You are on page 1of 5

บทบรรณำธิกำรเนติบัณฑิตสมัยที่ 1/70

เล่ม ที่ 1
คำถำม เจ้าของรวมในอสังหาริ มทรัพย์พากลุ่มชายฉกรรจ์พร้อมอาวุธบังคับข่มขืนใจให้เจ้าของรวม
อีก คนหนึ่ ง ออกจากอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ไปและเข้า ครอบครองทาประโยชน์แต่ เพี ยงผูเ้ ดี ย วจะเป็ นความผิด
ฐานยักยอกหรื อไม่
คำตอบ คำพิพำกษำฎีกำที่ 6046/2559 จาเลยที่ 1 เป็ นพี่โจทก์ โจทก์มีสามีเป็ นคนสัญชาติ องั กฤษ
ชื่ อนายปี เตอร์ จดทะเบียนสมรสตามกฎหมายไทยมีบุตรด้วยกัน 1 คน ระหว่างอยูก่ ินร่ วมกันโจทก์และนาย
ปี เตอร์ ได้ทามาหากิน ซื้ อที่ดินไว้หลายแปลง ต่อมานายปี เตอร์ ถึงแก่ความตาย โจทก์มีสามีใหม่ชื่อนายธานี
และร่ วมกันท าธุ รกิ จสร้ า งหอพัก และคอนโดมิ เนี ย มให้เช่ า จากนั้นในปี 2551 นายธานี ถึ ง แก่ ค วามตาย
โจทก์ชักชวนจาเลยทั้งสอง ซึ่ งอยู่ที่ประเทศสมาพันธรั ฐสวิตเซอร์ แลนด์มาอยู่ด้วยกัน โดยจาเลยทั้งสอง
ตัดสิ นใจจะอพยพมาอยูท่ ี่ประเทศไทยและทาธุ รกิจโฮมสเตย์ให้นกั ท่องเที่ยวต่างชาติมาพักอาศัย โจทก์และ
จาเลยทั้ง สองตกลงว่า โจทก์เป็ นผูล้ งทุนที่ ดิน ส่ วนจาเลยทั้งสองลงทุ นค่ าใช้จ่า ยในการก่ อสร้ างจานวน
11, 000,000 บาท รายได้แบ่งคนละครึ่ ง หลังจากก่ อสร้ างโฮมสเตย์และบ้านหลังใหม่บนที่ ดินของโจทก์
เสร็ จ จาเลยทั้ง 2 พักอาศัยในบ้านหลังใหม่ ส่ วนโจทก์พกั อาศัยอยู่ในหอพักคอนโดมิ เนี ยม ซึ่ งอยู่ติดกัน
ข้ อเท็จจริ งจึงรั บฟั งได้ ว่ำจำเลยทั้งสองร่ วมกับโจทก์ เป็ นเจ้ ำของและครอบครองดูแลทรั พย์ สินได้ แก่ หอพัก
คอนโดมิ เ นี ยม บ้ ำ นเช่ ำและโฮมสเตย์ อัน เป็ นอสั ง หำริ ม ทรั พ ย์ ท้ัง หมดเพื่อแสวงหำประโยชน์ ร่ วมกัน
ดังนั้น พฤติกำรณ์ ที่จำเลยทั้งสองร่ วมกันพำกลุ่มชำยฉกรรจ์ จำนวน 5 คนพร้ อมอำวุธบังคับข่ มขืนใจให้
โจทก์จำต้ องออกจำกหอพักคอนโดมิเนียมดังกล่ ำวไป และจำเลยทั้งสองร่ วมกันเข้ ำครอบครองทำประโยชน์
ในหอพักคอนโดมิเนียมดังกล่ ำวแต่ เพียงผู้เดียว ย่ อมเป็ นเหตุให้ โจทก์ ไม่ สำมำรถครอบครองใช้ ประโยชน์ ใน
คอนโดมิ เ นี ย มดั งกล่ ำ วและได้ รับ ผลประโยชน์ ใ นลักษณะที่เ ป็ นทรั พ ย์ สิน จำกคอนโดมิเ นี ย มนั้ นอีก ได้
พฤติ ก ำรณ์ ข องจ ำเลยทั้ ง สอง หำกเป็ นดั ง ที่ โ จทก์ บ รรยำยมำในค ำฟ้ อง ย่ อ มเป็ นกำรเบี ย ดบั ง เอำ
อสั งหำริ มทรั พย์ ที่โจทก์ เป็ นเจ้ ำของรวมอยู่ด้วยเป็ นของตนเองโดยทุจริ ต อันเป็ นควำมผิด ตำมประมวล
กฎหมำยอำญำมำตรำ 352 วรรคแรก

โดย “สำนักงำนทนำยควำมตะวันใหม่ ”(ผ่ำคำบรรยำย) 1


คำถำม การที่จาเลยขว้างขวดแก้วบรรจุน้ ามันติดไฟไปที่ผเู ้ สี ยหายที่ 1 แล้วน้ ามันที่ติดไฟกระเด็นไป
ถูกผูเ้ สี ยหายที่ 2 ซึ่ งนัง่ อยูใ่ กล้กนั ถือว่าจาเลยกระทาโดยเจตนาทาร้ายต่อผูเ้ สี ยหายที่ 2 ซึ่ งได้รับผลร้ ายจาก
การกระทานั้นตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 60 หรื อไม่
คำตอบ คำพิพำกษำฎีกำที่ 3161/2559 ได้ความจากคาเบิกความของผูเ้ สี ยหายที่ 2 ว่า คนร้ายขว้างขวดมา
ที่โต๊ะผูเ้ สี ยหายที่ 1 ทาให้ขวดไปกระทบกับโต๊ะ เป็ นเหตุให้ขวดแตก น้ ามันที่อยู่ในขวดกระเด็นมาถูกผูเ้ สี ยหายที่ 2
และมีไฟลุกขึ้น เห็นได้ว่า ขณะที่จำเลยขว้ ำงขวดบรรจุน้ำมันที่มีไฟติดอยู่ไปที่โตะ ะของผู้เสี ยหำยที่ 1 นั้น ผู้เสี ยหำย
ที่ 2 นั่งอยู่ใกล้ กบั ผู้เสี ยหำยที่ 1 จำเลยย่ อมเล็งเห็นผลได้ ว่ำนำ้ มันที่ตดิ ไฟจะกระเด็นไปถูกผู้เสี ยหำยที่ 2 ซึ่ งนั่งอยู่ใกล้
กับผู้เสี ยหำยที่ 1 ได้ กำรกระทำของจำเลยจึงเป็ นกำรกระทำโดยเจตนำเล็งเห็นผลตำม ป.อ. มำตรำ 59 วรรคสอง หำ
ใช่ เป็ นกำรกระทำโดยพลำดตำมมำตรำ 60 ไม่ พิพากษาแก้เป็ นว่า สาหรับความผิดฐานทาร้ายร่ างกายผูอ้ ื่นเป็ นเหตุให้
ได้รับอันตรายสาหัส จาเลยมีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 297 (8)
คำถำม การขยายกาหนดเวลาไถ่ทรัพย์สินซึ่ งขายฝาก ต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสื อลงลายมือชื่อผูร้ ับ
ไถ่หรื อไม่
สิ นไถ่หรื อราคาขายฝากที่กาหนดไว้สูงกว่าราคาขายฝากที่แท้จริ งเกิ นอัตราร้ อยละ 15 ต่อปี ผูข้ าย
ฝากมีสิทธิ ไถ่ตามราคาใด
คาตอบ คาพิพากษาฎีกาที่ 1265/2559 ข้อเท็จจริ งรับฟั งเบื้องต้น ได้วา่ โจทก์และจาเลยเป็ นเพื่อนกัน
เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2554 ว.มารดาโจทก์ทาสัญญาขายฝากที่ดิน พร้ อมสิ่ งปลูกสร้ างแก่จาเลยในราคา
800,000 บาทมีกาหนด 1 ปี โดยครบกาหนดในวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 ต่อมาวันที่ 27 มีนาคม 2555 มารดา
โจทก์เสี ยชี วิตก่อนครบกาหนดไถ่ถอน โจทก์ในฐานะผูจ้ ดั การมรดกของ ว.ตามคาสั่งศาล ติดต่อกับจาเลย
ขอขยายกาหนดเวลาไถ่ถอนออกไปอีก 6 เดื อน จาเลยทาหลักฐานเป็ นหนังสื อมอบให้แก่โจทก์เมื่อวันที่
26 กรกฎาคม 2555 หลังจากนั้น โจทก์ติดต่อหาคนมาซื้ อที่ดินพิพาทพร้อมสิ่ งปลูกสร้าง โจทก์ติดต่อจาเลย
เพื่อไถ่ถอนบ้านและที่ดินคืน แต่จาเลยไม่ยนิ ยอมให้ไถ่ถอน เห็นว่า ตามบันทึกเอกสารหมาย จ. 4 มีขอ้ ความ
พอสรุ ปได้วา่ ที่จาเลยได้รับขายฝากที่ดินไว้ จาเลยยินดีจะทาสัญญาซื้ อขายตั้งแต่วนั ที่ 26 กรกฎาคม 2555 ถึง
วันที่ 26 มกราคม 2556 ตามสัญญาเดิ มที่ทาไว้พร้ อมดอกเบี้ย โดยตามบันทึกดังกล่าวมีการกล่าวอ้างถึ ง
สัญญาขายฝากฉบับเดิมที่ ว.มารดาโจทก์ได้ทาไว้ก่อนตาย ซึ่ งหากเป็ นการตกลงจะซื้ อขายที่ดินพิพาทพร้อม
สิ่ งปลูกสร้ างกันใหม่ ก็ไม่จาเป็ นต้องกล่าวถึ งสัญญาขายฝากฉบับเดิ มไว้ ทั้งยังเป็ นการตกลงให้โจทก์ตอ้ ง
ชาระสิ นไถ่พร้อมดอกเบี้ยตามสัญญาขายฝากเดิมให้แก่จาเลยภายในวันที่ 26 มกราคม 2556 กรณี จึงถือได้วา่
จาเลยขยายกาหนดเวลาไถ่ให้แก่โจทก์ โดยมีหลักฐานเป็ นหนังสื อลงลายมือชื่อจาเลยผูร้ ับ ไถ่ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์มาตรา 496 วรรคสองแล้ว

โดย “สำนักงำนทนำยควำมตะวันใหม่ ”(ผ่ำคำบรรยำย) 2


ว.มารดาโจทก์ผูข้ ายฝากและจาเลยผูซ้ ้ื อตกลงคิ ดดอกเบี้ ยเดื อนละ 12,000 บาท กรณี จึงเป็ นการ
กาหนดราคาสิ นไถ่หรื อราคาขายฝากสู งกว่าราคาขายฝากที่แท้จริ งในอัตราร้อยละ 18 ต่อปี เมื่อรำคำสิ นไถ่
หรื อรำคำขำยฝำกที่กำหนดไว้ สู งกว่ ำ รำคำขำยฝำกที่แท้ จริ งเกินอัตรำร้ อยละ 15 ต่ อ ปี จึงต้ องห้ ำ มตำม
ประมวลกฎหมำยแพ่ งและพำณิชย์ มำตรำ 499 วรรคสอง ซึ่ งกำหนดให้ ไถ่ ได้ ตำมรำคำขำยฝำกที่ใช้ แท้ จริ ง
รวมประโยชน์ ต อบแทนร้ อ ยละ 15 ต่ อ ปี ราคาสิ นไถ่ ที่เกิ นกว่า อัตราที่ กฎหมายก าหนดนี้ เป็ นปั ญหาข้อ
กฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน แม้คู่ความไม่อุทธรณ์ฎีกา ศาลฎีกาก็หยิบยกขึ้นวินิจฉัย
ได้ โจทก์จึงมีสิทธิ ไถ่ได้ตามราคาขายฝากที่แท้จริ ง 800,000 บาท รวมประโยชน์ตอบแทนร้อยละ 15 ต่อปี
นับ แต่ ว นั ขายฝาก วัน ที่ 26 กรกฎาคม 2554 จนถึ ง วัน ฟ้ องเป็ นเงิ น 169,971.52 บาท รวมเป็ นสิ น ไถ่
969,971.52 บาท โดยต้องนาเงินที่ มารดาโจทก์ชาระแก่จาเลยเดื อนละ 12,000 บาท เป็ นเวลา 5 เดือนรวม
60,000 บาท ซึ่ งเป็ นการชาระสิ นไถ่ไปแล้วบางส่ วน มาหักออกจากเงิ นค่าสิ นไถ่ คงเหลื อเงิ นที่โจทก์ตอ้ ง
ชาระค่าสิ นไถ่ให้แก่จาเลยเป็ นเงิน 909,971.52 บาท
คำถำม มี ผูใ้ ช้อาวุธปื นยิง ที่ศี รษะผูอ้ ื่ น จากนั้นมี ผูอ้ ื่ นร่ วมกันนาร่ า งขึ้ นรถกระบะของผูเ้ สี ย หาย
แล้วร่ วมกันจุดไฟเผารถกระบะพร้อมร่ างซึ่ งอยูใ่ นรถ โดยเข้าใจว่าถึงแก่ความตายแล้ว เป็ นเหตุให้ผนู ้ ้ นั ถึงแก่
ความตาย ผูร้ ่ วมกระทาการดังกล่าวจะมีความผิดฐานฆ่าผูอ้ ื่น วางเพลิ งเผาทรัพย์ของผูอ้ ื่น หรื อทาลายศพ
หรื อไม่
คำตอบ คำพิพำกษำฎีกำที่ 13262/2558 เมื่อจาเลยที่ 1 ใช้อาวุธปื นยิงผูต้ ายแล้ว จาเลยที่ 2 และจาเลยที่ 3
ไปส่ ง บ. ที่ บา้ นแล้วย้อนกลับไปยังกระท่อมที่ เกิ ดเหตุอีกครั้งหนึ่ ง และร่ วมกับจาเลยที่ 1 ยกร่ างของผูต้ ายขึ้ นรถ
กระบะคันเกิ ดเหตุ ทั้งขณะที่ จาเลยที่ 1 นาฟางมาคลุมร่ างของตายและนายางในรถยนต์มาวางทับ แล้วตระเตรี ยม
น้ ามันเชื้ อเพลิงขึ้ นรถกระบะนั้น จาเลยที่ 2 และจาเลยที่ 3 ก็อยู่ในเหตุการณ์ ดว้ ย จาเลยที่ 2 และจาเลยที่ 3 ย่อม
คาดหมายไว้ว่าจาเลยที่ 1 จะต้องจุดไฟเผากระบะคันเกิดเหตุและร่ างของผูต้ ายเพื่ออาพรางคดีจากนั้น จาเลยที่สาม
ก็นงั่ ไปด้วยในรถกระบะที่ จาเลยที่ หนึ่ งขับโดยมีจาเลยที่ สองขับรถอีกคันหนึ่ งแล่นติ ดตามไป แล้วจาเลยทั้งสาม
ร่ วมกันจุดไฟเผารถกระบะคันเกิดเหตุพร้อมร่ างของผูต้ ายซึ่ งอยู่ในรถดังกล่าว กำรที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ร่ วมกันจุด
ไฟเผำรถกระบะคั น เกิดเหตุ โ ดยเข้ ำใจว่ ำผู้ ต ำยถึ งแก่ ค วำมตำยแล้ ว เป็ นกำรกระท ำโดยมิได้ ร้ ู เท็ จ จริ งอั นเป็ น
องค์ ป ระกอบของควำมผิด จึงไม่ มีเจตนำฆ่ ำผู้ ตำย แต่ กำรกระท ำของจำเลยที่ 2 และจำเลยที่ 3 หำได้ ใ ช้ ควำม
ระมัดระวังตรวจดูให้ ก่อนว่ ำผู้ตำยถึงแก่ ควำมตำยแล้ วหรือไม่ ซึ่งบุคคลในภำวะเช่ นจำเลยที่ 2 และจำเลยที่ 3จักต้ อง
มีตำมวิสัยและพฤติกำรณ์ แต่ หำได้ ใช้ ให้ เพียงพอไม่ จำเลยที่ 2 และจำเลยที่ 3 จึงมีควำมผิดฐำนกระทำโดยประมำท
เป็ นเหตุให้ ผ้ อู นื่ ถึงแก่ ควำมตำยและฐำนร่ วมกันวำงเพลิงเผำทรัพย์ ของผู้อนื่

โดย “สำนักงำนทนำยควำมตะวันใหม่ ”(ผ่ำคำบรรยำย) 3


ความผิดฐานร่ วมกันซ่ อนเร้น ย้าย หรื อทาลายศพเพื่อปิ ดบังแห่ งการตาย ตาม ป.อ. มาตรา 199 นั้น การ
กระทาที่จะเป็ นความผิดฐานนี้ ผกู ้ ระทาจะต้องซ่ อนเร้น ย้าย หรื อทาลายศพซึ่ งหมายความถึงร่ างกายของคนที่ ตาย
แล้ว แต่เมื่อขณะที่ผตู ้ ายถูกเผา ผูต้ ายยังไม่ถึงแก่ความตาย ร่ างกายของผูต้ ายในขณะนั้นจึ งไม่ใช่ศพ ย่อมไม่อาจถือ
ได้วา่ จาเลยที่ 2 และที่ 3 ร่ วมกันซ่ อนเร้น ย้าย หรื อทาลายศพ อันเป็ นองค์ประกอบความผิด การกระทาของจาเลยที่
2 และที่ 3 จึงไม่เป็ นความผิดฐานดังกล่าว
ค ำถำม หุ ้ นส่ วนจาพวกจากัด ความรั บ ผิดเข้า ไปติ ดต่ อเจรจาเกี่ ย วกับ การใช้ค่ า สิ นไหมทดแทน
แก่ผถู ้ ูกทาละเมิด เป็ นการสอดเข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของห้างหุ น้ ส่ วนหรื อไม่และมีความรับผิดเพียงใด
คำตอบ คำพิพำกษำฎีกำที่ 15199-15200/2558 จาเลยที่ 6 เป็ นลูกจ้างของจาเลยที่ 4 (ห้างหุ ้นส่ วน
จากัด) ขณะเกิ ดเหตุจาเลยที่ 6 ขับรถบรรทุกสิ นค้าไปในทางการที่จา้ งของจาเลยที่ 4 จาเลยที่ 4 ในฐานะ
นายจ้าง จึงต้องร่ วมรับผิดกับจาเลยที่ 6 ในผลแห่ งละเมิดซึ่ งจาเลยที่ 6 ได้กระทาขึ้นตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิ ชย์มาตรา 425 จาเลยที่ 3 ในฐานะหุ ้นส่ วนผูจ้ ดั การย่อมต้องรับผิด กับจาเลยที่ 4 ด้วยโดยไม่
จากัดจานวนตามมาตรา 1077 (2) และ 1087 ส่ วนจำเลยที่ 2 แม้ เป็ นหุ้นส่ วนจำพวกจำกัดควำมรั บผิด
แต่ พฤติกำรณ์ ของจำเลยที่ 2 ที่แสดงออก ว่ ำเป็ นนำยจ้ ำงจำเลยที่ 6 และเข้ ำไปติดต่ อเจรจำเกี่ยวกับกำรใช้
ค่ ำสิ นไหมทดแทนแก่ โจทก์ ตลอดมำ ถือได้ ว่ำเป็ นกำรสอดเข้ ำไปเกี่ยวข้ องจัดกำรงำนของจำเลยที่ 4 เช่ นนี้
จำเลยที่ 2 จึงต้ องร่ วมรับผิดในบรรดำหนี้ท้งั หลำยของจำเลยที่ 4 ตำมประมวลกฎหมำยแพ่ งและพำณิชย์
มำตรำ 1088 ด้ วย
โจทก์ฟ้องกล่าวอ้างว่า จาเลยที่ 1 เป็ นนายจ้างหรื อตัวการของจาเลยที่ 6 และในวันเกิดเหตุจาเลยที่ 6
ขับรถไปในทางการที่จา้ งหรื อได้รับมอบหมายจากจาเลยที่ 1 ด้วย แต่ จำกทำงนำสื บของโจทก์ ไม่ ได้ ค วำมว่ ำ
จำเลยที่ 1 มีควำมเกี่ยวข้ องหรือมีนิติสัมพันธ์ ใดๆกับจำเลยที่ 6 หนังสื อรับรองจาเลยที่ 4 ก็ไม่มีชื่อจาเลยที่ 1
เป็ นหุ น้ ส่ วนและไม่ได้ความว่าจาเลยที่ 1 ร่ วมลงทุนทากิจการใดกับจาเลยที่ 2 ถึงที่ 4 หรื อมีส่วนเป็ นเจ้าของ
สิ นค้าที่บรรทุกมาในรถกระบะที่จาเลยที่ 6 ขับไปเกิ ดเหตุ คดี น้ ี คงได้ ควำมเพียงว่ ำจำเลยที่ 1 มีชื่อเป็ น
ผู้ครอบครองรถกระบะคันเกิดเหตุเท่ ำนั้น ดังนี้จาเลยที่ 1 ไม่ตอ้ งร่ วมรับผิดใดๆในผลแห่งละเมิดซึ่ งจาเลยที่ 6
ได้กระทาขึ้น

นำย ประเสริฐ เสี ยงสุ ทธิวงศ์


บรรณำธิกำร

โดย “สำนักงำนทนำยควำมตะวันใหม่ ”(ผ่ำคำบรรยำย) 4


*** จบกำรบรรยำยครั้งที่ 4***

โดย “สำนักงำนทนำยควำมตะวันใหม่ ”(ผ่ำคำบรรยำย) 5

You might also like