You are on page 1of 17

ข้อ 1.ข้อใด คือเป้ าหมายหลักของ พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.

๒๕๓๙
1. เพื่อรักษาผลประโยชน์ของหน่วยงานของรัฐ
2. เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผูเ้ สี ยหาย อันเกิดจากกระกระทาจากหน่วยงานของรัฐ
3. ความเป็ นธรรมแก่เจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน ในหน่วยงานของรัฐ
4. เพื่อสร้างขวัญและกาลังใจ ให้แก่เจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน ในหน่วยงานของรัฐ
ตอบ 3.
หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ การที่เจ้าหน้าที่ ดาเนินกิจการต่าง ๆ ของ
หน่วยงานของรัฐนั้น หาได้เป็ นไป เพื่อประโยชน์อนั เป็ นการเฉพาะตัวไม่ การปล่อยให้ความรับผิดทาง
ละเมิด ของเจ้าหน้าที่ ในกรณี ที่ปฏิบตั ิงานในหน้าที่ และเกิดความเสี ยหายแก่เอกชน เป็ นไปตามหลัก
กฎหมายเอกชนตาม ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ จึงเป็ นการไม่เหมาะสมก่อให้เกิดความข้าใจผิดว่า
เจ้าหน้าที่ จะต้องรับผิดในการกระทาต่าง ๆ เป็ นการเฉพาะตัวเสมอไป เมื่อการที่ทาไป ทาให้หน่วยงานของ
รัฐ ต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกเพียงใด ก็จะมีการฟ้ อง ไล่เบี้ยเอาจากเจ้าหน้าที่เต็มจานวนนั้น ทั้งที่บางกรณี
เกิดขึ้นโดยความไม่ต้ งั ใจ หรื อความผิดพลาด เพียงเล็กน้อย ในการปฏิบตั ิหน้าที่ นอกจากนั้น ยังมีการนา
หลักเรื่ องลูกหนี้ ร่วม ในระบบกฎหมายแพ่ง มาใช้บงั คับ ให้เจ้าหน้าที่ ต้องร่ วมรับผิดในการกระทา ของ
เจ้าหน้าที่ผอู ้ ื่นด้วย ซึ่ งระบบนั้น มุ่งหมายแต่จะได้เงินครบโดย ไม่คานึงถึงความเป็ นธรรม ที่จะมีต่อแต่ละคน
กรณี เป็ นการก่อให้เกิด ความไม่เป็ นธรรม แก่เจ้าหน้าที่ และยังเป็ นการ บัน่ ทอนกาลังขวัญ ในการทางาน
ของเจ้าหน้าที่ดว้ ย จนบางครั้งกลายเป็ นปั ญหา ในการบริ หาร เพราะเจ้าหน้าที่ ไม่กถ้าตัดสิ นใจ ดาเนินงาน
เท่าที่ควร เพราะเกรงความรับผิดชอบ ที่จะเกิดแก่ตน อนึ่ ง การให้คุณให้โทษแก่ เจ้าหน้าที่ เพื่อควบคุมการ
ทางาน ของเจ้าหน้าที่ ยังมีวธิ ี การในการบริ หารงานบุคคล และการดาเนินการทางวินยั กากับดูแล อีกส่ วน
หนึ่ง อันเป็ นหลักประกัน มิให้เจ้าหน้าที่ทาการใด ๆ โดยไม่รอบคอบอยูแ่ ล้ว ดังนั้น จึงสมควร กาหนดให้
เจ้าหน้าที่ ต้องรับผิดทางละเมิดในการปฏิบตั ิงานในหน้าที่ เฉพาะเมื่อเป็ นการจงใจกระทา เพื่อการเฉพาะตัว
หรื อจงใจให้เกิดความเสี ยหาย หรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เท่านั้น และให้แบ่งแยกความรับผิดของ แต่
ละคน มิให้นาหลักลูกหนี้ร่วม มาใช้บงั คับ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความเป็ นธรรม และเพิ่มพูนประสิ ทธิ ภาพ ในการ
ปฏิบตั ิงานของรัฐ จึงจาเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติน้ ี
ความเป็ นธรรม ที่กล่าวถึง คือ ความเป็ นธรรมแก่เจ้าหน้าที่ เพราะถ้าไม่มี พระราชบัญญัติฉบับนี้ เจ้าหน้าที่ที่
ถูกฟ้ อง จะต้องไปใช้กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ซึ่ งไม่เป็ นธรรม เพราะ เจ้าหน้าที่ไม่ได้ปฏิบตั ิงานของตน แต่
ปฏิบตั ิงานในนามของรัฐ นอกจากนี้ เรื่ อง ลูกหนี้ ร่วม ก็เป็ นการให้ความเป็ นธรรมแก่เจ้าหน้าที่ เพราะไม่
เหมารวม แต่ให้คิดแยกส่ วนเป็ นคน ๆ ไป

ข้อ 2."นาย ส. พนักงานขับรถ และ นาย ป. ลูกจ้างประจาตาแหน่งคนงาน ของหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่ง


ออกปฏิบตั ิงานด้วยกัน นาย ส. ได้ขบั รถพลิกคว่า ทาให้บุคคลทั้งสองได้รับบาดเจ็บ และรถยนต์ของทาง
ราชการได้รับความเสี ยหาย"
กรณี น้ ี ข้อใดมีความเป็ นไปได้ มากที่สุด
1. นาย ส. ฟ้ องค่าเสี ยหายจากหน่วยงานของรัฐได้
2. นาย ป. ฟ้ องค่าเสี ยหายจากหน่วยงานของรัฐได้
3. หน่วยงานของรัฐ ให้นาย ส. ชดใช้ค่าเสี ยหาย
4. ข้อ 1 และ ข้อ 2
ตอบ 3.
นาย ป. ไม่ได้มีส่วนร่ วมในการกระทาละเมิดและเป็ นผูท้ ี่ได้รับความเสี ยหายจากการกระทาละเมิดของ นาย
ส. นาย ป. จึงเป็ นผูเ้ สี ยหาย จึงมีสิทธิ เรี ยกร้องให้หน่วยงานที่ นาย ส. สังกัดชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนจากการ
ถูกกระทาละเมิดโดยเจ้าหน้าที่ คือ นาย ส. ได้
กรณี นาย ส. ต้องพิจารณาว่า ขับรถโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรื อไม่ ขับรถถูกกฎจราจรหรื อไม่ ถ้า
เป็ นการกระทาที่ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง นาย ส. ต้องรับผิดชอบในเรื่ องค่าเสี ยหายด้วย

ข้อ 3."นาย ส. เป็ นลูกจ้างตาแหน่งพนักงานขับรถ ของหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่ง ได้รับคาสั่งให้ขบั รถไป


สถานที่แห่งหนึ่ง ขณะขับรถยนต์มาตามถนนตามปกติ มีผขู ้ บั ขี่รถจักรยานยนต์ออกจากซอยด้านซ้ายมือตัด
หน้าในระยะกระชั้นชิดมาก นาย ส. จึงหักหลบโดยไม่มีโอกาสได้ทนั คิดหรื อตัดสิ นใจว่าควรจะหักหลบไป
ทางใดได้โดยปลอดภัย จึงไปชนรถยนต์ของ นาย ก. ที่สวนทางมา"
ในกรณี น้ ี ข้อใด มีความเป็ นไปได้มากที่สุด
1. นาย ก. ฟ้ องเรี ยกค่าเสี ยหาย จาก นาย ส.
2. หน่วยงานที่นาย ส. สังกัด ต้องชดใช้ค่าเสี ยหายให้แก่ นาย ก.
3. นาย ก. เรี ยกร้องค่าเสี ยหาย จากผูข้ บั ขี่รถจักรยานยนต์
4. นาย ส. และ ผูข้ บั ขี่รถจักรยานยนต์ ต้องชดใช้ค่าเสี ยหายให้แก่ นาย ก.
ตอบ 2.
กรณี น้ ี ถือว่า นาย ส. ปฏิบตั ิหน้าที่ทางราชการ และเป็ นเหตุสุดวิสัย ไม่ได้เกิดจากความประมาทเลินเล่อ จึง
ไม่ตอ้ งรับผิดเรื่ องค่าเสี ยหาย แต่หน่วยงานที่ นาย ส. สังกัด ต้องรับผิดชอบค่าเสี ยหาย

ข้อ 4. เมื่อเกิดความเสี ยหายแก่หน่วยงานของรัฐแห่งใด และหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นมีเหตุอนั ควร


เชื่อว่าเกิดจากการกระทาของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น ให้หวั หน้าหน่วยงานของรัฐดังกล่าว
แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริ งความรับผิดทางละเมิดขึ้นคณะหนึ่งโดยไม่ชกั ช้า เพื่อพิจารณาเสนอ
ความเห็นเกี่ยวกับผูต้ อ้ งรับผิดและจานวนค่าสิ นไหมทดแทนที่ผนู ้ ้ นั ต้องชดใช้"
คณะกรรมการข้างต้น มีจานวนกี่คน
1. จานวนไม่เกิน 5 คน
2. จานวนไม่เกิน 7 คน
3. จานวน 3-7 คน
4. จานวน 5-10 คน
ตอบ 1.
ข้อ 8 ตาม ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบตั ิเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของ
เจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มีดงั นี้
เมื่อเกิดความเสี ยหายแก่หน่วยงานของรัฐแห่งใด และหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นมีเหตุอนั ควร
เชื่อว่าเกิดจากการกระทาของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น ให้หวั หน้าหน่วยงานของรัฐดังกล่าว
แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริ งความรับผิดทางละเมิดขึ้นคณะหนึ่งโดยไม่ชกั ช้า เพื่อพิจารณาเสนอ
ความเห็นเกี่ยวกับผูต้ อ้ งรับผิดและจานวนค่าสิ นไหมทดแทนที่ผนู ้ ้ นั ต้องชดใช้
คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้มีจานวนไม่เกินห้าคน โดยแต่งตั้งจากเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่ง
นั้นหรื อหน่วยงานของรัฐอื่นตามที่เห็นสมควร

ข้อ 5.ในกรณี ที่การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ ซึ่ งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด หน่วยงานใดจะเป็ น


ผูร้ ับผิดชอบชดใช้ค่าเสี ยหาย
1. กระทรวงมหาดไทย
2. กระทรวงการคลัง 3
. สานักนายกรัฐมนตรี
4. กรมบัญชีกลาง
ตอบ 2.
มาตรา ๕
หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายในผลแห่งละเมิด ที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่
ในกรณี น้ ี ผูเ้ สี ยหายอาจฟ้ องหน่วยงานของรัฐดังกล่าว ได้โดยตรง แต่จะฟ้ องเจ้าหน้าที่ไม่ได้
ถ้าการละเมิด เกิดจากเจ้าหน้าที่ ซึ่ งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด ให้ถือว่ากระทรวงการคลัง เป็ น
หน่วยงานของรัฐ ที่ตอ้ งรับผิดตามวรรคหนึ่ง

ข้อ 6." นาย ส. พนักงานขับรถของหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่ง ได้รับคาสัง่ ให้ขบั รถพาคณะเจ้าหน้าที่ไปยัง


สถานที่แห่งหนึ่ง ขณะขับรถ นาย ส. ขับรถเร็ วเกินอัตราที่กฎหมายกาหนด และขับรถประมาท หวาดเสี ยว
ในที่สุดเกิดอุบตั ิเหตุชนรถจักรยานยนต์ ของนาง ย. ทาให้รถจักรยานยนต์เสี ยหาย "
1. นาง ย. ต้องฟ้ องเรี ยกค่าเสี ยหาย จาก นาย ส.
2. หน่วยงานที่ นาย ส. สังกัด ต้องรับผิดชอบต่อความเสี ยหาย ของ นาง ย.
3. หน่วยงานที่ นาย ส. สังกัด ไม่มีสิทธิ ไล่เบี้ย นาย ส.
4. นาย ส. ไม่ตอ้ งรับผิดชอบ เพราะเป็ นการปฏิบตั ิงานในหน้าที่ราชการ
ตอบ 2.
มาตรา ๕ หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายในผลแห่งละเมิด ที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทาในการ
ปฏิบตั ิหน้าที่ในกรณี น้ ี ผูเ้ สี ยหายอาจฟ้ องหน่วยงานของรัฐดังกล่าว ได้โดยตรง แต่จะฟ้ องเจ้าหน้าที่ไม่ได้
มาตรา ๘ ในกรณี ที่หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดใช้คา่ สิ นไหมทดแทนแก่ผเู ้ สี ยหาย เพื่อการละเมิดของ
เจ้าหน้าที่ ให้หน่วยงานของรัฐ มีสิทธิ เรี ยกให้เจ้าหน้าที่ ผูท้ าละเมิด ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนดังกล่าว แก่
หน่วยงานของ รัฐได้ ถ้าเจ้าหน้าที่ได้กระทาการนั้นไปด้วยความจงใจ หรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
ในกรณี น้ ี ถือว่า นาย ส. ได้กระทาการในหน้าที่ หน่วยงานที่ นาย ส. สังกัด จึงต้องรับผิดต่อ
ผูเ้ สี ยหายในผลแห่งละเมิด ของ นาย ส. คือ ต้องจ่ายค่าเสี ยหาย ให้แก่ นาง ย. แต่ นาย ส. กระทาไปด้วยความ
ประมาท เลินเล่อ อีกทั้งยังขับรถเร็ วอย่างผิดกฎหมาย ดังนั้น หน่วยงาน จึงมีสิทธิ์ ที่จะให้ นาย ส. ชดใช้
ค่าเสี ยหาย ตามมาตรา 8 แต่จะให้ชดใช้เท่าไร ต้องพิจารณาระดับความร้ายแรงแห่งการกระทาอีกครั้ง เช่น
เหตุผลที่ทาให้ตอ้ งขับรถเร็ ว สภาพท้องถนน และอื่น ๆ เป็ นต้น

ข้อ 7."เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ขได้รับคาสั่งให้เข้าไปฉี ดพ่นไซเพอร์ เมทริ นเพื่อกาจัดยุงในพื้นที่ที่รับผิดชอบ


เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ขเห็นว่าบ้านหลังหนึ่งในชุมชน เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ยงุ ลาย จึงได้เข้าไปฉี ดพ่นไซเพอร์
เมทริ น ในบ้านดังกล่าว เพื่อกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง แต่ไปก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ทรัพย์สิน ที่อยูใ่ น
บ้านหลังนั้น" ในกรณี น้ ี ใครเป็ นผูร้ ับผิดชอบในความเสี ยหาย ที่เกิดจากการละเมิดของเจ้าหน้าที่
1. หน่วยงานที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ขสังกัด
2. เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ผูฉ้ ี ดพ่นยา
3. เจ้าของบ้าน เพราะเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ยงุ ลาย
4. ไม่มีใครต้องรับผิดชอบ ถือเป็ นอุบตั ิเหตุในการปฏิบตั ิราชการ
ตอบ 1.
มาตรา ๕ หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายในผลแห่งละเมิด ที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทาในการ
ปฏิบตั ิหน้าที่ในกรณี น้ ี ผูเ้ สี ยหายอาจฟ้ องหน่วยงานของรัฐดังกล่าว ได้โดยตรง แต่จะฟ้ องเจ้าหน้าที่ไม่ได้
ในกรณี น้ ี เป็ นการปฏิบตั ิหน้าที่ราชการตามปกติ และไม่มีหลักฐาน ข้อมูลว่า เจ้าหน้าที่ได้กระทาให้เกิด
ความเสี ยหาย ด้วยความจงใจ หรื อ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หน่วยงานจึงต้องรับผิดชอบ

ข้อ 8."เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง ออกตรวจพื้นที่ ขณะรับประทานอาหารกลางวันในร้านอาหาร


แห่งหนึ่ง เกิดไปทะเลาะวิวาทกับวัยรุ่ นในร้านอาหาร ทาให้ทรัพย์สินของร้านเสี ยหาย "
ในกรณี น้ ี ใครจะเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อการละเมิดของเจ้าหน้าที่ ตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของ
เจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
1. หน่วยงานรัฐแห่งนั้น เพราะการละเมิดเกิดขึ้น ในขณะปฏิบตั ิหน้าที่
2. เจ้าหน้าที่
3. วัยรุ่ นคู่กรณี
4. ข้อ 2 และ ข้อ 3
ตอบ 2
กรณี น้ ี แม้การกระทาละเมิดจะเกิดขึ้นระหว่างการปฏิบตั ิหน้าที่ แต่ก็มิได้เป็ นไปเพื่อประโยชน์ของทาง
ราชการ หากแต่เป็ นไปเพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ส่วนตัว จึงถือไม่ได้วา่ การกระทาละเมิดดังกล่าวเป็ นการ
กระทาละเมิดในการปฏิบตั ิหน้าที่ดงั หน่วยงานจึงไม่ตอ้ งรับผิดชอบ
มาตรา ๖ ถ้าการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ มิใช่การกระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่ เจ้าหน้าที่ตอ้ งรับผิด ใน
การนั้นเป็ นการเฉพาะตัว ในกรณี น้ ี ผูเ้ สี ยหายอาจฟ้ องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง แต่จะฟ้ องหน่วยงานของรัฐไม่ได้
กรณี ของวัยรุ่ น ไม่ถือว่า วัยรุ่ น เป็ นเจ้าหน้าที่ ตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
จึงไม่อยูใ่ นขอบข่ายของกฎหมายนี้
ข้อ 9.ในกรณี ที่ ศาลพิพากษายกฟ้ อง เพราะเหตุที่หน่วยงานของรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ที่ถูกฟ้ องมิใช่ผตู ้ อ้ งรับผิด
แต่ท้ งั นี้ยงั มีเจ้าหน้าที่มีส่วนร่ วม ซึ่ ง ยังไม่ได้ถูกเรี ยกเข้ามาในคดี อีกจานวนหนึ่ง
ผูเ้ สี ยหายสามารถฟ้ องคดีดงั กล่าวใหม่ได้ภายในเวลากี่ เดือน นับแต่ศาลพิพากษาถึงที่สุด
1. ภายในเวลา 5 เดือน
2. ภายในเวลา 6 เดือน
3. ภายในเวลา 9 เดือน
4. ภายในเวลา 12 เดือน
ตอบ 2
มาตรา ๗ ในคดีที่ผเู ้ สี ยหายฟ้ องหน่วยงานของรัฐ ถ้าหน่วยงานของรัฐเห็นว่า เป็ นเรื่ องที่เจ้าหน้าที่ตอ้ งรับ
ผิด หรื อต้องร่ วมรับผิด หรื อในคดีที่ผเู ้ สี ยหายฟ้ องเจ้าหน้าที่ ถ้าเจ้าหน้าที่เห็นว่าเป็ นเรื่ องที่หน่วยงานของรัฐ
ต้องรับผิด หรื อต้องร่ วมรับผิด หน่วยงานของรัฐ หรื อเจ้าหน้าที่ดงั กล่าว มีสิทธิ ขอให้ศาลที่พิจารณาคดีน้ นั อยู่
เรี ยกเจ้าหน้าที่ หรื อหน่วยงานของรัฐ แล้วแต่กรณี เข้ามาเป็ นคู่ความในคดี
ถ้าศาลพิพากษายกฟ้ องเพราะเหตุที่หน่วยงานของรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ ที่ถูกฟ้ องมิใช่ผตู ้ อ้ งรับผิด ให้
ขยายอายุความฟ้ องร้องผูท้ ี่ตอ้ งรับผิด ซึ่ งมิได้ถูกเรี ยกเข้ามาในคดี ออกไปถึงหกเดือน นับแต่วนั ที่คาพิพากษา
นั้นถึงที่สุด

ข้อ 10.เมื่อได้รับคาขอจากผูเ้ สี ยหายที่ถูกกระทาละเมิดจาก เจ้าหน้าที่ในการปฏิบตั ิหน้าที่ หน่วยงานของรัฐ


ต้องดาเนินการพิจารณาทุกขั้นตอนให้แล้วเสร็ จ ภายในกี่วนั
1. 60 วัน 2. 90 วัน 3. 120 วัน 4. 180 วัน
ตอบ 4
หน่วยงานของรัฐจะต้องรี บดาเนินการพิจารณาคาขอของผูเ้ สี ยหาย โดยเร็ ว ซึ่ งขั้นตอนและวิธีการพิจารณาคา
ขอของผูเ้ สี ยหายนั้น เป็ นไปตามระเบียบสานัก นายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบตั ิเกี่ยวกับความรับ
ผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยหน่วยงานของรัฐต้องพิจารณาทุกขั้นตอนให้แล้วเสร็ จอย่างช้า
ภายใน ๑๘๐ วัน นับแต่รับคาขอจากผูเ้ สี ยหาย แต่ถา้ ไม่อาจพิจารณาให้เสร็ จตามเวลาดังกล่าวหน่วยงานของ
รัฐอาจ ขอขยายเวลาการพิจารณาออกไปอีกได้ แต่รัฐมนตรี จะขยายให้ได้ไม่เกิน ๑๘๐ วัน
ข้อ 11.ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
1. หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายในผลแห่งละเมิด ที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทา
2. หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายในผลแห่งละเมิด ที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทาในการ
ปฏิบตั ิหน้าที่
3. หน่วยงานของรัฐ สามารถฟ้ องไล่เบี้ยเอาค่าเสี ยหายจากเจ้าหน้าที่ ที่กระทาผิดทางละเมิดได้
4. ในกรณี ที่ เจ้าหน้าที่หลายคน มีส่วนร่ วมกันกระทาผิดทางละเมิด ให้นาหลักเรื่ องลูกหนี้ร่วม ใน
ระบบกฎหมายแพ่ง มาใช้บงั คับ
ตอบ 2
ข้อ 1. ไม่ถูกต้องทั้งหมด กล่าวคือ ถ้าไม่ได้ทาในขณะปฎิบตั ิหน้าที่ เจ้าหน้าที่ก็ตอ้ งรับผิดชอบในการกระทา
ของตน ตาม มาตรา 6 ที่กล่าวว่า
"ถ้าการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ มิใช่การกระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่ เจ้าหน้าที่ตอ้ งรับผิด ในการนั้นเป็ น
การเฉพาะตัว ในกรณี น้ ี ผูเ้ สี ยหายอาจฟ้ องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง แต่จะฟ้ องหน่วยงานของรัฐไม่ได้ "
ข้อ 2. ถูกต้อง ตามมาตรา 5 ซึ่งกล่าวว่า
"หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายในผลแห่งละเมิด ที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่
ในกรณี น้ ี ผูเ้ สี ยหายอาจฟ้ องหน่วยงานของรัฐดังกล่าว ได้โดยตรง แต่จะฟ้ องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ "
ข้อ 3. ไม่ถูกต้องทั้งหมด เพราะถ้าเป็ นกรณี ที่ เจ้าหน้าที่กระทาตามหน้าที่ ไม่ได้กระทาด้วยความจงใจ หรื อ
ประมาท เลินเล่อ อย่างร้ายแรง ซึ่ งถ้าเป็ นในลักษณะนี้ หน่วยงานของรัฐจะฟ้ องไล่เบี้ยเอาจากเจ้าหน้าที่ไม่ได้
มาตรา 8 ในกรณี ที่หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผเู ้ สี ยหาย เพื่อการละเมิด
ของ เจ้าหน้าที่ ให้หน่วยงานของรัฐ มีสิทธิ เรี ยกให้เจ้าหน้าที่ ผูท้ าละเมิด ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนดังกล่าว
แก่หน่วยงานของ รัฐได้ ถ้าเจ้าหน้าที่ได้กระทาการนั้นไปด้วยความจงใจ หรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
ข้อ 4. ไม่ถูกต้อง เพราะ มาตรา 8 ของพระราชบัญญัติน้ ี กาหนดไม่ให้นาหลักเรื่ องลูกหนี้ร่วมมาใช้บงั คับ
มาตรา 8 ในกรณี ที่การละเมิด เกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน มิให้นาหลักเรื่ องลูกหนี้ ร่วม มาใช้บงั คับ
และเจ้าหน้าที่ แต่ละคน ต้องรับผิดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน เฉพาะส่ วนของตนเท่านั้น
ข้อ 12.ทาไม พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 จึงไม่ให้นาหลักเรื่ องลูกหนี้ ร่วม
มาบังคับใช้
1. เพราะเป็ นการไม่ยตุ ิธรรมแก่เจ้าหน้าที่
2. เพราะต้องการให้ผเู ้ สี ยหายได้รับค่าเสี ยหายเต็มจานวน
3. เพราะให้ความสาคัญแก่ผเู ้ สี ยหายซึ่ งเกิดจากความผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
4. เพราะหลักเรื่ องลูกหนี้ ร่วม อยูใ่ นประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์
ตอบ 1
ดูเหตุผลได้จาก หมายเหตุ ของ พระราชบัญญัติ
หมายเหตุ:-
... นอกจากนั้น ยังมีการนาหลักเรื่ องลูกหนี้ ร่วม ในระบบกฎหมายแพ่ง มาใช้บงั คับ ให้เจ้าหน้าที่ ต้องร่ วมรับ
ผิดในการกระทา ของเจ้าหน้าที่ผอู ้ ื่นด้วย ซึ่ งระบบนั้น มุ่งหมายแต่จะได้เงินครบโดย ไม่คานึงถึงความเป็ น
ธรรม ที่จะมีต่อแต่ละคน กรณี เป็ นการก่อให้เกิด ความไม่เป็ นธรรมแก่เจ้าหน้าที่ ...

ข้อ 13.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องตาม พระราชบัญญัติความผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539


1. การกระทาที่เกิดจากการปฎิบตั ิหน้าที่โดยตรง เจ้าหน้าที่ไม่ตอ้ งรับผิดทางละเมิด
2. ถ้าความผิดเกิดจากหลายคนร่ วมกระทาการละเมิด ให้รับผิดชอบเฉพาะส่ วนของตนเท่านั้น
3. ให้นาหลักลูกหนี้ร่วม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาบังคับใช้ ในกรณี เจ้าหน้าที่หลาย
คน มีส่วนร่ วมกระทาความผิดทางละเมิดได้
4. คนไทยส่ วนมากไม่ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
ตอบ 1
ข้อ 1. ถูกต้อง แต่ตอ้ งไม่ใช่การกระทาที่จงใจ หรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง (มาตรา 5 และ มาตรา 8)
ข้อ 2. ถูกต้อง ตามมาตรา 8
ข้อ 3. ถูกต้อง ถ้าเจ้าหน้าที่ได้กระทาการนั้นไปด้วยความจงใจ หรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
ตามมาตรา 8
ข้อ 4. ไม่ถูก เพราะ มาตรา 8 ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า "... ในกรณี ที่การละเมิด เกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน มิให้
นาหลักเรื่ องลูกหนี้ร่วม มาใช้บงั คับ และเจ้าหน้าที่ แต่ละคน ต้องรับผิดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน เฉพาะส่ วน
ของตนเท่านั้น ..."

ข้อ 14.ข้อใดกล่าว ไม่ถูกต้อง กรณี เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ กระทาละเมิดต่อบุคคลภายนอก


1. หน่วยงานของรัฐจะต้องรับผิดชอบต่อผูเ้ สี ยหายทุกกรณี
2. หน่วยงานของรัฐจะต้องรับผิดขอบต่อผูเ้ สี ยหาย เฉพาะในกรณี ที่เป็ นการกระทาในการปฏิบตั ิ
หน้าที่
3. ถ้าเป็ นการกระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่ ให้ผเู ้ สี ยหายฟ้ องหน่วยงานของรัฐโดยตรง
4. ถ้าการกระทานั้นไม่ใช่การปฏิบตั ิหน้าที่ ผูเ้ สี ยหายจะฟ้ องหน่วยงานของรัฐไม่ได้
ตอบ 1
ข้อ 1. ไม่ถูกเพราะ ถ้าเป็ นการกระทาที่ เจ้าหน้าที่กระทาโดยไม่ใช่การปฏิบตั ิหน้าที่ราชการ หน่วยงานก็ไม่
ต้องรับผิดชอบ ตามมาตรา 6
มาตรา 6 ถ้าการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ มิใช่การกระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่ เจ้าหน้าที่ตอ้ งรับผิด ในการ
นั้นเป็ นการเฉพาะตัว ในกรณี น้ ี ผูเ้ สี ยหายอาจฟ้ องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง แต่จะฟ้ องหน่วยงานของรัฐไม่ได้

ข้อ 15.กรณี ที่หน่วยงานของรัฐ ได้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนจากการระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ แก่ผเู ้ สี ยหาย


ไปแล้ว และพิจารณาว่า เจ้าหน้าที่ได้ปฏิบตั ิหน้าที่โดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ในกรณี น้ ี หน่วยงาน
จะต้องดาเนินการไล่เบี้ยจากเจ้าหน้าที่ มีอายุความ กี่ปี
1. อายุความ 1 ปี 2. อายุความ 2 ปี 3. อายุความ 3 ปี 4. อายุความ 4 ปี
ตอบ 1
มาตรา 9 ถ้าหน่วยงานของรัฐ หรื อเจ้าหน้าที่ได้ใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผเู ้ สี ยหาย สิ ทธิ ที่จะเรี ยกให้
อีกฝ่ ายหนึ่ง ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ตน ให้มีกาหนดอายุความหนึ่งปี นับแต่วนั ที่หน่วยงานของรัฐ หรื อ
เจ้าหน้าที่ ได้ใช้ค่าสิ นไหมทดแทนนั้นแก่ผเู ้ สี ยหาย

ข้อ 16.นาย ส. ตาแหน่งพนักงานขับรถ ได้รับคาสั่งให้นารถไปปฏิบตั ิราชการ ขณะขับรถตามปกติเกิด


อุบตั ิเหตุ ทาให้รถของ นาง ข. เสี ยหาย นาย ส. ได้จ่ายค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ นาง ข.
ในกรณี น้ ี สิ ทธิ ที่ นาย ส. จะเรี ยกร้องให้ หน่วยงาน จ่ายค่าสิ นไหมทดแทน ให้แก่ตน มีอายุความ กี่ปี
1. อายุความ 1 ปี 2. อายุความ 2 ปี 3. อายุความ 3 ปี 4. อายุความ 4 ปี
ตอบ 1
มาตรา 9 ถ้าหน่วยงานของรัฐ หรื อเจ้าหน้าที่ได้ใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผเู ้ สี ยหาย สิ ทธิ ที่จะเรี ยกให้
อีกฝ่ ายหนึ่ง ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ตน ให้มีกาหนดอายุความหนึ่งปี นับแต่วนั ที่หน่วยงานของรัฐ หรื อ
เจ้าหน้าที่ ได้ใช้ค่าสิ นไหมทดแทนนั้นแก่ผเู ้ สี ยหาย

ข้อ 17.ในกรณี ที่ผเู ้ สี ยหาย ไม่พอใจผลการวินิจฉัยของหน่วยงานของรัฐ เกี่ยวกับคาขอให้หน่วยงานพิจารณา


ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน ผูเ้ สี ยหายต้องร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ภายในกี่วนั
1. สามสิ บวัน 2. สี่ สิบห้าวัน 3. เก้าสิ บวัน 4. หนึ่งร้อยยีส่ ิ บวัน
ตอบ 3
มาตรา 11 ในกรณี ที่ผเู ้ สี ยหายเห็นว่า หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดตามมาตรา ๕ ผูเ้ สี ยหายจะยืน่ คา
ขอ ต่อหน่วยงานของรัฐ ให้พิจารณาชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน สาหรับความเสี ยหายที่เกิดแก่ตนก็ได้ ในการนี้
หน่วยงานของรัฐ ต้องออกใบรับคาขอให้ไว้ เป็ นหลักฐาน และพิจารณาคาขอนั้นโดยไม่ชกั ช้า เมื่อ
หน่วยงาน ของรัฐมีคาสั่งเช่นใดแล้ว หากผูเ้ สี ยหาย ยังไม่พอใจ ในผลการวินิจฉัย ของหน่วยงานของรัฐ ก็ให้
มีสิทธิ ร้องทุกข์ต่อ คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้ ภายในเก้า
สิ บวัน นับแต่วนั ที่ตนได้รับแจ้งผลการวินิจฉัย
ข้อ 18.ผูเ้ สี ยหายจากการละเมิดของเจ้าหน้าที่ มีสิทธิ ในการเรี ยกร้องให้หน่วยงานชดใช้ ได้อย่างไรบ้าง
1. ฟ้ องคดีต่อศาล
2. ยืน่ คาขอต่อหน่วยงานของรัฐ ให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน
3. ยืน่ หนังสื อร้องทุกข์ต่อ คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการ
กฤษฎีกา
4. ข้อ 1 หรื อ ข้อ 2
ตอบ 1
มาตรา 5 กาหนดให้ผเู ้ สี ยหาย อาจฟ้ องหน่วยงานของรัฐได้
มาตรา 11 ผูเ้ สี ยหายมีสิทธิ ยืน่ คาร้องขอให้หน่วยงานชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนได้โดยตรง

ข้อ 19.พนักงานขับรถของหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่ง นารถไปใช้ปฏิบตั ิหน้าที่ราชการ แต่รถอยูใ่ นสภาพไม่


เหมาะสม มีการแจ้งซ่อมหลายครั้ง แต่หน่วยงานไม่มีงบประมาณจัดซ่อม ขณะนารถไปใช้ปฏิบตั ิหน้าที่ เกิด
อุบตั ิเหตุเนื่องมาจากการกระทาโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ของพนักงานขับรถ ทาให้เกิดความ
เสี ยหายแก่ทรัพย์สินของเอกชน ในกรณี น้ ี ข้อใดถูกต้องที่สุด
1. พนักงานขับรถต้องชดใช้ค่าเสี ยหายทั้งหมด เนื่ องมาจากการกระทาโดยประมาทเลินเล่ออย่าง
ร้ายแรง
2. หน่วยงานต้องชดใช้ค่าเสี ยหายให้แก่เอกชน และไล่เบี้ยเอากับพนักงานขับรถทั้งหมด
3. หน่วยงานชดใช้ค่าเสี ยหายให้แก่เอกชน และไล่เบี้ยเอากับพนักงานขับรถ โดยพนักงานขับรถไม่
ต้องจ่ายเต็มจานวน
4. หน่วยงานต้องชดใช้ค่าเสี ยหายทั้งหมดให้แก่เอกชน จะไล่เบี้ยเอากับพนักงานขับรถ ไม่ได้
ตอบ 3
มาตรา 8 ในกรณี ที่หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผเู ้ สี ยหาย เพื่อการละเมิด
ของ เจ้าหน้าที่ ให้หน่วยงานของรัฐ มีสิทธิ เรี ยกให้เจ้าหน้าที่ ผูท้ าละเมิด ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนดังกล่าว
แก่หน่วยงานของ รัฐได้ ถ้าเจ้าหน้าที่ได้กระทาการนั้นไปด้วยความจงใจ หรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

สิ ทธิ เรี ยกให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน ตามวรรคหนึ่ง จะมีได้เพียงใด ให้คานึงถึงระดับความร้ายแรงแห่งการ


กระทา และความเป็ นธรรมในแต่ละกรณี เป็ นเกณฑ์ โดยมิตอ้ งให้ใช้เต็มจานวนของความเสี ยหาย ก็ได้
ถ้าการละเมิด เกิดจากความผิด หรื อความบกพร่ องของหน่วยงานของรัฐ หรื อระบบการดาเนินงาน ส่ วนรวม
ให้หกั ส่ วนแห่งความรับผิดดังกล่าวออกด้วย
ดังนั้น จึงสรุ ปว่า ในกรณี น้ ี หน่วยงาน ก็ตอ้ งรับผิดในระบบของตนที่ไม่ได้ทารถให้อยูใ่ นสภาพสมบูรณ์
พนักงานขับรถ จึงไม่ตอ้ งจ่ายเต็มจานวน

ข้อ 20."เมื่อเกิดความเสี ยหายแก่หน่วยงานของรัฐแห่งใด และหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นมีเหตุอนั ควร


เชื่อว่า เกิดจากการกระทาของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น ให้หวั หน้าหน่วยงานของรัฐดังกล่าว
แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริ ง ความรับผิดทางละเมิดขึ้นคณะหนึ่ง"
คณะกรรมการชุ ดนี้ ประกอบด้วยใครบ้าง
1. เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น
2. เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น
3. ผูเ้ ชี่ยวชาญ ในสาขาที่เกี่ยวข้อง
4. ข้อ 1 และ/หรื อ ข้อ 2
ตอบ 4
ข้อ 8 ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบตั ิเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของ
เจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
เมื่อเกิดความเสี ยหายแก่หน่วยงานของรัฐแห่งใด และหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นมีเหตุอนั ควร
เชื่อว่า เกิดจากการกระทาของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น ให้หวั หน้าหน่วยงานของรัฐดังกล่าว
แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริ ง ความรับผิดทางละเมิดขึ้นคณะหนึ่ง โดยไม่ชกั ช้า เพื่อพิจารณาเสนอ
ความเห็นเกี่ยวกับผูต้ อ้ งรับผิด และจานวนค่าสิ นไหมทดแทนที่ผนู ้ ้ นั ต้องชดใช้

คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้มีจานวนไม่เกินห้าคน โดยแต่งตั้งจากเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแห่ง


นั้น หรื อหน่วยงานของรัฐอื่นตามที่เห็นสมควร

ข้อ 21.ข้อใด กล่าวได้ถูกต้อง


1. ในกรณี ที่หน่วยงานของรัฐ มีสิทธิ ไล่เบี้ยเอากับเจ้าหน้าที่ ไม่สามารถไล่เบี้ยได้เต็มจานวน
2. เมื่อเกิดความเสี ยหายขึ้น หน่วยงานของรัฐ จะรับภาระชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน แก่ผไู ้ ด้รับความ
เสี ยหาย ตามผลการวินิจฉัย ของกรรมการสอบสวน
3. สาหรับในกรณี ที่การละเมิดมิได้เกิดขึ้นในการปฏิบตั ิหน้าที่ ความรับผิดอันเนื่ องมาจากการ
ละเมิดเป็ นไปตามที่บญั ญัติอยูใ่ นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
4. ในกรณี ที่การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคนก็ จะใช้หลักกฎหมายเรื่ องลูกหนี้ ร่วม ตาม
กฎหมายแพ่งมาใช้บงั คับก็ได้
ตอบ 3
ข้อ 1. ผิด เพราะในกรณี ที่หน่วยงานของรัฐ มีสิทธิ ไล่เบี้ยเอากับเจ้าหน้าที่ อาจจะไล่เบี้ยได้เต็มจานวน
หรื อไม่เต็มจานวน ก็ได้ ตามมาตรา 8
"สิ ทธิ เรี ยกให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน ตามวรรคหนึ่ง จะมีได้เพียงใด ให้คานึงถึงระดับความร้ายแรงแห่ง
การ กระทา และความเป็ นธรรมในแต่ละกรณี เป็ นเกณฑ์ โดยมิตอ้ งให้ใช้เต็มจานวนของความเสี ยหาย ก็ได้
ถ้าการละเมิด เกิดจากความผิด หรื อความบกพร่ องของหน่วยงานของรัฐ หรื อระบบการดาเนินงาน ส่ วนรวม
ให้หกั ส่ วนแห่งความรับผิดดังกล่าวออกด้วย "
ข้อ 2. ผิด เพราะ เมื่อเกิดความเสี ยหายขึ้น หน่วยงานของรัฐจะรับภาระชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผไู ้ ด้รับ
ความเสี ยหายไปก่อน แต่หน่วยงานของรัฐอาจจะมีสิทธิ ไล่เบี้ยเอากับเจ้าหน้าที่ในภายหลังได้ ขึ้นอยูก่ บั ว่า
การว่าละเมิดนั้นได้เกิดขึ้นจากการกระทาโดยจงใจหรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของเจ้าหน้าที่ผนู ้ ้ นั
หรื อไม่
ข้อ 3. ถูกต้องแล้ว ตามมาตรา 6

"มาตรา 6 ถ้าการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ มิใช่การกระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่ เจ้าหน้าที่ตอ้ งรับผิด ในการ


นั้นเป็ นการเฉพาะตัว ในกรณี น้ ี ผูเ้ สี ยหายอาจฟ้ องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง แต่จะฟ้ องหน่วยงานของรัฐไม่ได้ "
ข้อ 4. ไม่ถูก เพราะ มาตรา 8 ระบุไว้ชดั เจน ว่าไม่ให้นาหลักเรื่ องลูกหนี้ ร่วมมาใช้บงั คับ
มาตรา 8 ในกรณี ที่การละเมิด เกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน มิให้นาหลักเรื่ องลูกหนี้ร่วม มาใช้บงั คับ
และเจ้าหน้าที่ แต่ละคน ต้องรับผิดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน เฉพาะส่ วนของตนเท่านั้น

ข้อ 22.องค์ประกอบของ "การละเมิด" ตามมาตรา ๔๒๐ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มีกี่


องค์ประกอบ
1. มี 2 องค์ประกอบ 2. มี 3 องค์ประกอบ
3. มี 4 องค์ประกอบ 4. มี 5 องค์ประกอบ
ตอบ 3
การกระทาละเมิดในพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็ นไปตามมาตรา
๔๒๐ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ซ่ ึ งบัญญัติวา่
"ผูใ้ ดจงใจหรื อประมาทเลินเล่อทาต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมายให้เขาเสี ยหายถึงแก่ชีวติ ก็ดี แก่ร่างกายก็ดี
อนามัยก็ดี เสรี ภาพก็ดี ทรัพย์สินหรื อสิ ทธิ อย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผูน้ ้ นั ทาละเมิดจาต้องใช้ค่าสิ นไหม
ทดแทนเพื่อการนั้น"
ซึ่ งแยกองค์ประกอบได้ดงั นี้
(๑) มีการกระทา หมายถึง การเคลื่อนไหวร่ างกายโดยรู ้สานึกในการ เคลื่อนไหวนั้น และอยูใ่ นบังคับของ
จิตใจผูก้ ระทา และรวมถึงการงดเว้นการกระทาที่ตนมี หน้าที่ตามกฎหมายที่ตอ้ งกระทา และการงดเว้นนั้น
เป็ นเหตุให้เกิดความเสี ยหายขึ้น
(๒) โดยจงใจหรื อประมาทเลินเล่อ
- โดยจงใจ หมายถึง รู้สานึกถึงผลหรื อความเสี ยหายจากการกระทาของตน
- โดยประมาทเลินเล่อ หมายถึง เป็ นการกระทาโดยปราศจากความ ระมัดระวัง ซึ่ งบุคคลในภาวะเช่นนั้น
จาต้องมี โดยต้องเปรี ยบเทียบกับบุคคลที่ตอ้ งมีความ ระมัดระวังตามพฤติการณ์ และตามฐานะในสังคม
เช่นเดียวกับผูก้ ระทาความเสี ยหาย
(๓) โดยผิดกฎหมาย เป็ นการกระทาโดยไม่มีอานาจหรื อไม่มีสิทธิ หรื อ โดยมิชอบด้วยกฎหมาย (unlawful)
และรวมความถึงการใช้อานาจที่มีอยูเ่ กินส่ วนหรื อใช้ อานาจตามกฎหมายเพื่อกลัน่ แกล้งผูอ้ ื่น
(๔) เกิดความเสี ยหายแก่บุคคลอื่น
- ความเสี ยหายนั้นจะเป็ นความเสี ยหายที่เกิดแก่ชีวติ ร่ างกาย อนามัย เสรี ภาพ ทรัพย์สิน หรื อสิ ทธิ อย่างหนึ่ง
อย่างใดก็ได้ แต่ตอ้ งเป็ นความเสี ยหายที่แน่นอน ไม่วา่ จะเกิดขึ้นแล้วในปั จจุบนั หรื อจะเกิดขึ้นในอนาคตก็
จะต้องเป็ นความเสี ยหายที่จะเกิดขึ้น อย่างแน่นอน
- ความเสี ยหายจะต้องเกิดจากผลโดยตรงของผูก้ ระทาด้วย

ข้อ 23.กรณี ที่ผเู ้ สี ยหายถูกกระทาละเมิดจาก เจ้าหน้าที่ในการปฏิบตั ิหน้าที่ และใช้สิทธิ ร้องขอให้หน่วยงาน


ของรัฐชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน เมื่อหน่วยงานของรัฐ ได้รับเรื่ องแล้ว สิ่ งแรกที่จะต้องดาเนินการ คืออะไร
1. ออกใบรับคาขอให้แก่ผยู ้ นื่ คาขอ
2. แต่งตั้งกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริ ง
3. ผูบ้ ริ หารเรี ยกเจ้าหน้าที่ผกู้ ระทาละเมิดเข้าพบ
4. ผูบ้ ริ หารดาเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
ตอบ 1
มาตรา ๑๑ มีหลักการสรุ ปได้วา่ กรณี ที่ผเู ้ สี ยหายถูกกระทาละเมิดจาก เจ้าหน้าที่ในการปฏิบตั ิหน้าที่ นอกจาก
สิ ทธิ ที่ผเู ้ สี ยหายจะนาคดีฟ้องร้องต่อศาลแล้ว ผูเ้ สี ยหาย อาจใช้สิทธิ ร้องขอให้หน่วยงานของรัฐชดใช้ค่า
สิ นไหมทดแทนได้โดยตรง
เมื่อหน่วยงานของรัฐ ได้รับเรื่ องแล้วจะต้องปฏิบตั ิตามขั้นตอนและวิธีการ ตามตามระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบตั ิเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ดังนี้
(๑) ออกใบรับคาขอให้แก่ผยู ้ นื่ คาขอ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าผูเ้ สี ยหายได้ยนื่ คาขอวันและปี ใด
(๒) หน่วยงานของรัฐจะต้องรี บดาเนินการพิจารณาคาขอของผูเ้ สี ยหาย โดยเร็ ว ซึ่ งขั้นตอนและวิธีการ
พิจารณาคาขอของผูเ้ สี ยหายนั้น เป็ นไปตามระเบียบสานัก นายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบตั ิ
เกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยหน่วยงานของรัฐต้องพิจารณาทุกขั้นตอนให้
แล้วเสร็ จอย่างช้าภายใน ๑๘๐ วัน นับแต่รับคาขอจากผูเ้ สี ยหาย แต่ถา้ ไม่อาจพิจารณาให้เสร็ จตามเวลา
ดังกล่าวหน่วยงานของรัฐอาจ ขอขยายเวลาการพิจารณาออกไปอีกได้ แต่รัฐมนตรี จะขยายให้ได้ไม่เกิน ๑๘๐
วัน
(๓) ออกคาสั่งแจ้งผลการพิจารณา เมื่อหน่วยงานของรัฐที่ได้รับคาขอได้ ดาเนินการพิจารณาคาขอตาม
หลักเกณฑ์ของระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ฯแล้วต้องจัดทา คาสั่งแจ้งให้ผเู ้ สี ยหายที่มีคาขอทราบ ซึ่ งคาสั่ง
แจ้งผลการพิจารณาดังกล่าวต้องปฏิบตั ิตามแบบ การจัดทาคาสั่งในทางปกครอง
(๔) กรณี ที่ผเู ้ สี ยหายไม่พอใจในผลการพิจารณา ผูเ้ สี ยหายสามารถนาคดี ขึ้นฟ้ องร้องต่อศาล ซึ่ งจะเป็ นศาล
ปกครองหรื อศาลยุติธรรมย่อมเป็ นไปตามมาตรา ๑๐๖ แห่ งพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลปกครองและวิธี
พิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

You might also like