินการ
2. รายงานครม. เพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือน / เงินประจาตาแหน่ง / เงินเพิ่มค่าครองชีพ สวัสดิการข้าราชการฝ่ายพลเรือน
3. กาหนดหลักเกณฑ์ / วิธีการ / มาตรการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลข้าราชการพลเรือนเพื่อให้ส่วนราชการใช้เป็นแนวทาง
4. ให้ความเห็นชอบ กรอบอัตรากาลังของส่วนราชการ
5. ออกกฎ ก.พ. / ระเบียบ เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อปฏิบัติการตามพรบนี้
6. ตีความ / วินิจฉัย ปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้บังคับพรบ.นี้ กาหนดแนวทางปฏิบัติในกรณีที่เป็นปัญหา มติของก.พ. ในข้อนี้ เมื่อ
ได้รับความเห็นชอบจากครม.แล้ว ให้บังคับได้ตามกฎหมาย
7. ก ากั บ / ดู แ ล / ติ ด ตาม / ตรวจสอบ / ประเมิ น ผล การบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คลของข้ าราชการพลเรื อ นในกระทรวง กรม
เพื่ อ รั กษาความเป็ นธรรมและมาตรฐานด้ านการบริหารทรัพ ยากรบุ คคล ตรวจสอบ / ติ ด ตามการปฏิ บั ติต ามพรบ.นี้ มี อานาจ
เรียกเอกสาร หลักฐานจากส่วนราชการมาชี้แจงข้อเท็จ มีอานาจออกระเบียบให้รายงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลไปยัง
ก.พ.
8. กาหนดนโยบาย / ออกระเบียบ เกี่ยวกับทุนเล่าเรียนหลวง / ทุน ของรัฐบาล ให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
ของข้าราชการฝ่ายพลเรือน จัดสรรผู้รับทุนที่สาเร็จการศึกษาแล้ว เข้ารับราชการในหน่วยงานของรัฐ
9. ออกข้อบังคับ / ระเบียบ การจัดการศึกษา ควบคุม / ดูแ ล / ให้ความช่วยเหลือ บุคลากรภาครัฐ / นักเรียนทุนเล่าเรียนหลวง /
นักเรียนทุนของรัฐบาล / นักเรียนทุนส่วนตัวที่อยู่ในความดูแลของก.พ. เก็บเงินชดเชยค่าใช้จ่ายในการดูแลจัดการศึกษา (ถือเป็นเงิน
รายรับของส่วนราชการที่เป็นสถานอานวยบริการอันเป็นสาธารณประโยชน์
10. กาหนดหลักเกณฑ์ / วิธีการเพื่อรับรองคุณวุฒิของผู้ได้รับปริญญา เพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการ
11. กาหนดอัตราค่าธรรมเนียม ในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
12. พิจารณา / จัดระบบ / แก้ไข ทะเบียนประวัติ เกี่ยวกับ วัน เดือน ปีเกิด ควบคุมเกษียณอายุของข้าราชการพลเรือน
** กรณีก.พ. พบว่าส่วนราชการไม่ปฏิบัติตามพรบ.นี้ ให้ แจ้งให้ส่วนราชการนั้นดาเนินการแก้ไขในเวลาที่กาหนด หากไม่ดาเนินการ
ตามที่แจ้ง ให้ถือว่าหน่วยราชการนั้น กระทาผิดวินัย ก.พ. สั่งการลงโทษตามอานาจหน้าที่ กรณีผู้ไม่ปฏิบัติตามนั้นเป็นรัฐมนตรีเจ้า
สังกัด ให้ก.พ.รายงานต่อนายกรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาสั่งการตามที่เห็นสมควร
** ก.พ. มีอานาจแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการวิสามัญ (อ.ก.พ. วิสามัญ) ทาการใดๆแทนได้
คณะอนุกรรมการสามัญ (อ.ก.พ. สามัญ) เป็นองค์กรบริหารทรัพยากรบุคคลในส่วนราชการต่างๆ แบ่งเป็น
อ.ก.พ. กระทรวง / อ.ก.พ. กรม / อ.ก.พ. จังหวัด / อ.ก.พ.ประจาส่วนราชการอื่น (การกาหนดชื่อ อานาจหน้าที่ ให้ตามที่กาหนดในกฏก.พ.)
อ.ก.พ. กระทรวง อ.ก.พ. กรม อ.ก.พ. จังหวัด
ประธาน รัฐมนตรีเจ้าสังกัด 1 อธิบดี 1 ผู้ว่าราชการ 1
รองประธาน ปลัดกระทรวง 1 รองอธิบดี 1 รองผู้ว่าราชการ 1
ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้าน HR, MNG, LAW ผู้ทรงคุณวุฒิ 1-3 ผู้ทรงคุณวุฒิ 1-3 ผู้ทรงคุณวุฒิ 1-3
ไม่เป็นขรก.ในหน่วยงาน
ขรก.ในหน่วยงาน บริหาร ระดับสูง 1-5 บริหาร / อานวยการ 1-6 บริหาร / อานวยการ 1-6
อนุกรรมการโดยตาแหน่ง ผู้แทนจากสนง. ก.พ. 1 -
อานาจหน้าที่ กาหนดนโยบาย ระบบ ระเบียบวิธีHRM ให้สอดคล้องกับก.พ. กาหนดแนวทางและวิธี HRM
พิจารณาการเกลี่ยอัตรากาลังภายในส่วนราชการ -
พิจารณาการดาเนินการทางวินัย การสั่งให้ออกจากราชการ พิจารณาโทษวินัยและสั่งให้ออก
คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.)
 กรรมการ 7 คน (เลือกกันเองเป็นประธาน) / อายุ 45 – 70 ปี / วาระ 6 ปี / วาระเดียว / ทางานเต็มเวลา / K โปรดเกล้าแต่งตั้ง /
เลขาธิการก.พ. เป็นเลขานุการ
 คัดเลือกโดย คณะกรรมการคัดเลือก
o ประธานศาลปกครองสูงสุด (ประธาน)
o รองประธานศาลฎีกา
o กรรมการก.พ. (ผู้ทรงคุณวุฒิ)
o เลขาธิการก.พ. (เลขานุการ)
 คุณสมบัติในการคัดเลือก อย่างใดอย่างหนึ่ง
o เป็น / เคยเป็น กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการใหญ่ๆของขรก.พลเรือนต่างๆ เช่นคกกครู, ตารวจ, ก.พ., อุดมศึกษา
o เป็น / เคยเป็น กรรมการกฤษฎีกา
o รับราชการ / เคย ตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ / ตุลาการ / หัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น
o รับราชการ / เคย ตาแหน่งไม่ต่ากว่าอัยการพิเศษประจาเขต
o รับราชการ / เคย ตาแหน่งประเภทบริหาร ระดับสูง
o เป็น / เคย สอนในมหาวิทยาลัย วิชาสาขานิติศาสตร์ / รัฐศาสตร์ / รัฐประศาสนศาสตร์ / เศรษฐศาสตร์ / สังคมศาสตร์ /
วิชาเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน และมีตาแหน่งไม่ต่ากว่า ร.ศ. อย่างน้อย 5 ปี
 ลักษณะต้องห้าม
o เป็นข้าราชการ / พนักงานของรัฐ / สมาชิกพรรคการเมือง / กรรมการในรัฐวิส าหกิ จ องค์กรกลางบริหารงานบุค คลใน
หน่วยงานรัฐ / ประกอบอาชีพที่ขัดต่อการปฏิบัติหน้าที่ตามที่กาหนดในพรฎ
** ผู้ได้รับคัดเลือก หากพบว่ามีลักษณะต้องห้าม ผู้นั้นต้องลาออกจากสิ่งนั้นและแสดงหลักฐานต่อเลขานุการก.พ.ค. ภายใน 15 วัน
 ถ้ากรรมการเหลือน้อยกว่า 5 คน ให้คัดเลือกเพิ่ม
อานาจหน้าที่
1. เสนอแนะต่อ ก.พ. หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่น เพื่อให้ดาเนินการจัดให้มี / ปรับปรุงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
ในส่วนที่เกี่ยวกับการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
2. พิจารณา วินิจฉัยอุทธรณ์ (ข้าราชการที่ผู้บังคับบัญชาสั่งให้ออกจากราชการ)
3. พิจารณา วินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ (ที่เกิดจากผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไป อยู่ในระดับรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง นายกรัฐมนตรี)
4. พิจารณาคุ้มครองระบบคุณธรรม (กรณีที่เห็นว่ากฎ ระเบียบ คาสั่งที่ออกตามพรบ.นี้ไม่สอดคล้องกับระบบคุณธรรม)
5. ออกกฎ ก.พ.ค. / ระเบียบ / หลักเกณฑ์ / วิธีปฏิบัติการตามพ.ร.บ.นี้
6. แต่งตั้งบุคคล เพื่อเป็นกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ / กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์
** ก.พ.ค. / กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ / กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ > ได้เงินประจาตาแหน่ง ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เช่นเดียวกับ
ตาแหน่งบริหารระดับสูง
** ก.พ.ค. มีอานาจ ไม่รับอุทธรณ์ / ยกอุทธรณ์ / มีคาวินิจฉัยให้ยกเลิกคาสั่งลงโทษ และให้เยียวยาความเสียหายให้ผู้อุทธรณ์
ระบบคุณธรรม 1. การรับบุคคลบรรจุราชการคานึงถึงความสามารถ / เสมอภาค / เป็นธรรม /ประโยชน์ของราชการ
2. การบริหารทรัพยากรบุคคล คานึงผลสัมฤทธิ์ / ประสิทธิภาพ / ไม่เลือกปฏิบัติ / เป็นธรรม
3. การพิจารณาความดีความชอบ / เลื่อนตาแหน่ง เป็นธรรม / ดูจากผลงาน ศักยภาพ พฤติกรรม
4. การดาเนินคดีทางวินัย ยุติธรรม / ปราศจากอคติ
5. การบริหารทรัพยากรบุคคลด้วยความเป็นธรรมทางการเมือง
ข้าราชการพลเรือนสามัญ ข้าราชการพลเรือน ซึ่งรับราชการโดยได้รับบรรจุแต่งตั้งตามที่บัญญัติในลักษณะ 4 ข้าราชการพลเรือนสามัญ
ข้าราชการพลเรือน ข้ า ราชการพลเรื อ น ซึ่ ง รั บ ราชการโดยได้ รั บ บรรจุ แ ต่ ง ตั้ ง ให้ ด ารงต าแหน่ ง ในพระองค์ พ ระมหากษั ต ริ ย์
ในพระองค์ ตามที่ได้กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
คุณสมบัติข้าราชการพลเรือน
 สัญชาติไทย / อายุไม่ต่ากว่า 18 ปี / เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
ลักษณะต้องห้าม
ดารงตาแหน่งทางการเมือง / เป็นคนไร้ความสามารถ / เสมือนไร้ความสามารถ / วิกลจริต / อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการ หรือถูกสั่งให้
ออกจากราชการไว้ก่อน / เป็นกรรมการบริหารหรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดีจนเป็นที่รังเกียจของสังคม / ล้มละลาย / เคย ก.พ.อาจพิจารณายกเว้นเป็นการเฉพาะราย
ต้องโทษจาคุกความผิดทางอาญา / เคยทุจริตในการสอบเข้ารับราชการ มติของก.พ. ต้องได้เสียงไม่น้อยกว่า 4/5 (ลงมติลับ)
เคยถูกลงโทษให้ออก / ปลดออก / ไล่ออก จากรัฐวิสาหกิจ ต้องออกจากราชการไปเกิน 2 ปีแล้ว ถึงจะพิจารณายกเว้นให้
เคยถูกลงโทษให้ออก / ปลดออก เพราะกระทาผิดวินัยตามพรบ.นี้ (ต้องไม่ใช่เกิดออกจากราชการเพราะทุจริตต่อหน้าที่)
เคยถูกลงโทษไล่ออก เพราะกระทาผิดวินัยตามพรบ.นี้ ต้องออกจากราชการไปเกิน 3 ปีแล้ว ถึงจะพิจารณายกเว้นให้
การกาหนดตาแหน่ง
ประเภท ทั่วไป วิชาการ อานวยการ บริหาร
ระดับ ปฏิบัติงาน 
ชานาญงาน  ปฏิบัติการ 
อาวุโส  ชานาญการ 
ทักษะพิเศษ  ชานาญการพิเศษ  ระดับต้น 
เชี่ยวชาญ  ระดับสูง  ระดับต้น 
ทรงคุณวุฒิ  ระดับสูง**
คาอธิบายประเภท ต า แ ห น่ ง ที่ ไ ม่ ใ ช่ อี ก 3 ต าแหน่ ง ที่ จ าเป็ น ต้ อ งใช้ หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ากว่า หัวหน้า / รองหัวหน้า
ประเภท ผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ระดับกรม ส่วนราชการระดับ
ปริญญา ตามที่ก.พ.กาหนด กระทรวง หรือ กรม
การบรรจุและแต่งตั้ง ** คร่าวๆส่วนภูมิภาค ผู้ว่าฯเป็นผู้ สั่งบรรจุและแต่งตั้ง
 อธิบดี / ผู้ที่อธิบดีมอบหมาย สั่งบรรจุ และ แต่งตั้ง (รวมถึงประเภททั่วไปสังกัดสานักงานรัฐมนตรี)
 อธิบดี สั่งบรรจุ และ แต่งตั้ง โดยความเห็นชอบของปลัดกระทรวง
 ปลัดกระทรวง สั่งบรรจุ และ แต่งตั้ง
ปลัดกระทรวงเสนอ > รมต.เจ้าสังกัดเสนอต่อ > ค.ร.ม.อนุมัติ > ปลัดกระทรวง สั่งบรรจุ , นายกรัฐมนตรีกราบทูลโปรดเกล้าแต่งตั้ง
รมต.เจ้าสังกัดเสนอต่อ > ค.ร.ม.อนุมัติ > รมต.เจ้าสังกัด สั่งบรรจุ , นายกรัฐมนตรีกราบทูลโปรดเกล้าแต่งตั้ง
** บริหาร ระดับสูง  เป็นผู้สั่งบรรจุ แต่งตั้งตาแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง / กรม
 เป็นผู้สั่งบรรจุ แต่งตั้งตาแหน่งรองหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง / กรม
ทดลองปฏิบัติราชการ 1. ผู้ที่ได้รับบรรจุและแต่งตั้งจากการสอบคัดเลือก
2. ผู้ที่เข้าด้วยเหตุพิเศษ ได้รับการบรรจุแต่งตั้งโดยไม่ต้องสอบแข่งขัน
3. พนักงานท้องถิ่น / ข้าราชการอื่นที่ไม่ใช่ข้าราชการพลเรือนที่โอนมาเป็นข้าราชการพลเรือน
 เพื่อให้รู้ระเบียบแบบแผนของทางราชการ / การเป็นข้าราชการที่ดี
 ถ้าผลการประเมินต่ากว่ามาตรฐานที่กาหนด สามารถสั่งให้ออกจากราชการได้
 ผู้ที่ถูกสั่งให้ออกระหว่างทดลองปฏิบัติราชการ ให้เสมือนว่าผู้นั้นไม่เคยเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ
การย้าย การโอน  การโอนข้าราชการจากกระทรวงหนึ่งไปดารงตาแหน่งในต่างประเทศสังกัดอีกกระทรวงหนึ่งเป็นการ
การเลื่อน ชั่วคราว ตามระยะเวลาที่กาหนด ทาได้
 การย้าย / โอน ข้าราชการไปดารงตาแหน่งที่ต่ากว่าเดิม ทาไม่ได้
 การบรรจุข้าราชการ ที่ได้ออกจากราชการไป เนื่องจากถูกสั่งให้ออกจากราชการ เพื่อไปรับราชการทหาร
เมื่อกลับเข้ามาบรรจุเป็นข้าราชการพลเรือนอีกครั้ง ให้สามารถนับเวลาราชการก่อนหน้านั้นมารวมได้
 การโอนพนักงานส่วนท้องถิ่น / ข้าราชการอื่นที่ไม่ใช่พลเรือนสามัญ ให้นับเวลาราชการเดิมรวมได้
จรรยาข้าราชการ 1. การยึดมั่น / ยืนหยัดทาในสิ่งที่ถูกต้อง
2. ความซื่อสัตย์สุจริต / รับผิดชอบ
3. การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส / สามารถตรวจสอบได้
4. การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม
5. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
วินัย (ข้อปฏิบัติ) 1. ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความซื่อสัตย์ / สุจริต / เที่ยงธรรม
ม. 82 2. ปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ มติครม. นโยบายรัฐบาล
3. ปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เกิดผลดี / ความก้าวหน้าแก่ราชการ ด้วยความอุตสาหะ เอาใจใส่
4. ปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการ โดยชอบด้วยกฎหมาย
หากเห็นว่าคาสั่งนั้นจะทาให้เสียหายแก่ราชการ ต้องเสนอความเห็นเป็นหนังสือ ทันทีให้ทบทวนคาสั่ง
หากยังยืนยันให้ปฏิบัติตามคาสั่ง ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องปฏิบัติตาม
5. ต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ ไม่ละทิ้ง / ทอดทิ้งหน้าที่ราชการ
6. ต้องรักษาความลับของทางราชการ
7. ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี ช่วยเหลือกันในการปฏิบัติงาน
8. ต้องต้อนรับ ให้ความสะดวก เป็นธรรม ให้การสงเคราะห์แก่ประชาชน
9. ต้องวางตนเป็นกลางทางการเมืองในขณะปฏิบัติหน้าที่ราชการและอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับประชาชน
10. ต้องรักษาชื่อเสียงของตน รักษาเกียรติศักดิ์ของตาแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย
วินัย (ข้อห้ามปฏิบัติ) 1. ไม่รายงานเท็จ / ปกปิดข้อความที่ควรแจ้ง ต่อผู้บังคับบัญชา
ม. 83 2. ไม่ปฏิบัติราชการอันเป็นการกระทาการข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตครั้งคราว
3. ไม่อาศัย / ยอมให้ผู้อื่นอาศัยตาแหน่งหน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์ส่วนตน
4. ไม่ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ
5. ไม่กระทาการ / ยอมให้ผู้อื่นกระทาการหาผลประโยชน์อันทาให้เสียเกียรติศักดิ์ของตาแหน่ง
6. ไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ / ผู้จัดการ ในห้างหุ้นส่วน หรือ บริษัท
7. ไม่กระทาการกลั่นแกล้ง / กดขี่ / ข่มเหงกันในการปฏิบัติราชการ
8. ไม่กระทาการอันล่วงละเมิด / คุกคามทางเพศ
9. ไม่ดูหมิ่น / เหยียดหยาม / กดขี่ / ข่มเหงประชาชนผู้ติดต่อราชการ
ความผิดวินัยร้ายแรง 1. ปฏิบัติ / เว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรง แก่ผู้ใดผู้หนึ่ง
ปฏิบัติ / เว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยทุจริต
2. ละทิ้ง / ทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง
3. ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อกันเกิน 15 วัน โดยไม่มีเหตุอันสมควร
4. กระทาอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง
5. ดูหมิ่น / เหยียดหยาม / กดขี่ / ข่มเหง ประชาชนผู้มาติดต่อราชการอย่างร้ายแรง
6. กระทาความผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุก/หนักกว่า เว้นแต่จะเป็นความผิดโดยประมาท/ผิดลหุโทษ
7. กระทาผิดวินัยตามม. 82,83 อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง
8. ไม่กระทาตามกฎก.พ.
โทษทางวินัย 5 สถาน 1. ภาคทัณฑ์
2. ตัดเงินเดือน
3. ลดเงินเดือน
4. ปลดออก
5. ไล่ออก
** การลงโทษให้ทาเป็นคาสั่ง ต้องเหมาะสมกับความผิด / ยุติธรรม / ปราศจากอคติ ต้องระบุกรณีและมาตรา
การดาเนินการทางวินัย  เมื่อพบการกระทาผิด ผู้บังคับบัญชารายงานผู้มีอานาจบรรจุแต่งตั้งดาเนินการ (หรือมอบหมาย)
ถ้าผู้มีอานาจบรรจุแต่งตั้ง ไม่ดาเนินการหรือว่าปฏิบัติหน้าที่โดยไม่สุจริต ถือว่าผิดวินัย
หากไม่เห็นว่ามีมูล > ยุติเรื่องได้
 ถ้ามีมูลและไม่ใช่ความผิดวินัยร้ายแรง ผู้บังคับบัญชาสั่งลงโทษได้ โดยไม่ต้องตั้งคณะกรรมการสอบสวน
 ถ้ามีมูลและเป็นความผิดร้ายแรง ให้ตั้งคณะกรรมการสอบสวน ถ้ามีมูล
ความผิดไม่ร้ายแรง > ภาคทัณฑ์/ ตัดเงินเดือน / ลดเงินเดือน ความผิดร้ายแรง > ปลดออก / ไล่ออก
 ปลดออก ได้สิทธิบาเหน็จ บานาญ เสมือนผู้นั้นลาออก
 ข้าราชการลาออกไปแล้ว แต่ถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ในขณะที่รับราชการนั้น ผู้
มีอานาจดาเนินการทางวินัยมีอานาจดาเนินการสืบสวน พิจารณา ดาเนินการทางวินัยและสั่งลงโทษได้
เสมือนผู้นั้นยังมิได้ออกจากราชการ
o ถูกยื่นฟ้องคดีอาญา ตั้งแต่ก่อนออกจากราชการ ให้ดาเนินการสอบสวนและต้องสั่งลงโทษ
ภายใน 3 ปี นับแต่ผู้นั้นออกจากราชการ
o ถูกยื่นฟ้องคดีอาญา หลังจากออกจากราชการ ให้ดาเนินการสอบสวน ภายใน 1 ปี และต้อง
สั่งลงโทษภายใน 3 ปี นับแต่ผู้นั้นออกจากราชการ
o กรณีศาลปกครอง มีคาพิพากษาถึงที่สุดให้เพิกถอนคาสั่งลงโทษ เพราะกระบวนการ
ดาเนินการทางวินัยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ให้ผู้มีอานาจดาเนินการทางวินัยให้แล้วเสร็จ ภายใน
2 ปี นับแต่วันที่มีคาพิพากษาถึงที่สุด
 ถ้าผลการสอบสวนพิจารณาปรากฎว่าผู้นั้นกระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรง ให้งดโทษ
 กรณีปปช. ชี้มูลความผิดข้าราชการที่ออกจากราชการแล้ว ให้ดาเนินการทางวินัยและสั่งลงโทษ ตาม
หลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่กาหนดไว้ในกฎหมายประกอปรธน. ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
 ถ้าผลการสอบสวนพิจารณาปรากฎว่าผู้นั้นกระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรง ให้งดโทษ
การสั่งพัก / สั่งให้ออก  ผู้มีอานาจบรรจุสามารถสั่งพักราชการ / สั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน เพื่อรอฟังผลการสอบสวนหรือ
จากราชการไว้ก่อน พิจารณาคดีได้ หากต่อมาพบว่าไม่ได้ทาผิด /ทาผิดแต่ไม่ถึงกับต้องให้ออก ก็ให้ สั่งกลับมาปฏิบัติราชการ
 กรณีไม่ได้ผิดวินัยร้ายแรง แต่ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ผู้นั้นยังคงมีสถานภาพเป็นข้าราชการพล
เรือนสามัญ เสมือนว่าถูกสั่งพักราชการ
ทั่วไป  การลงโทษข้าราชการพลเรือนสามัญ มีกฎหมายว่าด้วยวินัยราชการโดยเฉพาะ ผู้บังคับบัญชาสามารถ
พิจารณาดาเนินการตามกฎหมายดังกล่าวได้เลย แล้วให้รายงานต่อ อ.ก.พ. กระทรวงที่สังกัดให้พิจารณา
 ถ้า อ.ก.พ.กระทรวง / ก.พ. มีมติไม่เห็นด้วย สามารถสั่งสอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพิ่มเติมได้
 ถ้าผู้แทนก.พ. (ที่อยู่ในอ.ก.พ.กระทรวง) เห็นว่าอ.ก.พ.กระทรวง / ผู้บังคับบัญชา ไม่ปฏิบัติตามพรบ.นี้
หรือปฏิบัติไม่เหมาะสม ให้รายงานต่อก.พ. พิจารณาดาเนินการต่อไป แล้วให้ใช้มติของก.พ. ในการ
ดาเนินการ | ถ้าผู้ถูกลงโทษ อุธรณ์คาสั่งลงโทษของผู้บังคับบัญชา ต่อ ก.พ.ค. ให้ก.พ.แจ้งกรณีดังกล่าว
ต่อ ก.พ.ค. เพื่อประกอบการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์
เพิ่มโทษ / ลดโทษ /  ให้ผู้สั่งมีคาสั่งใหม่ ในคาสั่งดังกล่าวให้สั่งยกเลิกคาสั่งลงโทษเดิม พร้อมระบุวิธีการดาเนินการเกี่ยวกับ
งดโทษ / ยกโทษ โทษที่ได้รับไปแล้ว
ข้าราชการพลเรือนสามัญ  ผู้บังคับบัญชาดาเนินการทางวินัยตามพรบ.นี้ได้เลย
ที่โอนมา  แต่ถ้าเป็นเป็นเรื่องที่อยู่ในระหว่างสืบสวนพิจารณา ให้ผู้บัญชาการเดิมสอบสวนให้เสร็จแล้วค่อยส่งผลมา
ให้พิจารณาต่อ การสั่งลงโทษทางวินัย พิจารณาความผิดและลงโทษใช้กฎเกณฑ์ของต้นสังกัดเดิม
การออกจากราชการ 1. ตาย
2. พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการ
3. ลาออกจากราชการและได้รับอนุญาตให้ลาออก
ยื่นหนังสือขอลาออกต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปหนึ่งชั้น ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน
4. ถูกสั่งให้ออก
5. ถูกสั่งลงโทษปลดออก / ไล่ออก
การลาออก  ยื่นหนังสือขอลาออกต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปหนึ่งชั้น ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน
 กรณียื่นหนังสือลาออก น้อยกว่า 30 วัน ผู้มีอานาจบรรจุพิจารณาตามความเหมาะสม
 สามารถยับยั้งการลาออกได้ไม่เกิน 90 วัน
การลาออกที่มีผลนับตั้งแต่วนั ที่ผู้นนั้ ขอลาออก (ไม่ต้องยื่นล่วงหน้า มีผลได้เลย) คือลาออกเพื่อไปดารงตาแหน่ง
1. ตาแหน่งในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
2. ตาแหน่งทางการเมือง
3. เพื่อไปสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภา / สมาชิกสภาท้องถิ่น / ผู้บริหารท้องถิ่น
อุทธรณ์  ผู้ที่ถูกสั่งลงโทษ / ให้ออกจากราชการ มีสิทธิอุทธรณ์ต่อก.พ.ค ภายใน 30 วัน หลังทราบคาสั่ง
ก.พ.ค. อาจพิจารณาวินิจฉัยเอง / ตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ ก็ได้
 ก.พ.ค. ต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ให้เสร็จภายใน 120 วันหลังได้รับอุทธรณ์ ขยายได้ +60 +60
 เมื่อวินิจฉัยอุทธรณ์แล้ว ให้ผู้มีอานาจบรรจุดาเนินการตามคาวินิจฉัย ภายใน 30 วัน
 ถ้าไม่เห็นด้วย ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองสูงสุด ภายใน 90 วัน
คัดค้านกรรมการวินิจฉัย 1. รู้เห็นเหตุการณ์ในการกระทาผิดวินัยที่ผู้อุทธรณ์ถูกลงโทษ / การถูกสั่งให้ออกจากราชการ
อุทธรณ์ กรณี 2. มีส่วนได้เสียในการกระทาผิดวินัยของผู้อุทธรณ์
3. มีสาเหตุโกรธเคืองกับผู้อุทธรณ์
4. เป็นผู้กล่าวหา / เคยเป็นผู้บังคับบัญชาผู้สั่งลงโทษ/สั่งให้ออกจากราชการ
5. เป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดาเนินการทางวินัย / การสั่งให้ออกจากราชการ
6. มีความเกี่ยวพันทางเครือญาติหรือทางการสมรสกับบุคคลข้อ 1 – 4
การร้องทุกข์  ร้องกรณีคับข้อใจการปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติต่อตนของผู้บังคับบัญชา ให้ร้องต่อผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไป
 ร้องปลัดกระทรวง / นายกรัฐมนตรี ร้องต่อ ก.พ.ค. (พิจารณาเองหรือตั้งกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์)
คัดค้านกรรมการวินิจฉัย 1. เป็นผู้บังคับบัญชาผู้เป็นเหตุให้เกิดความคับข้องใจ
ร้องทุกข์ กรณี 2. มีส่วนได้เสียในเรื่องที่ร้องทุกข์
3. มีสาเหตุโกรธเคืองกับผู้ร้องทุกข์
4. มีความเกี่ยวพันทางเครือญาติหรือทางการสมรสกับบุคคลข้อ 1 – 3
พระราชบัญญัติ มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
บังคับใช้ วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ประกาศวันที่ 15 เมษายน 2562)
ผู้รักษาการพรบ. นายกรัฐมนตรี
หน่วยงานของรัฐ กระทรวง / ทบวง / กรม / ส่วนราชการที่มีชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม / ราชการส่วนท้องถิ่น / รัฐวิสาหกิจ /
องค์การมหาชน หรือ หน่วยงานอื่นของรัฐในฝ่ายบริหาร
** ไม่หมายรวมถึง หน่วยงานธุรการของรัฐสภา / องค์กรอิสระ / ศาล / องค์กรอัยการ
องค์กรกลาง องค์กรที่มีหน้าที่จัดทาประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยู่ในความรับผิดชอบ
บริหารงานบุคคล  คณะกรรมการ...ข้าราชการพลเรือน / ข้าราชการพลเรือนในสถาบันศึกษา / ข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา / ข้าราชการตารวจ
 คณะกรรมการกลางบริหารงานบุคคลของเจ้าหน้าที่ของรัฐในฝ่ายบริหาร
 คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลรับผิดชอบ ให้องค์กรต่อไปนี้เป็นผู้จัดทา
 คณะรัฐมนตรี : ข้าราชการการเมือง
 สภากลาโหม : ข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม
 สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ : ผู้บริหารและพนักงานรัฐวิสาหกิจ
 คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน : ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานขององค์กรมหาชน
**กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม (ก.ม.จ.) เป็นผู้วินิจฉัยว่าองค์กรใดต้องจัดทาประมวลให้จนท.ใด
มาตรฐานทางจริยธรรม หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ประกอบด้วย
(ม.5) 1. ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
*ใช้เป็นหลักในการจัดทา 2. ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสานึกที่ดี รับผิดชอบต่อหน้าที่
ประมวลจริยธรรมของ 3. กล้าตัดสินใจและกระทาในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม
หน่วยงานของรัฐ 4. คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว มีจิตสาธารณะ
5. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
6. ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ
7. ดารงตนเป็นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ
กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม (ก.ม.จ.)
กรรมการ ผู้แต่งตั้ง จานวน หมายเหตุ
นายก / รองนายก นายกรัฐมนตรี 1 ประธาน
คกก.ก.พ. (ผู้แทน) 1 รองประธาน
คกก.ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ผู้แทน) กรรมการโดยตาแหน่ง 5 คน 1
คกก.ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ผู้แทน) 1
คกก.ข้าราชการตารวจ (ผู้แทน) 1
คกก.มาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (ผู้แทน) 1
สภากลาโหม (ผู้แทน) 1
ผู้ทรงคุณวุฒิ นายกรัฐมนตรี 1-5 อายุ 45 ปีขึ้นไป
(วาระ 3 ปี ห้ามเกิน 2 วาระ) ด้านจริยธรรม กฎหมาย HR
เลขาธิการก.พ. เลขานุการ
ข้าราชการในสนง.ก.พ. เลขาธิการก.พ. ผู้ช่วยเลขานุการ
กรรมการ (เฉพาะกาล) ก.ม.จ. เชิญเป็นกรรมการครั้งคราว 
 ผู้แทนที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการที่ทาหน้าที่บริหารงานรัฐวิสาหกิจ/องค์การมหาชน/หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ที่มีหน้าที่และ
อานาจโดยตรงเกี่ยวกับเรื่องที่จะพิจารณา หรือผู้เชี่ยวชาญด้านจริยธรรม
** ผู้ทรงคุณวุฒิ พ้นตาแหน่งได้ด้วย ก.ม.จ.มีมติให้ออก คะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง เพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสีย (ถ้า
ตาแหน่งขาด นายกแต่งตั้งเพิ่ม ยกเว้นเวลาเหลือไม่ถึง 180 วัน)
** ก.ม.จ. ต้องทบทวนมาตรฐาน ทุก 5 ปี (หรือเร็วกว่านั้น ตามสถานการณ์
** การประชุม นับองค์ประชุมครึ่งหนึ่ง / การชี้ขาดให้ถือเสียงข้างมาก / ถ้าเสียงเท่ากันให้ปธ.ออกเสียงชี้ขาด
** ปธ. / กรรมการ / ปธ.อนุกรรมการ / อนุกรรมการ ได้เบี้ยประชุม
อานาจหน้าที่ ก.ม.จ.  เสนอแนะ / ให้คาปรึกษา เกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทางจริยธรรม / การส่งเสริม
จริยธรรมภาครัฐต่อคณะรัฐมนตรี
 กาหนดแนวทาง /มาตรการในการขับเคลื่อน ดาเนินการรักษาจริยธรรม / กลไกและการบังคับใช้
ประมวลจริยธรรม สาหรับเจ้าหน้าที่รบ เพื่อให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคล หรือผู้บังคับ บัญชานาไปใช้
ในกระบวนการบริหารงานบุคคลอย่างเป็นธรรม
 กาหนดแนวทางการส่งเสิรม / พัฒนาเสริมสร้างประสิทธิภาพ ให้เจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
มาตรฐานทางจริยธรรม
 กากับ / ติดตาม / ประเมินผลการดาเนินการตามมาตรฐานจริยธรรม
อย่างน้อยต้องให้หน่วยงานของรัฐประเมิน ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรม /
ประเมินพฤติกรรมทางจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น
 ตรวจสอบรายงานประจาปี และรายงานสรุปผลการดาเนินงานต่อครม. อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
 ตีความและวินจิ ฉัยปัญหาที่เกิดจากการบังคับใช้พ.ร.บ.นี้
การรักษาจริยธรรมของ ให้หน่วยงานของรัฐดาเนินการ ดังต่อไปนี้
เจ้าหน้าที่รัฐ  ให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ
(ให้หน่วยงานที่มีหน้าที่/ภารกิจในด้านจริยธรรม ธรรมาภิบาลหรือคณะกรรมการและกลุ่มงานจริยธรรม
ประจาหน่วยงานของรัฐที่มีอยู่แล้วเป็นผู้รับผิดชอบก็ได้)
 ดาเนินกิจกรรมส่งเสริม / สนับสนุน / ให้ความรู้ / ฝึกอบรม / พัฒนาเจ้าหน้าที่
ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ สร้างเครือข่ายร่วมกั บเอกชน
 ทุกสิ้นปีงบประมาณ ทารายงานประจาปีตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กาหนด แล้วส่งให้ ก.ม.จ.
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2562
บังคับใช้ นับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เว้นแต่ม. 63/15-19 (การบังคับโดยเจ้าพนักงานบังคับคดี)
บังคับใช้เมื่อพ้น 180 วัน
ผู้รักษาการพรบ. นายกรัฐมนตรี (มีอานาจออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพรบ.นี้)
ไม่ให้ใช้บังคับแก่ 1. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
2. องค์กรที่ใช้อานาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ
3. การพิจารณาของนายก/รัฐมนตรีในงานทางนโยบายโดยตรง
4. การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การ
บังคับคดีและการวางทรัพย์
5. การพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์และการสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา
6. นโยบายต่างประเทศ
7. ราชการทหาร
8. กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
9. องค์การทางศาสนา
กรณีจะยกเว้นหน่วยงานอื่นๆ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาตามข้อเสนอของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง
วิธีปฏิบัติราชการทาง การเตรียมการ/การดาเนินการ ของเจ้าหน้าที่ เพื่อจัดให้มีคาสั่งทางปกครอง/กฎ และรวมถึงการดาเนินการใดๆ
ปกครอง ในทางปกครองตามพรบ.นี้

การพิจารณาทางปกครอง การเตรียมการ/การดาเนินการ ของเจ้าหน้าที่ เพื่อจัดให้มีคาสั่งทางปกครอง


คาสั่งทางปกครอง การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ก่อให้เกิด
 เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิ/หน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะ
ชั่วคราวหรือถาวร ** ไม่รวมถึงการออกกฎ**
 เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง การรับจดทะเบียน
กฎ บทบัญญัติที่มีผลบังคับเป็นการทั่วไป ไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดหรือบุคคลใดเป็นการเฉพาะ
 เช่น พรฎ. กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ
คณะกรรมการวินิจฉัยข้อ คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มี การจัดองค์กรและวิธีพิจารณาสาหรับวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหน้าที่ตาม
พิพาท กฎหมาย
เจ้าหน้าที่  บุคคล / คณะบุคคล / นิติบุคคล
 ใช้อานาจ / ได้รับมอบให้ใช้อานาจทางปกครองของรัฐ ในการดาเนินการหนึ่งใดตามกฎหมาย
คู่กรณี  ผู้ยื่นคาขอ / ผู้คัดค้านคาขอ / ผู้อยู่ในบังคับ (หรือจะอยู่ในบังคับ) ของคาสั่งทางปกครอง
 ผู้เข้ามาในกระบวนการทางปกครองเนื่องจากสิทธิ์จะถูกกระทบกระเทือนจากผลของคาสั่ง
คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
ผู้แต่งตั้ง/มอบหมาย จานวน หมายเหตุ
ประธาน ครม. 1 ผู้เชี่ยวชาญด้านนิติศาสตร์, รัฐศาสตร์, รัฐประศาสนศาสตร์ ,
ผู้ทรงคุณวุฒิ ครม. 5 – 9 คน สังคมศาสตร์, การบริหารราชการแผ่นดิน วาระ 3 ปี ซ้าได้
ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี โดยตาแหน่ง 1
ปลัดกระทรวงมหาดไทย โดยตาแหน่ง 1
เลขาธิการก.พ. โดยตาแหน่ง 1
เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยตาแหน่ง 1
เลขานุการ เลขาธิการกฤษฎีกา 1 เลือกจากข้าราชการของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ผู้ช่วยเลขานุการ เลขาธิการกฤษฎีกา 1
อานาจหน้าที่
 สอดส่องดูแล / ให้คาแนะนา การปฏิบัติตามพรบ.นี้
 เสนอแนะการตราพระราชกฤษฎีกา / กฎกระทรวง / ประกาศ ตามพรบ.นี้
 ทารายงานเสนอครม.อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติราชการทางปกครอง
เจ้าหน้าที่ 1. เป็นคู่กรณีเอง
ลักษณะต้องห้ามพิจารณา 2. คู่หมั้น / คู่สมรสของคู่กรณี
ทางปกครอง 3. ญาติของคู่กรณี (ญาติตรง นับ 3 ชั้น, ญาติทางแต่งงาน นับ 2 ชั้น)
4. เป็น/เคยเป็นผู้แทนโดยชอบธรรม/ผู้พิทักษ์/ตัวแทนของคู่กรณี
5. เป็นเจ้าหนี้ / ลูกหนี้ / นายจ้าง ของคู่กรณี
เมื่อคู่กรณียื่นคัดค้านเจ้าหน้าทีี่ (กรรมการในคณะกรรมการที่มีอานาจพิจารณาทางปกครอง)
 หยุดการพิจารณา แล้วแจ้งผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งทราบ
 ประธานกรรมการเรียกประชุมพิจารณาเหตุคัดค้าน (องค์ประชุม กรรมการอย่างน้อยกึ่งหนึ่ง)
กรรมการที่ถูกคัดค้านชี้แจงข้อเท็จจริงแล้วให้ออกจากที่ประชุม
 ลงคะแนนเสียงแบบลับ ถ้าได้มากกว่า 2 ใน 3 ของจานวนกรรมการที่เหลืออยู่ ให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อได้
เพิ่มเติมนอกเหนือจากทั้ง 5 ข้อ กรณีอื่นๆที่เห็นว่ากรรมการที่มีอานาจพิจารณาทางปกครองซึ่งมีสภาพร้ายแรง
อันจะทาให้การพิจารณาทางปกครองไม่เป็นกลาง
 กรณีพิจารณาตนเอง แจ้งผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปหนึ่งขั้นหรือประธานกรรมการทราบ
 กรณีมีคู่กรณีคัดค้าน หากเห็นว่าตนไม่มีเหตุตามที่ถูกคัดค้าน ก็ทาหน้าที่ต่อได้ แต่ต้องแจ้งให้
ผู้บังคับบัญชาทราบ แล้วให้มีคาสั่ง/มติโดยไม่ชักช้าว่าจะให้มีอานาจพิจารณาต่อหรือไม่
** สิ่งที่ทาไปแล้วก่อนหน้าให้มีผลตามเดิม เว้นแต่ว่ากรรมการที่มาทาหน้าที่แทนเห็นว่าควรเปลี่ยน
** กรณีที่เปลี่ยนกรรมการเนื่องจากขาดคุณสมบัติตั้งแต่แรกหรือมีลักษณะต้องห้าม สิ่งที่ทาไปแล้วไม่ถูกกระทบ
เนื่องจากทาไปตามอานาจหน้าที่
ผู้มีความสามารถกระทา  บรรลุนิติภาวะ
การในกระบวนการ  ผู้ซึ่งมีบทกฎหมายเฉพาะกาหนด / มีประกาศของนายก / นายกมอบหมายในราชกิจจานุเบกษา
พิจารณาทางปกครองได้ ให้มีความสามารถกระทาการในเรื่องที่กาหนดได้ แม้ว่าจะยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือถูกจากัดตาม
(คู่กรณี) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
 นิติบุคคล / คณะบุคคล โดยผู้แทนหรือตัวแทน
ผู้แทน ของคู่กรณี  คู่กรณีต้องมาปรากฏตัวต่อเจ้าหน้าที่ ** มีสิทธิ์นาทนายความ / ที่ปรึกษา เข้ามาในการพิจารณาทาง
ปกครองได้ สิ่งที่ทาต่อหน้าคู่กรณี ถ้าไม่คัดค้านตอนนั้น ถือว่าเป็นการกระทาของคู่กรณี
 คู่กรณีสามารถทาหนังสือแต่งตั้งผู้แทน ให้ทาแทนตนในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง (ในเรื่องที่
ทาแทนไม่ได้เจ้าหน้าที่จะแจ้งคู่กรณีให้มาเอง และคู่กรณีต้องแจ้งผู้แทนให้ทราบด้วย)
 เจ้าหน้าที่สามารถแจ้งคู่กรณีได้ หากเห็นว่าผู้แทนไม่เหมาะสมกับการทาหน้าที่
 ถึงแม้คู่กรณีจะเสียชีวิตแล้ว ผู้แทนของคู่กรณียังคงมีสิทธิ์ตามเติม เว้นแต่ผู้สืบสิทธิตามกฎหมายถอนการ
แต่งตั้ง
ผู้แทนร่วม คู่กรณี/ผู้ยื่นคาขอมากกว่า 50 คน
 กรณีที่มีข้อความทานองเดียวกัน หากมีการระบุชื่อบุคคลเป็นตัวแทนหรือข้อความชวนให้เข้าใจเป็น
อย่างนั้น ให้ถือว่าบุคคลนั้นเป็นผู้แทนร่วมของคู่กรณีเล่านั้น
 กรณีัไม่ ที่ ได้กาหนดบุคคลเป็นตัวแทนร่วม ให้เจ้าหน้าที่แต่ตั้งบุคคลที่คู่กรณีฝ่ายข้างมากเห็นชอบเป็น
ตัวแทนร่วม
**ผู้แทนร่วม ต้องเป็น บุคคลธรรมดา ทั้งคู่กรณีและผู้แทนร่วมสามารถบอกยกเลิกการเป็นผู้แทนร่วมได้ แต่
ต้องทาหนังสือแจ้งเจ้าหน้าที่และอีกฝ่ายทราบ
การพิจารณารับเรื่อง/  เอกสารที่ยื่นต้องเป็นภาษาไทย หรือต้องทาคาแปลเป็นภาษาไทยและมีการรับรองความถูกต้อง เว้นแต่
เอกสาร ว่าเจ้าหน้าที่จะยอมรับเอกสารที่เป็นภาษาต่างประเทศนั้น
 เจ้าหน้าที่แจ้งสิทธิและหน้าที่ให้คู่กรณีทราบ
 กรณีเอกสารไม่ครบ และต้องนาเอกสารมายื่นภายใน 7 วัน (จนท.เขียนรายการเอกสารที่ขาด เซ็นชื่อ
กากับ และลงในบันทึกกระบวนการพิจารณาจัดทาคาสั่งทางปกครองนั้นด้วย)
 กรณีส่งเอกสารเพิ่มเติม เจ้าหน้าที่ไม่มีสิทธิขอเอกสารเพิ่มอีก เว้นแต่เป็นเอกสารจาเป็นและได้รับความ
เห็นชอบจากผู้บังคับบัญชา และให้ตรวจสอบความบกพร่องของเจ้าหน้าที่เพื่อดาเนินการทางวินัยต่อไป
 หากพ้นกาหนด 7 วันแล้วไม่มายื่นเอกสารเพิ่ม ถือว่ายกเลิกคาขอ ให้เจ้าหน้าที่ส่งเอกสารคืนพร้อมแจ้ง
สิทธิ์ในการอุทธรณ์ และบันทึกการดาเนินการดังกล่าวไว้
การพิจารณาทางปกครอง เจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงและพิจารณาพยานหลักฐานที่เห็นว่าจาเป็นแก่การพิสูจน์ข้อเท็จจริง
(หาหลักฐาน/ข้อมูล)  หาพยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง
 รับฟังพยานหลักฐาน / คาชี้แจง / ความเห็นของคู่กรณีหรือพยานที่คู่กรณีกล่าวอ้าง เว้นแต่จะเห็นว่าไม่
จาเป็น ฟุ่มเฟือย ประวิงเวลา
 ขอข้อเท็จจริงหรือความเห็นจากคู่กรณี / พยานบุคคล / พยานผู้เ ชี่ยวชาญ (พยานได้ค่าป่วยการ)
 ขอให้ผู้ครอบครองเอกสารส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง
 ออกไปตรวจสถานที่
** หากไม่มีกฎหมายกาหนดระยะเวลาในการออกคาสั่ง ให้ออกคาสั่ง ภายใน 30 วัน หลังได้รับคาขอ
คาสั่งทางปกครองกระทบ เจ้าหน้าที่ต้องระบุเหตุผล ยกเว้นกรณี
สิทธิคู่กรณี  เมื่อจาเป็นรีบด่วน หากปล่อยให้ช้าจะทาให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อผู้อื่น/ประโยชน์สาธารณะ
 เมื่อจะมีผลกระทบต่อระยะเวลาในการทาคาสั่งทางปกครองต้องล่าช้า
 เมื่อเป็นข้อเท็จจริงที่คู่กรณีให้ไว้ในคาขอ / คาให้การ / คาแถลง
 เมื่อเห็นได้ชัดว่าการให้โอกาสไม่อาจทาได้
 เมื่อเป็นมาตรการบังคับทางปกครอง
การขอตรวจดูเอกสารคา  คู่กรณีมีสิทธิขอดูเอกสารที่จาเป็นต้องรู้เพื่อการโต้แย้งหรือชี้แจงป้องกันสิทธิ เมื่อทาเป็นคาสั่งปกครอง
วินิจฉัย แล้วเท่านั้น และมีค่าใช้จ่ายในการตรวจดูเอกสารหรือทาสาเนา
 เอกสาร/หลักฐานที่ต้องรักษาไว้เป็นความลับ ไม่สามารถขอตรวจดูได้
รูปแบบและผลของคาสั่ง  หนังสือ / วาจา / การสื่อความหมายรูปแบบอื่น แต่ต้องมีข้อความหรือความหมายที่ชัดเจนเพียงพอที่จะ
เข้าใจได้
 คาสั่งวาจา ถ้าผู้รับคาสั่งร้องขอภายใน 7 วันที่ได้รับคาสั่ง เจ้าหน้าที่ต้องยืนยันคาสั่งเป็นหนังสือ
 ** คาสั่งทางปกครอง ให้มีผลใช้ยันต่อบุคคลตั้งแต่ขณะที่ผู้นนั้ ได้รบั แจ้งเป็นต้นไป จนกว่าจะสิ้นผล
ตามเงื่อนไข หรือมีการเพิกถอน
คาสั่งหนังสือ  ต้องระบุ วัน เดือน ปีที่ออกคาสั่ง ชื่อ ลายมือชื่อ และตาแหน่งของเจ้าหน้าที่ผู้ทาคาสั่ง
 ต้องจัดให้มีเหตุผล อย่างน้อยต้องประกอบด้วย
1. ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ
2. ข้อกฎหมายที่อ้างอิง
3. ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินิจ
 ยกเว้นการเขียนเหตุผลในกรณี
1. เป็นกรณีที่มีผลตรงตามคาขอและไม่กระทบสิทธิและหน้าที่ของบุคคลอื่น
2. เหตุผลนั้นเป็นที่รู้กันอยู่แล้ว ไม่จาเป็นต้องระบุอีก
3. เป็นกรณีที่ต้องรักษาไว้เป็นความลับ
4. เป็นการออกคาสั่งวาจาเป็นกรณีเร่งด่วน (และต้องให้เหตุผลเป็นลายลักษณ์อักษรในเวลาอัน
ควรหากผู้ในบังคับนั้นร้องขอ) ข้อยกเว้น ไม่ใช้กับกฎกระทรวง***
การกาหนดเงื่อนไขใน สามารถกาหนดได้เท่าที่จาเป็น เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกฎหมาย รวมถึงกรณีต่อไปนี้
คาสั่งทางปกครอง  การกาหนดสิทธิหรือหน้าที่ เริ่มมีผลหรือสิ้นผล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง
 การเริ่มมีผลหรือสิ้นผลหรือภาระหน้าที่ ต้องขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ในอนาคตที่ไม่แน่นอน
 ข้อสงวนสิทธิที่จะยกเลิกคาสั่งทางปกครอง
 การกาหนดให้ยอมให้มีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มข้อกาหนดดังกล่าว
คาสั่งที่ไม่สมบูรณ์  การออกคาสั่งโดยที่ยังไม่มีผู้ยื่นคาขอ .. ถ้ามีผู้มายื่นในภายหลัง ถือว่าคาสั่งสมบูรณ์
จะใช้ได้เมื่อ  คาสั่งที่ไม่ระบุเหตุผลในการออกคาสั่ง .. ถ้าระบุเพิ่มเติมเรียบร้อยแล้ว ถือว่าคาสั่งสมบูรณ์
 คาสั่งที่เกิดจากการไม่รับฟังคู่กรณีก่อน .. ถ้ามีการรับฟังเพิ่มเติม ถือว่าคาสั่งสมบูรณ์
 คาสั่งที่ต้องให้เจ้าหน้าที่อื่นเห็นชอบก่อน .. ถ้าเจ้าหน้าที่นั้นให้ความเห็นชอบแล้ว ถือว่าคาสั่งสมบูรณ์
การอุทธรณ์คาสั่งทาง  คู่กรณีอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองให้ยื่นหนังสืออุทธรณ์ภายใน 15 วัน หลังได้รับแจ้ง
ปกครอง  การอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคาสั่งทางปกครอง เว้นแต่จะมีการสั่งให้ทุเลา
 คาสั่งที่อาจอุทธรณ์/โต้แย้งได้ ต้องระบุกรณีที่อาจอุทธรณ์หรือโต้แย้ง การยื่นคาอุทธรณ์ และระยะเวลา
ในการอุทธรณ์ไว้ด้วย (ปกติกาหนด 15 วัน หลังได้รับคาสั่ง) ถ้าไม่ระบุไว้ ให้ระยะเวลาในการอุทธรณ์
เริ่มนับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้ง ถ้ามีระยะเวลาสั้นกว่า 1 ปี ให้ขยายเป็น 1 ปีนับแต่วันที่ได้รับคาสั่งทาง
ปกครอง
ขั้นตอนการอุทธรณ์คาสั่ง  เจ้าหน้าที่ต้องพิจารณาให้เสร็จภายใน 30 วันหลังจากได้รับเรื่อง
ทางปกครอง  หากเห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ให้ดาเนินการเปลี่ยนแปลงคาสั่งทางปกครอง ภายในวันที่กาหนด
 หากไม่เห็นด้วย ทารายงานส่งต่อให้ผู้มีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์ภายในเวลาที่กาหนดข้างต้น
o ผู้มีอานาจ พิจารณาคาอุทธรณ์ภายใน 30 วันหลังจากได้รับรายงาน ขยายได้อีก 30 วัน
 การพิจารณาทบทวนคาสั่งทางปกครอง ทาได้ไม่ว่าจะเป็นปัญหา / ข้อเท็จจริง / ข้อกฎหมาย /ความ
เหมาะสมของคาสั่ง และอาจมีอานาจเพิงถอนหรือเปลี่ยนแปลงคาสั่งเดิมได้
*** การอุทธรร์คาสั่งของคณะกรรมการต่างๆ สามารถส่งไปที่คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตามกฎหมายว่า
ด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา ภายใน 90 วัน หลังได้รับคาสั่ง จนกว่าจะได้รับการวินิจฉัยชี้ขาด ให้อายุความสะดุด
หยุดอยู่ จนกว่าการพิจารณาจะถึงที่สุด แต่ถ้ามีการถอนคาขอ/ทิ้งคาขอ ให้นับอายุความเหมือนไม่เคยสะดุดหยุด
การเพิกถอนคาสั่ง  ทาภายใน 90 วัน นับแต่วันที่ได้รู้ถึงเหตุที่จะให้เพิกถอน
 การเพิกถอนคาสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็นการให้เงิน ให้คานึงถึง ประโยชน์สาธารณะ และ ความ
เชื่อโดยสุจริต ของผู้ได้รับประโยชน์ (ได้ใช้ประโยชน์จากคาสั่งไปแล้ว ไม่อาจแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงได้
เนื่องจากจะก่อให้เกิดความเสียหายเกินควร)
 ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเพิกถอนคาสั่ง จะได้รับค่าทดแทนความเสียหาย ภายใน 180 วันนับแต่
วันที่ได้รับแจ้งให้เพิกถอนคาสั่ง (ค่าทดแทนต้องได้น้อยกว่าผลประโยชน์จากคาสั่งเดิม)
คาสั่งทางปกครองที่อ้าง  ผู้รับคาสั่งแสดงข้อความอันเป็นเท็จ / ปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง การข่มขู่ ชักจูงใจโดยการให้
เหตุผลความเชื่อโดยสุจริต ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ไม่ได้  ผู้รับคาสั่งให้ข้อความที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนในสาระสาคัญ
 ผู้รับคาสั่งรู้ว่าคาสั่งผิดพลาดแต่ตั้งใจให้เกิดขึ้น .. ให้รับผิดชอบการคืนเงิน หรือประโยชน์เต็มจานวน
 การเพิกถอนที่มีผลย้อนหลัง การคืนเงิน ทรัพย์สิน/ประโยชน์ที่ผู้รับคาสั่งได้ไป ให้นาบัญญัติว่าด้วย
ลาภมิควรได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิช
การขอให้พิจารณาใหม่ การขอให้พิจารณาใหม่หลังจากพ้นกาหนดอุทธรณ์ ทาได้ในกรณี
 มีพยานหลักฐานใหม่ ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในสาระสาคัญ
 คู่กรณีที่แท้จริงไม่ได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณา หริัอถูกตัดโอกาสโดยไม่เป็นธรรมในการมีส่วนร่วม
 เป็นคาสั่งจากเจ้าหน้าที่ที่ไม่มีอานาจที่จะทาคาสั่ง
 ข้อกฎหมาย/ข้อเท็จจริงเปลี่ยนแปลงไปในสาระสาคัญที่เป็นประโยชน์ต่อคู่กรณี
*** การยื่นคาขอให้พิจารณาใหม่ ต้องทาภายใน 90 วัน นับแต่ผู้นั้นรู้ถึงเหตุที่อาจก่อให้เกิดการพิจารณาใหม่ได้
การบังคับทางปกครอง o เจ้าหน้าที่เข้าทาแทน แล้วให้ชดใช้ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มในอัตรา 25% ต่อปี
ยกเลิกของปี 39 ทั้งหมด o ให้ชาระค่าปรับทางปกครอง แต่ต้องไม่เกิน 20,000 บาทต่อวัน
การบังคับทางปกครอง**  การบังคับทางปกครองไม่ให้บังคับกับหน่วยงานของรัฐด้วยกัน เว้นแต่จะมีกฎหมายกาหนดเพิ่ม
ใหม่ 62  เจ้าหน้าที่ผู้ทาคาสั่งมีอานาจในการพิจารณาใช้มาตรการบังคับทางปกครอง เท่าที่จาเป็นเพื่อให้เป็นไป
ตามคาสั่งของตน เว้นแต่จะมีคาสั่งให้ทุเลาการบังคับไว้ก่อน
o ถ้าบทกฎหมายใดกาหนดมาตรการบังคับทางปกครองไว้โดยเฉพาะ แต่เห็นว่าการใช้มาตรการ
นั้นเกิดผลน้อยกว่ามาตรการบังคับตามหมวดนี้ สามารถใช้มาตรการของหมวดนี้บังคับแทนได้
 ถ้าผู้อยู่ในมาตรการบังคับทางปกครองนี้ตาย ให้ดาเนินการบังคับทางปกครองต่อไป แก่ทายาทผู้รับ
มรดก/ผู้จัดการมรดก ให้ถือว่าบุคคลนั้นเป็นผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับฯ
o ให้แจ้งทายาทผู้รับมรดา/ผู้จัดการมรดกทราบ และให้ระยะเวลาอุทธรณ์การใช้มาตรการบังคับ
ทางปกครองเริ่มใหม่ตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้ง เฉพาะกรณี
 เมื่อตายก่อนสิ้นสุดระยะเวลาอุทธรณ์และไม่ได้ยื่นอุทธรณ์
 ตายหลังสิ้นสุดเวลาอุทธรณ์แต่ไม่ได้อุทธรณ์เนื่องด้วยความจาเป็นบางอย่างและ
ไม่ได้เกิดจากความผิดของผู้นั้น
 กรณีการใช้มาตรการบังคับทางปกครองแก่นิติบุคคล หากนิติบุคคลนั้นสิ้นสภาพ / โอนกิจการ / ควบ
รวมกิจการ ให้บังคับต่อไป โดยแจ้งผู้ชาระบัญชี / นิติบุคคลที่รับโอนกิจการ โดยไม่จาเป็นต้องออก
คาสั่งใหม่ให้แก่บุคคลหรือนิติบุคคลนั้นอีก ** ใช้หลักเกณฑ์เหมือนกรณีตาย
 การอุทธรณ์มาตรการบังคับทางปกครอง เหมือนการอุทธรณ์คาสั่งทางปกครอง
การบังคับตามคาสั่งทาง การบังคับโดยเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ
ปกครองที่กาหนดให้ชาระ  กรณีที่เจ้าหน้าที่มีคาสั่งให้ชาระเงิน เมื่อถึงกาหนดแล้วไม่มีการชาระโดยถูกต้องครบถ้วน
เงิน o เจ้าหน้าที่ทาหนังสือเตือน กาหนดระยะเวลาต้องไม่น้อยกว่า 7 วัน
o ถ้าไม่ปฏิบัติตามให้ใช้มาตรการบังคับฯโดยแต่งตั้ง “เจ้าพนักงานบังคับทางปกครอง”ทา
หน้าที่ยึด / อายัดทรัพย์สิน และขายทอดตลาดเพื่อชาระเงินให้ครบถ้วน
 หน่วยงานของรัฐที่ออกคาสั่งให้ชาระเงิน ต้องดาเนินการยึด / อายัดทรัพย์สิน ภายใน 10 ปี นับแต่วันที่
คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินเป็นที่สุด ได้แก่กรณีต่อไปนี้
o ไม่มีการอุทธรณ์คาสั่งภายในระยะเวลาอุทธรณ์
o มีคาวินิจฉัยยกอุทธรณ์ และไม่ได้ฟ้องศาลภายในระยะเวลาการฟ้องคดี
o ศาลมีคาสั่ง/พิพากษายกฟ้อง หรือเพิกถอนคาสั่งบางส่วนและคดีถึงที่สุดแล้ว
 การยึด / อายัดทรัพย์สิน ถ้าทาแล้วแต่ยังได้รับชาระเงินไม่ครบ ถ้าพ้นเวลา 10 ปี อายัดเพิ่มอีกไม่ได้
 การขายทอดตลาด ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายอื่นในการบังคับทางปกครอง ให้ทาได้แม้จะพ้น
เวลาที่กาหนด (10 ปี)
 กรณีอุทธรณ์การใช้มาตรการบังคับ ให้ทุเลาการบังคับก่อน แล้วกาหนดเงื่อนไขให้ปฏิบัติ
 เจ้าหน้าที่ผู้ออกคาสั่งมาตรการบังคับ มีอานาจ (อาจให้สนง.อัยการสูงสุดทาแทน)
o มีหนังสือสอบถามสถาบันการเงินหรืออื่นๆที่เกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้อยู่ในบังคับ
o มีหนังสือขอให้นายทะเบียนระงับการจดทะเบียน/การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับทรัพย์สิน
หน่วยงานทั้งสองไม่ถือว่าทาผิด แต่ถ้าไม่ให้ถือว่ามีความผิดขัดคาสั่งเจ้าพนักงาน
 การสืบหาทรัพย์ กรณีต้องชาระมูลค่ามากกว่า 2,000,000 ให้เอกชนสืบหาทรัพยย์สินแทนได้
o เอกชนได้ค่าตอบแทนไม่เกินร้อยละ 2 ½ จากทรัพย์สินที่สืบพบได้
o จานวนเงินค่าตอบแทนสูงสุดต้องไม่เกิน 1,000,000 ต่อจานวนเงินทีต่ ้องชาระ
 การยึด / อายัด / ขายทอดตลาด ให้ตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
o เจ้าหนี้ตามคาพิพากษา (หน่วยงานของรัฐที่ออกคาสั่งให้ชาระเงิน)
o ลูกหนีต้ ามคาพิพากษา (ผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง)
o พนักงานบังคับคดี (เจ้าพนักงานบังคับทางปกครอง)
การบังคับโดยเจ้าพนักงานบังคับคดี
 เป็นเจ้าหน้าที่สังกัดกรมบังคับคดี
 เมื่อมีคาสั่งทางปกครองที่มีกาหนดให้ชาระเงินเป็นที่สุด ให้ยื่นให้ศาลดาเนินการออกหมายบังคับคดี
 รายละเอียดเยอะมาก ... ขอข้าม
ค่าปรับบังคับการ ค่าปรับที่เจ้าหน้าที่สั่งให้ผู้ที่ฝ่าฝืนคาสั่งทางปกครอง ชาระเป็นรายวัน จนกว่าจะยุติการฝ่าฝืนคาสั่ง
 ต้องทาหนังสือเตือน แจ้งมาตรการบังคับ ค่าใช้จ่าย ค่าปรับบังคับการ ค่าเงินเพิ่มรายวันในการที่
เจ้าหน้าที่ต้องดาเนินการด้วยตนเอง และอาจเรียกเพิ่มเติมหากค่าใช้จ่ายจริงมากกว่าที่กาหนดไว้
 ต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มรายวันในอัตรา 25% ต่อปี ของค่าใช้จ่ายดังกล่าว
 ค่าปรับบังคับการต้องไม่เกิน 50,000 บาท/วัน
กรณีที่ต้องบังคับโดยเร่งด่วน เป็นความเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะ อาจใช้มาตรการบังคั บฯได้โดยไม่
ต้องรอออกคาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้กระทาหรือเว้นกระทาก่อนก็ได้
ระยะเวลา  การกาหนดเวลาเป็นวัน สัปดาห์ เดือน ปี ไม่ให้นับวันแรกของระยะเวลานั้น (ให้นับวันต่อมา)
 กรณีเจ้าหน้าที่ต้องกระทาการใด วันสิ้นสุด ให้นับวันสุดท้ายของระยะเวลานั้นเลย ไม่ว่าจะตรงกับ
วันหยุดของเจ้าหน้าที่หรือไม่
 กรณีบุคคลใดต้องทาการใดภายในวันที่กาหนด ถ้าวันสุดท้ายตรงกับวันหยุดของเจ้าหน้าที่ ให้นับเพิ่มไป
อีก 1 วัน หรือเจ้าหน้าที่สามารถกาหนดขยายวันได้
 กรณีที่ไม่สามารถกระทาการภายในระยะเวลาที่เจ้าหน้าที่กาหนด เนื่องจากพฤติการณ์ที่จาเป็นที่ไม่ได้
เกิดจากความผิดของผู้นั้น สามารถยื่นคาขอภายใน 15 วัน หลังจากพฤติการณ์เช่นนั้นสิ้นสุดลง
การแจ้ง  แจ้งด้วยวาจาได้ ถ้าผู้นั้นขอให้ทาเป็นหนังสือ ก็ให้แจ้งเป็นหนังสือด้วย
 การแจ้งเป็นหนังสือ โดยให้บุคคลไปส่ง สามารถฝากผู้ซึ่งบรรลุนิติภาวะ หรือวางหนังสือ/ปิดหนังสือไว้
ในจุดที่เห็นได้ชัด โดยมีเจ้าพนักงานตามที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ไปด้วยเป็นพยาน
 การแจ้งโดยการส่งไปรษณีย์ตอบรับ ให้ถือว่าได้รับเมื่อครบ 7 วัน (ในประเทศ), 15 วัน (ต่างประเทศ)
 การแจ้งผู้รับเกิน 50 คน แจ้งโดยการปิดประกาศ ณ ที่ทาการของเจ้าหน้าที่ และ ที่ว่าการอาเภอ โดย
ถือว่าได้รับเมื่อล่วงพ้นระยะเวลา 15 วัน นับจากวันที่แจ้ง
 การแจ้งผู้รับเกิน 100 คน แจ้งโดยการประกาศในหนังสือพิมพ์ที่แพร่หลายในท้องถิ่นนั้น โดยถือว่า
ได้รับเมื่อล่วงพ้นระยะเวลา 15 วัน นับจากวันที่แจ้ง
 การแจ้งกรณีเร่งด่วนสามารถใช้วิธีส่งทางเครื่องโทรสารก่อนได้ การแจ้งต้องมีหลักฐานการได้ส่งจาก
หน่วยงานผู้จัดบริการโทรคมนาคมที่เป็นสื่อในการส่งโทรสารนั้น ระบุวัน เวลาแจ้ง และต้องแจ้งด้วยวิธี
อื่นตามที่กาหนดตามไปภายหลังด้วย .. กรณีนี้ถือว่าผู้รับได้รับคาสั่งตามวัน เวลาที่แจ้ง
คณะกรรมการที่มีอานาจดาเนินการพิจารณาทางปกครอง
พ้นตาแหน่งก่อนวาระ เมื่อ ตาย / ลาออก / ล้มละลาย / เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ / ได้รับโทษจาคุก / เหตุอื่นๆ
การนัดประชุมกรรมการ ต้องทาเป็นหนังสือแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วัน (กรณีนัดล่วงหน้าแจ้งในที่ประชุมแล้ว ไม่ต้องทาหนังสือแจ้งซ้าอีก ให้
ทาหนังสือแจ้งเฉพาะกรรมการที่ไม่ได้มาประชุม)

You might also like