You are on page 1of 18

แนวข้ อสอบ พรฎ.

ว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้ านเมือง


ทีด่ ี พ.ศ.2546

1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มีกี่หมวด กี่มาตรา 
1. 9 หมวด 53 มาตรา
2. 8 หมวด 52 มาตรา
3. 9 หมวด 54 มาตรา
4. 8 หมวด 54 มาตรา
2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ให้ไว้ ณ วันที่เท่าใด
1. 9 มกราคม 2546
2. 9 ตุลาคม 2546
3. 9 กุมภาพันธ์ 2546
4. 9 พฤศจิกายน 2546
3. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 นีใ้ ช้บังคับตัง้ แต่
1. วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 
2. ก่อนวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
4. ไม่มีข้อใดถูก
4. การปฏิบัตต
ิ ามพระราชกฤษฎีกานี ้ จะปฏิบัติเมื่อใด และต้องมี
เงื่อนไขอย่างใด ให้เป็ นไปตามที่ผู้ใดกำหนด
1. เลขาธิการรัฐมนตรีกำหนด
2. เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกำหนด
3. นายกรัฐมนตรีกำหนด
4. คณะรัฐมนตรีกำหนด

5. การปฏิบัตต
ิ ามพระราชกฤษฎีกานีจ
้ ะปฏิบัติเมื่อใด และต้องมี
เงื่อนไขอย่างใด ให้เป็ นไปตามที่ผู้ใดเสนอ
1. ก.พ.ร.
2. ครม.
3. กกต.
4. พ.ต.ท.
6. ตามพระราชกฤษฎีกานี ้ คำว่า “ส่วนราชการ” หมายถึง
1. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุง กระทรวง
ทบวง กรม
2. หน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของส่วนราชการฝ่ ายบริหาร
3. ถูกทัง้ ข้อ 1. และ 2.
4. ไม่มีข้อใดถูก
 7. ตามพระราชกฤษฎีนี ้ คำว่า “ส่วนราชการ” ไม่รวมถึง
1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
2. การปกครองส่วนภูมิภาค
3. การปกครองส่วนกลาง
4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
8. ตามพระราชกฤษฎีกานี ้ คำว่า “รัฐวิสาหกิจ” หมายความว่า
อย่างไร
1. รัฐวิสาหกิจที่จัดตัง้ ขึน
้ โดยพระราชบัญญัติ
2. รัฐวิสาหกิจที่จัดตัง้ ขึน
้ โดยพระราชกฤษฎีกา
3. รัฐวิสาหกิจที่จัดตัง้ ขึน
้ โดยกฎกระทรวง
4. ถูกหมดทัง้ 1. และ 2.
9. ตามพระราชกฤษฎีกานี ้ คำว่า “ข้าราชการ” ตามพระราช
กฤษฎีกานีห
้ มายความรวมถึงใครบ้าง
1. พนักงาน
2. ลูกจ้าง
3. ผู้ปฏิบัตงิ านในส่วนราชการ
4. ถูกทุกข้อ
10. ใครเป็ นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี ้
1. นายกรัฐมนตรี
2. รองนายกรัฐมนตรี
3. คณะรัฐมนตรี
4. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี

11. ข้อใดเป็ นการบริหารเพื่อบรรลุเป้ าหมายของการบริหาร


กิจการบ้านเมืองที่ดี
1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
์ ่อภารกิจของรัฐ
2. เกิดผลสัมฤทธิต
3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. ถูกหมดถูกข้อ
12. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีได้แก่การบริหารราชการเพื่อ
บรรลุเป้ าหมายดังข้อใด
1. ไม่มีขน
ั ้ ตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็ น
2. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทน
ั ต่อสถานการณ์
3. ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและการได้รับการตอบ
สนองความต้องการ
4. ถูกหมดทุกข้อ
13. การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน หมายถึง
ข้อใด
1. การปฏิบัติราชการที่มีเป้ าหมายเพื่อให้เกิดความผาสุกของ
ประชาชน
2. การปฏิบัติราชการที่มีเป้ าหมายเพื่อให้เกิดความเป็ นอยู่ที่ดีของ
ประชาชน
3. การปฏิบัติราชการที่มีเป้ าหมายเพื่อให้เกิดความสงบและ
ปลอดภัยของสังคมส่วนรวม
4. ถูกหมดทุกข้อ
14. การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ส่วน
ราชการจะดำเนินการโดยถือว่าประชาชนเป็ นเช่นใด
1. ประชาชนเป็ นมิตรกับส่วนราชการ
2. ส่วนราชการเป็ นศูนย์กลางของประชาชนในด้านการใช้อำนาจ
3. ประชาชนเป็ นศูนย์กลางในการได้รบ
ั การบริการจากภาครัฐ
4. ถูกหมดทุกข้อ
15. การกำหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้องเป็ นไปเพื่อ
อะไร
1. เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน 
2. เพื่อประโยชน์สุขของข้าราชการ
3. เพื่อประโยชน์สุขของหน่วยงานราชการ 
4. ถูกหมดทุกข้อ
16. การกำหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้องเป็ นไปเพื่อ
อะไร
1. เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
2. เพื่อให้สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐ
3. เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อ
รัฐสภา
4. ถูกหมดทุกข้อ
17. การปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการต้องเป็ นไปโดยข้อใด
1. ความซื่อสัตย์ สุจริต
2. สามารถตรวจสอบได้
3. เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน
4. ถูกหมดทุกข้อ
18. ข้าราชการมีหน้าที่ต้องคอยรับฟั ง ความคิดเห็นและความพึง
พอใจของสังคมโดยรวมเพื่ออะไร
1. เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชา
2. เพื่อให้มีการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติราชการให้เหมาะสม
3. ถูกทัง้ ข้อ 1. และ 2.
4. ไม่มีข้อใดถูก
19. ในกรณีที่เกิดปั ญหา และอุปสรรค จากการดำเนินการ ส่วน
ราชการต้องดำเนินการอย่างไร
1. แก้ไขปั ญหาและอุปสรรคนัน
้ โดยเร็ว
2. แก้ไขปั ญหาตามแผนของส่วนราชการนัน

3. รีบทำหนังสือปรึกษา ก.พ.ร.
4. รีบทำหนังสือปรึกษาคณะรัฐมนตรี
20. ส่วนราชการต้องดำเนินการแก้ไขปั ญหา และอุปสรรคนัน

แล้วต้องแจ้งให้ใครทราบ
1. ครม.
2. รมต.
3. ปปช.
4. ก.พ.ร.
21. กรณีที่ส่วนราชการกำหนดวิธีการปฏิบัติให้เหมาะสมกับ
ภารกิจแต่ละเรื่อง ให้ผู้ใดเป็ นผู้กำหนดแนวทางการดำเนินการ
ทั่วไป
1. ครม.
2. รมต.
3. บ.ข.ส.
4. ก.พ.ร.

22. การกำหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการ ให้สอดคล้องกับ


แนวนโยบายของรัฐ เป็ นการบริหารราชการแบบใด
์ ่อภารกิจของรัฐ 
1. เกิดผลสัมฤทธิต
2. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. เพื่อลดขัน
้ ตอนการปฏิบัติงาน
23. ในการบริหารราชการ ก่อนจะดำเนินการสิ่งใด ส่วนราชการ
ต้องดำเนินการตามข้อใด
1. แจ้งให้ประชาชนทราบก่อนเสมอ
2. โฆษณาประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ
3. วิเคราะห์ผลการปฏิบต
ั ิล่วงหน้าไว้ก่อน
4. จัดทำแผนปฏิบต
ั ิราชการไว้เป็ นการล่วงหน้า
24. การกำหนดแผนปฏิบต
ั ิราชการต้องมีรายละเอียดใดบ้าง
1. ระยะเวลาและงบประมาณ
2. ผลสัมฤทธิข์ องภารกิจ
3. ตัวชีว้ ัดความสำเร็จของภารกิจ
4. ถูกทุกข้อ
25. ส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการ
ปฏิบัตต
ิ ามแผนปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ส่วน
ราชการกำหนดขึน
้ ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานที่ใครกำหนด
1. ครม.
2. รมต.
3. ปปป.
4. ก.พ.ร.
26. ในกรณีที่การปฏิบต
ั ิภารกิจของราชการ เกิดผลกระทบต่อ
ประชาชนเป็ นหน้าที่ของผู้ใดต้องดำเนินการแก้ไข
1. ส่วนราชการ
2. หัวหน้าส่วนราชการ
3. เจ้าหน้าที่ทุกคนที่เกี่ยวข้อง
4. ก.พ.ร.
 
27. ให้ส่วนราชการมีหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติราชการของผู้วา่
ราชการจังหวัดหรือหัวหน้าคณะผู้แทนในต่างประเทศ เพื่ออะไร
1. เพื่อให้การบูรณาการงานต่างๆ ในจังหวัดหรือในต่างประเทศ
สามารถยืนยันตามแนว 
ทางเศรษฐกิจพอเพียง
2. เพื่อให้จังหวัดหรือในต่างประเทศแล้วแต่กรณี สามารถใช้
ติดต่อกับประชาชนได้โดย 
ตรงโดยใช้อำนาจตามกฎหมายได้ครบถ้วน
3. เพื่อให้การบริหารราชการแบบบูรณาการในจังหวัดหรือในต่าง
ประเทศ แล้วแต่กรณี
สามารถใช้อำนาจตามกฎหมายได้ครบถ้วนตามความจำเป็ นและ
บริหารราชการได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
4. เพื่อให้ประชาชนทัง้ ในและต่างประเทศสามารถใช้อำนาจตาม
กฎหมายได้ครบถ้วนตาม
ความจำเป็ นและบริหารราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
28. ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้เพื่อให้มีลักษณะเป็ น
องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอโดยปฏิบต
ั ิอย่างไร
1. ต้องสามารถรับรู้ข่าวสารอย่างถูกต้องรวดเร็ว
2. ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ
3. สร้างวิสัยและปรับเปลีย
่ นทัศนคติของข้าราชการในสังกัด
4. ถูกทุกข้อ
29. เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดสัมฤทธิ ์ ผู้ใดอาจ
เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดมาตรการกำกับการปฏิบัติ
ราชการ
1. ส่วนราชการ
2. รมต. 
3. ผู้วา่ ราชการจังหวัด
4. ก.พ.ร.
30. เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ ์ ก.พ.ร.
อาจเสนอต่อใคร เพื่อกำหนดมาตรการกำกับการปฏิบัติราชการ
1. ครม.
2. รมต.
3. รัฐสภา
4. วุฒิสภา

31. คณะรัฐมนตรีจัดให้มีแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ตลอด


ระยะเวลาการบริหารราชการของคณะรัฐมนตรี เมื่อคณะ
รัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาแล้วหน่วยงานใดมีหน้าที่จัด
ทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เสนอคณะรัฐมนตรี
1. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
2. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง
ชาติ
3. สำนักงบประมาณ
4. ถูกทุกข้อ
32. หน่วยงานดังกล่าวในข้อ 31. จำเป็ นต้องเสนอคณะรัฐมนตรี
พิจารณาภายในกี่วน

1. 30 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรัฐสภา
2. 60 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรัฐสภา
3. 90 วันวันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรัฐสภา
4. 120 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรัฐสภา
33. ผลจากข้อ 32. เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบใน
แผนการบริหารราชการแผ่นดินตามข้อ 32. แล้วจักมีผลการใด
1. มีผลถือว่าเสร็จสิน
้ ตามแผนการบริหารราชการแผ่นดินทุก
ประการ
2. มีผลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรีสน
ิ ้ สุดการดำเนินการตาม
แผนการบริหารราชการ
แผ่นดินนัน

3. มีผลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่วนราชการ ที่จะต้อง
ดำเนินการจัดทำภารกิจให้
เป็ นไปตามแผนการบริหารราชการแผ่นดินนัน

4. มีผลผูกพันกับรัฐมนตรี และส่วนราชการที่จะต้องดำเนินการ
จัดทำภารกิจให้เป็ นไปตามแผนการบริหารราชการแผ่นดินนัน

34. เมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาแล้ว ส่วน
ราชการใด ต้องจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
1. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และสำนักเลขาธิการนายก
รัฐมนตรี
2. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง
ชาติ
3. สำนักงบประมาณ
4. ถูกทุกข้อ

35. เมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาแล้ว ส่วน


ราชการต้องจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เสนอคณะ
รัฐมนตรีพิจารณาภายในกี่วัน
1. 80 วัน
2. 90 วัน
3. 100 วัน
4. 120 วัน
36. ตามข้อ 35. เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาภายในกำหนดเวลา
นับจากวันใด
1. วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
2. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3. วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรัฐสภา
4. ถูกทุกข้อ
 37. เมื่อรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบในแผนการบริหารราชการ
แผ่นดิน ให้มีผลผูกพันกับใครบ้าง
1. ครม.
2. รมต.
3. ส่วนราชการ
4. ถูกทุกข้อ
38. จากการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดินตามมาตรา 13
ให้จัดทำเป็ นแผนกำหนดกี่ปี
1. 3 ปี
2. 4 ปี
3. 5 ปี
4. 6 ปี
39. เมื่อมีการประกาศใช้บังคับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
แล้ว หน่วยงานใดต้องพิจารณาจัดทำแผนนิติบัญญัติ
1. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
2. สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
3. ทัง้ 1. และ 2. ร่วมกันพิจารณาจัดทำแผนนิตบ
ิ ัญญัติ
4. ไม่มีข้อใดถูก

40. แผนนิตบ
ิ ัญญัติ ตามข้อ 39. มีรายละเอียดอะไรบ้าง
1. มีรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายที่จะต้องจัดให้มีขน
ึ ้ ใหม่
2. มีรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายที่ต้องมีการแก้ไขเพิ่มเติม
3. มีรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายที่ยกเลิกให้สอดคล้องกับ
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 
ส่วนราชการผู้รับผิดชอบและระยะเวลาที่ต้องดำเนินการ
4. ถูกทุกข้อ
เฉลยแนวข้ อสอบ พรฎ.ว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้ าน
เมืองทีด่ ี พ.ศ.2546
1. คำตอบ 1 9 หมวด 53 มาตรา 
2. คำตอบ 2 9 ตุลาคม 2546
3. คำตอบ 3 วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
4. คำตอบ 4 คณะรัฐมนตรีกำหนด
5. คำตอบ 1 ก.พ.ร. (มาตรา 3)
6. คำตอบ 3 ถูกทัง้ 1. และ 2. (มาตรา 4)
7. คำตอบ 4 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (มาตรา 4)
8. คำตอบ 4 ถูกหมดทัง้ 1 และ 2 (มาตรา 4)
9. คำตอบ 4 ถูกทุกข้อ (มาตรา 4)
10. คำตอบ 1 นายกรัฐมนตรี (มาตรา 5)
11. คำตอบ 4 ถูกหมดทุกข้อ (หมวดที่ 1 มาตรา 6)
12. คำตอบ 4 ถูกหมดทุกข้อ (หมวดที่ 1 มาตรา 6)
13. คำตอบ 4 ถูกหมดทุกข้อ (หมวดที่ 2 มาตรา 7)
14. คำตอบ 3 ประชาชนเป็ นศูนย์กลางในการได้รบ
ั บริการจาก
ภาครัฐ (หมวดที่ 2 มาตรา 8)
15. คำตอบ 1 เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน (หมวดที่ 2
มาตรา 8(1))
16. คำตอบ 4 ถูกหมดทุกข้อ (หมวดที่ 2 มาตรา 8 (1))
17. คำตอบ 4 ถูกหมดทุกข้อ (หมวดที่ 2 มาตรา 8 (2))
18. คำตอบ 3 ถูกทัง้ ข้อ 1 และ 2 (หมวดที่ 2 มาตรา 8 (4)
19. คำตอบ 1 แก้ไขปั ญหาและอุปสรรคนัน
้ โดยเร็ว (หมวดที่ 2
มาตรา 8(5))
20. คำตอบ 4 ก.พ.ร. (หมวดที่ 2 มาตรา 8 (5))
21. คำตอบ 4 ก.พ.ร. (หมวดที่ 2 มาตรา 8 วรรคสุดท้าย)
22. คำตอบ 2 เกิดประโยชน์สุขของประชาชน (หมวดที่ 2 มาตรา
8(1)
23. คำตอบ 4 จัดทำแผนปฏิบต
ั ิราชการไว้เป็ นการล่วงหน้า (หมว
ดที่ 3 มาตรา 9(1))
24. คำตอบ 4 ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 3 มาตรา 9 (2))
25. คำตอบ 4 ก.พ.ร. (หมวดที่ 3 มาตรา 9 (3))
26. คำตอบ 1 ส่วนราชการ (หมวดที่ 3 มาตรา 9 (4))
27. คำตอบ 3 (มาตรา 10 วรรค 2)
 28. คำตอบ 4 ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 3 มาตรา 11)
29. คำตอบ 4 ก.พ.ร. (หมวดที่ 3 มาตรา 12)
30. คำตอบ 1 ครม. (หมวดที่ 3 มาตรา 12)
31. คำตอบ 4 ทุกข้อที่กล่าวมาต้องร่วมกันจัดทำแผน เสนอคณะ
รัฐมนตรี (หมวดที่ 3 มาตรา 13)
32. คำตอบ 3 90 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อ
รัฐสภา (หมวดที่ 3 มาตรา 13 ว.2)
33. คำตอบ 3 (หมวดที่ 3 มาตรา 13 ว.3)
34. คำตอบ 4 ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 3 มาตรา 13 วรรค 2)
35. คำตอบ 2 90 วัน (หมวดที่ 3 มาตรา 13 วรรค 2)
36. คำตอบ 3 วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรัฐสภา (หมวด
ที่ 3 มาตรา 13 วรรค 2)
37. คำตอบ 4 ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 3 มาตรา 13 วรรค 3)
38. คำตอบ 2 4 ปี (หมวดที่ 3 มาตรา 14)
39. คำตอบ 3 ทัง้ 1. และ 2. ร่วมกันพิจารณาจัดทำแผนฯ (หมว
ดที่ 3 มาตรา 15)
40. คำตอบ 4 ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 3 มาตรา 15)

You might also like