You are on page 1of 10

ประเด็นปัญหาข้อกฎหมายน่าสนใจ

ปี 2566
(ประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความพ่ง)

โดย
นายวัชรพล กุประดิษฐ์
คานา

ผู้ เขี ย นได้ ท ำกำรรวบรวม ประเด็ น ข้ อ กฎหมำยน่ ำสนใจ ประจ ำปี 2565 โดยรวบรวมพร้อ มทั้ ง
ข้อสังเกต เพียงเท่ำที่ผู้เขียนจะมีควำมสำมำรถเท่ำนั้น โดยผู้เขียนมีควำมประสงค์ที่จะทำเอกสำรนี้ เพื่อให้เป็น
ประโยชน์แก่ผู้ที่ประสงค์จะเตรียมสอบ ผู้ช่วยผู้พิพำกษำ อัยกำรผู้ช่วย หรือ ใช้สำหรับเพิ่มพูนควำมรู้แม้เพียง
เล็กน้อย
หำกผู้ อ่ำนเห็ น ว่ ำคำพิพ ำกษำฎี กำ หรือ ข้อสั งเกต หรือกำรพิ สู จน์อักษรของผู้ เขียนนั้น ไม่ถูกต้อ ง
ไม่เป็นไปตำมหลักกฎหมำย ผู้เขียนก็ขอกรำบประทำนอภัยและ น้อมรับคำติชมทุกกรณี

นายวัชรพล กุประดิษฐ์
3

ประเด็นข้อกฎหมายน่าสนใจ ประจาปี 25661


1. ศาลชี้สองสถาน กาหนดประเด็นข้อพิพาท แล้วสั่งงดสืบพยานแล้ววินิจฉัยในปัญหาข้อกฎหมาย
ว่า นิติกรรมเป็นโมฆะ เป็นคาสั่งวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมาย ไม่เป็นคาสั่งระหว่างพิจารณา
อุทธรณ์ได้ทันที
คาพิพากษาฎีกาที่ 5153/2563 ในกำรชี้สองสถาน ศาลชั้นต้นกาหนดประเด็นข้อพิพาท
ว่า สัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทระหว่างโจทก์กับจาเลยเป็นนิติกรรมอาพราง อันตกเป็นโมฆะหรือไม่ และ
จำเลยต้องคืนที่ดินพิพำทให้แก่โจทก์หรือไม่ หำกไม่สำมำรถคืนได้ต้องรับผิดชดใช้รำคำที่ดินพร้ อมดอกเบี้ยแก่
โจทก์ หรือไม่ เพียงใด แล้วมีคาสั่งให้งดสืบพยานโจทก์จาเลยและวินิจฉัยใน ข้อกฎหมายว่าการทานิติกรรม
ระหว่างโจทก์กับจาเลยโดยโจทก์แสดงเจตนา จดทะเบียนโอนขายที่ดินแก่จาเลย จึงเป็นเพียงนิติกรรมอา
พรางโดยสมรู้ กับจาเลยมาตั้งแต่แรกย่อมตกเป็นโมฆะตำม ป.พ.พ. มำตรำ 155 วรรคหนึ่ง กรณีดังกล่ำวเป็น
การที่ศาลได้วินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในข้อกฎหมาย อันทาให้ คดีเสร็จไปทั้งเรื่อง ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 24 ไม่
เป็นคาสั่งระหว่างพิจารณาตามมาตรา 227 แม้จาเลยไม่ได้โต้แย้งไว้ก็มีสิทธิอุทธรณ์ได้
ข้อสังเกต คำสั่งงดสืบพยำนที่จะเป็นคำสั่งระหว่ำงพิจำรณำหรือไม่ พิจำรณำว่ำ ศำลได้รับฟังข้อเท็จจริง
มำแล้วหรือไม่ หำกศำลยังไม่ได้รับฟังข้อเท็จจริงเลย เป็นคำสั่งวินิจฉัยชี้ขำดเบื้องต้นในปัญหำข้อกฎหมำย ไม่
เป็นคำสั่งระหว่ำงพิจำรณำ แต่ถ้ำศำลรับฟังข้อเท็จจริงมำบ้ำงแล้ว แล้วสั่งงดสืบพยำน กรณีเป็นคำสั่งระหว่ำง
พิจำรณำ
หำกศำลสอบข้อเท็จจริงจำกคู่ควำมแล้วสั่งงดสืบพยำน ให้พิจำรณำจำกคำพิพำกษำของศำล
ว่ำศำลได้พิพำกษำโดยอำศัยข้อเท็จจริงหรือไม่ หำกอำศัยข้อเท็จจริงเท่ำกับไม่ได้วินิจฉัยชี้ขำดเบื้องต้นในปัญหำ
ข้อกฎหมำย เป็นคำสั่งระหว่ำงพิจำรณำ เช่น
คาพิพากษาฎีกาที่ 1126/2551 ศำลชั้นต้นเห็นว่ำคดีพอวินิจฉัยได้จึงมีคำสั่งงดสืบพยำน
โจทก์จำเลยและนัดฟังคำพิพำกษำ ซึ่งศำลชั้นต้นก็ได้พิพำกษำคดีในวันดังกล่ำวโดยนำข้อเท็จจริงจำกที่คู่ควำม
แถลงร่วมกันมำวินิจฉัยชี้ขำดคดี ดังนั้น คำสั่งงดสืบพยำนของศำลชั้นต้นในกรณีนี้เป็นคำสั่งระหว่ำงพิจำรณำ
ตำม ป.วิ.พ. มำตรำ 226 วรรคหนึ่ง มิใช่คำสั่งวินิจฉัยชี้ขำดเบื้องต้นในปัญหำข้อกฎหมำยตำมมำตรำ 24 หำก
โจทก์เห็นว่ำข้อเท็จจริงยังไม่เพียงพอแก่กำรวินิจฉัยชี้ขำดในปัญหำข้อกฎหมำยชอบที่ ศำลชั้นต้นจะต้องสอบ
ข้อเท็จจริงเพิ่มเติมหรือมีกำรสืบพยำนต่อไปก็ต้องโต้แย้งคำสั่งไว้ มิฉะนั้นต้องห้ำมมิให้อุทธรณ์ตำมมำตรำ 226
(2)

2. ไม่ใช่คู่ความในคดี แต่ได้ลงลายมือชื่อยินยอมรับผิดกับคู่ความในคดีในสัญญาประนีประนอมยอม
ความที่ทาในศาล เมื่อไม่ปฏิบัติตามสัญญายอม บังคับคดีได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา 274

1
นายวัชรพล กุประดิษฐ์ นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1), น.บ.ท. ผูพ้ ิพากษาประจาสักนักงานศาลยุติธรรม
4

คาพิพากษาฎีกาที่ 3787/2564 แม้ ส. เป็นบุคคลภายนอกมิใช่คู่ความในคดีที่ถูกฟ้องแต่


แรก แต่ ส. ยินยอมเข้ามาในคดีโดยตกลงยอมรับผิดตามสัญญาประนีประนอมยอมความอย่างลูกหนี้ร่วม
และได้ลงลำยมือชื่อผูกพัน ตนว่ำจะชำระหนี้แก่โจทก์ในสัญญำประนีประนอมยอมควำมด้วย เมื่อประมวล
กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่งมำตรำ 274 แก้ไขเพิ่มเติม โดยพระรำชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมำย
วิธีพิจำรณำควำม แพ่ง (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2560 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 5 กันยำยน 2560 และโจทก์ยื่นคำขอ
ออกหมำยบังคับคดีภำยหลังจำกมำตรำ 274 ที่แก้ไขใหม่ มีผลใช้บังคับแล้ว การบังคับคดีของโจทก์จึงตกอยู่
ภายใต้บังคับของมาตรา 274 วรรคหนึ่ง ที่แก้ไขใหม่
สัญญำประนีประนอมยอมและคำพิพำกษำตำมยอมที่ ส. ซึ่ง เป็นบุคคลภำยนอกยินยอมเข้ำ
มำผูกพันตนว่ำจะชำระหนี้แก่โจทก์ ร่วมรับผิดกับจำเลยมีผลผูกพัน ส.ในฐานะเป็นบุคคลที่ศาลมีคาพิพากษา
ให้ชาระหนี้หรือลูกหนี้ต ามคาพิ พากษาให้ต้องปฏิบัติตาม เมื่อ ส. ไม่ ปฏิบัติตามค าพิพ ากษาตามยอม
โจทก์มีสิทธิขอให้บังคับคดี ส. ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 274 วรรคหนึ่ง ที่
แก้ไขใหม่

3. ศาลมีคาสั่งให้ผู้ร้องได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยการครอบครองปรปักษ์ คดีถึงที่สุดแล้ว ผู้ร้องสอดเป็น


กรมสรรพากร ใช้อานาจตามประมวลรัษฎากร ยึดที่ดินแปลงดังกล่าวเพื่อชาระอากรค้าง ยื่นคาร้องสอด
เข้ามาในคดี ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 (1)
คาพิพากษาฎีกาที่ 354/2564 ผู้ร้องยื่นคาร้องขอให้ศาลพิพากษาว่าที่ดินโฉนดเลขที่
130687 เป็นกรรมสิ ทธิ์ของผู้ร้องโดยการครอบครองปรปักษ์ ส่วนผู้ร้องสอดเป็นเจ้าหนี้ภาษีอากรของ ร.
ซึ่งศำลฎีกำมีคำพิพำกษำถึงที่สุดให้รับผิดในหนี้ ภำษีอำกรตำมที่ผู้ร้องสอดประเมิน เมื่อ ผู้ร้องสอดนายึดที่ดิน
พิพาทไว้แล้ว โดยผู้ร้องซึ่งอ้ำงว่ำเป็นเจ้ำของที่ดินดังกล่ำวมิได้ดำเนินกำรเพื่อขอให้ เพิกถอนกำรยึดที่ดินพิพำท
ของผู้ร้องสอดผู้ร้องสอดย่อมสำมำรถดำเนินกำร บังคับคดีของตนต่อไปได้ กำรที่ผู้ร้องนำคำสั่งศำลชั้นต้นในคดี
นี้ไปยื่น คำขอจดทะเบียนต่อสำนักงำนที่ดิน เพื่อจดทะเบี ยนได้มำในที่ดินดังกล่ำว โดยกำรครอบครองตำม ป.
พ.พ. มำตรำ 1382 อันเป็นกำรดำเนินกำรบังคับ ตำมคำสั่งศำลชั้นต้น เมื่อการดาเนินการดังกล่าวอาจจะมีผล
ให้เปลี่ยน ผู้มีชื่อถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกล่าวจาก ร. ลูกหนี้ในค่าภาษีอากรค้าง ของผู้ร้องสอดไปเป็นผู้
ร้อง การบังคับตามคาสั่งของผู้ร้องในคดีนี้ ย่อมมีผลกระทบถึงสิทธิของผู้ร้องสอดในฐำนะเจ้ำหนี้ภำษีอำกร
ของ ร. ที่ได้ยึดที่ดินดังกล่าวไว้เพื่อการขายทอดตลาดแล้ว ผู้ร้องสอดจึงมีสิทธิ ยื่นคาร้องสอดเข้ามาในคดีนี้
เพื่อยังให้ได้ความรับรอง คุ้มครอง และบังคับ ตามสิทธิของผู้ร้อ งสอดในการบังคับคดีในคดีนี้ได้ตาม ป.
วิ.พ. มาตรา 57 (1) โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในกำรที่ศำลชั้นต้นจะมีคำสั่งเกี่ยวกับหนังสือของ เจ้ำพนักงำนที่ดินที่
สอบถำมศำลชั้นต้นว่ำเจ้ำพนักงำนที่ดินจะสำมำรถ จดทะเบียนได้มำโดยกำรครอบครองตำม ป.พ.พ. มำตรำ
1342 ตำมคำสั่งศำลให้แก่ผู้ ร้องได้หรือไม่ อันเป็นเรื่องเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับสิทธิของ ผู้ร้องสอดที่ได้รับควำม
คุ้มครอง ตำม ป.รัษฎำกร มำตรำ 12 ทวิ สำหะ ทรัพย์ที่ถูกยึดไว้ ตำมมำตรำ 12 ผู้ร้องสอดจึงมีอำนำจยื่นคำ
ร้องสะ เข้ำมำในคดีนี้ได้
5

4. ศาลอนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลให้โจทก์กึ่งหนึ่ ง โจทก์ไม่นาเงินมาวางศาลส่วนที่ไม่ได้รับ
ยกเว้นตามระยะเวลาที่ศาลกาหนด ศาลชอบที่จะสั่งไม่รับฟ้องเฉพาะทุนทรัพย์ที่ไม่ได้รับยกเว้น ศาลสั่งไม่
รับฟ้องทั้งหมด ไม่ชอบ
คาพิพ ากษาฎีกาที่ 1176/2564 โจทก์ที่ 2 ไม่นำเงินค่ำธรรมเนียมศำลมำช ำระภำยใน
กำหนด ศาลชั้นต้นชอบที่จะสั่งไม่รับคาฟ้องของโจทก์ที่ 2 ในส่วนทุนทรัพย์ที่ โจทก์ที่ 2 ไม่ได้รับอนุญาตให้
ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล และรับคาฟ้อง ในส่วนทุนทรัพย์ที่โจทก์ที่ 2 ได้รับอนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียม
ศาล คำสั่งศำลชั้นต้นที่ไม่รับคำฟ้องของโจทก์ที่ 2 ทั้งหมด เป็นกำรไม่ชอบ ด้วยกฎหมำย

5. ยื่นคาร้องขอครอบครองปรปักษ์ นาคาสั่งไปยื่นขอจดทะเบียนแล้ว กรมสรรพากรที่ยึดทรัพย์ที่


ครอบครองปรปักษ์โดยอาศัยอานาจตามประมวลรัษฎากร มาตรา 12 ยื่นคาร้องสอดตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 (1) ในชั้นบังคับคดีได้ ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ 354/2564 ผู้ร้องนำคำสั่งศำลชั้นต้นที่ว่ำ ผู้ร้องได้กรรมสิทธิ์ที่ดินโดย
กำร ครอบครองไปยื่นคำขอจดทะเบียนต่อสำนักงำนที่ดินเพื่อจดทะเบียน ได้มำในที่ดินโดยกำรครอบครอง
ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและ พำณิชย์ มำตรำ 1382 อันเป็นการดาเนินการบังคับตามคาสั่ง ศำลชั้นต้น ซึ่ง
อาจจะมีผลให้เปลี่ยนผู้มีชื่อถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินจาก ร. ลูกหนี้ในค่าภาษีอากรค้างของผู้ร้องสอดไปเป็นผู้
ร้อง การบังคับตาม คาสั่งของผู้ร้องในคดีนี้ ย่อมมีผลกระทบถึงสิทธิของผู้ร้องสอดใน ฐานะเจ้าหนี้ภาษี
อากรของ ร. ที่ได้ยึดที่ดินไว้เพื่อการขายทอดตลาด ผู้ร้องสอดมีสิทธิยื่นคาร้องสอดเข้ำมำในคดีนี้เพื่อยังให้ได้
ควำมรับรอง คุ้มครองและบังคับตำมสิทธิของผู้ร้องสอดในกำรบังคับคดีในคดีนี้ได้ ตำมประมวลกฎหมำยวิธี
พิจำรณำควำมแพ่งมาตรา 57 (1)

6. ไม่สามารถคัดถ่ายคาพิพากษาได้ จึงขอขยายระยะเวลาเกินกาหนดระยะเวลาที่ศาลอนุญาต เป็น


เหตุสุดวิสัย
คาพิพากษาฎีกาที่ 884/2564 โจทก์ยื่นคาร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์ครั้งที่ 2 ฉบับลง
วันที่ 15 กรกฎำคม 2562 ในวันที่ 18 กรกฎาคม 2562 แม้จะล่วงพ้นเวลาอุทธรณ์ที่ศาลชั้นต้นอนุญาตให้
ขยายถึงวันที่ 15 กรกฎาคม 2562 ไปแล้ว แต่เมื่อโจทก์ยังไม่สามารถคัดถ่ายคาพิพากษา ศาลชั้นต้นได้
ตำมรำยงำนเจ้ำหน้ำที่ฉบับลงวันที่ 15 กรกฎำคม 2562 กำรที่ศำลชั้นต้นสั่งอนุญำตให้ขยำยระยะเวลำอุทธรณ์
แก่โจทก์ ต้องถือว่าเป็นกรณีมีเหตุสุดวิสัยเพราะการที่คาพิพากษาศาลชั้นต้นยังไม่ สามารถคัดถ่ายได้เป็น
ปัจจัยภายนอกที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของ โจทก์ พฤติกำรณ์ดังกล่ำวถือได้ว่ำเป็นเหตุสุดวิสัยแล้ว ศำล
ชั้นต้น ชอบที่จะสั่งอนุญำตให้ขยำยระยะเวลำอุทธรณ์ได้ตำมประมวล กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง มำตรำ
23
6

ข้อสังเกต ด้วยควำมเคำรพต่อคำพิพำกษำศำลฎีกำ กำรยื่นขอขยำยระยะเวลำตำมประมวลกฎหมำยวิธี


พิ จ ำรณำควำมแพ่ ง มำตรำ 23 ศำลมีอ ำนำจออกค ำสั่ งขยำยหรือย่ น ระยะเวลำตำมที่ กำหนดไว้ต่ อเมื่ อ มี
พฤติกำรณ์พิเศษ และศำลได้มีคำสั่งหรือคู่ควำมมีคำขอขึ้นมำก่อนสิ้นระยะเวลำนั้น
ด้วยเหตุนี้ หำกคู่ควำมประสงค์จะยื่นคำร้องขอยำยระยะเวลำ ต้องอ้ำงถึงพฤติกำรณ์พิเศษใน
คำร้องขอขยำยระยะเวลำ และได้ยื่นก่อนระยะเวลำนั้นสิ้นสุด แต่หำกพ้นกำหนดระยะเวลำเช่นว่ำนั้นแล้ว
คู่ควำมต้องแสดงเหตุสุดวิสัยที่ไม่อาจยื่นคาร้องขอขยายระยะเวลาได้ภายในระยะเวลาด้วยเช่นว่านั้นด้วย
(ฎ.4875/2557)ในควำมเห็นของผู้เขียนแล้ว กำรยื่นคำร้องขอขยำยระยะเวลำโดยอ้ำงถึงเหตุว่ำยังไม่ได้รับ
สำเนำคำพิพำกษำของศำล ไม่ใช่เหตุที่ทำให้คู่ควำมไม่อำจยื่นคำร้องขอขยำยระยะเวลำภำยในระยะเวลำที่
กำหนด

7. เงิ น สมทบ เงิ น ชดเชย เงิ น ประเดิ ม และผลประโยชน์ ต อบแทน ในกองทุ น บ าเห น็ จ บ านาญ
ข้าราชการ เป็นเงินที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
แต่เมื่อข้าราชการเจ้าของเงินตาย เงินดังกล่าวตกเป็นมรดกแก่ทายาท และสิ้นสภาพจากเงินที่ไม่
อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดีแล้ว
คาพิพากษาฎีกาที่ 1473/2563 เงินสมทบ เงินชดเชย เงิน ประเดิม และผลประโยชน์
ตอบแทนเงิน ตำมพระรำชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนำญข้ำรำชกำร พ.ศ. 2539 ย่อมถือเป็นรายได้อื่นใน
ลักษณะเดียวกันกับบานาญบาเหน็จของข้าราชการ ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา 302 (2) กำรที่ ศำลชั้นต้นอำยัดเงินในบัญชีเงินฝำกของผู้ร้อง จึงเป็นกรณีที่มิได้ปฏิบัติ ตำมบทบัญญัติ
แห่งประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่งในข้อที่มุ่งหมำย จะยังให้กำรเป็นไปด้วยควำมยุติธรรม หรือที่เกี่ยว
ด้ว ยควำมสงบเรีย บร้อย ของประชำชนในเรื่องกำรบังคับคดี ตำม ป.วิ.พ. มำตรำ 27 วรรคหนึ่ง ซึ่งควำม
ตอนท้ำยของบทมำตรำดังกล่ำว ให้อำนำจศำลที่จะสั่งให้เพิกถอน กำรพิจำรณำที่ผิดระเบียบนั้นเสียทั้งหมด
หรือบำงส่วน หรือสั่งแก้ไข หรือมีคำสั่งในเรื่องนั้นอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ตำมที่ศำลเห็นสมควร
ผู้ร้องถึงแก่ความตายย่อมมีผลให้เงินของผู้ร้องที่ธนำคำรท. ส่งมำยัง ศำลชั้นต้นตำมหมำย
แจ้งคำสั่ง เป็นทรัพย์มรดกของผู้ร้อง ตำม ป.พ.พ. มำตรำ 1600 และสิ้นสภาพจากเงินเดือน ค่าจ้าง บานาญ
บาเหน็จ เบี้ยหวัด หรือรายได้อื่นในลักษณะเดียวกันของข้าราชการ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 302 (2) ผู้ร้อง
ประสงค์จะชำระค่ำปรับจำกเงินในบัญชีเงินฝำก ของผู้ร้องมำแต่ต้น และธนำคำร ท. ได้ส่งเงินตำมหมำยแจ้ง
คำสั่งมำยัง ศำลชั้นต้นเพื่อชำระค่ำปรับครบถ้วนตำมขั้นตอนของกำรบังคับคดีแล้ว จึงไม่จำต้องเพิกถอนกำร
อำยัดเงินในบัญชีเงินฝำกของผู้ร้องอีก
7

8. การบรรยายคาให้การลาดับการของการได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยการครอบครองปรปักษ์ ไม่เป็น
คาให้การที่ขัดแย้งกันเอง
คาพิพากษาฎีกาที่ 4123/2563 โจทก์ทั้งสองฟ้องว่า จาเลยบุกรุกที่ดินพิพำทของโจทก์ทั้ง
สอง ทำให้ โจทก์ทั้งสองได้รับควำมเสียหำย ขอให้บังคับจำเลยและบริวำรออกไปจำก ที่ดินพิพำทและห้ำม
เกี่ยวข้องกับเรียกค่ำเสียหำย ส่วนที่จาเลยให้การและ ฟ้องแย้งว่ำ ล. ทวดของจาเลยเข้าครอบครองและทา
ประโยชน์ในที่ดินพิพาท มาโดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของมาตั้งแต่ก่อนปี พ.ศ.
2500 เป็นเวลำนำนหลำยปี จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2498 ทางราชการแจ้งให้ ผู้ที่ครอบครองทาประโยชน์ใน
ที่ดิ นแจ้งการครอบครองเพื่อออกหลักฐำน กำรครอบครอง ล. จึงแจ้งการครอบครองตามแบบแจ้งการ
ครอบครองที่ดิน (ส.ค. 1) และหนังสือรับรองการทาประโยชน์ (น.ส. 3) ต่อมำ ล. ถึงแก่ความตาย ที่ดิน
พิพาทได้ตกทอดเป็นมรดกแก่ทายาทสืบเนื่องติดต่อกันตลอดมา จนกระทั่งถึงจาเลย ซึง่ ทายาทแต่ละคนได้
เข้าครอบครองและทาประโยชน์ ในที่ดิน พิพ าทโดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็น เจ้าของ
ติดต่อกันตลอดมาจนถึงปัจจุบันเป็นเวลากว่า 50 ปี แล้ว จาเลยจึงได้ กรรมสิทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดยการ
ครอบครองปรปักษ์ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1382 นั้น คาให้การของจาเลยดังกล่าวตอนต้นเป็นการกล่าวให้
เห็นถึง ที่มาของการเข้าครอบครองที่ดินพิพาทว่าเป็นการเข้าครอบครองยึดถือ เพื่อตนในที่ดินของผู้อื่น
และได้แจ้งการครอบครองต่อทางราชการ หลังจากนั้นที่ดิ นพิพาทตกทอดเป็นมรดกแก่ทายาทสืบต่อมา
จนถึงปัจจุบัน ที่ดินพิพาทเป็นส่วนหนึ่งของที่ดินตามโฉนดที่ดินของโจทก์ทั้งสองซึ่งเป็น โฉนดที่ดินรุ่นเก่า ที่
ได้มำตั้งแต่สมัยพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว และไม่มีหลักเขตแน่นอน ทั้งฝ่ำยโจทก์ทั้งสองและ
ฝ่ำยจำเลยต่ำงครอบครอง อย่ำงเป็นสัดส่วนกันมำนำน ซึ่งที่ดินพิพำทที่ ล. เข้ำครอบครองมำตั้งแต่เริ่มต้นอยู่ใน
ที่ดินของโจทก์ทั้งสอง การที่จาเลยให้การต่อมาว่าจาเลยและทายาททุกคนครอบครองและทาประโยชน์ใน
ที่ดินพิพาทโดยความสงบและ โดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของติดต่อกันตลอดมาเป็นเวลากว่า 50 ปี
กรณีก็เพื่อแสดงให้เห็นว่าจาเลยได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทนั้นแล้วโดยการ ครอบครอง อันเป็นการโต้แย้ง
กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทกับโจทก์ทั้งสอง คาให้การของจาเลยดังกล่าวจึงหาถือว่าขัดแย้งกันอันทาให้เป็น
คาให้การที่ ไม่ชอบด้วย ป.วิ.พ. มาตรา 177 วรรคสอง แต่อย่างใดไม่ หำกแต่เป็นกำร ลำดับที่มำของกำร
เข้ำครอบครองที่ดินพิพำทตั้งแต่แรกจนได้กรรมสิทธิ์ โดยชัดแจ้งและนับว่ำมีเหตุผลที่จำเลยจะให้กำรเช่นนั้นได้

9. เจ้าหนี้ตามคาพิพากษาเดิมไม่ได้ยื่นคาร้องขอบังคับคดีจนพ้นกาหนดระยะเวลาบังคับคดีแล้ว ผู้รับ
โอนสิทธิเรียกร้องยื่นคาร้องขอสวมสิทธิได้
คาพิพากษาฎีกาที่ 8334/2563 (ป) ผู้ร้องเคยยื่นคาร้องขอสวมสิทธิเป็นคู่ความแทน
โจทก์ฉบับแรก ศาลชั้นต้นมีคาสั่งยกคาร้องโดยวินิจฉัยว่า โจทก์ไม่ได้ร้องขอให้บังคับคดี ตามคาพิพากษา
ภายใน 10 ปี โจทก์จึงไม่มีสิทธิบังคับคดีแก่จาเลยทั้งสอง อีกต่อไป กรณีไม่มีเหตุอนุญำตให้ผู้ร้องเข้ำสวม
สิทธิเป็นเจ้ำหนี้ ตำมคำพิพำกษำแทนโจทก์ ส่วนฉบับที่สองศาลชั้นต้นมีคาสั่งจาหน่ายคดี โดยมิได้วินิจฉัยใน
เนื้อหาแห่งคดีเนื่องจากผู้ร้องทิ้งคาร้อง คำสั่งศำลชั้นต้น ทั้งสองคาสั่งดังกล่าวถือไม่ได้ว่าเป็นคาสั่งยกคา
8

ร้องเพราะฟังไม่ได้ว่าผู้ร้อง รับโอนสิทธิเรียกร้องจากโจทก์เดิมโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ทั้งคำร้องของ ผู้ร้อง


ฉบับที่สามอ้างข้อเท็จจริงเพิ่มเติมว่า แม้คดีนี้จะยังไม่มีการบังคับคดี ภายใน 10 ปี นับแต่วันมีคาพิพากษา
หรือค าสั่งก็ต าม แต่ ผู้ร้องซึ่งเป็ น ผู้เข้าสวมสิทธิ แทนโจทก์เดิมยังมีสิทธิ จะได้รับ ชาระหนี้ในฐานะผู้รั บ
จานอง ตาม ป.พ.พ. มาตรา 745 กำรที่ผู้ร้องยื่นคำร้องฉบับที่สำมนี้ จึงเป็นกำร ร้องขอเข้ำสวมสิทธิในฐำนะ
ผู้รับจำนอง ถือว่ำกำรร้องขอเข้ำสวมสิทธิ ของผู้ร้องในฉบับที่สามนี้เป็นการร้องขอเข้าสวมสิทธิโดยอาศัยเหตุ
ที่มา คนละเหตุกัน ประเด็นที่ต้องวินิจฉัยตามคาร้องฉบับที่สามจึงอาศัยเหตุ ที่ต้องวินิจฉัยแตกต่างจากคา
ร้องฉบับแรก การยื่นคาร้องฉบับที่สามของผู้ร้อง จึงไม่เป็นการดาเนินกระบวนพิจารณาซ้ํา
กำรที่โจทก์เดิมไม่บังคับคดีภายในกาหนดสิบปีตำม ป.วิ.พ. มำตรำ 271 (เดิม) ก็มีผลเพียง
ทาให้โจทก์เดิมหมดสิทธิบังคับคดีใ นคดีดังกล่ำว แต่ไม่เป็นเหตุให้หนี้จานองระงับสิ้นไป ทรัพยสิทธิจำนอง
ยังคงมีอยู่และ สามารถใช้ยันต่อลูกหนี้จานองหรือต่อบุคคลภายนอกที่รับโอนทรัพย์สิน จานองนั้นต่อไปได้
แต่ทั้งนี้โจทก์เดิมจะบังคับดอกเบี้ยเกินกว่าห้าปีไม่ได้ ตำม ป.พ.พ. มำตรำ 745 ประกอบกับกำรบังคับคดีแก่
ทรัพย์สินของลูกหนี้ ตำมคำพิพำกษำย่อมไม่กระทบกระเทือนถึงบุริมสิทธิของผู้รับจำนอง ซึ่งอำจร้องขอให้
บังคับคดีเหนือทรัพย์นั้นได้ตำม ป.วิ.พ. มำตรำ 247 (เดิม) เมื่อผู้ร้องเป็นผู้รับโอนสิทธิกำรรับจำนอง ผู้ร้องจึงมี
สิทธิร้องขอสวมสิทธิ แทนโจทก์เดิมได้

10. ทาสัญญาประนีประนอมยอมความในศาล โดยให้บุคคลภายนอกที่ไม่ได้ถูกฟ้องร้องดาเนินคดีรับ


ผิดได้
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ 3787/2564 สั ญ ญาประนี ป ระนอมยอมความซึ่ ง ศาลชั้ น ต้ น ได้
พิพากษาตามยอม คดีถึงที่สุดแล้วระบุให้จาเลยนา ส. เข้าเป็นลูกหนี้ร่วม ตกลงชำระหนี้แก่ โจทก์ โดย ส.
ตกลงโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพร้อมสิ่ งปลู กสร้ำงอำคำร 3 ชั้น ให้ แก่โจทก์ภ ำยใน 6 เดือน นับแต่วันทำสัญ ญำ
ประนี ป ระนอมยอมควำม โดยจ ำเลยยอมเสี ย ดอกเบี้ ย ให้ แ ก่โจทก์เดื อนละ 10,000 บำท จนกว่ำจะโอน
กรรมสิทธิ์ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้ำงให้แก่โจทก์จนแล้วเสร็จ หำกจาเลยและ ส. ลูกหนี้ร่วมผิดสัญญาถือว่าผิด
นัด จาเลยและ ส. ยอมให้บังคับคดีได้ทันที โดยคิดดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปี นับแต่วันฟ้องเป็นต้นไป แม้ ส.
เป็น บุคคลภายนอกมิใช่คู่ความในคดี ที่ถูกฟ้องแต่แรก แต่ ส. ก็ยินยอมเข้ามาในคดีโดยตกลงยอมรับผิด
ตามสัญญาประนีประนอมยอมความอย่างลูกหนี้ร่วม และได้ลงลายมือชื่อผูกพันตนว่าจะชาระหนี้แก่โจทก์
ในสัญญาประนีประนอม ยอมควำมดังกล่ำวด้วย ประกอบกับบทบัญญัติมำตรำ 274 วรรคหนึ่ง แห่ง ป.วิ.พ.
แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำ ควำมแพ่ง (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2560 มีผล
ใช้บั งคับ ตั้งแต่วัน ที่ 5 กัน ยำยน 2560 เมื่อโจทก์ยื่น ค าขอออกหมายบังคับคดี ภายหลังจากบทบัญ ญั ติ
มาตรา 274 ที่แก้ไขใหม่มีผลใช้บังคับแล้ว กำรบังคับคดีของโจทก์จึงตกอยู่ ภำยใต้บังคับของวรรคหนึ่งแห่ง
บทบัญญัติมำตรำดังกล่ำวที่แก้ไขใหม่ สัญญาประนีประนอมยอมความและคาพิพากษาตามยอมจึงมีผล
ผูกพัน ส. ในฐานะเป็นบุคคลที่ศาลมีคาพิพากษาให้ชาระหนี้หรือลูกหนี้ตามคาพิพากษา ให้ต้องปฏิบัติตาม
เมื่อ ส. ไม่ปฏิบัติตามคาพิพากษาตามยอม โจทก์จึงมี สิทธิขอให้บังคับคดี ส. ได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 274
วรรคหนึ่ง ที่แก้ไขใหม่
9

11. เจ้าของรวมแบ่งแยกการครอบครองที่ดินเป็นส่วนสัด กันที่ดินออกจากการขายทอดตลาดได้


คาพิพากษาฎีกาที่ 466/2565 ผู้ร้องที่ 1 ได้แบ่งแยกการครอบครองที่ดินพิพาทเป็นส่วน
สัด โดยผู้ร้องที่ 1 ได้ครอบครองที่ดินพิพำทส่วนด้ำนหน้ำติดกับทำงหลวงแผ่นดินก่อนที่โจทก์ทั้งสองจะนำยึด
ที่ดินเพื่อบังคับคดี ผู้ร้องที่ 1 ชอบที่จะขอให้กันส่วนที่ดินพิพาทส่วนที่ผู้ร้องที่ 1 ครอบครองอยู่ก่อนนาที่ดิน
ออกขายทอดตลาดได้
ข้อสังเกต ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 323 ว่ำด้วยเรื่องกำร ร้องขัดทรัพย์ ที่ได้แก้ไข
ใหม่ บัญญัติหลักเกณฑ์กำรยื่นคำร้องขอขัดทรัพย์ไว้แตกต่ำงจำกกฎหมำยเก่ำ โดยกำหนดกรณ๊ที่จะยื่นคำร้อง
ขอขัดทรัพย์ไว้ 4 กรณี
1) จำเลยหรือลูกหนี้ตำมคำพิพำกษำไม่ใช่เจ้ำของทรัพย์สินที่เจ้ำพนักงำนบังคับคดียึดไว้
2) ตนเป็นเจ้ำของรวมซึ่งมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในทรัพย์สินนั้น ซึ่งเป็นอสังหำริมทรัพย์ที่ได้
แบ่งแยกกำรครอบครองเป็นส่วนสัดแล้ว
3) ตนเป็นเจ้ำของรวมในทรัพย์สินนั้นซึ่งเป็นสังหำริมทรัพย์ที่เป็นทรัพย์แบ่งได้
4) ตนเป็นผู้อยู่ในฐำนะอันจะให้จดทะเบียนสิทธิของตนในทรัพย์สินนั้นได้อยู่ก่อน
แม้เดิมจะเคยมีแนวคำวินิจฉัยของศษลฎีกำ ที่ได้วินิจฉัยไว้ว่ำ กรณีที่เป็นเจ้ำของกรรมสิทธิ
รวมในอสังหำริมทรัพย์และได้แบ่งแยกกำรครอบครองเป็นส่วนสัดแล้ว สำมำรถกันที่ดิน ก่อนขำยทอดตลำดได้
กรณีที่ยังไม่ได้แบ่งแยกกำรครอบครองเป็นส่วนสัด สำมำรถกันเงินจำกกำรขำยทอดตลำดได้ ตำมมำตรำ 287
(เดิม) แต่เมื่อประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง มำตรำ 323 ที่แก้ไขใหม่ ได้บัญญัติกรณ๊ ที่จะร้องขัด
ทรัพย์ไว้แล้ว กำรอ้ำงเหตุว่ำ ตนเป็นเจ้ำของรวมซึ่งมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในทรัพย์สินนั้น ซึ่งเป็น
อสังหำริมทรัพย์ที่ได้แบ่งแยกกำรครอบครองเป็นส่วนสัดแล้ว จึงต้องเป็นกำรยื่นคำร้องขัดทรัพย์ มิใช่กำรขอกัน
ที่ดิน ดังที่แนวคำวินิจฉัยศำลฎีกำเคยวินิจฉัยไว้
อย่ำงไรก็ตำม มิได้หมำยควำมว่ำผู้ เขียนไม่เห็นด้วยกับคำพิพำกษษศำลฎีกำฉบับนี้ แต่ผู้เขียน
มีควำมเห็นว่ำ เนื่องจำกกำรยื่นคำร้องขัดทรัพย์ ประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง มำตรำ 323 วรรค
หนึ่ ง ได้บั ญ ญั ติ “ระยะเวลำ” ในกำรยื่ นคำร้องขัดทรัพย์ไว้ด้ว ย หำกกำรยื่นคำร้องขัดทรัพย์ไม่เป็นไปตำม
ระยะเวลำดังกล่ำว ก็จะยื่นคำร้องขัดทรัพย์ไม่ได้ ในขณะที่ประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง มำตรำ 322
เรื่อง กันส่วน ไม่ได้ระบุระยะเวลำกำรยื่นคำร้องขอกันส่วนเอำไว้ ดังนั้น เมื่อกำรยื่นคำร้องขอกันส่วนเงินใน
ที่ดิ น กรรมสิ ท ธิ์ร วม กรณี ที่ไม่ ได้ แบ่ งแยกกำรครอบครองเป็ น ส่ ว นสั ด ผู้ ร้ อ งสำมำรถยื่น ได้แ ม้ไม่มี กำหนด
ระยะเวลำ แต่กรณีที่เหนือกว่ำคือมีกำรแบ่งแยกกำรครอบครองเป็นส่วนสัดแล้ว กลับกำหนดระยะเวลำกำรยื่น
คำร้องขัดทรัพย์ โดยไม่สำมำรถยื่นคำร้องขอกันส่วนได้ ย่อมไม่เป็นธรรมแก่เจ้ำของทีกรรมสิทธิ์รวมในที่ดินที่
แบ่งแยกกำรครอบครองเป็นส่วนสัดแล้ ว ดังนั้น สำหรับคำพิพำกษำศำลฎีกำฉบับนี้ ผู้เขียนมีควมเห็นว่ำ กำร
ยื่ น ค ำร้ อ งโดยอำศั ย เหตุ ต นเป็ น เจ้ ำ ของรวมซึ่ งมี ก รรมสิ ท ธิ์ ห รื อ สิ ท ธิ ค รอบครองในทรั พ ย์ สิ น นั้ น ซึ่ งเป็ น
อสังหำริมทรัพย์ที่ได้แบ่งแยกกำรครอบครองเป็นส่วนสัดแล้ว นั้น หำกอยู่ภำยในระยะเวลำกำรยื่นคำร้องขัด
ทรัพย์ ก็ต้องใช้สิทธิตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง มำตรำ 323 แต่หำกพ้นกำหนดระยะเวลำ
10

กำรบั งคับ คดีก็ย่ อมไม่กระทบต่อสิ ทธิของบุ คคลนั้ นเช่นเดิม ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ ง


มำตรำ 322

12. เงินค่าฤชาธรรมเนียมใช้แทน ศาลมีดุลพินิจให้โอกาสคู่ความในการนาเงินมาวางได้


คาพิพากษาฎีกาที่ 3231/2565 ประมวลกฎหมำยวิธีพิ จำรณำควำมแพ่ ง มาตรา 229
มิใช่บทบัญญัติบังคับเต็ดขาดว่า หำกผู้อุทธรณ์หรือฎีกำมิได้นำเงินค่ำธรรมเนียมซึ่งจะต้องใช้แก่คู่ควำมอีกฝ่ำย
ตำมคำพิพำกษำมำวำงศำลพร้อมกับอุทธรณ์หรือฎีกำแล้วแต่กรณี ศาลต้องมีคาสั่งไม่รับอุทธรณ์หรือฎีกาหรือ
พิพากษายกอุทธรณ์หรือฎีกาแล้วแต่กรณีทันทีไม่ แต่ให้ศาลใช้ดุลพินิจพิจารณาเป็นกรณีไปเพื่อความเป็น
ธรรมว่าสมควรที่จะให้โอกาสคู่ความที่อุทธรณ์หรือฎีกานาเงินค่าธรรมเนียมนั้นมาวางศาลก่อนหรือไม่ก็ได้

You might also like