You are on page 1of 7

หลักทั่วไป (มาตรา 266 – 231) บทตัดพยาน

มาตรา 266 พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยมิชอบ – ห้ามมิรับฟังโดยเด็ดขาด


พยานที่จะพิสูจน์ว่าจาเลยมีความผิดหรือความบริสุทธิ์ อาจเป็นพยานวัตถุ พยานเอกสาร หรือพยานบุคคล แต่จะพยานฐาน
ดังกล่าวต้องมิได้เกิดจากการจูงใจ มีคามั่นสัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอื่น
พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยมิชอบ ห้ามมิรับฟังโดยเด็ดขาด
1. คาให้การชั้นจับกุมหรือชั้นรับมอบตัว (มาตรา 84 วรรคท้าย)
1.1 ถ้อยคารับสภาพว่าตนได้กระทาความผิด
1.2 ถ้อยคาอื่นที่ไม่ใช่คารับสารภาพ ก่อนมีการแจ้งสิทธิตามมาตรา 84 วรรคหนึ่ง หรือมาตรา 83 วรรคสอง แก่ผู้ถูกจับ
- (มาตรา 84 วรรคหนึ่ง) แจ้งข้อกล่าวหา และรายละเอียดแห่งการโดนจับ ถ้ามีหมายจับให้แจ้งให้ผู้ถูกจับทราบ
และอ่านให้ฟัง และมอบสาเนาบันทึกการจับกุมให้ผู้ถูกจับ
- (มาตรา 83 วรรคสอง) 1. แจ้งข้อกล่าวหา 2. แจ้งสิทธิให้การหรือไม่ให้การ 3.แจ้งสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนาย
4. ผู้ต้องหาอาจแจ้งให้ญาติทราบถึงการถูกจับ
* การไม่แจ้งสิทธิดังกล่าว หรือแจ้งไม่ครบ มีผลทาให้ ถ้อยคาอื่นในชั้นจับกุมหรือรับมอบตัวรับฟังเป็นพยานหลักฐานไม่ได้
2. คาให้การของผู้ต้องหาในชั้นสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ (มาตรา 134/4)
- ถ้อยคาใด ๆ ที่ผู้ต้องหาให้ไว้กับพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิ ตามมาตรา 134/4 วรรคหนึ่ง หรือก่อนที่จะ
ดาเนินการ ตามมาตรา 134/1 , 134/2 , 134/3
- จะรับฟังเป็นพยานหลักฐานในการพิสูจน์ความผิดของผู้นั้นไม่ได้ (มาตรา134/4 วรรคท้าย)
(131/4 วรรคหนึ่ง การแจ้งสิทธิให้การหรือไม่ให้การ) (134/1 ทนายคดีประหาร / ผู้ต้องหาอายุไม่เกิน 18 ปี)
(134/2 ต้องดาเนินการตาม 133 ทวิ) (134/3 สิทธิเข้าฟังการสอบปากคา)
3. บันทึกถ้อยคาของบุคคลใดก่อนตกเป็นผู้ต้องหา
- ถือว่า ถ้อยคา หรือคาให้การนั้นเป็นพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยมิชอบ ตามมาตรา 226
4. คาให้การเด็กอายุไม่เกิน 18 ปี ในฐานะผู้เสียหายหรือพยานทีไ่ ม่ดาเนินการตามมาตรา 133 ทวิ
4.1 การสอบปากคาเด็ก ต้องดาเนินการตามมาตรา 133 ทวิ คือ
4.1.1 คดีความผิดเกี่ยวกับเพศ ชีวิตและร่างกาย เสรีภาพ กรรโชก ชิง ปล้น ค้าประเวณี ค้าหญิงและเด็ก สถานบริการ
ความผิดที่มีโทษจาคุก
4.1.2 ต้องแยกกระทาเป็นสัดส่วนในสถานที่เหมาะสมกับเด็ก
4.1.3 ต้องมี นักสังคมสังเคราะห์ บุคคลที่เด็กร้องขอ และพนักงานอัยการ เข้าร่วมฟังการสอบปากคาเด็กนั้น
5. คาให้การของผู้ต้องหาที่ฝ่าฝืน มาตรา 135
- ในการถามคาให้การผู้ต้องหา ห้ามมิให้พนักงานสอบสวนทา หรือจัดให้ทาการใด ๆ ซึ่งเป็นการให้คามั่นสัญญา ขู่เข็ญ
หลอกลวง ทรมาน ใช้กาลังบังคับหรือกระทาโดยมิชอบ ประการใด ๆ เพื่อจูงใจให้เขาให้การอย่างใด ๆ ในเรื่องที่ต้องหานั้น
- คาให้การนั้น เป็น คาให้การของผู้ต้องหาที่ฝ่าฝืน มาตรา 135
- ถือว่าเป็นพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยมิชอบ ตามมาตรา 226
6. คาให้การในชั้นสอบสวนของจาเลยที่ฝ่าฝืน มาตรา 13 (ล่ามไม่สาบานตน)
- คาให้การชั้นสอบสวนของจาเลยที่ให้การผ่านล่าม โดยล่ามมิได้สาบานหรือปฏิญาณตนตามมาตรา 13 วรรคสอง
- ถือว่าเป็นพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยมิชอบ
7. คาให้การของเด็กหรือเยาวชนที่ไม่ได้กระทาต่อหน้าที่ปรึกษากฎหมาย
พยานหลักฐานที่ถือเป็นพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ
1. พยานบุคคล หรือพยานเอกสาร ทีไ่ ม่ได้สอบสวนไว้ในชั้นสอบสวน – ศาลรับฟังเป็นพยานหลักฐานได้
พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ แต่ได้มาเนื่องจากกระทาโดยมิชอบ
มาตรา 266/1 พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ แต่ได้มาเนื่องจากกระทาโดยมิชอบ - ห้ามมิให้ศาลรับ เว้นแต่
- การรับฟังพยานหลักฐานนั้น จะเป็นประโยชน์ต่อการอานวยความยุติธรรม (มาตรา266/1 วรรคหนึ่ง)
สรุป (มาตรา 226 , 226/1)
- พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยมิชอบตามมาตรา 226 ห้ามมิให้ศาลรับฟังเป็นพยานหลักฐานโดยเด็ดขาด
- พยานหลักฐานทีเ่ กิดขึ้นโดยชอบ แต่ได้มาโดยมิชอบตามตรา 226/1 โดยหลัก รับฟังเป็นพยานหลักฐานไม่ได้
ยกเว้น ถ้าการรับฟังพยานหลักฐานนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการอานวยความยุติธรรม
- พยานหลักฐานทีเ่ กิดขึ้นโดยชอบ แต่ได้มาโดยอาศัยข้อมูลที่เกิดขึ้นโดยมิชอบ โดยหลัก รับฟังเป็นพยานหลักฐานไม่ได้
ยกเว้น ถ้าการรับฟังพยานหลักฐานนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการอานวยความยุติธรรม
พยานหลักฐานเกี่ยวกับความผิดครั้งอื่นหรือความประพฤติของจาเลย
มาตรา 226/2 ห้ามมิให้ศาลรับฟังพยานหลักฐานที่เกี่ยวกับการกระทาความผิดครั้งอื่น ๆ หรือความประพฤติในทางเสื่อมเสีย
ของจาเลย เพื่อพิสูจน์ความผิดในคดีที่ถูกฟ้อง เว้นแต่ พยานหลักฐานอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
1. พยานหลักฐานที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับองค์ประกอบความผิด
2. พยานหลักฐานที่แสดงถึงลักษณะ วิธี หรือรูปแบบเฉพาะในการกระทาความผิด
3. พยานหลักฐานที่หักล้างข้อกล่าวอ้างของจาเลย ในส่วนที่ดี
ตามวรรคหนึ่ง ไม่ห้ามนาสืบพยานดังกล่าว เพื่อให้ศาลใช้ดุลพินิจในการกาหนดโทษหรือเพิ่มโทษ
การรับฟังพยานบอกเล่าในคดีอาญา
มาตรา 226/3 ข้อความซึ่งเป็นการบอกเล่าที่พยานบุคคลใดนามาเบิกความต่อศาล หรือข้อความที่บันทึกไว้ในเอกสาร
หรือวัตถุอื่นใดซึ่งอ้างเป็นพยานหลักฐานต่อศาล หากนามาเสนอเพื่อพิสูจน์ความจริงแห่งข้อความนั้น ให้ถือว่าเป็นพยานบอกเล่า
ห้ามมิให้รับฟังพยานบอกเล่า เว้นแต่
1. ตามสภาพ ลักษณะ แหล่งที่มา และข้อเท็จจริงแวดล้อม น่าเชื่อว่าจะพิสูจน์ความจริงได้ มาตรา 226/3 วรรคสอง (1)
1.1 คาบอกความของผู้ปกครองท้องที่เกี่ยวกับความเดือดร้อนของชาวบ้าน
1.2 คาพยานบอกเล่าที่รู้เหตุการณ์ใกล้ชิดและให้การต่อพนักงานสอบสวนทันทีหลังเกิดเหตุ
1.3 รายงานการสอบสวนข้อเท็จจริง
1.4 บันทึกให้คาการพยานในชั้นสอบสวน (เป็นพยานบอกเล่าตามมาตรา 226/3 วรรคหนึ่ง)
1.5 คาบอกเล่าที่ปรักปราตนเองหรือคาบอกเล่าที่ขัดต่อผลประโยชน์ของตนเอง
2. กรณีจาเป็นและมีเหตุผลสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมที่จะรับฟังพยานบอกเล่านั้น
2.1 คาบอกกล่าวของผู้ถูกทาร้ายก่อนตาย
2.2 การรับฟังบันทึกคาให้การพยานในชั้นสอบสวน (ใช้บันทึกคาให้การแทนพยานบอกเล่า)
2.2.1 พยานเดินทางไปต่างประเทศ ไม่มีกาหนดกลับ
2.2.2 พยานย้ายที่อยู่ ไม่สามารถติดต่อมาเบิกความได้
2.2.3 พยานไม่มาศาล ออกหมายเรียกและหมายจับ แต่ไม่ได้ตัวมา มีพฤติการณ์หลบหนี
2.2.4 พยานถึงแก่ความตาย
2.2.5 พยานเป็นคนเร่ร่อน ไม่ทราบที่อยู่
การนาสืบหรือถามค้านในคดีเกี่ยวกับเพศ
มาตรา 226/4 ในคดีความผิดเกี่ยวกับเพศ ห้ามมิให้จาเลยนาสืบด้วยพยานหลักฐานหรือถามค้านด้วยการถามอันเกี่ยวกับ
พฤติกรรมทางเพศของผู้เสียหายกับบุคคลอื่นนอกจากจาเลย เว้นแต่ จะได้รับอนุญาตจากศาล (มาตรา 226/4 วรรคหนึ่ง)
ศาลจะอนุญาต เฉพาะกรณีอันจะก่อให้เกิดความยุติธรรมในการพิจารณาพิพากษาคดี (มาตรา 226/4 วรรคสอง)
*การนาสืบความประพฤติในทางเสื่อมเสียของผู้เสียหายนั้น จาเลยไม่อาจขอนาสืบได้ ฏ.633/2475
การรับฟังบันทึกคาเบิกความในชั้นไต่สวนมูลฟ้องหรือบันทึกคาเบิกความของพยานในคดีอื่นมาใช้ในชั้นพิจาณา
มาตรา 226/5 ในชั้นพิจาณาคดี หากมีเหตุจาเป็นหรือเหตุอันควร ศาลอาจรับฟังบันทึกคาเบิกความในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง หรือ
บันทึกคาเบิกความของพยานที่เบิกคาไว้ในคดีอื่นประกอบพยานหลักฐานอื่นในคดีได้ (ดุลพินิจของศาลเท่านั้น)
การชั่งน้าหนักพยานหลักฐาน
มาตรา 227 ให้ศาลใช้ดุลพินิจวินิจฉัยชั่งน้าหนักพยานหลักฐานทั้งปวง อย่าพิพากษาลงโทษจนกว่าจะแน่ใจว่ามีการกระทา
ความผิดจริง และจาเลยเป็นผู้กระทาความผิดนั้น
เมื่อมีความสงสัยตามสมควรว่าจาเลยได้กระทาผิดหรือไม่ ให้ยกผลประโยชน์แห่งความสงสัยนั้นให้จาเลย
การชั่งน้าหนักพยานบอกเล่า พยานซัดทอดฯ
มาตรา 227/1 ในการวินิจฉัยชั่งน้าหนักพยานบอกเล่า พยานซัดทอด พยานที่จาเลยไม่มีโอกาสถามค้าน หรือพยานหลักฐาน
ที่มีข้อบกพร่องประการอื่นอันอาจจะกระทบถึงความน่าเชื่อถือของพยานหลักฐานนั้น ศาลจะต้องกระทาด้วยความระมัดระวัง
และไม่ควรเชื่อพยานหลักฐานโดยลาพังเพื่อลงโทษจาเลย เว้นแต่ จะมีเหตุผลอันหนักแน่น มีพฤติการณ์พิเศษแห่งคดี หรือมี
พยานหลักฐานประกอบอื่นมาสนับสนุน
หลักเกณฑ์ พยานบอกเล่าที่จะนามาชั่งน้าหนักตามหลักเกณฑ์ มาตรา 227 และ มาตรา 227/1 ได้นั้นต้องเป็นพยานบอก
เล่าที่ต้องด้วยหลักเกณฑ์ตามมาตรา 226/3 (1) หรือ (2)
ข้อยกเว้น ในให้ศาลจะรับฟังพยานบอกเล่า พยานซัดทอด พยานที่จาเลยไม่มีโอกาสถามค้าน
1. พยานดังกล่าวนั้นมีเหตุผลอันหนักแน่น
2. กรณีมีพฤติการณ์พิเศษ
2.1 พยานหลบหนีไม่มาเบิกคาหรือพยานเบิกความบ่ายเบี่ยงเพื่อช่วยจาเลย
2.2 ประจักษ์พยานถึงแก่ความตาย
3. พยานหลักฐานอื่นมาประกอบสนับสนุน
พยานหลักฐานประกอบนั้น หมายถึง พยานหลักฐานอื่ นที่รับฟังได้และมีแหล่งที่มาเป็นอิสระ ต่างหากจากพยานหลักฐานที่
ต้ อ งการพยานหลั ก ฐานประกอบนั้ น ทั้ ง จะต้ อ งมี คุ ณ ค่ า เชิ ง พิ สู จ น์ ที่ ส ามารถสนั บ สนุ น ให้ พ ยานหลั ก ฐานอื่ น ที่ ไ ปประกอบ
มีความน่าเชื่อถือมากขึ้นด้วย
อานาจศาลในการสืบพยานเพิ่มเติม
มาตรา 228 ในระหว่างการพิจารณา ศาลมีอานาจสืบพยานเพิ่มเติมโดยศาลเห็นควรเองหรือคู่ความร้องขอ
- อานาจศาลในการสืบพยานเพิ่มเติม อาจกระทาหลังจากสืบพยานโจทก์จาเลยเสร็จแล้วก็ย่อมกระทาได้
ไม่อยู่ในบังคับต้องระบุในพยานตาม มาตรา 229/1 หรือมาตรา 173/1 คู่ความจึงไม่ต้องอ้างเป็นพยานในบัญชีระบุพยาน
การยื่นบัญชีระบุพยานหลักฐานคดีอาญา
การยื่นบัญชีระบุพยานหลักฐานในคดีอาญา แบ่งเป็น 2 กรณี
1. กรณีกาหนดวันตรวจพยานหลักฐาน (มาตรา 173/1 วรรคสอง)
- คู่ความต้องยืนบัญชีระบุพยานต่อศาล ก่อนวันนัดตรวจพยานหลักฐาน ไม่น้อยกว่า 7 วัน
- การยื่นบัญชีระบุพยาน เพิ่มเติม ต้องยื่นขอต่อศาล ก่อนการตรวจพยานหลักฐานเสร็จสิ้น
2. กรณีไม่มีกาหนดวันตรวจพยานหลักฐาน (มาตรา 229/1)
ชั้นไต่สวนมูลฟ้องและชั้นพิจารณา (มาตรา 229/1 วรรคหนึ่ง)
- โจทก์ ต้องยื่นบัญชีระบุพยานหลักฐานต่อศาล ไม่น้อยกว่า 15 วัน ก่อนวันไต่สวนมูลฟ้อง หรือวันสืบพยาน
- จาเลย ให้ยื่นบัญชีระบุพยาน ก่อนวันสืบพยานจาเลย
การยื่นบัญชีระบุพยานในชั้นไต่สวนคาร้องขอคืนของกลาง และขอให้ศาลริบทรัพย์ (มาตรา 229/1 วรรคสอง)
- ผู้ร้องหรือผู้คัดค้าน ต้องยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาล ไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันไต่สวนคาร้อง
การขออนุญาตยื่นบัญชีระบุพยาน หรือยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม (มาตรา 229/1 วรรคสาม)
- การขออนุญาตยื่นบัญชีระบุพยาน เป็น กรณีที่ยังไม่ได้ยื่นบัญชีระบุพยานไว้เลย
กรณีไม่สามารถยื่นบัญชีระบุพยานหลักฐานตามกาหนดเวลามาตรา 229/1 วรรคหนึ่ง และวรรคสอง ได้
คู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องร้องขออ้างพยานหลักฐานดังกล่าวต่อศาล พร้อมกับบัญชีระบุพยานและสาเนาบัญชีระบุ
พยานนั้น ก่อนเสร็จสิ้นการพิจารณา
- กรณีข้อยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม เป็น กรณีที่ยื่นบัญชีระบุพยานหลักฐานไว้แล้ว และสิ้นสุดระยะเวลาการยื่น
ตามมาตรา 226/1 วรรคหนึ่ง และวรรคสอง ต้องการนาสืบพยานเพิ่มเติม คู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นอาจร้องขอ
อ้างพยานหลักฐานดังกล่าวต่อศาล พร้อมกับบัญชีระบุพยานและสาเนาบัญชีระบุพยานหลักฐานนั้น
ไม่ว่าเวลาใด ๆ ก่อนเสร็จสิ้นการสืบพยานของฝ่ายนั้น
ผลของการไม่ยื่นบัญชีระบุพยาน (มาตรา 229/1 วรรคสี่)
- ห้ามมิให้ศาลอนุญาตให้สืบและรับฟังพยานหลักฐานที่ไม่ได้ระบุไว้ในบัญชีระบุพยาน
- แต่ถ้าศาลเห็นว่าจาเป็น ต้องคุมครองพยานหรือจะต้องนาสืบพยานหลักฐานดังกล่าว เพื่อให้การวินิจฉัยชี้ขาดข้อสาคัญ
แห่งประเด็นเป็นไปโดยเที่ยวธรรม หรือเพื่อให้โอกาสจาเลยในการต่อสู้คดีอย่างเต็มที่ ให้อานาจศาลอนุญาตให้สืบและรับ
ฟังเป็นพยานหลักฐานเช่นว่านั้นได้
การเดินเผชิญสืบและส่งประเด็น
มาตรา 230 เมื่อคู่ความที่เกี่ยวข้องร้องของหรือเมื่อศาลเห็นเป็นการสมควร ศาลอาจเดินเผชิญสืบพยานหลักฐาน หรือเมื่อมีเห็น
จาเป็นไม่สามารถนาพยานหลักฐานมาสืบที่ศาลนั้น และการสืบพยานหลักฐานโดยวิธีอื่นไม่สามารถกระทาได้ ศาลมีอานาจส่ง
ประเด็นให้ศาลอื่นสืบพยานหลักฐานแทน ให้ศาลที่รับประเด็นมีอานาจและหน้าที่ดังศาลเดิม รวมทั้งมีอานาจส่งประเด็นต่อไปยัง
ศาลอื่นได้ - (การสืบพยานต้องกระทาโดยเปิดเผยต่อหน้าจาเลย ตามมาตรา 172) ยกเว้น >>> กรณีตามมาตรา 173 ทวิ
- การส่งประเด็นไปสืบพยานหลักฐานที่ศาลอื่นหรือการเดินเผชิญสืบพยานหลักฐาน เป็นดุลพินิจของศาล
ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องสืบพยานต่อหน้าจาเลยตามมาตรา 172 ทวิ
1. ในคดีที่มีอัตราโทษ จาคุกอย่างสูงไม่เกิน 10 ปี – 172 ทวิ วรรคหนึ่ง
2. ในคดีที่มีจาเลยหลายคน ศาลพอใจตามคาแถลงของโจทก์ - 172 ทวิ (2)
3. ในคดีที่มีจาเลยหลายคน ถ้าศาลเห็นสมควรพิจารณาและสืบพยานจาเลยคนหนึ่ง ลับหลังจาเลยคนอื่นก็ได้ - 172 ทวิ (3)
พยานบุคคล (มาตรา 232 – 237 ตรี)
ห้ามโจทก์อ้างจาเลยเป็นพยาน
มาตรา 232 ห้ามโจทก์อ้างจาเลยเป็นพยาน – จาเลยในคดีเดียวกัน หรือผู้ร่วมกระทาความผิดด้วยกัน เท่านั้นที่ต้องห้าม
จาเลยอาจอ้างตนเองเป็นพยาน
มาตรา 233 จาเลยอาจอ้างตนเองเป็นพยานได้ ในกรณีที่จาเลยอ้างตนเองเป็นพยานศาลจะให้เข้าสืบก่อนพยานอื่นฝ่ายจาเลยก็ได้
ถ้าคาเบิกความของจาเลยนั้นปรักปราหรือเสียหายแก่จาเลยอื่น จาเลยอื่นนั้นซักค้านได้
ในกรณีที่จาเลยเบิกความเป็นพยาน คาเบิกความของจาเลยย่อมใช้ยันจาเลยนั้นได้ และศาลอาจรับฟังคาเบิกความนั้น
ประกอบพยานหลักฐานอื่นของโจทก์ได้
สิทธิของพยานที่จะไม่ตอบคาถาม
มาตรา 234 พยานไม่ต้องตอบคาถามซึ่งโดยตรง หรือโดยอ้อมอันอาจทาให้เขาถูกฟ้องคดีอาญา เมื่อมีคาถาม ให้ศาลเตือนพยาน

ศาลมีอานาจถามพยาน
มาตรา 235 ในระหว่างพิจารณา เมื่อเห็นสมควร ศาลมีอานาจถาม โจทก์ จาเลย หรือพยานคนใดก็ได้
ห้ามมิให้ถามจาเลยเพื่อประโยชน์แต่เฉพาะจะเพิ่มเติมคดีโจทก์ซึ่งบกร่อง เว้นแต่จาเลยจะอ้างตนเองเป็นพยาน

ศาลมีอานาจสั่งพยานออกจากห้องพิจารณา
มาตรา 236 ในระหว่าพิจารณา ศาลมีอานาจสั่งให้ผู้ที่จะเป็นพยานซึ่งมิใช่จาเลย ออกไปอยู่นอกห้องพิจารณาจนกว่าจะเข้ามาเบิก
ความ ส่งนพยานที่เบิกความแล้วจะให้รออยู่ในห้องพิจารณาก็ได้

การอ่านคาพยาน
มาตรา 227 บันทึกความเบิกความพยานชั้นไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณานั้น ให้ศาลอ่านให้พยานฟังต่อหน้าจาเลย เว้นแต่
กรณีดังที่บัญญัติในมาตรา 165 วรรคสาม
ในกรณีที่คู่ความตกลงกัน ศาลอาจจะอนุญาตให้ถือเอาบันทึกเบิกความพยานในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง เป็นคาเบิกความในชั้น
พิจารณา โดยพยานไม่ต้องเบิกความใหม่ หรือให้พยานเบิกความตอบคาถามค้านของจาเลยไปทันที เว้นแต่ ในข้อหาความผิดที่
กฎหมายกาหนด อัตราโทษอย่างต่าจาคุกตั้งแต่ห้าปีขึ้นไปหรือโทษสถานที่หนักกว่านั้น
หลักเกณฑ์ มาตรา 227 วรรคสอง
1. คู่ความตกลงกัน และศาลอนุญาต ให้ถือเอาคาเบิกความในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง เป็นคาเบิกความในชั้นพิจารณาได้
รวมถึงการนาคาเบิกความมาตอบคาถามค้นของจาเลยก็ได้
2. คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ยินยอม ศาลไม่มีอานาจอนุญาต
3. แม้คู่ความตกลงกัน ศาลจะอนุญาตหรือไม่อนุญาตก็ได้ เพราะเป็น ดุลพินิจของศาล
พยานเอกสาร (มาตรา 238 – 240)
การอ้างพยานเอกสาร
มาตรา 238 ต้นฉบับเท่านั้นที่อ้างเป็นพยานได้ ถ้าหาต้นฉบับไม่ได้ สาเนาที่รับรองว่าถูกต้องหรือพยานบุคคลที่รู้ข้อความก็อ้างเป็น
พยานได้
ถ้าอ้างเอกสารรางกานเป็นพยาน แม้ต้นฉบับยังอยู่ จะส่งสาเนาที่เจ้าหน้าที่รับรองว่าถูกต้องก็ได้
- พยานเอกสารที่นามาอ้างในชั้นพิจารณานั้น แม้เอกสารนั้นไม่ได้อยู่ในสานวนการสอบสวน ก็สามารถอ้างได้ ฏ.1548/2535
การส่งพยานเอกสารหรือสาเนาต่อศาล
มาตรา 240
1. เป็นเรื่องเกี่ยวกับการส่งพยานเอกสารต่อศาลเพื่อให้คู่ความอีกฝ่ายตรวจสอบหรือขอคัดสาเนา
2. มาตรา 240 เป็นกรณีที่ศาลไม่ได้กาหนดให้มีวันตรวจพยานหลักฐานตามมาตรา 173/1
กาหนดให้ยื่นพยานเอกสารต่อศาล ก่อนวันไต่สวนมูลฟ้องหรือวันสืบพยาน ไม่น้อยกว่า 15 วัน
* ถ้าเป็นกรณีกาหนดให้มีวันตรวจพยาน เป็นกรณีที่อยู่บังคับมาตรา 173/2 ซึ่งกาหนดให้คู่ความต้องส่งพยานเอกสารและ
พยานวัตถุในครอบครองของตนต่อศาลเพื่อให้คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งตรวจสอบในวันตรวจพยาน
3. กฎหมายบังคับทั้ง โจทก์และจาเลย ต้องยื่นพยานเอกสาร ก่อนวันไต่สวนมูลฟ้องหรือวันสืบพยาน ไม่น้อยกว่า 15 วัน
4. พยานเอกสารที่ส่งต่อศาล ตามมาตรา 240 วรรคหนึ่ง เป็นพยานหลักฐานที่อยู่ ในความครอบครองของตน เท่านั้น
5. พยานเอกสารที่ส่งต่อศาล ตามมาตรา 240 วรรคหนึ่ง หมายถึง การส่ง ต้นฉบับเอกสาร ไม่ใช่สาเนาเอกสาร
6. พยานหลักฐานที่ ได้รับการยกเว้น จากศาลไม่ต้องส่ง คือ บันทึกคนให้การพยาน หรือเอกสารที่ปรากฏชื่อหรือที่อยู่ของ
พยาน โดยให้ศาลอ่านหรือส่งให้คู่ความอีกฝ่ายตรวจดู หากคู่ความนั้นต้องการสาเนา ก็ให้ศาลสั่งให้อีกฝ่ายทีอ่ ้างเอกสารนั้น
ส่งสาเนาให้อีกฝ่ายหนึ่งตามมาตรา 240 วรรคสอง
7. กรณีไม่ส่งเอกสารตามมาตรา 240 วรรคหนึ่ง หรือส่งสาเนาเอกสารตามวรรคสอง หรือไม่ส่งเอกสารหรือพยานวัตถุตาม
มาตรา 173/2 วรรคหนึ่ง ให้ศาลมีอานาจไม่รับฟังพยานหลักฐานนั้น เว้นแต่ศาลจะเห็นว่าเป็นกรณีเพื่อประโยชน์แห่ง
ความยุติธรรม
มาตรา 240 วรรคสอง ให้ศาลอ่านหรือส่งเอกสารให้คู่ความตรวจดู ถ้าคู่ความฝ่ายใดต้องการสาเนา ศาลมีอานาจสั่งให้ฝ่ายที่อ้าง
ส่งสาเนาได้ ถ้าฝ่ายที่อ้างไม่ปฏิบัติตาม ศาลชอบที่จะไม่รับเอกสารนั้นไว้พิจารณาได้
- กรณีคู่ความร้องขอให้ศาลคัดสาเนานั้น ศาลจะอนุญาตหรือไม่ เป็นดุลพินิจของศาล ฎ.1068/2496
ในคดีอาญาสามารถนาพยานบุคคลมาสืบหักล้างพยานเอกสารได้ ฏ.3224/2531
ในคดีอาญา ตราสารทีม่ ิได้ติดอากรแสตมป์ รับฟังเป็นพยานเอกสารได้ ฏ.2524-2525/2543
พยานวัตถุ (มาตรา 241 - 242)
มาตรา 241
สิ่งใดใช้เป็นพยานวัตถุต้องนามาศาล (การตรวจพยานวัตถุในศาล)
ในกรณีนามาไม่ได้ ให้ศาลไปตรวจจดรายงานยังที่ที่พยานวัตถุนั้นอยู่ ตามเวลาและวิธีซึ่งศาลเห็นสมควรตามลักษณะแห่ง
พยานวัตถุ (การตรวจพยานวัตถุในนอกศาล)
- ธนบัตรที่ใช้เป็นพยานวัตถุ แม้ไม่ได้ลงบันทึกประจาวันไว ก็อาจเป็นพยานวัตถุได้ ฏ.270/2542
- วัตถุพยาน ตามมาตรา 241 มุ่งถึงวัตถุพยานสาคัญแห่งความผิดอันจะเป็นข้อลงโทษจาเลยหรือไม่ ฏ.687/2485
- การตรวจพยานวัตถุเป็นดุลพินิจของศาล ทัง้ มาตรา 241 วรรคหนึ่ง ฏ.6711/2548 และวรรคสอง ฏ.1907/2517
พยานผู้เชี่ยวชาญ (มาตรา 243 - 244)
มาตรา 243 ผู้ใดโดยอาชีพหรือมิใช่ก็ตาม มีความเชี่ยวชาญในการใด ๆ ซึ่งความเห็นของผู้นั้นอาจมีประโยชน์แก่การวินิจฉัยคดี ใน
การสอบสวน ไต่สวนมูลฟ้อง หรือพิจารณา อาจเป็นพยานในเรื่องต่าง ๆ
ผู้เชี่ยวชาญอาจทาความเห็นเป็นหนังสือก็ได้ แต่ต้องส่งสาเนาหนังสือดังกล่าวให้ศาลและคู่ความฝ่ายหนึ่งทราบและต้องมา
เบิกความประกอบหนังสือนั้น เว้นแต่ มีเหตุจาเป็นหรือคู่ความไม่ติดใจซักถามผู้เชี่ยวชาญนั้น ศาลจะให้รับฟังเป็นความเห็นเป็น
หนังสือดังกล่าวโดยผู้เชี่ยวชาญไม่ต้องมาเบิกความประกอบก็ได้
ในกรณีที่ผู้เชี่ยวชาญต้องมาเบิกความประกอบ ให้ส่งสาเนาหนังสือดังกล่าว ต่อศาลในจานวนที่เพียงพอ ล่วงหน้าไม่น้อย
กว่า 7 วัน ก่อนวันเบิกความ เพื่อให้คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งมารับไป
ในการเบิกความประกอบ ผู้เชี่ยวชาญจะอ่านข้อความที่เขียนมาก็ได้
- คาเห็นของผู้เชี่ยวชาญจะรับฟังได้เพียงใด ขึ้นอยู่กับความสมเหตุสมผลของความเห็นนั้น ฏ.509/2554
- กรณีประจักษ์พยานขัดแย้งกับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ถ้าประจักษ์พยานไม่มีข้อพิรุธแม้จะมีปากเดียวก็มีน้าหนักมากกว่า
ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ฏ.916/2546
มาตรา 244 ถ้าศาลหรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจชั้นผู้ใหญ่ เห็นจาเป็นต่อการไต่สวนมูลฟ้อง พิจารณา หรือสอบสวน
ที่จะต้องตรวจศพ แม้ว่าจะได้บรรจุหรือฝัง แล้วก็ตาม ให้มีอานาจสั่งให้เอาศพนั้นให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจได้ แต่การกระทาตามคาสั่ง
ดังกล่าวนั้นจะต้องคานึงถึงหลักทางศาสนาและไม่ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงอย่างอื่น

You might also like