You are on page 1of 49

แนวข้ อสอบประมวลกฎหมายอาญาความผิด

ต่ อตาแหน่ งหน้ าที่ราชการ


ข้อสอบประมวลกฎหมายอาญาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ
1. ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์น้ นั เป็ นของตน หรื อเป็ น
ของผูอ้ ื่นโดยทุจริ ต หรื อโดยทุจริ ตยอมให้ผอู ้ ื่นเอาทรัพย์น้ นั เสี ย มีโทษอย่างไร
ก. โทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี
ข. จาคุกตลอดชีวิต
ค. ปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย : ง. ถูกทุกข้อ

2. การกระทาตามมาตราใด มีโทษถึงประหารชีวิตตาม ป.อ.2499 (ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ)


ก. มาตรา 148 ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรื อจูงใจเพื่อให้
บุคคลใดมอบให้หรื อหามาให้ซ่ ึ งทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรื อผูอ้ ื่น…
ข. มาตรา 150 ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน กระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งโดยเห็นแก่
ทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใด ซึ่งตนได้เรี ยก รับ หรื อยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนได้รับแต่งตั้งเป็ นเจ้าพนักงาน
ในตาแหน่งนั้น…
ค. มาตรา 152 ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จดั การหรื อดูแลกิจการใด เข้ามีส่วนได้เสี ยเพื่อ
ประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น เนื่องด้วยกิจการนั้น…
ง. มาตรา 157 ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความ
เสี ยหายแก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ด หรื อปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต...
เฉลย : ก. มาตรา 148 ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรื อจูงใจเพื่อให้บุคคล
ใดมอบให้หรื อหามาให้ซ่ ึงทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรื อผูอ้ ื่น…
3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับมาตรา 157ตาม ป.อ.2499 (ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ)
ก. ลงโทษเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผู ้
หนึ่งผูใ้ ด หรื อปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต
ข. ลงโทษเจ้าพนักงาน ทาให้เสี ยหาย ทาลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสี ย หรื อทาให้สูญหายหรื อทาให้ไร้
ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์หรื อเอกสารใดอันเป็ นหน้าที่ของตนที่จะปกครองหรื อรักษาไว้ หรื อยินยอมให้ผอู้ ื่น
กระทาเช่นนั้น
ค. ถูกต้องทั้งข้อ ก. และ ข.
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
เฉลย : ก. ลงโทษเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผู ้
หนึ่งผูใ้ ด หรื อปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต

4. นาย A ยืน่ ค่าขออนุ ญาตออกโฉนด กับ นาย C โดยนาย C รับคาขอของนาย A ไว้พิจารณา แต่ต่อมา นาย
C เพิ่งตรวจพบว่าในคาขอดังกล่าวของนาย A ไม่มีสาเนาทะเบียนบ้านแนบมาด้วยจึงคืน คาขอให้นาย A ไป
แก้ไขแล้วยืน่ คาขอใหม่ภายหลังจากข้อเท็จจริ งดังกล่าว นาย C ผิดวินยั หรื อไม่ เพราะเหตุใด
ก. ผิด ฐานกระทาการให้เสื่ อมเสี ยความเที่ยงธรรม
ข. ผิด ฐานประมาทเลินเล่อเป็ นเหตุให้ประชาชนเสี ยหาย
ค. ไม่ผดิ เพราะได้พิจารณาตามขั้นตอนอย่างรอบคอบแล้ว
ง. ไม่ผดิ เพราะไม่ได้ต้ งั ใจและไม่มีพฤติการณ์ทุจริ ต
เฉลย : ข. ผิด ฐานประมาทเลินเล่อเป็ นเหตุให้ประชาชนเสี ยหาย

5. กรณี ใดอาจไม่เป็ นเหตุให้ตอ้ งรับผิดทางอาญา


ก. นาย A แอบเก็บเศษสตางค์ค่าธรรมเนียมเข้ากระเป๋ าตนเองโดยไม่นาส่ งคลัง
ข. นาย B หลับในเป็ นเหตุให้รถราชการพุง่ ชนต้นไม้
ค. นาย C ใช้เวลาราชการทาธุ รกิจส่ วนตัวเป็ นประจาจนทาให้หน่วยงานเสี ยหาย
ง. นาย D โพสเฟซบุค๊ กล่าวหาว่าอธิ บดีของตนยักยอกเงินหลวง
เฉลย : ค. นาย C ใช้เวลาราชการทาธุ รกิจส่ วนตัวเป็ นประจาจนทาให้หน่วยงานเสี ยหาย

6. ข้อใดมีอตั ราโทษประหารชีวติ
ก. เป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่จดั ซื้ อ ทา จัดการ หรื อรักษาทรัพย์ใด เบียดเบียนทรัพย์น้ นั เป็ นของตน
โดยทุจริ ต
ข. เป็ นเจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบข่มขืนใจ เพื่อให้บุคคลใดหามาให้ซ่ ึ งทรัพย์สิน
ค. เป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ดูแลกิจการใด เข้าไปมีส่วนได้เสี ยในกิจการนั้น
ง. เป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่จ่ายทรัพย์ จ่ายทรัพย์มากเกินกว่าที่ควรจ่าย
เฉลย ข. เป็ นเจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบข่มขืนใจ เพื่อให้บุคคลใดหามาให้ซ่ ึ งทรัพย์สิน

7. ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรื อจูงใจเพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรื อหา


มาให้ซ่ ึ งทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรื อผูอ้ ื่น จะต้องโทษอย่างไรบ้าง
ก. จาคุก 5 – 20 ปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 100,000 – 400,000 บาท
ข. จาคุก 1 – 10 ปี หรื อปรับตั้งแต่ 20,000 – 200,000 บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ค. จาคุก 10 – 20 ปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่ 500,000 – 1,000,000 บาท
ง. จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรื อปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
เฉลย : ค. จาคุก 10 – 20 ปี หรื อจาคุกตลอดชี วติ และปรับตั้งแต่ 500,000 – 1,000,000 บาท

8. ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด ๆ ใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต อันเป็ น


การเสี ยหายแก่รัฐ เทศบาล สุ ขาภิบาลหรื อเจ้าของทรัพย์น้ นั จะต้องโทษอย่างไรบ้าง
ก. จาคุก 5 – 20 ปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 100,000 – 400,000 บาท
ข. จาคุก 1 – 10 ปี หรื อปรับตั้งแต่ 20,000 – 200,000 บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ค.จาคุก 10 – 20 ปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 500,000 – 1,000,000 บาท
ง. จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรื อปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
เฉลย : ค.จาคุก 10 – 20 ปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่ 500,000 – 1,000,000 บาท

9. ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ด
หรื อปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต จะต้องโทษอย่างไรบ้าง
ก. จาคุก 5 – 20 ปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 100,000 – 400,000 บาท
ข. จาคุก 1 – 10 ปี หรื อปรับตั้งแต่ 20,000 – 200,000 บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ค. จาคุก 10 – 20 ปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่ 500,000 – 1,000,000 บาท
ง. จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรื อปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
เฉลย : ข. จาคุก 1 – 10 ปี หรื อปรับตั้งแต่ 20,000 – 200,000 บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

10. ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน รู้หรื ออาจรู้ความลับในราชการ กระทาโดยประการใด ๆ อันมิชอบด้วยหน้าที่ ให้


ผูอ้ ื่นล่วงรู ้ความลับนั้น จะต้องโทษอย่างไรบ้าง
ก. จาคุก 5 – 20 ปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 100,000 – 400,000 บาท
ข. จาคุก 1 – 10 ปี หรื อปรับตั้งแต่ 20,000 – 200,000 บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ค. จาคุก 10 – 20 ปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่ 500,000 – 1,000,000 บาท
ง. จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรื อปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
เฉลย : ง. จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรื อปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

11. จาเลยเป็ นเจ้าพนักงานตารวจจราจร ได้เรี ยกผูเ้ สี ยหายซึ่งขับรถบรรทุกฝ่ าฝื นจราจรหยุดรถเพื่อตรวจ


ใบอนุญาตขับ ขี่ และจับกุมอันเป็ นการปฏิบตั ิหน้าที่ แต่ภายหลังได้เรี ยกเงินจากผูเ้ สี ยหายโดยมิชอบ ดังนี้
ก. เป็ นความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานเรี ยกรับสิ นบน
ข. ผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานทุจริ ตต่อหน้าที่
ค. ผิดฐานกรรโชก
ง. ถูกทั้ง ก และ ข
ตอบ ก
ตามข้อ ก เป็ นความผิดมาตรา 149 กล่าวคือเป็ นการเรี ยกรับทรัพย์สิน (สิ นบน) เพื่อจะกระทาหรื อไม่กระทา
การอย่างใดในตาแหน่งของตน จะตรงกับคาถามมากกว่า ข้อ (ข) เนื่ องจากตามข้อ (ข) ไม่ชดั เจนนั้น เป็ นการ
กระทาความผิดตามมาตรา 157 จึง ต้องมีตวั ประกอบที่วา่ ด้วยคือ การปฏิบตั ิ หรื อละเว้นการปฏิบตั ิของเจ้า
พนักงาน จะต้องเป็ นการกระทาเพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ด หรื อกระทาโดยทุจริ ต ซึ่ งมาตรา 149
จะตรงกับกรณี การรับทรัพย์สินมากกว่า

12. บุคคลใดเป็ นเจ้าพนักงานตามความหมายของประมวลกฎหมายอาญา


ก. ราษฎรที่ถูกเกณฑ์มาช่วยราชการ
ข. ลูกจ้างภารโรงประจาสานักงานนายกรัฐมนตรี
ค. ผูท้ ี่ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการประกวดเทพี
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ ง.ไม่มีขอ้ ใดถูก

13. ข้อใดเป็ นความหมายของ “เจ้าพนักงาน” ตามประมวลกฎหมายอาญา


ก. บุคคลซึ่ งกฎหมายบัญญัติวา่ เป็ นเจ้าพนักงาน
ข. บุคคลซึ่ งได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายให้ปฏิบตั ิหน้าที่ราชการเป็ นประจาซึ่ งไม่ได้รับค่าตอบแทน
ค. บุคคลซึ่ งได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายให้ปฏิบตั ิหน้าที่ราชการเป็ นครั้งคราวซึ่ งได้รับค่าตอบแทน
ง. ถูกทั้งข้อที่กล่าวมา
ตอบ ง. ถูกทั้งข้อที่กล่าวมา
14. โดยทุจริ ต” ตามประมวลกฎหมายอาญา หมายความว่าอะไร
ก. เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยมิชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น
ข. เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น
ค. เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่ควรได้โดยมิชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น
ง. เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่ควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น
ตอบ ข. เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น

15. “เอกสารซึ่งเจ้าพนักงานได้ทาขึ้นหรื อรับรองในหน้าที่ และให้หมายความรวมถึงสาเนาเอกสารนั้น ๆ ที่


เจ้าพนักงานได้รับรองในหน้าที่ดว้ ย” ตามประมวลกฎหมายอาญา เป็ นความหมายของคาใด
ก. เอกสาร
ข. เอกสารราชการ
ค. เอกสารสิ ทธิ
ง. ถูกทั้งข้อ ข และ ค
ตอบ ข. เอกสารราชการ

16. เจ้าพนักงานของรัฐบาลไทยกระทาความผิดนอกราชอาณาจักรที่บญั ญัติไว้ในมาตรา 147 ถึง มาตรา 166


ตามประมวลกฎหมายอาญา จะต้องรับโทษที่ใด
ก. ในราชอาณาจักร
ข. นอกราชอาณาจักร
ค. ศาลในต่างประเทศ
ง. ถูกทั้งข้อ ข และ ค
ตอบ ก. ในราชอาณาจักร
17. ข้อใดไม่ใช้โทษสาหรับลงแก่ผกู ้ ระทาความผิดทางอาญา
ก. ปรับ ข. กักขัง ค. คุมขัง ง. รับทรัพย์สิน
ตอบ ค. คุมขัง

18. โทษประหารชีวติ และโทษจาคุกตลอดชีวิตไม่ใช้บงั คับแก่ผทู ้ าความผิดในขณะที่มีอายุต่ากว่ากี่ปี


ก. 10 ปี ข. 12 ปี ค. 15 ปี ง. 18 ปี
ตอบ ง. 18 ปี

19. ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ ตามประมวลกฎหมายอาญาอยูใ่ นมาตราตามข้อใด


ก. มาตรา 147-166 ข. มาตรา 146-166
ค. มาตรา 145-166 ง. มาตรา 144-166
ตอบ ก. มาตรา 147-166

20. ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผู ้ หนึ่ง
ผูใ้ ด หรื อปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต กระทาผิดประมวลกฎหมายอาญามาตราใด
ก. มาตรา 147 ข. มาตรา 151
ค. มาตรา 157 ง. มาตรา 166
ตอบ ก. มาตรา 147
21. ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ซ้ื อ ทาจัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์น้ นั เป็ นของตน หรื อเป็ น
ของผูอ้ ื่นโดยทุจริ ต หรื อโดยทุจริ ตยอมให้ผอู ้ ื่นเอาทรัพย์น้ นั เสี ย เป็ นการกระทาผิดตามข้อใด
ก. ยักยอกทรัพย์ ข. ไถเงิน
ค. รับสิ นบน ง. ทาของรัฐเสี ยหาย
ตอบ ก. ยักยอกทรัพย์

22. ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด ๆ ใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต อันเป็ น


การเสี ยหายแก่รัฐ เทศบาล สุ ขาภิบาลหรื อเจ้าของทรัพย์น้ นั เป็ นการกระทาผิดตามข้อใด
ก. ยักยอกทรัพย์ ข. ไถเงิน ค. รับสิ นบน ง. ทาของรัฐเสี ยหาย
ตอบ ง. ทาของรัฐเสี ยหาย

23. ครู เอได้รับแต่งตั้งให้ทาหน้าที่การเงินของโรงเรี ยน ต่อมามีเจตนาทุจริ ตเบียดบังเอาเงินที่ได้รับไว้ตาม


หน้าที่ไม่จดั การนาส่ งเงินคืนคลังตามระเบียบ เป็ นความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานตามข้อใด
ก. เบียดบังทรัพย์โดยทุจริ ต
ข. ยอมรับทรัพย์สิน โดยมิชอบ
ค. เข้ามามีส่วนได้เสี ย
ง. ใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต อันเป็ นการเสี ยหายแก่รัฐ
ตอบ ก. เบียดบังทรัพย์โดยทุจริ ต

24. ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์น้ นั เป็ นของตน หรื อเป็ น
ของผูอ้ ื่นโดยทุจริ ต หรื อโดยทุจริ ตยอมให้ผอู ้ ื่นเอาทรัพย์น้ นั เสี ย ข้อใดคือโทษระวางของความผิดฐานนี้
ก. จาคุกตั้งแต่ 5 ปี ถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 1 แสนบาทถึง 4 แสนบาท
ข. จาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 1 แสนบาทถึง 4 แสนบาท
ค. จาคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับตั้งแต่ 2 หมื่นบาทถึง 2 แสนบาท
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
ตอบ ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข

25. ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงานทาความผิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในกฎหมายแผ่นดิน เพื่อบังคับรัฐบาลหรื อ เพื่อ


ข่มขู่ประชาชน ต้องระวางโทษตามข้อใด
ก. จาคุกตั้งแต่ 5 ปี ถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 1 แสนบาทถึง 4 แสนบาท
ข. จาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 1 แสนบาทถึง 4 แสนบาท
ค. จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรื อปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ง. จาคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 2 แสนบาท
ตอบ ง. จาคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 2 แสนบาท

26. ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผู้ หนึ่ง
ผูใ้ ด หรื อปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต ข้อใดคือโทษระวางของความผิดฐานนี้
ก. จาคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี หรื อปรับตั้งแต่ 2 หมื่นบาทถึง 2 แสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ข. จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรื อปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ค. จาคุกไม่เกิน 7 ปี และปรับไม่เกิน 140,000 บาท
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
ตอบ ก. จาคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี หรื อปรับตั้งแต่ 2 หมื่นบาทถึง 2 แสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

27. โทษอาญาสู งสุ ด คือข้อใด


ก. จาคุกตลอดชีวิต ข. ประหารชีวิต ค. ล้มละลาย ง. ไล่ออก
ตอบ ข. ประหารชีวติ
28. โทษอาญาเบาสุ ด คือข้อใด
ก. รับทรัพย์สิน ข. ปรับ ค. ยึดทรัพย์ ง. กักกัน
ตอบ ก. รับทรัพย์สิน

29. โทษทางอาญาเรี ยงจากหนักไปหาเบา ข้อใดถูกต้อง


ก. ประหารชีวิต จาคุก กักกัน ปรับ ยึดทรัพย์สิน
ข. จาคุกตลอดชีวิต จาคุก กักกัน ปรับ ยึดทรัพย์สิน
ค. ประหารชีวิต จาคุก กักขัง ปรับ ริ บทรัพย์สิน
ง. จาคุกตลอดชีวิต จาคุก กักขัง ปรับ ริ บทรัพย์สิน
ตอบ ค. ประหารชีวติ จาคุก กักขัง ปรับ ริ บทรัพย์สิน

30. โทษประหารชีวติ ในความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ บัญญัติในมาตราใด


ก. มาตรา 147 ข. มาตรา 148 ค. มาตรา 149 ง. ถูกทั้งข้อ ข และ ค
ตอบ ง. ถูกทั้งข้อ ข และ ค

31. ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงานละทิ้งงานหรื อกระทาการอย่างใด ๆ เพื่อให้งานหยุดชะงักหรื อเสี ยหาย


โดยร่ วมกระทาการเช่นนั้นด้วยกันตั้งแต่กี่คนขึ้นไป ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรื อปรับไม่เกิน 1
แสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ก.5 คนขึ้นไป ข. 10 คนขึ้นไป ค. 20 คนขึ้นไป ง. 50 คนขึ้นไป
ตอบ ก.
ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ
มาตรา ๑๔๗ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์น้ นั เป็ น
ของตน หรื อเป็ นของผูอ้ ื่นโดยทุจริ ต หรื อโดยทุจริ ตยอมให้ผอู ้ ื่นเอาทรัพย์น้ นั เสี ย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่
ห้าปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๔๘ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรื อจูงใจเพื่อให้


บุคคลใดมอบให้หรื อหามาให้ซ่ ึ งทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรื อผูอ้ ื่น ต้องระวางโทษจาคุก
ตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท หรื อประหารชีวติ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๔๙ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบญั ญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรื อสมาชิก
สภาเทศบาล เรี ยก รับ หรื อยอมจะรับทรัพย์สิน หรื อประโยชน์อื่นใดสาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่นโดยมิชอบ เพื่อ
กระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งไม่วา่ การนั้นจะชอบหรื อมิชอบด้วยหน้าที่ ต้องระวางโทษ
จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท หรื อประหารชีวติ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๐ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน กระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งโดยเห็นแก่


ทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใด ซึ่งตนได้เรี ยก รับ หรื อยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนได้รับแต่งตั้งเป็ นเจ้าพนักงาน
ในตาแหน่งนั้น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาท
ถึงสี่ แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๑ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด ๆ ใช้อานาจใน
ตาแหน่งโดยทุจริ ต อันเป็ นการเสี ยหายแก่รัฐ เทศบาล สุ ขาภิบาลหรื อเจ้าของทรัพย์น้ นั ต้องระวางโทษจาคุก
ตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๒ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จดั การหรื อดูแลกิจการใด เข้ามีส่วนได้เสี ยเพื่อประโยชน์
สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น เนื่ องด้วยกิจการนั้น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี และปรับตั้งแต่สอง
หมื่นบาทถึงสองแสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๓ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จา่ ยทรัพย์ จ่ายทรัพย์น้ นั เกินกว่าที่ควรจ่ายเพื่อประโยชน์


สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสน
บาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๔ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่หรื อแสดงว่าตนมีหน้าที่เรี ยกเก็บหรื อตรวจสอบภาษี


อากร ค่าธรรมเนียม หรื อเงินอื่นใด โดยทุจริ ตเรี ยกเก็บหรื อละเว้นไม่เรี ยกเก็บภาษีอากร ค่าธรรมเนียมหรื อ
เงินนั้น หรื อกระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใด เพื่อให้ผมู ้ ีหน้าที่เสี ยภาษีอากรหรื อค่าธรรมเนียมนั้นมิตอ้ ง
เสี ย หรื อเสี ยน้อยไปกว่าที่จะต้องเสี ย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และ
ปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๕ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่กาหนดราคาทรัพย์สินหรื อสิ นค้าใด ๆ เพื่อเรี ยกเก็บภาษี
อากรหรื อค่าธรรมเนียมตามกฎหมาย โดยทุจริ ตกาหนดราคาทรัพย์สินหรื อสิ นค้านั้น เพื่อให้ผมู ้ ีหน้าที่เสี ย
ภาษีอากรหรื อค่าธรรมเนียมนั้นมิตอ้ งเสี ยหรื อเสี ยน้อยไปกว่าที่จะต้องเสี ย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึง
ยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๖ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ตรวจสอบบัญชีตามกฎหมาย โดยทุจริ ต แนะนา หรื อ


กระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใด เพื่อให้มีการละเว้นการลงรายการในบัญชี ลงรายการเท็จในบัญชี
แก้ไขบัญชี หรื อซ่อนเร้น หรื อทาหลักฐานในการลงบัญชี อนั จะเป็ นผลให้การเสี ยภาษีอากรหรื อ
ค่าธรรมเนียมนั้นมิตอ้ งเสี ย หรื อเสี ยน้อยกว่าที่จะต้องเสี ย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ห้าปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อ
จาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๗ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความ
เสี ยหายแก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ด หรื อปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึง
สิ บปี หรื อปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๘ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ทาให้เสี ยหาย ทาลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสี ย หรื อทาให้สูญหาย
หรื อทาให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์หรื อเอกสารใดอันเป็ นหน้าที่ของตนที่จะปกครองหรื อรักษาไว้ หรื อ
ยินยอมให้ผอู ้ ื่นกระทาเช่นนั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่ หมื่นบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๕๙ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ดูแล รักษาทรัพย์หรื อเอกสารใด กระทาการอันมิชอบ


ด้วยหน้าที่ โดยถอน ทาให้เสี ยหาย ทาลายหรื อทาให้ไร้ประโยชน์ หรื อโดยยินยอมให้ผอู ้ ื่นกระทาเช่นนั้น ซึ่ ง
ตราหรื อเครื่ องหมายอันเจ้าพนักงานได้ประทับหรื อหมายไว้ที่ทรัพย์หรื อเอกสารนั้นในการปฏิบตั ิการตาม
หน้าที่ เพื่อเป็ นหลักฐานในการยึดหรื อรักษาสิ่ งนั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่ง
แสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๐ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่รักษาหรื อใช้ดวงตราหรื อรอยตราของราชการหรื อของ


ผูอ้ ื่น กระทาการอันมิชอบด้วยหน้าที่ โดยใช้ดวงตราหรื อรอยตรานั้น หรื อโดยยินยอมให้ผอู ้ ื่นกระทาเช่นนั้น
ซึ่ งอาจทาให้ผอู ้ ื่นหรื อประชาชนเสี ยหาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
หรื อทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๑ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทาเอกสาร กรอกข้อความลงในเอกสารหรื อดูแลรักษา


เอกสาร กระทาการปลอมเอกสารโดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหน้าที่น้ นั ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิ บปี และ
ปรับไม่เกินสองแสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๒ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทาเอกสาร รับเอกสารหรื อกรอกข้อความลงในเอกสาร


กระทาการดังต่อไปนี้ในการปฏิบตั ิการตามหน้าที่
(๑) รับรองเป็ นหลักฐานว่า ตนได้กระทาการอย่างใดขึ้น หรื อว่าการอย่างใดได้กระทาต่อหน้าตนอันเป็ น
ความเท็จ
(๒) รับรองเป็ นหลักฐานว่า ได้มีการแจ้งซึ่ งข้อความอันมิได้มีการแจ้ง
(๓) ละเว้นไม่จดข้อความซึ่ งตนมีหน้าที่ตอ้ งรับจด หรื อจดเปลี่ยนแปลงข้อความเช่นว่านั้น หรื อ
(๔) รับรองเป็ นหลักฐานซึ่ งข้อเท็จจริ งอันเอกสารนั้น มุ่งพิสูจน์ความจริ งอันเป็ นความเท็จ
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่ หมื่นบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๖๓ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ในการไปรษณี ย ์ โทรเลขหรื อโทรศัพท์ กระทาการอันมิ
ชอบด้วยหน้าที่ดงั ต่อไปนี้
(๑) เปิ ด หรื อยอมให้ผอู ้ ื่นเปิ ด จดหมายหรื อสิ่ งอื่นที่ส่งทางไปรษณี ยห์ รื อโทรเลข
(๒) ทาให้เสี ยหาย ทาลาย ทาให้สูญหาย หรื อยอมให้ผอู้ ื่นทาให้เสี ยหาย ทาลายหรื อทาให้สูญหาย ซึ่ง
จดหมายหรื อสิ่ งอื่นที่ส่งทางไปรษณี ยห์ รื อโทรเลข
(๓) กัก ส่ งให้ผดิ ทาง หรื อส่ งให้แก่บุคคลซึ่ งรู ้วา่ มิใช่เป็ นผูค้ วรรับซึ่ งจดหมาย หรื อสิ่ งอื่นที่ส่งทางไปรษณี ย ์
หรื อโทรเลข หรื อ
(๔) เปิ ดเผยข้อความที่ส่งทางไปรษณี ย ์ ทางโทรเลขหรื อทางโทรศัพท์
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๔ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน รู้หรื ออาจรู้ความลับในราชการ กระทาโดยประการใด ๆ อันมิ


ชอบด้วยหน้าที่ ให้ผอู ้ ื่นล่วงรู ้ความลับนั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
หรื อทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๕ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ปฏิบตั ิการให้เป็ นไปตามกฎหมาย หรื อคาสั่ง ซึ่ งได้สั่ง
เพื่อบังคับการให้เป็ นไปตามกฎหมาย ป้ องกันหรื อขัดขวางมิให้การเป็ นไปตามกฎหมายหรื อคาสั่งนั้น ต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

มาตรา ๑๖๖ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ละทิ้งงานหรื อกระทาการอย่างใด ๆ เพื่อให้งานหยุดชะงักหรื อ


เสี ยหาย โดยร่ วมกระทาการเช่นนั้นด้วยกันตั้งแต่หา้ คนขึ้นไป ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่
เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ถ้าความผิดนั้นได้กระทาลงเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกฎหมายแผ่นดิน เพื่อบังคับรัฐบาลหรื อ
เพื่อข่มขู่ประชาชน ผูก้ ระทาต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิ บปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5182/2559
จาเลยที่ 1 ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2551 และต่อมาได้รับคาสั่งให้กลับเข้ารับ
ราชการใหม่โดยจาเลยที่ 1 ไปรายงานตัวกลับเข้ารับราชการเมื่อวันที่ 3 สิ งหาคม 2553 ดังนั้นระหว่างวันที่ 8
ธันวาคม 2551 ถึงวันที่ 2 สิ งหาคม 2553 จาเลยที่ 1 ไม่ได้ปฏิบตั ิหน้าที่เจ้าพนักงานตารวจ จึงไม่มีอานาจทา
การสื บสวนคดีอาญาตาม ป.วิ.อ. มาตรา 17 รวมทั้งไม่มีหน้าที่จบั กุม ป. กับพวก ซึ่ งกระทาความผิดต่อ
พ.ร.บ.การพนัน พุทธศักราช 2478 ตาม พ.ร.บ.ตารวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 95 วรรคสาม ที่บญั ญัติวา่
"ในกรณี ที่ผถู ้ ูกสัง่ ให้ออกจากราชการไว้ก่อนได้รับคาสัง่ ให้กลับเข้ารับราชการหรื อได้รับคาสัง่ ให้ออกจาก
ราชการด้วยเหตุใด ๆ ที่มิใช่เป็ นการลงโทษ ให้ผนู ้ ้ นั มีสถานภาพเป็ นข้าราชการตารวจตลอดระยะเวลา
ระหว่างที่ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน" นั้น เป็ นบทบัญญัติให้ขา้ ราชการตารวจผูถ้ ูกสั่งให้ออกจาก
ราชการไว้ก่อนที่ได้รับคาสั่งให้กลับเข้ารับราชการใหม่มีสถานภาพเป็ นข้าราชการตารวจตลอดระยะเวลา
ระหว่างที่ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนเพื่อสิ ทธิ ในการรับเงินเดือน และเงินอื่น ๆ ตาม พ.ร.บ.ตารวจ
แห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 95 วรรคสี่ ดังนั้น การที่จาเลยที่ 1 ได้รับคาสั่งให้กลับเข้ารับราชการใหม่ จึงไม่
อาจถือว่าระหว่างเวลาที่ถูกให้ออกจากราชการไว้ก่อนนั้น จาเลยที่ 1 เป็ นผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่เจ้าพนักงานตารวจ
การกระทาของจาเลยที่ 1 ที่เรี ยกรับเงินจาก ป. กับพวก เมื่อเดือนมิถุนายน 2553 และวันที่ 8 กรกฎาคม 2553
จึงเป็ นการกระทาในขณะจาเลยที่ 1 ไม่มีหน้าที่จบั กุมผูก้ ระทาความผิดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 17 ไม่ครบ
องค์ประกอบของความผิดซึ่งผูก้ ระทาความผิดต้องเป็ นเจ้าพนักงานผูม้ ีหน้าที่ ตาม ป.อ. มาตรา 149 จาเลยที่
1 ไม่มีความผิดตามกฎหมายมาตราดังกล่าว

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 13646/2558
ข้อเท็จจริ งรับฟังเป็ นยุติวา่ จาเลยที่ 1 ใช้อานาจในตาแหน่งกระทาการทุจริ ตเบียดบังเอาเงินงบประมาณไป
เป็ นประโยชน์ส่วนตัว การกระทาของจาเลยที่ 1 จึงเป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 147 แม้โจทก์ระบุ ป.อ.
มาตรา 151 ไว้ในคาขอท้ายฟ้ อง โดยไม่ได้ระบุมาตรา 147 ก็ตาม แต่โจทก์บรรยายฟ้ องแล้วว่า จาเลยที่ 1 ซึ่ง
เป็ นเจ้าพนักงานและเจ้าหน้าที่รัฐมีอานาจหน้าที่ในการบริ หารจัดการ จัดการและรักษางบประมาณต่าง ๆ
ขององค์การบริ หารส่ วนตาบลห้วยแก้ว ตามโครงการขุดลอกลาเหมืองหนองถุ หมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 6 เป็ นเงิน
งบประมาณจานวน 116,000 บาท ได้ใช้จ่ายเงินงบประมาณตามโครงการดังกล่าวจานวน 69,600 บาท ส่ วน
ที่เหลืออีกจานวน 46,400 บาท ขาดหายไป โดยได้เบียดบังเอาเงินงบประมาณจานวน 46,400 บาท ดังกล่าว
รวมทั้งเงินงบประมาณตามโครงการอื่นดังที่บรรยายในคาฟ้ องไปเป็ นประโยชน์ส่วนตนหรื อผูอ้ ื่น อันเป็ น
การเสี ยหายแก่รัฐ องค์การบริ หารส่ วนตาบลห้วยแก้ว และประชาชนทัว่ ไป จึงเป็ นการอ้างบทมาตราผิด ศาล
อุทธรณ์ภาค 5 มีอานาจลงโทษจาเลยที่ 1 ตามฐานความผิดที่ถูกต้องได้ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคห้า คา
พิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 5 จึงไม่เป็ นการพิพากษาเกินคาขออันจะต้องห้ามตามมาตรา 192 วรรคหนึ่ง

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 13650/2558
แม้ก่อนบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าทางานในเทศบาลตาบลหนองปล่อง จาเลยจะมิได้เกี่ยวข้องหรื อมีอานาจ
หน้าที่ในการสอบคัดเลือก ควบคุมการสอบ การตรวจข้อสอบ และการให้คะแนนก็ตาม แต่เมื่อจาเลยมี
อานาจออกคาสัง่ เกี่ยวกับการบรรจุและแต่งตั้งพนักงานเทศบาลหรื อการอื่นใดที่เกี่ยวกับการบริ หารงาน
บุคคลของเทศบาล ทั้งนี้ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริ หารงานบุคคลส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 มาตรา 23 วรรคท้าย
ประกอบมาตรา 15 การดาเนิ นการดังกล่าวข้างต้นจึงเป็ นส่ วนหนึ่งของการบรรจุและแต่งตั้งพนักงาน
เทศบาลซึ่งเป็ นอานาจหน้าที่ของจาเลย เมื่อจาเลยเรี ยกเงินและรับเงินจานวน 330,000 บาท จาก ป. เพื่อ
ช่วยเหลือให้ น. บุตร ป. เข้าทางานเป็ นพนักงานเทศบาลตาบลหนองปล่อง จาเลยจึงเป็ นเจ้าพนักงานผูม้ ี
หน้าที่ออกคาสั่งเกี่ยวกับการบรรจุและแต่งตั้งพนักงานเทศบาลตาบลหนองปล่องเรี ยกและรับทรัพย์สิน
สาหรับตนเองโดยมิชอบแล้วกระทาการในตาแหน่งเพื่อช่วยเหลือ น. ให้เข้าทางานเป็ นพนักงานเทศบาล
ตาบลหนองปล่อง อันเป็ นการกระทาอันมิชอบด้วยหน้าที่ ครบองค์ประกอบของความผิดตาม ป.อ. มาตรา
149 แล้ว

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 13274/2558
โจทก์บรรยายฟ้ องว่า จาเลยเป็ นนายกองค์การบริ หารส่ วนตาบลสองคอน มีหน้าที่แจ้งให้ผสู ้ อบราคาได้มาทา
สัญญากับองค์การบริ หารส่ วนตาบลสองคอน จาเลยได้ละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ โดยไม่แจ้งให้
ผูส้ อบราคาได้ไปทาสัญญาจ้าง แต่กลับสั่งยกเลิกประกาศสอบราคาโครงการเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2551 และ
ไม่ทาเรื่ องเบิกตัดปี เพื่อกันเงินไว้เพื่อจัดทาโครงการ ทาให้เกิดความเสี ยหายแก่ผสู ้ อบราคาได้ องค์การ
บริ หารส่ วนตาบลสองคอน และประชาชน คาฟ้ องของโจทก์มุ่งหมายให้ลงโทษจาเลยฐานละเว้นการปฏิบตั ิ
หน้าที่โดยมิชอบ ฉะนั้น ความสาคัญของความผิดย่อมอยูท่ ี่เจตนาในการกระทาเพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผู ้
หนึ่งผูใ้ ด อันเป็ นองค์ประกอบของความผิดประการหนึ่งด้วยตาม ป.อ. มาตรา 157 เมื่อโจทก์มิได้บรรยาย
ฟ้ องว่า การละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่น้ นั จาเลยกระทาด้วยเจตนาพิเศษเพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผใู ้ ด คาฟ้ อง
ของโจทก์จึงขาดองค์ประกอบของความผิด ย่อมเป็ นคาฟ้ องที่ไม่ชอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 158 (5) แม้อ่านคา
ฟ้ องโดยตลอดแล้วทาให้เห็นเจตนาพิเศษหรื อพอเข้าใจได้วา่ เพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผสู ้ อบราคาได้ ก็ไม่
ทาให้คาฟ้ องที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายเป็ นคาฟ้ องที่ชอบด้วยกฎหมายได้

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 12091/2558
ก่อนจับกุมโจทก์ท้ งั สองได้มีการจับกุม ช. กับพวกในข้อหาลักทรัพย์ในเวลากลางคืน ช. ให้การว่าโจทก์ท้ งั
สองเป็ นผูใ้ ช้จา้ งวาน จึงมีการสอบสวน ขยายผลและจับกุมโจทก์ท้ งั สองมาลงบันทึกประจาวันไว้ และตาม
สาเนารายงานประจาวันเกี่ยวกับคดีระบุวา่ พันตารวจเอก ส. ผูก้ ากับการสถานีตารวจนครบาลพระโขนง สัง่
ให้จาเลยทั้งสิ บสามซึ่ งเป็ นเจ้าหน้าที่ฝ่ายสื บสวนปราบปรามนาตัว ช. ไปสอบสวนขยายผล โดยนัดโจทก์ที่ 2
มารับรถยนต์ที่หน้าห้างสรรพสิ นค้า ซึ่ งเป็ นเรื่ องจาเป็ นเร่ งด่วนหากต้องไปขอหมายจับจากศาลชั้นต้นแล้วผู ้
ร่ วมกระทาความผิดอาจหลบหนีไปได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 78 (3) ทั้งรถที่ถูกลักอยูท่ ี่บา้ นของโจทก์ที่ 2 และ
โจทก์ที่ 2 เป็ นผูพ้ าเจ้าพนักงานตารวจไปทาการตรวจค้นเอง จึงไม่จาต้องขอหมายค้นจากศาลตาม ป.วิ.อ.
มาตรา 92 (4) และมาตรา 94 การกระทาของจาเลยทั้งสิ บสามเป็ นการปฏิบตั ิหน้าที่ตามคาสั่งของ
ผูบ้ งั คับบัญชาผูม้ ีอานาจสั่งการโดยชอบ จึงไม่มีความผิดฐานปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบตาม ป.อ. มาตรา 157

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 9181/2558
ความผิดฐานช่วยซ่อนเร้น ช่วยจาหน่าย ช่วยพาเอาไปเสี ย ซื้ อ รับจานา หรื อรับไว้ดว้ ยประการใดซึ่ งของอัน
ตนรู ้วา่ เป็ นของที่ยงั มิได้เสี ยค่าภาษี และยังมิได้ผา่ นศุลกากรโดยถูกต้อง หรื อเป็ นของที่นาเข้ามาใน
ราชอาณาจักรโดยหลีกเลี่ยงอากร ตาม พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.2469 มาตรา 27 ทวิ และความผิดฐานเป็ นเจ้า
พนักงานปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบและโดยทุจริ ต ตาม ป.อ. มาตรา 157 มีองค์ประกอบ
ของความผิดและการกระทาที่มีเจตนาประสงค์ต่อผลแยกต่างหากจากกันได้ จึงเป็ นความผิดหลายกรรม ตาม
ป.อ. มาตรา 91 แม้ อ. ได้ทาความตกลงระงับคดีในชั้นศุลกากร และยินยอมมอบรถยนต์ของกลางให้ตกเป็ น
ของแผ่นดิน ซึ่ งทางด่านศุลกากรแม่สอดได้อนุมตั ิให้ทาความตกลงระงับคดีแล้ว ก็เป็ นการระงับเฉพาะใน
ส่ วนของ อ. ไม่ทาให้การกระทาความผิดของจาเลยระงับไปด้วย
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 565/2558
จาเลยทราบดีวา่ นาง ล. ตกลงขายที่ดินแก่นาย พ. บุตรเขยจาเลยในราคาเพียง 220,000 บาท แต่มีการปลอม
แปลงลายมือชื่อนาง ล. ในใบเสนอราคาขายที่ดินดังกล่าวเป็ นเงิน 594,800 บาท แล้วนาไปยืน่ ต่อองค์การ
บริ หารส่ วนตาบลตูมใต้ พร้อมกับใบเสนอราคาของเจ้าของที่ดินอีกสองแปลงซึ่ งเสนอราคาสู งกว่า และเมื่อ
คณะกรรมการจัดซื้ อเห็นสมควรซื้ อที่ดินของนาง ล. ที่เสนอราคาต่าสุ ด จาเลยในฐานะนายกองค์การบริ หาร
ส่ วนตาบลตูมใต้ ก็ได้อนุมตั ิให้จดั ซื้ อที่ดินดังกล่าวในราคาภายหลังการต่อรองแล้ว 594,000 บาท สู งกว่า
ราคาที่นาง ล. ต้องการขาย 374,000 บาท และเมื่อหักเงินที่จาเลยต้องนาไปชาระเป็ นค่าภาษี 5,940 บาท คงมี
ส่ วนต่างที่เป็ นประโยชน์แก่บุตรเขยของจาเลย 368,060 บาท การกระทาของจาเลยจึงเป็ นการเอื้อประโยชน์
แก่บุตรเขยของจาเลย อันถือได้วา่ เป็ นการแสวงประโยชน์โดยมิชอบ เป็ นเหตุให้องค์การบริ หารส่ วนตาบล
ตูมใต้ ได้รับความเสี ยหายต้องซื้ อที่ดินในราคาสู งเกินกว่าที่ควรจะเป็ น จาเลยจึงมีความผิดฐานเจ้าพนักงานมี
หน้าที่ซ้ื อทรัพย์ ใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ตอันเป็ นการเสี ยหายแก่รัฐ

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4604/2558
ป.วิ.อ. มาตรา 43 ที่ให้พนักงานอัยการเรี ยกทรัพย์สินหรื อราคาคืนในคดียกั ยอกทรัพย์น้ นั หมายรวมทั้งคดีเจ้า
พนักงานยักยอกทรัพย์ ตาม ป.อ. มาตรา 147 ด้วย

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4347/2558
จาเลยที่ 2 เป็ นลูกจ้างประจา ตาแหน่งนักการ เทศบาลตาบลจักราช มิใช่ขา้ ราชการที่ได้รับการแต่งตั้งตาม
กฎหมายว่าด้วยการแต่งตั้งข้าราชการให้ดารงตาแหน่งหรื อเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งหน้าที่ซ่ ึ งมีกฎหมายระบุไว้
โดยเฉพาะให้ถือเป็ นเจ้าพนักงาน จาเลยที่ 2 จึงไม่ใช่เจ้าพนักงานตามกฎหมาย เนื่ องจาก ป.อ. มาตรา 147,
151, 161 เป็ นบทบัญญัติที่ลงโทษแก่บุคคลผูก้ ระทาความผิดที่เป็ นเจ้าพนักงานซึ่ งกระทาผิดต่อตาแหน่ง
หน้าที่เท่านั้น แม้จาเลยที่ 2 จะร่ วมกับจาเลยที่ 1 กระทาความผิดต่อบทบัญญัติดงั กล่าว ก็จะลงโทษจาเลยที่ 2
อย่างเจ้าพนักงานไม่ได้ คงลงโทษจาเลยที่ 2 ได้แต่เพียงในฐานะผูส้ นับสนุนตาม ป.อ. มาตรา 86 เท่านั้น
ปั ญหานี้ เป็ นข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อย ศาลฎีกามีอานาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้เองตาม ป.วิ.อ.
มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2488/2558
สานักงานตารวจแห่งชาติแต่งตั้งจาเลยให้เป็ นหัวหน้าศูนย์ป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิด
เกี่ยวกับน้ ามันเชื้ อเพลิงในโครงการน้ ามันสี เขียว โดยจาเลยมีหน้าที่จดั เจ้าพนักงานตารวจกองตารวจน้ าไป
ตรวจสอบว่า เรื อบรรทุกน้ ามันเชื้อเพลิงได้เดินทางไปถึงน่านน้ าเขตต่อเนื่ องของราชอาณาจักรด้วยความ
เรี ยบร้อย โดยมีน้ ามันเชื้ อเพลิงครบตามจานวนที่ได้รับมาจากคลังน้ ามันหรื อไม่ เมื่อเห็นว่าเรี ยบร้อยดีแล้วก็
จะลงลายมือชื่อในใบกากับการขนส่ งน้ ามันดีเซล หลังจากนั้นเรื อดังกล่าวจึงสามารถถ่ายน้ ามันเชื้อเพลิงที่
ขนส่ งได้ การตรวจสอบการขนส่ งน้ ามันดีเซลในโครงการน้ ามันสี เขียวเพื่อป้ องกันมิให้มีการลักลอบ
จาหน่ายในราชอาณาจักร หรื อนาน้ ามันดังกล่าวกลับเข้ามาจาหน่ายในราชอาณาจักร จึงเป็ นการปฏิบตั ิหน้าที่
ราชการอย่างหนึ่งในงานปราบปรามการกระทาความผิด ดังนั้น การที่เจ้าพนักงานตารวจน้ าเดินทางไปกับ
เรื อบรรทุกน้ ามันไปจนถึงน่านน้ าเขตต่อเนื่ องของราชอาณาจักรเพื่อปฏิบตั ิหน้าที่ดงั กล่าว จึงเป็ นการปฏิบตั ิ
หน้าที่ราชการ จาเลยย่อมไม่มีสิทธิ รับเงินค่าใช้จ่ายใดๆ จากผูป้ ระกอบการจาหน่ายน้ ามันดีเซล การที่จาเลย
รับเงินแล้วสั่งการให้เจ้าพนักงานตารวจกองตารวจน้ าเดินทางไปกับเรื อบรรทุกน้ ามันเพื่อปฏิบตั ิหน้าที่
ดังกล่าว แม้จะนาเงินมาจ่ายเป็ นค่าเบี้ยเลี้ยงพิเศษให้แก่เจ้าพนักงานตารวจกองตารวจน้ าที่เดินทางไปปฏิบตั ิ
หน้าที่ในเรื อบรรทุกน้ ามันก็ตาม ก็เป็ นการรับทรัพย์สินเพื่อกระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่ง
ไม่วา่ การนั้นจะชอบหรื อมิชอบด้วยหน้าที่ การกระทาของจาเลยจึงเป็ นความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานเรี ยก รับ
หรื อยอมจะรับทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใดสาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่นโดยมิชอบ เพื่อกระทาการหรื อไม่
กระทาการอย่างใดในตาแหน่ง ไม่วา่ การนั้นจะชอบหรื อมิชอบด้วยหน้าที่ตาม ป.อ. มาตรา 149 เมื่อการ
กระทาของจาเลยเป็ นความผิดตามมาตรา 149 ซึ่ งเป็ นบทเฉพาะแล้ว กรณี ไม่จาเป็ นต้องปรับบทความผิดตาม
มาตรา 157 ที่เป็ นบททัว่ ไปอีก

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2185/2558
แม้ตามหนังสื อที่ ศธ 0806/1917 มีใจความสาคัญว่า กรมสามัญศึกษาได้แจ้งการสนับสนุนให้โรงเรี ยนรับ
บริ จาคเงินเพื่อการศึกษาไม่วา่ จะเป็ นการบริ จาคโดยมีวตั ถุประสงค์หรื อไม่มีวตั ถุประสงค์ก็ตาม ทั้งนี้ การรับ
บริ จาคนั้นต้องไม่มีเงื่อนไขในการรับนักเรี ยน และหนังสื อที่ ศธ 0804/5175 กรมสามัญศึกษาซักซ้อมความ
เข้าใจเรื่ องการรับบริ จาคเงินและสิ่ งของในช่วงระยะเวลาที่โรงเรี ยนรับสมัครนักเรี ยนเข้าเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 1 และมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ระบุวา่ การรับบริ จาคเงินและสิ่ งของควรดาเนิ นการโดยไม่นามาเป็ นเงื่อนไข
หรื อข้อต่อรองในการรับนักเรี ยนเข้าเรี ยน ไม่วา่ จะเป็ นการรับนักเรี ยนกรณี พิเศษ หรื อรับนักเรี ยนในพื้นที่
บริ การอันเห็นได้วา่ การรับบริ จาคโดยมีเงื่อนไขในการรับนักเรี ยนเป็ นสิ่ งที่ไม่ควรดาเนิ นการ แต่ตามหนังสื อ
ที่ ศธ 0880/1523 ผูอ้ านวยการสามัญศึกษาจังหวัดสุ รินทร์ มีหนังสื อสั่งการไปยังโรงเรี ยนในสังกัดว่า ถ้า
โรงเรี ยนได้รับเงินบริ จาคโดยมีเงื่อนไขในการรับนักเรี ยนเข้าเรี ยนก็ขอให้โรงเรี ยนคืนเงินจานวนดังกล่าวแก่
ผูป้ กครองทั้งหมด เงินที่มีผบู ้ ริ จาคโดยมีเงื่อนไขฝ่ าฝื นต่อหนังสื อซักซ้อมความเข้าใจของกรมสามัญศึกษา
จึงเป็ นเงินของทางราชการเพราะเหตุวา่ ยังมีหน้าที่ตอ้ งคืนให้แก่ผปู ้ กครองซึ่ งเป็ นผูบ้ ริ จาค และแม้ทางปฏิบตั ิ
สมาคมผูป้ กครองและครู โรงเรี ยน ส. เป็ นผูบ้ ริ จาคเงินดังกล่าวโดยออกใบเสร็ จรับเงินให้ในนามของตนเอง
แทนโรงเรี ยนก็ไม่ทาให้เงินดังกล่าวไม่เป็ นเงินของทางราชการ ซึ่ งอยูใ่ นหน้าที่จดั การหรื อรักษาของจาเลย
เพื่อให้เป็ นไปตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการและกรมสามัญศึกษา การที่จาเลยรับเงินไว้ในฐานะ
ผูอ้ านวยการโรงเรี ยน ซึ่ งมีหน้าที่บริ หารงานและกิจการการศึกษาของโรงเรี ยนตลอดจนบริ หารงานและ
ควบคุมดูแลด้านการเงินทุกประเภทของโรงเรี ยนให้เป็ นไปโดยเรี ยบร้อย การปฏิบตั ิหน้าที่ของจาเลยในการ
รับและเก็บรักษาเงินบริ จาคดังกล่าวจึงเป็ นการปฏิบตั ิราชการตามกฎหมาย การที่จาเลยมิได้นาเงินเก็บรักษา
ไว้ตามระเบียบจนกระทัง่ มีการร้องเรี ยนและตรวจสอบพบการกระทาของจาเลยจึงเป็ นการเบียดบังเงิน
บริ จาคของโรงเรี ยน ส. ที่อยูใ่ นหน้าที่จดั การหรื อรักษาของจาเลย ไปโดยทุจริ ต อันเป็ นความผิดตาม ป.อ.
มาตรา 147

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 18161/2557
การกระทาอันจะเป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 157 ผูก้ ระทาต้องเป็ นเจ้าพนักงานตามความในประมวล
กฎหมายอาญา ซึ่ งหมายถึงผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐที่เป็ นส่ วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการ
บริ หารราชการแผ่นดิน หรื อผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐอื่นที่มีกฎหมายบัญญัติให้เป็ นเจ้าพนักงาน
ตามความในประมวลกฎหมายอาญา หรื อผูท้ ี่มีกฎหมายบัญญัติวา่ หากได้รับแต่งตั้งจากผูม้ ีอานาจหน้าที่ให้
ถือว่าเป็ นเจ้าพนักงานตามความในประมวลกฎหมายอาญา

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตาม พ.ร.บ.สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และ


เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย พ.ศ.2522 มีฐานะเป็ นหน่วยงานของรัฐ แต่เมื่อพิจารณา พ.ร.บ.ปรับปรุ ง
กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 มาตรา 39 ที่วา่ ด้วยส่ วนราชการของกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ไม่
ปรากฏว่าสถาบันแห่งนี้เป็ นส่ วนราชการในสังกัดของกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีดว้ ย จาเลยจึง
มิใช่ผปู ้ ฏิบตั ิหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐที่เป็ นส่ วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการบริ หารราชการแผ่นดิน
และไม่ปรากฏว่ามีบทมาตราใดบัญญัติวา่ การปฏิบตั ิหน้าที่ของผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่ในสถาบันแห่งนี้ เป็ นเจ้า
พนักงานตามความในประมวลกฎหมายอาญาด้วย การปฏิบตั ิหน้าที่ของจาเลยในฐานะประธานกรรมการ
สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยในการพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์ตาม
ฟ้ องจึงไม่อาจเป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 157 ได้
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 17978/2557
ตาม พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกากับกิจการวิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการ
โทรคมนาคม พ.ศ.2543 ที่ใช้บงั คับอยูใ่ นขณะเกิดเหตุบญั ญัติไว้ชดั เจนว่า ให้คณะกรรมการ กสช. ก็ดี
คณะกรรมการ กทช. ก็ดี และพนักงานสานักงานของคณะกรรมการดังกล่าว ก็ดี เป็ นเจ้าพนักงานตาม ป.อ.
แต่ในกฎหมายฉบับเดียวกัน มาตรา 49 ว่าด้วยคณะกรรมการสรรหา ที่มา และบทบาทหน้าที่ ไม่ได้กาหนด
ว่าคณะกรรมการสรรหากรรมการกิจการโทรคมนาคมเป็ นเจ้าพนักงานตาม ป.อ. เช่นเดียวกันกับ
คณะกรรมการ กสช. หรื อ กทช. หรื อพนักงานดังกล่าว เช่นนี้ ย่อมเห็นเจตนารมณ์ของกฎหมายดังกล่าวได้
ชัดเจนว่า กฎหมายไม่ได้มีเจตนารมณ์ที่จะให้คณะกรรมการสรรหากรรมการกิจการโทรคมนาคมต้องมี
อานาจหน้าที่หรื อมีความรับผิดในฐานะเป็ นเจ้าพนักงานตาม ป.อ. จาเลยเป็ นเพียงคณะกรรมการสรรหา
กรรมการกิจการโทรคมนาคม จึงไม่ใช่เจ้าพนักงานที่จะต้องรับผิดในฐานะเป็ นเจ้าพนักงานตาม ป.อ. มาตรา
157, 158, 161 และ 162

ตาแหน่งประธานวุฒิสภา เป็ นตาแหน่งสมาชิกสภานิติบญั ญัติแห่งรัฐ ไม่ใช่ตาแหน่งเจ้าพนักงานตาม


ความหมายในลักษณะ 2 หมวด 1 แห่ง ป.อ. การยืน่ รายงานเรื่ องผลการพิจารณาคัดเลือกบุคคลที่สมควร
ได้รับการเสนอชื่ อเป็ น กทช. จึงไม่อาจที่จะเป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 137 ได้

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 15248 - 15249/2557


จาเลยเป็ นพนักงานมหาวิทยาลัยของโจทก์ ซึ่ งพนักงานมหาวิทยาลัยดังกล่าวคือ พนักงานใน
สถาบันอุดมศึกษาตามความในมาตรา 4 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรื อนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.
2547 พ.ร.บ.ฉบับนี้กาหนดคานิยามของ "พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา" ว่า หมายถึง บุคคลซึ่ งได้รับการจ้าง
ตามสัญญาจ้างให้ทางานในสถาบันอุดมศึกษา โดยได้รับค่าจ้างหรื อค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน
หรื อเงินรายได้ของสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งความหมายของ "พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา" ตามกฎหมาย
ฉบับนี้แตกต่างจากความหมายของ "ข้าราชการพลเรื อนในสถาบันอุดมศึกษา" ตามกฎหมายฉบับเดียวกัน
กล่าวคือ "ข้าราชการพลเรื อนในสถาบันอุดมศึกษา" หมายถึง บุคคลซึ่ งได้รับบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการ
ตาม พ.ร.บ.นี้ โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือนในสถาบันอุดมศึกษา หาก
เปรี ยบเทียบข้อแตกต่างสาคัญแล้ว จะเห็นได้ชดั ว่า "ข้าราชการพลเรื อนในสถาบันอุดมศึกษา" เป็ นบุคคลที่
ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้เป็ นข้าราชการ โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือนใน
สถาบันอุดมศึกษา จึงมีฐานะเป็ นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา ส่ วน "พนักงานใน
สถาบันอุดมศึกษา" เป็ นบุคคลที่ได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างให้เป็ นพนักงาน จึงถือไม่ได้วา่ เป็ นข้าราชการ
อีกทั้งค่าจ้างหรื อค่าตอบแทนพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาก็มิใช่เงินเดือนอันมีที่มาจากเงินงบประมาณ
ประเภทเงินเดือนในสถาบันอุดมศึกษา แม้ พ.ร.บ.ฉบับนี้ จะระบุวา่ พนักงานในสถาบันอุดมศึกษาได้รับ
ค่าจ้างหรื อค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณแผ่นดินก็ตาม แต่เมื่อพิจารณาความหมายของพนักงาน
มหาวิทยาลัยทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนตามข้อ 4 แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิแล้ว ล้วน
ได้ความตรงกันว่าพนักงานมหาวิทยาลัยทั้งสองประเภทได้รับค่าจ้างหรื อค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณ
แผ่นดินหมวดเงินอุดหนุ นทัว่ ไปหรื อเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย เมื่อจาเลยเป็ นพนักงานมหาวิทยาลัยหรื อ
พนักงานในสถาบันอุดมศึกษาซึ่ งมิใช่ขา้ ราชการพลเรื อนในสถาบันอุดมศึกษาและไม่ได้รับเงินเดือนจากเงิน
งบประมาณประเภทเงินเดือนในสถาบันอุดมศึกษา ประกอบกับไม่มีกฎหมายหรื อข้อบังคับใดกาหนดให้
พนักงานในสถาบันอุดมศึกษาเป็ นเจ้าพนักงาน จาเลยจึงไม่อยูใ่ นฐานะเป็ นเจ้าพนักงานตาม ป.อ. และศาลไม่
อาจลงโทษจาเลยในฐานะเป็ นเจ้าพนักงานผูก้ ระทาความผิดตาม ป.อ. มาตรา 147, 157 และ 161 ได้

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 13996/2557
เจ้าพนักงานซึ่ งจะเป็ นผูก้ ระทาความผิดตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญาว่าด้วยความผิดต่อ
ตาแหน่งหน้าที่ราชการนั้น หมายถึงผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่ราชการโดยได้รับการแต่งตั้งตามกฎหมาย โดยอาจระบุไว้
เป็ นการเฉพาะว่าให้ผใู ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน หรื อระบุองค์การและให้ผทู ้ ี่สังกัดอยูเ่ ป็ นเจ้าพนักงาน หรื ออาจเป็ น
การแต่งตั้งโดยกฎหมายทัว่ ไปซึ่ งระบุถึงวิธีการแต่งตั้งไว้ และได้มีการแต่งตั้งถูกต้องตามกฎหมายดังกล่าว
สาหรับส่ วนราชการ แม้จะมีฐานะเป็ นนิติบุคคลมีอานาจหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนด แต่ส่วนราชการ
เกิดขึ้นโดยบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน การแบ่งส่ วนราชการหรื อกฎหมาย
จัดตั้งส่ วนราชการนั้น มิใช่ได้รับการแต่งตั้งโดยกฎหมาย จาเลยที่ 1 จึงหาใช่เจ้าพนักงานตามความหมายแห่ง
ประมวลกฎหมายอาญาไม่

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 13312/2557
จาเลยเป็ นเจ้าพนักงานตารวจมีอานาจหน้าที่ในการจับกุมผูก้ ระทาความผิดและมีอานาจสั่งการให้
ผูใ้ ต้บงั คับบัญชานาตัวผูถ้ ูกจับกุมส่ งต่อพนักงานสอบสวน หรื อสัง่ ปล่อยตัวผูถ้ ูกจับหากเห็นว่าเป็ นการจับผิด
ตัวหรื อผูถ้ ูกจับกุมไม่ได้กระทาความผิดหรื อการกระทายังไม่เป็ นความผิด จาเลยทราบดีวา่ คนต่างด้าวที่ถูก
จับกุมเป็ นผูก้ ระทาความผิด จาเลยไม่มีอานาจสั่งปล่อยได้ แต่กลับสั่งการในฐานะผูบ้ งั คับบัญชาให้
ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาปล่อยตัวผูก้ ระทาความผิดและรถของกลางโดยไม่ชอบ การกระทาของจาเลยจึงเป็ น
ความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ดตาม ป.อ. มาตรา
157
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 12909/2557
จาเลยเป็ นเจ้าพนักงาน ได้ลงลายมือชื่อออกหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ (น.ส.3 ก.) ให้แก่ ด. ซึ่ งเป็ นการ
กระทาที่อยูใ่ นอานาจหน้าที่ของจาเลย โดยไม่ได้ตรวจสอบความถูกต้องว่า ด. ยืน่ ขอออก น.ส.3 ก ถูกต้อง
ตรงต่อความเป็ นจริ งหรื อไม่ และทาให้ ด. ได้ไปซึ่ ง น.ส.3 ก ดังกล่าวโดยไม่มีสิทธิ ได้รับ ถือได้วา่ เป็ นการ
กระทาเพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสาหรับผูอ้ ื่น จาเลยจึงมีความผิดฐานเป็ นเจ้า
พนักงานละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ตตาม ป.อ. มาตรา 157

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 11741/2557
ความผิดตาม ป.อ. มาตรา 153 เป็ นความผิดสาเร็ จเมื่อเจ้าพนักงานผูม้ ีหน้าที่จ่ายทรัพย์ ได้จ่ายทรัพย์เกินกว่าที่
ควรจ่ายเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่นโดยไม่จาต้องคานึงว่าการจ่ายทรัพย์น้ นั ต้องทาให้หนี้ระงับลง
ด้วย เพราะความผิดมาตรานี้ ตอ้ งการลงโทษเจ้าพนักงานผูม้ ีหน้าที่จ่ายทรัพย์ได้จ่ายทรัพย์เกินกว่าที่ควรจ่าย
เท่านั้น แม้จาเลยซึ่ งเป็ นเจ้าพนักงานผูม้ ีหน้าที่จ่ายทรัพย์จะชาระหนี้ดว้ ยเช็ค และ ก. ผูไ้ ด้รับชาระหนี้ยงั ไม่ได้
นาเช็คไปเรี ยกเก็บเงินเนื่องจากถูกเรี ยกทวงคืนก่อนอันทาให้หนี้น้ นั ยังไม่ระงับลงก็ตาม การกระทาของ
จาเลยก็เป็ นความผิดสาเร็ จตามมาตรา 153 แล้ว หาใช่เป็ นเพียงความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานผูม้ ีหน้าที่จ่าย
ทรัพย์พยายามจ่ายทรัพย์เกินกว่าที่ควรจ่ายเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น ตาม ป.อ. มาตรา 153
ประกอบมาตรา 83 ไม่

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 359/2557
จาเลยทั้งสองตรวจรับงานโครงการก่อสร้างฝายน้ าล้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กบ้านหนองบัวเงิน และมีการวาง
ฎีกาเบิกจ่ายเงินให้แก่หา้ งหุ ้นส่ วนจากัด น. แล้วก่อนที่จาเลยทั้งสองจะเรี ยกเงินจากผูเ้ สี ยหาย การกระทาของ
จาเลยทั้งสองจึงมิใช่เป็ นการเรี ยกทรัพย์สินสาหรับตนเองเพื่อกระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใดใน
ตาแหน่งไม่วา่ การนั้นจะชอบหรื อมิชอบด้วยหน้าที่ตาม ป.อ. มาตรา 149 แต่การที่จาเลยทั้งสองตรวจรับงาน
โครงการก่อสร้างฝายน้ าล้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กบ้านหนองบัวเงินเรี ยบร้อยแล้วกลับมาหลอกลวงผูเ้ สี ยหาย
ว่ายังไม่ได้ตรวจรับงานดังกล่าวเพื่อเรี ยกเงินจากผูเ้ สี ยหาย ย่อมเป็ นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ตอันเป็ น
ความผิดตาม ป.อ. มาตรา 157

ฟ้ องโจทก์ขอให้ลงโทษจาเลยทั้งสองตาม ป.อ. มาตรา 157 มาด้วย และศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยว่าการกระทา


ของจาเลยทั้งสองครบองค์ประกอบความผิดตาม ป.อ. มาตรา 157 แต่ไม่ปรับบทมาตราดังกล่าวโดยเห็นว่า
เมื่อเป็ นความผิดซึ่ งเป็ นบทเฉพาะแล้วก็ไม่เป็ นความผิดบททัว่ ไปอีก เป็ นการไม่ถูกต้อง เพราะเมื่อศาลล่างทั้ง
สองฟังว่าการกระทาของจาเลยทั้งสองเป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 149 อันเป็ นบทเฉพาะแล้ว ที่ถูกต้อง
ระบุวา่ ไม่จาต้องปรับบทตามมาตรา 157 อันเป็ นบททัว่ ไปอีก ดังนั้น ในกรณี เช่นนี้ศาลฎีกาย่อมมีอานาจปรับ
บทให้ถูกต้องและลงโทษจาเลยทั้งสองตามมาตรา 157 ได้ แม้โจทก์มิได้อุทธรณ์ฎีกา เนื่ องจากเป็ นปั ญหาข้อ
กฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อย ทั้งมิใช่เป็ นการเพิ่มเติมโทษจาเลยทั้งสองโดยที่โจทก์มิได้ฎีกาใน
ทานองนั้น

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 21355/2556
จาเลยซึ่ งเป็ นเลขานุการตาบล ล. และเป็ นเจ้าพนักงานผูม้ ีหน้าที่จดั การและรักษาเงินงบประมาณค่าจ้างของ
สภาตาบล ล. ได้เบิกเงินงบประมาณค่าจ้างของสภาตาบล แล้วจ่ายเป็ นค่าจ้างให้แก่หา้ งหุ น้ ส่ วนจากัด ค.
ในขณะที่หา้ งหุ น้ ส่ วนจากัด ค. ยังทางานขุดลอกคลองไม่แล้วเสร็ จตามสัญญา ทั้งๆ ที่องค์การบริ หารส่ วน
ตาบล ล. ยังไม่มีหน้าที่ตอ้ งจ่ายเงินค่าจ้างให้แก่หา้ งหุ น้ ส่ วนจากัด ค. การกระทาของจาเลยดังกล่าว ถือได้วา่
เป็ นการที่จาเลยซึ่ งเป็ นเจ้าพนักงานผูม้ ีหน้าที่จดั การและรักษาเงินงบประมาณค่าจ้างนั้น ได้เบียดบังทรัพย์น้ นั
เป็ นของตนหรื อของผูอ้ ื่นโดยทุจริ ตอันเป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 147

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 20586 - 20591/2556


แม้จาเลยจะเป็ นผูส้ นับสนุ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบหรื อปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต แต่จาเลยก็ไม่ใช่
เจ้าหน้าที่ของรัฐหรื อผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมือง อีกทั้งคดีน้ ีเกิดก่อนที่ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ.2542 ใช้บงั คับ แม้พนักงานสอบสวนจะพบการกระทาความผิด
และแจ้งข้อกล่าวหาเพิ่มเติมแก่จาเลย หลังจากที่ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและ
ปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ.2542 ใช้บงั คับแล้ว และพนักงานสอบสวนมิได้ส่งเรื่ องให้คณะกรรมการ ป.ป.ช.
ภายในสามสิ บวันนับแต่วนั ที่มีการร้องทุกข์หรื อกล่าวโทษก็ตาม ก็หาทาให้การสอบสวนของพนักงาน
สอบสวนซึ่ งมีอานาจหน้าที่สอบสวนโดยชอบในขณะที่ความผิดเกิดขึ้นต้องเสี ยไป และมีผลทาให้การ
สอบสวนดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมายไปด้วยไม่

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 19357/2556
แม้บา้ นที่เกิดเหตุเป็ นเคหสถานที่อยูอ่ าศัยของโจทก์ แต่ก็ยงั เป็ นที่ทาการผูใ้ หญ่บา้ นหมู่บา้ นที่เกิดเหตุดว้ ย
พื้นที่ส่วนที่เป็ นที่ทาการผูใ้ หญ่บา้ นในเวลาราชการจึงไม่ใช่ที่รโหฐาน แต่เป็ นที่สาธารณสถาน เพราะ
ประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้ และหากมีเหตุอนั ควรสงสัยว่าโจทก์มีสิ่งของในความครอบครอง
เพื่อจะใช้ในการกระทาความผิดต่อกฎหมายเลือกตั้ง จาเลยทั้งสี่ ซ่ ึ งได้รับแต่งตั้งจากผูบ้ งั คับการตารวจภูธร
จังหวัดร้อยเอ็ด ให้เป็ นเจ้าหน้าที่ป้องกันปราบปรามการทุจริ ตในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร เขต
เลือกตั้งที่ 1 จังหวัดร้อยเอ็ด ย่อมมีอานาจเข้าค้น อีกทั้งจาเลยทั้งสี่ เข้าไปค้นบ้านที่เกิดเหตุในเวลาประมาณ 11
นาฬิกา อันเป็ นเวลาราชการ โดยไม่ปรากฏว่ามีการค้นเกินเลยจากพื้นที่ส่วนที่เป็ นที่ทาการผูใ้ หญ่บา้ น เหตุที่
จาเลยทั้งสี่ เข้าไปค้นบ้านที่เกิดเหตุและค้นตัวโจทก์ก็เพราะมีเหตุอนั ควรสงสัยว่าโจทก์มีสิ่งของในความ
ครอบครองเพื่อจะใช้ในการกระทาความผิดต่อกฎหมายเลือกตั้ง จาเลยทั้งสี่ จึงมีอานาจกระทาเช่นว่านั้นได้
ตาม ป.วิ.อ มาตรา 93

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 19348/2556
จาเลยเป็ นหัวหน้าโครงการอ่างเก็บน้ าดอกกรายโดยมีบา้ นพักปลูกอยูใ่ นโครงการ ไม้ยคู าลิปตัสที่ตดั ปลูกอยู่
บริ เวณรอบอ่างเก็บน้ า แม้กรมป่ าไม้จะเป็ นผูป้ ลูก โดยพฤตินยั จาเลยซึ่ งเป็ นหัวหน้าโครงการอ่างเก็บน้ าก็
ต้องมีหน้าที่ดูแลรักษาต้นยูคาลิปตัสดังกล่าว เพราะเป็ นต้นไม้ของทางราชการ มิใช่วชั พืชหรื อต้นไม้ไม่มี
ค่าที่ข้ ึนเองตามธรรมชาติ จาเลยจะอ้างว่ากรมป่ าไม้ตอ้ งมีหน้าที่ดูแลเพราะกรมป่ าไม้เป็ นผูป้ ลูกไม่ได้ เพราะ
สถานที่ปลูกอยูใ่ นเขตโครงการอ่างเก็บน้ าที่จาเลยเป็ นหัวหน้าและมีหน้าที่ควบคุมดูแลอยู่ หาใช่อยูใ่ น
สถานที่ของกรมป่ าไม้แต่อย่างใดไม่ และกรมป่ าไม้ไม่ได้มีหน่วยงานดูแลอยูใ่ นที่เกิดเหตุ ดังนั้น เมื่อจาเลย
จ้างหรื อใช้ให้ บ. ไปตัดไม้ยคู าลิปตัสของกลาง การกระทาของจาเลยเป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 157

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 8413/2556
จาเลยมีตาแหน่งเป็ นเสมียนตรามีหน้าที่รับเงินและออกใบเสร็ จรับเงิน เมื่อใบเสร็ จรับเงินที่จาเลยออกไปมี
ข้อความหรื อจานวนเงินผิดพลาด จาเลยย่อมมีอานาจหน้าที่แก้ไขให้ถูกต้อง การแก้ไขดังกล่าวมิใช่การ
กระทาในขณะจาเลยหมดอานาจที่จะแก้ไข จาเลยจึงมีความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานทาเอกสารอันเป็ นเท็จแต่
การทาเอกสารอันเป็ นเท็จดังกล่าวเพื่อให้สมเหตุผลในการยักยอกทรัพย์ถือได้วา่ เป็ นการกระทาโดยมีเจตนา
เดียวคือเป็ นเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ จึงเป็ นกรรมเดียวกับความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6641 - 6642/2556


โจทก์ที่ 1 มีวตั ถุประสงค์รับเหมาก่อสร้างทุกชนิด ยืน่ ใบเสนอราคางานรับจ้างในราคาต่าสุ ดทุกโครงการ แต่
ไม่ได้รับการพิจารณาอนุมตั ิงานจ้าง โดยจาเลยในฐานะหัวหน้าฝ่ ายบริ หารหน่วยงานผูม้ ีอานาจอนุมตั ิกลับ
อนุมตั ิให้ร้าน ซ. และห้างหุ ้นส่ วนจากัด ศ. ซึ่ งเสนอราคาสู งกว่าโจทก์ที่ 1 เข้าเป็ นคู่สัญญากับเทศบาลตาบล
บึงโขงหลง หากได้ความว่าการกระทาของจาเลยเป็ นการปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ ย่อม
ทาให้โจทก์ที่ 1 ซึ่ งเสนอราคาตามเงื่อนไขของเทศบาลตาบลบึงโขงหลงได้รับความเสี ยหายไม่ได้รับงานจ้าง
ซึ่ งเป็ นกิจการตามวัตถุประสงค์ ทั้งที่เป็ นการแข่งขันราคาอย่างเป็ นธรรมตามเจตนารมณ์ของระเบียบกระ
ทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2535 ซึ่งนับเป็ นความ
เสี ยหายที่เกิดขึ้นในเบื้องต้นแล้ว นอกจากนี้การเสนอราคาเพื่อเข้าเป็ นคู่สัญญาในการรับจ้างเหมาทุกชนิด
ตามวิสัยของวิญญูชนย่อมเห็นได้ชดั ว่าหากงานจ้างเหมามีแต่การขาดทุน ย่อมไม่มีผใู ้ ดเสนอราคาเพื่อเข้าเป็ น
คู่สัญญาอย่างแน่นอน ดังนั้น เมื่อโจทก์ที่ 1 เสี ยโอกาสไม่ได้เข้ารับเหมาทางาน ย่อมทาให้โจทก์ที่ 1 สู ญเสี ย
รายได้จากงานจ้างซึ่ งเป็ นกิจการตามวัตถุประสงค์ โจทก์ที่ 1 ย่อมเป็ นผูเ้ สี ยหาย มีอานาจฟ้ องในส่ วนที่มีการ
กระทาให้เกิดความเสี ยหายแก่โจทก์ที่ 1 ได้ แต่ไม่มีอานาจฟ้ องในส่ วนที่มีการกระทาให้เกิดความเสี ยหายแก่
รัฐ

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4958/2556
อาคารที่พกั สายตรวจตาบลดอนมนต์สร้างจากเงินบริ จาคของประชาชนบนที่ดินขององค์การบริ หารส่ วน
ตาบลดอนมนต์ แม้โจทก์จะร่ วมบริ จาคเงินในการก่อสร้างด้วย แต่วตั ถุประสงค์ที่ก่อสร้างก็เพื่อใช้เป็ นที่พกั
ของเจ้าพนักงานตารวจที่เป็ นสายตรวจและอานวยความสะดวกแก่ประชาชนที่มาแจ้งความร้องทุกข์ ย่อม
แสดงว่าประชาชนประสงค์ให้ใช้เป็ นสถานที่ราชการที่สามารถเข้ามาติดต่อกับเจ้าพนักงานตารวจได้ ทั้ง
อาคารดังกล่าวได้ขอเลขที่บา้ นโดยระบุวา่ เป็ นที่ทาการสถานีตารวจชุมชน และการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคได้
เรี ยกเก็บค่ากระแสไฟฟ้ าจากหัวหน้าสถานีตารวจชุมชนตาบลดอนมนต์ จึงบ่งชี้วา่ ประชาชนที่ร่วมกัน
ก่อสร้างได้มอบอาคารดังกล่าวให้เป็ นสถานที่ราชการตารวจโดยปริ ยายแล้ว อาคารดังกล่าวจึงไม่ใช่ที่
รโหฐานอันเป็ นที่ส่วนตัวของโจทก์ที่จะมีอานาจจัดการหวงห้ามได้ สาหรับห้องพักที่เกิดเหตุที่โจทก์ก้ นั เป็ น
สัดส่ วนนั้นเป็ นส่ วนหนึ่งของอาคารที่พกั สายตรวจตาบลดอนมนต์ นอกจากโจทก์จะใช้เป็ นที่พกั อาศัยแล้ว
เจ้าพนักงานตารวจสายตรวจอื่นก็สามารถใช้ประโยชน์จากห้องดังกล่าวได้ แม้โจทก์จะเก็บสิ่ งของส่ วนตัวไว้
และใส่ กุญแจก็ไม่ใช่หอ้ งพักส่ วนตัวที่โจทก์จะมีสิทธิ หวงกันไว้ผเู ้ ดียวได้ ห้องพักที่เกิดเหตุจึงไม่ใช่ที่
รโหฐาน ประกอบกับจาเลยเข้าไปในห้องพักที่เกิดเหตุเพื่อค้นหาอาวุธปื นตามที่ผใู ้ ช้กระทาความผิดแจ้งว่า
นามาไว้ในอาคารที่พกั สายตรวจดอนมนต์ จึงมีเหตุอนั ควรสงสัยตามสมควรว่ามีสิ่งของที่ได้ใช้หรื อมีไว้เป็ น
ความผิดซ่อนไว้ในห้องพักที่เกิดเหตุ เช่นนี้ จาเลยย่อมมีอานาจค้นห้องพักที่เกิดเหตุได้โดยไม่ตอ้ งมีหมายค้น
หาใช่เป็ นการกลัน่ แกล้งเพื่อให้โจทก์ได้รับความเสี ยหาย
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3812 - 3814/2556
จาเลยเป็ นเสมียนตราอาเภอโนนแดง มีหน้าที่เกี่ยวกับการเงินและบัญชีของอาเภอโนนแดง เงินค่าวัสดุ
ก่อสร้างโครงการฝายประชาอาสาทั้งสี่ โครงการรวม 1,308,104.40 บาท เป็ นเงินที่ทางอาเภอโนนแดงต้อง
เบิกจากทางจังหวัดนครราชสี มาไปชาระให้แก่หา้ งหุ น้ ส่ วนจากัด น. และห้างหุ ้นส่ วนจากัด ต. แต่จาเลย
ไม่ได้เป็ นกรรมการรับเงินที่จะมีอานาจหน้าที่ไปเบิกและรับเงินค่าวัสดุก่อสร้างดังกล่าว การที่จาเลยใช้คาสั่ง
แต่งตั้งคณะกรรมการรับเงินซึ่ งไม่ใช่คาสัง่ ที่ผลู ้ งชื่อประสงค์จะตั้งจาเลยไปดาเนินการดังกล่าว ทั้งบางคาสัง่ ก็
ตั้งกรรมการไม่ครบตามกฎระเบียบไปแสดงต่อเสมียนตราจังหวัดเพื่อขอเบิกและรับเงินโครงการดังกล่าว
เมื่อได้รับเช็คแล้วนาเช็คไปเบิกเงินจากธนาคารเอาไปโดยทุจริ ต เป็ นการกระทาในส่ วนที่นอกอานาจหน้าที่
รับผิดชอบของตน ถือไม่ได้วา่ เป็ นการกระทาความผิดในฐานะเจ้าพนักงาน จึงไม่อาจลงโทษจาเลยฐานเจ้า
พนักงานยักยอกทรัพย์ตาม ป.อ. มาตรา 147 ตามฟ้ องอันเป็ นบทเฉพาะได้ แต่อาจลงโทษจาเลยในความผิด
ฐานยักยอกทรัพย์เงินดังกล่าว

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3130/2556
คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติหาได้มีอานาจที่จะตรวจสอบเจ้าหน้าที่ของรัฐใน
ความผิดฐานปลอมและใช้เอกสารราชการปลอม รายงานการสอบสวนของคณะกรรมการป้ องกันและ
ปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติก็มิได้ช้ ีมูลความผิดฐานนี้ การที่อนุกรรมการไต่สวนของคณะกรรมการ
ป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติดาเนิ นการไต่สวนในความผิดฐานนี้มาด้วย จึงเป็ นการสอบสวนที่
ไม่ชอบ และแม้การสอบสวนของคณะกรรมการสื บสวนข้อเท็จจริ งซึ่ งผูบ้ งั คับการตารวจภูธรจังหวัด
กาแพงเพชรแต่งตั้งจะพบการกระทาความผิดฐานนี้ ก็มิใช่การสอบสวนโดยพนักงานสอบสวนที่มีอานาจ
สอบสวน เมื่อพนักงานสอบสวนไม่ได้แจ้งข้อหานี้ให้จาเลยทราบ โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ องจาเลยในความผิด
ฐานดังกล่าว

จาเลยเป็ นพนักงานสอบสวนแก้ไขข้อความในสานวนการสอบสวนจากเดิมที่มีความเห็นสั่งฟ้ องผูต้ อ้ งหา


เป็ นสัง่ ไม่ฟ้องผูต้ อ้ งหาหลังจากเสนอสานวนการสอบสวนให้ผบู ้ งั คับบัญชาตามลาดับชั้นลงชื่อแล้วเพื่อช่วย
ผูต้ อ้ งหามิให้ตอ้ งโทษ จึงเป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 157 และ 200 วรรคแรก

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 21858 - 21860/2555


การให้เงินแก่เจ้าพนักงานตารวจเพื่อจูงใจให้ละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่ไม่จบั กุมกรณี เมื่อมีผใู ้ ช้รถบรรทุกขนส่ ง
สิ นค้ามีน้ าหนักเกินอัตราที่กฎหมายกาหนด มีลกั ษณะเป็ นการยุยงส่ งเสริ มก่อให้เจ้าพนักงานตารวจละเว้น
การปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ตอยูใ่ นตัวก็ตาม แต่การกระทาเช่นว่านั้นก็มีกฎหมายบัญญัติไว้วา่ เป็ นความผิด
โดยเฉพาะอยูแ่ ล้ว คือ ป.อ. มาตรา 144 อีกทั้งการที่เจ้าพนักงานตารวจละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต
ตามที่ถูกจูงใจก็มิได้สาเร็ จลงด้วยการช่วยเหลือหรื อให้ความสะดวกโดยการให้เงิน ดังนั้น ถึงหากแม้วา่ ผู ้
คัดค้านที่ 1 ที่ 2 และที่ 4 จะให้เงินแก่เจ้าพนักงานตารวจเพื่อจูงใจให้ละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่ไม่จบั กุมกรณี
เมื่อมีผใู้ ช้รถบรรทุกติดสติกเกอร์ซ่ ึงผูค้ ดั ค้านที่ 2 จัดทาขนส่ งสิ นค้ามีน้ าหนักเกินอัตราที่กฎหมายกาหนดจริ ง
ก็ตาม การกระทาของผูค้ ดั ค้านที่ 1 ที่ 2 และที่ 4 ก็คงเป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 144 อันเป็ นความผิดต่อ
เจ้าพนักงาน มิใช่ความผิดฐานเป็ นผูส้ นับสนุ นเจ้าพนักงานตารวจในการกระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่
ความผิดตาม ป.อ. มาตรา 149, 157 ประกอบมาตรา 86 จึงไม่จาเป็ นต้องวินิจฉัยว่า ผูค้ ดั ค้านที่ 1 ที่ 2 และที่ 4
กระทาเช่นนั้นจริ งหรื อไม่ ผูค้ ดั ค้านที่ 1 ที่ 2 และที่ 4 มิใช่เป็ นผูก้ ระทาความผิด หรื อเป็ นผูซ้ ่ ึ งเกี่ยวข้องหรื อ
เคยเกี่ยวข้องสัมพันธ์กบั ผูก้ ระทาความผิดฐานเป็ นผูส้ นับสนุนเจ้าพนักงานตารวจในการกระทาความผิดต่อ
ตาแหน่งหน้าที่

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 17235/2555
ตาม พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ.2542 มาตรา 4 ให้
ความหมายคาว่า "เจ้าหน้าที่ของรัฐ" รวมถึงข้าราชการด้วย จาเลยที่ 1 และที่ 2 จึงเป็ นเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม
พ.ร.บ.ดังกล่าว ไม่วา่ การกระทาของจาเลยที่ 1 และที่ 2 ตามที่โจทก์ฟ้องจะเป็ นความผิดต้องด้วยบทเฉพาะ
ตาม ป.อ. มาตรา 149 ดังที่ศาลอุทธรณ์ภาค 1 วินิจฉัย หรื อเป็ นความผิดต้องด้วยบทเฉพาะตาม ป.อ. มาตรา
148 ดังที่โจทก์ฎีกา แต่ก็ถือได้วา่ ฟ้ องโจทก์เป็ นการกล่าวหาว่าจาเลยที่ 1 และที่ 2 กระทาความผิดฐานปฏิบตั ิ
หน้าที่หรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบและโดยทุจริ ตตาม ป.อ. มาตรา 157 ซึ่ งเป็ นบททัว่ ไป และ
ความผิดตามบทมาตราทั้งสามดังกล่าวบัญญัติไว้ในหมวด 2 ของ ป.อ. ว่าด้วยความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่
ราชการ ฟ้ องโจทก์เกี่ยวกับการกระทาของจาเลยทั้งสามในส่ วนนี้จึงเป็ นการกล่าวหาว่า จาเลยที่ 1 และที่ 2
ซึ่ งเป็ นเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการตาม พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ.2542 โดยจาเลยที่ 3 เป็ นผูส้ นับสนุน ซึ่งมาตรา 19 (3) 43 (4) และ
มาตรา 88 ของ พ.ร.บ.ดังกล่าวกาหนดให้เป็ นอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดาเนินการไต่สวน
ข้อเท็จจริ งเมื่อมีการกล่าวหาเจ้าหน้าที่ของรัฐว่ากระทาความผิดฐานทุจริ ตต่อหน้าที่ กระทาความผิดต่อ
ตาแหน่งหน้าที่ราชการ หรื อกระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม ทั้งนี้ ตามมาตรา 4 ผูถ้ ูก
กล่าวหายังหมายความรวมถึงตัวการ ผูใ้ ช้ หรื อผูส้ นับสนุนการกระทาดังกล่าวด้วย โดยกฎหมายกาหนดให้
เป็ นอานาจหน้าที่โดยเฉพาะของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการไต่สวนข้อเท็จจริ งกรณี ดงั กล่าว แทนการให้
พนักงานสอบสวนมีอานาจสอบสวนตาม ป.วิ.อ. ดังเช่นคดีอาญาอื่นๆ การที่พนักงานสอบสวนทาการ
สอบสวนในข้อหาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการจึงเป็ นการสอบสวนโดยมิชอบ โจทก์จึงไม่มีอานาจ
ฟ้ องจาเลยทั้งสามในความผิดตามข้อหาดังกล่าว

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 13624/2555
โจทก์บรรยายฟ้ องว่า จาเลยเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหน้าที่ดา้ นการเงิน มีหน้าที่รับผิดชอบ ในการทาบัญชี
การเงิน การรับเงิน จ่ายเงิน การเบิกถอนเงิน การเก็บรักษาเงินของสถานีอนามัยบ้านดอนนา ได้ครอบครอง
เงินจานวน 433,420 บาท ของผูเ้ สี ยหาย และมีหน้าที่ดูแลรักษาเงินจานวนดังกล่าวให้ครบถ้วน การเบิก
จ่ายเงินจานวนดังกล่าวจะต้องมีหลักฐานหนังสื ออนุมตั ิก่อหนี้ผกู พันและหนังสื ออนุมตั ิให้จ่ายเงินจากผูม้ ี
อานาจ แต่จาเลยไม่มีหลักฐานหนังสื ออนุมตั ิก่อหนี้ และหนังสื ออนุมตั ิให้จ่ายเงินจากผูม้ ีอานาจที่ใช้ประกอบ
กับใบคาขอถอนเงินเพื่อเบิกเงิน แต่จาเลยกลับใช้ใบเบิกถอนเงินจานวน 433,420 บาท จากบัญชีเงินฝากของ
ผูเ้ สี ยหาย แล้วเบียดบังเอาเงินจานวนดังกล่าวไปเป็ นประโยชน์ของตนเองหรื อของผูอ้ ื่นโดยทุจริ ต เห็นได้วา่
โจทก์ได้กล่าวข้อเท็จจริ งถึงองค์ประกอบความผิดที่จาเลยเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ทา จัดการหรื อรักษาเงิน
ของผูเ้ สี ยหาย แล้วเบียดบังเงินของผูเ้ สี ยหายไปโดยเบิกถอนเงินจากบัญชีเงินฝากของผูเ้ สี ยหาย พอที่จาเลย
จะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว จึงเป็ นฟ้ องที่ชอบตาม ป.วิ.อ. มาตรา 158 (5) แล้ว

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 11554/2554
การที่ พ.ร.บ.กองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวันในโรงเรี ยนประถมศึกษา พ.ศ.2535 กาหนดให้จดั ตั้ง
กองทุนขึ้นในกระทรวงการคลังจากเงินงบประมาณของแผ่นดิน โดยให้คณะกรรมการบริ หารกองทุนซึ่ งมี
ปลัดกระทรวงศึกษาธิ การเป็ นประธาน จัดสรรเงินของกองทุนดังกล่าวให้แก่โรงเรี ยนประถมศึกษาในสังกัด
ของสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติทว่ั ประเทศเพื่อให้โรงเรี ยนประถมศึกษานาไป
ดาเนินการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการเพื่อสนับสนุนช่วยเหลือภาวะโภชนาการ และลด
ปั ญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรี ยน แสดงเจตนารมณ์ของกฎหมายว่าประสงค์ให้การจัดอาหาร
กลางวันแก่นกั เรี ยนในโรงเรี ยนประถมศึกษา เป็ นภาระหน้าที่หรื องานราชการส่ วนหนึ่งของโรงเรี ยน
ประถมศึกษาด้วย ทั้งก่อนหน้านี้ยงั มีระเบียบกระทรวงศึกษาธิ การว่าด้วยโครงการอาหารกลางวันที่โรงเรี ยน
พ.ศ.2509 ตลอดจนหนังสื อของสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติถึงผูอ้ านวยการการ
ประถมศึกษาจังหวัดทุกจังหวัดแจ้งวิธีปฏิบตั ิเกี่ยวกับการรับจ่ายเงิน การลงบัญชี การรักษาเงินและการ
ตรวจสอบเงินค่าอาหารกลางวันทั้งที่เป็ นเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ (ส่ วนที่เรี ยกเก็บจาก
ผูป้ กครองหรื อมีผบู ้ ริ จาค) ให้เป็ นไปโดยถูกต้องตามระเบียบและคาแนะนาของกรมบัญชีกลาง สรุ ปได้วา่ ให้
หัวหน้าสถานศึกษาเป็ นผูม้ ีหน้าที่รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันของนักเรี ยนโดยให้มีอานาจเรี ยกเก็บ
เงินค่าอาหารกลางวันจากนักเรี ยนได้ การรับเงินต้องออกใบเสร็ จรับเงินของสานักงานคณะกรรมการการ
ประถมศึกษาแห่งชาติ ให้มีการลงบัญชี ผูร้ ับผิดชอบเก็บรักษาเงิน การนาเงินฝากเข้าบัญชีและเบิกจ่ายตาม
ระเบียบที่ทางราชการกาหนดโดยให้ถือว่าเป็ นเงินของทางราชการประเภทเงินนอกงบประมาณ แต่ไม่ตอ้ ง
นาส่ งเป็ นรายได้แผ่นดิน โดยให้หวั หน้าสถานศึกษาเป็ นผูม้ ีอานาจสั่งจ่ายเพื่อการจัดอาหารกลางวัน
โดยเฉพาะ เห็นได้วา่ การจัดโครงการอาหารกลางวันในโรงเรี ยนประถมศึกษา ไม่วา่ ใช้เงินงบประมาณหรื อ
เงินนอกงบประมาณล้วนเป็ นการปฏิบตั ิราชการของสานักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ
กระทรวงศึกษาธิ การ และอยูใ่ นอานาจหน้าที่ของผูอ้ านวยการโรงเรี ยน การที่ผอู ้ านวยการโรงเรี ยนอนุบาล
ระยองมีคาสั่งให้จาเลยซึ่ งเป็ นครู ของโรงเรี ยนทาหน้าที่รับจ่ายและเก็บรักษาเงินค่าอาหารกลางวันของ
นักเรี ยนเป็ นการสั่งการหรื อมอบหมายตามอานาจของหัวหน้าสถานศึกษาให้จาเลยปฏิบตั ิหน้าที่ราชการของ
โรงเรี ยนโดยชอบ การปฏิบตั ิหน้าที่ดงั กล่าวของจาเลยจึงเป็ นการปฏิบตั ิหน้าที่ราชการตามกฎหมาย เมื่อ
จาเลยเบียดบังเอาเงินค่าอาหารกลางวันที่จาเลยมีหน้าที่จดั เก็บและรักษาไว้น้ นั ไปโดยทุจริ ต ย่อมเป็ น
ความผิดตาม ป.อ. มาตรา 147

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 7540/2554
แม้จาเลยเป็ นเจ้าอาวาสของโจทก์ร่วมและได้รับเงินเดือนประจาที่เรี ยกว่านิตยภัตจากเงินงบประมาณของรัฐ
แต่ผทู ้ ี่ได้รับเงินเดือนประจาที่จะถือว่าเป็ น "เจ้าหน้าที่ของรัฐ" ตามมาตรา 4 แห่ง พ.ร.บ.ประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตต้องเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ
หรื อพนักงานส่ วนท้องถิ่น ซึ่ งเจ้าอาวาสไม่อยูใ่ นความหมายดังกล่าว และในปั จจุบนั วัดจัดตั้งขึ้นโดยวิธีการ
ที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวงซึ่ งออกตามความใน พ.ร.บ.คณะสงฆ์ ซึ่ งกาหนดให้วดั มีฐานะเป็ นนิติบุคคลโดย
มีเจ้าอาวาสเป็ นผูแ้ ทน แต่ก็มีอานาจอย่างจากัดตามมาตรา 37 เฉพาะในการบารุ งวัด จัดกิจการและศาสน
สมบัติของวัดให้เป็ นไปด้วยดี ปกครองและสอดส่ องให้บรรพชิ ตและคฤหัสถ์ที่มีที่อยูห่ รื อพานักอาศัยอยูใ่ น
วัดนั้นปฏิบตั ิตามพระธรรมวินยั กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบ หรื อคาสั่งของมหาเถรสมาคม และ
อื่นๆ อันเป็ นกิจการของสงฆ์โดยเฉพาะ ส่ วนที่เกี่ยวกับการบริ หารราชการอยูภ่ ายใต้การควบคุมดูแลของ
กรมการศาสนาและกระทรวงศึกษาธิ การ วัดจึงหาใช่เป็ นส่ วนหนึ่งของการบริ หารราชการแผ่นดิน ดังนั้น
พระภิกษุซ่ ึ งได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในการปกครองคณะสงฆ์ไม่วา่ ในตาแหน่งเจ้าอาวาสหรื อใน
ตาแหน่งอื่นใดก็ตาม จึงหาได้อยูใ่ นความหมายของคาจากัดความว่า "เจ้าหน้าที่ของรัฐ" ส่ วน พ.ร.บ.คณะ
สงฆ์ มาตรา 45 ซึ่ งบัญญัติวา่ "ให้ถือว่าพระภิกษุซ่ ึ งได้รับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในการปกครองคณะ
สงฆ์และไวยาวัจกร เป็ นเจ้าพนักงานตามความในประมวลกฎหมายอาญา" ก็เป็ นเรื่ องเจตนารมณ์ของ
กฎหมายที่ตอ้ งการให้นาบทบัญญัติลกั ษณะความผิดเกี่ยวกับการปกครองตามประมวลกฎหมายที่ตอ้ งการให้
นาบทบัญญัติลกั ษณะความผิดเกี่ยวกับการปกครองตามประมวลกฎหมายอาญามาใช้บงั คับแก่พระภิกษุบาง
ตาแหน่งเท่านั้น และ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต ก็เป็ น
กฎหมายที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และฉบับปัจจุบนั บัญญัติให้มี
คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติข้ ึน โดยบัญญัติถึงกระบวนการสอบสวนเจ้าหน้าที่
ของรัฐไว้เป็ นกรณี พิเศษโดยใช้วธิ ี การไต่สวนเท่านั้น บุคคลอื่นๆ คงใช้กระบวนการสอบสวนตามปกติตาม
ป.วิ.อ. ดังนั้น การที่พนักงานสอบสวนมิได้ส่งเรื่ องไปให้คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต
แห่งชาติจึงชอบแล้ว โจทก์มีอานาจฟ้ อง

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 15805/2553
จาเลยทั้งสองเป็ นเจ้าหน้าที่ของรัฐมีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดระเบียบหาบเร่ แผงลอยริ มบาทวิถีถนนราชดาเนิน
กลางด้านทิศใต้ ตาม พ.ร.บ.รักษาความสะอาดเรี ยบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ.2535 เรี ยกรับเงินจากผูเ้ สี ยหาย
เพื่อให้ผเู ้ สี ยหายวางแผงขายสลากกินแบ่งรัฐบาลบนบาทวิถีโดยละเว้นไม่กระทาการในตาแหน่งหน้าที่ที่
จะต้องแจ้งข้อหาแก่ผเู ้ สี ยหาย โดยมิชอบด้วยหน้าที่และโดยทุจริ ต การกระทาของจาเลยที่ 1 จึงเป็ นความผิด
ตาม ป.อ. มาตรา 149 จาเลยที่ 2 เป็ นลูกจ้างประจาซึ่ งไม่ใช่ขา้ ราชการที่ได้รับการแต่งตั้งว่าด้วยการแต่งตั้ง
ข้าราชการให้ดารงตาแหน่งหรื อเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งหน้าที่ที่กฎหมายระบุไว้โดยเฉพาะให้ถือเป็ นเจ้า
พนักงาน จาเลยที่ 2 จึงไม่ใช่เจ้าพนักงานตามกฎหมาย คงลงโทษจาเลยที่ 2 ได้แต่เพียงในฐานะผูส้ นับสนุน
ตาม ป.อ. มาตรา 86

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 10171 - 10182/2553


นอกจากจาเลยมีหน้าที่รังวัดที่ดินแล้ว ผูบ้ งั คับบัญชายังได้มอบหมายหน้าที่ให้จาเลยมีหน้าที่รับคาขอ
ลงบัญชี รับทาการ เรี ยกเก็บเงินค่าธรรมเนียม และออกใบเสร็ จรับเงินด้วย การที่จาเลยรับเงินค่าธรรมเนียม
รังวัดที่ดินจากผูเ้ สี ยหายทั้งสิ บสองแม้ศาลชั้นต้นจะฟังข้อเท็จจริ งที่ได้ตามทางพิจารณาว่า การกระทาของ
จาเลยเป็ นความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่หรื อแสดงตนว่ามีหน้าที่เรี ยกเก็บหรื อตรวจสอบภาษีอากร
ค่าธรรมเนียม หรื อเงินนั้นโดยทุจริ ตตาม ป.อ. มาตรา 154 แต่ก็ไม่สามารถลงโทษจาเลยได้ เนื่องจากโจทก์
ไม่ได้ฟ้องขอให้ลงโทษจาเลยตาม ป.อ. มาตรา 154 อันเป็ นบทเฉพาะมาด้วย นอกจากนี้ความผิดฐานเจ้า
พนักงานปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ตตาม ป.อ. มาตรา 157 ซึ่ งเป็ นบททัว่ ไป โจทก์ก็มิได้
อ้างมาในฟ้ องทั้งมิได้ยกขึ้นฎีกา จึงต้องถือว่าโจทก์ไม่ประสงค์ให้ลงโทษจาเลยตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรค
หนึ่งและวรรคสี่
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 8362/2553
จาเลยทั้งสองเป็ นพนักงานองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ซึ่ ง พ.ร.บ.องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย
พ.ศ.2497 มาตรา 4 บัญญัติวา่ "พนักงาน" หมายความว่า พนักงานขององค์การโทรศัพท์และมาตรา 17
บัญญัติวา่ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ผูอ้ านวยการ และพนักงานเป็ นเจ้าพนักงานตามความหมายแห่ง
กฎหมายลักษณะอาญา แสดงว่าจาเลยทั้งสองย่อมเป็ นเจ้าพนักงานอยูแ่ ล้วตามกฎหมาย จาเลยทั้งสองจึง
ไม่ใช่พนักงานตามความหมายที่บญั ญัติไว้ในมาตรา 3 แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การ
หรื อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502 จึงไม่อาจนา พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรื อหน่วยงาน
ของรัฐ พ.ศ.2502 มาใช้บงั คับลงโทษจาเลยทั้งสองซึ่ งเป็ นพนักงานองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยได้

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2573/2553
จาเลยซึ่งเป็ นเจ้าพนักงานตารวจกองปราบปรามขู่ให้โจทก์ร่วมนาเงินมามอบให้โดยอ้างว่าเพื่อลบชื่อโจทก์
ร่ วมออกจากบัญชี ผคู ้ า้ ยาเสพติดของสานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามยาเสพติด และเพื่อที่จะ
ไม่จบั กุมโจทก์ร่วม จึงเป็ นความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการฐานเป็ นเจ้าพนักงานใช้อานาจในตาแหน่งโดย
มิชอบข่มขืนใจและจูงใจเพื่อให้โจทก์ร่วมมอบให้ซ่ ึ งทรัพย์สินแก่ตนเอง แต่การที่โจทก์ร่วมนาเงินไปมอบ
ให้แก่จาเลยก็เพื่อที่จะให้เจ้าพนักงานจับกุม แสดงว่าโจทก์ร่วมไม่ได้กลัวคาขู่ของจาเลย ยังถือไม่ได้วา่ จาเลย
ข่มขืนใจโจทก์ร่วมจนโจทก์ร่วมยอมเช่นว่านั้น การกระทาของจาเลยเป็ นเพียงความผิดฐานพยายามกรรโชก
แม้จาเลยจะไม่ได้ฎีกาในปั ญหานี้ แต่เป็ นข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อย ศาลฎีกามีอานาจแก้ไขให้
ถูกต้องได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 10165/2551
จาเลย ที่ 1 ได้รับคาสั่งจากผูบ้ งั คับบัญชาให้สืบสวนข้อเท็จจริ งตามหนังสื อร้องเรี ยนของ จาเลยที่ 2 ซึ่ง
ร้องเรี ยนว่าโจทก์ร่วมร่ วมกับพวกสร้างหลักฐานเท็จออกโฉนดที่ดินโดยไม่ ชอบ จาเลยที่ 1 จึงไปพบและ
สอบถาม ส. ภริ ยาของ ม. และ ค. เพื่อให้ ม. และ ค. ซึ่ งเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่มีการกล่าวหาว่ามีการกระทา
ผิดมาให้มีขอ้ เท็จ จริ ง โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อแสวงหาพยานบุคคลมาให้การประกอบการดาเนินคดีแก่โจทก์
ร่ วม แม้จาเลยที่ 1 จะพูดว่าหากไม่ได้ความร่ วมมือเป็ นพยานจะดาเนิ นคดีแก่ ม. และ ค. ก็ตาม ก็อยูใ่ น
ขบวนการสื บสวนหาข้อเท็จจริ ง ทั้งการไปเป็ นพยานย่อมเป็ นหน้าที่ตามกฎหมาย การกระทาของจาเลยที่ 1
จึงยังไม่ถึงขั้นรับฟังได้วา่ เป็ นการข่มขู่ที่จะทาให้เป็ นความผิดฐานเป็ น เจ้าพนักงานปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ
และจาเลยที่ 2 ไม่มีความผิดฐานเป็ นผูส้ นับสนุ น
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 7030/2551
พ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 เป็ นกฎหมายมุ่งคุม้ ครองและควบคุมผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม แม้ให้
สิ ทธิ โจทก์ท้ งั สองเป็ นผูก้ ล่าวหาผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมว่าประพฤติ ผิดจริ ยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม
โดยนาเรื่ องยืน่ ต่อจาเลยที่ 1 ตามพระราชบัญญัติดงั กล่าวมาตรา 32 แต่ตามมาตรา 39 ก็ให้อานาจ
คณะกรรมการจาเลยที่ 1 ที่จะวินิจฉัยชี้ขาดเพียงว่า ยกข้อกล่าวหา ว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ พักใช้
ใบอนุญาตมีกาหนดเวลาตามที่เห็นสมควรแต่ไม่เกิน 2 ปี หรื อเพิกถอนใบอนุญาต ซึ่ งเป็ นการกระทาต่อผูถ้ ูก
กล่าวหาที่ประกอบวิชาชีพเวชกรรมเท่านั้น มิได้ก่อให้เกิดความเสี ยหายหรื อกระทบกระเทือนต่อสิ ทธิ และ
หน้าที่ของโจทก์ ทั้งสองโดยตรงแต่ประการใด การที่จาเลยที่ 28 ถึงที่ 33 สรุ ปผลการแสวงหาข้อเท็จจริ งว่า
คดีไม่มีมูล และจาเลยที่ 1 ถึงที่ 27 พิจารณารายงานและความเห็นดังกล่าวแล้วมีมติวา่ คดีไม่มีมูลให้ยกข้อ
กล่าวหา จึงไม่เป็ นการกระทาต่อโจทก์ท้ งั สองโดยตรงและไม่ทาให้โจทก์ท้ งั สองได้รับความ เสี ยหายเป็ น
พิเศษเนื่องจากการกระทาความผิดตามฟ้ อง โจทก์ท้ งั สองไม่เป็ นผูเ้ สี ยหายตาม ป.วิ.อ. มาตรา 2(4) และไม่มี
อานาจฟ้ องจาเลยทั้งสามสิ บสามในข้อหาความผิดตาม ป.อ. มาตรา 157

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1510/2551
จาเลยเป็ นนายอาเภอสองพี่นอ้ งมีหน้าที่กากับดูแลการปฏิบตั ิหน้าที่ขององค์การ บริ หารส่ วนตาบลบางตาเถร
ให้เป็ นไปตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของทางราชการ แต่จาเลยไม่ปฏิบตั ิตามคาสั่งของผูว้ า่ ราชการ
จังหวัดสุ พรรณบุรีที่มีคาสั่ง ให้ดาเนิ นการสอบสวนคุณสมบัติของ ก. ซึ่ งเป็ นประธานกรรมการบริ หาร
องค์การบริ หารส่ วนตาบลดังกล่าว และมิได้ดาเนินคดีอาญาและคดีแพ่งแก่ ก. ที่ได้ทาการแก้ไขและ
สอดแทรกโครงการในร่ างข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2543 ขององค์การบริ หารส่ วนตาบลบางตา
เถรโดยไม่มีอานาจเป็ นการกระทาความผิดต่อ ตาแหน่งหน้าที่ราชการอันเป็ นผลเสี ยหายแก่รัฐ มิได้
ก่อให้เกิดความเสี ยหายหรื อกระทบกระเทือนต่อสิ ทธิ และหน้าที่ของโจทก์ ซึ่ งเป็ นสมาชิกสภาองค์การ
บริ หารส่ วนตาบลบางตาเถรโดยตรง โจทก์จึงมิใช่ผเู ้ สี ยหาย

องค์การบริ หารส่ วนตาบลบางตาเถรเป็ นผูเ้ สี ยหายโดยตรงและผูท้ ี่จะดาเนินคดี อาญาแทนองค์การบริ หาร


ส่ วนตาบลบางตาเถรเพื่อเอาผิดแก่ ก. ก็คือ ก. แต่ ก. ไม่ยอมดาเนินคดีแก่ตนเอง แต่โจทก์ซ่ ึ งเป็ นสมาชิกสภา
องค์การบริ หารส่ วนตาบลบางตาเถรจะมีอานาจฟ้ อง ก. แทนองค์การบริ หารส่ วนตาบลบางตาเถรได้หรื อไม่
เป็ นคนละเรื่ องกับการละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่ของจาเลย จึงไม่ทาให้โจทก์กลายเป็ นผูเ้ สี ยหายและมีอานาจ
ฟ้ องจาเลยในความผิดตาม ป.อ. มาตรา 157
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1524/2551
จาเลยเป็ นเจ้าพนักงานตารวจมีหน้าที่สืบสวนจับกุมผูก้ ระทาความผิดอาญา ได้พบเห็น ส. กับพวกเล่นการ
พนันชนไก่อนั เป็ นความผิดอาญา จาเลยมีหน้าที่ตอ้ งทาการจับกุมผูก้ ระทาความผิด แต่กลับไม่ทาการจับกุม
และเรี ยกรับเงินจานวน 1,500 บาท จาก ส. เพื่อจะไม่จบั กุมตามหน้าที่ การกระทาของจาเลยจึงเป็ นความผิด
ตาม ป.อ. มาตรา 149

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3340/2550
การกระทาของจาเลยที่ 1 และที่ 3 เป็ นกรรมเดียวเป็ นความผิดต่อกฎหมายหลายบทโดยนอกจากมีความผิด
ต่อตาแหน่ง หน้าที่ราชการตาม ป.อ. มาตรา 157 แล้วยังมีความผิดต่อ พ.ร.บ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล
ฯ มาตรา 59 ซึ่ งบัญญัติให้ศาลสั่งเพิกถอนสิ ทธิ เลือกตั้งมีกาหนดเวลาไม่ต่ากว่าสี่ ปีและ ไม่เกินแปดปี ด้วย อัน
เป็ นมาตรการที่มุ่งจะจากัดสิ ทธิ ของเจ้าพนักงานผูด้ าเนินการเลือกตั้งซึ่ ง กระทาหน้าที่โดยทุจริ ตไม่ใช่โทษ
ตามกฎหมาย ดังนั้น เมื่อศาลลงโทษจาเลยที่ 1 และที่ 3 ตาม ป.อ. มาตรา 157 ซึ่งเป็ นบทที่มีโทษหนักที่สุด
เพียงบทเดียวตาม ป.อ. มาตรา 90 ศาลก็ตอ้ งสั่งเพิกถอนสิ ทธิ เลือกตั้งของจาเลยที่ 1 และที่ 3 ด้วย ตามที่
กฎหมายบัญญัติบงั คับไว้โดยไม่อาจใช้ดุลพินิจเป็ นอย่างอื่นได้ มิฉะนั้นจะเป็ นการขัดต่อเจตนารมณ์ของ
กฎหมาย

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 845/2550
อายุความการฟ้ องคดีอาญาแก่ผถู ้ ูกกล่าวหาที่คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการ ทุจริ ตแห่งชาติ
(คณะกรรมการ ป.ป.ช.) ไต่สวนแล้วมีมติวา่ ผูถ้ ูกกล่าวหามีความผิดทางอาญา ต้องพิจารณาตามความใน
ป.อ. มาตรา 95 กาหนดระยะเวลาไม่เกิน 2 ปี ตามความใน พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกัน
และปราบปรามการทุจริ ต พ.ศ.2542 มาตรา 84 เป็ นเพียงกาหนดระยะเวลาที่กาหนดให้ผกู ้ ล่าวหาต้องยืน่ คา
กล่าวหาเป็ นหนังสื อ ลงลายมือชื่อของตนต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. นับถัดจากวันที่ผถู ้ ูกกล่าวหาซึ่ งเป็ น
เจ้าหน้าที่ของรัฐและมิใช่บุคคลตาม มาตรา 66 ได้พน้ จากการเป็ นเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้น หาใช่อายุความ
ฟ้ องร้องคดีอาญาไม่

เมื่อความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานยักยอกตาม ป.อ. มาตรา 147 มีอตั ราโทษจาคุกขั้นสู งคือ จาคุกตลอดชีวติ


และความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ หรื อปฏิบตั ิหรื อละเว้นการ
ปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต ตาม ป.อ. มาตรา 157 มีอตั ราโทษจาคุกขั้นสู งคือ 10 ปี อายุความการฟ้ องคดีอาญาใน
ความผิดทั้งสองฐานดังกล่าวจึงเป็ นไปตาม ป.อ. มาตรา 95 (1) และ (2) คือ 20 ปี และ 15 ปี ตามลาดับ จาเลย
ที่ 1 กระทาความผิดในข้อหาดังกล่าวนี้เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2543 เวลากลางคืนหลังเที่ยง โจทก์ฟ้องจาเลยที่ 1
วันที่ 20 พฤษภาคม 2546 เป็ นเวลาห่างกันเพียง 3 ปี เศษ คดียงั ไม่ขาดอายุความ โจทก์มีอานาจฟ้ อง

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 7095/2549
ในการพิจารณากาหนดอายุความฟ้ องผูก้ ระทาความผิดตาม ป.อ. มาตรา 95 นั้นต้องถือเอาตามข้อหาหรื อฐาน
ความผิดที่ศาลพิจารณาได้ความ คดีน้ ีจาเลยถูกศาลล่างทั้งสองพิพากษาลงโทษตาม ป.อ. มาตรา 147 ซึ่งมีอายุ
ความฟ้ องภายใน 20 ปี ตาม ป.อ. มาตรา 95 (1) คดีของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ

แม้การกระทาความผิดของจาเลยจะเป็ นการกระทาด้วยเจตนาในการกระทาผิดอย่างเดียว กันคือเบียดบังเอา


เงินซึ่ งจาเลยมีหน้าที่จดั การหรื อรักษาไว้ไปเป็ นของจาเลย เองโดยทุจริ ต แต่จาเลยก็ได้รับเงินแล้วเบียดบังเอา
เป็ นของตนเองโดยทุจริ ตจากบุคคลต่างราย แต่ละรายเกิดขึ้นต่างวันเวลากัน อันเป็ นการกระทาที่ต่างกรรม
ต่างวาระกัน จึงเป็ นความผิดหลายกรรมต่างกัน

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4532/2548
การที่จาเลยนาสมุดบันทึกการประชุมในวันที่ 15 และ 19 สิ งหาคม 2538 ไปให้ จ. และ ส. ลงลายมือชื่อใน
บันทึกการประชุม ทั้งที่ไม่ได้มีการประชุม และบันทึกรายงานการประชุมดังกล่าวระบุวา่ ร. เป็ นผูจ้ ดรายงาน
การประชุมการกระทาของจาเลยจึงเป็ นความผิดฐานปลอมเอกสาร โดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่
ร. ผูท้ ี่ไม่ได้เข้าร่ วมประชุมแต่มีชื่อเข้าร่ วมประชุมและประชาชนทัว่ ไปในตาบล ท่าเรื อ ทั้งเอกสารที่ทา
ปลอมขึ้นนั้นเป็ นบันทึกรายงานการประชุมของสมาชิกสภาองค์การ บริ หารส่ วนตาบลท่าเรื อ เป็ นการปฏิบตั ิ
หน้าที่ของสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตาบลในราชการส่ วนท้อง ถิ่น จึงเป็ นการปลอมเอกสารราชการ
ตาม ป.อ. มาตรา 265 เมื่อจาเลยซึ่ งเป็ นประธานกรรมการบริ หารองค์การบริ หารส่ วนตาบลท่าเรื อมี หน้าที่ขอ
อนุมตั ิขอ้ บังคับงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2538 จากสมาชิกองค์การบริ หารส่ วนตาบล
ท่าเรื อเพื่อนาเสนอนายอาเภอเมืองนครศรี ธรรมราชอนุมตั ิ จาเลยจึงมีความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่
ดูแลรักษาเอกสาร กระทาการปลอมเอกสารโดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหน้าที่น้ นั ตาม ป.อ. มาตรา 161 และการ
ที่จาเลยลงลายมือชื่อรับรองสาเนารายงานการประชุมทั้งสองครั้งดังกล่าว ในสาเนาข้อบังคับเรื่ อง
งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2538 ว่ามีการประชุมจริ ง จาเลยจึงมีความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่
รับเอกสารรับรองเป็ นหลักฐาน ว่าการอย่างใดได้กระทาต่อหน้าตนอันเป็ นความเท็จตาม ป.อ. มาตรา 162
(1) และจาเลยเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ สมาชิกองค์การบริ หาร
ส่ วนตาบลท่าเรื อ และประชาชนในตาบลท่าเรื อ โดยการนางบประมาณมาจัดประมูลให้ผรู้ ับเหมาทางาน
ตามที่ตนเองต้องการ อันเป็ นการแสวงหาผลประโยชน์เพื่อตนเองหรื อผูอ้ ื่นโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงเป็ น
การปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ตตาม ป.อ. มาตรา 157

จาเลยปลอมบันทึกการประชุม 2 ฉบับ อันเป็ นความผิดฐานปลอมเอกสารราชการ เจ้าพนักงานปลอมเอกสาร


ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการและเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบก็ เพื่อให้นายอาเภอเมือง
นครศรี ธรรมราชอนุมตั ิขอ้ บังคับเรื่ องงบประมาณรายจ่าย ประจาปี พ.ศ.2538 ขององค์การบริ หารส่ วนตาบล
ท่าเรื อ การกระทาของจาเลยจึงเป็ นการกระทาความผิดกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 7768/2548
แม้ขณะเกิดเหตุ ว. จะเข้ามาดารงตาแหน่งปลัดเมืองพัทยาโดยการว่าจ้างตามความในมาตรา 50 ของ พ.ร.บ.
ระเบียบบริ หารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2521 แต่ปลัดเมืองพัทยาก็มีฐานะเป็ นพนักงานเมืองพัทยาตามความ
ในมาตรา 64 และพนักงานเมืองพัทยามีฐานะเป็ นเจ้าพนักงานตาม ป.อ. ตามความในมาตรา 66 ของ
พระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวที่ใช้บงั คับในขณะกระทาความผิดคดีน้ ี ดังนั้น หากขณะดารงตาแหน่งปลัด
เมืองพัทยา ว. ได้กระทาการใดผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ ซึ่ งกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิดและกาหนด
โทษไว้ และ ว. มิได้ถึงแก่ความตายเสี ยก่อน ว. ก็ตอ้ งรับผิดในทางอาญาในฐานะเจ้าพนักงานตามที่ ป.อ.
มาตรา 2 และมาตรา 147 ถึงมาตรา 166 บัญญัติไว้ แม้จะปรากฏว่าภายหลังกระทาความผิดได้มี พ.ร.บ.
ระเบียบบริ หารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2542 มาตรา 3 ให้ยกเลิก พ.ร.บ.ระเบียบบริ หารราชการเมืองพัทยา
พ.ศ.2521 และมีบทบัญญัติเกี่ยวกับที่มาของผูด้ ารงตาแหน่งปลัดเมืองพัทยาแตกต่างจาก กฎหมายเดิม แต่
ความผิดที่ ว. ถูกกล่าวหาในคดีน้ ีมิได้มีการยกเลิกไปและก็มิได้เป็ นเรื่ องที่กฎหมายใหม่ บัญญัติวา่ การกระทา
ใดไม่เป็ นความผิดหรื อกาหนดโทษเป็ นคุณแก่ผกู ้ ระทาความผิด จึงไม่ใช่กรณี ที่จาเลยที่ 1 จะอ้าง ป.อ. มาตรา
2 และมาตรา 3 มาเป็ นประโยชน์แก่คดีของจาเลยที่ 1 ได้

จาเลยที่ 3 กับพวกได้ร่วมกันใช้หรื อจ้างวานให้นาย อ. กับ ส. ไปแจ้งแก่เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดชลบุรี สาขา


บางละมุง ให้จดทะเบียนทานิ ติกรรมซื้ อขายที่ดินโฉนดเลขที่ 42827 ในราคา 1,200,000 บาท และจาเลยที่ 3
กับพวก ได้ร่วมกันใช้หรื อจ้างวานให้ ย. กับ อ. ไปแจ้งแก่เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดชลบุรี สาขาบางละมุง ให้
จดทะเบียนทานิ ติกรรมซื้ อขายที่ดินโฉนดเลขที่ 42958 ในราคา 1,400,000 บาท อันเป็ นความเท็จ ความจริ ง
แล้วบุคคลทั้งสี่ ดงั กล่าวมิได้มีเจตนาซื้ อขายที่ดินกันจริ ง เป็ นเหตุให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดชลบุรี สาขาบาง
ละมุง หลงเชื่อว่าเป็ นความจริ ง จึงดาเนิ นการจดทะเบียนทานิติกรรมซื้ อขายที่ดินดังกล่าวในเอกสารสัญญา
ซื้ อขาย ที่ดิน และบันทึกในสารบัญจดทะเบียนในโฉนดที่ดินดังกล่าวอันเป็ นเอกสารมหาชนและ เอกสาร
ราชการ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่เมืองพัทยา ผูอ้ ื่นหรื อประชาชน จาเลยที่ 3 จึงมีความผิดฐาน
เป็ นผูใ้ ช้ให้ผอู้ ื่นกระทาความผิดฐานแจ้งให้เจ้าพนักงานผู้ กระทาการตามหน้าที่จดข้อความอันเป็ นเท็จลงใน
เอกสารมหาชนและเอกสารราชการตาม ป.อ. มาตรา 267 ประกอบมาตรา 84

เมื่อ ว. ซึ่งเป็ นเจ้าพนักงานจึงมีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 151 และเมื่อการกระทาของ ว. เป็ นความผิดตาม


มาตรา 151 อันเป็ นบทเฉพาะแล้ว ก็ไม่เป็ นความผิดตามมาตรา 157 ซึ่ งเป็ นบททัว่ ไปอีก ส่ วนจาเลยที่ 1 และ
ที่ 3 ไม่ใช่เจ้าพนักงานผูม้ ีอานาจหน้าที่ในการจัดซื้ อที่ดินของเมืองพัทยาด้วย จึงขาดคุณสมบัติเฉพาะตัวอัน
เป็ นองค์ประกอบความผิดตามมาตรา 151 แต่การกระทาของจาเลยที่ 1 และที่ 3 ก็เป็ นการช่วยเหลือหรื อให้
ความสะดวกในการกระทาความผิดดังกล่าวของ ว. จาเลยที่ 1 และที่ 3 จึงมีความผิดฐานเป็ นผูส้ นับสนุนเจ้า
พนักงานมีหน้าที่ซ้ื อทรัพย์ใช้อานาจใน ตาแหน่งโดยทุจริ ตตาม ป.อ. มาตรา 151 ประกอบด้วยมาตรา 86 อัน
เป็ นความผิดบทเฉพาะและไม่เป็ นความผิดตามมาตรา 157 ประกอบด้วยมาตรา 86 เป็ นบททัว่ ไป
เช่นเดียวกัน เมื่อการกระทาของจาเลยที่ 1 และที่ 3 ไม่เป็ นความผิดตามมาตรา 157 ประกอบมาตรา 86 จึงไม่
มีประโยชน์ที่จะต้องยกข้อกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่ องกับมาตรา 157 ประกอบมาตรา 86 ตามที่จาเลยที่ 1
และที่ 3 อ้างมาในฎีกาขึ้นวินิจฉัย

ความผิดฐานให้สินบนเจ้าพนักงานของจาเลยที่ 1 นั้น มีลกั ษณะเป็ นการยุยงส่ งเสริ มก่อให้ ว. ปลัดเมือง


พัทยากระทาความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ซ้ื อทรัพย์ใช้อานาจ ในตาแหน่งโดยทุจริ ตอยูใ่ นตัว แต่เมื่อ
ข้อเท็จจริ งได้ความตามทางพิจารณาว่า ในช่วงวันเวลาที่โจทก์ฟ้อง จาเลยที่ 1 ซึ่งเป็ นผูใ้ ห้สินบนหรื อเป็ นผูย้ ุ
ยงส่ งเสริ มให้ ว. ปลัดเมืองพัทยากระทาความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ซ้ื อทรัพย์ใช้อานาจ ในตาแหน่ง
โดยทุจริ ต ได้เป็ นตัวการร่ วมกับ ว. กับพวกกระทาการทุจริ ตคอร์ รัปชันในการจัดซื้ อที่ดินสาหรับใช้เป็ นที่ทิง้
ขยะ เมืองพัทยาอย่างเป็ นขบวนการโดยมีการช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน อันมีลกั ษณะเป็ นการแบ่งหน้าที่กนั
กระทามาแต่ตน้ จนกระทัง่ ความผิดสาเร็ จ เพียงแต่จาเลยที่ 1 ขาดคุณสมบัติการเป็ นเจ้าพนักงาน จึงรับโทษ
แค่เป็ นผูส้ นับสนุ นการกระทาความผิดของ ว. กับพวกดังกล่าว ดังนั้น ไม่วา่ จาเลยที่ 1 จะได้กระทาความผิด
ฐานให้สินบนแก่เจ้าพนักงานหรื อไม่ก็ตาม ความผิดฐานให้สินบนแก่เจ้าพนักงานของจาเลยที่ 1 ย่อมเกลื่อน
กลืนเป็ นการกระทาความผิดในกรรมเดียวกับความผิดฐานเป็ นผูส้ นับ สนุ นเจ้าพนักงาน (มีหน้าที่ซ้ื อทรัพย์)
ใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ตแล้ว ศาลฎีกาย่อมลงโทษจาเลยที่ 1 ฐานะเป็ นผูส้ นับสนุนเจ้าพนักงาน (มี
หน้าที่ซ้ื อทรัพย์) ใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ต ได้แต่เพียงบทเดียวเท่านั้น กรณี น้ ีไม่ใช่กรณี ที่จาเลยที่ 1
กระทาความผิดฐานให้สินบนแก่เจ้าพนักงานอันเป็ นบทเฉพาะเจาะจงแล้ว จึงไม่เป็ นความผิดฐานเป็ น
ผูส้ นับสนุนเจ้าพนักงาน (มีหน้าที่ซ้ื อทรัพย์) ใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริ ตอีก
การกระทาของจาเลยที่ 3 ตามคาฟ้ องข้อ (ข) (ง) และข้อ (ฉ) เป็ นการกระทาต่อผูเ้ สี ยหายต่างคนกันและเป็ น
เหตุการณ์คนละตอนกัน แม้จะอยูใ่ นแผนการทุจริ ตคอร์ รัปชันเดียวกัน ก็มีการกระทาหลายอย่างและแต่ละ
อย่างเป็ นความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติ การกระทาของจาเลยที่ 3 จึงเป็ นความผิดต่อกฎหมายหลายบททั้ง
ฐานใช้ให้ผอู ้ ื่นแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อ ความอันเป็ นเท็จ และฐานเป็ นผูส้ นับสนุ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ซ้ื อ
ทรัพย์ใช้อานาจในตาแหน่งโดย ทุจริ ตตามคาฟ้ องข้อ (ง) (ฉ) และ (ข)

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4814/2545
การกระทาอันก่อให้เกิดหนี้ตามคาฟ้ องเป็ นการกระทาความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 ซึ่งมี
อายุความ 20 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 95(1) เมื่อการกระทาตามที่โจทก์ฟ้องไม่มีผใู ้ ดฟ้ องทาง
อาญา สิ ทธิ ของโจทก์ซ่ ึ งเป็ นผูเ้ สี ยหายที่จะฟ้ องทางแพ่งเนื่ องจากความผิดนั้นย่อม ระงับไปตามกาหนดเวลา
ดังที่กฎหมายอาญาบัญญัติไว้ในเรื่ องอายุความฟ้ องคดีอาญา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 51 วรรคหนึ่ง หากข้อเท็จจริ งฟังไม่ได้วา่ จาเลยกระทาผิดอาญา อายุความก็ตอ้ งบังคับตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์โดยศาลแรงงานกลางต้องฟัง ข้อเท็จจริ งว่าจาเลยกระทาผิดอาญาหรื อไม่จาก
พยานหลักฐานของโจทก์จาเลย แต่คดีน้ ียงั ไม่มีการสื บพยานหลักฐานของคู่ความ การที่ศาลแรงงานกลาง
พิพากษายกฟ้ องโจทก์โดยให้เหตุผลว่าคดีของโจทก์ขาดอายุ ความเพราะนาคดีมาฟ้ องเมื่อเกิน 10 ปี แล้ว จึง
ไม่ชอบ

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 153/2545
การทางพิเศษแห่งประเทศไทยมีการตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของพนักงานเก็บเงินทุกคน โดยให้พนักงาน
เก็บเงินกดแป้ นพิมพ์เครื่ องคอมพิวเตอร์ ตามประเภทของรถที่ผา่ น และประเภทของการจ่ายเงิน หากไม่กดจะ
ไม่มีจานวนเงินปรากฏในเครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่เครื่ องตรวจจับที่ พื้นถนนจะเป็ นตัวฟ้ องว่ามีรถผ่านโดยมี
เสี ยงสัญญาณดังขึ้น และพนักงานควบคุมจะทราบเพราะเครื่ องทางานไม่ครบวงจร ดังนั้น การที่จาเลยรับเงิน
จากรถที่วงิ่ ผ่านทางด่วนแล้วไม่กดแป้ นพิมพ์เครื่ อง คอมพิวเตอร์ หรื อกดแป้ นพิมพ์แล้วเครื่ องคอมพิวเตอร์
ไม่ทางานตามที่จาเลยกล่าวอ้าง เครื่ องตรวจจับที่พ้นื ถนนจะตรวจนับจานวนรถที่วงิ่ ผ่านเอง แต่เมื่อนาข้อมูล
ดังกล่าวมาเปรี ยบเทียบกันแล้วปรากฏว่าจาเลยส่ งเงินขาดจานวน 8 ครั้ง เป็ นเงิน 153,700 บาท แม้วา่ จะไม่มี
พยานบุคคลมายืนยันว่าจาเลยเบียดบังเงินค่าผ่านทาง แต่เมื่อจาเลยซึ่ งเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่รักษาเงินโดย
ชอบแม้จะเป็ นระยะ เวลาอันสั้น รวมทั้งเป็ นผูร้ ับเงินและรวบรวมนาส่ งต่อไปอันถือว่าเป็ นการจัดการทรัพย์
ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 ได้รับเงินค่าผ่านทางมาแล้วและไม่ส่งเงินให้ครบ จึงถือว่าเป็ นการ
เบียดบังเอาทรัพย์น้ นั เป็ นของตนโดยทุจริ ตแล้ว ที่จาเลยอ้างว่าจานวนเงินตามใบส่ งตรงกับต้นขั้ว
ใบเสร็ จรับเงินอันเป็ นสิ่ ง แสดงว่าจาเลยมิได้ทุจริ ตนั้นก็เป็ นเรื่ องที่จาเลยได้รับใบเสร็ จรับเงินมา เพื่อจ่าย
ให้แก่รถที่ใช้ทางด่วนทุกคัน หากผูใ้ ช้ทางด่วนไม่ตอ้ งการใบเสร็ จรับเงิน จาเลยต้องฉี กใบเสร็ จรับเงินนั้น
ด้วย แต่ในกรณี ของจาเลยปรากฏว่าจานวนรถที่วงิ่ ผ่านมาปริ มาณมากกว่าจานวนใบเสร็ จ รับเงินที่จาเลยฉี ก
แสดงว่าจาเลยรับเงินมามากกว่าจานวนใบเสร็ จรับเงินที่ จาเลยฉี กออกไป ฉะนั้น แม้จานวนเงินที่จาเลยส่ งจะ
ตรงกับจานวนใบเสร็ จรับเงินก็มิได้เป็ นการยืนยัน ว่าจาเลยไม่ได้ทุจริ ตแต่อย่างใด

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1749/2545
พฤติการณ์ที่จาเลยจับกุมผูเ้ สี ยหายในข้อหาลักทรัพย์ของ ส. แล้วให้ผเู้ สี ยหายลงลายมือชื่อในบันทึกการ
จับกุม จากนั้นนาผูเ้ สี ยหายไปควบคุมไว้ที่สถานีตารวจประมาณ30 นาที จึงเรี ยกร้องเอาเงินจากผูเ้ สี ยหายเพื่อ
แลกเปลี่ยนกับการปล่อยตัวไม่ดาเนิน คดีโดยนาผูเ้ สี ยหายออกมาโทรศัพท์หา ก. ภริ ยาผูเ้ สี ยหาย ต่อมาเมื่อ
จาเลยได้รับเงิน3,000 บาท จากผูเ้ สี ยหายแล้ว จึงปล่อยผูเ้ สี ยหายไปนั้น เป็ นกรณี ไม่กระทาการในตาแหน่ง
โดยมิชอบด้วยหน้าที่ จาเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 149

เมื่อการกระทาของจาเลยเป็ นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149ซึ่ งเป็ นบทเฉพาะแล้ว ย่อมไม่มี


ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ซึ่ งเป็ นบททัว่ ไปอีก แม้วา่ การกระทาของจาเลยจะเข้า
หลักเกณฑ์อนั เป็ นองค์ประกอบความผิดตามมาตรา 157 ด้วยก็ตาม

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3470/2543
จาเลยทั้งสามร่ วมกันขู่เข็ญเรี ยกร้องเอาเงินจากผูเ้ สี ยหาย เพื่อที่จะละเว้นไม่จบั กุมผูเ้ สี ยหายไปดาเนินคดี จน
ผูเ้ สี ยหายกลัวว่าจะถูกจับกุมอันจะเป็ นอันตรายต่อเสรี ภาพของตน จึงยอมจะให้เงินแก่จาเลยทั้งสามนั้นเป็ น
ความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิ หรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ตตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 157 ซึ่งเป็ นบททัว่ ไปและฐานกรรโชกตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 337 วรรคแรก ด้วย หาใช่
เป็ นเรื่ องที่เมื่อเป็ นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 แล้วจะ ไม่เป็ นความผิดตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 157 และมาตรา 337 ด้วยไม่ เพียงแต่เมื่อเป็ นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 149ซึ่งเป็ นบทเฉพาะแล้วก็ไม่จาต้องปรับบทตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157 ซึ่ งเป็ นบททัว่ ไป
อีกเท่านั้น
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1532/2543
จาเลยเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่รับคาขอต่าง ๆ เกี่ยวกับการจดทะเบียนสิ ทธิ และนิติกรรมที่ดินทุกประเภท
รวมทั้งงานในด้านเกี่ยวกับการเงินและบัญชี โดยมีหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องการกรอกข้อความใน
เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องของหนังสื อแสดงสิ ทธิ ในที่ดิน แล้วนาเสนอผูบ้ งั คับบัญชาตามลาดับชั้น ทั้งได้
ปฏิบตั ิหน้าที่ดงั กล่าวมาก่อนเกิดเหตุนานประมาณ 7 ปี จาเลยย่อมทราบและคานวณค่าใช้จ่ายในการจด
ทะเบียนที่ดินในพื้นที่ที่อยูใ่ น ความรับผิดชอบเป็ นอย่างดี การที่จาเลยเรี ยกหรื อรับเงินจานวน 7,800 บาท ไว้
แล้วนิ่งเฉยเสี ย แสดงโดยชัดแจ้งว่าจาเลยมีเจตนาเรี ยกหรื อรับเอาเงินส่ วนที่เกินไว้สาหรับตน เองโดยมิชอบ
เพื่อกระทาการในตาแหน่ง จึงเป็ นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149

จาเลยพร้อมที่จะเสนอเรื่ องราวขอจดทะเบียนขายที่ดินระหว่าง น. กับ ส. ต่อเจ้าหน้าที่บริ หารงานที่ดินเพื่อ


ดาเนินการต่อไปตามอานาจหน้าที่ แต่จาเลยกลับละเว้นไม่ดาเนินการนับแต่วนั ดังกล่าวเป็ นต้นมา ดังนั้น ใน
ความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหรื อละเว้นปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา
157 จึงเป็ นความผิดกรรมเดียวกับความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานเรี ยกรับหรื อยอมจะรับ ทรัพย์สินสาหรับ
ตนเองโดยมิชอบเพื่อกระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่ง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
149 เมื่อปรับบทลงโทษจาเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 อันเป็ นบทเฉพาะแล้ว จึงไม่จาต้อง
ปรับบทลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 อันเป็ นบททัว่ ไปอีก

เมื่อจาเลยได้กรอกข้อความลงในใบแทนหนังสื อรับรองการทาประโยชน์(น.ส.3) ตามความเป็ นจริ ง ตรงตาม


เจตนาของผูซ้ ้ื อผูข้ ายที่ดินทุกประการ และตราประทับของกระทรวงมหาดไทยก็ถูกต้อง เพียงแต่ยงั ไม่มี
ลายมือชื่อ นายอาเภอและยังมิได้ลงวันที่และเดือนที่ออกใบแทนฯ เท่านั้น เอกสารดังกล่าว จึงมิใช่เอกสารที่
จาเลยจัดทาขึ้นโดยมีเจตนาจะลอกเลียนแบบหรื อปลอมเอกสาร ต้นฉบับ ๆ หนึ่งฉบับใด เป็ นเพียงแต่
เอกสารยังลงรายการไม่ครบถ้วนบริ บูรณ์ ตามระเบียบของทางราชการเท่านั้น และการที่นายอาเภอในฐานะ
เป็ น เจ้าพนักงานที่ดินยังมิได้ลงชื่อรับรองเอกสารกับการที่ยงั มิได้ลงวันเดือนปี ที่ออกเอกสาร ก็ไม่มีเหตุที่
จะทาให้ผพู ้ บเห็นเอกสารจะหลงเชื่อว่าเป็ น เอกสารที่ถูกต้องแท้จริ งที่ทางราชการออกให้ไปได้ การกระทา
ของจาเลย ไม่ครบองค์ประกอบความผิดฐานปลอมเอกสารจึงไม่เป็ นความผิดฐาน ปลอมเอกสารสิ ทธิ อนั
เป็ นเอกสารราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 161 ประกอบด้วยมาตรา 266(1)

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3865/2542
จาเลยเป็ นเจ้าพนักงานป่ าไม้ทอ้ งที่เกิดเหตุโดยหน้าที่ราชการจะต้องมีความละเอียด รอบคอบในการพิจารณา
คาขอและตรวจสอบที่ดินของผูย้ นื่ คาขอเสี ยก่อน สภาพที่ดินเป็ นทุ่งนาไม่มีตน้ ไม้ ส่ วนตอไม้ที่พบนั้นอยูใ่ น
ที่ดินที่มีหลักฐานเป็ นใบจอง เจ้าของที่ดินก็ไม่เคยยืน่ คาขอนาไม้ ถ้าจาเลยตรวจสอบและเรี ยกเจ้าของที่ดินที่
ถูกอ้างว่าเป็ นผูย้ นื่ คาขอนาไม้ มาสอบถามก็จะทราบความจริ งว่าคาขอนั้นเป็ นเท็จและจาเลยก็ไม่เคย
สอบถามคณะ กรรมการการตรวจสอบไม้วา่ ผูย้ นื่ คาขอมีกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินโดยแท้จริ งหรื อไม่ การกระทา
ของจาเลยจึงเป็ นการกระทาอันมิชอบด้วยหน้าที่ของเจ้าพนักงานป่ าไม้

ทางราชการกรมป่ าไม้ กรมที่ดิน และกระทรวงมหาดไทย ได้ตราระเบียบแบบแผนในการปฏิบตั ิราชการเพื่อ


ป้ องกันการลักลอบตัดไม้แล้วนามา สวมรอยอ้างว่าเป็ นไม้ที่เจ้าพนักงานได้ตรวจและอนุญาตให้ตดั การที่
จาเลยซึ่งเป็ นเจ้าพนักงานป่ าไม้กระทาหรื อยอมให้นอ้ งชายจาเลยนาดวงตรา ประทับไม้ประจาตัวจาเลยไป
กระทาการตีรอยตราดังกล่าว เป็ นการกระทาอันมิชอบด้วยหน้าที่จาเลยย่อมเล็งเห็นผลเสี ยหายของการ
กระทานั้น ได้ และเมื่อเกิดความเสี ยหายขึ้นแล้ว จาเลยจะอ้างว่ากระทาไปโดยสุ จริ ตหรื อกระทาไปโดย
ความสาคัญผิดหาได้ไม่

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5133/2541
ความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 และ 161 เป็ นความผิดคนละอย่างที่มีองค์ประกอบ
ความผิด แตกต่างกัน ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 จึงมิใช่เป็ นความผิดตามบททัว่ ไปของ
บทเฉพาะตามมาตรา 161 จาเลยที่ 2 เป็ นผูม้ าติดต่อพาคนไปให้จาเลยที่ 1ซึ่งเป็ นเจ้าพนักงานทาบัตร
ประจาตัวประชาชนปลอม โดยให้ค่าตอบแทนแก่จาเลยที่ 1 จาเลยที่ 2 จึงมี ความผิดฐานเป็ นผูส้ นับสนุนการ
ปลอมเอกสารราชการ และฐานสนับสนุนจาเลยที่ 1 ซึ่งเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหน้าที่ โดยมิชอบและโดย
ทุจริ ตตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157,161,265ประกอบมาตรา 86

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2823/2541
จาเลยเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ทาเอกสารกรอกข้อความลงในเอกสาร ดูแลรักษาเอกสารเกี่ยวกับการเงินและ
บัญชี ควบคุมดูแลเงินและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเงินทุกประเภทของโรงเรี ยน พ.จาเลยได้กรอกข้อความ
และลงลายมือชื่อของข้าราชการหลายคนในสัญญารับรองการยืม เงินว่า บุคคลเหล่านั้นยืมเงินค่าวัสดุ
อุปกรณ์และค่าใช้จ่ายในกิจการของโรงเรี ยนอัน เป็ นความเท็จ และปลอมลายมือชื่อของผูอ้ านวยการ
โรงเรี ยนกับพวกเป็ นผูอ้ นุมตั ิให้ยมื เงิน อีกทั้งปลอมสัญญารับรองการยืมเงินของบุคคลดังกล่าวโดยเพิ่มเติม
ข้อความหรื อ แก้ไขตัวเลขให้สูงขึ้น แล้วเบียดบังเงินส่ วนนั้นไปเป็ นของตนโดยทุจริ ต จาเลยจึงมีความผิด
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 161 และ 147 แต่การที่จาเลยปลอมและใช้เอกสารปลอมก็โดยมีเจตนาที่
จะใช้เป็ นหลักฐานในการ เบียดบังเงินเป็ นของตนการที่จาเลยเบียดบังเงินแต่ละครั้งจึงเป็ นกรรมเดียว เป็ น
ความผิดต่อกฎหมายหลายบท ต้องลงโทษตามมาตรา 147อันเป็ นบทหนักที่สุดตามมาตรา 90 จาเลยกระทา
ความผิดรวม 36 กระทง เท่านั้นแต่การที่ศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยว่าการกระทา ของจาเลยในความผิดตาม
มาตรา 147 และมาตรา 161 เป็ นความผิดหลายกรรมและพิพากษาลงโทษจาเลย ตามมาตรา 147 รวม 36
กระทงกับมาตรา 161 รวม 36 กระทงนั้นไม่ถูกต้อง เป็ นปั ญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อย แม้
ไม่มีคู่ความฝ่ ายใดฎีกาศาลฎีกาก็มีอานาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเองและแก้ไข ให้ถูกต้องได้ ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 195 วรรคสองประกอบมาตรา 225

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6154/2540

ใบเสร็ จรับเงินค่าเช่าบ้านเป็ นหลักฐานแห่งการระงับซึ่ งสิ ทธิ ของผูใ้ ห้เช่าจึงเป็ นเอกสารสิ ทธิ ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 1(9)

จาเลยนาใบเสร็ จรับเงินค่าเช่าบ้านที่จาเลยปลอมขึ้นและเป็ นเอกสารเท็จยืน่ ประกอบแบบใบขอเบิกเงินค่า


เช่าบ้านเพื่อเบิกเงินค่าเช่าบ้าน และจาเลยได้รับเงินค่าเช่าบ้านจากคลังจังหวัดชุมพรไป การกระทาของจาเลย
จึงเป็ นการกระทาโดยทุจริ ตหลอกลวงผูอ้ ื่นด้วยการแสดงข้อความ อันเป็ นเท็จเพื่อให้เจ้าหน้าที่สานักงาน
ตรวจเงินแผ่นดินเขตและเจ้าหน้าที่ สานักงานคลังจังหวัดชุมพรหลงเชื่อว่าจาเลยได้เช่าบ้านตาม
ใบเสร็ จรับเงินดัง กล่าวจริ ง และโดยการหลอกลวงดังกล่าวทาให้เจ้าหน้าที่สานักงานตรวจเงินแผ่นดินเขต
และ เจ้าหน้าที่สานักงานคลังจังหวัดชุมพรหลงเชื่ อและทาให้จาเลยได้รับเงินค่า เช่าบ้านตามที่จาเลยขอ
เบิกจ่ายไปจากเจ้าหน้าที่สานักงานคลังจังหวัดชุมพร อันน่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดชุมพร
เจ้าหน้าที่คลังจังหวัดชุมพร ก. และกรมส่ งเสริ มสหกรณ์ การกระทาของจาเลยดังกล่าวจึงเป็ นความผิดฐาน
ฉ้อโกงตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 และฐานใช้เอกสารสิ ทธิปลอมตาม มาตรา 268

จาเลยกระทาความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่รับเอกสารและกรอกข้อความลงใน เอกสารรับรองเป็ น


หลักฐานซึ่ งข้อเท็จจริ งอันเอกสารนั้นมุ่งพิสูจน์ความจริ ง อันเป็ นความเท็จ ซึ่ งเป็ นความผิดตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 162(4)และฐานเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสี ยหาย แก่ผู ้
หนึ่งผูใ้ ดและโดยทุจริ ตตามมาตรา 157 เมื่อเป็ นความผิดตามมาตรา 162(4)ซึ่ งเป็ นบทเฉพาะแล้วจึงไม่ปรับ
บทลงโทษตามมาตรา 157 อีก
การที่จาเลยซึ่ งดารงตาแหน่งสหกรณ์จงั หวัดชุมพรซึ่ งเป็ นหัวหน้าส่ วนราชการของ สานักงานสหกรณ์
จังหวัดชุมพร ได้รับมอบหมายจากผูว้ า่ ราชการจังหวัดชุมพรให้ทาการแทนผูว้ า่ ราชการจังหวัด ชุมพรในการ
อนุมตั ิให้เบิกจ่ายค่าเช่าบ้านของข้าราชการและลูกจ้างในสานักงาน สหกรณ์จงั หวัดชุมพร ได้ทาการอนุมตั ิ
ให้เบิกจ่ายค่าเช่าบ้านตามใบเสร็ จรับเงินในแบบใบขอเบิกเงิน ค่าเช่าบ้านโดยรู ้อยูแ่ ล้วว่าเอกสารใบขอเบิก
เงินค่าเช่าบ้านและใบเสร็ จรับ เงินค่าเช่าบ้านเป็ นเอกสารปลอม และมีขอ้ ความเท็จโดยจาเลยได้ลงลายมือชื่อ
อนุมตั ิให้เบิกจ่ายค่าเช่าบ้านได้ จึงเป็ นความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความ
เสี ยหายแก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ดและโดยทุจริ ตอันเป็ นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157

ตามเอกสารพิพาทเป็ นเอกสารของจาเลยที่จาเลยนาเงินส่ วนที่เบิกเกินไปคืนแก่ทาง ราชการและตาม


ใบเสร็ จรับเงินของกรมส่ งเสริ มสหกรณ์ที่ได้รับเงินจากจาเลยไม่ ปรากฏว่าได้มีการตกลงหรื อ
ประนีประนอมยอมความกันในความผิดฐานฉ้อโกงและลาพัง การที่จาเลยส่ งเงินส่ วนที่จาเลยเบิกเกินคืน
กรมส่ งเสริ มสหกรณ์และกรมส่ งเสริ ม สหกรณ์รับไว้ ก็เพียงแต่ทาให้จาเลยพ้นความรับผิดทางแพ่งเท่านั้นไม่
ทาให้จาเลยพ้นความรับ ผิดทางอาญา และยังถือไม่ได้วา่ เป็ นการยอมความกันอันจะทาให้สิทธิ ของโจทก์ที่
จะนาคดีอาญา มาฟ้ องในความผิดฐานฉ้อโกงเป็ นอันระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 39(2) โจทก์จึงมีอานาจฟ้ องในความผิดฐานฉ้อโกง และในความผิดฐานอื่น

การที่จาเลยปลอมใบเสร็ จรับเงินค่าเช่าบ้านอันเป็ นเอกสารสิ ทธิ ซ่ ึ งเป็ นความ ผิดตามประมวลกฎหมายอาญา


มาตรา 265 นั้น จาเลยกระทาความผิดต่างกรรมต่างวาระกัน จึงเป็ นความผิดหลายกรรมต่างกัน และการที่
จาเลยได้นาแบบคาขอเบิกเงินค่าเช่าบ้านและใบเสร็ จรับเงินค่าเช่า บ้านอันเป็ นเอกสารสิ ทธิ ที่จาเลยทาปลอม
ขึ้นดังกล่าวซึ่ งมีขอ้ ความเท็จเสนอต่อ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดชุ มพร เพื่อให้เจ้าหน้าที่สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน
เขตและเจ้าหน้าที่สานักงานคลัง จังหวัดชุมพรหลงเชื่อว่าจาเลยได้เช่าบ้านตามใบเสร็ จรับเงินดังกล่าวจริ ง
และ โดยการหลอกลวงทาให้เจ้าหน้าที่ตรวจเงินแผ่นดินเขตและเจ้าหน้าที่สานักงาน คลังจังหวัดชุมพร
หลงเชื่อและทาให้จาเลยได้รับเงินตามที่ขอเบิกจ่ายไปจากเจ้า หน้าที่สานักงานคลังจังหวัดชุมพรอันเป็ น
ความผิดตามมาตรา 341 และมาตรา 268 และการที่จาเลยซึ่งเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่กรอกข้อความรับรองคา
ขอเบิกเงิน ค่าเช่าบ้านได้รับรองเป็ นหลักฐานซึ่ งข้อเท็จจริ งอันเอกสารนั้นมุ่งพิสูจน์ ความจริ งอันเป็ นความ
เท็จ อันเป็ นความผิดตามมาตรา 162(4) และการที่จาเลยในฐานะที่ดารงตาแหน่งสหกรณ์จงั หวัดชุมพรซึ่ ง
เป็ นหัวหน้าสานัก งานสหกรณ์จงั หวัดชุมพรได้รับมอบหมายจากผูว้ า่ ราชการจังหวัดชุ มพรในการ อนุมตั ิ
การเบิกจ่ายเงินค่าเช่าบ้านแทนผูว้ า่ ราชการจังหวัดชุมพรได้ลงลายมือ ชื่ออนุมตั ิการเบิกจ่ายค่าเช่าบ้านของ
จาเลยในแบบคาขอเบิกเงินค่าเช่าบ้านตาม ใบเสร็ จรับเงินค่าเช่าบ้านที่จาเลยปลอมขึ้นและมีขอ้ ความอันเป็ น
เท็จ อันเป็ นความผิดตามมาตรา 157 นั้นเป็ นการกระทาคนละครั้งคนละคราวกัน แต่การที่จาเลยปลอม
ใบเสร็ จรับเงินค่าเช่าบ้าน นาใบเสร็ จดังกล่าวไปใช้ประกอบการยืน่ คาขอเบิกเงินค่าเช่าบ้าน ลงลายมือชื่อ
รับรองการเบิกเงินค่าเช่าบ้านรวมทั้งลงลายมือชื่ออนุมตั ิการ เบิกจ่ายเงินค่าเช่าบ้านในแต่ละเดือนดังกล่าวนั้น
แม้จะเป็ นการกระทาต่างกรรมต่างวาระกัน แต่ก็เป็ นการกระทาโดยมีเจตนาและจุดประสงค์ในผลอัน
เดียวกัน คือมุ่งที่จะได้รับเงินค่าเช่าบ้าน การกระทาดังกล่าวตั้งแต่ปลอมใบเสร็ จรับเงินค่าเช่าบ้านจนถึงการ
อนุมตั ิให้ เบิกจ่ายค่าเช่าบ้านจึงเป็ นกระบวนการเดียวกันเพื่อให้ได้มาซึ่ งค่าเช่าบ้าน ตามที่จาเลยประสงค์และ
เป็ นการกระทาที่ต่อเนื่ องกัน จึงถือได้วา่ เป็ นการกระทาอันเป็ นกรรมเดียวกันในแต่ละเดือนแต่ละคาขอ ตาม
มาตรา 90เมื่อจาเลยกระทาการดังกล่าวรวม 12 เดือน เดือนละหนึ่งครั้งรวม 12 ครั้ง จึงถือได้วา่ จาเลยกระทา
การอันเป็ นความผิดหลายกรรมต่างกันตามประมวลกฎหมาย อาญามาตรา 91 และในแต่ละกรรมต้องลงโทษ
ในบทกฎหมายที่มีโทษหนักที่สุดคือตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 157

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 7776/2540
จาเลย ที่ 1 เป็ นปลัดสุ ขาภิบาลได้รับคาสั่งแต่งตั้งจากสุ ขาภิบาลให้เป็ นผูต้ รวจงานจ้างใน การจ้างเหมาขุด
ลอกและล้างทางระบายน้ าในเขตสุ ขาภิบาล จาเลยที่ 1 ได้เข้าดาเนินการขุดลอกและล้างทางระบายน้ าโดยใช้
คนงานของสุ ขาภิบาลทางานให้ จาเลยที่ 1 เป็ นผูม้ ีหน้าที่จดั การและดูแลกิจการของสุ ขาภิบาล เมื่อจาเลยที่ 1
เข้ามีส่วนได้เสี ยเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองและผูอ้ ื่นเนื่ องด้วยกิจการดัง กล่าวโดยจ่ายค่าจ้างคนงานเพียง
1,750 บาท แต่เบิกเงินค่าจ้างตามสัญญาไป 2,900 บาท เป็ นเหตุให้สุขาภิบาลได้รับความเสี ยหาย การกระทา
ของจาเลยที่ 1จึงเป็ นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 152,157อันเป็ นการกระทากรรมเดียวผิด
กฎหมายหลายบท ต้องลงโทษตามมาตรา 152 ซึ่ งเป็ นบทหนัก จาเลยทั้งสี่ ซ่ ึ งเป็ นคณะกรรมการตรวจการจ้าง
ทาหลักฐานใบตรวจรับงานจ้างเสนอ ประธานกรรมการสุ ขาภิบาลว่าผูร้ ับจ้างได้ก่อสร้างถนนลาดยางแบบ 2
ชั้น เสร็ จเรี ยบร้อยและถูกต้องตามสัญญาแล้ว เห็นควรเบิกจ่ายเงินค่าจ้างให้แก่ผรู ้ ับจ้าง ทั้ง ๆ ที่จาเลยทั้งสี่
ไม่ได้ตรวจสอบการทางานของผูร้ ับจ้าง จึงเป็ นการไม่ปฏิบตั ิตามอานาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอันเป็ นการ
ผิดระเบียบ กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น พ.ศ. 2528แม้วา่
การตรวจการก่อสร้างถนนลาดยางจะต้องอาศัยผูม้ ีความรู ้เป็ นพิเศษ เนื่ องจากมองดูดว้ ยตาจะไม่สามารถรู ้ได้
ว่ามีการลาดยาง 1 ชั้น หรื อ 2 ชั้น แต่ถา้ จาเลยทั้งสี่ ออกไปควบคุมดูแลและเอาใจใส่ ในการตรวจสอบตาม
ขั้นตอนก็ยอ่ ม สามารถให้ผรู ้ ับจ้างปฏิบตั ิให้ถูกต้องครบถ้วนตามสัญญาและแบบแปลนได้ การที่ปล่อยให้ผู ้
รับจ้างก่อสร้างถนนโดยลาดยางเพียงชั้นเดียว เป็ นการละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบเป็ นเหตุให้
สุ ขาภิบาลอนุมตั ิให้จ่าย ค่าจ้างแก่ผรู ้ ับจ้างไปมากกว่าปริ มาณของงาน ที่ได้รับ จาเลยทั้งสี่ จึงมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 929/2537
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 139 บัญญัติให้พนักงานสอบสวนบันทึกการสอบสวนตาม
หลักทัว่ ไปในประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาอันว่าด้วยการสอบสวนและให้เอาบันทึกเอกสารอื่น
ซึ่ งได้มา อีกทั้งบันทึกและเอกสารทั้งหลายซึ่ งเจ้าพนักงานอื่นผูส้ อบสวนคดีเดียวกัน นั้นส่ งมารวมเข้า
สานวนไว้จาเลยที่ 1 ซึ่ งเป็ นพนักงานสอบสวนจะอ้างว่าได้ทาบันทึกคาให้การของผูต้ อ้ งหาและผูก้ ล่าว หา
ใหม่แล้วของเดิมไม่สาคัญ หรื อผูใ้ ห้ถอ้ ยคาไม่ประสงค์จะใช้ของเดิมจึงไม่นาเข้ารวมสานวนไว้หาได้ไม่ การ
ที่จาเลยที่ 1 เอาไปเสี ยซึ่ งคาให้การฉบับเดิมของผูต้ อ้ งหาและผูก้ ล่าวหาซึ่ งจาเลยที่ 1 มีหน้าที่ปกครองดูแล
รักษาไว้ อันเป็ นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 158 นั้น ก็โดยเจตนาเพื่อช่วยเหลือผูต้ อ้ งหามิให้
ต้องโทษ ซึ่ งเป็ นการกระทาการในตาแหน่งพนักงานสอบสวนโดยมิชอบอันเป็ นความผิด ตาม ประมวล
กฎหมายอาญามาตรา 157,200 วรรคแรกด้วย การกระทาของจาเลยที่ 1 จึงเป็ นความผิดกรรมเดียวกัน

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3194/2536
จาเลย ที่ 2 ที่ 3 เป็ นข้าราชการครู ได้รับแต่งตั้ง ให้เป็ นกรรมการสอบสัมภาษณ์ในการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ
บุคคลเข้ารับราชการครู ตามคาสั่งของสานักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ ย่อมถือว่าเป็ นเจ้าพนัก
ในการสอบครั้งนี้แม้จะเป็ นเพียงกรรมการสอบสัมภาษณ์ก็ ตาม หน้าที่ในการสอบย่อมคลุมถึงการสอบ
ตั้งแต่วนั ที่ได้รับทราบคาสั่งแต่งตั้งจน ถึงการสอบเสร็ จสิ้ น หาใช่เป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าที่เฉพาะในช่วงการ
สอบสัมภาษณ์ เท่านั้นไม่ เมื่อจาเลยที่ 2 ที่ 3มีเจตนาทุจริ ตร่ วมกันนาเข้าสอบซึ่ งเป็ นความลับของทางราชการ
ไปเปิ ดเผยให้ บ. กับพวกรู ้ก่อนเข้าสอบ จึงเป็ นความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ตและฐาน
เป็ นเจ้า พนักงานกระทาโดยมิชอบด้วยหน้าที่ให้ผอู ้ ื่นล่วงรู ้ความลับในราชการ และจาเลยที่ 4 ที่ 5 ซึ่งเป็ น
ข้าราชการครู ซ่ ึ งเป็ นผูร้ ่ วมกระทาผิดแต่มิได้เป็ นกรรมการสอบมีความ ผิดฐานเป็ นผูส้ นับสนุนจาเลยที่ 2 ที่ 3

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2719 - 2720/2536


จาเลยเป็ นพนักงานการท่าเรื อแห่งประเทศไทยเป็ นเจ้าพนักงานตามกฎหมายโดยเป็ นเสมียน ตรวจปล่อย
สิ นค้าประจาโรงพักสิ นค้าของการท่าเรื อแห่งประเทศไทยเป็ นผูต้ รวจสอบ สิ นค้าในรถยนต์บรรทุกและเขียน
ใบกากับสิ นค้าตามที่เจ้าหน้าที่ศุลกากรสั่ง ปล่อย ย่อมเป็ นเจ้าพนักงานผูม้ ีหน้าที่จ่ายทรัพย์หรื อสิ นค้าตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 153

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1706/2535
ผูท้ ี่จะมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 152 จะต้องเป็ นเจ้าพนักงานผูม้ ีหน้าที่จดั การหรื อดูแล
กิจการใดเข้ามีส่วนได้ เสี ยเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่นเนื่ องด้วยกิจการนั้น เมื่อปรากฏว่าในการ
จัดซื้ อดินถมพร้อมบดอัดแน่นจากห้างหุ น้ ส่ วนจากัด ช. นั้น เทศบาลได้ดาเนินการถูกต้องตามระเบียบของ
ทางราชการและราคาที่ตกลงซื้ อก็ต่า กว่าราคาที่เทศบาลตั้งงบประมาณไว้ แสดงว่าการจัดซื้ อดินดังกล่าว
จาเลยที่ 1 ในฐานะนายกเทศมนตรี ได้กระทาไปตามอานาจหน้าที่ของตนไม่ได้มุ่งหวังประโยชน์ ของ
เทศบาลเป็ นสาคัญ แม้จาเลยที่ 1 จะเป็ นหุ น้ ส่ วนประเภทจากัดความรับผิดของห้างหุ น้ ส่ วนจากัด ช. ก็ตาม
กรณี ก็ยงั ถือไม่ได้วา่ จาเลยที่ 1 เข้ามีส่วนได้เสี ยเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่นเนื่องด้วยการทาสัญญา
ซื้ อขายดังกล่าว จาเลยที่ 1 จึงไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 152 เมื่อจาเลยที่ 1 ไม่มี
ความผิด จาเลยที่ 2ซึ่ งเป็ นหุ น้ ส่ วนผูจ้ ดั การของห้างหุ น้ ส่ วนจากัด ช.ก็ไม่มีความผิดฐานเป็ นผูส้ นับสนุน

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6525/2534
โจทก์ กับ ป. มีขอ้ พิพาทเกี่ยวกับการเช่านาพิพาทของโจทก์คณะกรรมการการเช่าที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม
ประจาจังหวัดได้พิจารณาและมีมติให้ ป. ทานาของโจทก์ต่อไป โจทก์อุทธรณ์มติดงั กล่าวโดยส่ งอุทธรณ์ไป
ทางไปรษณี ยต์ อบรับให้แก่จาเลยซึ่ ง เป็ นกานันตาบลและประธานคณะกรรมการการเช่าที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรมประจาตาบลผู ้ มีหน้าที่รับอุทธรณ์ดงั กล่าว ส. บุตรจาเลยเป็ นผูล้ งลายมือชื่อรับอุทธรณ์ของ
โจทก์ จาเลยมิได้เป็ นผูร้ ับไว้และไม่ได้อยูบ่ า้ นไม่ปรากฏว่าจาเลยได้กระทาให้เสี ย หาย ทาลาย ซ่อนเร้น เอา
ไปเสี ยหรื อทาให้สูญหายหรื อทาให้ไร้ประโยชน์ซ่ ึงอุทธรณ์ของโจทก์หรื อ ยินยอมให้ผอู ้ ื่นกระทาเช่นนั้นแต่
อย่างใดจะลงโทษจาเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 158 ไม่ได้

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 983/2508
การที่จะเป็ นความผิดตามมาตรา 291 ต้องเป็ นการกระทาโดยประมาทและการกระทาโดยประมาทนั้นต้อง
เป็ นผลโดยตรงให้เกิด ความตาย และการกระทาตามมาตรานี้ไม่รวมถึงการละเว้น เพราะกรณี ใดกฎหมาย
ต้องการลงโทษการละเว้น ก็ได้บญั ญัติไว้โดยเฉพาะ เช่นมาตรา 154,157,162
จาเลยที่ 1 ทาหน้าที่แทนนายสถานี มีอานาจใช้ จาเลยที่ 2 ซึ่งเป็ นคนการสับเปลี่ยนหัวประแจ เมื่อใช้แล้ว
จาเลยที่ 1 ไม่ได้กระทาอะไรเกี่ยวข้องกับหัวประแจนั้นเลย จาเลยที่ 2 เปลี่ยนแล้วไม่สับกลับคืนรางเดิมเป็ น
เหตุให้รถชนกันจนมีคนตาย เช่นนี้ การที่จาเลยที่1 ไม่ไปตรวจหัวประแจก่อนที่รถจะมาถึง ก็เป็ นเพียงละเว้น
ไม่ปฏิบตั ิตามข้อบังคับ เป็ นคนละเรื่ องกับการกระทาโดยประมาท ผลโดยตรงที่ทาให้รถชนกัน อยูท่ ี่การ
เปลี่ยนหัวประแจแล้วไม่สับกลับ ซึ่ งเป็ นการกระทาของจาเลยที่ 2 ผูเ้ ดียว จาเลยที่ 1 ไม่มีความผิดตามมาตรา
291

You might also like