You are on page 1of 140

บทที่ 5 การเชา่ ชว่ ง

1. การเชา่ ชว่ ง
2. หลักเกณฑ์ของการเชา่ ชว่ ง
3. ประเภทของการเชา่ ชว่ ง
4. การเชา่ ชว่ งโดยชอบ
5. ผลของการเชา่ ชว่ งโดยชอบ
6. การเชา่ ชว่ งโดยมิชอบ
7. ผลของการเชา่ ชว่ งโดยมิชอบ

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 1


1. การเชา่ ชว่ ง
1.1 การเชา่ ชว่ ง หมายถึง การทีผ ่ ู ้เชา่ เอาทรัพย์สน ิ ทีต
่ นเชา่ มา ไม่วา่ จะ
เป็ นสงั หาริมทรัพย์ หรืออสงั หาริมทรัพย์ ไปให ้บุคคลอืน ่ เชา่ ต่อทัง้ หมด
หรือบางสว่ น และบุคคลอืน ่ ซงึ่ เชา่ ต่อ ในทีน ี้ ะเรียกว่า ผู ้เชา่ ชว่ ง มีหน ้า
่ จ
่ ้องชำระค่าเชา่ ต่อผู ้เชา่
ทีต
ตัวอย่าง ดอย เจ ้าของบ ้าน ให ้ดำเชา่ บ ้าน ต่อมาดำนำบ ้านทีไ่ ด ้เชา่ ไป
ให ้ฟ้ าเชา่ ต่อ (ไม่วา่ ทัง้ หมด หรือบางสว่ น)
เชน ่ นี้ สญั ญาเชา่ ระหว่างดำกับฟ้ า เรียกว่า สญ ั ญาเชา่ ชว่ ง โดยดำผู ้เชา่
ซงึ่ มีสญ ั ญาเชา่ ผูกพันอยูก ่ บ ั ดอยผู ้ให ้เชา่ และดำได ้ทำสญ ั ญาให ้ฟ้ าเชา่
ถือได ้ว่า ดำเป็ น ผู ้ให ้เชา่ ชว่ ง และฟ้ าเป็ น ผู ้เชา่ ชว่ ง
ซงึ่ การเชา่ ชว่ ง มีบญ ั ญัตไิ ว ้ใน ป.พ.พ มาตรา 544 และ 545
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 2
ป.พ.พ มาตรา 544 ทรัพย์สน ิ ซงึ่ เชา่ นัน
้ ผู ้เชา่ จะให ้
เชา่ ชว่ งหรือโอนสท ิ ธิของตนอันมีในทรัพย์สน ิ นัน
้ ไม่
ว่าทัง้ หมดหรือแต่บางสว่ นให ้แก่บค ุ คลภายนอก
ท่านว่าหาอาจทำได ้ไม่ เว ้นแต่จะได ้ตกลงกันไว ้เป็ น
อย่างอืน ั ญาเชา่
่ ในสญ
ถ ้าผู ้เชา่ ประพฤติฝ่าฝื นบทบัญญัตอ ั นี้ ผู ้ให ้เชา่ จะ
ิ น
บอกเลิกสญ ั ญาเสย
ี ก็ได ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 3


ป.พ.พ มาตรา 545 ถ ้าผู ้เชา่ เอาทรัพย์สน ิ ซงึ่ ตนเชา่ ไป
่ เชา่ ชว่ งอีกทอดหนึง่ โดยชอบ ท่านว่าผู ้เชา่ ชว่ ง
ให ้ผู ้อืน
ย่อมต ้องรับผิดต่อผู ้ให ้เชา่ เดิมโดยตรง ในกรณีเชน ่ ว่านี้
หากผู ้เชา่ ชว่ งจะได ้ใชค่้ าเชา่ ให ้แก่ผู ้เชา่ ไปก่อน ท่านว่า
ผู ้เชา่ ชว่ งหาอาจจะยกขึน ้ เป็ นข ้อต่อสูผู้ ้ให ้เชา่ ได ้ไม่
อนึง่ บทบัญญัตอ ิ น
ั นีไ
้ ม่ห ้ามการทีผ ่ ู ้ให ้เชา่ จะใชส้ ท ิ ธิ
ของตนต่อผู ้เชา่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 4


1.2 หลัก ห ้ามมิให ้นำทรัพย์ทเี่ ชา่ ออกให ้เชา่ ชว่ งต่อตาม ป.พ.พ มาตรา 544 วรรคหนึง่
1.3 ข ้อยกเว ้น สามารถนำให ้เชา่ ชว่ งได ้ หากได ้รับอนุญาต หรือได ้รับความยินยอมจาก
ผู ้ให ้เชา่ ตาม ป.พ.พ มาตรา 544 วรรคหนึง่
ตัวอย่าง ดำเชา่ บ ้านหลังหนึง่ จากดอย ปรากฏว่า บ ้านหลังนีต ้ งั ้ อยูต
่ ด
ิ กับถนนใหญ่ มี
คนเดินพลุกพล่าน ซงึ่ ดำไม่ชอบเพราะต ้องการอ่านหนังสอ ื อย่างสงบ แต่ฟ้าชอบมาก
เพราะต ้องการขายของ จึงอยากเชา่ บ ้านหลังนี้ ฟ้ าจึงไปขอเชา่ บ ้านหลังนีต ้ อ
่ จากดำ
เชน ่ นีแ
้ ล ้ว โดยหลักไม่สามารถกระทำได ้ เพราะสญ ั ญาเชา่ เป็ นสท ิ ธิเฉพาะตัวของดำ
เว ้นแต่จะได ้รับความยินยอม หรือได ้รับอนุญาตจาก ดอย ผู ้ให ้เชา่ เสย ี ก่อน ตาม ป.พ.พ
มาตรา 544 วรรคหนึง่
แต่หากดำฝ่ าฝื น ดอยมีสท ิ ธิบอกเลิกเชา่ สญั ญาเชา่ ทีม่ อ
ี ยูเ่ ดิมได ้ตาม ป.พ.พ มาตรา
544 วรรคสอง

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 5


2. หลักเกณฑ์ของการเชา่ ชว่ ง
2.1 ต ้องมีลกั ษณะเป็ นสญ ั ญาเชา่ ทรัพย์ตาม ป.พ.พ มาตรา 537 กล่าวคือ ต ้องมี
การให ้ค่าเชา่ เป็ นการตอบแทนในการใชทรั ้ พย์ ถ ้าค่าตอบแทนมิใชค ่ า่ เชา่ ก็จะ
ไม่เป็ นค่าเชา่ และไม่ใชส ่ ญั ญาเชา่ ชว่ ง
ซงึ่ อาจจะเป็ นการนำทรัพย์สน ิ ออกให ้เชา่ ชว่ งทัง้ หมด หรือแต่บางสว่ นก็ได ้
ฎีกาที่ 31/2494 กรณีผู ้เชา่ ห ้องแถวยอมให ้ผู ้อืน ่ เข ้ามาทำการขายหนังสอ ื พิมพ์
อยูใ่ นห ้องเชา่ รายนี้ โดยให ้ผู ้ขายหนังสอ ื พิมพ์นัน ้ ออกค่าเชา่ ให ้แก่ผู ้เชา่ ห ้อง
แถวครึง่ หนึง่ ดังนี้ ย่อมถือได ้ว่าผู ้เชา่ ได ้ให ้บุคคลภายนอกเชา่ ชว่ งห ้องแถวแล ้ว

ข้อสงเกต แต่ถ ้าให ้คนอืน ่ เข ้ามาอยูอ่ าศย ั ด ้วย โดยให ้ผู ้เข ้ามาอาศย ั ชว่ ยเสย ี
ค่าน้ำไฟบ ้าง ไม่ใชก ่ ารเชา่ ทรัพย์ จึงไม่ใชก ่ ารเชา่ ชว่ ง (ฎีกาที่ 1596/2494)

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 6


2.2 ทรัพย์สน ิ ทีใ่ ห ้เชา่ ชว่ ง ต ้องเป็ นทรัพย์สน ิ อันเดียวกันสญ ั ญา
เชา่ หากเป็ นทรัพย์สน ิ คนละอัน ไม่ถอ ื เป็ นการเชา่ ชว่ ง
ฎีกาที่ 2237/2524 หนังสอ ื สญั ญาแบ่งเชา่ ทีด ่ น
ิ และหนังสอ ื สญ ั ญา
ต่อท ้ายแบ่งเชา่ ทีด ่ น ิ เป็ นเรือ ่ งโจทก์ให ้จำเลยเชา่ ทีด ่ น
ิ เพือ ่ ปลูก
ตึกแถวมีกำหนด 20 ปี ภายในระยะเวลาดังกล่าว ถ ้าจำเลยจะให ้
บุคคลอืน ่ เชา่ ชว่ งทีด่ น ิ ต ้องแจ ้งให ้โจทก์ทราบก่อน ไม่มข ี ้อห ้ามที่
จำเลยจะให ้บุคคลอืน ่ เชา่ ตึกแถว การทีจ ่ ำเลยให ้ ช. เชา่ ตึกแถว ก็
เป็ นการเชา่ อาคารซงึ่ ปลูกในทีด ิ ถือไม่ได ้ว่าเป็ นการเชา่ ชว่ ง
่ น
ทีด
่ นิ

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 7


คำถาม
สาวให ้หนุ่มเชา่ ทีด ิ โดยหนุ่มจะเชา่ ทีด
่ น ่ น

เพือ ่ สร ้างตึกหอพักจำนวน100 ห ้อง ต่อมา
เมือ่ สร ้างตึกหอพักเสร็จ หนุ่มให ้มอคเชา่
ตึกหอพักทัง้ หมดเพราะหนุ่มไม่อยากทำ
ต่อไป สาวโกรธมากทีห ่ นุ่มให ้มอคเชา่
ชว่ งโดยไม่ได ้รับอนุญาต จึงบอกเลิก
ั ญาตาม ป.พ.พ มาตรา 544 วรรคสอง
สญ
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 8
คำตอบ
สาวจะบอกเลิกสญ ั ญาเชา่ ไม่ได ้เพราะว่ากรณีนไ ี้ ม่ใชก่ ารเชา่ ชว่ ง
ในทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ มาจากสาว เพราะหนุ่มเชา่ เพียงทีด ่ นิ แต่ไม่ได ้
เชา่ ตึกหอพัก และตึกหอพักดังกล่าว หนุ่มเป็ นผู ้สร ้างขึน ้ ตึก
หอพักจึงตกเป็ นกรรมสท ิ ธิข
์ องหนุ่ม (ข ้อยกเว ้นของการไม่ตกเป็ น
สว่ นควบตาม ป.พ.พ มาตรา 146)
ดังนัน้ การทีห ่ นุ่มให ้มอคเชา่ ตึกหอพัก จึงไม่ใชก ่ ารให ้เชา่ ชว่ ง
ทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ (ทีด่ น
ิ ) ตาม ป.พ.พ มาตรา 544 วรรคหนึง่ ทีจ ่ ะต ้อง
ได ้รับความยินยอม หรือได ้รับอนุญาตจาก สาว ผู ้ให ้เชา่ เสย ี ก่อน

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 9


แต่ถ ้าหนุ่มสร ้างตึกหอพักเสร็จ แล ้วยกตึก
หอพักให ้แก่สาว กรรมสท ิ ธิใ์ นตึกหอพักก็จะ
ถูกผนวกเข ้ากับทีด ่ น
ิ กลายเป็ นทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่
(ตกเป็ นสว่ นควบของทีด ่ นิ )
กรณีนี้ หนุ่มจะให ้มอคเชา่ ชว่ งตึกหอพักไม่ได ้
หากสาวไม่ยน ิ ยอมตาม ป.พ.พ มาตรา 544
วรรคหนึง่
หากหนุ่มฝ่ าฝื น เอาตึกหอพักไปให ้มอคเชา่
ชว่ ง สาวมีสทิ ธิบอกเลิกสญ ั ญาได ้ตาม ป.พ.พ
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 10
2.3 การเชา่ ชว่ ง ต ้องอยูใ่ นบังคับของบทบัญญัตวิ า่ ด ้วยเรือ ่ งเชา่ ทรัพย์
(1) กรณีเชา่ ชว่ งสงั หาริมทรัพย์ กฎหมายไม่ได ้บัญญัตถ ิ งึ เรือ่ งหลักฐานในการฟ้ อง
ร ้องบังคับคดีเอาไว ้ ดงั นัน้ เมือ ั ญาเชา่ ชว่ งสงั หาริมทรัพย์เกิดขึน
่ สญ ้ ได ้ด ้วยวาจา
แม ้ต่อมาจะมีการผิดสญ ั ญาต่อกัน คูก ่ รณีก็สามารถนำคดีขน ่ าลได ้โดยไม่ต ้องมี
ึ้ สูศ
หลักฐานในการฟ้ องร ้องบังคับคดีตาม ป.พ.พ มาตรา 538
(2) กรณีเชา่ ชว่ งอสงั หาริมทรัพย์
- หากเป็ นการเชา่ ชว่ งอสงั หาริมทรัพย์เกินกว่า 3 ปี จะต ้องทำเป็ นหนังสอ ื และจด
ทะเบียนต่อพนักงานเจ ้าหน ้าที่ มิฉะนัน ้ ฟ้ องร ้องบังคับคดีได ้เพียง 3 ปี เท่านัน ้ (แต่
ต ้องมีหลักฐานเป็ นหนังสอ ื อย่างใดอย่างหนึง่ ลงลายมือชอ ื่ ฝ่ ายผู ้ต ้องรับผิดเป็ น
สำคัญ จึงจะฟ้ องบังคับได ้ 3 ปี )
- หากเป็ นการเชา่ ชว่ งอสงั หาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปี ต ้องมีหลักฐานเป็ นหนังสอ ื อย่าง
ใดอย่างหนึง่ ลงลายมือชอ ื่ ฝ่ ายผู ้ต ้องรับผิดเป็ นสำคัญ จึงจะฟ้ องร ้องบังคับคดีได ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 11


3. - การเชา่ ชว่ งโดย
ประเภท ชอบ
ของการ - การเชา่ ชว่ งโดย
เชา่ ชว่ ง มิชอบ
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 12
4. การเชา่ ชว่ งโดยชอบ
การทีผ่ ู ้เชา่ นำทรัพย์สนิ ให ้บุคคลภายนอกเชา่ โดยได้ร ับ
ความยินยอมจากผูใ้ ห้เชา ่
โดยผู ้ให ้เชา่ อาจจะให ้ความยินยอมตัง้ แต่ขณะเริม ่ แรก หรือ
ในภายหลังก็ได ้
ฎีกาที่ 335/2521 สญ ั ญาเชา่ ระบุวา่ ผู ้เชา่ จะไม่ให ้เชา่ ชว่ ง
เว ้นแต่ได ้รับอนุญาตเป็ นลายลักษณ์อก ั ษร ผู ้ให ้เชา่ อนุญาต
ด ้วยวาจาเป็ นการสละเงือ ่ นไขทีใ่ ห ้อนุญาตเป็ นลายลักษณ์
อักษร ผู ้เชา่ ไม่ผดิ สญั ญาเชา่ ในข ้อนี้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 13


5. ผลของการเชา่ ชว่ งโดยชอบ
5.1 ผู ้ให ้เชา่ จะบอกเลิกสญ ั ญาเพราะผู ้เชา่ นำทรัพย์สน ิ ไปให ้บุคคลภายนอกเชา่ ชว่ งไม่ได ้
5.2 ผู ้เชา่ ชว่ งมิได ้เป็ นบริวารของผู ้เชา่ หากต่อมาผู ้เชา่ ผิดสญ ั ญา ผู ้ให ้เชา่ จะฟ้ องร ้อง
ต ้องฟ้ องทัง้ ผู ้เชา่ และผู ้เชา่ ชว่ ง มิฉะนัน
้ จะมีผลแต่เพียงผู ้เชา่ ซงึ่ ถูกฟ้ องร ้องเท่านัน
้ ตาม
ป.วิ.พ มาตรา 142(1)
ฎีกาที่ 164/2495 การเชา่ ชว่ งโดยผู ้ให ้เชา่ เดิมยินยอมนัน ้ ผู ้เชา่ ชว่ งย่อมต ้องรับผิดต่อผู ้ให ้
เชา่ เดิมโดยตรงตาม ป.พ.พ มาตรา 545 ผู ้เชา่ ชว่ งจึงหาใชเ่ ป็ นบริวารของผู ้เชา่ ไม่
ฟ้ องขับไล่ผู ้เชา่ ออกจากทีเ่ ชา่ แต่ลำพัง โดยไม่ได ้ฟ้ องผู ้เชา่ ชว่ งเป็ นจำเลยด ้วย แม ้ศาล
จะพิพากษาขับไล่ผู ้เชา่ ออกจากทีเ่ ชา่ แล ้วก็ด ี ถ ้าการเชา่ ชว่ งนัน ้ ได ้กระทำไปโดยผู ้ให ้เชา่
เดิมยินยอมแล ้ว โจทก์จะขอให ้ขับไล่ผู ้เชา่ ชว่ งในฐานะเป็ นบริวารของผู ้เชา่ ซงึ่ เป็ นจำเลย
ไม่ได ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 14


5.3 เกิดเป็ นสญ ั ญาขึน ้ 2 ฉบับ ได ้แก่ สญ ั ญาเชา่ ระหว่างผู ้ให ้เชา่ เดิมกับผู ้เชา่ เดิม และ
สญั ญาเชา่ ชว่ งระหว่างผู ้เชา่ เดิมกับผู ้เชา่ ชว่ ง
- เมือ ่ ผู ้เชา่ ชว่ งรับว่าได ้ทำสญ ั ญาเชา่ ชว่ งแล ้ว จะไม่สามารถต่อสูได ้ ้ว่า ผู ้ให ้เชา่ ชว่ ง (ผู ้
เชา่ เดิม) ไม่มอ ี ำนาจให ้เชา่ ชว่ งโดยชอบ
-กรณีสญ ั ญาเชา่ ชว่ งมิได ้ทำเป็ นหลักฐานการเชา่ ไว ้ต่อกัน ผู ้ให ้เชา่ ชว่ งก็มอ ี ำนาจฟ้ องขับ
ไล่ผู ้เชา่ ชว่ งได ้เพราะมิใชก ่ ารฟ้ องบังคับคดีตามสญ ั ญาเชา่
- ผู ้เชา่ เดิม (ผู ้ให ้เชา่ ชว่ ง) มีอำนาจฟ้ องขับไล่ผู ้เชา่ ชว่ งได ้ตามลำพัง
- แม ้ผู ้เชา่ เดิม (ผู ้ให ้เชา่ ชว่ ง) ถูกผู ้ให ้เชา่ เดิมบอกเลิกสญ ั ญาแล ้ว ผู ้ให ้เชา่ ชว่ งก็ยงั มี
อำนาจฟ้ องผู ้เชา่ ชว่ งได ้
ฎีกาที่ 115/2522 โจทก์ทำสญ ั ญาเชา่ ตึกแถวพิพาทจากการรถไฟ แล ้วให ้จำเลยเชา่ ชว่ ง
แม ้ขณะทีศ ่ าลชน ั ้ ต ้นพิพากษาสญ ั ญาเชา่ ระหว่างโจทก์กบ ั ผู ้ให ้เชา่ สน
ิ้ อายุแล ้วก็ตาม แต่
เมือ่ จำเลยผู ้เชา่ ชว่ งอยูใ่ นตึกแถวพิพาทโดยอาศย ั สท ิ ธิตามสญ ั ญาเชา่ ชว่ งทีท ่ ำไว ้กับ
โจทก์ โจทก์ซงึ่ มีหน ้าทีต ่ ้องสง่ คืนตึกแถวให ้ผู ้ให ้เชา่ เมือ
่ สญั ญาเชา่ ได ้ระงับลง ก็ยอ ่ มมี
สท ิ ธิฟ้องขับไล่จำเลยให ้สง่ มอบตึกแถวพิพาทซงึ่ เชา่ จากโจทก์ได ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 15


5.4 การเชา่ ชว่ งโดยชอบ ผู ้เชา่ ชว่ งต ้องรับผิดต่อผู ้ให ้เชา่ เดิมโดยตรง (โดย
เฉพาะในเรือ ่ งค่าเชา่ ) ทัง้ นีเ้ ป็ นไปตามที่ ป.พ.พ มาตรา 545 วรรคหนึง่
บัญญัตไิ ว ้ว่า “ ถ ้าผู ้เชา่ เอาทรัพย์สน ิ ซงึ่ ตนเชา่ ไปให ้ผู ้อืน ่ เชา่ ชว่ งอีกทอด
หนึง่ โดยชอบ ท่านว่าผูเ้ ชา ่ ชว ่ งย่อมต้องร ับผิดต่อผูใ้ ห้เชา ่ เดิมโดยตรง
ในกรณีเชน ่ ว่านี้ หากผูเ้ ชา ่ ชว ่ งจะได้ใชค ้ า่ เชา
่ ให้แก่ผเู ้ ชา ่ ไปก่อน
ท่านว่าผูเ้ ชา ่ ชว่ งหาอาจจะยกขึน ้ เป็นข้อต่อสูผ ้ ใู ้ ห้เชา ่ ได้ไม่..”
กล่าวคือ ผู ้ให ้เชา่ เดิมสามารถฟ้ องผู ้เชา่ ชว่ งได ้โดยตรง แม ้จะไม่ได ้มีนต ิ ิ
สมั พันธ์ตอ ่ กันตามสญ ั ญาเชา่ แต่สามารถฟ้ องได ้โดยอาศย ั สญั ญาเชา่ เดิม
(สญ ั ญาเชา่ เดิมระหว่างผู ้ให ้เชา่ กับผู ้เชา่ เดิม) ภายใต ้เงือ ่ นไขทีว่ า่ สญ ั ญา
เชา่ เดิมจะต ้องมีหลักฐานการเชา่ ตาม ป.พ.พ มาตรา 538 ด ้วย
โดยเฉพาะในเรือ ่ งการฟ้ องให ้ชำระค่าเชา่ แม ้ผู ้เชา่ ชว่ งจะได ้ชำระค่าเชา่ ให ้
แก่ผู ้เชา่ เดิมไปแล ้ว หากผู ้เชา่ เดิม (ผู ้ให ้เชา่ ชว่ ง) ไม่ชำระค่าเชา่ ให ้แก่ผู ้ให ้
เชา่ เดิม หรือชำระค่าเชา่ แต่ชำระไม่ครบ ผู ้ให ้เชา่ เดิมมีสท ิ ธิทจ ี่ ะบังคับเอา
ค่าเชา่ กับผู ้เชา่ ชว่ ง
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 16
ตัวอย่าง
แดงทำสญ ั ญาให ้สองเชา่ บ ้านหลังหนึง่ ในอัตราค่าเชา่ เดือนละ
1,000 บาท และอนุญาตให ้นำไปให ้เชา่ ชว่ งได ้ ตอ ่ มาสองให ้
ต ้นเชา่ ชว่ งบ ้านหลังนี้ ในอัตราค่าเชา่ เดือนละ 800 บาท หาก
ต ้นชำระค่าเชา่ แก่สองไปแล ้ว แต่สองไม่ชำระค่าเชา่ แก่แดง
หากแดงเรียกร ้องค่าเชา่ ทีค ่ ากต ้น ต ้นไม่อาจยกข ้อต่อสู ้
่ ้างอยูจ
ว่าได ้ชำระค่าเชา่ แก่สองไปแล ้ว ต ้นยังต ้องชำระค่าเชา่ แก่แดง
แต่คงชำระเพียง 800 บาท เท่าทีต ่ ้นมีหน ้าทีช่ ำระแก่สอง
เท่านัน้ ไม่ต ้องชำระเต็มจำนวน 1,000 บาท ทีส ่ องค ้างชำระ
แดงอยู่
แต่ถ ้าสองให ้ต ้นเชา่ ชว่ งบ ้านหลังนี้ ในอัตราค่าเชา่ เดือนละ
1,500 บาท ต ้นมีหน ้าทีช ่ ำระค่าเชา่ ทีค
่ ้างแก่แดงเป็ นจำนวน
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 17
5.5 สญั ญาเชา่ เดิมสน ิ้ สุดลง มีผลทำให ้สญ ั ญาเชา่ ชว่ งสน ิ้ สุดลงด ้วย
ฎีกาที่ 3474/2531 จำเลยเข ้าอยูอ ่ าศยั ในตึกแถวพิพาทโดยเชา่ ชว่ งจาก ล. เมือ ่
ครบกำหนดตามสญ ั ญาเชา่ สท ิ ธิการเชา่ ระงับไป สท ิ ธิการเชา่ ชว่ งย่อมระงับตามไป
ด ้วย
ฎีกาที่ 4215/2531 โจทก์ให ้ บ. เชา่ โรงภาพยนตร์และเครือ ่ งอุปกรณ์การฉาย
ภาพยนตร์ ต่อมา บ. นำทรัพย์สน ิ ดังกล่าวไปให ้จำเลยเชา่ ชว่ งโดยได ้รับความ
ยินยอมจากโจทก์ จำเลยจึงเป็ นผู ้เชา่ ชว่ งทรัพย์สน ิ ของโจทก์โดยชอบ หาใชเ่ ป็ น
บริวารของ บ. ไม่ จำเลยต ้องรับผิดชำระค่าเชา่ ให ้โจทก์โดยตรงตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 545 และเมือ ั ญาเชา่ ระหว่างโจทก์กบ
่ สญ ั บ. สน ิ้
สุดลง ก็ทำให ้สญั ญาเชา่ ชว่ งระหว่างจำเลยกับ บ. สน ิ้ สุดลงด ้วย จำเลยจึงไม่ม ี
่ ำระค่าเชา่ ให ้โจทก์นับแต่นัน
หน ้าทีช ้ แต่เมือ
่ จำเลยยังคงครอบครองทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่
ชว่ งอยู่ จำเลยก็ต ้องชดใชค่้ าเสย ี หายให ้โจทก์จนถึงวันทีส ่ ง่ มอบทรัพย์สน
ิ คืนโจทก์

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 18


6. การเชา่ ชว่ งโดยมิชอบ

่ ู ้เชา่ นำทรัพย์สน
การทีผ ิ ไปให ้บุคคล
ภายนอกเชา่
โดยมิได้ร ับความยินยอมจากผูใ้ ห้เชา ่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 19


7. ผลของการเชา่ ชว่ งโดยมิชอบ
7.1 ผู ้ให ้เชา่ มีสท ิ ธิบอกเลิกสญ ั ญาเชา่ กับผู ้เชา่ ก็ได ้โดยไม่ต ้องบอกกล่าวล่วงหน ้าตาม
ป.พ.พ มาตรา 544 วรรคสอง
ฎีกาที1่ 050/2539 กรณีทผ ี่ ู ้เชา่ ประพฤติผด ิ สญ ั ญาเชา่ ด ้วยการนำทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ ไปให ้ผู ้
อืน่ เชา่ ชว่ ง โดยไม่มข ี ้อตกลงให ้ทำได ้ไว ้ในสญ ั ญาเชา่ ผู ้ให ้เชา่ ชอบทีจ
่ ะบอกเลิก
สญั ญาเชา่ เสย ี ได ้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 544 วรรคสอง ซงึ่
บัญญัตไิ ว ้โดยเฉพาะแล ้ว
กรณีจงึ มิได ้ตกอยูใ่ นบังคับของมาตรา 387 ซงึ่ เป็ นบททั่วไปว่าด ้วยการเลิกสญ ั ญา ดัง
นัน ้ ก่อนบอกเลิกสญ ั ญาเชา่ และก่อนฟ้ องคดี โจทก์ไม่จำเป็ นต ้องบอกกล่าวให ้จำเลย
ที่ 1 ปฏิบต ั ใิ ห ้ถูกต ้องตามสญ ั ญาเชา่ ภายในระยะเวลาอันสมควรตามทีโ่ จทก์กำหนด
เสย ี ก่อน

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 20


7.2 ผู ้เชา่ ชว่ งเป็ นบริวารของผู ้เชา่
หากผู ้ให ้เชา่ เดิมฟ้ องขับไล่ผู ้เชา่ เดิม (ผู ้ให ้เชา่ ชว่ ง) จนชนะคดีแล ้ว ผู ้ให ้เชา่ เดิมย่อม
บังคับคดีขบ ั ไล่ผู ้เชา่ ชว่ งในฐานะบริวารของผู ้เชา่ เดิมได ้ตาม ป.วิ.พ มาตรา142 (1) โดย
ไม่ต ้องฟ้ องผู ้เชา่ ชว่ งเป็ นคดีใหม่
ฎีกาที่ 272/2495 ศาลพิพากษาให ้ผู ้เชา่ ทีด ่ น
ิ และบริวารออกจากทีด ิ ทีเ่ ชา่ และให ้รือ
่ น ้
ถอนสงิ่ ปลูกสร ้างในทีด ่ น
ิ ดังกล่าวไปให ้เสร็จภายในกำหนดเวลา ดังนี้ เมือ ่ ตัวผู ้เชา่ ทีด่ น

้ ถอนสงิ่ ปลูกสร ้างของผู ้เชา่ เองออกไปหมดแล ้ว
ได ้รือ
แต่ผู ้เชา่ ชว่ งทีด ิ รายนี้ ซงึ่ การเชา่ ชว่ งไม่ได ้รับความยินยอมจากเจ ้าของทีด
่ น ่ น ิ จึงตกเป็ น
บริวารของผู ้เชา่ ด ้วยนัน้ ไม่ยอมรือ ้ สงิ่ ปลูกสร ้างของผู ้เชา่ ชว่ งออกไป เชน ่ นี้ โจทก์ควร
ขอให ้ศาลหมายเรียกผู ้เชา่ ชว่ งนัน ้ มาจัดการว่ากล่าวบังคับให ้ปฏิบต ั ต
ิ ามคำพิพากษา
ของศาลได ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 21


ิ ธิการเชา่
บทที่ 6 การโอนสท
1. การโอนสท ิ ธิการเชา่
2. ผู ้เชา่ โอนสท ิ ธิการเชา่
3. ผลของการโอนสท ิ ธิการเชา่ ของผู ้เชา่
4. ผู ้ให ้เชา่ โอนสท ิ ธิการเชา่
5. ผลของการโอนสท ิ ธิการเชา่ ของผู ้ให ้เชา่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 22


ป.พ.พ มาตรา 544 ทรัพย์สน ิ ซงึ่ เชา่ นัน
้ ผู ้
เชา่ จะให ้เชา่ ชว่ งหรือโอนสท ิ ธิของตนอัน
มีในทรัพย์สน ิ นัน
้ ไม่วา่ ทัง้ หมดหรือแต่บาง
สว่ นให ้แก่บค ุ คลภายนอก ท่านว่าหาอาจ
ทำได ้ไม่ เว ้นแต่จะได ้ตกลงกันไว ้เป็ น
อย่างอืน ่ ในสญ ั ญาเชา่
ถ ้าผู ้เชา่ ประพฤติฝ่าฝื นบทบัญญัตอ ิ นั นี้ ผู ้
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 23
ิ ธิการเชา่
1. การโอนสท
1.1 สท ิ ธิการเชา่ เป็ นทรัพย์สน
ิ และเป็ นสท
ิ ธิเรียก
ร ้องอย่างหนึง่ สามารถจำหน่ายจ่ายโอนแก่บค ุ คล
อืน่ ได ้
1.2 การโอนสท ิ ธิการเชา่ แยกพิจารณาออกได ้ดังนี้
- ผู ้เชา่ โอนสท ิ ธิการเชา่
- ผู ้ให ้เชา่ โอนสท ิ ธิการเชา่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 24


2. ผู ้เชา่ โอนสท
ิ ธิการเชา่
2.1 การทีผ ่ ู ้เชา่ โอนสทิ ธิในการใชหรื ้ อได ้รับประโยชน์ในตัวทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ ให ้
แก่บคุ คลภายนอก หรือทีเ่ รียกกันว่า “เซง้ ”
2.2 หลัก ผู ้เชา่ จะโอนสท ิ ธิการเชา่ ของตนไม่ได ้ เว ้นแต่ผู ้ให ้เชา่ จะอนุญาตให ้
กระทำได ้ตาม ป.พ.พ มาตรา 544 วรรคหนึง่ โดยจะอนุญาตขณะใดก็ได ้
ฎีกาที่ 4222/2536 สท ิ ธิการเชา่ เป็ นทรัพย์สน ิ แม ้สญ ั ญาเชา่ ระหว่างผู ้ให ้เชา่
และผู ้เชา่ จะห ้ามมิให ้ผู ้เชา่ โอนสท ิ ธิการเชา่ ไปยังบุคคลภายนอกโดยไม่ได ้รับ
ความยินยอมจากผู ้ให ้เชา่ ก็ไม่ใชท ่ รัพย์สนิ ทีโ่ อนกันไม่ได ้ตามกฎหมาย เพราะ
หากผู ้ให ้เชา่ ยินยอมโอนกันได ้ ทัง้ ไม่มบ ี ทบัญญัตแ ิ ห่งกฎหมายใดบัญญัตวิ า่
เป็ นทรัพย์ทไี่ ม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี สท ิ ธิการเชา่ จึงไม่ใช ่
ทรัพย์สน ิ ทีไ่ ม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 25


2.3 การโอนสท ิ ธิการเชา่ (สงั หาริมทรัพย์ หรืออสงั หาริมทรัพย์)
ต ้องทำเป็ นหนังสอ ื ตาม ป.พ.พ มาตรา 306 มิฉะนัน ้ จะไม่สมบูรณ์
ฎีกาที่ 1630/2536 สญ ั ญาโอนสท ิ ธิการเชา่ ตึกพิพาทซงึ่ ระบุวา่
จำเลยซงึ่ เชา่ ตึกพิพาทจากโจทก์รว่ ม ได ้โอนสท ิ ธิการเชา่ ให ้แก่
โจทก์เป็ นผู ้เชา่ ต่อไป เป็ นการโอนสท ิ ธิเรียกร ้องตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 306 ซงึ่ กฎหมายบังคับให ้ทำ
เป็ นหนังสอื
ฎีกาที1่ 248/2538 บันทึกการเปลีย ่ นแปลงผู ้เชา่ จาก ส.ผู ้เชา่ เดิม มา
เป็ นจำเลยผู ้เชา่ ใหม่ในหนังสอ ื สญั ญาเชา่ ตึกแถวหน ้าแรกระบุไว ้ว่า
โจทก์ในฐานะผู ้ให ้เชา่ จำเลยในฐานะผู ้เชา่ ใหม่ และส. ในฐานะผู ้
เชา่ เดิม ได ้ลงลายมือชอ ื่ รับทราบการเปลีย ่ นแปลงผู ้เชา่ ตึกแถว
แล ้ว ถือได ้ว่าโจทก์และส. ได ้บอกกล่าวการโอนและให ้ความ
ยินยอมการโอนสท ิ ธิการเชา่ ตึกแถวเป็ นหนังสอ ื ตามประมวล
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 26
ิ ธิการเชา่ ของผู ้เชา่
3. ผลของการโอนสท
3.1 ผู ้รับโอนสท ิ ธิการเชา่ (ผู ้เชา่ คนใหม่) เข ้าเป็ นคู่
ั ญาแทนผู ้เชา่ เดิม สว่ นผู ้เชา่ เดิมพ ้นจากเป็ นคู่
สญ
สญั ญากับผู ้ให ้เชา่
3.2 ผู ้รับโอนสท ิ ธิการเชา่ (ผู ้เชา่ คนใหม่) กับผู ้ให ้เชา่
ไม่ต ้องทำสญ ั ญาเชา่ กันใหม่
3.3 นิตส ั พันธ์ระหว่างผู ้รับโอนสท
ิ ม ิ ธิการเชา่ (ผู ้เชา่ คน
ใหม่) กับผู ้ให ้เชา่ เป็ นไปตามสญ ั ญาเชา่ เดิม

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 27


3.4 กรณีผู ้เชา่ โอนสท ิ ธิการเชา่ โดยไม่ชอบ กล่าวคือ โอนโดยไม่ได ้รับ
ความยินยอมจากผู ้ให ้เชา่ ถือว่า การโอนสท ิ ธิดงั กล่าวไม่ผก ู พันผู ้ให ้เชา่
แต่ผก ู พันคูส ั ญาผู ้โอนสท
่ ญ ิ ธิการเชา่ และผู ้รับโอนสท ิ ธิการเชา่ ทีจ
่ ะว่า
กล่าวกันเองได ้
ฎีกาที่ 2017/2515 โจทก์ทำสญ ั ญารับโอนสท ิ ธิการเชา่ ตึกพิพาทจากผู ้
เชา่ เดิม โดยผู ้ให ้เชา่ มิได ้ตกลงยินยอมด ้วย เป็ นการต ้องห ้ามตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 544 จึงถือไม่ได ้ว่าโจทก์ได ้
เป็ นผู ้เชา่ ตึกพิพาท แม ้ศาลจะพิพากษาให ้ผู ้เชา่ เดิมโอนสท ิ ธิการเชา่ ให ้
โจทก์ คำพิพากษานัน ้ ย่อมผูกพันเฉพาะคูค ่ วามในคดี หาผูกพันผู ้ให ้เช า่
ไม่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 28


ผูเ้ ช่าโอนสิทธิการเช่าโดยชอบ

ั ญาเชา่
สญ ิ ธิการเชา่
โอนสท
ผู ้ให ้เชา่ ผู ้เชา่ ิ ธิการเชา่
ผู ้รับโอนสท
้ พย์
การใชทรั

ค่าเชา่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 29


ผู ้เชา่ โอนสท
ิ ธิการเชา่ โดยชอบ

ผู ้เชา่ ผู ้ให ้เชา่ ผู ้รับโอนสท ิ ธิ


ผู ้ให ้เชา่
(ผู ้เชา่ ใหม่)

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 30


4. ผู ้ให ้เชา่ โอนสท ิ ธิการเชา่
4.1 การโอนสท ิ ธิการเชา่ ของผู ้ให ้เชา่
ได ้แก่ การทีผ ่ ู ้ให ้เชา่ โอนสท ิ ธิทจ
ี่ ะได ้รับ
ค่าเชา่ จากผู ้เชา่ โดยไม่มก ี ารโอน
หน้าที่
4.2 การโอนสท ิ ธิการเชา่ ของผู ้ให ้เชา่
ต ้องทำเป็ นหนังสอ ื ระหว่างผู ้ให ้เชา่ กับ
ผู ้รับโอนสท ิ ธิการเชา่ ตาม ป.พ.พ มาตรา
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 31
ผูใ้ ห้เช่าโอนสิทธิการเช่าโดยชอบ

การโอนสทิ ธิเชา่ ้ พย์


การใชทรั
ผู ้รับโอน ผู ้ให ้เชา่ สญ ั ญา ผู ้เชา่
เชา่
ิ ธิการเชา่
โอนสท ค่าเชา่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 32


ิ ธิการเชา่ ของผู ้ให ้
5. ผลของการโอนสท
เชา่
การโอนสท ิ ธิการเชา่ ของผู ้ให ้เชา่ หมายถึง การทีผ ่ ู ้ให ้เชา่ โอน
สท ิ ธิทจ ี่ ะได ้รับค่าเชา่ จากผู ้เชา่ โดยไม่มก ี ารโอนหน้าที่
ดังนัน้
ผู ้ให ้เชา่ กับผู ้เชา่ ยังคงเป็ นคูส ่ ญั ญากันเชน่ เดิม
ผู ้ให ้เชา่ มีหน ้าทีใ่ ห ้ผู ้เชา่ ได ้รับประโยชน์ในทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ เชน่
เดิม
สว่ นผู ้รับโอนสท ิ ธิการเชา่ มีสท ิ ธิเพียงแต่ทจี่ ะได ้รับค่าเชา่
เท่านัน ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 33


่ โอนสท
ผูใ้ ห้เชา ิ ธิการเชา
่ โดยชอบ

ผู ้ให ้เชา่ ผู ้เชา่ ผู ้ให ้เชา่ ผู ้เชา่

ค่าเชา่
ิ ธิ
ผู ้รับโอนสท

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 34


ิ ทีใ่ ห ้เชา่
บทที่ 7 การโอนทรัพย์สน

1. การโอนทรัพย์สน ิ ทีใ่ ห ้เชา่


2. การโอนสงั หาริมทรัพย์ทใี่ ห ้เชา่
3. การโอนอสงั หาริมทรัพย์ทใี่ ห ้เชา่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 35


ิ ทีใ่ ห ้เชา่
1. การโอนทรัพย์สน
การโอนทรัพย์สน ิ ทีใ่ ห ้เชา่ หมายถึง การโอนกรรมสท ิ ธิใ์ นตัว
ทรัพย์สนิ ทีใ่ ห ้เชา่
กล่าวคือ เมือ ่ เจ ้าของทรัพย์สน ิ นำทรัพย์ของตนออกให ้เชา่
และในระหว่างอายุสญ ั ญาเชา่ สามารถโอนทรัพย์สน ิ ให ้แก่
บุคคลอืน ่ ได ้โดยอาศย ั หลักกรรมสท ิ ธิต
์ าม ป.พ.พ มาตรา 1336
เจ ้าของทรัพย์ ย่อมมีกรรมสท ิ ธิ์ จึงสามารถจำหน่ายจ่ายโอน
ทรัพย์ของตนได ้ทัง้ สน ิ้
สว่ นการโอนทรัพย์สน
ิ ทีใ่ ห ้เชา่ จะมีผลทำให ้สญ
ั ญาเชา่ ระงับ
ไปหรือไม่นัน
้ สามารถแยกพิจารณาได ้ดังนี้
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 36
2. การโอนสงั หาริมทรัพย์ทใ่ี ห ้เชา่
2.1 หลัก กรณีเชา่ สงั หาริมทรัพย์ หรือสงั หาริมทรัพย์พเิ ศษ เมือ ่ มี
การโอนทรัพย์ทรัพย์ทเี่ ชา่ ไป สญ ั ญาเชา่ ย่อมระงับ (แม ้ว่าจะยังไม่
หมดระยะเวลาการเชา่ ) บุคคลภายนอกผู ้รับโอนทรัพย์ทเี่ ชา่ ดัง
กล่าว มิใชค ่ ส
ู่ ญั ญาทีจ
่ ะต ้องถูกผูกพันให ้ให ้เชา่ ทรัพย์นัน
้ อีกต่อไป
ตัวอย่าง บอลเชา่ รถยนต์จากบาส มีกำหนด 3 ปี หลังจากบอลเชา่
ได ้เพียง 1 ปี บาสได ้ขายรถยนต์ไปให ้กับแมน กรรมสท ิ ธิใ์ นตัว
รถยนต์ได ้โอนเป็ นของแมน ทำให ้สญ ั ญาเชา่ ระหว่างบอลกับบาส
สนิ้ สุดลง ดังนี้ แมนในฐานะเจ ้าของกรรมสท ิ ธิค
์ นใหม่ไม่ต ้อง
ผูกพันตามสญ ั ญาเชา่ เดิม

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 37


2.2 เว ้นแต่ ถ ้าคูส ั ญาตกลงให ้สญ
่ ญ ั ญาเชา่ มี
ผลต่อไป และผู ้รับโอนยินยอมก็ยอ ่ มทำได ้
2.3 กรณีการโอนทรัพย์โดยตกทอดทาง
มรดกตาม ป.พ.พ มาตรา1600 สญ ั ญาเชา่ ไม่
ระงับ เพราะถือว่า ทายาทผู ้รับโอนทรัพย์
มิใชบ่ ค
ุ คลภายนอก
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 38
3. การโอนอสงั หาริมทรัพย์ทใ่ี ห ้เชา่
3.1 กรณีเชา่ อสงั หาริมทรัพย์ ทีม ่ ห
ี ลักฐานเป็ นหนังสอื หรือทำเป็ นหนังสอ ื และจด
ทะเบียนต่อพนักงานเจ ้าหน ้าทีต ่ าม ป.พ.พ มาตรา 538
ป.พ.พ มาตรา 569 บัญญัตวิ า่ อันสญ ั ญาเชา่ อสงั หาริมทรัพย์นัน
้ ย่อมไม่ระงับไป
เพราะเหตุโอนกรรมสท ิ ธิท
์ รัพย์สน ิ ซงึ่ ให ้เชา่
ผู ้รับโอนย่อมรับไปทัง้ สท ิ ธิและหน ้าทีข่ องผู ้โอนซงึ่ มีตอ
่ ผู ้เชา่ นัน
้ ด ้วย
ตัวอย่าง บอลทำหนังสอ ื สญั ญาเชา่ บ ้านจากบาส มีกำหนดการเชา่ 3 ปี เวลาผ่าน
ไปเพียง 1 ปี บาสจดทะเบียนโอนขายบ ้านให ้กับแมน เช น ่ นีแ ้ ล ้ว แมนต ้องถูก
ผูกพันทีจ ่ ะต ้องให ้บอลเชา่ บ ้านต่อไปจนครบกำหนด 3 ปี เพราะ ป.พ.พ มาตรา
569 บัญญัตเิ ป็ นข ้อยกเว ้นของหลักบุคคลสท ิ ธิ แมนจึงต ้องไปรับซงึ่ สท ิ ธิและ
หน ้าทีข ่ องบาสผู ้ให ้เชา่ เดิม โดยแมนย่อมได ้รับค่าเชา่ จากบอล

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 39


3.2 กรณีเชา่ อสงั หาริมทรัพย์ทไี่ ม่มห ี ลักฐานเป็ นหนังสอ ื ข ้อตกลงของเจ ้าของเดิมทีใ่ ห ้เชา่
ไม่มผ ี ลผูกพันผู ้รับโอน ผู ้รับโอนมีสทิ ธิฟ้องขับไล่ผู ้เชา่ ได ้ทันทีโดยไม่ต ้องบอกเลิกสญ ั ญา
เชา่ ก่อน หรือบอกกล่าวก่อน ผู ้เชา่ ไม่อาจยก หรืออ ้างสท ิ ธิตาม ป.พ.พ มาตรา 569 มาต่อสู ้
ผู ้รับโอนได ้
ฎีกาที1่ 719/2524 จำเลยเชา่ ตึกแถวจาก จ. โดยไม่มห ื ต่อมา จ. โอน
ี ลักฐานเป็ นหนังสอ
กรรมสท ิ ธิต
์ ก
ึ แถวให ้โจทก์ โจทก์กบ
ั จำเลยไม่มนี ต
ิ ส ั พันธ์กน
ิ ม ั การบอกเลิกการเชา่ ตึกแถว
จะชอบหรือไม่ จึงไม่ใชส ่ าระสำคัญ โจทก์เจ ้าของตึกแถวย่อมฟ้ องขับไล่จำเลยได ้โดยไม่
จำต ้องบอกกล่าวก่อน
ั ญาต่างตอบแทนระหว่าง จ. กับจำเลยมีอยูจ
แม ้สญ ่ ริง ก็มผี ลผูกพันเฉพาะ จ. กับจำเลย
เท่านัน
้ เมือ ั ญาต่างตอบแทนด ้วยแล ้ว จำเลยก็ไม่ม ี
่ โจทก์มไิ ด ้ยินยอมตามข ้อตกลงในสญ
ิ ธิทจ
สท ี่ ะยกเอาข ้อตกลงในสญ ั ญาต่างตอบแทนขึน ้ เป็ นข ้อต่อสูกั้ บโจทก์ซงึ่ เป็ นเจ ้าของ
กรรมสท ิ ธิต์ ก
ึ แถวอันได ้รับมาโดยชอบ

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 40


่ ละความรับผิดของผู ้ให ้เชา่
บทที่ 8 หน ้าทีแ
ทรัพย์สนิ
1. หน ้าทีแ ่ ละความรับผิดของผู ้ให ้เชา่ ทรัพย์สน ิ
2. ผู ้ให ้เชา่ มีหน ้าทีต
่ ้องสง่ มอบทรัพย์สน ิ ทีใ่ ห ้เชา่ ให ้แก่ผู ้เชา่
3. ผู ้ให ้เชา่ มีหน ้าทีต่ ้องจัดการซอ ่ มแซมทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ หาก
มีความชำรุดบกพร่องเกิดขึน ้ ในระหว่างเวลาเชา่
4. ผู ้ให ้เชา่ ต ้องรับผิดในความชำรุดบกพร่องของทรัพย์สน ิ ที่
เชา่
5. ผู ้ให ้เชา่ ต ้องรับผิดต่อผู ้เชา่ หากผู ้เชา่ ถูกรอนสท ิ ธิ

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 41


่ ละความรับผิดของผู ้ให ้เชา่
1. หน ้าทีแ
ทรัพย์สนิ
- ผู ้ให ้เชา่ มีหน ้าทีต
่ ้องสง่ มอบทรัพย์สน ิ ทีใ่ ห ้เชา่ ให ้แก่ผู ้
เชา่
- ผู ้ให ้เชา่ มีหน ้าทีต่ ้องจัดการซอ ่ มแซมทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่
หากมีความชำรุดบกพร่องเกิดขึน ้ ในระหว่างเวลาเชา่
- ผู ้ให ้เชา่ ต ้องรับผิดในความชำรุดบกพร่องของทรัพย์สน ิ
ทีเ่ ชา่
- ผู ้ให ้เชา่ ต ้องรับผิดต่อผู ้เชา่ หากผู ้เชา่ ถูกรอนสท ิ ธิ

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 42


2. ผู ้ให ้เชา่ มีหน ้าทีต
่ ้องสง่ มอบทรัพย์สน
ิ ที่
ให ้เชา่ ให ้แก่ผู ้เชา่
2.1 ป.พ.พ มาตรา 549 “การสง่ มอบทรัพย์สน ิ ซงึ่ เชา่ ก็ด ี .......ท่าน
ให ้บังคับด ้วยบทบัญญัตท ิ งั ้ หลายแห่งประมวลกฎหมายนีว้ า่ ด ้วย
การซอ ื้ ขายอนุโลมความตามควร” ( ป.พ.พ 461- 471)
ได ้แก่ วิธก ี ารสง่ มอบ สถานทีใ่ นการสง่ มอบ จำนวน ชนิด ประเภท
สงิ่ สำคัญ คือ การสง่ มอบต ้องเป็ นผลให ้ผู ้เชา่ สามารถเข ้าครอบ

ครองใชประโยชน์ ในทรัพย์สน ิ นัน
้ ได ้ มฉ
ิ ะนัน
้ แล ้ว ยังถือไม่ได ้ว่าผู ้
ให ้เชา่ สง่ มอบทรัพย์ทเี่ ชา่ โดยชอบแล ้ว

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 43


ฎีกาที่ 330/2497 เชา่ นากันแล ้ว ผู ้ให ้เชา่ ไปชเี้ ขตที่
นาทีเ่ ชา่ ให ้แก่ผู ้เชา่ แต่ปรากฎว่าผู ้เชา่ เข ้าไปครอบ
ครองไม่ได ้ เพราะบุตรของผู ้เชา่ คนเดิมยังปลูกเรือน
อยูใ่ นทีเ่ ชา่ และยังแย่งทำนาเสย ี ด ้วย
ดังนี้ ไม่เรียกว่า ผู ้ให ้เชา่ ได ้สง่ มอบทรัพย์สน ิ ที่
เชา่ (ทีน
่ าทีเ่ ชา่ )โดยชอบ ผู ้ให ้เชา่ ต ้องรับผิดต่อผู ้
เชา่ (คืนค่าเชา่ และใชค่้ าเสย ี หายให ้แก่ผู ้เชา่ )

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 44


2.2 ผู ้ให ้เชา่ ต ้องสง่ มอบทรัพย์สน ิ ทีใ่ ห ้เชา่ ในสภาพอันซอ ่ มแซมดีแล ้ว
ตาม ป.พ.พ มาตรา 546
(1) ถ ้าผู ้ให ้เชา่ สง่ มอบทรัพย์ในสภาพอันซอ ่ มแซมไม่ด ี หรือชำรุดบกพร่อง
กฎหมายบัญญัตวิ า่ ผู ้ให ้เชา่ ต ้องรับผิดต่อผู ้เชา่ ตาม ป.พ.พ มาตรา 472
(2) ข ้อยกเว ้นทีผ ่ ู ้ให ้เชา่ ไม่ต ้องรับผิดต่อผู ้เชา่ เพราะเหตุทรัพย์สน ิ ทีส
่ ง่
มอบชำรุดบกพร่อง (ป.พ.พ มาตรา 473)
-ผู ้เชา่ ได ้รู ้อยูแ
่ ล ้วแต่ในเวลาทำสญ ั ญาเชา่ ว่าทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ มีความชำรุด
บกพร่อง หรือควรจะได ้รู ้เชน ่ นัน้ หากได ้ใชความระมั้ ดระวังอันจะพึงคาด
หมายได ้
-ถ ้าความชำรุดบกพร่องนัน ้ เป็ นอันเห็นประจักษ์แล ้วในเวลาสง่ มอบ และผู ้
เชา่ รับเอาทรัพย์สน ิ นัน
้ ไว ้โดยมิได ้อิดเอือ ้ น

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 45


ฎีกาที่ 8530/2544 สญ ั ญาทีจ ่ ำเลยเชา่ ใชเครื
้ อ ่ งวิทยุ
คมนาคมจากโจทก์ มีข ้อความว่า จำเลยผู ้เชา่ ตกลงนำ
เครือ่ งวิทยุคมนาคมไปติดตัง้ ณ หน่วยงานของจำเลย
แต่ปรากฏว่า ในวันทีท ่ ำสญั ญาดังกล่าว โจทก์ผู ้ให ้เชา่
ไม่ได ้สง่ มอบวิทยุคมนาคมให ้แก่จำเลยได ้นำไปใชตาม ้
ข ้อตกลงในสญ ั ญาจึงขัดต่อ ป.พ.พ มาตรา 546 สญ ั ญา
ทีจ่ ำเลยเชา่ ใชเครื
้ อ ่ งวิทยุคมนาคมย่อมไม่สมบูรณ์ ไม่ม ี
ผลบังคับจำเลยตามสญ ั ญาเชน ่ กัน โจทก์จงึ ไม่มส ิ ธิ
ี ท
เรียกค่าเชา่ ค่าเสยี หาย และบังคับให ้จำเลยคืนเครือ ่ ง
วิทยุคมนาคมแก่โจทก์ LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 46
2.3 ผู ้ให ้เชา่ ต ้องสง่ มอบทรัพย์สน ิ ซงึ่ เชา่ ในสภาพอันเหมาะแก่การทีผ ่ ู ้เชา่ จะใชประโยชน์

ตามสญ ั ญาเชา่ ตาม ป.พ.พ มาตรา 548
(1) การสง่ มอบทรัพย์สน ิ ในสภาพไม่เหมาะแก่การทีจ ้ อ
่ ะใชเพื ่ ประโยชน์ทเี่ ชา่ หมายถึง
ลักษณะของทรัพย์ทส ี่ ง่ มอบไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของสญ ั ญาเชา่ แต่มใิ ชเ่ กิดจาก
สภาพของทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ ว่ามีความชำรุดบกพร่อง
เชน่ เชา่ รถเพือ ่ ไปบรรทุกขนของ แต่กลับสง่ รถยนต์เก๋งมาให ้ใช ้
่ มีการสง่ มอบทรัพย์สน
(2) เมือ ิ ทีไ่ ม่อยูใ่ นสภาพเหมาะแก่การใชเพื
้ อ่ ประโยชน์ทเี่ ชา่ ผู ้เชา่ มี
สทิ ธิดงั ต่อไปนี้
- ผู ้เชา่ จะเรียกให ้ผู ้ให ้เชา่ สง่ มอบทรัพย์ให ้ถูกต ้องก็ได ้ตาม ป.พ.พ มาตรา 213 หรือ
- ผู ้เชา่ ได ้สท
ิ ธิบอกเลิกสญ ั ญาเชา่ ได ้ ทงั ้ นีต
้ ามที่ ป.พ.พ มาตรา 548 บัญญัตวิ า่ “ถ ้าผู ้ให ้
เชา่ สง่ มอบทรัพย์สน ิ ซงึ่ เชา่ นัน
้ โดยสภาพไม่เหมาะแก่การทีจ ้ อ
่ ะใชเพื ่ ประโยชน์ทเี่ ชา่ มา ผู ้
เชา่ จะบอกเลิกสญ ั ญาเสย ี ก็ได”้ และหากผู ้เชา่ ได ้รับความเสย ี หายอย่างใด ก็ยอ ่ มเรียกค่า
เสยี หายได ้ตามป.พ.พ มาตรา 391 วรรคท ้าย

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 47


3. ผู ้ให ้เชา่ มีหน ้าทีต ่ มแซมทรัพย์สน
่ ้องจัดการซอ ิ ทีเ่ ชา่
หากมีความชำรุดบกพร่องเกิดขึน ้ ในระหว่างเวลาเชา่
ป.พ.พ มาตรา 547 ผู ้เชา่ ต ้องเสย ี ค่าใชจ่้ ายไปโดยความ
จำเป็ นและสมควรเพือ ่ รักษาทรัพย์สน ิ ซงึ่ เชา่ นัน้ เท่าใด ผู ้ให ้
เชา่ จำต ้องชดใชให้ ้แก่ผู ้เชา่ เว ้นแต่คา่ ใชจ่้ ายเพือ ่ บำรุง
รักษาตามปกติและเพือ ่ ซอ ่ มแซมเพียงเล็กน ้อย
ป.พ.พ มาตรา 550 ผู ้ให ้เชา่ ย่อมต ้องรับผิดในความชำรุด
บกพร่องอันเกิดขึน ้ ในระหว่างเวลาเชา่ และผู ้ให ้เชา่ ต ้อง
จัดการซอ ่ มแซมทุกอย่างบรรดาซงึ่ เป็ นการจำเป็ นขึน ้ เว ้น
แต่การซอ ่ มแซมชนิดซงึ่ มีกฎหมายหรือจารีตประเพณีวา่ ผู ้
เชา่ จะพึงต ้องทำเอง
ป.พ.พ มาตรา 553 ผู ้เชา่ จำต ้องสงวนทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ นัน

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 48
3.1 ผู ้ให ้เชา่ มีหน ้าทีต่ ้องจัดการซอ ่ มแซมทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ หากมี
ความชำรุดบกพร่องเกิดขึน ้ ในระหว่างเวลาเชา่
3.2 ความชำรุดบกพร่องซงึ่ ผู ้ให ้เชา่ มีหน ้าทีต ่ ้องซอ ่ มแซม ได ้แก่
ความชำรุดบกพร่องอย่างมาก ทัง้ นีเ้ ป็ นไปตาม ป.พ.พ มาตรา 550
ดังนัน ้ เมือ่ ทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ ชำรุดบกพร่องอย่างมาก อันเป็ นหน ้าที่
ของผู ้ให ้เชา่ จะต ้องรับผิดชอบ ผู ้เชา่ มีสท ิ ธิดงั นี้
- เรียกให ้ผู ้ให ้เชา่ จัดการซอ ่ มแซม หรือ
- ผู ้เชา่ ทำการซอ ่ มแซมเอง แล ้วเรียกค่าใชจ่้ ายในการซอ ่ มแซม
จากผู ้ให ้เชา่ ตาม ป.พ.พ มาตรา 547

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 49


3.3 สว่ นความชำรุดบกพร่องซงึ่ ผู ้เชา่ มีหน ้าทีต ่ ้องซอ ่ มแซม
และออกค่าใชจ่้ ายในการซอ ่ มแซมเอง ได ้แก่
- การซอ ่ มแซมเล็กน ้อยเพือ ่ บำรุงรักษาตามปกติ ซงึ่ ป.พ.พ
มาตรา 547 ตอนท ้าย กำหนดให ้เป็ นหน ้าทีข ่ องผู ้เชา่ พึงทำเอง
เชน่ รถยนต์ทเี่ ชา่ ยางรั่ว หลอดไฟฟ้ าในบ ้านเชา่ แตก กลอน
ประตูหน ้าต่างเสย ี สายฝั กบัวในห ้องน้ำชำรุดฉีกขาด เป็ นต ้น (ป
.พ.พ มาตรา 547 ประกอบกับมาตรา 553)
- การซอ ่ มแซมซงึ่ จารีตประเพณีวา่ ผู ้เชา่ จะพึงต ้องทำเอง กรณี
้ ้องดูวา่ เชา่ ทรัพย์ทใี่ ด ต ้องยึดถือประเพณีทน
นีต ี่ ั่น (ป.พ.พ
มาตรา 550) LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 50
ฎีกาที่ 162/2512 เมือ ่ การซอ ่ มแซมเป็ นการซอ ่ มเพือ ่ ความ
สะดวกสะบายในการอยูแ ่ ละความสวยงาม ไม่ใชต ่ ้องซอ ่ มเพราะ
ความจำเป็ นและสมควรเพือ ่ การรักษาทรัพย์ทเี่ ชา่ ทัง้ บาง
รายการก็เป็ นการซอ ่ มแซมเล็กน ้อย ผู ้เชา่ จึงไม่มส ิ ธิเรียกร ้อง
ี ท
เงินค่าซอ่ มแซมอาคารพิพาท
ฎีกาที่ 1215/2555 สญ ั ญาเชา่ โรงภาพยนตร์มข ี ้อความว่า “ผู ้เชา่
สญั ญาว่าจะจัดการดูแลรักษาทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ ให ้อยูใ่ นสภาพที่
เรียบร ้อย และบำรุงรักษาให ้อยูใ่ นสภาพทีใ่ ชงานได ้ ้เสมอด ้วยค่า
ใชจ่้ ายของผู ้เชา่ เองหากมีการชำรุดบกพร่อง แตกหักเสย ี หาย
ด ้วยประการใด ๆ ผู ้เชา่ จะต ้องรีบแจ ้งให ้ผู ้ให ้เชา่ ทราบทันที และ
ดำเนินการซอ ่ มแซมให ้อยูใ่ นสภาพเดิมด ้วย ค่าใชจ่้ ายของผู ้เชา่
เองทัง้ สนิ้ ” ข ้อตกลงดังกล่าว หมายถึง การซอ ่ มแซมบำรุงรักษา
ตามปกติและเป็ นการซอ ่ มแซมเล็กน ้อยเท่านัน ้ แต่การทีอ ่ าคาร
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 51
ฎีกาที่ 1471/2548 สญ ั ญาเชา่ ระบุวา่ ผู ้เชา่ ต ้องบำรุงรักษาทรัพย์สน ิ ทัง้ หมดซงึ่
ประกอบเป็ นสงิ่ ทีเ่ ชา่ ให ้อยูใ่ นสภาพดีและเรียบร ้อย เพือ ่ ซอ ่ มสงิ่ ทีส
่ ก ึ หรอจากการ

ใชงานตามปกติ นัน
้ หมายถึง ข ้อสญ ั ญาทีใ่ ห ้ผู ้เชา่ มีหน ้าทีต
่ ้องสงวนทรัพย์สน ิ ที่
เชา่ เสมอกับทีว่ ญ
ิ ญูชนจะพึงสงวนทรัพย์สน ิ ของตนเอง ต ้องบำรุงรักษาและ
ทำการซอ ่ มแซมเล็กน ้อยตามที่ ป.พ.พ มาตรา 553 บัญญัตไิ ว ้เท่านัน ้ หาได ้
หมายความว่าผู ้เชา่ จะต ้องรับผิดซอ ่ มแซมทรัพย์ทเี่ ชา่ ในทุก ๆ กรณีไม่
การซอ ่ มแซมใหญ่ซงึ่ เป็ นเรือ ่ งความจำเป็ นและสมควรเพือ ่ รักษาทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่

ให ้อยูใ่ นสภาพใชงานได ่ องจำเลยผู ้ให ้เชา่ ตามมาตรา 547 หาใช ่
้ เป็ นหน ้าทีข
เป็ นการบำรุงรักษาตามปกติและเพือ ่ ซอ่ มแซมเล็กน ้อย อันจะตกอยูใ่ นความรับ
ผิดของโจทก์ผู ้เชา่ ไม่ ดังนัน ้ จำเลยในฐานะผู ้ให ้เชา่ จึงเป็ นฝ่ ายต ้องรับผิดในการ
ซอ่ มแซมดังกล่าวตามมาตรา 550

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 52


3.4 การทีผ ่ ู ้เชา่ หรือผู ้ให ้เชา่ จะใชส้ ท ิ ธิฟ้องอีกฝ่ ายหนึง่ ให ้รับ
ผิดซอ ่ มแซมทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ ได ้นัน
้ ต ้องปรากฏว่า การเชา่ ต ้องมี
หลักฐานเป็ นหนังสอ ื ลงลายมือชอ ื่ ฝ่ ายทีต ่ ้องรับผิด (ลายมือชอ ื่
ผู ้เชา่ หรือผู ้ให ้เชา่ ) มาแสดงตาม ป.พ.พ มาตรา 538 แล ้วเท่านัน ้
ฎีกาที่ 1159-1160/2492 โจทก์ฟ้องว่า โจทก์เชา่ ตึกของจำเลย
โจทก์ต ้องซอ ่ มแซมจึงเข ้าอยูไ่ ด ้ ขอให ้จำเลยจ่ายค่าซอ ่ ม เมือ่
ได ้ความว่า มิได ้มีสญ ั ญาเชา่ ระหว่างโจทก์กบ ั จำเลย ฟ้ องของ
โจทก์ข ้อนีย ้ อ ่ มตกไป

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 53


4. ผู ้ให ้เชา่ ต ้องรับผิดในความชำรุด
บกพร่องของทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่
ป.พ.พ มาตรา 549 การสง่ มอบทรัพย์สน ิ ซงึ่ เชา่ ก็ด ี ความรับผิดของผู ้
ให ้เชา่ ในกรณีชำรุดบกพร่องและรอนสท ิ ธิก็ด ี ผลแห่งข ้อสญ ั ญาว่า
จะไม่ต ้องรับผิดก็ด ี เหล่านี้ ท่านให ้บังคับด ้วยบทบัญญัตท ิ งั ้ หลาย
แห่งประมวลกฎหมายนีว้ า่ ด ้วยการซอ ื้ ขายอนุโลมความตามควร
ป.พ.พ มาตรา 550 ผู ้ให ้เชา่ ย่อมต ้องรับผิดในความชำรุดบกพร่องอัน
เกิดขึน ้ ในระหว่างเวลาเชา่ และผู ้ให ้เชา่ ต ้องจัดการซอ ่ มแซมทุก
อย่างบรรดาซงึ่ เป็ นการจำเป็ นขึน ้ เว ้นแต่การซอ ่ มแซมชนิดซงึ่ มี
กฎหมายหรือจารีตประเพณีวา่ ผู ้เชา่ จะพึงต ้องทำเอง

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 54


ป.พ.พ มาตรา 472 ในกรณีทท ี่ รัพย์สน ิ ซงึ่ ขายนัน ้ ชำรุดบกพร่องอย่าง
หนึง่ อย่างใดอันเป็ นเหตุให ้เสอ ื่ มราคาหรือเสอ ื่ มความเหมาะสมแก่
ประโยชน์อน ้ นปกติก็ด ี ประโยชน์ทม
ั มุง่ จะใชเป็ ี่ งุ่ หมายโดยสญ ั ญาก็
ดี ท่านว่าผู ้ขายต ้องรับผิด
ความทีก ่ ล่าวมาในมาตรานีย ้ อ
่ มใชได ้ ้ ทงั ้ ทีผ
่ ู ้ขายรู ้อยูแ ่ ล ้วหรือไม่รู ้ว่า
ความชำรุดบกพร่องมีอยู่
ป.พ.พ มาตรา 473 ผู ้ขายย่อมไม่ต ้องรับผิดในกรณีดงั จะกล่าวต่อไป
นี้ คือ
ื้ ได ้รู ้อยูแ
(1) ถ ้าผู ้ซอ ่ ล ้วแต่ในเวลาซอ ื้ ขายว่ามีความชำรุดบกพร่อง
หรือควรจะได ้รู ้เชน ่ นัน ้
้ หากได ้ใชความระมั ดระวังอันจะพึงคาดหมาย
ได ้แต่วญิ ญูชน
(2) ถ ้าความชำรุดบกพร่องนัน ้ เป็ นอันเห็นประจักษ์ แล ้วในเวลาสง่
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 55
ป.พ.พ มาตรา 483 คูส ั ญาซอ
่ ญ ื้ ขายจะ
ตกลงกันว่าผู ้ขายจะไม่ต ้องรับผิดเพือ ่
ความชำรุดบกพร่องหรือเพือ ่ การรอนสท ิ ธิ
ก็ได ้
ป.พ.พ มาตรา 485 ข ้อสญ ั ญาว่าจะไม่ต ้อง
รับผิดนัน
้ ไม่อาจคุ ้มความรับผิดของผู ้ขาย
ในผลของการอันผู ้ขายได ้กระทำไปเอง
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 56
ป.พ.พ มาตรา 551 ถ ้าความชำรุดบกพร่องแห่งทรัพย์สน ิ
ทีเ่ ชา่ นัน
้ ไม่เป็ นเหตุถงึ แก่ผู ้เชา่ จะต ้องปราศจากการใช ้
และประโยชน์ และผู ้ให ้เชา่ ยังแก ้ไขได ้ไซร ้ ผู ้เชา่ ต ้อง
บอกกล่าวแก่ผู ้ให ้เชา่ ให ้จัดการแก ้ไขความชำรุด
บกพร่องนัน ้ ก่อน ถ ้าและผู ้ให ้เชา่ ไม่จัดทำให ้คืนดีภายใน
เวลาอันสมควร ผู ้เชา่ จะบอกเลิกสญ ั ญาเสย ี ก็ได ้ หากว่า
ความชำรุดบกพร่องนัน ้ ร ้ายแรงถึงสมควรจะทำเชน ่ นัน

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 57


4.1 ความรับผิดของผู ้ให ้เชา่ กรณีต ้องรับผิด
ในความชำรุดบกพร่องของทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่
แยกพิจารณาได ้ ดงั นี้
- รับผิดในความชำรุดบกพร่องก่อนสง่ มอบ
ตาม ป.พ.พ มาตรา 549 ประกอบกับ ป.พ.พ
มาตรา 472
- รับผิดในความชำรุดบกพร่องระหว่างระยะ
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 58
4.2 รับผิดในความชำรุดบกพร่องก่อนสง่ มอบตาม ป.พ.พ
มาตรา 549 ประกอบกับ ป.พ.พ มาตรา 472
(1) หลัก ถ ้าทรัพย์ทเี่ ชา่ ชำรุดบกพร่องเป็ นเหตุให ้เสอ ื่ มความ
เหมาะสมแก่ประโยชน์อน ั มุง่ จะใชเป็้ นปกติ หรือประโยชน์ทม ี่ งุ่
หมายโดยสญ ั ญา ผู ้ให ้เชา่ ต ้องรับผิด ไม่วา่ ผู ้ให ้เชา่ จะรู ้ หรือ
ไม่รู ้ว่าความชำรุดบกพร่องนัน ้ มีอยู่ (ป.พ.พ มาตรา 549
ประกอบกับ ป.พ.พ มาตรา 472)
ตัวอย่าง ดำเชา่ รถยนต์จากแดงเพือ ่ ไปธุระต่างจังหวัด ระหว่าง
ทีข
่ บ
ั ไป รถยนต์เกิดเพลาหักเพราะมีรอยร ้าวอยูก ่ อ่ นทีด ่ ำจะเชา่
มา เชน ่ นี้ แดงผู ้ให ้เชา่ ต ้องรับผิด แม ้ว่าแดงจะไม่ทราบมาก่อน
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 59
(2) ข ้อยกเว ้น ผู ้ให ้เชา่ ไม่ต ้องรับผิด (ป.พ.พ มาตรา 549 ประกอบกับ ป.พ.พ มาตรา
473)
- ถ ้าผู ้เชา่ ได ้รู ้อยูแ
่ ล ้วแต่ในเวลาเชา่ ว่ามีความชำรุดบกพร่อง หรือควรจะได ้รู ้เชน ่ นัน ้

หากได ้ใชความระมั ดระวังอันจะพึงคาดหมายได ้แต่วญ ิ ญูชน
เชน่ แดงได ้แจ ้งแก่ดำผู ้เชา่ แล ้วว่า เพลารถยนต์มรี อยร ้าวแต่ดำคิดว่าคงไม่เป็ นไร
จึงยังตกลงเชา่ เชน ่ นี้ หากเกิดความเสย ี หายขึน
้ แดงผู ้ให ้เชา่ ไม่ต ้องรับผิด
- ถ ้าความชำรุดบกพร่องนัน ้ เป็ นอันเห็นประจักษ์แล ้วในเวลาสง่ มอบ และผู ้เชา่ รับ
เอาทรัพย์สน ิ นัน้ ไว ้ โดยมิได ้อิดเอือ้ น
เชน ่ ขณะทีแ ่ ดงสง่ มอบรถยนต์ให ้แก่ดำนัน ้ ดำผู ้เชา่ ได ้ทดลองขับและเห็นแล ้วว่า
ระบบห ้ามล ้อของรถยนต์คน ั ดังกล่าวมีปัญหา ไม่สามารถห ้ามล ้อได ้ในระยะกระชน ั้
ชดิ แต่ดำก็รับรถยนต์ไปโดยไม่วา่ กล่าวอะไร เชน ่ นี้ แดงผู ้ให ้เชา่ ไม่ต ้องรับผิดใน
ความชำรุดบกพร่อง

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 60


(3) นอกจากนี้ ผู ้เชา่ กับผู ้ให ้เชา่ อาจตกลงกันว่า ผู ้ให ้เชา่ ไม่ต ้องรับผิด
ในความชำรุดบกพร่องของทรัพย์ทเี่ ชา่ ก็ได ้ (ป.พ.พ มาตรา 549
ประกอบกับ ป.พ.พ มาตรา 483)
(4) แต่ข ้อสญ ั ญาว่าจะไม่ต ้องรับผิดนัน ้ ไม่อาจคุ ้มความรับผิดของผู ้ให ้
เชา่ ในผลของการอันผู ้ให ้เชา่ ได ้กระทำลงไปเอง หรือผลแห่งข ้อความ
จริงอันผู ้ให ้เชา่ ได ้รู ้อยูแ
่ ล ้ว และปกปิ ดเสย ี (ป.พ.พ มาตรา 549
ประกอบกับ ป.พ.พ มาตรา 485)
เชน ่ แดงผู ้ให ้เชา่ ทราบดีอยูแ ่ ล ้วว่า เพลารถยนต์มรี อยร ้าว แต่ปกปิ ด
ไม่ยอมแจ ้งให ้ดำผู ้เชา่ รู ้ หากดำขับรถยนต์ไปแล ้วเกิดความเสย ี หาย
ขึน
้ แม ้จะมีสญ ั ญาว่า ผู ้ให ้เชา่ ไม่ต ้องรับผิดในความชำรุดบกพร่อง แต่
แดงไม่อาจยกข ้อตกลงนีข ้ น ึ้ อ ้างได ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 61


4.3 รับผิดในความชำรุดบกพร่องระหว่างระยะเวลาเชา่ ตาม ป.พ.พ มาตรา 550
ประกอบกับมาตรา 553
ในระหว่างระยะเวลาทีส ่ ญ ั ญาเชา่ ยังมีผลบังคับใชนั้ น ้ หากเกิดความชำรุดบกพร่อง
้ กับทรัพย์ทเี่ ชา่ ผู ้ให ้เชา่ ต ้องรับผิดชอบ เว ้นแต่การซอ
ขึน ่ มแซมชนิดซงึ่ มีกฎหมาย
หรือจารีตประเพณีวา่ ผู ้เชา่ จะพึงต ้องทำเอง เชน ่ การซอ ่ มแซมเล็กน ้อย
ตัวอย่างที่ 1 เชา่ บ ้านและฝนตกหนักเป็ นเหตุให ้หลังคาแตก และหล่นลงมา ฝา
บ ้านพังเสยี หาย ความเสย ี หายทีเ่ กิดขึน
้ นี้ ผู ้ให ้เชา่ ย่อมต ้องรับผิด
ตัวอย่างที่ 2 เชา่ บ ้าน และต่อมาหลอดไฟขาดจากการใชงาน ้ ่ นี้ เป็ นความเสย
เชน ี
หายเล็กน ้อย ผู ้เชา่ ต ้องซอ ่ มแซมและออกค่าใชจ่้ ายในการซอ ่ มแซมเอง ผู ้ให ้เชา่
ไม่ต ้องรับผิด

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 62


4.4 สท ิ ธิของผู ้เชา่ ทีจ
่ ะบอกเลิกสญ ั ญาเชา่ ในกรณีทม ี่ คี วาม
ชำรุดบกพร่องเกิดขึน ้ แก่ทรัพย์ทเี่ ชา่ นัน ้ เป็ นไปตาม ป.พ.พ
มาตรา 551
(1) ถ ้าความชำรุดบกพร่องนัน ้ ถึงขนาดทีท ่ ำให ้ผู ้เชา่ ไม่สามารถ

จะใชประโยชน์ จากทรัพย์ทเี่ ชา่ นัน
้ ได ้เลย ผู ้เชา่ บอกเลิกสญ ั ญา
ได ้โดยทันที โดยไม่ต ้องบอกกล่าวแก่ผู ้ให ้เชา่ ก่อน
(2) แต่ถ ้าความชำรุดบกพร่องนัน ้ ไม่ถงึ ขนาดทีท ่ ำให ้ผู ้เชา่ ใช ้
ประโยชน์จากทรัพย์ทเี่ ชา่ นัน ้ ไม่ได ้ ผู ้เชา่ จะบอกเลิกสญ ั ญาเชา่
ทันทีไม่ได ้ หากแต่ผู ้เชา่ ต ้องบอกกล่าวให ้ผู ้ให ้เชา่ จัดการ
ซอ่ มแซมก่อน ถ ้าผู ้ให ้เชา่ ไม่จัดการซอ ่ มแซมภายในเวลาอัน
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 63
5. ผู ้ให ้เชา่ ต ้องรับผิดต่อผู ้เชา่ หากผู ้เชา่
ถูกรอนสท ิ ธิ
ป.พ.พ มาตรา 549 การสง่ มอบทรัพย์สน ิ ซงึ่ เชา่ ก็ด ี
ความรับผิดของผู ้ให ้เชา่ ในกรณีชำรุดบกพร่องและรอน
สท ิ ธิก็ด ี ผลแห่งข ้อสญ ั ญาว่าจะไม่ต ้องรับผิดก็ด ี เหล่านี้
ท่านให ้บังคับด ้วยบทบัญญัตท ิ งั ้ หลายแห่งประมวล
กฎหมายนีว้ า่ ด ้วยการซอ ื้ ขายอนุโลมความตามควร
ป.พ.พ มาตรา 475 หากว่ามีบค ุ คลผู ้ใดมาก่อการรบกวน
ขัดสท ิ ธิของผู ้ซอ ื้ ในอันจะครองทรัพย์สน ิ โดยปกติสข ุ
เพราะบุคคลผู ้นัน ้ มีสทิ ธิเหนือทรัพย์สน ิ ทีไ่ ด ้ซอ
ื้ ขายกัน
นัน
้ อยูใ่ นเวลาซอ ื้ ขายก็ด ี เพราะความผิดของผู ้ขายก็ด ี
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 64
5.1 การรอนสท ิ ธิในสญ ั ญาเชา่ ทรัพย์ หมายถึง การทีผ ่ ู ้เชา่ เสย
ี สทิ ธิ
ไม่ได ้รับประโยชน์ในทรัพย์ทเี่ ชา่ เนือ ่ งจากมีบค ุ คลภายนอกมารบก
วนขัดสท ิ ธิของผู ้เชา่ (ป.พ.พ มาตรา 549 ประกอบกับ ป.พ.พ มาตรา
475) ซงึ่ อาจเกิดจาก
(1) บุคคลภายนอกนัน ้ มีสทิ ธิเหนือทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ นัน
้ อยูใ่ นเวลาทีเ่ ชา่
ตัวอย่างที่ 1 ดำ เชา่ รถยนต์คน ั หนึง่ จากแดง ภายหลังปรากฏว่า
รถยนต์คน ั ดังกล่าวถูกขโมยมา และเจ ้าของรถยนต์ทแ ี่ ท ้จริงได ้
ติดตามเรียกรถยนต์คน ื ไปตาม ป.พ.พ มาตรา 1336
ดังนี้ ดำถูกรอนสท ิ ธิ เพราะเจ ้าของรถยนต์มส ิ ธิเหนือทรัพย์สน
ี ท ิ ทีเ่ ชา่
อยูใ่ นขณะทีด ่ ำทำสญ ั ญาเชา่ รถยนต์กบ ั แดง

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 65


ตัวอย่างที่ 2 เขียวจดทะเบียนรับซอ ื้ ทีด
่ น
ิ แปลง
หนึง่ ซงึ่ มีผู ้ปลอมหนังสอ ื มอบอำนาจของเจ ้าของ
ทีด
่ นิ โดยเขียวไม่ทราบเรือ ่ งมาก่อน ต่อมาเขียว
ทำสญ ั ญาให ้ขาวเชา่ ทีด ่ นิ แปลงนีใ้ นภายหลัง
เจ ้าของทีด ่ น
ิ ทีแ ่ ท ้จริงได ้เรียกร ้องเอาทีด ่ น
ิ คืนไป
ดังนี้ ถือว่า ขาวผู ้เชา่ ถูกรอนสท ิ ธิเพราะเจ ้าของ
ทีด่ นิ แท ้จริง ผู ้เป็ นบุคคลภายนอกมีสท ิ ธิเหนือ
ทรัพย์ทเี่ ชา่ ในขณะขาวทำสญ ั ญาเชา่ ทรัพย์กบ ั
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 66
(2) ความผิดของผู ้ให ้เชา่ เป็ นการทีบ ่ คุ คลภายนอกมามีสท ิ ธิ
เหนือทรัพย์ทเี่ ชา่ และเรียกร ้องเอาทรัพย์ทเี่ ชา่ ไปจนผู ้เชา่ ไม่
อาจใชทรั ้ พย์นัน ้ ได ้ตามปกติ โดยเกิดจากความผิดของผู ้ให ้
เชา่
ตัวอย่างที่ 1 แดงให ้ดำเชา่ รถยนต์มก ี ำหนด 1 ปี เมือ
่ ผ่านไป
ได ้เพียง 2 เดือน แดงโอนขายรถยนต์ให ้แก่ฟ้า และฟ้ าเรียก
ร ้องรถยนต์ไปจากดำโดยไม่ยอมให ้ดำเชา่ ต่อ ดังนี้ ถือว่าดำ
ถูกรอนสท ิ ธิเพราะความผิดของแดงผู ้ให ้เชา่
ตัวอย่างที่ 2 เขียวทำสญ ั ญาให ้ขาวเชา่ บ ้านหลังหนึง่ มี
กำหนด 3 ปี แต่ยงั ไม่ได ้สง่ มอบบ ้านให ้ครอบครอง ต่อมา
เขียวได ้ทำสญ ั ญาให ้เหลืองเชา่ บ ้านดังกล่าวด ้วย มีกำหนด 3
ปี เชน่ กัน และสง่ มอบบ ้านให ้เหลืองเข ้าครอบครอง ซงึ่ ตาม
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 67
ฎีกาที่ 18520/2557
โจทก์อนุญาตให ้บริษัท ท. เข ้าใชพื ้ น ้ ทีบ่ าง
สว่ นทีจ่ ำเลยเชา่ จากโจทก์เพือ ่ ใชเป็้ นทีจ ่ อด
รถยนต์ จนเป็ นเหตุให ้จำเลยไม่สามารถนำรถ
เข ้าจอดในทีด ิ ทีเ่ ชา่ สว่ นทีเ่ หลือได ้ การที่
่ น
บริษัท ท. เข ้ามากระทำการใชพื ้ น
้ ทีท่ จี่ ำเลย
เชา่ โดยโจทก์อนุญาต จึงเป็ นการรบกวนขัด
สท ิ ธิของจำเลยผู ้เชา่ ในอันจะครองทรัพย์สน ิ
โดยปกติสข ุ เพราะความผิดของโจทก์ผู ้ให ้
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 68
5.2 หลัก เมือ ่ เกิดการรอนสท ิ ธิใน
ทรัพย์ทเี่ ชา่
ผู ้เชา่ ย่อมเรียกร ้องให ้ผู ้ให ้เชา่ รับ
ผิดต่อความเสย ี หายทีเ่ กิดขึน ้ ได ้
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 69
ป.พ.พ มาตรา 476 ถ ้าสทิ ธิของผู ้ก่อการรบกวนนัน ื้ รู ้อยูแ
้ ผู ้ซอ ่ ล ้วในเวลาซอื้ ขาย ท่านว่าผู ้ขาย
ไม่ต ้องรับผิด
ป.พ.พ มาตรา 482 ผู ้ขายไม่ต ้องรับผิดในการรอนสท ิ ธิเมือ ่ กรณีเป็ นดังกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) ถ ้าไม่มก ี ารฟ้ องคดี และผู ้ขายพิสจ ิ ธิของผู ้ซอ
ู น์ได ้ว่าสท ื้ ได ้สูญไปโดยความผิดของผู ้ซอ ื้
เอง หรือ
ื้ ไม่ได ้เรียกผู ้ขายเข ้ามาในคดี และผู ้ขายพิสจ
(2) ถ ้าผู ้ซอ ู น์ได ้ว่า ถ ้าได ้เรียกเข ้ามาคดีฝ่ายผู ้ซ อื้
จะชนะ หรือ
(3) ถ ้าผู ้ขายได ้เข ้ามาในคดี แต่ศาลได ้ยกคำเรียกร ้องของผู ้ซอ ื้ เสย
ี เพราะความผิดของผู ้ซอ ื้
เอง
แต่ถงึ กรณีจะเป็ นอย่างไรก็ด ี ถ ้าผู ้ขายถูกศาลหมายเรียกให ้เข ้ามาในคดีและไม่ยอมเข ้าว่าคดี
ร่วมเป็ นจำเลยหรือร่วมเป็ นโจทก์กบ ื้ ไซร ้ ทา่ นว่าผู ้ขายคงต ้องรับผิด
ั ผู ้ซอ

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 70


ป.พ.พ มาตรา 483 คูส ่ ญ ั ญาซอ ื้ ขายจะตกลงกันว่าผู ้
ขายจะไม่ต ้องรับผิดเพือ ่ ความชำรุดบกพร่องหรือ
เพือ
่ การรอนสท ิ ธิก็ได ้
ป.พ.พ มาตรา 485 ข ้อสญ ั ญาว่าจะไม่ต ้องรับผิดนัน

ไม่อาจคุ ้มความรับผิดของผู ้ขายในผลของการอันผู ้
ขายได ้กระทำไปเอง หรือผลแห่งข ้อความจริงอันผู ้
ขายได ้รู ้อยูแ
่ ล ้วและปกปิ ดเสย ี

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 71


5.3 ข ้อยกเว ้น ทีผ ่ ู ้ให ้เชา่ ไม่ต ้องรับผิดในกรณีทม ี่ ก
ี ารรอนสท ิ ธิ
(1) ผู ้เชา่ รู ้อยูแ
่ ล ้วในเวลาเชา่ ว่า บุคคลภายนอกมีสท ิ ธิเหนือกว่า
ทรัพย์สน ิ นัน ้ อยู่ แต่ยงั คงทำสญ ั ญาเชา่ ด ้วย (ป.พ.พ มาตรา 549
ประกอบกับ ป.พ.พ มาตรา 476)
เชน่ ดำเชา่ รถยนต์จากแดง โดยทราบดีอยูแ ่ ล ้วว่า รถยนต์คน ั ดัง
กล่าวถูกลักมา หรือขาวเชา่ ทีด ่ นิ จากเขียวโดยทราบดีอยูแ ่ ล ้วว่า
เขียวกำลังมีคดีพพ ิ าทเรือ ่ งกรรมสท ิ ธิท ์ ดี่ น
ิ กับบุคคลภายนอก
หากต่อมาเกิดความเสย ี หายยขึน ้ ผู ้ให ้เชา่ ไม่ต ้องรับผิด

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 72


(2) ผู ้ให ้เชา่ พิสจ ิ ธิของผู ้เชา่ ได ้สูญ
ู น์ได ้ว่า สท
ไปเพราะความผิดของผู ้เชา่ เอง (ป.พ.พ
มาตรา 549 ประกอบกับ ป.พ.พ มาตรา 482)
เชน่ ดำเชา่ รถยนต์มาจากแดง ต่อมาเหลือง
มาอ ้างว่ารถยนต์เป็ นของตน ดำก็ยอมคืน
รถยนต์ให ้ ทงั ้ ทีค ่ วามจริง แดงได ้สท ิ ธิใน
รถยนต์คน ั ดังกล่าวเพราะซอ ื้ มาจากการขาย
ทอดตลาดของศาลโดยสุจริตตาม ป.พ.พ
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 73
(3) ผู ้เชา่ กับผู ้ให ้เชา่ ตกลงกันว่า ผู ้ให ้เชา่ ไม่ต ้องรับผิดในการ
รอนสท ิ ธิ (ป.พ.พ มาตรา 549 ประกอบกับ ป.พ.พ มาตรา 483)
แต่ข ้อสญ ั ญาไม่ต ้องรับผิดนัน ้ ไม่ทำให ้ผู ้เชา่ พ ้นความรับผิด
ถ ้าการรอนสท ิ ธินัน ้ เกิดจากการกระทำของผู ้ให ้เชา่ เอง หรือผู ้
ให ้เชา่ รู ้ความแล ้วได ้ปกปิ ดเสย ี (ป.พ.พ มาตรา 549 ประกอบ
กับ ป.พ.พ มาตรา 485)
ตัวอย่างที่ 1 แดงให ้ดำเชา่ รถยนต์มก ี ำหนด 1 ปี มีข ้อสญ ั ญา
ว่า แดงไม่ต ้องรับผิดในการรอนสท ิ ธิ เวลาผ่านไป 3 เดือน
แดงขายรถยนต์คน ั ดังกล่าวให ้แก่ฟ้า ดังนี้ แดงต ้องรับผิดใน
การรอนสท ิ ธิ เพราะเหตุทเี่ กิดขึน ้ เป็ นความผิดของแดงผู ้ให ้
เชา่
ตัวอย่างที่ 2 แดงขโมยรถยนต์มาคันหนึง่ เอามาให ้ดำเชา่ มี
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 74
ป.พ.พ มาตรา 477 เมือ ่ ใดการรบกวนขัดสท ิ ธินัน ้
เกิดเป็ นคดีขน ึ้ ระหว่างผู ้ซอื้ กับบุคคลภายนอก ผู ้
ซอ ื้ ชอบทีจ
่ ะขอให ้ศาลเรียกผู ้ขายเข ้าเป็ นจำเลย
ร่วมหรือเป็ นโจทก์รว่ มกับผู ้ซอ ื้ ในคดีนัน
้ ได ้ เพือ

ศาลจะได ้วินจ ิ ฉั ยชขี้ าดข ้อพิพาทระหว่างผู ้เป็ นคู่
กรณีทงั ้ หลายรวมไปเป็ นคดีเดียวกัน

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 75


5.4 เมือ่ มีการรอนสท ิ ธิในทรัพย์ทเี่ ชา่ และเกิดการฟ้ องร ้องเป็ นคดีขน ึ้
โดยผู ้เชา่ อาจจะเป็ นโจทก์ หรือถูกบุคคลภายนอกฟ้ องเป็ นจำเลย ผู ้เชา่
มีสทิ ธิขอให ้ศาลเรียกผู ้ให ้เชา่ เข ้ามาเป็ นโจทก์รว่ มหรือจำเลยร่วมกับตน
ก็ได ้ เพือ
่ ศาลจะได ้ชขี้ าดข ้อพิพาทระหว่างคูก ่ รณีทงั ้ หลายรวมเป็ นคดี
เดียวกัน (ป.พ.พ มาตรา 477 ประกอบมาตรา 549)
ฎีกาที่ 302/2530 โจทก์เชา่ ตึกแถวจากวัด แต่ไม่สามารถเข ้าครอบครอง
ได ้เพราะจำเลยไม่ยอมออกไป โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยผู ้รอนสท ิ ธิพร ้อม
กับขอให ้ศาลเรียกวัดผู ้ให ้เชา่ เข ้าเป็ นจำเลยร่วมหรือโจทก์รว่ มตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 549 ประกอบมาตรา 477 ได ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 76


่ ละความรับผิดของผู ้เชา่
บทที่ 9 หน ้าทีแ
ทรัพย์สนิ
1. หน ้าทีแ ่ ละความรับผิดของผู ้เชา่ ทรัพย์สน ิ
2. ผู ้เชา่ ต ้องใชทรั
้ พย์สน ิ ทีเ่ ชา่ โดยชอบ
3. ผู ้เชา่ มีหน ้าทีต่ ้องสงวนและชว่ ยเหลือรักษาทรัพย์สน ิ ที่
เชา่
4. ผู ้เชา่ มีหน ้าทีต ่ ้องชำระค่าเชา่
5. ผู ้เชา่ ต ้องสง่ มอบทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ คืนให ้แก่ผู ้ให ้เชา่ เมือ

ั ญาเชา่ ได ้เลิกหรือระงับลง
สญ
6. ผู ้เชา่ ต ้องรับผิดถ ้าทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ สูญหาย หรือบุบสลาย
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 77
่ ละความรับผิดของผู ้เชา่
1. หน ้าทีแ
ทรัพย์สนิ
- ผู ้เชา่ ต ้องใชทรั
้ พย์สน ิ ทีเ่ ชา่ โดยชอบ
- ผู ้เชา่ มีหน ้าทีต่ ้องสงวนและชว่ ยเหลือรักษาทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่
- ผู ้เชา่ มีหน ้าทีต ่ ้องชำระค่าเชา่
- ผู ้เชา่ ต ้องสง่ มอบทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ คืนให ้แก่ผู ้ให ้เชา่ เมือ

สญั ญาเชา่ ได ้เลิกหรือระงับลง
- ผู ้เชา่ ต ้องรับผิดถ ้าทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ สูญหาย หรือบุบสลาย

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 78


2. ผู ้เชา่ ต ้องใชทรั
้ พย์สน
ิ ทีเ่ ชา่ โดยชอบ
ป.พ.พ มาตรา 552 อันผู ้เชา่ จะใชทรั ้ พย์สน ิ ทีเ่ ชา่
เพือ่ การอย่างอืน่ นอกจากทีใ่ ชกั้ นตามประเพณี
นิยมปกติ หรือการดังกำหนดไว ้ในสญ ั ญานัน ้ ท่าน
ว่าหาอาจจะทำได ้ไม่
ป.พ.พ มาตรา 554 ถ ้าผู ้เชา่ กระทำการฝ่ าฝื น
บทบัญญัตใิ นมาตรา 552 มาตรา 553 หรือฝ่ าฝื น
ข ้อสญั ญา ผู ้ให ้เชา่ จะบอกกล่าวให ้ผู ้เชา่ ปฏิบต ั ใิ ห ้
ถูกต ้องตามบทกฎหมายหรือข ้อสญ ั ญานัน ้ ๆ ก็ได ้
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 79
2.1 การใชทรั ้ พย์สน ิ โดยชอบ หมายถึง ใชตามประเพณี ้ นย ้
ิ ม ใชตามปกติ หรือ

ใชตามส ั ญา


(1) การใชตามประเพณี นย ิ ม เชน ่ ประเพณีนย ิ มโดยทั่วไป เชา่ บ ้านเพือ ่ อยูอ ั
่ าศย
เชา่ ควายเพือ ่ ไว ้ไถนา เชา่ ม ้าไว ้ขี่ เป็ นต ้น

(2) การใชตามปกติ ขึน
้ อยูก ั ลักษณะและสภาพของทรัพย์ทเี่ ชา่ เชน
่ บ ่ เชา่
รถยนต์เก๋งตามปกติเพือ ่ ใชนั้ ่งโดยสาร หากนำไปบรรทุกย่อมไม่ใชก ่ ารใชตาม ้
ปกติ เป็ นต ้น
(3) การใชตามส ้ ั ญา ขึน
ญ ้ อยูก ่ บ
ั ข ้อตกลงระหว่างคูส ั ญา เชน
่ ญ ่ ตามสญ ั ญา
กำหนดว่า เชา่ รถยนต์เพือ ่ ใชส้ ว่ นตัว หากนำไปรับจ ้างขนสง่ ย่อมไม่ตรงตาม
สญั ญา เป็ นต ้น

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 80


ฎีกาที่ 1257/2546 สญ ั ญาเชา่ ระบุวา่ เป็ นการเชา่ ทีด่ นิ เพือ
่ ก่อสร ้างอาคาร
พาณิชย์ทำเป็ นร ้านอาหาร ผู ้เชา่ กลับนำสระขนาดใหญ่มาเก็บไว ้เพือ ่ นำ
ออกจำหน่ายแก่ลก ้ พย์ทเี่ ชา่ เป็ นอย่างอืน
ู ค ้า ถือเป็ นการใชทรั ่ นอกเหนือ
จากทีก
่ ำหนดในสญ ั ญา
ฎีกาที่ 8602/2542 จำเลยทำสญ ั ญาเชา่ ทีด่ น ิ ของโจทก์ซงึ่ อยูต่ ด
ิ กับทีด่ น

ของจำเลย และใชที ้ ด่ น
ิ ของโจทก์และจำเลยเพือ ่ ทำสวนสม้ จึงต ้อง
ทำการปรับแต่งหน ้าดินเพือ ่ ให ้ทีด
่ น
ิ ของโจทก์และจำเลยมีระดับพืน ้ ดิน
เท่ากัน ดังนัน้ การทีจ ่ ำเลยขุดหน ้าดินในทีด ่ น ิ ของโจทก์แล ้วนำไปถมใน
ทีด
่ นิ ของจำเลย จึงเป็ นการปรับปรุงทีด ่ น
ิ ทัง้ ของโจทก์และของจำเลย
ให ้มีสภาพเหมาะสมแก่การทำสวนสม้ การกระทำของจำเลยจึงเป็ นการ
้ พย์ทเี่ ชา่ ตามประเพณีนย
ใชทรั ิ มปกติ และเมือ ่ ครบกำหนดสญ ั ญาเชา่
แล ้ว โจทก์สามารถเรียกร ้องให ้จำเลยปรับแต่งหน ้าดินให ้เรียบหรือให ้คง
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 81
2.2 การใชทรั ้ พย์สนิ ทีเ่ ชา่ โดยชอบ แม ้ว่าจะเกิดความเสย ี หาย หรือ
สูญหาย ผู ้เชา่ ก็ไม่ต ้องรับผิดตาม ป.พ.พ มาตรา 562 วรรคท ้าย
ป.พ.พ มาตรา 562 “ผู ้เชา่ จะต ้องรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลาย
อย่างใด ๆ อันเกิดขึน ้ แก่ทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ เพราะความผิดของผู ้เชา่ เอง
หรือของบุคคลซงึ่ อยูก ่ บั ผู ้เชา่ หรือของผู ้เชา่ ชว่ ง
แต่ผู ้เชา่ ไม่ต ้องรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลายอันเกิดแต่การใช ้
ทรัพย์สน ิ นัน้ โดยชอบ”
เชน่ ดำเชา่ รถยนต์จากแดง และใชขั้ บขีโ่ ดยชอบ แม ้สรี ถยนต์จะซด ี
ี หาย ดำก็ไม่ต ้องรับผิดชดใชค่้ าสรี ถยนต์ให ้
เสย

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 82


2.3 กรณีผู ้เชา่ ใชทรั ้ พย์สน ิ ทีเ่ ชา่ โดยไม่ชอบ
ผู ้ให ้เชา่ มีสท
ิ ธิ
- เรียกค่าเสย ี หาย ถ ้าทรัพย์สน ิ นัน
้ เกิดความ
เสย ี หาย
- บอกกล่าวให ้ผู ้เชา่ ใชทรั ้ พย์ให ้ถูกต ้อง
- ถ ้าบอกกล่าวแล ้ว แต่ผู ้เชา่ ยังไม่ใชทรั ้ พย์ให ้
ถูกต ้อง ผู ้ให ้เชา่ มีสท
ิ ธิบอกเลิกสญ ั ญาเชา่ ได ้
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 83
ฎีกาที่ 3921/2535
การทีโ่ จทก์เชา่ พืน
้ ทีใ่ นโรงแรมของจำเลยที่ 1 เปิ ดกิจการร ้านเสริม
สวยและตัดผม แต่ได ้เปิ ดกิจการอาบ อบ นวด ขึน ้ นอกเหนือข ้อ
ตกลงในสญ ั ญาและโจทก์มพ ี ฤติการณ์รู ้เห็นยินยอมให ้พนักงาน
นวดของโจทก์ค ้าประเวณีกบ ั แขกทีม่ าพักโรงแรม เป็ นการฝ่ าฝื น
ต่อศลี ธรรมอันดีของประชาชน ถือได ้ว่าโจทก์ได ้ใชทรั ้ พย์สนิ ทีเ่ ชา่
เพือ
่ การอย่างอืน ่ นอกจากทีใ่ ชกั้ นตามประเพณีนย ิ มปกติหรือการดัง
กำหนดไว ้ในสญ ั ญาเชา่
เมือ
่ จำเลยบอกกล่าวแล ้ว โจทก์ละเลยไม่ปฏิบต ั ต
ิ าม จำเลยที่ 1 จึง
มีสท ิ ธิบอกเลิกสญ
ั ญาเชา่ ได ้ตาม ป.พ.พ มาตรา 554

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 84


3. ผู ้เชา่ มีหน ้าทีต ่ ้องสงวนและชว่ ยเหลือรักษา
ทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่
่ วกับการสงวนและชว่ ยเหลือรักษาทรัพย์สน
หน ้าทีเ่ กีย ิ ทีเ่ ชา่ แยกออกได ้ดังนี้
3.1 ผู ้เชา่ มีหน ้าทีต ิ ทีเ่ ชา่ ตาม ป.พ.พ มาตรา 553
่ ้องสงวนทรัพย์สน
ป.พ.พ มาตรา 553 ผู ้เชา่ จำต ้องสงวนทรัพย์สน
ิ ทีเ่ ชา่ นัน
้ เสมอกับทีว่ ญ
ิ ญูชนจะ
ิ ของตนเอง และต ้องบำรุงรักษาทัง้ ทำการซอ
พึงสงวนทรัพย์สน ่ มแซมเล็กน ้อย
ด ้วย
ิ ทีเ่ ชา่ เชน
(1) สงวนทรัพย์สน ่ เชา่ รถยนต์ จอดรถยนต์ ต ้องจอดในทีร่ ม
่ หรือ
โรงรถ
(2) บำรุงรักษาทรัพย์ทเี่ ชา่ เชน ่ ระวังดูแลทรัพย์สน
ิ ดังกล่าวให ้อยูใ่ นสภาพเดิม
มิให ้ชำรุดเสย ี หาย เชา่ รถยนต์มา ต ้องเติมยางรถยนต์ เปลีย ่ นถ่ายน้ำมันเครือ
่ ง
เชา่ ม ้ามาขี่ ต ้องดูแลให ้น้ำให ้หญ ้า เป็ นต ้น
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 85
(4) กรณีมก ี ารฝ่ าฝื นตาม ป.พ.พ มาตรา 553 ผู ้ให ้
เชา่ มีสท
ิ ธิดงั นี้
- เรียกค่าเสย ี หาย ถ ้าทรัพย์สนิ นัน
้ เกิดความเสย ี
หาย
- บอกกล่าวให ้ผู ้เชา่ ปฏิบตั ห
ิ น ้าทีต่ าม ป.พ.พ
มาตรา 553 เสย ี ก่อน ภายในกำหนดเวลาอัน
สมควร
- ถ ้าบอกกล่าวแล ้ว แต่ผู ้เชา่ ยังละเลย ผู ้ให ้เชา่ มี
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 86
3.2 ผู ้เชา่ ต ้องให ้ความสะดวกแก่ผู ้ให ้เชา่ ในการเข ้าตรวจดู
ทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ เป็ นครัง้ คราว
ป.พ.พ มาตรา 555 ผู ้เชา่ จำต ้องยอมให ้ผู ้ให ้เชา่ หรือตัวแทน
ของผู ้ให ้เชา่ เข ้าตรวจดูทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ เป็ นครัง้ คราว ในเวลา
และระยะอันสมควร
(1) ถ ้าผู ้เชา่ ไม่ยอม ผู ้ให ้เชา่ ไม่มส ิ ธิทจ
ี ท ี่ ะบอกเลิกสญ ั ญากับผู ้
เชา่
(2) แต่ผู ้ให ้เชา่ มีสท ิ ธิแต่เรียกค่าเสย ี หายจากผู ้เชา่ หาก
ทรัพย์สน ิ ได ้รับความเสย ี หาย เพราะเหตุของการไม่ยอมให ้เข ้า
ตรวจดูนัน ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 87


3.3 ผู ้เชา่ มีหน ้าทีต่ ้องยินยอมให ้ผู ้ให ้เชา่ เข ้า
ซอ ่ มแซมทรัพย์สน ิ อันเป็ นการเร่งร ้อน
ป.พ.พ มาตรา 556 ถ ้าในระหว่างเวลาเชา่ มีเหตุจะ
ต ้องซอ ่ มแซมทรัพย์สน ิ ซงึ่ เชา่ นัน
้ เป็ นการเร่งร ้อน
และผู ้ให ้เชา่ ประสงค์จะทำการอันจำเป็ นเพือ ่ ทีจ ่ ะ
ซอ ่ มแซมเชน ่ ว่านัน ้ ไซร ้ ทา่ นว่าผู ้เชา่ จะไม่ยอมให ้
ทำนัน ้ ไม่ได ้ แม ้ถึงว่าการนัน ้ จะเป็ นความไม่
สะดวกแก่ตน ถ ้าการซอ ่ มแซมเป็ นสภาพซงึ่ ต ้อง
กินเวลานานเกินสมควร จนเป็ นเหตุให ้ทรัพย์สน ิ
นัน
้ ไม่เหมาะแก่การทีจ ่ ะใชเพื ้ อ่ ประโยชน์ทเี่ ชา่ มา
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 88
ตัวอย่าง
บ ้านทีเ่ ชา่ หลังคาแตกรั่วจำนวนมาก และใกล ้จะถึงฤดูฝน ผู ้
ให ้เชา่ ประสงค์จะรีบซอ ่ มแซมเป็ นการด่วน
ดังนี้ ผู ้เชา่ ต ้องยอมให ้ซอ
่ ม จะไม่ยน
ิ ยอมเพราะเห็นว่าไม่
สะดวกแก่ตน เชน ่ กำลังดูหนังสอ
ื เตรียมสอบวิชากฎหมาย
ไม่ได ้
แต่ถ ้าการซอ ่ มแซมต ้องใชระยะเวลานานเกิ
้ นสมควร เชน่ การ
ซอ่ มแซมใชระยะเวลาหลายเดื
้ อน ผู ้เชา่ ก็อาจบอกเลิก
ั ญาเชา่ ได ้
สญ

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 89


3.4 ผู ้เชา่ ต ้องแจ ้งให ้แก่ผู ้ให ้เชา่ ทราบโดยพลัน เมือ
่ มีกรณีใดกรณี
หนึง่ ตาม ป.พ.พ มาตรา 557
ป.พ.พ มาตรา 557 ในกรณีอย่างใด ๆ ดังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ
ิ ทีเ่ ชา่ นัน
(1) ถ ้าทรัพย์สน ้ ชำรุดควรทีผ
่ ู ้ให ้เชา่ จะต ้องซอ
่ มแซมก็ด ี
(2) ถ ้าจะต ้องจัดการอย่างหนึง่ อย่างใดเพือ ่ ปั ดป้ องภยันตรายแก่
ทรัพย์สน ิ นัน
้ ก็ด ี
(3) ถ ้าบุคคลภายนอกรุกล้ำเข ้ามาในทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ หรือเรียกอ ้างสท ิ ธิ
อย่างใดอย่างหนึง่ เหนือทรัพย์สน ิ นัน
้ ก็ด ี
ในเหตุดงั กล่าวนัน ้ ให ้ผู ้เชา่ แจ ้งเหตุแก่ผู ้ให ้เชา่ โดยพลัน เว ้นแต่ผู ้ให ้
เชา่ จะได ้ทราบเหตุนัน ้ อยูก ่ อ ่ นแล ้ว
ถ ้าผู ้เชา่ ละเลยเสย ี ไม่ปฏิบต ั ติ ามบทบัญญัตน ิ ไี้ ซร ้ ทา่ นว่าผู ้เชา่ จะต ้อง
รับผิดต่อผู ้ให ้เชา่ ในเมือ ่ ผู ้ให ้เชา่ ต ้องเสย ี หายอย่างใด ๆ เพราะความ
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 90
ิ ทีเ่ ชา่ นัน
(1) ถ ้าทรัพย์สน ้ ชำรุด ควรทีผ
่ ู ้ให ้เชา่ จะต ้องซอ
่ มแซม
เชน่ เกิดลมพายุพัดผ่าน บ ้านพังลงมาด ้านหนึง่
(2) ถ ้าจะต ้องจัดการอย่างหนึง่ อย่างใดเพือ ่ ปั ดป้ องภยันตรายแก่ทรัพย์สน ิ นัน

เชน ่ บ ้านเชา่ อยูร่ ม ิ ตลิง่ และตลิง่ ถูกน้ำเซาะอย่างรุนแรงจนใกล ้จะถึงตัวบ ้าน
(3) ถ ้าบุคคลภายนอกรุกล้ำเข ้ามาในทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ หรือเรียกอ ้างสท ิ ธิอย่างใดอย่างหนึง่
เหนือทรัพย์สน ิ นัน

เชน ่ มีบค ุ คลภายนอกเข ้ามาปลูกสร ้างบ ้านในทีด ่ น ิ ทีเ่ ชา่ หรือเข ้ามาอ ้างว่าได ้ครอบครอง
ทีด่ นิ ทีเ่ ชา่ นัน้ แล ้ว
ทัง้ 3 กรณี นี้ ป.พ.พ มาตรา 557 กำหนดให ้เป็ นหน ้าทีข ่ องผู ้เชา่ ทีจ
่ ะต ้องแจ ้งให ้ผู ้ให ้เชา่
ทราบโดยพลัน เว ้นแต่ผู ้ให ้เชา่ จะได ้ทราบเหตุนัน ้ อยูก ่ อ่ นแล ้ว
หากผู ้เชา่ ละเลยไม่รบ ี แจ ้งเหตุดงั กล่าวแก่ผู ้ให ้เชา่ โดยพลัน หากเกิดความเสย ี หายขึน ้ เพราะ
การละเลยชก ั ชาของผู
้ ้เชา่ แล ้ว ผู ้เชา่ จะต ้องรับผิดต่อผู ้ให ้เชา่ ในความเสย ี หายทีเ่ กิดขึน ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 91


3.5 ผู ้เชา่ ต ้องไม่ดด ั แปลง หรือต่อเติมทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่
ป.พ.พ มาตรา 558 อันทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ นัน
้ ถ ้ามิได ้รับ
อนุญาตของผู ้ให ้เชา่ ก่อน ผู ้เชา่ จะทำการดัดแปลงหรือ
ต่อเติมอย่างหนึง่ อย่างใดหาได ้ไม่ ถ ้าและผู ้เช า่ ทำไป
โดยมิได ้รับอนุญาตของผู ้ให ้เชา่ เชน ่ นัน
้ ไซร ้ เมือ่ ผู ้ให ้
เชา่ เรียกร ้อง ผู ้เชา่ จะต ้องทำให ้ทรัพย์สน ิ นัน
้ กลับคืนคง
สภาพเดิม ทัง้ จะต ้องรับผิดต่อผู ้ให ้เชา่ ในความสูญหาย
หรือบุบสลายอย่างใด ๆ อันเกิดแต่การดัดแปลงต่อเติม
นัน
้ ด ้วย

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 92


(1) ดัดแปลง ได ้แก่ เปลีย ่ นแปลงทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ ให ้ผิดไปจาก
เดิม
(2) ต่อเติม ได ้แก่ การเพิม ่ เติมบางสงิ่ บางอย่างแก่ทรัพย์สน ิ ที่
เชา่
ข ้อสงั เกต การดัดแปลง หรือต่อเติม จะต ้องมีลก ั ษณะติด
ตรึงตราถาวรกับทรัพย์ทเี่ ชา่ ด ้วย
หาการดัดแปลง หรือต่อเติมนัน ้ ไม่มล ี ก
ั ษณะติดตรึงถาวรกับ
ทรัพย์ทเี่ ชา่ ก็ไม่อยูใ่ นความหมายของ ป.พ.พ มาตรา 558

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 93


(3) กฎหมายห ้ามดัดแปลง หรือต่อ
ิ ทีเ่ ชา่ หากไม่ได ้รับ
เติมทรัพย์สน
อนุญาตจากผู ้ให ้เชา่
การได ้รับอนุญาตจากผู ้ให ้เชา่ นี้ อาจ
อนุญาตด ้วยวาจา หรือลายลักษณ์
อักษร อนุญาตโดยชด ั แจ ้งหรือโดย
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 94
ฎีกาที่ 1077-1079/2515
การทีจ ่ ำเลยผู ้เชา่ ได ้กัน้ ห ้องด ้วยไม ้อัดไม่แน่นหนา รือ ้ ออกได ้
ง่ายและไม่ทำให ้เกิดความเสย ี หายหรือเปลีย ่ นแปลงรูปทรง
อาคารเดิมของโจทก์ จึงไม่ถอ ื ว่าเป็ นการดัดแปลงหรือต่อเติม
แก่ทรัพย์ทเี่ ชา่
สว่ นการดัดแปลงบันไดนัน ้ ปรากฏว่าโจทก์ได ้อนุญาตด ้วย
วาจาให ้จำเลยดัดแปลงได ้ การทีร่ ะบุไว ้ในสญ ั ญาว่าจำเลยจะ
ไม่ดด ั แปลงหรือต่อเติมอย่างใดแก่ทรัพย์ทเี่ ชา่ โดยไม่ได ้รับ
อนุญาตเป็ นลายลักษณ์อก ั ษรนัน้ ก็เพือ่ ความสะดวกแก่การ
พิสจู น์โดยมีหลักฐานแน่นอนและชด ั แจ ้งเมือ
่ มีปัญหาเกิดขึน

เท่านัน ้ ไม่ใชว่ า่ โจทก์จะไม่อาจให ้คำอนุญาตด ้วยวาจาได ้เลย
และอีกประการหนึง่ เมือ ่ โจทก์ได ้อนุญาตด ้วยวาจาแล ้วเชน ่ นี้
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 95
ฎีกาที่ 728/2496
ผู ้เชา่ อาคารได ้ทำการดัดแปลงเพิม ่ เติมอาคารหลายอย่าง
บางอย่างก็ได ้รับความยินยอมเห็นชอบโดยตรงจากผู ้ให ้
เชา่ บางอย่างผู ้เชา่ ก็กระทำไปโดยลำพังแต่ปรากฏว่าผู ้
เชา่ กับผู ้ให ้เชา่ ได ้ติดต่อกันอยูเ่ สมอ และผู ้ให ้เชา่ ได ้มายัง
อาคารทีเ่ ชา่ เนืองๆ การทีผ ่ ู ้เชา่ ซอ่ มแซมดัดแปลงผู ้ให ้เชา่
ย่อมทราบดี มิได ้ทักท ้วงอย่างใด ต่อเมือ ่ เกิดผิดใจกันขึน ้
จึงได ้ถือเป็ นเหตุมาฟ้ องขับไล่นัน ้ ย่อมไม่มส ิ ธิทจ
ี ท ี่ ะกระทำ
ได ้ เพราะมีเหตุพอถือได ้ว่าผู ้ให ้เชา่ ได ้อนุญาตโดยปริยาย

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 96


(4) หากผู ้เชา่ ดัดแปลง หรือต่อเติมทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ โดยไม่ได ้รับอนุญาต ผู ้ให ้เชา่ มีสท
ิ ธิ
ดังนี้
- เรียกร ้องให ้ผู ้เชา่ ทำทรัพย์สน ิ ให ้กลับคืนสูส ่ ภาพเดิม
เชน ่ ผู ้เชา่ ต่อเติมห ้องครัวอีกหนึง่ ห ้อง ผู ้ให ้เชา่ มีสท ิ ธิให ้รือ
้ ถอนออกและทำให ้บ ้าน
เชา่ กลับคืนสูส ่ ภาพเดิม ถ ้าผู ้เชา่ เพิกเฉย ผู ้ให ้เชา่ ด่ำเนินการเอง และเรียกค่าใชจ่้ าย
จากผู ้เชา่ ได ้ เป็ นต ้น
- เรียกร ้องให ้ผู ้เชา่ รับผิดในความสูญหาย หรือบุบสลายอย่างใดๆ อันเกิดแต่การ
ดัดแปลงหรือต่อเติมนัน ้
เชน ่ ผู ้เชา่ ต่อเติมบ ้านจนพืน้ ทรุด เกิดความเสย ี หาย เป็ นต ้น
ข ้อสงั เกต ผู ้ให ้เชา่ จะบอกเลิกสญ ั ญาไม่ได ้ เว ้นแต่การดัดแปลง ต่อเติมนัน ้ จะมี
ลักษณะเป็ นการใชทรั ้ พย์สนิ เพือ ่ การอย่างอืน ่ นอกจากทีใ่ ชกั้ นตามประเพณีนย ิ มปกติ
หรือการดังกำหนดไว ้ในสญ ั ญานัน ้ ตาม ป.พ.พ มาตรา 552 ผู ้ให ้เชา่ จึงจะมีสท ิ ธิบอก
เลิกสญ ั ญาได ้ตาม ป.พ.พ มาตรา 554

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 97


(5) กรณีสงิ่ ทีผ
่ ู ้เชา่ ดัดแปลงหรือต่อเติมตกเป็ นสว่ นควบ
การดัดแปลง หรือต่อเติมทรัพย์ทเี่ ชา่ อันมีลก ั ษณะติดตรึงตราถาวร
ตาม ป.พ.พ มาตรา 558 นัน ้ หากสงิ่ ทีน ่ ำมาดัดแปลงหรือต่อเติมนัน ้
เป็ นสาระสำคัญในความเป็ นอยูข ่ องทรัพย์ทเี่ ชา่ สงิ่ ทีน
่ ำมาดัดแปลง
หรือต่อเติมก็จะกลายเป็ นสว่ นควบตาม ป.พ.พ มาตรา 144 ไป
ดังนัน
้ เมือ
่ มีการเลิกสญ ั ญาเชา่ ผู ้เชา่ จะทำลายหรือรือ ้ ถอนสงิ่ ทีน
่ ำ
มาดัดแปลงต่อเติมไม่ได ้ รวมทัง้ จะเรียกเอาเงินทีใ่ ชจ่้ ายในการ
ดัดแปลงต่อเติมก็ไม่ได ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 98


ฎีกาที่ 723/2490
ผู ้เชา่ ได ้ก่อสร ้างสงิ่ ใด ๆ ลงในทีเ่ ชา่ จนเป็ นสว่ นควบ
ของทีด ่ นิ ทีเ่ ชา่ นัน
้ ย่อมตกเป็ นกรรมสท ิ ธิข
์ องเจ ้าของ
ทีด ่ น

ผู ้เชา่ ลาดซเี มนต์ เทพืน ้ ห ้องน้ำ ห ้องสวม้ และถนน
ซเี มนต์ ถือว่าเป็ นสว่ นควบของทีด ่ นิ ตกเป็ นกรรมสท ิ ธิ์
ของผู ้ให ้เชา่
ถ ้าผู ้เชา่ รือ
้ ถอนไปย่อมเป็ นการละเมิด

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 99


ฎีกาที่ 372/2500
ฝากัน ้ ห ้องจะเป็ นสว่ นควบของอาคารทีจ ่ ำเลยเชา่ จากโจทก์มา
ทำโรงแรมหรือไม่ จะต ้องพิจารณาถึงสภาพของทรัพย์อย่าง
หนึง่ หรือตามจารีตประเพณีแห่งท ้องถิน ่ อีกอย่างหนึง่ ว่าฝาที่
กัน ้ เป็ นสาระสำคัญในความเป็ นอยูข
้ เป็ นห ้องนัน ่ องอาคารที่
จำเลยเชา่ จากโจทก์หรือไม่
หากตามสภาพของฝาทีก ่ นั ้ เป็ นห ้องเป็ นทรัพย์ทอ
ี่ าจแยกออก
จากตัวอาคารได ้โดยมิได ้เป็ นการทำลายอาคารหรือทำให ้
อาคารบุบสลายหรือเปลีย ่ นแปลงรูปทรงแต่อย่างใด ฝากัน ้ เป็ น
ห ้องหาเป็ นสาระสำคัญของอาคารไม่
ื ถึงจารีตประเพณีแห่งท ้องถิน
และโจทก์มไิ ด ้นำสบ ่ ฝากัน
้ ห ้อง
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 100
ฎีกาที่ 1134/2514
กรณีเชา่ ทีด่ นิ เพือ่ ปลูกสร ้างโรงเรือน ผู ้เชา่ มี
สท ิ ธิตามสญ ั ญาทีจ ่ ะปลูกสร ้างโรงเรือนได ้
โรงเรือนจึงไม่ตกเป็ นสว่ นควบตาม ป.พ.พ
มาตรา 146
เชน ่ ปลูกบ ้านบนทีด ิ เชา่ บ ้านนัน
่ น ้ ไม่ตกเป็ น
สว่ นควบของทีด ่ นิ
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 101
ฎีกาที่ 261/2507
ผู ้เชา่ เสย
ี ค่ากัน
้ ห ้องต่อเติมบ ้านเชา่ เพือ ่ ประโยชน์
ในกิจการของผู ้เชา่ เอง ผู ้ให ้เชา่ หาจำเป็ นต ้องรับ
ผิดในเงินค่าจ ้างนัน ้ ไม่ เพราะค่าใชจ่้ ายในการ
ดัดแปลงต่อเติม ไม่ใชค ่ า่ ใชจ่้ ายไปโดยความ
จำเป็ นเพราะสมควรเพือ ่ รักษาทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ ซงึ่ ผู ้
ให ้เชา่ ต ้องชดใชให ้ ้แก่ผู ้เชา่ ตาม ป.พ.พ มาตรา
557
สำหรับมูลค่าทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ ทีส่ งู เพิม
่ ขึน้ เนือ่ งจาก
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 102
(6) กรณีมข ี ้อตกลงในสญ ั ญาให ้สงิ่ ทีผ่ ู ้เชา่ ดัดแปลงต่อเติม ตกเป็ น
กรรมสท ิ ธิข
์ องผู ้ให ้เชา่
ศาลฎีกาได ้วางแนววินจ ิ ฉั ยไว ้ว่า การทีส ่ งิ่ ทีผ่ ู ้เชา่ ดัดแปลงต่อเติมจะ
ตกเป็ นกรรมสท ิ ธิข ์ องผู ้ให ้เชา่ ตามข ้อตกลงในสญ ั ญาได ้นัน้ จะต ้อง
ปรากฏว่า สงิ่ ทีผ ่ ู ้เชา่ ได ้ดัดแปลงต่อเติมนัน ้ เป็ นสว่ นควบของทรัพย์ท ี่
เชา่
หากสงิ่ ทีผ ่ ู ้เชา่ ดัดแปลงต่อเติมไม่ได ้เป็ นสว่ นควบของทรัพย์ทเี่ ชา่ สงิ่
่ ู ้เชา่ ดัดแปลงต่อเติมดังกล่าวก็จะไม่ตกเป็ นกรรมสท
ทีผ ิ ธิข
์ องผู ้ให ้เชา่
ตามข ้อตกลงในสญ ั ญา

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 103


ฎีกาที่ 378/2522
ั ญาเชา่ มีวา่ ทรัพย์ใด ๆ ทีผ
สญ ่ ู ้เชา่ ดัดแปลงต่อเติมลงในทีเ่ ชา่
ตกเป็ นของผู ้ให ้เชา่ ทันที ข ้อสญ ั ญานีผ ู พันผู ้เชา่ ชว่ งด ้วย
้ ก
ทรัพย์ทตี่ อ
่ เติมนี้ หมายความถึง การกระทำทีม ่ าเป็ นสว่ นควบ
เครือ
่ งปรับอากาศทีต ิ เข ้ากับอาคารทีเ่ ชา่ ไม่เป็ นสารสำคัญ
่ ด
ในความเป็ นอยูข ่ องอาคาร อันไม่อาจแยกออกได ้ นอกจาก
ทำให ้อาคารเสย ี รูปทรง ไม่เป็ นสว่ นควบ ไม่ตกเป็ นของผู ้ให ้
เชา่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 104


ฎีกาที่ 1547/2494
ไฟฟ้ าซงึ่ เดินสายมาตามลูกถ ้วยข ้างฝา แล ้วจึงโยงไปเป็ น
ดวงโคม และท่อประปาทีต ่ อ่ ท่อวางพาดไปตามพืน ้ จนถึง
ท่อใชน้ำนั ้ น
้ ไม่ถอ ื ว่าเป็ นสว่ นควบกับอสงั หาริมทรัพย์ทเี่ ชา่
เพราะไม่มล ี ก
ั ษณะตรึงตราถาวร อันไม่อาจจะแยกออกจาก
กันได ้
แม ้ในสญ ั ญาเชา่ จะใชคำว่ ้ าการดัดแปลงหรือต่อเติมใด ๆ ที่
ผู ้เชา่ ได ้ทำขึน ้ ต ้องตกเป็ นของผู ้ให ้เชา่ ก็ยอ ่ มต ้องหมายถึง
การกระทำทีม ่ าเป็ นสว่ นควบของทรัพย์ประธาน สญ ั ญาเชา่
ทีม ่ ขี ้อความดังทีป ่ รากฎนี้ ไม่อาจทำให ้สงั หาริมทรัพย์ของ
ผู ้อืน
่ ทีอ ่ ยูใ่ นทีเ่ ชา่ เป็ นกรรมสท ิ ธิของเจ ้าของ
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 105
4. ผู ้เชา่ มีหน ้าทีต
่ ้องชำระค่าเชา่
ป.พ.พ มาตรา 559 ถ ้าไม่มก ี ำหนดโดยสญ ั ญาหรือโดยจารีต
ประเพณีวา่ จะพึงชำระค่าเชา่ ณ เวลาใด ท่านให ้ชำระเมือ ิ้
่ สน
ระยะเวลาอันได ้ตกลงกำหนดกันไว ้ทุกคราวไป กล่าวคือว่าถ ้า
เชา่ กันเป็ นรายปี ก็พงึ ชำระค่าเชา่ เมือ ิ้ ปี ถ ้าเชา่ กันเป็ นราย
่ สน
เดือนก็พงึ ชำระค่าเชา่ เมือ ่ สน ิ้ เดือน
ป.พ.พ มาตรา 560 ถ ้าผู ้เชา่ ไม่ชำระค่าเชา่ ผู ้ให ้เชา่ จะบอกเลิก
ั ญาเสย
สญ ี ก็ได ้
แต่ถ ้าค่าเชา่ นัน
้ จะพึงสง่ เป็ นรายเดือน หรือสง่ เป็ นระยะเวลา
ยาวกว่ารายเดือนขึน ้ ไป ผู ้ให ้เชา่ ต ้องบอกกล่าวแก่ผู ้เชา่ ก่อนว่า
ให ้ชำระค่าเชา่ ภายในเวลาใด ซงึ่ พึงกำหนดอย่าให ้น ้อยกว่าสบ ิ
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 106
4.1 ป.พ.พ มาตรา 537 “อันว่าเชา่ ทรัพย์สน ิ นัน้ คือสญ ั ญาซงึ่
บุคคลคนหนึง่ เรียกว่า ผู ้ให ้เชา่ ตกลงให ้บุคคลอีกคนหนึง่ เรียก
ว่า ผู ้เชา่ ได ้ใชหรื
้ อได ้รับประโยชน์ในทรัพย์สน ิ อย่างใดอย่าง
หนึง่ ชวั่ ระยะเวลาอันมีจำกัด และผู ้เชา่ ตกลงจะให ้ค่าเชา่ เพือ ่
การนัน ้ ”
(1) ค่าเชา่ อาจชำระด ้วยเงิน หรือทรัพย์อย่างอืน ่ ก็ได ้ เชน่ เชา่ นา
ชำระค่าเชา่ ด ้วยข ้าวเปลือก
(2) การชำระค่าตอบแทน ทีเ่ ป็ นค่าเชา่ นี้ ต ้องเป็ นค่าตอบแทน
ในการได ้ใชหรื ้ อได ้รับประโยชน์ในทรัพย์ และจะต ้องชำระอย่าง
สม่ำเสมอ หากชำระหรือไม่ชำระก็ได ้ ไม่ใชเ่ รือ ่ งของสญ ั ญาเชา่
ทรัพย์
ฎีกาที่ 192/2496 อาศย ั ห ้องเขาอยู่ แม ้จะให ้เงินตอบแทนโดย
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 107
4.2 ผู ้เชา่ จะต ้องชำระค่าเชา่ เมือ
่ ใด ให ้พิจารณา ป.พ.พ มาตรา 559
(1) ถ ้ากำหนดไว ้ในสญ ั ญา หรือจารีตประเพณีวา่ จะพึงชำระค่าเชา่ เมือ ่ ใด ผู ้เชา่ ก็
ต ้องชำระค่าเชา่ เมือ ่ นัน

(2) ถ ้าไม่มก ี ำหนดเวลาให ้ชำระค่าเชา่ เมือ ่ ใด ผู ้เชา่ มีหน ้าทีช
่ ำระค่าเชา่ เมือ ่ สน ิ้ ระยะ
เวลาเชา่
เชน ่ ก ตกลงชำระค่าเชา่ บ ้านเป็ นรายเดือน ก ย่อมต ้องช ำระค่าเชา่ บ ้านเมือ ่ สน ิ้ เดือน
หรือหาก ก ตกลงชำระค่าเชา่ เป็ นรายปี ย่อมต ้องชำระค่าเชา่ นัน ้ เมือ
่ สน ิ้ ปี เป็ นต ้น
(3) กรณีทใี่ นสญ ั ญากำหนดวันทีต ่ ้องชำระค่าเชา่ ไว ้ แต่ในทางปฏิบต ั ิ ผู ้ให ้เชา่ มิได ้
ถือวันทีด ่ งั กล่าวเป็ นสาระสำคัญ โดยยินยอมให ้ผู ้เชา่ ชำระค่าเชา่ ล่าชาบ ้ ้าง ดังนี้ ผู ้
ให ้เชา่ จะอ ้างว่าผู ้เชา่ ไม่ชำระค่าเชา่ ตามกำหนด อันเป็ นการผิดสญ ั ญาไม่ได ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 108


ฎีกาที่ 1397/2493
โจทก์มไิ ด ้ถือเอาเป็ นเด็ดขาดว่า ต ้องชำระค่าเชา่ ต ้น
เดือนตามสญ ั ญา แต่โจทก์ได ้ยอมผ่อนผันเลือ ่ นเวลา
ชำระค่าเชา่ ให ้จำเลยเสมอมา
ดังนี้ จะถือว่าพอพ ้นวันต ้นเดือนไป ก็เป็ นวันจำเลย
ผิดนัดแล ้วยังไม่ได ้
และในเรือ ่ งนี้ จำเลยได ้นำค่าเชา่ ไปชำระ แต่โจทก์ไม่
ยอมรับ จึงไม่ถอ ื ว่าจำเลยผิดนัดไม่ชำระค่าเชา่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 109


(4) อย่างไรก็ตาม ป.พ.พ มาตรา 599 ไม่ใช ่
กฎหมายอันเกีย ่ วกับความสงบเรียบร ้อยหรือศ ล ี
ธรรมอันดีของประชาชน คูส ่ ญั ญาจึงอาจตกลงเป็ น
อย่างอืน
่ ได ้
ในปั จจุบน ั คูส ั ญามักจะตกลงกันโดยชด
่ ญ ั แจ ้งหรือ
โดยปริยายเป็ นอย่างอืน ่ ให ้ผู ้เชา่ ชำระค่าเชา่ ล่วง
หน ้าอยูเ่ สมอ
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 110
4.3 สถานทีช ่ ำระค่าเชา่
ป.พ.พ มาตรา 324 เมือ ่ มิได ้มีแสดงเจตนาไว ้โดยเฉพาะ
เจาะจงว่าจะพึงชำระหนี้ ณ สถานทีใ่ ดไซร ้ หากจะต ้อง
สง่ มอบทรัพย์เฉพาะสงิ่ ท่านว่าต ้องสง่ มอบกัน ณ สถาน
ทีซ่ งึ่ ทรัพย์นัน้ ได ้อยูใ่ นเวลาเมือ ่ ก่อให ้เกิดหนีน
้ ัน้ สว่ น
การชำระหนีโ้ ดยประการอืน ่ ท่านว่าต ้องชำระ ณ สถานที่
ซงึ่ เป็ นภูมลิ ำเนาปั จจุบน ั ของเจ ้าหนี้
กล่าวคือ ผู ้เชา่ (ลูกหนี)้ ต ้องชำระค่าเชา่ ณ สถานทีซ ่ งึ่
เป็ นภูมล ิ ำเนาปั จจุบน ั ของผู ้ให ้เชา่ (เจ ้าหนี)้ เว ้นแต่จะ
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 111
4.4 สท ิ ธิของผู ้ให ้เชา่ เมือ
่ ผู ้เชา่ ไม่ชำระค่าเชา่
- เรียกร ้องให ้ชำระค่าเชา่ ตาม ป.พ.พ มาตรา
213 และเรียกดอกเบีย ้ ตาม ป.พ.พ มาตรา 224
- ใชส้ ทิ ธิบอกเลิกสญ ั ญาตามป.พ.พ 560 วรรค
หนึง่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 112


4.5 กรณีทผ ี่ ู ้เชา่ ไม่ชำระค่าเชา่ และผู ้ให ้เชา่ ใชส้ ท
ิ ธิบอกเลิกสญ
ั ญา
ป.พ.พ มาตรา 560 “ถ ้าผู ้เชา่ ไม่ชำระค่าเชา่ ผู ้ให ้เชา่ จะบอกเลิก
ั ญาเสย
สญ ี ก็ได ้
แต่ถ ้าค่าเชา่ นัน ้ จะพึงสง่ เป็ นรายเดือน หรือสง่ เป็ นระยะเวลายาวกว่า
รายเดือนขึน ้ ไป ผู ้ให ้เชา่ ต ้องบอกกล่าวแก่ผู ้เชา่ ก่อนว่าให ้ชำระค่าเชา่
ภายในเวลาใด ซงึ่ พึงกำหนดอย่าให ้น ้อยกว่าสบ ิ ห ้าวัน”

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 113


(1) ไม่ชำระค่าเชา่ หมายถึง การทีผ ่ ู ้เชา่ จงใจไม่ชำระค่าเชา่ แต่
การค ้างชำระค่าเชา่ ไม่ใชก ่ ารจงใจไม่ชำระค่าเชา่
(2) กรณีทผ ี่ ู ้เชา่ ไม่ชำระค่าเชา่ และผู ้ให ้เชา่ ใชส้ ทิ ธิบอกเลิก
สญั ญาตาม ป.พ.พ มาตรา 560 นัน ้ สามารถแยกพิจารณา ได ้
ดังนี้
- กรณีมกี ำหนดชำระค่าเชา่ ต่ำกว่ารายเดือน เชน ่ ชำระค่าเชา่
เป็ นรายวัน
- กรณีกำหนดชำระค่าเชา่ เป็ นรายเดือน หรือยาวกว่ารายเดือน

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 114


(3) กรณีมก ี ำหนดชำระค่าเชา่ ต่ำ
กว่ารายเดือน เชน ่ ชำระค่าเชา่
เป็ นรายวัน
หากผู ้เชา่ ไม่ชำระค่าเชา่ ผู ้ให ้เชา่
บอกเลิกสญ ั ญาเชา่ ได ้ทันทีโดย
ไม่ต ้องบอกกล่าวล่วงหน ้า
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 115
(4) กรณีกำหนดชำระค่าเชา่ เป็ นรายเดือน หรือยาวกว่า
รายเดือน
- หากผู ้เชา่ ไม่ชำระค่าเชา่
1.) ผู ้ให ้เชา่ ต ้องบอกกล่าวให ้ชำระค่าเชา่ ไม่น ้อยกว่า 15
วัน
2.) ถ ้าผู ้เชา่ ไม่ชำระค่าเชา่ ผู ้ให ้เชา่ จึงจะใชส้ ท
ิ ธิบอก
เลิกสญ ั ญาเชา่ ได ้

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 116


ั ญา
บอกเลิกสญ
บอกกล่าวให ้นำค่า
เชาา่ เชมาช
ไม่ชำระค่ า่
ำระ
ั ญาเชา่ เกิด
สญ
1 15

ั ญาเชา่ ระงับ
สญ
15 วัน

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 117


- ถ ้าผู ้ให ้เชา่ บอกเลิกไม่ชอบ เชน ่ บอกเลิกสญ ั ญาทันที
โดยไม่บอกกล่าวให ้นำค่าเชา่ มาชำระไม่น ้อยกว่า 15
วัน หรือบอกกล่าวให ้นำค่าเชา่ มาชำระ แต่ให ้เวลาไม่
ถึง 15 วัน (นับวันบอกกล่าวจนถึงใชส้ ท ิ ธิฟ้องร ้อง)
สญั ญาเชา่ ไม่ระงับเพราะการบอกเลิกของผู ้ให ้เชา่ และ
ผู ้ให ้เชา่ ยังไม่มส ิ ธิฟ้องขับไล่ผู ้เชา่ และเรียกค่าเสย
ี ท ี
หาย

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 118


ฎีกาที่ 544/2528 เมือ ่ จำเลยค ้างชำระค่าเชา่ ซงึ่ ตกลงชำระกัน
เป็ นรายเดือน โจทก์จะต ้องบอกกล่าวให ้จำเลยชำระค่าเชา่
ก่อนตาม ป.พ.พ มาตรา 560 วรรค 2 แต่โจทก์ไม่ได ้บอกกล่าว
ให ้จำเลยชำระค่าเชา่ ก่อนตามบทกฎหมายดังกล่าว โจทก์กลับ
ให ้ทนายความมีหนังสอ ื บอกเลิกสญั ญาแก่จำเลยทีเดียว การ
บอกเลิกสญ ั ญาของโจทก์จงึ ไม่มผ ี ล สญ ั ญาเชา่ ยังไม่ระงับ
โจทก์ยงั ไม่มส ี ทิ ธิฟ้องขอให ้ขับไล่และเรียกค่าเสย ี หายจำเลย
ฎีกาที่ 763/2484 การเชา่ ซงึ่ กำหนดชำระค่ากันเป็ นรายเดือน
เมือ่ ผู ้เชา่ ผิดสญ ั ญาชำระค่าเชา่ ผู ้ให ้เชา่ จะบอกเลิกสญ ั ญาที
เดียวไม่ได ้ ต ้องบอกกล่าวให ้ผู ้เชา่ ชำระค่าเชา่ ก่อนไม่น ้อยกว่า
15 วัน LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 119
ฎีกาที่ 12753/2555
เมือ่ โจทก์มห ื บอกกล่าวทวงถามให ้จำเลยชำระค่าเชา่ ชว่ งทัง้ หมดภายใน 7
ี นังสอ
วัน มิฉะนัน ้ ถือเอาหนังสอ ื บอกกล่าวเป็ นการบอกเลิกสญ ั ญา และสญ ั ญาเชา่ เป็ น
อันระงับ จำเลยได ้รับหนังสอ ื บอกกล่าวแต่ไม่ชำระตามทีก ่ ำหนด และนับถึงวันที่
โจทก์ฟ้องคดีเกินกว่า 15 วัน นับแต่วน ั ครบกำหนดการบอกกล่าว ถือว่าการเชา่
ชว่ งรายเดือนมีการบอกกล่าวเกิน 15 วันตาม ป.พ.พ มาตรา 560 วรรคสอง ถือ
เป็ นการบอกเลิกสญ ั ญาเชา่ ชว่ งโดยชอบแล ้ว สญ ั ญาเชา่ ชว่ งจึงเลิกกันเพราะ
จำเลยเป็ นฝ่ ายผิดสญ ั ญา จำเลยไม่มส ิ ธิอยูใ่ นทีด
ี ท ่ น
ิ พิพาทต่อไป การทีจ ่ ำเลย
ยังคงอยูย ่ อ่ มเป็ นการละเมิดต่อโจทก์ โจทก์จงึ มีอำนาจฟ้ องขับไล่จำเลยพร ้อม
บริวารและให ้รือ ้ ถอนสงิ่ ปลูกสร ้างของตนออกไปจากทีด ิ ทีเ่ ชา่ ทัง้ มีสท
่ น ิ ธิเรียกค่า
เชา่ ชว่ งค ้างชำระทัง้ หมดและค่าเสย ี หาย
ข ้อสงั เกต คดีนี้ การบอกกล่าวทวงถามให ้ชำระค่าเชา่ ทีค ่ ้างนี้ แม ้จะบอกกล่าวให ้
เวลาน ้อยกว่า 15 วัน แต่ถ ้านับถึงวันฟ้ องคดี เป็ นเวลาไม่น ้อยกว่า 15 วัน ก็ถอ
ื ว่า
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 120
- อย่างไรก็ตาม คูส ั
่ ญญาอาจจะตกลงยกเว้ นบทบ ัญญ ัติ
ตาม ป.พ.พ มาตรา 560 ได้ เพราะไม่ใชก ่ ฎหมายอ ัน
เกีย่ วด้วยความสงบเรียบร้อยหรือศล ี ธรรมอ ันดีของ
ประชาชน
ฎีกาที่ 2421/2520 สญ ั ญาเชา่ ทีด ิ ระบุวา่ ถ ้าผู ้เชา่ ผิดสญ
่ น ั ญา
ข ้อใดข ้อหนึง่ ผู ้ให ้เชา่ กลับเข ้าครอบครองและบอกเลิก
สญั ญาเชา่ ได ้ทันที ข ้อสญ ั ญานีใ้ ชบั้ งคับได ้ ผู ้เชา่ ไม่ชำระค่า
เชา่ ตามกำหนด ผู ้ให ้เชา่ เลิกสญ ั ญาได ้ ไม่ต ้องบอกกล่าวก่อน
ตาม มาตรา 560
ฎีกาที่ 3767/2546 ข ้อตกลงตามสญ ั ญาเชา่ ตึกแถวทีก ่ ำหนด
ว่า ถ ้าผู ้เชา่ ประพฤติผด ิ สญั ญาข ้อหนึง่ ข ้อใด ผู ้เชา่ ยอมให ้
บอกเลิกสญ ั ญาได ้ทันที เมือ ่ จำเลยผิดสญ ั ญาไม่ชำระค่าเชา่
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 121
5. ผู ้เชา่ ต ้องสง่ มอบทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ คืนให ้
แก่ผู ้ให ้เชา่ เมือ ั ญาเชา่ ได ้เลิกหรือ
่ สญ
ระงับลง
ป.พ.พ มาตรา 561 ถ ้ามิได ้ทำหนังสอ ื ลงลายมือชอ ื่
ของคูส ่ ญั ญาแสดงไว ้ต่อกันว่าทรัพย์สน ิ ทีใ่ ห ้เชา่ มี
สภาพเป็ นอยูอ ่ ย่างไร ท่านให ้สน ั นิษฐานไว ้ก่อนว่าผู ้
เชา่ ได ้รับทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ นัน
้ ไปโดยสภาพอันซอ ่ มแซม
ดีแล ้ว และเมือ ่ สญ ั ญาได ้เลิกหรือระงับลง ผู ้เชา่ ก็ต ้อง
สง่ คืนทรัพย์สน ิ ในสภาพเชน ่ นัน
้ เว ้นแต่จะพิสจ ู น์ได ้ว่า
ทรัพย์สน ิ นัน
้ มิได ้ซอ่ มแซมไว ้ดีในขณะทีส ่ ง่ มอบ

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 122


5.1 เมือ ั ญาเชา่ ได ้เลิก หรือระงับลง
่ สญ
ผู ้เชา่ มีหน ้าทีต
่ ้องสง่ มอบทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ คืนให ้แก่ผู ้
ให ้เชา่
มิฉะนัน ้ จะถือว่าผู ้เชา่ ครอบครองทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่
โดยละเมิด เพราะสญ ั ญาเชา่ ได ้สนิ้ สุดลงแล ้ว

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 123


ั ญาเชา่ เกิด
สญ ั ญาเชา่ ระงับ
สญ

ครอบครองโดยละเมิด

่ ง่ มอบทรัพย์สน
หน ้าทีส ิ ทีเ่ ชา่ คืน
ั ญาเชา่ เกิด บอกกล่าว บอกเลิกสญ
ั ญา
สญ
ไม่ชำระค่าเชา่ ให ้ชำระค่าเชา่

ั ญาเชา่ ระงับ
สญ

ครอบครองโดยละเมิด

่ ง่ มอบทรัพย์สน
หน ้าทีส ิ ทีเ่ ชา่ คืน

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 125


ฎีกาที่ 5692/2546 จำเลยเชา่ ทีด ่ นิ จากโจทก์เพือ ่
ก่อสร ้างโครงเหล็กติดตัง้ ป้ ายโฆษณา เมือ ่ สญ ั ญาเชา่
ทีด
่ นิ เลิกกันแล ้ว จำเลยมีหน ้าทีต ่ ้องสง่ คืนทีด ่ นิ ให ้แก่
โจทก์ในสภาพทีไ่ ด ้รับมาตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา 561 คือ ต ้องรือ ้ ถอนสงิ่ ปลูกสร ้างทัง้ หมด
ซงึ่ รวมถึงเสาเข็มของจำเลยออกไปจากทีด ิ ทีเ่ ชา่ ด ้วย
่ น
เพราะจำเลยเป็ นผู ้ปลูกสร ้างโดยอาศย ั สท
ิ ธิตามสญ ั ญา
เชา่ จึงไม่ถอ ื ว่าเป็ นสว่ นควบกับทีด ่ น
ิ ตามมาตรา 146

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 126


ฎีกาที่ 923/2549 สญ ั ญาเชา่ อาคารทัง้ สองฉบับครบกำหนด
เวลาเชา่ ตามทีไ่ ด ้ตกลงกันไว ้แล ้ว สญ ั ญาเชา่ ย่อมระงับลง
โดยมิพักต ้องบอกกล่าวก่อน จำเลยซงึ่ เป็ นผู ้เชา่ มีหน ้าที่
ต ้องสง่ คืนอาคารทีเ่ ชา่ แก่โจทก์ซงึ่ เป็ นผู ้ให ้เชา่ การทีจ่ ำเลย
ไม่ยอมสง่ คืนอาคารทีเ่ ชา่ เป็ นการผิดสญ ั ญาเชา่ และการที่
จำเลยยังครอบครองอาคารทีเ่ ชา่ ต่อไปโดยโจทก์ไม่ยน ิ ยอม
เป็ นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ยอ ่ มมีสท ิ ธิเรียกร ้องค่า
เสย ี หายจากจำเลยได ้ทัง้ ฐานผิดสญ ั ญาและฐานละเมิด

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 127


ฎีกาที่ 408/2550 ศาลฎีกาพิพากษาให ้จำเลยทัง้ สองพร ้อม
บริวารออกจากอาคารพิพาทของโจทก์ และให ้จำเลยทัง้ สอง
ร่วมกันสง่ มอบอาคารดังกล่าวแก่โจทก์ในสภาพซอ ่ มแซม
ดีแล ้วและใชค่้ าเสย ี หายจนกว่าจะสง่ มอบเสร็จแก่โจทก์
ชนั ้ บังคับคดีปรากฏว่า ต. เชา่ อาคารพิพาทบางสว่ นจากจำเลย
ทัง้ สอง ต. จึงเป็ นบริวารของจำเลยทัง้ สองและถือได ้ว่า ต. ได ้
ครอบครองอาคารพิพาทแทนจำเลยทัง้ สองตลอดมา ถือไม่ได ้
ว่าจำเลยทัง้ สองได ้สง่ มอบอาคารพิพาทให ้แก่โจทก์เสร็จสน ิ้
ต่อมา ต. ได ้นำกุญแจห ้องในอาคารพิพาทมอบให ้แก่โจทก์ตอ ่
หน ้าศาล จึงถือได ้ว่าจำเลยทัง้ สองได ้สง่ มอบอาคารพิพาทให ้
แก่โจทก์เสร็จสน ิ้ ในวันดังกล่าว โจทก์จงึ มีสท
ิ ธิเรียกค่าเสย

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 128
ฎีกาที่ 6734/2553 การทีโ่ จทก์บอกเลิกสญ ั ญาเชา่ แล ้ว แต่
ไม่ได ้ติดตามเอารถยนต์คน ื ไม่ใชเ่ หตุตามกฎหมายทีท ่ ำให ้
จำเลยหลุดพ ้นจากการรับผิดแต่อย่างใด เมือ ่ โจทก์บอกเลิก
ั ญาเชา่ แล ้ว จึงเป็ นหน ้าทีข
สญ ่ องจำเลย ทีต ่ ้องสง่ มอบ
รถยนต์ทเี่ ชา่ คืนตามสญ ั ญาและตาม ป.พ.พ มาตรา 561
และเมือ ้ งึ กำหนดชำระแล ้ว เจ ้าหนีไ
่ หนีถ ้ ม่ได ้เรียกร ้องให ้ลูก
้ ำระหนี้ ยังถือไม่ได ้ว่าเป็ นการผ่อนเวลาให ้แก่ลก
หนีช ู หนี้
(ป.พ.พ มาตรา 700)

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 129


5.2 สภาพของทรัพย์สน ิ ทีส่ ง่ มอบ
(1) ถ ้ามิได ้ทำหนังสอ ื ลงลายมือชอ ื่ ของคูส ั ญาแสดง
่ ญ
ไว ้ต่อกันว่าทรัพย์สน ิ ทีใ่ ห ้เชา่ มีสภาพเป็ นอยูอ ่ ย่างไร ผู ้
เชา่ ต ้องสง่ มอบทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ คืนในสภาพอันซอ ่ มแซม
ดีแล ้ว (แต่สามารถพิสจ ู น์หก ั ล ้างได ้ว่า ได ้รับทรัพย์สน ิ
ในสภาพอันซอ ่ มแซมไม่ด)ี
(2) แต่ถ ้าได ้ทำหนังสอ ื ลงลายมือชอ ื่ คูส่ ญ ั ญาไว ้ต่อกัน
ว่า ทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ นัน
้ มีสภาพเป็ นอยูอ ่ ย่างไรในขณะที่
สง่ มอบ ก็ต ้องสง่ มอบคืนในสภาพเชน ่ นัน

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 130
ฎีกาที่ 573/2484 ข ้อเท็จจริงปรากฏว่า
ก่อนเชา่ โรงเลือ ่ ยจักรของผู ้ให ้เชา่ ไม่อยู่
ในสภาพเรียบร ้อยเพราะสายพานและ
เครือ ่ งบางอย่างไม่ด ี เครือ ่ งเดินไม่ได ้ จน
ผู ้เชา่ ต ้องซอ ื้ สายพานและเครือ ่ งบาง
อย่างมาใส ่ เครือ ่ งจึงเดินได ้
เชน ่ นีแ้ ล ้ว สายพานต ้องเป็ นของผู ้เชา่ ผู ้
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 131
6. ผู ้เชา่ ต ้องรับผิดถ ้าทรัพย์สน
ิ ทีเ่ ชา่ สูญหาย
หรือบุบสลาย ในกรณีหนึง่ กรณีใดดังต่อไปนี้
ป.พ.พ มาตรา 562 ผู ้เชา่ จะต ้องรับผิดใน
ความสูญหายหรือบุบสลายอย่างใด ๆ อัน
เกิดขึน ้ แก่ทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ เพราะความผิด
ของผู ้เชา่ เอง หรือของบุคคลซงึ่ อยูก ่ บ
ั ผู ้
เชา่ หรือของผู ้เชา่ ชว่ ง
แต่ผู ้เชา่ ไม่ต ้องรับผิดในความสูญหาย
หรือบุบสลายอันเกิดแต่การใชทรั ้ พย์สนิ
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 132
6.1 กรณีทท ิ ทีเ่ ชา่ สูญหาย หรือบุบสลาย ในเหตุอน
ี่ รัพย์สน ั จะโทษผู ้
เชา่ ไม่ได ้ หรือเกิดจากการใชทรั ้ พย์สน
ิ นัน้ โดยชอบ ผู ้เชา่ ไม่ต ้องรับ
ผิดชอบในความสูญหาย หรือบุบสลาย
ฎีกาที่ 831/2512 การเชา่ กระบือไปทำนา ก่อนถึงกำหนดสง่ กระบือ
คืน คนร ้ายได ้ปล ้นเอากระบือไป สุดวิสย ั ของผู ้เชา่ จะปั ดป้ องขัดขวาง
ื ว่าความสูญหายของกระบือทีเ่ ชา่ ไม่ใชค
ได ้ ถอ ่ วามผิดของผู ้เชา่
จำเลยผู ้เชา่ จึงไม่ต ้องรับผิดคืน หรือใชราคากระบื
้ อทีเ่ ชา่ ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 562

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 133


6.2 ผู ้เชา่ จะต ้องรับผิดหากทรัพย์สน
ิ ทีเ่ ชา่
สูญหาย หรือบุบสลายในกรณีดงั ต่อไปนี้
(1) เพราะความผิด ของผู ้เชา่ เอง
(2) เพราะความผิด ของบุคคลซงึ่ อยูก ่ บ ั ผู ้เชา่
(3) เพราะความผิด ของผู ้เชา่ ชว่ ง

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 134


บทที่ 10 อายุความ
1. อายุความ
2. อายุความในการเรียกร ้องให ้ผู ้เชา่ รับผิด อัน
เกิดจากการกระทำผิดสญ ั ญาเชา่
3. อายุความในการเรียกร ้องให ้ผู ้เชา่ สง่ มอบ
ทรัพย์สนิ ทีเ่ ชา่ คืน
4. อายุความในการเรียกร ้องค่าเชา่
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 135
1. อายุความ
- อายุความในการเรียกร ้องให ้ผู ้เชา่ รับผิด
อันเกิดจากการกระทำผิดสญ ั ญาเชา่
- อายุความในการเรียกร ้องให ้ผู ้เชา่ สง่
มอบทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ คืน
- อายุความในการเรียกร ้องค่าเชา่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 136


2. อายุความในการเรียกร ้องให ้ผู ้เชา่ รับผิด
อันเกิดจากการกระทำผิดสญ ั ญาเชา่
ป.พ.พ มาตรา 563 คดีอน ั ผู ้ให ้เชา่ จะฟ้ องผู ้เชา่ เกีย ั ญา
่ วแก่สญ
เชา่ นัน
้ ท่านห ้ามมิให ้ฟ้ องเมือ ่ พ ้นกำหนดหกเดือนนับแต่วน ั สง่
คืนทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่
2.1 อายุความในการเรียกร ้องให ้ผู ้เชา่ รับผิด อันเกิดจากการกระ
ทำผิดสญ ั ญาเชา่ ตาม ป.พ.พ มาตรา 552 ถึง 562 ในขณะที่
ั ญาเชา่ ยังมีผลใชบั้ งคับอยู่ มีอายุความ 6 เดือนนับแต่ได ้รับ
สญ
มอบทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ ตาม ป.พ.พ มาตรา 563
่ กรณีผู ้เชา่ ไม่สงวนรักษาทรัพย์สน
เชน ิ ทีเ่ ชา่ ไม่ยอมให ้ผู ้เชา่
เข ้าตรวจดูทรัพย์สน ิ แล ้วเกิดความเสย ี หายขึน ้ หรือในกรณีท ี่
ทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ ชำรุด แล ้วต ้องให ้ผู ้เชา่ ซอ ่ มแซม เป็ นต ้น
LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 137
ี หายทีเ่ กิดขึน
2.2 แต่ถ ้าเป็ นกรณีฟ้องเรียกค่าเสย ้ ภายหลังบอกเลิก
ั ญาเชา่ แล ้ว หรือค่าเสย
สญ ี หายทีม
่ ไิ ด ้เกิดขึน ่ ู ้เชา่ ฝ่ าฝื น
้ จากการทีผ
หน ้าทีต
่ ามสญ ั ญาเชา่ มีอายุความ 10 ปี ตาม ป.พ.พ มาตรา 193/30
ฎีกาที่ 6734/2553 กำหนดอายุความตามมาตรา 563 หมายถึง ผู ้ให ้เชา่
ฟ้ องผู ้เชา่ ให ้รับผิดเพราะผู ้เชา่ ฝ่ าฝื นต่อหน ้าทีข
่ องตนตามสญ ั ญาเชา่ แต่
ค่าขาดประโยชน์จากการใชทรั ้ พย์ ค่าขาดราคาเมือ ่ นำรถทีเ่ ชา่ ออกขาย
ค่าเบีย ้ ประกันภัยและค่าภาษี รถยนต์ทโี่ จทก์ชำระแทนไป เป็ นการฟ้ อง
เรียกค่าเสย ี หายตามสญ ั ญาเชา่ แต่ไม่ใชเ่ ป็ นการเรียกค่าเสย ี หายเพราะผู ้
เชา่ ฝ่ าฝื นต่อหน ้าทีจ ่ งึ ไม่อยูใ่ นอายุความ 6 เดือน ตามมาตรา 563

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 138


3. อายุความในการเรียกร ้องให ้ผู ้เชา่ สง่
มอบทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ คืน
อายุความในการเรียกร ้องให ้ผู ้เชา่ สง่ มอบ
ทรัพย์สนิ ทีเ่ ชา่ คืน
ไม่มอี ายุความ
เพราะเป็ นการทีเ่ จ ้าของใชส้ ทิ ธิในการ
ติดตามเอาตัวทรัพย์คน ื

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 139


4. อายุความในการเรียกร ้องค่าเชา่
อายุความในการเรียกร ้องค่าเชา่
- มีอายุความ 5 ปี ตาม ป.พ.พ มาตรา 193/33(3) หรือ
- มีอายุความ 2 ปี ตาม ป.พ.พ มาตรา 193/34 (6) กรณี
ผู ้ประกอบธุรกิจในการให ้เชา่ สงั หาริมทรัพย์ เรียกเอา
ค่าเชา่
นับแต่ครบกำหนดชำระค่าเชา่

LALITA KINGNATE : FACULTY OF LAW, UNIVERSITY OF PHAYAO 140

You might also like