You are on page 1of 105

วิชาความรู้และลักษณะการเป็ นข้าราชการที่ดี ****อัพเดท 2564

1. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม มีชื่อย่อตามข้อใด


1. ก.ม.ส. 2. ก.ม.จ.
3. ก.ม.อ. 4. ก.ท.ม.
2. องค์กรใดมีอานาจกาหนดหลักเกณฑ์เป็ นระเบียบ คู่มือ หรื อแนวทางปฏิบตั ิเพื่อให้องค์กรกลางบริ หารงาน
บุคคลและ หน่วยงานของรัฐ ปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรม
1. ก.ม.จ 2. สานักงาน ก.พ.
3. คณะรัฐมนตรี 4. ก.พ.ร.
3. ข้อใดคือวาระในการดารงตาแหน่งของกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิใน ก.ม.จ.
1. 2 ปี ติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระ
2. 3 ปี ติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระ
3. 4 ปี ติดต่อกันไม่เกิน 3 วาระ
4. 5 ปี ติดต่อกันไม่เกิน 3 วาระ
4. ข้อใดเป็ นหลักในการบริ หารราชการตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
1. ความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ
2. เพื่อลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป็ น
3. การลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
4. ถูกทุกข้อ
5. ข้อใดไม่ใช่หลักการในการจัดสรรงบประมาณตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
1. เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ
2. เพื่อลดภารกิจและยกเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป็ น
3. เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
4. ความมีประสิ ทธิภาพ
6. การจัดระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน มีกี่รูปแบบ
1. 1 รู ปแบบ 2. 2 รู ปแบบพิเศษ
3. 3 รู ปแบบ 4. 5 รู ปแบบ
7. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อนและสานักงบประมาณมีหน้าที่เสนอความเห็นในการแบ่ง
ส่ วนราชการ ภายในและในการกาหนดอานาจหน้าที่ของแต่ละส่ วนราชการต่อใคร
1. คณะรัฐมนตรี 2. นายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวง 4. รองนายกรัฐมนตรี
8. ใครเป็ นผูอ้ อกกฎกระทรวงเพื่อแบ่งส่ วนราชการ
1. นายกรัฐมนตรี 2. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี 4. รัฐมนตรี เจ้าสังกัด
9. การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอาเภอ ให้ตราเป็ น
1. พ.ร.บ. 2. พระราชกาหนด
3. พระราชกฤษฎีกา 4. ประกาศกระทรวงมหาดไทย
10. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยและประนีประนอมข้อพิพาทของประชาชน
1. นายอาเภอเป็ นผูม้ ีหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทคู่กรณี ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งมีภูมิลาเนาอยูใ่ น
อาเภอ
2. มีคณะบุคคลผูท้ าหน้าที่ไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทโดยความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการจังหวัด ซึ่งคัดจากบุคคลที่มีความรู้หรื อประสบการณ์เหมาะสม
3. เป็ นข้อพิพาททางแพ่งเกี่ยวกับที่ดินและมรดกโดยไม่จากัดทุนทรัพย์
4. ผูเ้ ป็ นประธานคณะบุคคลทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท ได้แก่ นายอาเภอ พนักงาน
อัยการประจา จังหวัด หรื อปลัดอาเภอ
11. ข้อใดไม่ใช่เป้ าหมายของการบริ หารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
1. เกิดความผาสุ กและความเป็ นอยูท่ ี่ดีของประชาชน
2. เกิดความสงบและปลอดภัยของสังคมส่ วนรวม
3. เกิดประโยชน์สูงสุ ดของสังคม
4. ไม่มีขอ้ ถูก
12. การจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการไว้เป็ นการล่วงหน้า ต้องระบุรายละเอียดใด
1. เป้ าหมายของภารกิจ 2. ผลสัมฤทธิ์ ของภารกิจ
3. ตัวชี้วดั ความสาเร็ จของภารกิจ 4. ถูกทุกข้อ
13. กรณี องค์กรมหาชนหรื อรัฐวิสาหกิจใดไม่จดั ให้มีหลักเกณฑ์การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีใครเป็ นผูม้ ี
อานาจ พิจารณาสั่งการให้องค์การมหาชนหรื อรัฐวิสาหกิจนั้นดาเนินการให้ถูกต้อง
1. สานักนายกรัฐมนตรี 2. คณะรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี ที่กากับดูแลองค์การมหาชนหรื อรัฐวิสาหกิจ
4. ก.พ.ร.
14. ใครเป็ นผูจ้ ดั ทาบัญชีตน้ ทุนในงานบริ การสาธารณะ
1. ส่ วนราชการ 2. ก.พ.ร.
3. กรมบัญชีกลาง 4. คณะรัฐมนตรี
15. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการจัดซื้ อหรื อจัดจ้าง
1. ในการจัดซื้ อหรื อจัดจ้าง ให้ส่วนราชการดาเนินการโดยเปิ ดเผยและเที่ยงธรรม
2. ในการจัดซื้ อหรื อจัดจ้าง ให้ส่วนราชการพิจารณาถึงประโยชน์และผลเสี ยทางสังคมภาระต่อ
ประชาชน
3. การจัดซื้ อหรื อจัดจ้างในกรณี ที่วตั ถุประสงค์ในการใช้เป็ นเหตุให้ตอ้ งคานึงถึงคุณภาพและการ
ดูแลรักษาเป็ นสาคัญ
4. ถูกทุกข้อ
16. ส่ วนราชการที่มีอานาจอนุญาต พิจารณาในเรื่ องใด ต้องประกาศกาหนดระยะเวลาการพิจารณาไว้ให้
ส่ วนราชการ อื่นทราบ หากว่าเรื่ องใดมีการกาหนดขั้นตอนการปฏิบตั ิและขั้นตอนการปฏิบตั ิน้ นั ต้องใช้
ระยะเวลาเกินกี่วนั
1. 7 วัน 2. 12 วัน
3. 15 วัน 4. 20 วัน
17. ใครเป็ นผูม้ ีอานาจกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับความรับผิดชอบระหว่างผูม้ อบอานาจและผูร้ ับ
มอบอานาจ
1. คณะรัฐมนตรี 2. ก.พ.ร.
3. รัฐมนตรี 4. กรมบัญชีกลาง
18. กรณี ใดที่มิใช่กรณี ที่มีความจาเป็ นอย่างยิง่ ที่การปฏิบตั ิราชการต้องกาหนดเป็ นความลับได้เท่าที่จาเป็ น
1. ความมัน่ คงของรัฐบาล 2. ความมัน่ คงของเศรษฐกิจ
3. การคุม้ ครองสิ ทธิ ส่วนบุคคล 4. การรักษาความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน
19. การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็ นการสร้างนิ ติสัมพันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคล ในอันที่จะก่อ
เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรื อมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิ ทธิ หรื อหน้าที่ของบุคคล ไม่วา่ จะเป็ น
การ ถาวรหรื อชัว่ คราว หมายถึงข้อใด
1. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง 2. การพิจารณาทางปกครอง
3. คาสั่งทางปกครอง 4. กฎ
20. ใครเป็ นผูร้ ักษาการตาม พ.ร.บ.วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
1. นายกรัฐมนตรี
2. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย
3. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
4. ตุลาการศาลปกครองสู งสุ ด
21. ใครเป็ นผูแ้ ต่งตั้งเลขานุการในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
1. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
2. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
3. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
4. เลขาธิการข้าราชการพลเรื อน
22. ข้อใดไม่ใช่ กฎ
1. พระราชบัญญัติ 2. พระราชกฤษฎีกา
3. ประกาศกระทรวง 4. ข้อบัญญัติ
23. การแจ้งคาสั่งทางปกครองโดยการประกาศในหนังสื อพิมพ์จะกระทาได้เมื่อมีผรู ้ ับเกินกว่ากี่คน
1. 30 คน 2. 40 คน
3. 100 คน 4. 120 คน
24. การพิจารณาอุทธรณ์คาสัง่ ทางปกครอง หากเจ้าหน้าที่ไม่เห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ไม่วา่ ทั้งหมดหรื อ
บางส่ วนให้ รายงานความเห็นพร้อมเหตุผลไปยังผูม้ ีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์ภายในกี่วนั
1. 7 วัน 2. 15 วัน
3. 30 วัน 4. 45 วัน
25. เจ้าหน้าที่ที่เป็ นญาติเกี่ยวพันทางแต่งงานกับคู่กรณี นบั ภายในกี่ช้ นั จะพิจารณาทางปกครองไม่ได้
1. 2 ชั้น 2. 3 ชั้น
3. 4 ชั้น 4. 5 ชั้น
26. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ ของ ก.พ.ร.
1. เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ในการตราพระราชบัญญัติ
2. เสนอแนะและให้คาปรึ กษาแก่หน่วยงานอื่นของรัฐที่มิได้อยูใ่ นกากับของราชการฝ่ ายบริ หาร
ตามที่หน่วยงาน ดังกล่าวร้องขอ
3. เสนอแนะและให้คาปรึ กษาแก่คณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานของรัฐ
อย่างอื่น
4. ดาเนินการให้มีการชี้ แจงทาความเข้าใจแก่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและประชาชน
ทัว่ ไป
27. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของนายอาเภอ
1. บริ หารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ
2. บริ หารราชการตามคาแนะนาและคาชี้แจงของผูว้ า่ ราชการจังหวัด
3. ควบคุมดูแลการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่นในอาเภอตามที่ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดมอบหมาย
4. บริ หารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย
28. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอานาจของจังหวัด
1. นาภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบตั ิให้เกิดผลสัมฤทธิ์
2. จัดให้มีการบริ การภาครัฐเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างเสมอหน้าเสมอภาค และมี
คุณภาพ
3. จัดให้มีการส่ งเสริ ม อุดหนุ น และสนับสนุนองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
4. จัดให้มีการคุม้ ครอง ป้ องกัน ส่ งเสริ มและช่วยเหลือประชาชนและชุมชนที่ดอ้ ยโอกาส
29. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของหัวหน้ารัฐบาล
1. กากับโดยทัว่ ไปซึ่ งการบริ หารราชการแผ่นดิน
2. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี กากับการบริ หารราชการของกระทรวง
3. แต่งตั้งข้าราชการให้ปฏิบตั ิราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
4. บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ ายบริ หารทุกตาแหน่งซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม
30. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของปลัดกระทรวง
1. รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง
2. เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี เจ้าสังกัด
3. เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวง
4. รับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของสานักงานปลัดกระทรวง
31. ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ในวาระ
เริ่ มแรก การ จัดทาแผนปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการ ตามมาตรา 16 (แก้ไขโดย ฉบับที่ 2) ให้จดั ทาเป็ น
แผนกี่ปี
1. 1 ปี 2. 2 ปี 3. 3 ปี 4. 5 ปี
32. ในวาระเริ่ มแรก การจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการมีหว้ งระยะเวลาตั้งแต่ปีงบประมาณใดถึง
ปี งบประมาณเท่าใด
1. พ.ศ. 2564 ถึง พ.ศ. 2566 2. พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ. 2564
3. พ.ศ. 2563 ถึง พ.ศ. 2565 4. พ.ศ. 2562 ถึงปี พ.ศ. 2564
33. ข้อใดไม่ใช่คานิยามตามพระราชกฤษฎีการะเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที
ดี พ.ศ.2546
1. ส่ วนราชการ 2. หน่วยงานของรัฐ
3. รัฐวิสาหกิจ 4. ข้าราชการ
34. ข้อใดเป็ นเป้ าหมายของการการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
1. เกิดประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของส่ วนราชการ
3. มีการปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการให้ทนั ต่อสถานการณ์
4. ถูกทุกข้อ
35. ข้อใดไม่ได้เป็ นเป้ าหมายของการการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
1. มีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
2. ไม่มีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจาเป็ น
3. ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการอย่างเสมอภาค
4. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสม่าเสมอ
36. ค่าปรับที่เจ้าหน้าที่สั่งให้ผทู ้ ี่ฝ่าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามคาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้กระทาหรื อละเว้น
กระทา ชาระ เรี ยกว่าอะไร
1. ค่าปรับ 2. ค่าปรับบังคับการ
3. ค่าปรับตามคาสั่งทางปกครอง 4. เงินเพิ่มพิเศษ
37. ผูท้ ี่ฝ่าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามคาสัง่ ทางปกครองจะต้องชาระค่าปรับบังคับการอย่างไร
1. ชาระเป็ นรายวัน 2. ชาระทุก 7 วัน
3. ชาระทุก 10 วัน 4. ชาระทุก 15 วัน
38. ผูท้ ี่ฝ่าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามคาสั่งทางปกครองจะต้องชาระค่าปรับบังคับการไปจนถึงเมื่อใด
1. จนกว่าจะยุติการฝ่ าฝื นคาสั่ง 2. จนกว่าจะได้มีการปฏิบตั ิตามคาสั่งแล้ว
3. จนกว่าเจ้าหน้าที่ยกเลิกโทษ 4. ข้อ ก และ ข ถูกต้อง
39. เมื่อศาลออกหมายบังคับคดีและแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีแล้ว การดาเนินการบังคับให้เป็ นไปตาม
คาสั่งทาง ปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินให้เป็ นไปตามกฎหมายใด
1. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
2. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
3. พระราชกฤษฎีกา
4. กฎกระทรวง
40. คาสัง่ ทางปกครองที่กาหนดให้กระทาหรื อละเว้นกระทา ถ้าผูอ้ ยูใ่ นบังคับของคาสัง่ ทางปกครองฝ่ าฝื น
หรื อไม่ปฏิบตั ิ ตามผูอ้ ยูใ่ นบังคับของคาสั่งทางปกครองจะต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มรายวันในอัตรา
ร้อยละเท่าใด
1. ร้อยละ 7 2. ร้อยละ 14
3. ร้อยละ 21 4. ร้อยละ 25
41. ตารวจโทดาแกล้งจับนายขาวว่ากระทาผิดต่อ พ.ร.บ.ป่ าไม้ ซึ่ งเป็ นความเท็จแล้วยึดเลื่อยยนต์ไป เป็ น
ความผิดฐานใด
1. ไม่มีความผิด
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ตาม มาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
4. เจ้าพนักงานปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ ตามมาตรา 157
42. สิ บตารวจองอาจได้เข้าไปที่ร้านขายของชาของนายสดใส แล้วขู่วา่ จะจับนายสดใสฐานมียาเสพติดไว้ใน
ครอบครองซึ่งเป็ นความเท็จ โดยสิ บตารวจองอาจบอกว่าถ้าไม่อยากถูกจับกุมต้องจ่ายเงิน 5,000 บาท เป็ น
ความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ตามมาตรา 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ตาม มาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
4. ไม่มีความผิด
43. นายแสงสอบใบขับขี่ไม่ผา่ น จึงให้เงินจ่าบางเจ้าหน้าที่กรมการขนส่ งทางบก 560 บาท ขอให้ช่วยให้ตน
สอบผ่าน จ่าบางรับเงินไว้แต่ไม่ช่วยเหลือทาให้นายแสงสอบใบขับขี่ไม่ผา่ น ดังนี้จ่าบางมีความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานเรี ยกหรื อรับสิ นบน ตามมาตรา 149
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
3. เจ้าพนักงานปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ ตามมาตรา 157
4. ถูกทุกข้อ
44. นางรุ่ งอรุ ณมีหน้าที่ตรวจสอบภาษีอากรของร้านค้าใน จ.บุรีรัมย์ ได้คานวณภาษีของร้านนางสมร มารดา
ตนเอง ทาให้นางสมรต้องเสี ยภาษีนอ้ ยไปกว่าที่จะต้องเสี ย เป็ นความผิดฐานใด
1. มาตรา 154 2. มาตรา 158
3. มาตรา 156 4. มาตรา 159
45. นางน้ าเป็ นนักวิชาการศุลกากร ได้กาหนดราคาสิ นค้านายนาโชค สามีของตน นาเข้าจากประเทศจีน ใน
ราคาต่า เพื่อให้นายนาโชค สามีของตนไม่ตอ้ งเสี ยภาษีเป็ นความผิดฐานใด
1. มาตรา 153 2. มาตรา 155
3. มาตรา 158 4. มาตรา 159
46. พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562 มีวตั ถุประสงค์ตามข้อใด
1. กาหนดมาตรฐานทางจริ ยธรรมของสังคมไทย
2. ใช้เป็ นหลักสาคัญในการจัดทาประมวลจริ ยธรรมของหน่วยงานของรัฐ
3. เป็ นกลไกตรวจสอบการรักษามาตรฐานทางจริ ยธรรม
4. ป้ องกันการทุจริ ตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
47. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมมีหน้าที่และอานาจตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562
ยกเว้นข้อใด
1. ให้คาปรึ กษาเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ ดา้ นมาตรฐานทางจริ ยธรรมต่อคณะรัฐมนตรี
2. ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรี มอบหมาย
3. ตรวจสอบรายงานประจาปี ของหน่วยงานของรัฐ
4. จัดทาประมวลจริ ยธรรม
48. การจัดหลักสู ตรการฝึ กอบรมและเผยแพร่ ความเข้าใจเพื่อให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีพฤติกรรมทางจริ ยธรรม
เป็ น แบบอย่างที่ดี เป็ นหน้าที่ของผูใ้ ด
1. เจ้าหน้าที่ของรัฐ 2. ผูบ้ งั คับบัญชา
3. หน่วยงานของรัฐ 4. องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล
49. ใครที่มีหน้าที่จดั ให้มีการทบทวนมาตรฐานทางจริ ยธรรม
1. ก.ม.จ 2. สานักงาน ก.พ.
3. คณะรัฐมนตรี 4. ก.พ.ร.
50. การทบทวนมาตรฐานทางจริ ยธรรมต้องกระทาทุกกี่ปี
1. 5 ปี 2. 12 ปี
3. 13 ปี 4. 6 ปี
51. พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ให้ใช้บงั คับตั้งแต่เมื่อใด
1. 4 กันยายน 2534 2. 5 กันยายน 2534
3. 14 ธันวาคม 2539 4. 15 ธันวาคม 2539
52. การจัดสรรงบประมาณและการบรรจุแต่งตั้งบุคคลเขาดารงตาแหน่งหรื อปฏิบตั ิหน้าที่จะต้องเป็ นไปตาม
หลักการใด
1. การตอบสนองความต้องการของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ
3. ความมีประสิ ทธิภาพ
4. ถูกทุกข้อ
53. ข้อใดเป็ นรู ปแบบของการจัดระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน
1. กระทรวง ทบวง กรม 2. ส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค ส่ วนท้องถิ่น
3. จังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บา้ น 4. ถูกทุกข้อ
54. หน้าที่ในการตรวจสอบดูแลมิให้ส่วนราชการที่มีพระราชกฤษฎีกาให้รวมหรื อโอนเข้าด้วยกันกาหนด
ตาแหน่งหรื อ อัตรากาลังของข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิ่ม มีระยะเวลากี่ปีนับแต่วนั ที่พระราชกฤษฎีกามีผล
บังคับใช้
1. 1 ปี 2. 2 ปี 3. 3 ปี 4. 5 ปี
55. หากกระทรวงจะเปลี่ยนชื่อใหม่ จะต้องตราเป็ นกฎหมายใด
1. พ.ร.บ. 2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกาหนด 4. ประกาศกระทรวงมหาดไทย
56. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ในเรื่ องใด
1. ราชการทางการเมือง 2. ราชการในพระองค์
3. ราชการของรัฐสภา 4. ถูกเฉพาะข้อ 1. และ ข้อ 3.
57. บุคคลใดไม่ได้เป็ นข้าราชการพลเรื อนสามัญ
1. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 2. รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
3. ผูช้ ่วยเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี 4. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
58. ใครเป็ นผูร้ ักษาการตามพระราชกฤษฎีการว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ.
2546
1. คณะรัฐมนตรี 2. นายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี วาการกระทรวง 4. ถูกทุกข้อ
59. การกาหนดภารกิจของรัฐและส่ วนราชการต้องสอดคล้องกับอะไร
1. ยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ
2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแหงชาติ
3. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและที่ ก.พ.ร.กาหนด
4. แนวนโยบายแหงรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรี
60. การบริ หารราชการแบบบูรณาการร่ วมกันของส่ วนราชการเกิดขึ้นจากภารกิจแบบใด
1. ภารกิจมีความเกี่ยวข้องกับหลายส่ วนราชการ
2. ภารกิจที่ใกล้เคียงกัน
3. ภารกิจต่อเนื่องกัน
4. ถูกทุกข้อ
61. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารจะให้ส่วนราชการช่วยเหลือในด้านใดก็ได้
1. บุคลากร 2. ค่าใช้จ่าย 3. ข้อมูล 4. ถูกทุกข้อ
62. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ที่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นจะต้องจัดทาหลักเกณฑ์การบริ หารกิจการบ้านเมือง
ที่ดี
1. การบริ หารราชการอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
2. การลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
3. การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
4. ไม่มีขอ้ ถูก
63. การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็ นการสร้างนิ ติสัมพันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคล ในอันที่จะก่อ
เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรื อมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิ ทธิ หรื อหน้าที่ของบุคคล ไม่วา่ จะเป็ น
การ ถาวรหรื อชัว่ คราว หมายถึงข้อใด
1. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
2. การพิจารณาทางปกครอง
3. คาสัง่ ทางปกครอง
4. กฎ
64. ข้อใดคือการพิจารณาทางปกครอง
1. การเตรี ยมการและการดาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคาสั่งทางปกครองหรื อกฎ
2. ข้อบังคับ หรื อบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็ นการทัว่ ไป โดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บงั คับแก่กรณี ใด
หรื อบุคคลใด เป็ นการเฉพาะ
3. การเตรี ยมการและการดาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคาสัง่ ทางปกครอง
4. การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็ นการสร้างนิติสัมพันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคลในอัน
ที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรื อมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิ ทธิ หรื อหน้าที่ของบุคคล ไม่วา่
จะเป็ น การถาวรหรื อชัว่ คราว
65. ใครเป็ นผูแ้ ต่งตั้งผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
1. คณะรัฐมนตรี 2. นายกรัฐมนตรี
3. รัฐสภา 4. วุฒิสภา
66. ข้อใดไม่ใช่ดา้ นความเชี่ยวชาญของผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
1. รัฐประศาสนศาสตร์ 2. มนุษยวิทยา
3. สังคมวิทยา 4. รัฐศาสตร์
67. ในการพิจารณาทางปกครอง เจ้าหน้าที่สามารถดาเนินการได้ตามข้อใด
1. สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริ งตามความเหมาะสม
2. ไม่ผกู พันอยูก่ บั คาขอของคู่กรณี
3. ไม่ตอ้ งผูกพันกับพยานหลักฐานของคู่กรณี
4. ถูกทุกข้อ
68. นางสมพรเจ้าหน้าที่พสั ดุได้รับแต่งตั้งให้เป็ นคณะกรรมการออกข้อสอบเพื่อรับบุคคลเข้ารับราชการของ
อบจ. สดใส ได้นาสาเนาข้อสอบที่ตนเองได้มาไปขายให้นายประยุทธ์เพื่อให้ลูกชายนายประยุทธ์ได้อ่าน
ก่อนเข้าสอบ จะได้สอบได้คะแนนเยอะ ดังนี้ นางจริ งใจมีความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 164 2. มาตรา 165
3. มาตรา 166 4. มาตรา 167
69. นส.ยิง่ รักษ์เป็ นครู ที่มีหน้าที่สอนหนังสื อ ผูอ้ านวยการได้มอบหมายให้ทาหน้าที่หวั หน้าแผนกการเงิน
นส.ยิง่ รักษ์ได้รับ เงินค่าจาหน่ายผลิตผล แต่ไม่ได้นาส่ งต่อคณะกรรมการรักษาเงินเป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ตามมาตรา 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ตาม มาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
4. ถูกทุกข้อ
70. ใครเป็ นเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
1. นางสาวสวย นิติกรของกรุ งเทพมหานคร
2. นางขา แม่บา้ นทาความสะอาดของ อบจ.ทองแท้
3. นายสาด พนักงานขับรถของกระทรวงการต่างประเทศ
4. ถูกทุกข้อ
71. นาย ก. ลูกจ้างชัว่ คราวตาแหน่งพนักงานขับรถยนต์บรรทุกน้ ากรุ งเทพมหานคร (กทม.) และนาย ป.
ลูกจ้างประจา ตาแหน่งคนงานทาหน้าที่รดน้ าต้นไม้ริมถนน ในระหว่างการขับรถยนต์บรรทุกน้ าออกไป
ปฏิบตั ิหน้าที่ได้เกิดอุบตั ิเหตุ เฉี่ ยวชนกับรถยนต์นง่ั ส่ วนบุคคลอย่างกะทันหัน นาย ส.จึงห้ามล้อรถยนต์
บรรทุกน้ าอย่างแรง ทาให้รถพลิกคว่า ได้รับความเสี ยหาย นาย ส.ได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย ส่ วนนาย ป. ได้รับ
บาดเจ็บสาหัส นาย ป.มีสิทธิเรี ยกร้องให้ใคร รับผิดชอบ
1. ไม่มีสิทธิ เพราะ นาย ป. ไม่ใช่บุคคลภายนอก
2. กรุ งเทพมหานคร ซึ่ งเป็ นต้นสังกัดของ นาย ก.
3. นาย ก. เพราะเป็ นการกระทาโดยประมาทเลินเล่อของนาย ก.
4. ข้อ ข และ ข้อ ค
72. จากข้อ 21 หากนาย ฟ. ฟ้ องนาย ก. ให้รับผิด แต่ศาลมีคาพิพากษาเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2563 ยกฟ้ อง
เพราะ นาย ก. มิใช่ผตู ้ อ้ งรับผิด ดังนี้ นาย ฟ. จะฟ้ องกรุ งเทพมหานครต้องกระทาภายในวันที่เท่าใด
1. 1 กุมภาพันธ์ 2563 2. 1 เมษายน 2563
3. 1 กรกฎาคม 2563 4. 1 มกราคม 2564
73. พ.ร.บ. มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ.2562 ให้ใช้บงั คับตั้งแต่เมื่อใด
1. 15 เมษายน 2562 2. 16 เมษายน 2562
3. 17 เมษายน 2562 4. 18 เมษายน 2562
74. ข้อใดถือเป็ น องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล
1. คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน
2. คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อนในสถาบันอุดมศึกษา
3. คณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
4. ถูกทุกข้อ
75. มาตรฐานทางจริ ยธรรม คือข้อใด
1. การตัดสิ นความถูกผิด
2. การปฏิบตั ิที่ควรกระทาหรื อไม่ควรกระทา
3. การดารงตนในการกระทาความดีและละเว้นความชัว่
4. หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
76. นายสมรักษ์ เป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ซ้ื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ให้แก่ทางราชการ ซื้ อเครื่ องที่ดอ้ ยคุณภาพ
ให้แก่ทางราชการ เป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ตามมาตรา 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ตาม มาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
4. ข้อ ก และ ค ถูกต้อง
77. นายไก่อาจารย์สอนวิชาคอมพิวเตอร์ ได้รับมอบหมายให้เป็ นหัวหน้าตรวจรับพัสดุ
ได้เอาคอมพิวเตอร์ ที่ตรวจรับไปเป็ นของส่ วนตัว เป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ตามมาตรา 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ตาม มาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
4. ไม่มีความผิด
78. เจ้าพนักงาน รู ้หรื ออาจรู ้ความลับในราชการ กระทาโดยประการใด ๆ อันมิชอบด้วยหน้าที่ ให้ผอู ้ ื่นล่วงรู ้
ความลับนั้น ต้องระวางโทษใด
1. จาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่ หมื่นบาท
2. จาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
3. จาคุกไม่เกินสิ บปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
4. จาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
79. เจ้าพนักงานที่มีหน้าที่ทาเอกสาร รับเอกสารหรื อกรอกข้อความลงในเอกสารโดยรับรองเป็ นหลักฐานซึ่ง
ข้อเท็จจริ ง อันเอกสารนั้น มุ่งพิสูจน์ความจริ งอันเป็ นความเท็จเป็ นความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 162 (1) 2. มาตรา 162 (2)
3. มาตรา 162 (3) 4. มาตรา 162 (4)
80. ใครเป็ นผูร้ ักษาการตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
1. นายกรัฐมนตรี
2. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
4. ผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานคร
81. "นาย สมชายเป็ นลูกจ้างตาแหน่งพนักงานขับรถ ของหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่ง ได้รับคาสั่งให้ขบั รถไป
สถานที่แห่งหนึ่ง ขณะขับรถยนต์มาตามถนนตามปกติ มีผขู ้ บั ขี่รถจักรยานยนต์ออกจาก ซอยด้านซ้ายมือ
ตัดหน้าในระยะกระชั้นชิด นาย สมชายจึงหักหลบโดยไม่มีโอกาสได้ทนั คิด หรื อตัดสิ นใจว่าควรจะหักหลบ
ไปทางใดได้ โดยปลอดภัย จึงไปชนรถยนต์ของ นาย ก. ที่สวนทางมา" ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. นาย ก. ฟ้ องเรี ยกค่าเสี ยหาย จาก นาย สมชาย
2. หน่วยงานที่นาย สมชายสังกัด ต้องชดใช้ค่าเสี ยหายให้แก่ นาย ก.
3. นาย ก. เรี ยกร้องค่าเสี ยหาย จากผูข้ บั ขี่รถจักรยานยนต์
4. นาย สมชายและ ผูข้ บั ขี่รถจักรยานยนต์ ต้องชดใช้ค่าเสี ยหายให้แก่ นาย ก.
82. หน่วยงานของรัฐไม่ตอ้ งรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายในผลแห่งละเมิดของเจ้าหน้าที่คนใด
1. เจ้าหน้าที่ตารวจไล่จบั ผูร้ ้ายแล้วเกิดการยิงต่อสู ้กนั กระสุ นปื นพลาดเป้ าหมายไปถูกประชาชน
ได้รับบาดเจ็บ หรื อเสี ยชีวติ
2. เจ้าหน้าที่ขบั รถยนต์ของทางราชการไปติดต่องานราชการแล้วเกิดอุบตั ิเหตุชนรถยนต์ของ
บุคคลภายนอกได้รับ ความเสี ยหาย
3. สรรพสามิตจังหวัดจะต้องเดินทางไปราชการ แต่พนักงานขับรถยนต์ลาหยุด จึงขอให้เจ้าหน้าที่
การเงินช่วยขับ รถให้แทน หากรถเกิดอุบตั ิเหตุชนกับรถคันอื่น
4. ไม่มีขอ้ ถูก
83. เมื่อได้รับคาขอจากผูเ้ สี ยหายที่ถูกกระทาละเมิดจาก เจ้าหน้าที่ในการปฏิบตั ิหน้าที่หน่วยงานของรัฐต้อง
ดาเนินการ พิจารณาทุกขั้นตอนให้แล้วเสร็ จ ภายในกี่วนั
1. 60 วัน 2. 90 วัน
3. 120 วัน 4. 180 วัน
84. การบริ หารราชการแผ่นดินของประเทศไทยใช้หลักการใด
1. รวมอานาจ 2. แบ่งอานาจ
3. กระจายอานาจ 4. ถูกทุกข้อ
85. การกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือนของส่ วนราชการต่าง ๆ จะต้องคานึงถึงสิ่ งใด
1. ประสิ ทธิ ภาพของส่ วนราชการ 2. ภารกิจที่รับผิดชอบ
3. คุณภาพและปริ มาณของส่ วนราชการนั้นๆ 4. ถูกทุกข้อ
86. การโอนส่ วนราชการเข้าด้วยกัน ถ้ามีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตรากาลังของส่ วนราชการหรื อลูกจ้าง
เพิ่มขึ้น ให้ ตราเป็ นกฎหมายใด
1. พ.ร.บ. 2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกาหนด 4. กฎกระทรวง
87. กรณี ที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรื อหน่วยงานอื่นของรัฐประสงค์จะรับโอนข้าราชการหรื อลูกจ้างที่มี
พระราช กฤษฎีกายุบส่ วนราชการ ต้องกระทาภายในกี่วนั
1. 15 วัน 2. 30 วัน
3. 45 วัน 4. 60 วัน
88. การกาหนดนโยบาย เป้ าหมาย และผลสัมฤทธิ์ ของงานในสานักนายกรัฐมนตรี ไม่ตอ้ งสอดคล้องกับข้อ
ใด
1. นโยบายที่คณะรัฐมนตรี แถลงไว้ต่อรัฐสภา
2. นโยบายที่คณะรัฐมนตรี กาหนด
3. นโยบายที่คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิ
4. ไม่มีขอ้ ถูก
89. บุคคลใดเป็ นข้าราชการเมือง
1. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 2. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง
3. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร 4. ถูกเฉพาะข้อ 1. และข้อ 2.
90. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ในเรื่ องใด
1. ราชการทางการเมือง 2. ราชการในพระองค์
3. ราชการของรัฐสภา 4. ถูกเฉพาะข้อ 2. และ ข้อ 3.
91. เป้ าหมายสู งสุ ดของการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี คือข้อใด
1. ไม่มีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจาเป็ น
2. มีการปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการให้ทนั ตอสถานการณ์
3. ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
4. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
92. การกาหนดภารกิจของรัฐและส่ วนราชการต้องสอดคล้องกับอะไร
1. ยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ
2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแหงชาติ
3. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและที่ ก.พ.ร.กาหนด
4. แนวนโยบายแหงรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรี
93. ในการประเมินความคุม้ ค่า ให้คานึงถึงสิ่ งใด
1. ประเภทและสภาพของแต่ละภารกิจ
2.ความเป็ นไปได้ของภารกิจหรื อโครงการที่ดาเนินการ
3. ประโยชน์ที่รัฐและประชาชนจะพึงได้
4. ถูกทุกข้อ
94.การพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดปั ญหาใดๆ ให้เป็ นหน้าที่ของส่ วนราชการที่รับผิดชอบในปั ญหานั้น ๆ ที่
จะต้องพิจารณา วินิจฉัยชี้ขาดภายในกี่วนั
1. โดยเร็ ว 2. ทันที 3. โดยมิชกั ช้า 4. 7 วัน
95. คณะผูป้ ระเมินอิสระจะดาเนินการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และ ระยะเวลาที่ ใครเป็ นผูก้ าหนด
1. รัฐมนตรี 2. ก.พ.ร. 3. คณะรัฐมนตรี 4. กรมบัญชีกลาง
96. พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มิให้ใช้บงั คับแก่หน่วยงานหรื อองค์กรใด
1. การดาเนิ นงานเกี่ยวกับนโยบายการต่างประเทศ
2. การพิจารณาวินิจฉัยเรื่ องร้องทุกข์และการสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา
3. การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการ พิจารณาคดี
การบังคับคดี และการวางทรัพย์
4. ถูกทุกข้อ
97. การเตรี ยมการและการดาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคาสั่งทางปกครองหรื อกฎ และรวมถึงการ
ดาเนินการใด ๆ ในทางปกครอง หมายถึงข้อใด
1. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
2. การพิจารณาทางปกครอง
3. คาสัง่ ทางปกครอง
4. กฎ
98. ผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง มีกี่คน
1. ไม่นอ้ ยกว่า 5 คนแต่ไม่เกิน 9 คน
2. ไม่นอ้ ยกว่า 7 คนแต่ไม่เกิน 12 คน
3. ไม่นอ้ ยกว่า 9 คนแต่ไม่เกิน 14 คน
4. ไม่นอ้ ยกว่า 10 คนแต่ไม่เกิน 15 คน
99. การเพิกถอนคาสั่งทางปกครองที่มีลกั ษณะเป็ นการให้ประโยชน์ตอ้ งกระทาภายในกี่วนั นับแต่ได้รู้ถึง
เหตุ
1. 30 วัน 2. 45 วัน
3. 60 วัน 4. 90 วัน
100. การยืน่ อุทธรณ์คาสัง่ ทางปกครองต้องยืน่ ต่อใคร
1. เจ้าหน้าที่ผทู ้ าคาสั่งทางปกครอง 2. เจ้าหน้าที่ผพู ้ ิจารณาคาสั่งทางปกครอง
3. เจ้าหน้าที่ซ่ ึ งมีอานาจหน้าที่ในเรื่ องนั้น 4. บุคคลตามที่กฎหมายกาหนด
101. ใครเป็ นผูร้ ักษาการตาม พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
1. คณะรัฐมนตรี 2. นายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี วาการกระทรวง 4. ถูกทุกข้อ
102. เจ้าหน้าที่ในข้อใดสามารถจะทาการพิจารณาทางปกครองได้
1. เป็ นคู่กรณี กนั เอง 2. เป็ นเพื่อนคู่กรณี
3. เป็ นคู่หมั้นของคู่กรณี 4. เป็ นญาติของคู่สมรส
103. กรณี ที่คาสั่งทางปกครองเป็ นคาสั่งด้วยวาจา ถ้าผูร้ ับทราบคาสั่งนั้นร้องขอภายในกี่วนั ให้เจ้าหน้าที่ผู ้
ออกคาสั่งยืนยัน คาสั่งนั้นเป็ นหนังสื อ
1. 7 วัน 2. 10 วัน
3. 15 วัน 4. 30 วัน
104. กรณี ใดที่ทาให้คาสั่งทางปกครองที่ออกโดยการฝ่ าฝื น ไม่เป็ นเหตุให้คาสั่งทางปกครองนั้นไม่สมบูรณ์
1. คาสั่งทางปกครองที่ตอ้ งให้เจ้าหน้าที่อื่นให้ความเห็นชอบก่อน ถ้าเจ้าหน้าที่น้ นั ได้ให้ความ
เห็นชอบในภายหลัง
2. การรับฟังคู่กรณี ที่จาเป็ นต้องกระทาได้ดาเนินการมาโดยไม่สมบูรณ์ ถ้าได้มีการรับฟั งให้สมบูรณ์
ในภายหลัง
3. การออกคาสั่งทางปกครองโดยยังไม่มีผยู ้ นื่ คาขอในกรณี ที่เจ้าหน้าที่จะดาเนิ นการเองไม่ได้
นอกจากจะมีผยู ้ นื่ คาขอ ถ้าต่อมาในภายหลังได้มีการยืน่ คาขอเช่นนั้นแล้ว
4. ถูกทุกข้อ
105. การออกคาสั่งทางปกครองเป็ นหนังสื อ หากมิได้มีกฎหมายหรื อกฎกาหนดระยะเวลาในการออกคาสั่ง
ทางปกครอง ในเรื่ องนั้นไว้เป็ นประการอื่น ให้เจ้าหน้าที่ออกคาสั่งทางปกครองนั้นให้แล้วเสร็ จภายในกี่วนั
นับแต่วนั ที่เจ้าหน้าที่ ได้รับคาขอและเอกสารถูกต้องครบถ้วน
1. 30 วัน 2. 60 วัน
3. 90 วัน 4. 180 วัน
106. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. คาสั่งทางปกครองให้มีผลใช้ยนั ต่อบุคคลตั้งแต่ขณะที่ผนู ้ ้ นั ได้รับแจ้งเป็ นต้นไป
2. คาสั่งทางปกครองย่อมมีผลตราบเท่าที่ยงั ไม่มีการเพิกถอนหรื อสิ้ นผลลงโดยเงื่อนเวลาหรื อโดย
เหตุอื่น
3. คาสั่งทางปกครองที่มีขอ้ ผิดพลาดเล็กน้อยหรื อผิดหลงเล็กน้อยนั้น เจ้าหน้าที่อาจแก้ไขเพิ่มเติมได้
เสมอ
4. ถูกทุกข้อ
107. เจ้าพนักงาน เรี ยก รับ หรื อยอมจะรับทรัพย์สิน หรื อประโยชน์อื่นใดสาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่นโดยมิชอบ
เพื่อกระทา การหรื อไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งไม่วา่ การนั้นจะชอบหรื อมิชอบด้วยหน้าที่ เป็ น
ความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 147 2. มาตรา 148
3. มาตรา 149 4. มาตรา 150
108. เจ้าพนักงานที่มีหน้าที่จ่ายทรัพย์ จ่ายทรัพย์น้ นั เกินกว่าที่ควรจ่ายเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น
เป็ นความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 151 2. มาตรา 152
3. มาตรา 153 4. มาตรา 154
109. เจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรื อจูงใจเพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรื อ หามาให้
ซึ่ งทรัพย์สิน หรื อประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรื อผูอ้ ื่น ต้องระวางโทษใด
1. จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
2. จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชี วติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาทหรื อ
ประหารชีวิต
3. จาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
4. จาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี หรื อปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
110. เจ้าพนักงานที่มีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด ๆ ใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ตอันเป็ นการ
เสี ยหาย แก่รัฐ เทศบาล สุ ขาภิบาลหรื อเจ้าของทรัพย์น้ นั ต้องระวางโทษใด
1. จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
2. จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชี วติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาทหรื อ
ประหารชีวิต
3. จาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
4. จาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี หรื อปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
111. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
1. หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทา
2. หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทาในการ
ปฏิบตั ิหน้าที่
3. หน่วยงานของรัฐสามารถฟ้ องไล่เบี้ยเอาค่าเสี ยหายจากเจ้าหน้าที่ที่กระทาผิดทางละเมิดได้
4. ในกรณี ที่เจ้าหน้าที่หลายคนมีส่วนร่ วมกันกระทาผิดทางละเมิด ให้นาหลักเรื่ องลูกหนี้ร่วมใน
ระบบกฎหมายแพ่ง มาใช้บงั คับ
112. เหตุใด พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 จึงไม่ให้นาหลักเรื่ องลูกหนี้ร่วมมาบังคับ
ใช้
1. เพราะเป็ นการไม่ยตุ ิธรรมแก่เจ้าหน้าที่
2. เพราะต้องการให้ผเู ้ สี ยหายได้รับค่าเสี ยหายเต็มจานวน
3. เพราะให้ความสาคัญแก่ผเู ้ สี ยหายซึ่ งเกิดจากความผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
4. เพราะหลักเรื่ องลูกหนี้ ร่วม อยูใ่ นประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์
113. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. การกระทาที่เกิดจากการปฎิบตั ิหน้าที่โดยตรง เจ้าหน้าที่ไม่ตอ้ งรับผิดทางละเมิด
2. ถ้าความผิดเกิดจากหลายคนร่ วมกระทาการละเมิด ให้รับผิดชอบเฉพาะส่ วนของตนเท่านั้น
3. ให้นาหลักลูกหนี้ร่วม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาบังคับใช้ ในกรณี เจ้าหน้าที่หลาย
คน มีส่วนร่ วม กระทาความผิดทางละเมิดได้
4. คนไทยส่ วนมากไม่ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
114. ข้อใดกล่าว ไม่ถูกต้อง กรณี เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐกระทาละเมิดต่อบุคคลภายนอก
1. หน่วยงานของรัฐจะต้องรับผิดชอบต่อผูเ้ สี ยหายทุกกรณี
2. หน่วยงานของรัฐจะต้องรับผิดขอบต่อผูเ้ สี ยหายเฉพาะในกรณี ที่เป็ นการกระทาในการปฏิบตั ิ
หน้าที่
3. ถ้าเป็ นการกระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่ให้ผเู ้ สี ยหายฟ้ องหน่วยงานของรัฐโดยตรง
4. ถ้าการกระทานั้นไม่ใช่การปฏิบตั ิหน้าที่ผเู ้ สี ยหายจะฟ้ องหน่วยงานของรัฐไม่ได้
115. กรณี ที่หน่วยงานของรัฐ ได้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนจากการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่แก่ผเู ้ สี ยหายไป
แล้ว และ พิจารณาว่า เจ้าหน้าที่ได้ปฏิบตั ิหน้าที่โดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ในกรณี น้ ี หน่วยงาน
จะต้องดาเนินการ ไล่เบี้ยจากเจ้าหน้าที่มีอายุความกี่ปี
1. 1 ปี 2. 2 ปี
3. 3 ปี 4. 4 ปี
116. การมอบอานาจ ต้องทาเป็ นอะไร
1. คาสั่ง 2. หนังสื อ
3. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4. ขออนุมตั ิคณะรัฐมนตรี ก่อน
117. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับรายได้ของหน่วยบริ การรู ปแบบพิเศษ
1. ไม่ตอ้ งนาส่ งคลังตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง
2. ต้องนาส่ งคลังตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง
3. ไม่ตอ้ งนาส่ งสานักงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคง
คลัง
4. ต้องนาส่ งสานักงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคง
คลัง
118. กรณี ที่นายกรัฐมนตรี ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้รองนายกรัฐมนตรี เป็ นผูร้ ักษาราชการแทน ถ้ามีรอง
นายกรัฐมนตรี หลายคน ให้ใครเป็ นผูม้ อบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
1. นายกรัฐมนตรี ประชุมมอบหมาย 2. คณะรัฐมนตรี มอบหมาย
3. ขอความเห็นชอบคณะรัฐมนตรี 4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
119. การจัดระเบียบบริ หารราชการส่ วนภูมิภาค ประกอบด้วย
1. จังหวัด อาเภอ กิ่งอาเภอ 2. จังหวัด อาเภอ ตาบล
3. จังหวัด อาเภอ 4. จังหวัด อาเภอ ตาบล
120. ให้รวมท้องที่หลายๆ อาเภอตั้งขึ้นเป็ นจังหวัด และมีฐานะเป็ น
1. ส่ วนภูมิภาค 2. นิติบุคคล
3. กรม 4. หน่วยงานของรัฐ
121. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับเป้ าหมายในการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
1. เกิดผลประโยชน์สุขของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ
3. มีประสิ ทธิภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการทุกปี
122. ในการบริ หารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ส่ วนราชการจะต้องดาเนิ นการ โดยถืออะไรเป็ น
ศูนย์กลาง ในการบริ การจากรัฐ
1. ประชาชน 2. สังคมส่ วนรวม
3. เจ้าหน้าที่รัฐ 4. ถูกทุกข้อ
123. การบริ หารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน หมายถึงข้อใด
1. การปฏิบตั ิราชการที่มีเป้ าหมายเพื่อให้เกิดความเรี ยบร้อยและความเป็ นอยูท่ ี่ดีของประชาชนความ
สงบและ ปลอดภัยของสังคมส่ วนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุ ดของประเทศ
2. การปฏิบตั ิราชการที่มีเป้ าหมายเพื่อให้เกิดความผาสุ กและความเป็ นอยูท่ ี่ดีของประชาชนความ
สงบและ ปลอดภัยของสังคมส่ วนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุ ดของประเทศ
3. การปฏิบตั ิราชการที่มีเป้ าหมายเพื่อให้เกิดความผาสุ กและความเป็ นอยูท่ ี่ดีของประชาชนความ
สงบและความ เจริ ญของสังคมส่ วนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุ ดของประเทศ
4. การปฏิบตั ิราชการที่มีเป้ าหมายเพื่อให้เกิดความผาสุ กและความเป็ นอยูท่ ี่ดีของประชาชนความ
สงบและร่ มเย็น ของสังคมส่ วนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุ ดของประเทศ
124. การปฏิบตั ิราชการให้ถือว่าเป็ นเรื่ องเปิ ดเผย เว้นแต่กรณี ใด
1. คุม้ ครองสิ ทธิ ส่วนบุคคล 2. รักษาความมัน่ คงของประเทศ
3. รักษาความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ 4. รักษาความมัน่ คงทางราชการ
125. ส่ วนราชการต้องจัดให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเรื่ องใดบ้าง
1. งบประมาณรายจ่ายแต่ละปี
2. การจัดซื้ อจัดจ้างที่จะดาเนิ นการในปี งบประมาณนั้น
3. สัญญาใด ๆ ที่ได้มีการอนุ มตั ิให้จดั ซื้ อหรื อจัดจ้างแล้ว
4. ถูกทุกข้อ
126. ข้อใดเป็ นการจัดระเบียบบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น
1. องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด 2. เทศบาล
3. ราชการส่ วนท้องถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมายกาหนด 4. ถูกทุกข้อ
127. เมื่อตาแหน่งกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิของ ก.พ.ร. ว่างลงก่อนวาระ ให้ดาเนิ นการแต่งตั้งกรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒิภายในกี่วนั
1. 30 วัน 2. 45 วัน
3. 60 วัน 4. 90 วัน
128. ส่ วนราชการใดไม่มีฐานะเป็ นนิติบุคคล
1. สานักนายกรัฐมนตรี 2. สานักงานปลัดกระทรวง
3. กระทรวง 4. กรม
129. การจัดตั้งสานักนโยบายและแผน เป็ นส่ วนราชการภายในกระทรวง จะสามารถกระทาได้โดยออกเป็ น
กฎหมายใด
1. พระราชกฤษฎีกา 2. กฎกระทรวง
3. พระราชกาหนด 4. ระเบียบบริ หารราชการ
130. ข้อใดมิใช่อานาจหน้าที่ของสานักงานปลัดกระทรวง
1. ราชการทางเมือง
2. ราชการทัว่ ไปของกระทรวง
3. ราชการที่มิได้กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของกรมหนึ่งกรมใดโดยเฉพาะ
4. เร่ งรัดการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการในกระทรวง
131. แผนปฏิบตั ิราชการประจาปี ของส่ วนราชการ ต้องระบุรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่ งใด
1. นโยบายการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการ
2. เป้ าหมายและผลสัมฤทธิ์ ของงาน
3. ประมาณการรายได้และรายจ่ายและทรัพยากรอื่นที่จะต้องใช้
4. ถูกทุกข้อ
132. เมื่อรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแผนปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการแล้ว ใครเป็ นผูม้ ีหน้าที่ดาเนินการ
จัดสรร งบประมาณเพื่อปฏิบตั ิงานให้บรรลุผลสาเร็ จในแต่ละภารกิจตามแผนปฏิบตั ิราชการดังกล่าว
1. สานักงบประมาณ 2. กรมบัญชีกลาง
3. กระทรวงการคลัง 4. คณะรัฐมนตรี
133. การโอนงบประมาณจากภารกิจหนึ่งตามที่กาหนดในแผนปฏิบตั ิราชการไปดาเนิ นการอย่างอื่นซึ่ งมีผล
ทาให้ภารกิจ เดิมไม่บรรลุเป้ าหมายหรื อนาไปใช้ในภารกิจใหม่ที่มิได้กาหนดในแผนปฏิบตั ิราชการ
สามารถทาได้หรื อไม่
1. ทาไม่ได้ จนกว่าส่ วนราชการจะได้ปรับแผนปฏิบตั ิราชการให้สอดคล้องกันแล้ว
2. ทาไม่ได้ จนกว่าส่ วนราชการจะได้ปรับแผนปฏิบตั ิราชการให้สอดคล้องกันและขออนุมตั ิจาก
คณะรัฐมนตรี
3. ทาได้ต่อเมื่อได้รับอนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี ให้ปรับแผนปฏิบตั ิราชการให้สอดคล้องกันแล้ว
4. ทาได้ต่อเมื่อได้รับอนุมตั ิจากรัฐมนตรี ให้ปรับแผนปฏิบตั ิราชการให้สอดคล้องกันแล้ว
134. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. ให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการนั้นโดยจัดทาเป็ นแผนห้าปี
2. กรณี ที่ส่วนราชการมิได้เสนอแผนปฏิบตั ิราชการในภารกิจใดหรื อภารกิจใดไม่ได้รับความ
เห็นชอบจากรัฐมนตรี มิ ให้สานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณสาหรับภารกิจนั้น
3. สิ้ นปี งบประมาณ ให้ส่วนราชการจัดทารายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ ของแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี
เสนอต่อ คณะรัฐมนตรี
4. ถูกทุกข้อ
135. หน่วยงานใดมีหน้าที่ร่วมกันกาหนดแนวทางการจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการ
1. สานักงบประมาณ และ ก.พ.ร.
2. สานักงบประมาณ และ ก.พ.
3. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร.
4. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.
136. คาสั่งทางปกครองที่กาหนดใช้ชาระเงิน ถ้าถึงกาหนดแล้วไม่มีการชาระโดยถูกต้องครบถ้วน ให้
เจ้าหน้าที่มีหนังสื อ เตือนให้ชาระภายในเวลาที่กาหนด โดยจะต้องให้มีเวลาไม่นอ้ ยกว่ากี่วนั
1. 7 วัน 2. 15 วัน
3. 30 วัน 4. 45 วัน
137. เมื่อคู่กรณี มีคาขอ เจ้าหน้าที่อาจเพิกถอนหรื อแก้ไขเพิ่มเติมคาสั่งทางปกครองที่พน้ กาหนดอุทธรณ์ได้
ในกรณี ใด
1. มีพยานหลักฐานใหม่อนั อาจทาให้ขอ้ เท็จจริ งที่ฟังเป็ นข้อยุติแล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปใน
สาระสาคัญ
2. คู่กรณี ที่แท้จริ งไม่ได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง
3. เจ้าหน้าที่ไม่มีอานาจที่จะทาคาสั่งทางปกครอง
4. ถูกทุกข้อ
138. ใครเป็ นผูม้ ีอานาจสัง่ ให้ทุเลาการบังคับทางปกครองไว้ก่อน
1. เจ้าหน้าที่ผทู ้ าคาสั่งนั้นเอง
2. ผูม้ ีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์
3. ผูม้ ีอานาจพิจารณาวินิจฉัยความถูกต้องของคาสั่งทางปกครอง
4. ถูกทุกข้อ
139. กรณี ดงั ต่อไปนี้ ผูร้ ับคาสั่งทางปกครองจะอ้างความเชื่อโดยสุ จริ ตไม่ได้ ยกเว้นข้อใด
1. ผูน้ ้ นั ได้แสดงข้อความอันเป็ นเท็จหรื อปกปิ ดข้อความจริ งซึ่ งควรบอกให้แจ้ง
2. ผูน้ ้ นั ได้ให้ขอ้ ความซึ่ งไม่ถูกต้องหรื อไม่ครบถ้วนในสาระสาคัญ
3. ผูน้ ้ นั ได้รู้ถึงความไม่ชอบด้วยกฎหมายของคาสั่งทางปกครองในขณะได้รับคาสั่งทางปกครอง
หรื อการไม่รู้น้ นั เป็ นไปโดยความประมาทเลินเล่อ
4. ไม่มีขอ้ ใดกล่าวผิด
140. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของสานักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
1. งานธุรการ 2. งานประชุม
3. การศึกษา 4. ไม่มีขอ้ ถูก
141. เจ้าพนักงานที่มีหน้าที่ในการไปรษณี ย ์ โทรเลขหรื อโทรศัพท์ กระทาการอันมิชอบด้วยหน้าที่โดยเปิ ด
หรื อยอมให้ ผูอ้ ื่นเปิ ด จดหมายหรื อสิ่ งอื่นที่ส่งทางไปรษณี ยห์ รื อโทรเลข เป็ นความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 163 (1) 2. มาตรา 163 (2)
3. มาตรา 163 (3) 4. มาตรา 163 (4)
142. เจ้าพนักงาน รู้หรื ออาจรู้ความลับในราชการ กระทาโดยประการใด ๆ อันมิชอบด้วยหน้าที่ ให้ผอู้ ื่น
ล่วงรู ้ความลับนั้น เป็ นความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 164 2. มาตรา 165
3. มาตรา 166 4. มาตรา 167
143. เจ้าพนักงานที่มีหน้าที่ในการไปรษณี ย ์ โทรเลขหรื อโทรศัพท์ กระทาการอันมิชอบด้วยหน้าที่โดยทาให้
เสี ยหาย ทาลาย ทาให้สูญหาย หรื อยอมให้ผอู ้ ื่นทาให้เสี ยหาย ทาลายหรื อทาให้สูญหาย ซึ่ งจดหมายหรื อสิ่ ง
อื่นที่ส่งทาง ไปรษณี ยห์ รื อโทรเลข เป็ นความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 163 (1) 2. มาตรา 163 (2)
3. มาตรา 163 (3) 4. มาตรา 163 (4)
144. เจ้าพนักงานที่มีหน้าที่ปฏิบตั ิการให้เป็ นไปตามกฎหมาย หรื อคาสั่ง ซึ่ งได้สั่งเพื่อบังคับการให้เป็ นไป
ตามกฎหมาย ป้ องกันหรื อขัดขวางมิให้การเป็ นไปตามกฎหมายหรื อคาสั่งนั้น เป็ นความผิดตามมาตราใด า
1. มาตรา 164 2. มาตรา 165
3. มาตรา 166 4. มาตรา 167
145. เจ้าพนักงาน ละทิง้ งานหรื อกระทาการอย่างใด ๆ เพื่อให้งานหยุดชะงักหรื อเสี ยหาย โดยร่ วมกระทาการ
เช่นนั้น ด้วยกันตั้งแต่หา้ คนขึ้นไป เป็ นความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 164 2. มาตรา 165
3. มาตรา 166 4. มาตรา 167
146. ข้อใดมิใช่กลไกหลักในการขับเคลื่อน พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานทางจริ ยธรรมและประมวลจริ ยธรรม
2. แนวนโยบายพื้นฐาน
3. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม
4. การรักษาจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
147. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. หน่วยงานธุ รการของรัฐสภา เป็ นหน่วยงานของรัฐ
2. มาตรฐานทางจริ ยธรรม คือ หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบตั ิอย่างมีจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
3. ให้หน่วยงานของรัฐมีหน้าที่ดาเนินกิจกรรมการส่ งเสริ ม สนับสนุน ให้ความรู ้ ฝึ กอบรม และ
พัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐใน หน่วยงานของรัฐ
4. ให้ ก.ม.จ. จัดให้มีการทบทวนมาตรฐานทางจริ ยธรรมทุก3 ปี
148. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ใน ก.ม.จ. พ้นจากตาแหน่งตามข้อใด
1. กระทาความผิดโดยประมาทและถูกศาลพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก
2. เป็ นที่ปรึ กษาพรรคการเมือง
3. คณะรัฐมนตรี มีมติให้ออก
4. ครบวาระการดารงตาแหน่งสี่ ปี
149. ใครที่มีหน้าที่และอานาจจัดหลักสู ตรการฝึ กอบรม การเผยแพร่ ความเข้าใจ ตลอดจนการ กาหนด
มาตรการจูงใจ เพื่อพัฒนาและส่ งเสริ มให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐ
1. องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล 2. ก.ม.จ
3. สานักงาน ก.พ. 4. ก.พ.ร.
150. ก.ม.จ.มีหน้าที่และอานาจตรวจสอบรายงานประจาปี ของหน่วยงานของรัฐและรายงานสรุ ปผลการ
ดาเนินงานดังกล่าว เสนอต่อใคร
1. นายกรัฐมนตรี 2. สานักงาน ก.พ.
3. คณะรัฐมนตรี 4. ก.พ.ร.
151. ผูร้ ักษาการตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562
1. ประธานกรรมการพิทกั ษ์ระบบคุณธรรม
2. ประธานกรรมการข้าราชการพลเรื อน
3. นายกรัฐมนตรี
4. อธิบดีกรมการศาสนา
152. หน่วยงานของรัฐต้องดาเนินการในเรื่ องใด เพื่อเป็ นการรักษาจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
1. กาหนดให้มีผรู ้ ับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริ ยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ
2. ให้ความรู ้แก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค
3. จัดทาประมวลจริ ยธรรมให้สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ ชาติ
4. กากับดูแลการดาเนิ นกระบวนการรักษาจริ ยธรรม
153. โดยทัว่ ไปคณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมจะต้องทบทวนมาตรฐานทางจริ ยธรรมเมื่อใด
1. ทุก 2 ปี 2. ทุก 3 ปี
3. ทุก 4 ปี 4. ทุก 5 ปี
154. นาย ส. ตาแหน่งพนักงานขับรถ ได้รับคาสั่งให้นารถไปปฏิบตั ิราชการ ขณะขับรถตามปกติเกิด
อุบตั ิเหตุ ทาให้รถของ นาง ข. เสี ยหาย นาย ส. ได้จ่ายค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ นาง ข. ดังนี้ สิ ทธิ ที่ นาย ส.
จะเรี ยกร้องให้ หน่วยงานจ่าย ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ตน มีอายุความกี่ปี
1. อายุความ 1 ปี 2. อายุความ 2 ปี
3. อายุความ 3 ปี 4. อายุความ 4 ปี
155. "เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ขได้รับคาสั่งให้เข้าไปฉี ดพ่นไซเพอร์ เมทริ นเพื่อกาจัดยุงในพื้นที่ที่รับผิดชอบ
เจ้าหน้าที่ สาธารณสุ ขเห็นว่าบ้านหลังหนึ่งในชุมชนเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ยงุ ลาย จึงได้เข้าไปฉี ดพ่นไซเพอร์
เมทริ นในบ้านดังกล่าว แต่ไปก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ทรัพย์สิน ที่อยูใ่ นบ้านหลังนั้น" ดังนี้ ใครเป็ น
ผูร้ ับผิดชอบในความเสี ยหายที่เกิดขึ้น
1. หน่วยงานที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ขสังกัด
2. เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ผูฉ้ ี ดพ่นยา
3. เจ้าของบ้าน เพราะเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ยงุ ลาย
4. ไม่มีใครต้องรับผิดชอบ
156. ใครที่มีหน้าที่เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ในการตราพระราชกฤษฎีกา และกฎที่ออกตาม พ.ร.บ. บ
ริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
1. ก.พ.ร. 2. นายกรัฐมนตรี
3. ปลัดกระทรวง 4. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด
157. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. สานักงานรัฐมนตรี มีฐานะเป็ นกรม 2. สานักงานปลัดกระทรวง มีฐานะเป็ นกรม
3. สานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ นกรม 4. ไม่มีขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกต้อง
158. กรณี ที่กระทรวงมีภารกิจเพิม่ ขึ้นและมีความจาเป็ นอย่างยิง่ ต้องมีรองปลัดกระทรวงเพิม่ ขึ้น ใครเป็ น
อนุมตั ิ ให้กระทรวงนั้นมีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็ นกรณี พิเศษ
1. ก.พ. และ ก.พ.ร. 2. คณะรัฐมตรี
3. นายกรัฐมนตรี 4. ก.พ.ร.
159. การปฏิบตั ิราชการแทน ตาม พ.ร.บ.บริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่
กาหนดใน กฎหมายใด
1. กฎกระทรวง 2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชบัญญัติ 4. พระราชกาหนด
160. สานักงานรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับเรื่ องใด
1. ราชการทัว่ ไปของกระทรวง 2. ราชการทางเมือง
3. ราชการที่มิได้กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของกรมหนึ่งกรมใดโดยเฉพาะ
4. ถูกทุกข้อ
161. การปฏิบตั ิตามพระราชกฤษฎีการว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546ใน
เรื่ องใด สมควรที่ส่วนราชการใดจะปฏิบตั ิเมื่อใดและจะต้องมีเงื่อนไขอย่างใด ให้เป็ นไปตามที่ใครกาหนด
1. คณะรัฐมนตรี 2. นายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี วาการกระทรวง 4. ถูกทุกข้อ
162. ข้อใดไม่ใช่เป้ าหมายในการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
1. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสม่าเสมอ
2. มีการปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการให้ทนั ต่อสถานการณ์
3. ไม่มีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจาเป็ น
4. มีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงกิจการของรัฐ
163. หน่วยงานใดมีหน้าที่ร่วมกันกาหนดแนวทางการจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการ
1. สานักงบประมาณ และ ก.พ.ร.
2. สานักงบประมาณ และ ก.พ.
3. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร.
4. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.
164. การประเมินภาพรวมของผูบ้ งั คับบัญชาต้องกระทาเป็ นความลับและเป็ นไปเพื่อประโยชน์ใด
1. ความคุม้ ค่าในภารกิจ
2. ความสามัคคีของข้าราชการ
3. ความพึงพอใจของประชาชนผูร้ ับบริ การ
4. ถูกทุกข้อ
165. กรณี ที่ส่วนราชการใดดาเนินการให้บริ การที่มีคุณภาพและเป็ นไปตามเป้ าหมายที่กาหนด ให้ ก.พ.ร.
เสนอ คณะรัฐมนตรี จดั สรรเงินใดแก่ส่วนราชการ
1. โบนัส 2. บาเหน็จความชอบ
3. รางวัลการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ 4. รางวัลเงินเพิ่มพิเศษ
166. พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มิให้ใช้บงั คับแก่หน่วยงานหรื อองค์กรใด
1. การพิจารณาของนายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี ในงานทางนโยบายโดยตรง
2. องค์กรที่ใช้อานาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ
3. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
4. ถูกทุกข้อ
167. การเตรี ยมการและการดาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคาสัง่ ทางปกครองหมายถึงข้อใด
1. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง 2. การพิจารณาทางปกครอง
3. คาสั่งทางปกครอง 4. กฎ
168. บุคคลตามข้อใดเป็ นคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครองโดยตาแหน่ง
1. เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน
2. เลขานุการรัฐมนตรี
3. รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
4. ปลัดกระทรวงกลาโหม
169. การแจ้งคาสั่งทางปกครองโดยการประกาศในหนังสื อพิมพ์จะกระทาได้เมื่อมีผรู ้ ับเกินกว่ากี่คน
1. 30 คน 2. 50 คน
3. 100 คน 4. 120 คน
170. เจ้าหน้าที่ตามข้อใด จะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้
1. เป็ นคู่กรณี เอง 2. เป็ นคู่หมั้นหรื อคู่สมรสของคู่กรณี
3. เป็ นญาติของคู่กรณี 4. ถูกทุกข้อ
171. ผูท้ ี่ได้รับความเดือนร้อนจากคาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ให้สามารถร้องขอ ค่าทดแทนได้
ภายในกี่วนั นับแต่ได้รับแจ้ง
1. 90 วัน 2. 120 วัน 3. 160 วัน 4. 180 วัน
172. เจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรื อจูงใจเพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรื อหามาให้
ซึ่ งทรัพย์สิน หรื อประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรื อผูอ้ ื่น เป็ นความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 147 2. มาตรา 148
3. มาตรา 149 4. มาตรา 150
173. เจ้าพนักงานที่มีหน้าที่ทาเอกสาร กรอกข้อความลงในเอกสารหรื อดูแลรักษาเอกสาร กระทาการปลอม
เอกสาร โดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหน้าที่น้ นั เป็ นความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา159 2. มาตรา 160
3. มาตรา161 4. มาตรา 162
174. นางสาวสุ ดสวยเจ้าพนักงานที่ดินอาเภอที่มีหน้าที่รับเรื่ องราวจดทะเบียนทานิ ติกรรมเกี่ยวกับที่ดินของ
ราษฎร ได้เรี ยกเก็บเงินค่าธรรมเนียมการทานิ ติกรรมซื้ อขายที่ดินจากผูข้ ายแล้ว ไม่นาส่ งฝ่ ายการเงิน เป็ น
ความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ตามมาตรา 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบตาม มาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ตตามมาตรา 151
4. ไม่มีความผิด
175. เจ้าอาวาสนาเงินซึ่ งเป็ นเงินที่มีผบู ้ ริ จาคให้แก่วดั ไปใช้ส่วนตัว เป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ตามมาตรา 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบตาม มาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ตตามมาตรา 151
4. ไม่มีความผิด
176. บุคคลใดเป็ นข้าราชการเมือง
1. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
2. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง
3. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร
4. ถูกเฉพาะข้อ 1. และข้อ 2.
177. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอานาจการบังคับของนายกรัฐมนตรี
1. มีอานาจบังคับบัญชาปลัดกระทรวงมหาดไทย
2. มีอานาจบังคับบัญชาปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
3. มีอานาจบังคับบัญชาผูว้ า่ การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค
4. ถูกทุกข้อ
178. ใครเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาในสานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
1. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 2. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
3. คณะรัฐมนตรี 4. นายกรัฐมนตรี
179. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสานักเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี
1. มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง
2. มีเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการขึ้น
ตรงต่อ นายกรัฐมนตรี
3. มีรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมืองและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หารเป็ น
ผูช้ ่วยสั่งและ ปฏิบตั ิราชการ
4. ถูกทุกข้อ
180. ใครเป็ นประธานคณะกรมการจังหวัด
1. รัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย 2. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
2. อธิบดี 4. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด
181. การยุบ รวม หรื อโอนกรมในกระทรวงใดมาจัดตั้งเป็ นส่ วนราชการในกระทรวงนั้นหรื อกระทรวงอื่น
โดยไม่มีการ กาหนดตาแหน่งหรื ออัตราของข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิ่มขึ้นให้ตราเป็ นกฎหมายใด
1. กฎกระทรวง 2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชบัญญัติ 4. พระราชกาหนด
182. จากข้อ 181 ข้างต้น ใครเป็ นผูใ้ ห้ความเห็นชอบในร่ างพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่ วนราชการของ
กระทรวง
1. คณะรัฐมนตรี 2. ปลัดกระทรวง
3. นายกรัฐมนตรี 4. รัฐมนตรี เจ้าสังกัด
183. ใครเป็ นผูล้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการใน พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.
2539
1. บรรหาร ศิลปะอาชา 2. สมัคร สุ นทรเวช
3. เปรม ติลสู นานนท์ 4. ชวน หลีกภัย
184. ข้อใดไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ ตามความหมายของ พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.
2539 1. กระทรวง
2. รัฐวิสาหกิจที่ต้ งั ขึ้นโดย พ.ร.บ.
3. รัฐวิสาหกิจที่ต้ งั ขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกา
4. ไม่มีขอ้ ถูก
185. ข้อใดคือเป้ าหมายหลักของ พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
1. เพื่อรักษาผลประโยชน์ของหน่วยงานของรัฐ
2. เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผูเ้ สี ยหาย อันเกิดจากกระกระทาจากหน่วยงานของรัฐ
3. ความเป็ นธรรมแก่เจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน ในหน่วยงานของรัฐ
4. เพื่อสร้างขวัญและกาลังใจ ให้แก่เจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน ในหน่วยงานของรัฐ
186. หากหน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ผเู ้ สี ยหายในความรับผิดของเจ้าหน้าที่ไปแล้ว สิ ทธิ
จะเรี ยกให้ เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนคืน มีอายุความตามข้อใด
1. 6 เดือน นับแต่วนั ที่ศาลมีคาพิพากษา
2. 6 เดือน นับแต่วนั ที่หน่วยงานของรัฐได้ใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผเู ้ สี ยหาย
3. 1 ปี นับแต่วนั ที่หน่วยงานของรัฐได้ใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผแู ้ ก่เสี ยหาย
4. 1 ปี นับแต่วนั ที่ศาลมีคาพิพากษา
187. คาว่า “กรรมการ” ตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562 หมายถึงใคร
1. กรรมการข้าราชการพลเรื อน
2. กรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม
3. กรรมการข้าราชการตารวจ
4. ไม่มีขอ้ ถูก
188. หมวด 1 ของ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562 คือเรื่ องอะไร
1. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม
2. มาตรฐานทางจริ ยธรรมและประมวลจริ ยธรรม
3. การรักษาจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
4. บทเฉพาะกาล
189. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับผูจ้ ดั ทาประมวลจริ ยธรรม
1. สานักงานกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สาหรับผูบ้ ริ หารและพนักงานรัฐวิสาหกิจ
2. สภากลาโหม สาหรับข้าราชการทหาร
3. สภากลาโหม สาหรับข้าราชการพลเรื อนกลาโหม
4. คณะกรรมการพัฒนาและส่ งเสริ มองค์การมหาชน สาหรับผูบ้ ริ หาร เจ้าหน้าที่และผูป้ ฏิบตั ิงาน
ขององค์การมหาชน
190. กรณี ที่มีปัญหาว่าองค์กรใดควรเป็ นผูจ้ ดั ทาประมวลจริ ยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ ประเภทใด ให้
ใครเป็ น ผูม้ ีอานาจวินิจฉัย
1. ก.ม.จ. 2. องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล
3. คณะรัฐมนตรี 4. สานักงานรัฐมนตรี
191. คาว่า "กฎ" ตามพระราชบัญญัติวธิ ี ปฏิบตั ิราชการทางปกครอง หมายถึงข้อใด
1. พระราชกฤษฎีกา
2. กฎกระทรวง
3. ประกาศกระทรวง และข้อบังคับท้องถิ่น
4. ถูกทุกข้อ
192. พระราชบัญญัติน้ ีใช้บงั คับแก่กรณี ใด
1. การดาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
2. ระยะเวลาอุทธรณ์ตามกฎหมายควบคุมอาคาร
3. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
4. การดาเนิ นกิจการขององค์การทางศาสนา
193. พระราชบัญญัติวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2534 ไม่ใช้บงั คับองค์กรหรื อหน่วยราชการตามข้อ
ใด
1. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
2. การดาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
3. การดาเนิ นกิจการทางศาสนา
4. ถูกทุกข้อ
194. ผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีการปฏิบตั ิราชการทางปกครอง กาหนดจานวนไว้ตามข้อใด
1. ไม่นอ้ ยกว่า 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
2. ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน
3. ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน
4. ไม่นอ้ ยกว่า 7 คน แต่ไม่เกิน 9 คน
195. คู่กรณี มีสิทธิ ขอตรวจดูเอกสารที่จาเป็ นต้องรู ้เพื่อการโต้แย้งสิ ทธิ หรื อชี้แจงหรื อป้ องกันสิ ทธิ ของตนได้
ยกเว้นข้อใด
1. ขอตรวจดูเอกสารต้นร่ างคาวินิจฉัย ในขณะที่ยงั ไม่ได้ทาคาสั่งทางปกครอง
2. ขอสาเนาเอกสารที่เป็ นพยานหลักฐานทั้งหมด
3. ขอดูหลักฐานที่เจ้าหน้าที่เก็บรักษาไว้
4. มีสิทธิขอดูได้ทุกกรณี
196. คาสั่งทางปกครองที่ทาเป็ นหนังสื ออย่างน้อยต้องระบุรายละเอียดใด
1. วัน เดือน และปี ที่ทาคาสัง่
2. ลายมือชื่อของเจ้าหน้าที่ผทู ้ าคาสั่ง
3. ชื่อและตาแหน่งของเจ้าหน้าที่ผทู ้ าคาสั่ง
4. ถูกทุกข้อ
197. หน่วยงานใดที่มีหน้าที่ดูแลและให้ความช่วยเหลือองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นในการจัดทาหลักเกณฑ์
การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
1. สานักนายกรัฐมนตรี
2. กระทรวงมหาดไทย
3. คณะรัฐมนตรี
4. ก.พ.ร.
198. แผนปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการ ไม่ตอ้ งสอดคล้องกับข้อใด
1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
2. ยุทธศาสตร์ชาติ
3. นโยบายของคณะรัฐมนตรี ที่แถลงต่อรัฐสภา
4. แผนพัฒนาประเทศ
199. การกระจายอานาจการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการสั่ง การอนุญาต การอนุมตั ิ การปฏิบตั ิราชการ หรื อการ
ดาเนินการ อื่นใดต้องมุ่งผลในเรื่ องใด
1. ให้เกิดความสะดวกและรวดเร็ วในการบริ การประชาชน
2. ให้เกิดความรวดเร็ วและลดขั้นตอนการปฏิบตั ิราชการ
3. กลัน่ กรองงานที่ไม่จาเป็ นในการปฏิบตั ิงาน
4. ถูกทั้งข้อ 1 และข้อ 2
200. การทบทวนภารกิจต้องคานึงถึงเรื่ องดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
1. ความคุม้ ค่าของภารกิจ
2. กาลังเงินงบประมาณของประเทศ
3. ความรวดเร็ วในการบริ การประชาชน
4. นโยบายของคณะรัฐมนตรี ที่แถลงต่อรัฐสภา
201. การดาเนินการเกี่ยวกับการจัดหาหรื อให้สิทธิ ประโยชน์ในกรณี ใดไม่ถือเป็ นคาสั่งทางปกครอง
1. การสั่งรับหรื อไม่รับคาเสนอขาย รับจ้าง แลกเปลี่ยน ให้เช่า ซื้ อ เช่า หรื อให้สิทธิ ประโยชน์
2. การอนุมตั ิสั่งซื้ อ จ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย ให้เช่า หรื อให้สิทธิ ประโยชน์
3. การสัง่ ให้คู่กรณี ของหน่วยงานราชการเป็ นผูท้ ิง้ งาน
4. ไม่มีขอ้ ถูก
202. ข้อใดกล่าวไม่ถูกกต้องเกี่ยวกับการเพิกถอนคาสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่ งไม่เป็ นการให้
ประโยชน์แก่ผรู ้ ับ
1. อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรื อบางส่ วน
2. อาจถูกเพิกถอนโดยให้มีผลย้อนหลังหรื อไม่มีผลย้อนหลัง
3. อาจถูกเพิกถอนมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่ง
4. อาจถูกเพิกถอนโดยให้มีผลตั้งแต่ขณะที่เพิกถอน
203. การแจ้งคาสั่งทางปกครองให้ นายดีนี่ซ่ ึ งอยูป่ ระเทศเกาหลีใต้โดยวิธีส่งทางไปรษณี ย ์ ตอบรับเมื่อวันที่ 1
สิ งหาคม 2563 ให้ถือว่านายดีได้รับแจ้งเมื่อใด
1. 8 สิ งหาคม 2563 2. 9 สิ งหาคม 2563
3. 16 สิ งหาคม 2563 4. 17 สิ งหาคม 2563
204. ถ้าเงินหรื อทรัพย์สินที่ได้มาจากการยึด อายัด หรื อขายทอดตลาดทรัพย์สินที่สืบพบได้มีจานวน 426,000
บาท เอกชนที่สืบพบทรัพย์สินจะได้รับค่าตอบแทนเท่าใด
1. 8,520 บาท 2. 10,650 บาท
3. 12,780 บาท 4. 21,300 บาท
205. ถ้ายังไม่ได้ทาคาสัง่ ทางปกครองในเรื่ องนั้น คู่กรณี มีสิทธิ ขอตรวจดูเอกสารได้หรื อไม่
1. ไม่ได้ทุกกรณี
2. ไม่ได้จนกว่าจะได้ขออนุ ญาตต่อเจ้าหน้าที่ผทู ้ าคาสั่ง
3. สามารถตรวจดูเอกสารอันเป็ นต้นร่ างคาวินิจฉัยได้
4. สามารถตรวจดูเอกสารอันเป็ นสาเนาคาสั่งทางปกครอง
206. กรณี ที่ทาให้เจ้าหน้าที่จะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้ มีกี่ขอ้
1. 5 ข้อ 2. 6 ข้อ
3. 7 ข้อ 4. 8 ข้อ
207. ข้อใดไม่ใช่ "คาสั่งทางปกครอง"
1. พนักงานอัยการสั่งไม่ฟ้องผูต้ อ้ งหา
2. คาสั่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริ ง
3. คณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดมีคาสั่งพ้นจากตาแหน่งอิหม่ามประจามัสยิด
4. ถูกทุกข้อ
208. เจ้าพนักงานที่มีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์น้ นั เป็ นของตน หรื อเป็ นของ
ผูอ้ ื่นโดยทุจริ ต หรื อโดยทุจริ ตยอมให้ผอู ้ ื่นเอาทรัพย์น้ นั เสี ย ต้องระวางโทษใด
1. จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชี วติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
2. จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชี วติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท หรื อ
ประหารชีวิต
3. จาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
4. จาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี หรื อปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
209. นายเอ เป็ นผูค้ ุมเรื อนจามีหน้าที่ควบคุมดูแลนักโทษ และยังมีหน้าที่ขบั รถยนต์ของเรื อนจาด้วย นายเอ
ถือโอกาส เอาน้ ามันในรถไปขาย เป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต
4. ถูกทุกข้อ
210. นายบี เจ้าหน้าที่พสั ดุ อบต.สุ ดใจ ได้นาคอมพิวเตอร์ ไปจานากับนายใจดี แต่นายบี ไม่มีเงินไปไถ่คืนจน
เกิด ระยะเวลาไถ่จนคอมพิวเตอร์ หลุดจานา เป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต
4. ไม่มีความผิด
211. พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ให้ใช้บงั คับตั้งแต่เมื่อใด
1. 14 พฤศจิกายน 2539 2. 15 พฤศจิกายน 2539
3. 14 ธันวาคม 2539 4. 15 ธันวาคม 2539
212. การกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ที่ไม่ใช่การกระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่ ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. รัฐต้องรับผิดชอบรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทา
2. เจ้าหน้าที่ตอ้ งรับผิดในการนั้นเป็ นการเฉพาะตัว
3. ผูเ้ สี ยหายอาจฟ้ องหน่วยงานของรัฐได้โดยตรง จะฟ้ องเจ้าหน้าที่ไม่ได้
4. ถูกทุกข้อ
213. หาก นายสน ได้รับแจ้งคาสั่งจากกรุ งเทพมหานคร เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2563 ว่าจะชดใช้ค่าสิ นไหม
ทดแทนให้แก่นายสน 10,000 บาท ดังนี้ หากนายสน ยังไม่พอใจในผลการวินิจฉัยของกรุ งเทพฯ นายสน
จะต้องยืน่ ฟ้ องต่อศาลปกครองภายในวันที่เท่าใด
1. 1 พฤษภาคม 2563 2. 29 มิถุนายน 2563
3. 29 กรกฎาคม 2563 4. 27 กันยายน 2563
214. "เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง ออกตรวจพื้นที่ ขณะรับประทานอาหารกลางวันใน ร้านอาหาร
แห่งหนึ่ง เกิดไปทะเลาะวิวาทกับวัยรุ่ นในร้านอาหาร ทาให้ทรัพย์สินของร้าน เสี ยหาย " ดังนี้ ใครเป็ น
ผูร้ ับผิดชอบในความเสี ยหาย
1. หน่วยงานรัฐแห่งนั้น 2. เจ้าหน้าที่
3. วัยรุ่ นคู่กรณี 4. ข้อ 2 และ ข้อ 3
215. ใครเป็ นผูล้ งนามใน พ.ร.บ. มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ.2562
1. บรรหาร ศิลปะอาชา
2. สมัคร สุ นทรเวช
3. อานันท์ ปั นยารชุน
4. ประยุทธ์ จันทร์ โอชา
216. ข้อใดถือเป็ นมาตรฐานทางจริ ยธรรม
1. ซื่ อสัตย์สุจริ ต มีจิตสานึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่
2. กล้าตัดสิ นใจและกระทาในสิ่ งที่ถูกต้องชอบธรรม
3. ดารงตนเป็ นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ
4. ถูกทุกข้อ
217. ข้อใดไม่ถือเป็ น “หน่วยงานของรัฐ” ตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562
1. หน่วยงานธุ รการของรัฐสภา 2. องค์กรอิสระ
3. หน่วยงานธุ รการของศาล 4. ถูกทุกข้อ
218. มาตรฐานทางจริ ยธรรม มีท้ งั หมดกี่ขอ้
1. 5 ข้อ 2. 6 ข้อ
3. 7 ข้อ 4. 8 ข้อ
219. การจัดตั้งศูนย์บริ การร่ วม เป็ นการบริ หารราชการเพื่อเป้ าหมายใด
1. การลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ
3. มีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
220. ให้สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานักงบประมาณร่ วมกันจัด
ให้มีการ ประเมินความคุม้ ค่าในการปฏิบตั ิภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดาเนิ นการอยู่ เพื่อรายงาน
คณะรัฐมนตรี เป็ นการ บริ หารราชการเพื่อเป้ าหมายใด
1. การลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ
3. มีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
221. ในการจัดซื้ อหรื อจัดจ้างให้ส่วนราชการดาเนิ นการโดยเปิ ดเผยและเที่ยงธรรมเป็ นการบริ หารราชการ
เพื่อเป้ าหมายใด
1. มีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
2. ไม่มีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจาเป็ น
3. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสม่าเสมอ
4. การปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการ
222. “ส่ วนราชการมีหน้าที่สารวจ ตรวจสอบ และทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศ ที่อยู่
ในความรับผิดชอบ” เป็ นการบริ หารราชการเพื่อเป้ าหมายใด
1. มีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
2. ไม่มีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจาเป็ น
3. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสม่าเสมอ
4. การปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการ
223. “ให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบเครื อข่ายสารสนเทศของส่ วนราชการเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่
ประชาชนที่จะ สามารถติดต่อสอบถามหรื อขอข้อมูลหรื อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของ
ส่ วนราชการ” เป็ นการ บริ หารราชการเพื่อเป้ าหมายใด
1. เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ
2. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสม่าเสมอ
3. การลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
4. การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
224. “ให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผูป้ ระเมินอิสระดาเนินการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของ ส่ วน
ราชการเกี่ยวกับ ผลสัมฤทธิ์ ของภารกิจ คุณภาพการให้บริ การ ความพึงพอใจของประชาชนผูร้ ับบริ การ
ความคุม้ ค่าในภารกิจ” เป็ น การบริ หารราชการเพื่อเป้ าหมายใด
1. มีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
2. ไม่มีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจาเป็ น
3. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสม่าเสมอ
4. การปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการ
225. ให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตนว่าภารกิจใดมีความจาเป็ น หรื อสมควรที่จะยกเลิก
ปรับปรุ ง หรื อ เปลี่ยนแปลงการดาเนิ นการต่อไปหรื อไม่ เป็ นการบริ หารราชการเพื่อเป้ าหมายใด
1. มีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
2. ไม่มีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจาเป็ น
3. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสม่าเสมอ
4. การปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการ
226. ใครที่มีอานาจในการวางระเบียบปฏิบตั ิราชการเพื่อให้การบริ หารราชการแผ่นดินเป็ นไปโดยรวดเร็ ว
และมี ประสิ ทธิภาพ
1. คณะรัฐมนตรี 2. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี 4. ไม่มีขอ้ ถูก
227. การยกเลิกกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารและจัดตั้งกระทรวงดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและ
สังคม ได้ ตราเป็ นกฎหมายใด
1. พระราชบัญญัติ 2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกาหนด 4. ประกาศกระทรวงมหาดไทย
228. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของผูว้ า่ ราชการจังหวัด
1. ประสานงานและร่ วมมือกับข้าราชการพลเรื อนในมหาวิทยาลัย
2. ประสานงานและร่ วมมือกับหัวหน้าส่ วนราชการในระดับอาเภอ
3. ประสานงานและร่ วมมือกับข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน
4. ประสานงานและร่ วมมือกับข้าราชการฝ่ ายอัยการ
229. การเป็ นผูร้ ักษาราชการแทนตาม พ.ร.บ. บริ หารราชการแผ่นดินไม่กระทบกระเทือนอานาจของใคร
1. นายกรัฐมนตรี 2. รัฐมนตรี เจ้าสังกัด
3. ปลัดกระทรวง 4. ถูกทุกข้อ
230. ผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการว่างลงก่อนวาระให้มีการแต่งตั้งภายในกี่วนั
1. 15 วัน 2. 30 วัน
3. 45 วัน 4. 60 วัน
231. ใครเป็ นผูม้ ีอานาจให้ผทู ้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการออกจากตาแหน่ง เพราะ
บกพร่ องต่อ หน้าที่ มีความประพฤติเสื่ อมเสี ยหรื อหย่อนความสามารถ
1. รัฐมนตรี 2. คณะรัฐมนตรี
3. นายกรัฐมนตรี 4. ไม่มีขอ้ ถูก
232. ข้อใดไม่ใช่เป้ าหมายของการบริ หารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
1. เกิดความผาสุ กและความเป็ นอยูท่ ี่ดีของประชาชน
2. เกิดความสงบและปลอดภัยของสังคมส่ วนรวม
3. เกิดประโยชน์สูงสุ ดของสังคม
4. ไม่มีขอ้ ถูก
233. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับแนวทางการบริ หารราชการ
1. การกาหนดภารกิจของรัฐและส่ วนราชการต้องสอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐ และนโยบาย
ของ คณะรัฐมนตรี ที่แถลงต่อรัฐสภา
2. การปฏิบตั ิภารกิจของส่ วนราชการต้องเป็ นไปโดยซื่ อสัตย์สุจริ ตสามารถตรวจสอบได้และมุ่งให้
เกิดประโยชน์ สุ ขแก่ประชาชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น
3. กรณี ที่ภารกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชาชน ส่ วนราชการต้องดาเนินการรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชน หรื อชี้แจงทาความเข้าใจเพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับจาก
ภารกิจนั้น
4. ถูกทุกข้อ
234. ใครเป็ นผูม้ ีหน้าที่พฒั นาความรู ้ในส่ วนราชการเพื่อให้มีลกั ษณะเป็ นองค์การแห่งการ เรี ยนรู ้อย่าง
สม่าเสมอ
1. ก.พ.ร. 2. ก.พ. 3. หน่วยงานของรัฐ 4. ส่ วนราชการ
235. การจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการไว้เป็ นการล่วงหน้า ต้องระบุรายละเอียดใด
1. เป้ าหมายของภารกิจ 2. ผลสัมฤทธิ์ ของภารกิจ
3. ตัวชี้วดั ความสาเร็ จของภารกิจ 4. ถูกทุกข้อ
236. การบริ การประชาชนและการติดต่อประสานงานระหว่างส่ วนราชการด้วยกัน ต้องกระทาโดยใช้
แพลตฟอร์ ม ดิจิทลั กลางที่ใครเป็ นผูก้ าหนด
1. กระทรวงการคลัง 2. คณะรัฐมนตรี
3. สานักงบประมาณ 4. สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทลั
237. ใครเป็ นผูก้ าหนดระยะเวลาในการทบทวนภารกิจของส่ วนราชการ
1. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด 2. ก.พ.ร.
3. คณะรัฐมนตรี 4. กรมบัญชีกลาง
238. พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ใช้บงั คับตั้งแต่เมื่อใด
1. ให้ใช้บงั คับนับแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
2. ให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนด 60 วัน นับแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
3. ให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนด 90 วัน นับแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
4. ให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนด 180 วัน นับแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
239. การสร้างนิ ติสัมพันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรื อมีผลกระทบ
ต่อ สถานภาพของสิ ทธิ หรื อหน้าที่ของบุคคล ได้แก่เรื่ องดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
1. การวินิจฉัยอุทธรณ์ 2. การรับรอง
3. การรับจดทะเบียน 4. การออกกฎ
240. บุคคล คณะบุคคล หรื อนิติบุคคล ซึ่งใช้อานาจหรื อได้รับมอบให้ใช้อานาจทางปกครองของรัฐในการ
ดาเนินการ อย่างหนึ่งอย่างใดตามกฎหมาย ไม่วา่ จะเป็ นการจัดตั้งขึ้นใน ระบบราชการ รัฐวิสาหกิจหรื อ
กิจการอื่นของรัฐ หรื อไม่ก็ตาม หมายถึงข้อใด
1. คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท 2. ผูร้ ้อง
3. เจ้าหน้าที่ 4. คู่กรณี
241. ข้อใดคือด้านความเชี่ยวชาญของผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
1. นิติศาสตร์ 2. สังคมศาสตร์
3. การบริ หารราชการแผ่นดิน 4. ถูกทุกข้อ
242. บุคคลตามข้อใดไม่ได้เป็ นกรรมการโดยตาแหน่งในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
1. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
2. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
3. เลขาธิการ ป.ป.ช.
4. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
243. บทบัญญัติเกี่ยวกับการคัดค้านเจ้าหน้าที่ ไม่ให้นามาใช้บงั คับกับกรณี ใด
1. กรณี มีความจาเป็ นเร่ งด่วน หากปล่อยให้ล่าช้าไปจะเสี ยหายต่อประโยชน์สาธารณะ
2. หากปล่อยให้ล่าช้าไป สิ ทธิ ของบุคคลจะเสี ยหายโดยไม่มีทางแก้ไขได้
3. ไม่มีเจ้าหน้าที่อื่นปฏิบตั ิหน้าที่แทนผูน้ ้ นั ได้
4. ถูกทุกข้อ
244. เจ้าหน้าที่ที่เป็ นพี่นอ้ งหรื อลูกพี่ลูกน้องกับคู่กรณี ภายในกี่ช้ นั จะพิจารณาทางปกครองไม่ได้
1. 2 ชั้น 2. 3 ชั้น 3. 4 ชั้น 4. 5 ชั้น
245. เจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรื อจูงใจเพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรื อ หามาให้
ซึ่ งทรัพย์สิน หรื อประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรื อผูอ้ ื่น ต้องระวางโทษใด
1. จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
2. จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชี วติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาทหรื อ
ประหารชีวิต
3. จาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
4. จาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี หรื อปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ
246. นายสมชายเป็ นจ้าพนักงานมีหน้าที่รับจดและต่อทะเบียนยานพาหนะเก็บรักษาเงินค่าภาษียานพาหนะ
และค่าแผ่น ป้ ายหมายเลขทะเบียนยานพาหนะ ได้รับเงินที่ผมู ้ าต่อทะเบียนมอบให้ดว้ ยความสมัครใจเป็ น
ค่าบริ การแล้ว ไม่นาส่ งฝ่ ายการเงิน เป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ตาม ม.147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบตาม ม.148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ตตาม ม.151
4. ไม่มีความผิด
247. ถ้าศาลพิพากษายกฟ้ องเพราะเหตุที่หน่วยงานของรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ที่ถูกฟ้ องมิใช่ผตู ้ อ้ งรับผิดในการ
กระทา ละเมิดของเจ้าหน้าที่ให้ขยายอายุความฟ้ องร้องผูท้ ี่ตอ้ งรับผิดซึ่ งมิได้ถูกเรี ยกเข้ามาในคดีออกไปกี่
เดือน นับแต่ วันที่คาพิพากษานั้นถึงที่สุด
1. 3 เดือน 2. 6 เดือน 3. 12 เดือน 4. 1 ปี
248. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. กรณี ที่หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผเู ้ สี ยหายเพื่อการละเมิดของเจ้าหน้าที่
ให้หน่วยงาน ของรัฐมีสิทธิ เรี ยกให้เจ้าหน้าที่ผทู ้ าละเมิดชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนดังกล่าวแก่หน่วยงานของ
รัฐได้ถา้ เจ้าหน้าที่ ได้กระทาการนั้นไปด้วยความจงใจหรื อประมาทเลินเล่อ
2. สิ ทธิ เรี ยกให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนจะมีได้เพียงใดให้คานึงถึงระดับความร้ายแรงแห่งการ
กระทาและความ เป็ นธรรมในแต่ละกรณี เป็ นเกณฑ์โดยให้ใช้เต็มจานวนของความเสี ยหาย
3. ถ้าการละเมิดเกิดจากความผิดหรื อความบกพร่ องของหน่วยงานของรัฐหรื อระบบการดาเนินงาน
ส่ วนรวม ให้ หักส่ วนแห่งความรับผิดดังกล่าวออกด้วย
4. ถูกทุกข้อ
249. ใครเป็ นผูร้ ักษาการตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562
1. นายกรัฐมนตรี
2. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงยุติธรรม
4. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงกลาโหม
250. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
1. ดารงตนเป็ นแบบอย่างที่ดีของประชาชน
2. คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว
3. มีจิตสาธารณะ
4. รักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ
251. นายสมชายเรี ยกเงินค่าธรรมเนียมค่าโอนที่ดินเกินกว่าที่กฎหมายกาหนดแล้วนาเงินไปใช้ส่วนตัว เป็ น
ความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ตามมาตรา 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ตามมาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
4. ไม่มีความผิด
252. นายมชายรับราชการเป็ นนายช่างโยธา 5 ตาแหน่งหัวหน้าหน่วยจราจรสงเคราะห์ประจาเขตการทาง
สงขลา กรมทางหลวง มีอานาจสั่งอนุ ญาตให้เบิกจ่ายน้ ามันและอนุญาตให้ใช้รถยนต์ในเขตการทางสงขลา
ด้วย นายสมชายได้ส่ังให้ใช้รถของราชการและสั่งอนุญาตให้เบิกจ่ายน้ ามันของราชการสาหรับรถดังกล่าว
ขนเสาซีเมนต์ ป้ ายจราจรจากแขวงการทางสงขลาไปยังจุดติดตั้งในกิจการส่ วนตัว เป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ตามมาตรา 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ตามมาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
4. เจ้าพนักงานเข้ามีส่วนได้เสี ยเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองและผูอ้ ื่น ตามมาตรา 152
253. นายเอ นิ ติกร ได้รับคาสั่งมอบหมายจากนายกเทศมนตรี สุดแดนให้ไปรับเงินจากศาลมามอบให้เทศบาล
เมื่อ นายเอ รับเงินแล้วนายเอ เอาเงินมาเป็ นของตนเสี ย เป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ตามมาตรา 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ตามมาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
4. ไม่มีความผิด
254. เจ้าพนักงาน ปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ด หรื อ
ปฏิบตั ิหรื อ ละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต เป็ นความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 155 2. มาตรา 156 3. มาตรา 157 4. มาตรา 158
255. เจ้าพนักงาน กระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งโดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่น
ใด ซึ่ งตนได้ เรี ยก รับ หรื อยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนได้รับแต่งตั้งเป็ นเจ้าพนักงานในตาแหน่งนั้นเป็ นความผิด
ตามมาตราใด
1. มาตรา 147 2. มาตรา 148 3. มาตรา 149 4. มาตรา 150
256. วิธีการชดใช้ค่าเสี ยหายที่เกิดจากการละเมิดของเจ้าหน้าที่ตามพ.ร.บ. ความผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่
พ.ศ.2539 ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. ซ่อมแซมทรัพย์สินที่เสี ยหายให้คงสภาพเดิม
2. ชดใช้เป็ นเงิน
3. ชดใช้เป็ นทรัพย์สินที่มีคุณภาพสภาพและปริ มาณอย่างเดียวกับที่เสี ยหาย
4. ทุกข้อ
257. การฟ้ องของบุคคลภายนอกที่ได้รับการละเมิดจากเจ้าหน้าที่รัฐที่เกิดจากการ ปฏิบตั ิหน้าที่และเจ้าหน้าที่
รัฐคนนั้น ไม่ได้สงั กัดหน่วยงานใด บุคคลภายนอกจะฟ้ องหน่วยงานใด
1. ฟ้ องเจ้าหน้าที่คนนั้น 2. ฟ้ องหน่วยงานรัฐ
3. ฟ้ องนายกรัฐมนตรี 4. ฟ้ องกระทรวงการคลัง
258. กรณี ที่เกิดละเมิดขึ้นแก่หน่วยงานของรัฐ โดยเจ้าหน้าที่รัฐกระทาต่อเอกชนโดยจงใจหรื อ ประมาท
เลินเล่ออย่าง ร้ายแรง ใครเป็ นผูร้ ับผิดชอบชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน
1. เจ้าหน้าที่รัฐ 2. หน่วยงานของรัฐ
3. กระทรวงการคลัง 4. เจ้าหน้าที่ของรัฐและหน่วยงานของรัฐ
259. กรณี ที่เจ้าหน้าที่หลายคนต้องรับผิดชอบร่ วมกันในผลแห่งละเมิด ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด
1. เจ้าหน้าที่แต่ละคนต้องรับผิดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนเฉพาะส่ วนของตนเท่านั้น
2. ทุกคนต้องรับผิดเท่าๆกัน
3. เจ้าหน้าที่แต่ละคนต้องร่ วมรับผิดในลักษณะของลูกหนี้ร่วม
4. ถูกเฉพาะข้อ 2. และข้อ 3.
260. ข้อใดไม่ใช่เป็ นหน่วยงานของรัฐที่ตอ้ งดาเนินการตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม
1. หน่วยงานธุรการของรัฐสภา 2. ศาล
3. องค์กรอัยการ 4. ถูกทุกข้อ
261. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
1. ดารงตนเป็ นแบบอย่างที่ดีของประชาชน
2. คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว
3. มีจิตสาธารณะ
4. รักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ
262. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม
1. คณะรัฐมนตรี แต่งตั้งไม่เกิน 5 คน
2. คณะรัฐมนตรี แต่งตั้งไม่เกิน 7 คน
3. นายกรัฐมนตรี แต่งตั้งไม่เกิน 5 คน
4. นายกรัฐมนตรี แต่งตั้งไม่เกิน 7 คน
263. ใครเป็ นผูร้ ักษาการตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
1. คณะรัฐมนตรี 2. นายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี วาการกระทรวง 4. ถูกทุกข้อ
264. หน่วยงานใดมีหน้าที่ในการตรวจสอบดูแลส่ วนราชการที่จดั ตั้งขึ้นใหม่มิให้มีการกาหนดตาแหน่งหรื อ
อัตรากาลังของ ข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิ่มขึ้นจนกวาจะครบสามปี
1. สานักงานพัฒนาระบบราชการ และสานักงบประมาณ
2. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน และสานักงานพัฒนาระบบราชการ
3. สานักงบประมาณ และกรมบัญชีกลาง
4. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน และสานักงบประมาณ
265. การยุบส่ วนราชการ จะต้องตราเป็ นกฎหมายใด
1. พ.ร.บ. 2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกาหนด 4. ประกาศกระทรวงมหาดไทย
266. ใครเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการกาหนดนโยบาย เป้ าหมายและผลสัมฤทธิ์ ของ
งานในสานักนายกรัฐมนตรี
1. คณะรัฐมนตรี 2. นายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวง 4. สานักนายกรัฐมนตรี
267. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
1. สั่งให้ราชการส่ วนกลางรายงานการปฏิบตั ิราชการ
2. สั่งให้ราชการส่ วนภูมิภาคชี้แจงแสดงความคิดเห็น
3. สั่งสอบสวนข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของราชการส่ วนท้องถิ่น
4. สัง่ ให้ราชการส่ วนท้องถิ่นรายงานการปฏิบตั ิราชการ
268. ใครเป็ นผูม้ ีหน้าที่ในการวางระเบียบปฏิบตั ิราชการเพื่อให้การบริ หารราชการแผ่นดินเป็ นไปโดย
รวดเร็ วและมี ประสิ ทธิภาพ
1. นายกรัฐมนตรี 2. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี 4. รัฐมนตรี เจ้าสังกัด
269. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ตราขึ้นโดยอาศัย
อานาจตาม
1. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และ พ.ร.บ.ปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม
2. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และ พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรื อน
3. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และ พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน
4. พ.ร.บ.ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน และ พ.ร.บ.วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
270. การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีน้ นั จะต้องบริ หารราชการเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายใด
1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ
3. มีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. ถูกทุกข้อ
271. การบริ หารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน หมายถึงการปฏิบตั ิราชการที่มีเป้ าหมายตาม
ข้อใด
1. เกิดความผาสุ กและความเป็ นอยูท่ ี่ดีของประชาชน
2. เกิดความสงบและปลอดภัยของสังคมส่ วนรวม
3. เกิดประโยชน์สูงสุ ดของประเทศ
4. ถูกทุกข้อ
272. เพื่อประโยชน์ในการปฏิบตั ิราชการ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อกาหนด
มาตรการกากับ การปฏิบตั ิราชการ โดยวิธีการใด
1. การประเมินคุณภาพ 2. การประเมินตนเอง
3. จัดทาความตกลงเป็ นลายลักษณ์อกั ษร 4. การตรวจสอบภายใน
273. ในการปฏิบตั ิภารกิจใด หากส่ วนราชการจาเป็ นต้องได้รับอนุมตั ิ อนุ ญาตหรื อขอความเห็นจากส่ วน
ราชการอื่น ส่ วน ราชการที่มีอานาจพิจารณาต้องแจ้งผลการพิจารณาให้ส่วนราชการที่ยื่นคาขอทราบภายใน
กี่วนั
1. 7 วัน
2. 15 วัน หรื อตามที่ส่วนราชการที่มีอานาจประกาศกาหนด
3. 15 วัน และสามารถขยายได้อีก 30 วัน หรื อตามที่กฎหมายเฉพาะกาหนด
4. 30 วัน และสามารถขยายได้อีก 30 วัน หรื อตามที่กฎหมายเฉพาะกาหนด
274. การแจ้งคาสั่งทางปกครองโดยวิธีปิดประกาศไว้ ณ ที่ทาการของเจ้าหน้าที่และที่วา่ การอาเภอที่ผรู ้ ับมี
ภูมิลาเนา จะกระทาได้เมื่อมีผรู ้ ับเกินกว่ากี่คน
1. 30 คน 2. 50 คน 3. 100 คน 4. 120 คน
275. การแจ้งคาสั่งทางปกครองโดยวิธีปิดประกาศ ให้ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อล่วงพ้นระยะเวลากี่วนั
1. 1 วัน 2. 15 วัน 3. 30 วัน 4. 45 วัน
276. พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครองห้ามบังคับใช้กบั หน่วยงานหรื อการดาเนินงานใด
1. องค์กรที่ใช้อานาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ
2. การดาเนิ นกิจการขององค์การทางศาสนา
3. การดาเนิ นงานเกี่ยวกับนโยบายการต่างประเทศ
4. ถูกทุกข้อ
277. การแจ้งคาสัง่ ทางปกครองโดยวิธีส่งทางไปรษณี ยต์ อบรับให้ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อครบกาหนดกี่วนั
สาหรับกรณี ส่ง ภายในประเทศ
1. 3 วัน 2. 7 วัน
3. 10 วัน 4. 15 วัน
278. ในกรณี ที่มีคู่กรณี เกินห้าสิ บคนยืน่ คาขอให้มีคาสั่งทางปกครองในเรื่ องเดียวกัน โดยไม่มีการกาหนดให้
บุคคลใดเป็ น ตัวแทนร่ วมของตน ให้เจ้าหน้าที่ในเรื่ องนั้นแต่งตั้งบุคคลใดเป็ นตัวแทนร่ วมของบุคคล
ดังกล่าว
1. บุคคลที่คู่กรณี ฝ่ายข้างมากเห็นชอบ
2. บุคคลที่มีเสี ยงข้างมากเห็นชอบ
3. บุคคลที่คู่กรณี ฝ่ายเสี ยงข้างมากเห็นชอบ
4. บุคคลที่คู่กรณี ฝ่ายเสี ยงข้างมากเห็นชอบตรงกัน

279. การออกคาสัง่ ทางปกครองเจ้าหน้าที่อาจกาหนดเงื่อนไขใดๆ ได้เท่าที่จาเป็ นเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์


ของกฎหมาย ข้อใดกล่าวผิด
1. การกาหนดให้สิทธิ หรื อภาระหน้าที่เริ่ มมีผลหรื อสิ้ นผล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง
2. การกาหนดให้การเริ่ มมีผลหรื อสิ้ นผลของสิ ทธิ หรื อภาระหน้าที่ตอ้ งขึ้นอยูก่ บั เหตุการณ์ใน
อนาคตที่ไม่แน่นอน
3. ข้อสงวนสิ ทธิ ที่จะเพิกถอนคาสั่งทางปกครอง
4. การกาหนดให้ผไู ้ ด้รับประโยชน์ตอ้ งกระทาหรื องดเว้นกระทาหรื อต้องมีภาระหน้าที่หรื อยอมรับ
ภาระหน้าที่ หรื อความรับผิดชอบบางประการ
280. เจ้าหน้าที่ตอ้ งพิจารณาอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองและแจ้งผูอ้ ุทธรณ์โดยไม่ชกั ช้า แต่ตอ้ งไม่เกินกี่วนั นับ
แต่วนั ที่ ได้รับอุทธรณ์
1. 7 วัน 2. 10 วัน 3. 15 วัน 4. 30 วัน
281. พระราชกฤษฎีการว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 ใช้บงั คับตั้งแต่
เมื่อใด
1. 9 ตุลาคม 2546 2. 10 ตุลาคม 2546
3. 14 ธันวาคม 2539 4. 15 ธันวาคม 2539
282. การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่การบริ หารราชการเพื่อบรรลุเป้ าหมายกี่ประการ
1. 5 ประการ 2. 6 ประการ
3. 7 ประการ 4. 10 ประการ
283. ในการบริ หารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ส่ วนราชการจะต้องดาเนินการโดยถืออะไรเป็ น
ศูนย์กลางในการบริ การจากรัฐ
1. นโยบายประเทศ 2. สังคมและชุมชน
3. ประชาชน 4. ถูกทุกข้อ
284. แผนปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการ จะต้องสอดคล้องกับข้อใด
1. ยุทธศาสตร์ชาติ 2. แผนแม่บท
3. แผนการปฏิรูปประเทศ 4. ถูกทุกข้อ
285. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับแนวทางการบริ หารราชการ
1. การกาหนดภารกิจของรัฐและส่ วนราชการต้องสอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบาย
ของคณะรัฐมนตรี ที่แถลงต่อรัฐสภา
2. การปฏิบตั ิภารกิจของส่ วนราชการต้องเป็ นไปโดยซื่ อสัตย์สุจริ ต สามารถตรวจสอบได้และมุ่งให้
เกิดประโยชน์สุข แก่ประชาชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น
3. กรณี ที่ภารกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชาชน เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องดาเนินการรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชน หรื อชี้แจงทาความเข้าใจเพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับจาก
ภารกิจนั้น
4. เป็ นหน้าที่ของข้าราชการที่จะต้องคอยรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวม
และประชาชน ผูร้ ับบริ การเพื่อปรับปรุ งหรื อเสนอแนะต่อผูบ้ งั คับบัญชาเพื่อให้มีการปรับปรุ งวิธีปฏิบตั ิ
ราชการให้เหมาะสม
286. ในการจัดซื้ อหรื อจัดจ้าง ให้ส่วนราชการต้องพิจารณาถึงสิ่ งใดประกอบกัน
1. คุณภาพ 2. ราคา
3. วัตถุประสงค์ที่จะใช้ 4. ถูกทุกข้อ
287. ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น
1. องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด 2. เทศบาล
3. สุ ขาภิบาล 4. สภาตาบล
288. การตั้ง การยุบ เปลี่ยนแปลง เขตอาเภอให้ออกเป็ นกฎหมายใด
1. พระราชบัญญัติ 2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกาหนด 4. กฎกระทรวง
289. ใครเป็ นผูช้ ่วยเหลือผูว้ า่ ราชการจังหวัดในการบริ หารราชการในจังหวัด
1. รองผูว้ า่ ราชการจังหวัด 2. ผูช้ ่วยผูว้ า่ ราชการจังหวัด
3. ปลัดจังหวัด 4. ถูกทุกข้อ
290. การรักษาราชการแทนตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ไม่ใช้บงั คับแก่ส่วน
ราชการใด
1. กระทรวงศึกษาธิการ 2. กระทรวงการคลัง
3. สานักงานตารวจแห่งชาติ 4. กระทรวงกลาโหม
291. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็ นส่ วนราชการในหน่วยงานใด
1. สานักนายกรัฐมนตรี 2. สานักปลัดนายกรัฐมนตรี
3. สานักงานข้าราชการพลเรื อน 4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
292. หากปรากฏว่าการจัดทาประมวลจริ ยธรรมไม่สอดคล้องกับมาตรฐานทางจริ ยธรรมข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมเสนอรายงานต่อคณะรัฐมนตรี
2. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมแจ้งองค์กรกลางบริ หารงานบุคคลดาเนินการแก้ไขให้
ถูกต้อง
3. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมออกคาสัง่ ให้มีการแก้ไขให้ถูกต้อง
4. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมเสนอรายงานต่อรัฐสภาเพื่อใช้มาตรการด้านงบประมาณ
293. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม เรี ยกโดยย่อว่า
1. กมจ. 2. กม.จ.
3. ก.ม.จ. 4. ก.มจ.
294. มาตรฐานทางจริ ยธรรมคือหลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐยกเว้น
ข้อใด
1. กล้ากระทาในสิ่ งที่ถูกต้องชอบธรรม 2. แสวงหาความรู้ตลอดเวลา
3. ดารงตนเป็ นแบบอย่างที่ดี 4. มีจิตสาธารณะ
295. พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562 กาหนดให้มาตรฐานทางจริ ยธรรมจะต้องมี หลักเกณฑ์การ
ประพฤติ ปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ กี่ประการ
1. 3 ประการ 2. 5 ประการ 3. 7 ประการ 4. 9 ประการ
296. ผูเ้ สี ยหายจากการละเมิดของเจ้าหน้าที่ มีสิทธิ เรี ยกร้องให้หน่วยงานชดใช้ ได้อย่างไรบ้าง
1. ฟ้ องคดีต่อศาล
2. ยืน่ คาขอต่อหน่วยงานของรัฐ ให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน
3. ยืน่ หนังสื อร้องทุกข์ต่อ คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการ
กฤษฎีกา
4. ข้อ 1 หรื อ ข้อ 2
297. นาย ส. ตาแหน่งพนักงานขับรถ ได้รับคาสั่งให้นารถไปปฏิบตั ิราชการ ขณะขับรถตามปกติเกิด
อุบตั ิเหตุ ทาให้รถของ นาง 2. เสี ยหาย นาย ส. ได้จ่ายค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ นาง 2. ดังนี้ สิ ทธิ ที่ นาย ส.
จะเรี ยกร้องให้ หน่วยงานจ่าย ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ตน มีอายุความ กี่ปี
1. อายุความ 1 ปี 2. อายุความ 2 ปี
3. อายุความ 3 ปี 4. อายุความ 4 ปี
298. คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริ งความรับผิดทางละเมิด มีจานวนกี่คน
1. จานวนไม่เกิน 5 คน 2. จานวนไม่เกิน 7 คน
3. จานวน 3-7 คน 4. จานวน 5-10 คน
299. หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายในผลแห่งละเมิดของเจ้าหน้าที่คนใด
1. พนักงานไปรษณี ยจ์ อดรถเก็บจดหมายข้างทางตารวจบอกว่าจอดไม่ได้เนื่องจากเป็ นชัว่ โมง
เร่ งด่วน พนักงาน ไปรษณี ยโ์ มโหจึงออกรถอย่างแรงเป็ นเหตุให้ตารวจหัวฟาดพื้น
2. เจ้าหน้าที่ตารวจซึ่ งมิได้อยูร่ ะหว่างการปฏิบตั ิหน้าที่ราชการได้ไปทะเลาะวิวาทแล้วทาร้ายร่ างกาย
ประชาชน
3. เจ้าหน้าที่ตารวจออกเวรแล้วไปตลาดและประสบเหตุคนทะเลาะวิวาทกันอยูแ่ ล้วเข้าไประงับเหตุ
และเกิดปื นลัน่ ไปถูกชาวบ้านในบริ เวณนั้น
4. ไม่มีขอ้ ถูก
300.ข้อใดเป็ นหน่วยงานของรัฐตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
1. กระทรวงมหาดไทย
2. ธนาคารออมสิ น
3. องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดบุรีรัมย์
4. ถูกทุกข้อ
301. องค์กรใดมีหน้าที่จดั ทาประมวลจริ ยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยูใ่ นความรับผิดชอบ
1. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม
2. องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล
3. คณะรัฐมนตรี
4. สานักงานรัฐมนตรี
302. สิ่ งใดที่ใช้เป็ นหลักสาคัญในการจัดทาประมวลจริ ยธรรม
1. มาตรฐานทางจริ ยธรรม
2. ผลสัมฤทธิ์ ของงาน
3. หลักเกณฑ์ในการปฏิบตั ิตนของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
4. ถูกทุกข้อ
303. หลักสาคัญในการจัดทาประมวลจริ ยธรรมของหน่วยงานของรัฐที่จะกาหนดเป็ นหลักเกณฑ์ในการ
ปฏิบตั ิตนของ เจ้าหน้าที่ของรัฐ เกี่ยวกับสิ่ งใด
1. สภาพคุณงามความดีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องยึดถือสาหรับการปฏิบตั ิงาน
2. การตัดสิ นความถูกผิด
3. การปฏิบตั ิที่ควรกระทาหรื อไม่ควรกระทา
4. ถูกทุกข้อ

304. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม มีชื่อย่อตามข้อใด


1. ก.ม.ธ. 2. ก.ม.จ.
3. ก.ม.ท. 4. ก.ท.ม.
305. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม มีไม่เกินกี่คน
1. 10 2. 12
3. 13 4. 15
306. ข้อใดไม่ใช่เจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
1. ลูกจ้างทัว่ ไปขององค์การบริ หารส่ วนตาบล
2. พนักงานจ้างตามภารกิจของเทศบาล
3. นายรุ่ งพนักงานเก็บสิ่ งปฏิกลู สังกัดกองสาธารณสุ ข
4. ข้าราชการองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
307. กรณี ที่ผเู้ สี ยหายถูกกระทาละเมิดจากเจ้าหน้าที่ในการปฏิบตั ิหน้าที่ และใช้สิทธิร้องขอให้ หน่วยงาน
ของรัฐชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน เมื่อหน่วยงานของรัฐ ได้รับเรื่ องแล้ว สิ่ งแรกที่ จะต้องดาเนินการ คืออะไร
1. ออกใบรับคาขอให้แก่ผยู ้ นื่ คาขอ
2. แต่งตั้งกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริ ง
3. ผูบ้ ริ หารเรี ยกเจ้าหน้าที่ผกู้ ระทาละเมิดเข้าพบ
4. ผูบ้ ริ หารดาเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
308. หากเจ้าหน้าที่กระทาละเมิด และหน่วยงานของรัฐผูน้ ้ นั ไม่ตอ้ งรับผิด จึงไม่ได้มีคาสั่งให้ชดใช้ค่า
สิ นไหมทดแทน แต่ต่อมา กระทรวงการคลังเห็นว่าต้องรับผิดชอบเรี ยกร้องค่าสิ นไหมทดแทนดังกล่าว มี
อายุความข้อใด
1. 1 ปี นับแต่วนั ที่หน่วยงานของรัฐมีคาสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง
2. 1 ปี นับแต่วนั ที่หน่วยงานรัฐรู ้ถึงการละเมิด และรู ้ตวั เจ้าหน้าที่ผจู ้ ะต้องชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน
3. 2 ปี นับแต่วนั ที่หน่วยงานของรัฐมีคาสัง่ ตามความเห็นของกระทรวงการคลัง
4. 2 ปี นับแต่วนั ที่หน่วยงานของรัฐรู ้ถึงการละเมิด และรู ้ตวั เจ้าหน้าที่ผจู ้ ะต้องชดใช้ค่าสิ นไหม
ทดแทน
309. วัตถุประสงค์หลักของ พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. ต้องการคุม้ ครองเจ้าหน้าที่รัฐที่ปฏิบตั ิหน้าที่โดยสุ จริ ตและรอบคอบ
2. ต้องการคุม้ ครองหน่วยงานของรัฐที่ได้รับผลกระทบจากการฟ้ องร้องของเอกชน
3. ต้องการคุม้ ครองหน่วยงานรัฐ
4. ต้องการคุม้ ครองหน่วยงานเอกชน
310. หากหน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผเู ้ สี ยหายแล้ว สิ ทธิ ของหน่วยงานรัฐ ที่จะเรี ยกให้
เจ้าหน้าที่ ผูร้ ับผิดชอบค่าสิ นไหมทดแทน มีอายุความกี่ปี
1. ภายในครึ่ งปี
2. ภายใน 1 ปี
3. ภายใน 2 ปี
4. ภายใน 4 ปี
311. คาสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย อาจถูกเพิกถอนดังต่อไปนี้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรื อบางส่ วน
2. อาจถูกเพิกถอนโดยให้มีผลย้อนหลังหรื อไม่มีผลย้อนหลัง
3. อาจถูกเพิกถอนมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่ง
4. อาจถูกเพิกถอนโดยให้มีผลตั้งแต่ขณะที่เพิกถอน
312. การเพิกถอนคาสั่งทางปกครองใดที่ไม่จาต้องกระทาภายใน 90 วัน นับแต่ได้รู้ถึงเหตุที่จะให้เพิกถอน
คาสั่งทาง ปกครองนั้น
1. คาสั่งทางปกครองได้ทาขึ้นเพราะการแสดงข้อความอันเป็ นเท็จ
2. คาสั่งทางปกครองได้ทาขึ้นเพราะปกปิ ดข้อความจริ งซึ่ งควรบอกให้แจ้ง
3. คาสัง่ ทางปกครองได้ทาขึ้นเพราะการข่มขู่
4. ถูกทุกข้อ
313. การแจ้งคาสั่งทางปกครองให้ นายเข้มซึ่ งอยูจ่ งั หวัดบุรีรัมย์โดยวิธีส่งทางไปรษณี ยต์ อบรับ เมื่อวันที่ 1
สิ งหาคม 2563 ให้ถือว่า นายเข้มได้รับแจ้งเมื่อใด
1. 8 สิ งหาคม 2563
2. 9 สิ งหาคม 2563
3. 17 สิ งหาคม 2563
4. 18 สิ งหาคม 2563
314. การแจ้งคาสั่งทางปกครองให้ นายซันนี่ซ่ ึ งอยูป่ ระเทศเกาหลีใต้โดยวิธีส่งทางไปรษณี ยต์ อบรับเมื่อวันที่
1 สิ งหาคม 2563 ให้ถือว่านายซันนี่ได้รับแจ้งเมื่อใด
1. 8 สิ งหาคม 2563 2. 9 สิ งหาคม 2563
3. 16 สิ งหาคม 2563 4. 17 สิ งหาคม 2563
315. กรณี ที่ทาให้เจ้าหน้าที่จะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้ มีกี่ขอ้
1. 5 ข้อ 2. 6 ข้อ
3. 7 ข้อ 4. 8 ข้อ
316. การจัดซื้ อจัดจ้าง ให้ส่วนราชการดาเนิ นโดยเปิ ดเผยและเที่ยงธรรมโดยพิจารณาถึงสิ่ งใด
1. ประโยชน์และผลเสี ยทางสังคม
2. ภาระต่อประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค์ที่จะใช้
3. ราคา และประโยชน์ระยะยาวของส่ วนราชการ
4. ถูกทุกข้อ
317. ถ้าส่ วนราชการได้รับการติดต่อสอบถามเป็ นหนังสื อจากประชาชน ส่ วนราชการต้องตอบคาถามหรื อ
แจ้งการ ดาเนินการให้ทราบภายในกี่วนั
1. 5 วัน 2. 10 วัน
3. 15 วัน 4. 20 วัน
318. ถ้าส่ วนราชการได้รับการติดต่อสอบถามเป็ นหนังสื อจากส่ วนราชการด้วยกัน ส่ วนราชการต้องตอบ
คาถามหรื อ แจ้งการดาเนินการให้ทราบภายในกี่วนั
1. 5 วัน 2. 10 วัน 3. 15 วัน 4. 20 วัน
19. หน่วยงานใดที่มีอานาจเสนอคณะรัฐมนตรี จดั สรรเงินเพิ่มพิเศษหรื อจัดสรรเงินรางวัลการเพิ่ม
ประสิ ทธิ ภาพให้แก่ ส่ วนราชการ
1. ส่ วนราชการที่ปฏิบตั ิงาน 2. คณะผูป้ ระเมินอิสระ
3. คณะรัฐมนตรี 4. ก.พ.ร.
320. คณะผูป้ ระเมินอิสระจะดาเนินการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการเกี่ยวกับเรื่ องใด
1. ผลสัมฤทธิ์ ของภารกิจ
2. คุณภาพการให้บริ การ
3. ความคุม้ ค่าในภารกิจ
4. ถูกทุกข้อ
321. ใครมีหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษาของผูว้ า่ ราชการจังหวัด
1. สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรในจังหวัด
2. สภาจังหวัด
3. คณะกรรมการจังหวัด
4. คณะธรรมาภิบาลจังหวัด
322. จังหวัดสุ รินทร์ มีพ้ืนที่ 10,000 ตรม. หากต้องการจะแบ่งเขตพื้นที่ของบางอาเภอจานวน 1,000 ตรม. ให้
เป็ น ของจังหวัดบุรีรัมย์ จะต้องทาอย่างไร
1. ทาเป็ นคาสั่งของกระทรวงมหาดไทย
2. ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
3. ตราเป็ นพระราชกาหนด
4. ตราเป็ นพระราชบัญญัติ
323. ข้อใดมิใช่อานาจหน้าที่ของสานักงานปลัดกระทรวง
1. ราชการทางเมือง
2. ราชการทัว่ ไปของกระทรวง
3. ราชการที่มิได้กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของกรมหนึ่งกรมใดโดยเฉพาะ
4. เร่ งรัดการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการในกระทรวง
324. ส่ วนราชการใดไม่มีฐานะเป็ นนิติบุคคล
1. สานักนายกรัฐมนตรี
2. สานักงานปลัดกระทรวง
3. กระทรวง
4. กรม
325. เมื่อตาแหน่งกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิของ ก.พ.ร. ว่างลงก่อนวาระ ให้ดาเนิ นการแต่งตั้งกรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒิ ภายในกี่วนั
1. 30 วัน
2. 45 วัน
3. 60 วัน
4. 90 วัน
326. ข้อใดเป็ นหลักในการบริ หารราชการ ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
1. การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ทอ้ งถิ่น
2. การกระจายอานาจตัดสิ นใจ
3. การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
4. ถูกทุกข้อ

327. ส่ วนราชการใดไม่มีฐานะเป็ นนิติบุคคล


1. สานักนายกรัฐมนตรี
2. ทบวงซึ่ งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี
3. กระทรวง
4. ไม่มีขอ้ ถูก
328. การจัดตั้ง การรวม การโอนส่ วนราชการจะต้องตราเป็ นกฎหมายใด
1. พ.ร.บ. 2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกาหนด 4. กฎกระทรวง
329. ข้าราชการหรื อลูกจ้างซึ่ งต้องพ้นจากราชการเพราะเหตุยบุ ตาแหน่งอันเนื่ องมาแต่การยุบ ส่ วนราชการ
ให้ได้รับ เงินชดเชยตามกฎหมายใด
1. พ.ร.บ. 2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกาหนด 4. ประกาศ
330. ในกรณี จาเป็ น นายกรัฐมนตรี สามารถยังยั้งการปฏิบตั ิราชการของหน่วยงานใด หากหน่วยงานนั้น
ปฏิบตั ิราชการขัด ต่อนโยบายของรัฐบาล
1. ราชการส่ วนท้องถิ่น 2. ราชการส่ วนภูมิภาค
3. ราชการส่ วนกลาง 4. ถูกทุกข้อ
331. การจัดระเบียบราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ให้เป็ นไปตามกฎหมายใด
1. กฎกระทรวง 2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกาหนด 4. กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม
332. บุคคลใดเป็ นข้าราชการพลเรื อนสามัญ
1. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร
2. ผูช้ ่วยเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี
3. ผูช้ ่วยเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี
4. ถูกทุกข้อ
333. แผนปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการให้จดั ทาเป็ นแผนกี่ปี
1. 2 ปี 2. 3 ปี 3. 4 ปี 4. 5 ปี
334. การปรับแผนปฏิบตั ิราชการ จะกระทาได้เฉพาะในกรณี ใด
1. งานหรื อภารกิจนั้นไม่อาจดาเนินการตามวัตถุประสงค์ต่อไปได้
2. งานหรื อภารกิจนั้นหมดความจาเป็ นหรื อไม่เป็ นประโยชน์
3. งานหรื อภารกิจนั้น หากดาเนินการต่อไปจะต้องเสี ยค่าใช้จ่ายเกินความจาเป็ น
4. ถูกทุกข้อ
335. ส่ วนราชการต้องคานวณรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริ การสาธารณะที่อยูใ่ นความรับผิดชอบแล้วเสนอ
รายงานต่อ บุคคลดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
1. สานักงบประมาณ 2. กรมบัญชีกลาง
3. ก.พ.ร. 4. ก.พ.
336. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานักงบประมาณต้องร่ วมกันจัด
ให้มี การประเมินความคุม้ ค่าในการปฏิบตั ิภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดาเนิ นการอยู่ เพื่อรายงานต่อใคร
1. คณะรัฐมนตรี 2. ก.พ.ร.
3. รัฐมนตรี 4. กรมบัญชีกลาง
337. การกระจายอานาจการตัดสิ นใจเพื่อวัตถุประสงค์ใด
1. ให้เกิดความสะดวกและรวดเร็ วในการบริ การประชาชน
2. เกิดความรวดเร็ วและลดขั้นตอนการปฏิบตั ิราชการ
3. กลัน่ กรองงานที่ไม่จาเป็ นในการปฏิบตั ิงาน
4. ถูกทั้งข้อ 1 และข้อ 2
338. ใครเป็ นผูม้ ีอานาจกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการลดขั้นตอนในการปฏิบตั ิราชการให้ส่วน
ราชการถือ ปฏิบตั ิ
1. คณะรัฐมนตรี 2. ก.พ.ร.
3. รัฐมนตรี 4. กรมบัญชีกลาง
339. การทบทวนภารกิจของส่ วนราชการต้องคานึงถึงเรื่ องใด
1. ยุทธศาสตร์ชาติ 2. แผนแม่บท
3. แผนการปฏิรูปประเทศ 4. ถูกทุกข้อ
340. ใครเป็ นผูร้ ักษาการตาม พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
1. คณะรัฐมนตรี 2. นายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี วาการกระทรวง 4. ถูกทุกข้อ
341. การสร้างนิ ติสัมพันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรื อมีผลกระทบ
ต่อสถานภาพ ของสิ ทธิ หรื อหน้าที่ของบุคคล ได้แก่ขอ้ ใด
1. การสัง่ การ 2. การอนุญาต
3. การอนุมตั ิ 4. ถูกทุกข้อ
342. ผูย้ นื่ คาขอหรื อผูค้ ดั ค้านคาขอ ผูอ้ ยูใ่ นบังคับหรื อจะอยูใ่ นบังคับของคาสั่งทางปกครอง และผูซ้ ่ ึ งได้เข้า
มาใน กระบวนการพิจารณาทางปกครองเนื่องจากสิ ทธิของผูน้ ้ นั จะถูกกระทบ กระเทือนจากผลของคาสั่ง
ทางปกครอง หมายถึงข้อใด
1. คู่กรณี 2. เจ้าหน้าที่
3. คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท 4. ผูร้ ้อง
343. ข้อใดไม่ใช่คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
1. เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน 2. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
3. ปลัดกระทรวงมหาดไทย 4. ไม่มีขอ้ ถูก
344. กรณี ที่ไม่รู้ตวั ผูร้ ับหรื อรู ้ตวั แต่ไม่รู้ภูมิลาเนาหรื อรู ้ตวั และภูมิลาเนาแต่มีผรู ้ ับเกินหนึ่งร้อยคน การแจ้ง
คาสัง่ ทาง ปกครองเป็ นหนังสื อจะกระทาโดยวิธีใดก็ได้
1. ประกาศในหนังสื อพิมพ์ 2. แจ้งเป็ นหนังสื อ
3. แจ้งโดยวิธีส่งทางไปรษณี ย ์ 4. ส่ งทางเครื่ องโทรสาร
345. กรณี เจ้าหน้าที่ถูกคัดค้านไม่ให้พิจารณาทางปกครอง ถ้าที่ประชุมมีมติคะแนนเสี ยงไม่นอ้ ยกว่าเท่าใดให้
กรรมการ ผูน้ ้ นั ปฏิบตั ิหน้าที่ต่อไปได้
1. 2 ใน 3 2. 1 ใน 4
3. 3 ใน 5 4. 2 ใน 5
346. เจ้าพนักงานที่มีหน้าที่ทาเอกสาร รับเอกสารหรื อกรอกข้อความลงในเอกสารได้ละเว้นไม่จดข้อความ
ซึ่ งตนมีหน้าที่ ต้องรับจด หรื อจดเปลี่ยนแปลงข้อความเช่นว่านั้นเป็ นความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 162 (1) 2. มาตรา 162 (2)
3. มาตรา 162 (3) 4. มาตรา 162 (4)
347. เจ้าพนักงานที่มีหน้าที่ทาเอกสาร รับเอกสารหรื อกรอกข้อความลงในเอกสาร ได้รับรองเป็ นหลักฐานว่า
ตนได้ กระทาการอย่างใดขึ้น หรื อว่าการอย่างใดได้กระทาต่อหน้าตนอันเป็ นความเท็จ เป็ นความผิดตาม
มาตราใด
1. มาตรา 162 (1) 2. มาตรา 162 (2)
3. มาตรา 162 (3) 4. มาตรา 162 (4)
348. " นาย ส. พนักงานขับรถของหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่ง ได้รับคาสั่งให้ขบั รถพาคณะเจ้าหน้าที่ไปยัง
สถานที่แห่งหนึ่ง ขณะขับรถ นาย ส. ขับรถเร็ วเกินอัตราที่กฎหมายกาหนด และขับรถประมาทหวาดเสี ยว
ในที่สุดเกิดอุบตั ิเหตุชน รถจักรยานยนต์ของนาง ย. ทาให้รถจักรยานยนต์เสี ยหาย" ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. นาง ย. ต้องฟ้ องเรี ยกค่าเสี ยหาย จาก นาย ส.
2. หน่วยงานที่ นาย ส. สังกัด ต้องรับผิดชอบต่อความเสี ยหาย ของ นาง ย.
3. หน่วยงานที่ นาย ส. สังกัด ไม่มีสิทธิ ไล่เบี้ย นาย ส.
4. นาย ส. ไม่ตอ้ งรับผิดชอบ เพราะเป็ นการปฏิบตั ิงานในหน้าที่ราชการ
349. ถ้าเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐที่ทาให้เกิดความเสี ยหายแก่หน่วยงานของรัฐเป็ นรัฐมนตรี ให้
เจ้าหน้าที่ทาให้เกิด ความเสี ยหายแจ้งต่อใคร เพื่อดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริ งความรับผิด
ทางละเมิด
1. นายกรัฐมนตรี
2. หัวหน้าหน่วยงานของรัฐที่ตนสังกัด
3. ผูม้ ีอานาจกากับดูแล
4. กระทรวงการคลัง
350. ข้อใดเป็ นมาตรฐานทางจริ ยธรรม
1. ยึดมัน่ ในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ และการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
2. ซื่อสัตย์สุจริ ต มีจิตสานึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่
3. กล้าตัดสิ นใจและกระทาในสิ่ งที่ถูกต้องชอบธรรม
4. ถูกทุกข้อ
351. คาสัง่ ทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินเป็ นที่สุดในกรณี ใด
1. ไม่มีการอุทธรณ์คาสั่งต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองภายในระยะเวลาอุทธรณ์
2. เจ้าหน้าที่ผมู้ ีอานาจพิจารณาอุทธรณ์มีคาวินิจฉัยยกอุทธรณ์ และไม่มีการฟ้ องคดีต่อศาลภายใน
ระยะเวลาการฟ้ องคดี
3. ศาลมีคาสั่งหรื อคาพิพากษายกฟ้ อง หรื อเพิกถอนคาสั่งบางส่ วน และคดีถึงที่สุดแล้ว
4. ถูกทุกข้อ
352. การบังคับทางปกครอง คาสั่งทางปกครองสั่งให้ผใู ้ ดชาระเงินภายใน 7 วันแล้วไม่กระทาตามเจ้าหน้าที่
อาจใช้ มาตรการบังคับทางปกครองได้ทุกข้อยกเว้นข้อใด
1. ยึดทรัพย์ 2. อายัดทรัพย์ 3. ประมูลราคา 4. ขายทอดตลาด
353. ในการสื บหาทรัพย์สินของผูอ้ ยูใ่ นบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง หน่วยงานของรัฐที่ออกคาสั่ง
ให้ชาระเงิน อาจร้องขอให้หน่วยงานใดดาเนินการสื บหาทรัพย์สินแทนได้
1. สานักงานบังคับคดี 2. สานักงานอัยการสู งสุ ด
3. สานักงานสื บทรัพย์ 4. ถูกทุกข้อ
354. กรณี ที่หน่วยงานของรัฐที่ออกคาสั่งให้ชาระเงินไม่มีเจ้าหน้าที่ในการดาเนิ นการสื บหาทรัพย์สิน และ
หากจานวน เงินที่ตอ้ งชาระตามมาตรการบังคับทางปกครองนั้นมีมูลค่าตั้งแต่กี่บาทขึ้นไป หน่วยงานของรัฐ
อาจมอบหมายให้ เอกชนสื บหาทรัพย์สินแทนได้
1. 500,000 2. 1,000,000
3. 2,000,000 4. 5,000,000
355. ให้เอกชนที่สืบพบทรัพย์สินได้รับค่าตอบแทนไม่เกินร้อยละเท่าใดจากเงินหรื อทรัพย์สินที่ได้มาจาก
การยึด อายัดหรื อขายทอดตลาดทรัพย์สินที่สืบพบได้
1. 1 2. 5 3. 3 4. 4
356. การขอให้พิจารณาคาสั่งทางปกครองใหม่ ต้องกระทาภายในกี่วนั นับแต่ผนู ้ ้ นั ได้รู้ถึงเหตุ
1. 30 วัน 2. 60 วัน
3. 90 วัน 4. 180 วัน
357. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. พ.ร.บ.วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มิให้ใช้บงั คับแก่การพิจารณาของนายกรัฐมนตรี
หรื อ คณะรัฐมนตรี ในงานทางนโยบายโดยตรง
2. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครองหมายความว่าการเตรี ยมการและการดาเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อ
จัดให้มีคาสั่ง ทางปกครอง
3. คาสัง่ ทางปกครองจะต้องกระทาโดยเจ้าหน้าที่ซ่ ึ งมีอานาจหน้าที่ในเรื่ องนั้น
4. ไม่มีขอ้ ถูก
358. นายเด่น นายกเทศมนตรี มีหน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบการบริ หารราชการทั้งปวงภายในเขตเทศบาล
ได้ลงนามใน สัญญาจ้างห้างหุ น้ ส่ วนจากัดชานาญถมเป็ นผูร้ ับจ้างถมดินอ่างเก็บน้ า ซึ่ งชนะการประกวด
ราคาในราคาต่าสุ ดและ เป็ นราคาต่ากว่าราคากลางที่ทางราชการกาหนดไว้ และข้อเท็จจริ งปรากฏว่านายเด่น
เป็ นหุ น้ ส่ วนประเภทจากัด ความรับผิดของห้างหุ ้นส่ วนจากัดชานาญถม ดังนี้ นายเด่นมีความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
2. เจ้าพนักงานเข้ามีส่วนได้เสี ยเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองและผูอ้ ื่น ตามมาตรา 152
3. ถูกทั้งข้อ 2. และ 3.
4. ไม่มีความผิด
359. จากข้อ 8 นายดวงเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ดูแลรักษาและอนุญาตใช้รถยนต์ของทางราชการและเป็ น
หุ น้ ส่ วน ประเภทจากัดความรับผิดของห้างหุ ้นส่ วนจากัดชานาญถม ได้ใช้รถบรรทุกของทางราชการใน
กิจการส่ วนตัวของ นายดวง เป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
2. เจ้าพนักงานเข้ามีส่วนได้เสี ยเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองและผูอ้ ื่น ตามมาตรา 152
3. ถูกทั้งข้อ 2. และ 3.
4. ไม่มีความผิด
360. ตารวจได้รับแต่งตั้งให้ทาหน้าที่เสมียนเปรี ยบเทียบ การแก้หรื อลงจานวนเงินในสาเนาใบเสร็ จให้
น้อยลงกว่า ต้นฉบับ แล้วส่ งเงินต่ากว่าจานวนที่ได้รับจริ ง มีความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 148 2. มาตรา 161 3. มาตรา 162 4. มาตรา 166
361. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมมีหน้าที่และอานาจตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ.2562
ยกเว้นข้อใด
1. ให้คาปรึ กษาเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ ดา้ นมาตรฐานทางจริ ยธรรมต่อคณะรัฐมนตรี
2. ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรี มอบหมาย
3. ตรวจสอบรายงานประจาปี ของหน่วยงานของรัฐ
4. จัดทาประมวลจริ ยธรรม
362. ข้อใดมิใช่กรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมโดยตาแหน่ง
1. ผูแ้ ทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน
2. ผูแ้ ทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อนในสถาบันอุดมศึกษา
3. ผูแ้ ทนคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
4. ผูแ้ ทนคณะกรรมการข้าราชการตารวจ
363. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562
1. องค์กรกลางบริ หารงานบุคคลขององค์กรอิสระไม่ตอ้ งนามาตรฐานทางจริ ยธรรมไปใช้
ประกอบการจัดทา ประมวลจริ ยธรรม
2. หน่วยงานธุ รการของศาลมิใช่หน่วยงานของรัฐ
3. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 45 ปี
4. สภากลาโหมมีหน้าที่จดั ทาประมวลจริ ยธรรมสาหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรื อน
กลาโหม
364. หน่วยงานของรัฐใดที่ไม่อยูภ่ ายใต้บงั คับ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562
1. สานักงานเลขาธิการ
2. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
3. สานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร
4. กรมการขนส่ งทางราง
365. พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562 กาหนดให้มาตรฐานทางจริ ยธรรมจะต้องมี หลักเกณฑ์การ
ประพฤติ ปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ กี่ประการ
1. 3 ประการ 2. 5 ประการ
3. 7 ประการ 4. 9 ประการ
366. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ มีชื่อย่อว่าอะไร
1. กพร. 2. ก.พร.
3. ก.พ.ร. 4. กพ.ร
367. ผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการมีจานวนกี่คน
1. 10 คน 2. ไม่เกิน 10 คน
3. 12 คน 4. ไม่เกิน 12 คน

368. ข้อใดไม่ใช่ความรู ้ความเชี่ยวของผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ


1. การบริ หารรัฐกิจ 2. การบริ หารงานท้องถิ่น
3. การบริ หารธุ รกิจ 4. การเงินการคลัง
369. ข้อใดไม่ใช่ความรู ้ความเชี่ยวของผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
1. นิติศาสตร์ 2. เศรษฐศาสตร์
3. รัฐศาสตร์ 4. การตลาด
370. ใครเป็ นผูก้ าหนดให้กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิไม่นอ้ ยกว่าสามคนแต่ไม่เกินห้าคนต้องทางานเต็มเวลาก็ได้
1. รัฐมนตรี 2. คณะรัฐมนตรี
3. นายกรัฐมนตรี 4. ไม่มีขอ้ ถูก
371. หากเกิดปั ญหาและอุปสรรคในทางปฏิบตั ิ ให้ส่วนราชการดาเนิ นการอย่างไรก่อน
1. แจ้ง ก.พ.ร. ทราบ
2. แจ้งผูบ้ งั คับบัญชาทราบ เพื่อเสนอการแก้ไขปั ญหาและอุปสรรค
3. แก้ไขปั ญหาและอุปสรรคนั้นโดยเร็ ว
4. แจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องให้ทราบปั ญหา
372. การบริ หารราชการแบบบูรณาการร่ วมกันของส่ วนราชการเกิดขึ้นจากภารกิจแบบใด
1. ภารกิจมีความเกี่ยวข้องกับหลายส่ วนราชการ
2. ภารกิจที่ใกล้เคียงกัน
3. ภารกิจต่อเนื่องกัน
4. ถูกทุกข้อ
373. หมวด 1 ของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
บัญญัติไว้ดว้ ยเรื่ องใด
1. บทเบ็ดเตล็ด
2. การบริ หารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ตอภารกิจของรัฐ
3. การบริ หารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
4. การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
374. ในการประเมินความคุม้ ค่า ให้คานึงถึงสิ่ งใด
1. ความเป็ นไปได้ของภารกิจหรื อโครงการที่ดาเนินการ
2. ประเภทและสภาพของแต่ละภารกิจ
3. รายจ่ายที่ตอ้ งเสี ยไปก่อนและหลังที่ส่วนราชการดาเนินการด้วย
4. ถูกทุกข้อ
375. การจัดซื้ อหรื อจัดจ้าง ให้ส่วนราชการต้องพิจารณาถึงสิ่ งใดประกอบกัน ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. ประโยชน์และผลเสี ยทางสังคม
2. ภาระต่อประชาชน
3. ประโยชน์ระยะยาวของส่ วนราชการ
4. ไม่มีขอ้ ถูก
376. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม พ.ร.บ.มาตรฐาน
ทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562
1. ซื่ อสัตย์สุจริ ต มีจิตสานึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่
2. ยึดมัน่ ในสถาบันหลักของประเทศ
3. กล้าตัดสิ นใจและกระทาในสิ่ งที่ถูกตามทานองคลองธรรม
4. ปฏิบตั ิหน้าที่อย่างเป็ นธรรม
377. หลักสาคัญในการจัดทาประมวลจริ ยธรรมของหน่วยงานของรัฐที่จะกาหนดเป็ นหลักเกณฑ์ในการ
ปฏิบตั ิตนของ เจ้าหน้าที่ของรัฐ เกี่ยวกับสิ่ งใด
1. การดารงตนในการกระทาความดี 2. ละเว้นความชัว่
3. การตัดสิ นความถูกผิด 4. ถูกทุกข้อ
378. องค์กรใดมีหน้าที่จดั ทาประมวลจริ ยธรรมสาหรับข้าราชการการเมือง
1. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม
2. องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล
3. คณะรัฐมนตรี
4. สานักงานรัฐมนตรี
379. องค์กรใดมีหน้าที่จดั ทาประมวลจริ ยธรรมสาหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรื อนกลาโหม
1. คณะกรรมการพัฒนาและส่ งเสริ มองค์การมหาชน
2. สภากลาโหม
3. สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ
4. คณะรัฐมนตรี
380. องค์กรใดมีหน้าที่จดั ทาประมวลจริ ยธรรมสาหรับผูบ้ ริ หารและพนักงานรัฐวิสาหกิจ
1. คณะกรรมการพัฒนาและส่ งเสริ มองค์การมหาชน
2. สภากลาโหม
3. สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ
4. คณะรัฐมนตรี
381. กรณี องค์กรมหาชนหรื อรัฐวิสาหกิจใด ไม่จดั ให้มีหลักเกณฑ์การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี ผูม้ ีอานาจ
พิจารณาสั่ง การให้องค์การมหาชนหรื อรัฐวิสาหกิจนั้น ดาเนินการให้ถูกต้องคือใคร
1. รัฐมนตรี ที่กากับดูแลองค์การมหาชนหรื อรัฐวิสาหกิจ
2. ก.พ.ร.
3. กระทรวงมหาดไทย
4. คณะรัฐมนตรี
382. ให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการนั้นโดยจัดทาเป็ นแผนระยะกี่ปี
1. 3 ปี 2. 5 ปี
3. 10 ปี 4. 4 ปี
383. ผูท้ ี่มีอานาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อกาหนดมาตรฐานกากับการปฏิบตั ิราชการคือใคร
1. ส่ วนราชการทุกส่ วนราชการ 2. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวง า
3. องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น 4. ก.พ.ร.
384. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ของเงินรางวัลเพิ่มประสิ ทธิ ภาพที่ให้แก่ส่วนราชการ
1. ส่ วนราชการได้ดาเนิ นงานตามเป้ าหมายสามารถเพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์
2. ส่ วนราชการได้ดาเนิ นงานตามแผนการลดค่าใช้จ่ายต่อหน่วย
3. ส่ วนราชการได้ดาเนิ นการให้บริ การที่มีคุณภาพ
4. ไม่มีขอ้ ถูก
385. หน่วยงานใดที่มีหน้าที่ดูแลและให้ความช่วยเหลือองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นในการจัดทาหลักเกณฑ์
การบริ หาร กิจการบ้านเมืองที่ดี
1. กระทรวงมหาดไทย 2. สานักนายกรัฐมนตรี
3. ก.พ.ร. 4. คณะรัฐมนตรี
386. กรณี ที่ส่วนราชการใดดาเนินการให้บริ การเป็ นที่พึงพอใจแก่ประชาชนให้ ก.พ.ร.เสนอคณะรัฐมนตรี
จัดสรรเงินใดแก่ ส่ วนราชการ
1. โบนัส 2. บาเหน็จความชอบ
3. รางวัลการเพิ่มประสิ ทธิภาพ 4. รางวัลเงินเพิ่มพิเศษ
387. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ในเรื่ องใด
1. คณะรัฐมนตรี 2. รัฐสภา
3. ราชการในพระองค์ 4. ถูกทุกข้อ

388. เลขาธิ การคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อใคร


1. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 2. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
3. คณะรัฐมนตรี 4. นายกรัฐมนตรี
389. บุคคลตามข้อใดอาจเป็ นข้าราชการการเมืองหรื อข้าราชการพลเรื อนสามัญก็ได้
1. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 2. รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
3. ผูช้ ่วยเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี 4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
390. ตาแหน่งในข้อใดที่ไม่ได้กาหนดใน พ.ร.บ.ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534
1. ผูช้ ่วยเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี 2. ผูช้ ่วยเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี
3. ผูช้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี 4. ผูช้ ่วยปลัดกระทรวง
391. หัวหน้ากลุ่มภารกิจผูร้ ับผิดชอบราชการและบังคับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกลุ่มภารกิจต้อง
ดารงตาแหน่ง ไม่ต่ากว่าตาแหน่งใด
1. รองปลัดกระทรวง 2. ผูช้ ่วยปลัดกระทรวง
3. อธิบดี 4. ถูกทุกข้อ
392. การใช้ทรัพยากรของส่ วนราชการต่างๆ ในกระทรวง ต้องเป็ นไปเพื่อดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
1. เกิดประสิ ทธิ ภาพ 2. ความคุม้ ค่า
3. บรรลุเป้ าหมาย 4. ตรวจสอบได้
393. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิของ ก.พ.ร. มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละกี่ปี
1. 2 ปี 2. 3 ปี 3. 4 ปี 4. 5 ปี
394. ใครเป็ นประธานของ “ก.พ.ร.”
1. นายกรัฐมนตรี หรื อรองนายกรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมนตรี มอบหมายเป็ นประธาน
2. นายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมนตรี มอบหมายเป็ นประธาน
3. รองนายกรัฐมนตรี ที่คณะรัฐมนตรี เห็นชอบให้ประธาน
4. ถูกทุกข้อ
395. ใครเป็ นผูแ้ ต่งตั้งประธานกรรมการในคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
1. วุฒิสภา 2. รัฐสภา 3. นายกรัฐมนตรี 4. คณะรัฐมนตรี
396. ข้อใดไม่ใช่อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
1. เสนอแนะในการตราพระราชบัญญัติและการออกกฎกระทรวงหรื อประกาศ
2. สอดส่ องดูแลและให้คาแนะนาเกี่ยวกับการดาเนิ นงานของเจ้าหน้าที่
3. จัดทารายงานเสนอคณะรัฐมนตรี ตามความเหมาะสมแต่อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง
4. ให้คาปรึ กษาแก่เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามที่บุคคลดังกล่าวร้องขอ
397. คาสั่งทางปกครองที่ไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรี และไม่มีกฎหมายกาหนดขั้นตอนอุทธรณ์ไว้เป็ นการเฉพาะ
ให้คู่กรณี อุทธรณ์คาสั่งทางปกครองเป็ นหนังสื อโดยยืน่ ต่อเจ้าหน้าที่ผทู ้ าคาสั่งทางปกครองภายในกี่วนั
1. 7 วัน 2. 15 วัน 3. 30 วัน 4. 90 วัน
398. การแจ้งคาสั่งทางปกครองโดยวิธีส่งทางไปรษณี ยต์ อบรับให้ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อครบกาหนดกี่วนั
สาหรับกรณี ส่งไป ยังต่างประเทศ
1. 3 วัน 2. 7 วัน 3. 10 วัน 4. 15 วัน
399. ข้อใดไม่ใช่คู่กรณี ตาม พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
1. ผูย้ นื่ คาขอ 2. ผูค้ ดั ค้านคาขอ
3. ผูอ้ ยูใ่ นบังคับหรื อจะอยูใ่ นบังคับคดี 4. ไม่มีขอ้ ถูก
400. เจ้าหน้าที่ตามข้อใด สามารถทาการพิจารณาทางปกครองได้
1. เป็ นคู่กรณี ในคดี
2. เป็ นเจ้าหนี้หรื อลูกหนี้ หรื อเป็ นนายจ้างของคู่กรณี
3. เป็ นเพื่อนกับผูบ้ งั คับบัญชาของคู่กรณี
4. เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาของคู่กรณี ในคดี

401. ใครเป็ นผูล้ งนามใน พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534


1. บรรหาร ศิลปะอาชา 2. สมัคร สุ นทรเวช
3. อานันท์ ปั นยารชุน 4. ชวน หลีกภัย
402. ข้อใดไม่ใช่หลักการในการบริ หารราชการ
1. เพื่อประโยชน์สุขของสังคม 2. ความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ
3. ความมีประสิ ทธิภาพ 4. การลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
403. การจัดตั้ง การรวม การโอน กระทรวง ทบวง กรม จะต้องตราเป็ นกฎหมายใด
1. พ.ร.บ. 2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกาหนด 4. กฎกระทรวง
404. ข้อใดไม่ใช่หน่วยงานที่มีหน้าที่การตรวจสอบดูแลส่ วนราชการที่มีพระราชกฤษฎีกาให้รวม หรื อโอน
เข้าด้วยกัน
1. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน
2. กรมบัญชีกลาง
3. สานักงบประมาณ
4. ไม่มีขอ้ ถูก
405. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. การโอนส่ วนราชการเข้าด้วยกัน ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตรากาลังของส่ วนราชการ
หรื อลูกจ้าง เพิ่มขึ้นให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
2. ให้สานักงานข้าราชการพลเรื อนและสานักงานพัฒนาระบบราชการมีหน้าที่การตรวจสอบดูแลมิ
ให้ ส่ วนราชการที่มีพระราชกฤษฎีกาให้รวมหรื อโอนเข้าด้วยกัน กาหนดตาแหน่งหรื ออัตรากาลังของ
ข้าราชการ หรื อลูกจ้างเพิม่ จนกว่าจะครบสามปี นับแต่วนั ที่พระราชกฤษฎีกามีผลบังคับใช้
3. การเปลี่ยนชื่อส่ วนราชการที่มีฐานะเป็ นกรมให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
4. ทุกข้อกล่าวถูกต้อง
406. คาว่า “ส่ วนราชการ” ตามพระราชกฤษฎีการว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ.2546 หมายถึงส่ วนราชการตามกฎหมายใด
1. ตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม
2. ตามกฎหมายระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน
3. ตามกฎหมายองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
4. ถูกทุกข้อ
407. ส่ วนราชการต้องจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี เสนอต่อใครเพื่อให้ความเห็นชอบ
1. คณะรัฐมนตรี 2. นายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี 4. ถูกทุกข้อ
408. การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีน้ นั จะต้องบริ หารราชการ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายใด
1. ไม่มีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจาเป็ น
2. มีการปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการให้ทนั ต่อสถานการณ์
3. ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
4. ถูกทุกข้อ
409. หน่วยงานใดที่ตอ้ งจัดให้มีหลักเกณฑ์การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย
หลักเกณฑ์และ วิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
1. องค์การปกครองส่ วนท้องถิ่น 2. องค์กรมหาชน
3. รัฐวิสาหกิจ 4. ถูกทุกข้อ
410. กรณี ที่ส่วนราชการจัดทาแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริ การสาธารณะเสนอต่อสานัก
งบประมาณ กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ และถ้ามิได้มีขอ้ ทักท้วงประการใดภายในกี่วนั ก็ให้ส่วน
ราชการดังกล่าวถือปฏิบตั ิ ตามแผนการลดรายจ่ายนั้นต่อไปได้
1. 7 วัน 2. 15 วัน
3. 30 วัน 4. 1 เดือน
411. การยกเว้นไม่ให้นาบทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาใช้บงั คับแก่การ
ดาเนิน กิจการใดหรื อกับหน่วยงานใด ให้ตราเป็ นกฎหมายใด
1. กฎกระทรวง 2. พระราชบัญญัติ
3. พระราชกาหนด 4. พระราชกฤษฎีกา
412. ข้อใดไม่ใช่ กฎ
1. กฎกระทรวง 2. ข้อบัญญัติทอ้ งถิ่น
3. ประกาศกระทรวง 4. ประกาศ
413. พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ให้ใช้บงั คับตั้งแต่เมื่อใด
1. 14 พฤษภาคม 2540 2. 15 พฤษภาคม 2540
3. 14 มิถุนายน 2540 4. 15 มิถุนายน 2540
414. พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มิให้ใช้บงั คับแก่หน่วยงานหรื อองค์กรใด
1. การดาเนิ นงานเกี่ยวกับราชการทหารหรื อเจ้าหน้าที่ซ่ ึ งปฏิบตั ิหน้าที่ทางยุทธการร่ วมกับทหารใน
การป้ องกัน และรักษาความมัน่ คงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ
2. การดาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
3. การดาเนิ นกิจการขององค์การทางศาสนา
4. ถูกทุกข้อ
415. ข้อใดไม่ใช่คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง
1. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี 2. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
3. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 4. เลขาธิการ ก.พ.ร
416. เจ้าพนักงานที่มีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์น้ นั เป็ นของตนหรื อเป็ นของผูอ้ ื่น
โดยทุจริ ต หรื อโดยทุจริ ตยอมให้ผอู้ ื่นเอาทรัพย์น้ นั เสี ย เป็ นความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 147 2. มาตรา 148
3. มาตรา 149 4. มาตรา 150
17. เจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบญั ญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรื อสมาชิกสภาเทศบาล เรี ยก รับ หรื อ
ยอมจะรับ ทรัพย์สิน หรื อประโยชน์อื่นใดสาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่นโดยมิชอบ เพื่อกระทาการหรื อไม่กระทา
การอย่างใดใน ตาแหน่งไม่วา่ การนั้นจะชอบหรื อมิชอบด้วยหน้าที่ ต้องระวางโทษใด
1. จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
2. จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชี วติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาทหรื อ
ประหารชีวิต
3. จาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
4. จาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี หรื อปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
418. นางสาวหวานใจ เจ้าหน้าที่พสั ดุ อบต.ร่ ารวย ได้นาคอมพิวเตอร์ ไปจานากับนายใจดี เมื่อเงินออกแล้วก็
นาไปไถ่คืน ภายในกาหนด เป็ นความผิดอาญาฐานใด หรื อไม่
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ตามมาตรา 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ตาม มาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
4. ไม่มีความผิด
419. ร้อยตารวจตรี สมรตารวจประจาอยูท่ ี่กรุ งเทพมหานคร ได้พากันไปแกล้งจับนายกอไก่และพวกที่ จ.
นครนายก โดยหาว่าเล่นสลากกินรวบ ขอค้นบ้านแล้วงัดลิ้นชักโต๊ะหยิบเอาเงินและปื นไป เป็ นความผิด
อาญาฐานใด หรื อไม่
1. ไม่มีความผิด
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ตาม มาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
4. เจ้าพนักงานปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ ตามมาตรา 157
420. ที่ปรึ กษารัฐมนตรี ให้สาธารณสุ ขจังหวัดซื้ อยาและเวชภัณฑ์แพงกว่าราคาปกติ เป็ นความผิดอาญาฐาน
ใด หรื อไม่
1. ไม่มีความผิด
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ตาม มาตรา 148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตามมาตรา 151
4. เจ้าพนักงานปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ ตามมาตรา 157
421. "นาย ส. พนักงานขับรถของหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่ง ขณะขับรถไปเติมน้ ามันได้เกิดอุบตั ิเหตุชน
รถยนต์ของ นาย ป. บุคคลภายนอกได้รับความเสี ยหาย" ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. นาย ป. ต้องฟ้ องค่าเสี ยหายจาก นาย ส. ได้
2. นาย ป. ฟ้ องค่าเสี ยหายจากหน่วยงานของรัฐได้
3. หน่วยงานของรัฐ ให้นาย ส. ชดใช้ค่าเสี ยหาย
4. ข้อ 1 และ ข้อ 2
422. ในกรณี ที่การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซ่ ึ งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด หน่วยงานใดจะเป็ น
ผูร้ ับผิดชอบชดใช้ ค่าเสี ยหาย
1. กระทรวงมหาดไทย 2. กระทรวงการคลัง
3. สานักนายกรัฐมนตรี 4. กรมบัญชีกลาง
423. กรณี ที่ผเู้ สี ยหายไม่พอใจผลการวินิจฉัยการชดใช้ค่าเสี ยหายความผิดทางละเมิดอันเกิดจากการ
ปฏิบตั ิงานของ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐจะต้องยืน่ ฟ้ องต่อศาลปกครองภายในกี่วนั นับแต่วนั ที่ตน
ได้รับแจ้ง
1. 15 วัน 2. 30 วัน
3. 60 วัน 4. 90 วัน
424. ข้อใดไม่ใช่เป็ นหน่วยงานของรัฐที่ตอ้ งดาเนินการตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม
1. รัฐวิสาหกิจ 2. องค์การมหาชน
3. องค์กรอิสระ 4. กระทรวง
425. ข้อใดถือเป็ นองค์กรกลางบริ หารงานบุคคล
1. คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อนในสถาบันอุดมศึกษา
2. คณะกรรมการกลางบริ หารงานบุคคลของเจ้าหน้าที่ของรัฐในฝ่ ายบริ หาร
3. คณะกรรมการมาตรฐานการบริ หารงานบุคคลส่ วนท้องถิ่น
4. ถูกทุกข้อ
426. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมมีหน้าที่กากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม
มาตรฐานทาง จริ ยธรรม ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการประเมินพฤติกรรมทางจริ ยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
2. จัดทารายงานประจาปี ของหน่วยงานของรัฐ
3. วินิจฉัยปั ญหาที่เกิดจากการใช้บงั คับ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562
4. กาหนดแนวทางการบังคับใช้ประมวลจริ ยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
247. ใครที่มีหน้าที่กากับดูแลการดาเนิ นกระบวนการรักษาจริ ยธรรม และการประเมินผลการปฏิบตั ิตาม
ประมวลจริ ยธรรม
1. องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล
2. ก.ม.จ
3. สานักงาน ก.พ.
4. ก.พ.ร.
428. กรณี ที่ปรากฏแก่ ก.ม.จ. ว่า การจัดทาประมวลจริ ยธรรมขององค์กรกลางบริ หารงานบุคคล ไม่
สอดคล้องกับ มาตรฐานทางจริ ยธรรมหรื อมีการปฏิบตั ิที่ไม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กาหนด ให้
ก.ม.จ. แจ้งให้องค์กร กลางบริ หารงานบุคคล ดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง และ ให้เป็ นหน้าที่ขององค์กร
กลางบริ หารงานบุคคลที่จะต้อง ดาเนินการภายในเวลาใด
1. โดยไม่ชกั ช้า
2. โดยเร็ ว
3. ภายใน 7 วัน
4. ภายใน 15 วัน
429. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ใน ก.ม.จ. ถ้าจะมีมติขบั กันออกจากตาแหน่งเพราะบกพร่ องต่อหน้าที่มีความ
ประพฤติ เสื่ อมเสี ยหรื อหย่อนความสามารถ ต้องมีคะแนนเสี ยงเท่าใด
1. ไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่ง
2. 2 ใน 3
3. 3 ใน 5
4. 4 ใน 5
430. ข้อใดคือวาระในการดารงตาแหน่งของกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิใน ก.ม.จ.
1. 2 ปี ติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระ
2. 3 ปี ติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระ
3. 4 ปี ติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระ
4. 5 ปี ติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระ
431. นายซื่อตรง เจ้าหน้าที่การเงิน ได้รับมอบหมาย นายก อบต.ร่ ารวย ให้รักษาเงินสวัสดิก ารของข้าราชการ
ได้เอาเงิน นั้นมาเป็ นของตนเอง เป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ตาม ม. 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบตาม ม.148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ตตาม ม.151
4. ไม่มีความผิด
432. นายอ้วนพี่ เจ้าพนักงานตารวจ ได้เอาปื นไปจานากับนายใจดีชวั่ คราวโดยมีเจตนาไถ่คืนออกมา เป็ น
ความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ตาม ม. 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบตาม ม.148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ตตาม ม.151
4. ไม่มีความผิด
433. นายม้านัง่ พนักงานมหาวิทยาลัย ได้รับมอบหมายให้เป็ นหัวหน้าตรวจรับพัสดุ ได้เอาคอมพิวเตอร์ที่
ตรวจรับไปให้ น้องสาวซึ่ งกาลังเรี ยนมหาวิทยาลัย เป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ตาม ม. 147
2. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบตาม ม.148
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ตตาม ม.151
4. ไม่มีความผิด
434. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. เมื่อเกิดความเสี ยหายแก่หน่วยงานของรัฐ ให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องแจ้งต่อผูบ้ งั คับบัญชาโดยไม่
ชักช้า และให้มี การรายงานตามลาดับชั้นถึงหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น
2. เมื่อเกิดความเสี ยหายแก่หน่วยงานของรัฐแห่งใดและหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นมีเหตุอนั
ควรเชื่ อว่าเกิด จากการกระทาของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น ให้หวั หน้าหน่วยงานของรัฐ
ดังกล่าวแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริ งความรับผิดทางละเมิดขึ้นคณะหนึ่ง โดยไม่ชกั ช้า เพื่อพิจารณา
เสนอความเห็น เกี่ยวกับผูต้ อ้ งรับผิดและจานวนค่าสิ นไหมทดแทนที่ผนู ้ ้ นั ต้องชดใช้
3. คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริ งความรับผิดทางละเมิดให้มีจานวนไม่เกินห้าคน โดยแต่งตั้งจาก
เจ้าหน้าที่ของ หน่วยงานของรัฐแห่งนั้นหรื อหน่วยงานของรัฐอื่นตามที่เห็นสมควร
4. ถูกทุกข้อ
435. “พนักงานขับรถของหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่ง นารถไปใช้ปฏิบตั ิหน้าที่ราชการแต่รถอยูใ่ นสภาพไม่
เหมาะสม มีการแจ้งซ่อมหลายครั้ง แต่หน่วยงานไม่มีงบประมาณจัดซ่อม ขณะนารถไปใช้ปฏิบตั ิหน้าที่
เกิดอุบตั ิเหตุ เนื่ องมาจากการกระทาโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของพนักงานขับรถ ทาให้เกิดความ
เสี ยหายแก่ทรัพย์สินของเอกชน ข้อใดถูกต้องที่สุด
1. พนักงานขับรถต้องชดใช้ค่าเสี ยหายทั้งหมดเนื่ องมาจากการกระทาโดยประมาทเลินเล่ออย่าง
ร้ายแรง
2. หน่วยงานต้องชดใช้ค่าเสี ยหายให้แก่เอกชนและไล่เบี้ยเอากับพนักงานขับรถทั้งหมด
3. หน่วยงานชดใช้ค่าเสี ยหายให้แก่เอกชนและไล่เบี้ยเอากับพนักงานขับรถโดยพนักงานขับรถไม่
ต้องจ่ายเต็มจานวน
4. หน่วยงานต้องชดใช้ค่าเสี ยหายทั้งหมดให้แก่เอกชนจะไล่เบี้ยเอากับพนักงานขับรถไม่ได้
436. เมื่อเกิดความเสี ยหายแก่หน่วยงานของรัฐในส่ วนภูมิภาค ในชั้นต้นเจ้าหน้าที่ผเู ้ กี่ยวข้องต้องรายงานให้
ใครรับทราบ โดยไม่ชกั ช้า
1. หัวหน้าหน่วยงานนั้น
2. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด
3. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
4. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย.
437. ข้อใดไม่ใช่หน่วยงานของรัฐตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
1. องค์การบริ หารส่ วนตาบล
2. เทศบาล
3. อาเภอ
4. มูลนิธิ
438. การปฏิบตั ิหน้าที่ของส่ วนราชการต้องใช้วธิ ี การใด
1. บริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
2. ความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ
3. ความมีประสิ ทธิ ภาพของส่ วนราชการ
4. ถูกทุกข้อ
439. การกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือนของส่ วนราชการต่าง ๆ จะต้องคานึงถึงสิ่ งใด
1. ประสิ ทธิ ภาพของส่ วนราชการ
2. ภารกิจที่รับผิดชอบ
3. คุณภาพและปริ มาณของส่ วนราชการนั้นๆ
4. ถูกทุกข้อ

440. ข้อใดเป็ นการจัดระเบียบบริ หารราชการส่ วนกลาง


1. ทบวง
2. กระทรวง
3. ส่ วนราชการที่ชื่อเรี ยกอย่างอื่นมีฐานะเป็ นกรมแต่ไม่ได้สังกัดกระทรวงหรื อทบวง
4. ถูกทุกข้อ
441. การโอนส่ วนราชการเข้าด้วยกัน ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตรากาลังของส่ วนราชการหรื อ
ลูกจ้างเพิ่มขึ้นให้ตราเป็ น
1. พ.ร.บ.
2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกาหนด
4. กฎกระทรวง
442. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. การยุบส่ วนราชการให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
2. เมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบส่ วนราชการแล้ว ให้งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยูข่ องส่ วนราชการนั้น
เป็ นอันระงับไป
3. เมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบส่ วนราชการแล้ว ทรัพย์สินอื่นของส่ วนราชการนั้นให้โอนให้แก่ส่วน
ราชการอื่นหรื อ หน่วยงานอื่นของรัฐ
4. ไม่มีขอ้ ถูก
443. การแบ่งส่ วนราชการภายในสานักงานรัฐมนตรี จะต้องตราเป็ นกฎหมายใด
1. กฎกระทรวง
2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกาหนด
4. พ.ร.บ.
444. การแบ่งส่ วนราชการภายในกรม จะต้องตราเป็ นกฎหมายใด
1. กฎกระทรวง
2. พระราชกฤษฎีกา
3. พระราชกาหนด
4. พ.ร.บ.
445. ข้อใดเป็ นแนวทางการบริ หารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
1. การกาหนดภารกิจของรัฐและส่ วนราชการต้องสอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐและ นโยบาย
ขอนายกรัฐมนตรี ที่แถลงต่อรัฐสภา
2. การปฏิบตั ิภารกิจของส่ วนราชการต้องเป็ นไปโดยซื่ อสัตย์สุจริ ต สามารถตรวจสอบได้และมุ่งให้
เกิดประโยชน์สุข แก่ประชาชนทัว่ ทั้งประเทศ
3. ให้เป็ นหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐที่จะต้องคอยรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคม
โดยรวมและ ประชาชนผูร้ ับบริ การ
4. ในกรณี ที่เกิดปั ญหาและอุปสรรคจากการดาเนินการ ให้ส่วนราชการดาเนินการแก้ไขปั ญหาและ
อุปสรรคนั้นโดยเร็ ว
446. ข้อใดไม่ได้เป็ นแนวทางการบริ หารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
1. ก่อนเริ่ มดาเนินการ หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีและผลเสี ยให้ครบถ้วน
ทุกด้าน
2. ในกรณี ที่ภารกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชาชน ส่ วนราชการต้องดาเนิ นการรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชน หรื อชี้แจงทาความเข้าใจ
3. การปฏิบตั ิภารกิจของส่ วนราชการต้องเป็ นไปโดยซื่ อสัตย์สุจริ ต สามารถตรวจสอบได้
4. กรณี ที่ปัญหาหรื ออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจากส่ วนราชการอื่นหรื อระเบียบข้อบังคับที่ออกโดยส่ วน
ราชการอื่นให้ ส่ วนราชการแจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อดาเนิ นการแก้ไขปรับปรุ งโดยเร็ วต่อไป
447. ข้อใดคือความหมายของคาสั่งทางปกครอง
1. การใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ เช่น การออกกฎ
2. การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ เช่น การไม่อนุ ญาต
3. การใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ เช่น คาสัง่ วางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
4. การออกคาสั่งของเจ้าหน้าที่ตามสัญญาก่อสร้าง
448. ข้อบัญญัติทอ้ งถิ่นที่มีผลบังคับเป็ นการทัว่ ไป ไม่มุ่งหมายให้ใช้แก่กรณี ใดหรื อบุคคลใดเป็ นการเฉพาะ
จัดอยูใ่ น ความหมายของเรื่ องใด
1. คาสั่งทางปกครอง 2. กฎ
3. พระราชกฤษฎีกา 4. ประกาศกระทรวง
449. พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ไม่ใช้บงั คับกับข้อใด
1. การดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการบังคับคดี
2. การดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการวางทรัพย์
3. การดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาคดี
4. ถูกทุกข้อ
450. พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ใช้บงั คับเมื่อใด
1. 14 พฤศจิกายน 2539
2. 15 พฤศจิกายน 2539
3. 14 พฤษภาคม 2540
4. 15 พฤษภาคม 2540
451. กรณี ที่หน่วยงานของรัฐพิจารณาคาขอที่ผเู ้ สี ยหายได้ยนื่ ให้พิจารณาชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน ไม่แล้ว
เสร็ จได้ ทันในกาหนดนั้น ใครที่มีอานาจขยายระยะเวลาการพิจารณาได้
1. คณะรัฐมนตรี 2. รัฐมนตรี เจ้าสังกัด
3. นายกรัฐมนตรี 4. กระทรวงการคลัง

452. กรณี ใดถือเป็ นการกระทาด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง


1. เจ้าหน้าที่โรงงานของกรมธนารักษ์เผาเศษปอริ มถนนหลวง ทาให้มีควันดาปกคลุมถนนจนมอง
ไม่เห็นทาง ข้างหน้า เป็ นเหตุให้มีรถยนต์ประสบอุบตั ิเหตุเฉี่ ยวชนกัน
2. ผูบ้ งั คับบัญชาลงลายมือชื่อในใบเสร็ จรับเงินค่าธรรมเนี ยมไว้ล่วงหน้าและไม่ทาลายใบเสร็ จ
ดังกล่าว ก่อนที่จะ ย้ายไปดารงตาแหน่งอื่น จนทาให้ผใู ้ ต้บงั คับบัญชานาใบเสร็ จไปเรี ยกเก็บเงินเพื่อ
ประโยชน์ส่วนตน
3. การเบิกจ่ายเงินค่าจ้างทั้งที่ผรู ้ ับจ้างไม่ได้ดาเนิ นการตามที่กาหนดในสัญญาเป็ นการฝ่ าฝื นต่อ
ระเบียบ ของทาง ราชการเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงิน
4. ถูกทุกข้อ
453. กรณี ใดถือเป็ นการกระทาด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
1. เจ้าหน้าที่ซ่ ึ งเป็ นตาแหน่งยามมีหน้าที่รักษาความปลอดภัยและทรัพย์สินของทางราชการ ได้หลับ
ในขณะ ปฏิบตั ิหน้าที่เป็ นเหตุให้ทรัพย์สินของทางราชการสู ญหาย
2. กรรมการตรวจรับสิ นค้าลงชื่อตรวจรับสิ นค้าโดยไม่ตรวจสิ นค้าจริ ง
3. ได้รับอนุญาตให้นารถราชการไปเก็บรักษาที่บา้ นพักเป็ นครั้งคราว แต่นาไปเก็บรักษาไว้เป็ น
ประจาทุกวัน บ้านพักเป็ นสถานที่ไม่ร้ ัวรอบขอบชิ ดเป็ นเหตุให้รถถูกขโมย
4. ถูกทุกข้อ
454. นายทมยันตรี เป็ นพนักงานที่ดินมีหน้าที่ในการดาเนิ นการเรื่ องกาจดทะเบียนสิ ทธิ และนิติกรรมเกี่ยวกับ
ที่ดิน ได้แนะนาให้นางเกศราว่าต้องดาเนิ นการร้องขอเป็ นผูจ้ ดั การมรดกของนางมีมี่ก่อนถึงจะทาการจด
ทะเบียนโอนที่ดิน ได้และรับติดต่อทนายความเพื่อดาเนิ นการร้องขอจัดการมรดกนั้น ดังนี้ นายทมยันตรี มี
ความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ตาม ม. 148
2. เจ้าพนักงานรับหรื อเรี ยกสิ นบน ตาม ม. 149
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ตาม ม. 151
4. ไม่มีความผิด
455. ร้อยตารวจเอกหมู แกล้งกล่าวหาว่านายแมวกระทาความผิดอาญา โดยแจ้งว่าถ้าไม่อยากถูกจับกุมต้อง
เอาเงินมาให้ ดังนี้ เป็ นความผิดตามมาตราใด
1. มาตรา 148 2. มาตรา 149
3. มาตรา 151 4. มาตรา 152
456. ใครเป็ นเลขานุการ ในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม
1. คณะกรรมการมาตรฐานการบริ หารงานบุคคลส่ วนท้องถิ่น
2. ผูแ้ ทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน
3. รองนายกรัฐมนตรี ซ่ ึงนายกรัฐมนตรี มอบหมาย
4. เลขาธิการ ก.พ.
457. เพื่อประโยชน์ในการรักษาจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ให้หน่วยงานของรัฐดาเนินการ ดังต่อไปนี้
ข้อใดกล่าว ถูกต้อง
1. กาหนดให้มีผรู ้ ับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริ ยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ
2. ดาเนินกิจกรรมการส่ งเสริ ม สนับสนุน ให้ความรู ้ ฝึ กอบรม และพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐใน
หน่วยงานของรัฐ
3. ทุกสิ้ นปี งบประมาณ ให้จดั ทารายงานประจาปี เสนอต่อ ก.ม.จ.
4. ถูกทุกข้อ
458. ใครที่มีหน้าที่กากับดูแลการดาเนิ นกระบวนการรักษาจริ ยธรรม และการประเมินผลการ ปฏิบตั ิตาม
ประมวล จริ ยธรรม
1. องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล 2. ก.ม.จ
3. สานักงาน ก.พ. 4. ก.พ.ร.
459. องค์กรใดมีอานาจหน้าที่ให้คาแนะนาแก่องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล
1. ก.ม.จ 2. สานักงาน ก.พ.
3. คณะรัฐมนตรี 4. ก.พ.ร.
460. ในกรณี ที่กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิใน ก.ม.จ. พ้นจากตาแหน่งก่อนวาระและวาระที่เหลืออยูไ่ ม่ถึงกี่วนั จะ
ไม่แต่งตั้ง กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิแทนก็ได้
1. 30 วัน 2. 90 วัน
3. 180 วัน 4. 1 ปี
461. ในการจัดระเบียบราชการของกระทรวงฯ ตาแหน่งใดไม่ได้ถูกกาหนดไว้
1. ผูช้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี 2. ผูช้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
3. หัวหน้าสานักงานรัฐมนตรี 4. ปลัดกระทรวง
462. การกาหนดให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่ 2 กรมขึ้นไป สามารถอยูภ่ ายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกัน
สามารถกระทาได้ โดยอาศัยกฎหมายใด
1. พระราชกฤษฎีกา 2. กฎกระทรวง
3. มติคณะรัฐมนตรี 4. กฤษฎีกา
463. ใครเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี
1. รองรัฐมนตรี 2. ปลัดกระทรวง
3. อธิบดี 4. หัวหน้ากลุ่มภารกิจ
464. ใครไม่ได้เป็ นผูม้ ีหน้าที่ในการวางแผนและประสานกิจกรรมให้มีการใช้ทรัพยากรของส่ วนราชการ
ต่างๆ ใน กระทรวง
1. อธิบดี 2. ปลัดกระทรวง
3. หัวหน้าส่ วนราชการตั้งแต่ระดับกรมขึ้นไป 4. หัวหน้ากลุ่มภารกิจ
465. กระทรวงมีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายใด
1. กฎกระทรวง 2. พระราชกฤษฎีกา
3. กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม 4. พระราชบัญญัติ
466. “การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี” บัญญัติไว้ในหมวดใด
1. หมวด 1 2. หมวด 2 3. หมวด 3 4. หมวด 7
467. “การบริ หารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน” บัญญัติไว้ในหมวดใด
1. หมวด 1 2. หมวด 2 3. หมวด 3 4. หมวด 7
468. “การบริ หารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ” บัญญัติไว้ในหมวดใด
1. หมวด 3 2. หมวด 4 3. หมวด 5 4. หมวด 6
469. “การบริ หารราชการอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ”บัญญัติไว้ในหมวด
ใด
1. หมวด 3 2. หมวด 4 3. หมวด 5 4. หมวด 6
470. “การลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน” บัญญัติไว้ในหมวดใด
1. หมวด 3 2. หมวด 4 3. หมวด 5 4. หมวด 6
471. การยกเว้นไม่ให้นาพระราชบัญญัติวธิ ี ปฏิบตั ิราชการทางปกครองไปบังคับแก่การดาเนินกิจการหรื อกับ
หน่วยงานใด ให้ตราเป็ น
1. พระราชบัญญัติ 2. พระราชกฤษฎีกา 3. กฎกระทรวง 4. คาสั่ง
472. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. กรณี ที่มีการยืน่ คาขอโดยมีผลู ้ งชื่อร่ วมกันเกินห้าสิ บคนและในคาขอมีการระบุให้บุคคลใดเป็ น
ตัวแทนของบุคคล ดังกล่าว ให้ถือว่าผูท้ ี่ถูกระบุชื่อดังกล่าวเป็ นตัวแทนร่ วมของคู่กรณี เหล่านั้น
2. ตัวแทนร่ วมต้องเป็ นบุคคลธรรมดา
3. คู่กรณี จะบอกเลิกการให้ตวั แทนร่ วมดาเนินการแทนตนเมื่อใดก็ได้แต่ตอ้ งบอกกล่าวให้เจ้าหน้าที่
ทราบและ ดาเนิ นการใด ๆ ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองต่อไปด้วยตนเอง
4. ตัวแทนร่ วมจะบอกเลิกการเป็ นตัวแทนเมื่อใดก็ได้ แต่ตอ้ งมีหนังสื อแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบกับ
ต้องแจ้งให้คู่กรณี ทุกรายทราบด้วย
473. การรับรองความถูกต้องของคาแปลเป็ นภาษาไทยหรื อการยอมรับเอกสารที่ทาขึ้นเป็ นภาษาต่างประเทศ
ให้เป็ นไป ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎหมายใด
1. พระราชบัญญัติ
2. พระราชกฤษฎีกา
3. กฎกระทรวง
4. ตามที่คณะรัฐมนตรี กาหนด
474. ให้เจ้าหน้าที่แจ้งสิ ทธิ และหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองให้คู่กรณี ทราบและหากมีเอกสาร
ใดไม่ครบถ้วน ให้แจ้งให้ผยู ้ นื่ คาขอทราบภายในกี่วนั นับแต่วนั ที่ได้รับคาขอ
1. 7 วัน
2. 10 วัน
3. 15 วัน
4. 30 วัน
475. เจ้าหน้าที่ตอ้ งพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นว่าจาเป็ นแก่การพิสูจน์ขอ้ เท็จจริ งในการนี้ ให้รวมถึงการ
ดาเนินการ ดังต่อไปนี้ ยกเว้น
1. แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง
2. ไม่จาเป็ นรับฟังพยานหลักฐานของพยานบุคคล หากเห็นว่าเป็ นการกล่าวอ้างที่ไม่จาเป็ นหรื อเพื่อ
ประวิงเวลา
3. ขอข้อเท็จจริ งหรื อความเห็นจากคู่กรณี พยานบุคคล หรื อพยานผูเ้ ชี่ยวชาญ
4. ขอให้เจ้าของเอกสารส่ งเอกสารที่เกี่ยวข้อง
476. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการอุทธรณ์คาสั่งทางปกครอง
1. ให้คู่กรณี อุทธรณ์คาสั่งทางปกครองต่อเจ้าหน้าที่ทาคาสั่งภายใน 15 วันนับแต่วนั ที่ได้รับแจ้ง
คาสั่ง
2. การอุทธรณ์คาสัง่ ทางปกครองสามารถอุทธรณ์ดว้ ยวาจาได้
3. การอุทธรณ์ไม่เป็ นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคาสั่งทางปกครอง
4. เจ้าหน้าที่ตอ้ งพิจารณาคาอุทธรณ์และแจ้งผูอ้ ุทธรณ์ภายในไม่เกิน 30 วันนับแต่วนั ที่ได้รับการ
อุทธรณ์
477. ในการพิจารณาอุทธรณ์ เจ้าหน้าที่มีอานาจพิจารณาในประเด็นตามข้อใด
1. พิจารณาในประเด็นปัญหาข้อเท็จจริ ง
2. พิจารณาประเด็นปั ญหาข้อกฎหมาย
3. พิจารณาความเหมาะสมของการทาคาสั่งทางการปกครอง
4. ถูกทุกข้อ
478. การบังคับทางปกครองไม่ใช้บงั คับกับหน่วยงานใด
1. หน่วยงานของรัฐด้วยกัน
2. องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
3. รัฐวิสาหกิจ
4. ถูกทุกข้อ
479. เมื่อคู่กรณี มีคาขอ เจ้าหน้าที่อาจเพิกถอนหรื อแก้ไขเพิ่มเติมคาสั่งทางปกครองที่พน้ กาหนดอุทธรณ์ ได้
ในกรณี ดังต่อไปนี้ ยกเว้น
1. คู่กรณี ที่แท้จริ งได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาครั้งก่อนแล้วแต่ถูกตัดโอกาสโดยไม่เป็ นธรรม
ในการมีส่วนร่ วม ในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง
2. ถ้าคาสั่งทางปกครองได้ออกโดยอาศัยข้อเท็จจริ งหรื อข้อกฎหมายใดและต่อมาข้อเท็จจริ งหรื อข้อ
กฎหมายนั้น เปลี่ยนแปลงไปในสาระสาคัญในทางที่จะเป็ นประโยชน์แก่คู่กรณี
3. เจ้าหน้าที่ไม่มีอานาจที่พิจารณาคาสั่งทางปกครอง
4. มีพยานหลักฐานใหม่อนั อาจทาให้ขอ้ เท็จจริ งที่ฟังเป็ นยุติแล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสาคัญ
480. ก่อนใช้มาตรการบังคับทางปกครอง เจ้าหน้าที่จะต้องมีคาเตือนเป็ นหนังสื อให้มีการกระทาหรื อละเว้น
การกระทา ตามคาสัง่ ทางปกครองภายในระยะเวลาที่กาหนด คาเตือนดังกล่าวจะต้องระบุรายละเอียดตาม
ข้อใด 1. มาตรการบังคับทางการปกครองที่จะใช้
2. จานวนค่าปรับทางปกครอง
3. ค่าใช้จ่ายในการที่เจ้าหน้าที่เข้าดาเนินการด้วยตนเอง
4. ถูกทุกข้อ

481. ข้อใดไม่ใช่เจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539


1. ข้าราชการองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
2. พนักงานเทศบาล
3. ลูกจ้างทัว่ ไปขององค์การบริ หารส่ วนตาบล
4. ไม่มีขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกต้อง
482. “ถ้าหน่วยงานของรัฐต้องรับผิดชอบให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผเู ้ สี ยหายเพื่อการละเมิดของ
เจ้าหน้าที่ไปแล้ว หน่วยงานของรัฐมีสิทธิ เรี ยกให้เจ้าหน้าที่ผทู ้ าละเมิดชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนคืนได้ตาม
หลักการใด” ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ไม่มีสิทธิ เรี ยกค่าสิ นไหมทดแทนคืน
2. ละเมิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของเจ้าหน้าที่
3. ละเมิดจากการจงใจของเจ้าหน้าที่
4. ให้คานึงถึงระดับความร้ายแรงแห่งการกระทาและความเป็ นธรรมในแต่ละกรณี เป็ นเกณฑ์โดยมิ
ต้องให้ใช้เต็ม จานวนของความเสี ยหายก็ได้
483. ผูเ้ สี ยหายสามารถยืน่ ฟ้ องร้องเมื่อถูกละเมิดในกรณี ที่มิได้เกิดจากการปฏิบตั ิหน้าที่ต่อหน่วยงานใด
1. ศาลยุติธรรม 2. ศาลปกครอง
3. กระทรวงการคลัง 4. หน่วยงานรัฐ
484. ผูเ้ สี ยหายสามารถยืน่ ฟ้ องร้องเมื่อถูกละเมิด ในกรณี ที่เกิดจากการปฏิบตั ิหน้าที่ต่อหน่วยงานใด
1. ศาลยุติธรรม 2. ศาลปกครอง
3. กระทรวงการคลัง 4. หน่วยงานรัฐ
485. ใครเป็ นผูร้ ักษาการตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562
1. นายกรัฐมนตรี 2. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงยุติธรรม 4. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงกลาโหม

486. องค์กรใดมีหน้าที่จดั ทาประมวลจริ ยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยูใ่ นความรับผิดชอบ


1. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม 2. องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล
3. คณะรัฐมนตรี 4. สานักงานรัฐมนตรี
487. สิ่ งใดที่ใช้เป็ นหลักสาคัญในการจัดทาประมวลจริ ยธรรม
1. มาตรฐานทางจริ ยธรรม 2. ผลสัมฤทธิ์ ของงาน
3. หลักเกณฑ์ในการปฏิบตั ิตนของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 4. ถูกทุกข้อ
488. ข้อใดเป็ นหลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
1. ซื่อสัตย์สุจริ ต 2. มีจิตสานึกที่ดี
4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ 4. ถูกทุกข้อ
489. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม มีไม่เกินกี่คน
1. 10 2. 12
3. 13 4. 15
490. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการมอบอานาจของผูว้ า่ ราชการจังหวัด
1. การมอบอานาจต้องทาเป็ นหนังสื อ
2. ถ้าอานาจที่ได้รับมอบมาจากผูอ้ ื่นผูว้ า่ ราชการจังหวัดจะมอบอานาจต่อมิได้ เว้นแต่ มอบอานาจให้
รองผูว้ า่ ราชการจังหวัด
3. ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเมื่อรับมอบอานาจมาแล้วจะมอบอานาจให้แก่หวั หน้าส่ วนราชการประจา
จังหวัดต้องได้รับ ความเห็นชอบจากผูร้ ับมอบอานาจชั้นต้นก่อน
4. ไม่มีขอ้ ผิด
491. เมื่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย มอบอานาจให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัด ปฏิบตั ิราชการแทนแล้ว หาก
ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมอบอานาจดังกล่าวให้ปลัดจังหวัดปฏิบตั ิราชการแทน จะต้องทาอย่างไร
1. สามารถมอบอานาจได้ทนั ที
2. มอบอานาจแล้วรายงานให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยทราบ
3. ไม่สามารถมอบได้เพราะเป็ นอานาจเฉพาะตัว
4. ขอความเห็นชอบจากรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยก่อน เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้วจึง
สามารถทาการมอบอานาจได้
492. ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมีอานาจและหน้าที่เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง หรื อเสนอขอจัดตั้ง
งบประมาณต่อสานักงบประมาณและรายงานให้ใครทราบ
1. กระทรวงมหาดไทย 2. กระทรวงการคลัง
3. กรมบัญชีกลาง 4. คณะรัฐมนตรี
493. เมื่อมีการมอบอานาจให้แก่บุคคลใดปฏิบตั ิราชการแทนแล้ว ผูม้ อบอานาจมีหน้าที่อย่างไร
1. ยังคงมีอานาจอยูเ่ ช่นเดิมและแก้ไขการปฏิบตั ิราชการของผูร้ ับมอบอานาจได้
2. มีหน้าที่กากับติดตามผลการปฏิบตั ิราชการของผูร้ ับมอบอานาจ
3. มีอานาจแนะนาและแก้ไขการปฏิบตั ิราชการของผูร้ ับมอบอานาจได้
4. ข้อ 2. และ 3. ถูก
494. การรักษาราชการแทนตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ไม่ใช้บงั คับแก่ส่วน
ราชการใด
1. กระทรวงศึกษาธิการ 2. กระทรวงการคลัง
3. สานักงานตารวจแห่งชาติ 4. กระทรวงกลาโหม
495. กรณี ที่ส่วนราชการใดดาเนินการให้บริ การเป็ นที่พึงพอใจแก่ประชาชนให้ ก.พ.ร.เสนอคณะรัฐมนตรี
จัดสรรเงินใดแก่ ส่ วนราชการ
1. โบนัส 2. บาเหน็จความชอบ
3. รางวัลการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ 4. รางวัลเงินเพิ่มพิเศษ
496. กรณี ที่ส่วนราชการใดดาเนินงานไปตามเป้ าหมาย สามารถเพิม่ ผลงาน และผลสัมฤทธิ์ โดย ไม่เป็ นการ
เพิ่มค่าใช้จ่าย ให้ ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรี จดั สรรเงินใดแก่ส่วนราชการ
1. โบนัส 2. บาเหน็จความชอบ
3. รางวัลการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ 4. รางวัลเงินเพิ่มพิเศษ
497. กรณี ที่ส่วนราชการใดดาเนินงานคุม้ ค่าต่อภารกิจของรัฐหรื อสามารถดาเนิ นการตามแผนการลด
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยได้ ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ.ร. กาหนด ให้ ก.พ.ร.เสนอคณะรัฐมนตรี จดั สรรเป็ นเงินใดแก่
ส่ วนราชการ
1. โบนัส 2. บาเหน็จความชอบ
3. รางวัลการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ 4. รางวัลเงินเพิ่มพิเศษ
498. ให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นจัดทาหลักเกณฑ์การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามแนวทางของพระ
ราชกฤษฎีกานี้ โดยอย่างน้อยต้องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับเรื่ องใด
1. การลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน 2. การอานวยความสะดวกแก่ประชาชน
3. การตอบสนองความต้องการของประชาชน 4. ถูกทุกข้อ
499. ส่ วนราชการต้องจัดให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเรื่ องใดบ้าง
1. งบประมาณรายจ่ายแต่ละปี
2. การจัดซื้ อจัดจ้างที่จะดาเนิ นการในปี งบประมาณนั้น
3. สัญญาใดๆ ที่ได้มีการอนุมตั ิให้จดั ซื้ อหรื อจัดจ้างแล้ว
4. ถูกทุกข้อ
500. สิ บตารวจเอกมอมแมมได้สงั่ ให้นายอ้นซึ่ งขับรถบรรทุกฝ่ าฝื นกฎจราจรหยุดรถรถเพื่อตรวจใบอนุญาต
ขับขี่และจับกุมแล้วเรี ยกเงิน 100 บาท เป็ นความผิดฐานใด
1. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบตาม ม. 148
2. เจ้าพนักงานรับหรื อเรี ยกสิ นบน ตาม ม. 149
3. เจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ตตาม ม. 151
4. ถูกทุกข้อ

You might also like