You are on page 1of 65

ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

การจัดองคกรของรัฐ
นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ

คณะรัฐมนตรี องคกรอิสระตาม รธน. ศาลรัฐธรรมนูญ

รัฐบาล ฝายปกครอง ก.ก.ต. สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ

สํานักงาน กกต. ศาลยุติธรรม


สวนราชการ
ป.ป.ช. สํานักงานศาลยุติธรรม
รัฐวิสาหกิจ
สํานักงาน ปปช. ศาลปกครอง
หนวยงานของรัฐอื่น
ค.ต.ง. สํานักงานศาลปกครอง

สํานักงาน คตง. ศาลทหาร

ฯลฯ
ระบบศาลของไทยในปจจุบนั
ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร
ขอพิพาททาง คดีปกครอง คดีอาญา
รัฐธรรมนูญ ทหาร

คดีแพง คดีอาญา
ความเปนมาของศาลปกครอง
2417 รัชกาลที่ 5 ทรงจัดตั้งเคานซิซลออฟสเตด
ลิ ออฟสเตด
2476 คณะกรรมการกฤษฏีกา กา
2492 คณะกรรมการเรื่องราวรองทุกข
2517 รัฐธรรมนูญใหมีการจัดตั้งศาลปกครอง
2522 คณะกรรมการกฤษฎีกา
คณะกรรมการรางกฎหมาย
คณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกข
คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย
2542 กฎหมายจัดตั้งศาลปกครอง
2544 ศาลปกครองเปดทําการเปนครั้งแรก
การกระทําของฝายปกครอง
การกระทําทางปกครอง การกระทําทั่วไป

การกระทํา การกระทําอืน่ การวินจิ ฉัย การกระทํา


ฝายเดียว (ปฏิบัติการทาง ขอพิพาท สองฝาย
ปกครอง)

กฎ คําสั่งทางปกครอง สัญญาทางปกครอง

โดยกฎหมาย โดยเนือ้ หา
เหตุผลในการตรากฎหมาย
รัฐธรรมนูญบัญญัติใหจัดตั้ง “ศาลปกครอง”
พิจารณาพิพากษาคดีที่เปนขอพิพาทระหวางเอกชนกับหนวยงาน/จนท.ของรัฐ
หรือหนวยงาน/จนท.ของรัฐดวยกันเอง อันเนื่องมาจาก
(1) การใชอํานาจทางปกครองตามกฎหมายหรือการดําเนินกิจการทางปกครอง
(2) เรื่องที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติใหอยูในอํานาจของศาลปกครอง
ระบบพิจารณาคดีจําเปนตองมีกระบวนการเปนพิเศษตางจากคดีทั่วไป
คําพิพากษามีผลกระทบการบริหารราชการแผนดิน หรือตองจายเงินภาษีอากร
เอกชนอยูในฐานะทีเ่ สียเปรียบ ไมทราบขอมูลจากหนวยงานของรัฐ
การพิจารณาจําเปนตองใช “ระบบไตสวน” เพือ่ หาขอเท็จจริงที่แทจริง
ตุลาการมีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ตรวจสอบได/หนวยงานธุรการที่เปนอิสระ
โครงสรางของศาลปกครอง
ศาลปกครองสูงสุด
ศาลปกครองชัน้ ตน

ศาลปกครองกลาง ศาลปกครองในภูมิภาค
เชียงใหม แพร พิษณุโลก ระยอง ลพบุรี สุพรรณบุรี
ขอนแกน นครราชสีมา สกลนคร อุดรธานี อุบลราชธานี บุรีรมั ย
นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา ชุมพร
ลักษณะของคดีปกครอง
1. เปนคดีพิพาทระหวางหนวยงานทางปกครอง
หรือเจาหนาที่ของรัฐกับเอกชน หรือระหวาง
หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ
ดวยกันเอง
2. เปนคดีพิพาทตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง
แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ
วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542
หนวยงานทางปกครอง
“หนวยงานทางปกครอง” หมายความวา กระทรวง
ทบวง กรม สวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะ
เปนกรม ราชการสวนภูมภิ าค ราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ
ที่ตั้งขึ้นโดย พ.ร.บ. หรือ พ.ร.ฎ. หรือหนวยงานอื่นของรัฐ
และใหหมายความรวมถึงหนวยงานที่ไดรบั มอบหมายใหใช
อํานาจทางปกครองหรือใหดําเนินกิจการทางปกครอง
เจาหนาที่ของรัฐ
(1) ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง คณะบุคคล หรือผูที่ปฏิบตั ิงาน
ในหนวยงานปกครอง
(2) คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท คณะกรรมการหรือบุคคล
ซึ่งมีกฎหมายใหอํานาจในการออกกฎ คําสั่ง หรือมติใด ๆ ที่มีผล
กระทบตอบุคคล และ
(3) บุคคลที่อยูในบังคับบัญชาหรือในกํากับดูแลของหนวยงาน
ทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐตาม (1) หรือ (2)
คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท
“คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท” หมายความวา
คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการจัดองคกร
และวิธีพิจารณาสําหรับวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหนาที่
ตามกฎหมาย
เขตอํานาจศาลปกครอง มาตรา 9
หนวยงานทางปกครอง/จนท.ของรัฐ

กระทําการ 1.ละเลย กระทําละเมิด กฎหมายกําหนดใหหนวยงาน


2.ปฏิบัติหนาที่ หรือความรับ ทางปกครองหรือเจาหนาที่
ลาชาเกินสมควร ผิดอยางอื่น ของรัฐฟองศาลเพื่อบังคับให
บุคคลกระทําหรือละเวนกระทํา
ออกกฎ/คําสั่ง/กระทําการอื่นใด
โดยไมชอบดวยกฎหมาย สัญญาทางปกครอง คดีที่มีกฎหมาย
1.จากการใชอํานาจตาม กม. กําหนดใหอยูในเขต
1.ไมมีหรือนอกเหนืออํานาจหนาที่ อํานาจศาลปกครอง
หรือไมถูกตองตามกฎหมาย 2.จากกฎ
2.ไมถูกตองตามรูปแบบขั้นตอน/ 3.คําสั่งทางปกครอง คําสั่ง
หรือวิธีการอันเปนสาระสําคัญ/ 4.ละเลยหรือลาชา *หมายเหตุ
หรือโดยไมสุจริต
กฎ : พ.ร.ฎ. กฎกระทรวง
3.เลือกปฏิบัติไมเปนธรรม คดีที่ไมอยูในอํานาจศาลปกครอง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัติ
4.สรางขัน้ ตอนโดยไมจําเปนหรือ -วินัยทหาร ทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับหรือ
บทบัญญัติอื่น ที่มีผลบังคับเปน
สรางภาระแกประชาชน -คณะกรรมการตุลาการ การทั่วไป
5.ใชดุลพินิจโดยไมชอบ -ศาลชํานัญพิเศษ
สัญญาทางปกครอง
คูสัญญา วัตถุประสงคของสัญญา
1. สัญญาสัมปทาน
อยางนอยฝายใดฝายหนึ่ง 2. สัญญาที่ใหจัดทําบริการสาธารณะ
เปน
3. สัญญาที่จัดใหมีสิ่งสาธารณูปโภค

หนวยงานทางปกครอง 4. สัญญาที่แสวงประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ

5. สัญญาที่ใหเขาดําเนินการหรือเขารวมดําเนินการ
หรือ จัดทําบริการสาธารณะโดยตรง
6. สัญญาที่มีขอกําหนดซึ่งมีลักษณะพิเศษที่แสดงถึง
บุคคลซึ่งกระทําการแทนรัฐ เอกสิทธิ์ของรัฐ เพือ
่ ใหการใชอํานาจทางปกครอง
หรือการดําเนินกิจการทางปกครองซึ่งก็คือ
“บริการสาธารณะ” บรรลุผล
7. สัญญาที่จัดหารือจัดใหมีอุปกรณสําคัญ
ที่ใชในการจัดทําบริการสาธารณะ

สัญญาทางแพง = ผูกพันกับคูสัญญาดวยใจสมัคร เสมอภาค


ประเภทคดีที่อยูใ นอํานาจของศาลปกครอง
1. หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐกระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมาย
ไมวา จะเปนการออกกฎ คําสั่ง หรือการกระทําอืน่ ใด เนื่องจากกระทําโดยไมมอี ํานาจ
หรือนอกเหนืออํานาจหนาที่ หรือไมถูกตองตามกฎหมาย หรือโดยไมถูกตองตาม
รูปแบบ ขั้นตอน หรือวิธีการอันเปนสาระสําคัญที่กําหนดไวสําหรับการกระทํานัน้
หรือโดยไมสุจริต หรือมีลักษณะเปนการเลือกปฏิบัตทิ ี่ไมเปนธรรม หรือมีลักษณะ
เปนการสรางขั้นตอนโดยไมจําเปนหรือสรางภาระใหเกิดกับประชาชนเกินสมควร
หรือเปนการใชดุลพินิจโดยมิชอบ
2. หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐละเลยตอหนาทีต่ ามทีก่ ฎหมายกําหนด
ใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาทีล่ าชาเกินสมควร
3. การกระทําละเมิดหรือความรับผิดอยางอื่นของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่
ของรัฐ
4. สัญญาทางปกครอง
5. กฎหมายกําหนดใหหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐฟองคดีตอศาล
เพื่อบังคับ ใหบุคคลตองกระทําหรือละเวนการกระทํา
6. กฎหมายกําหนดใหอยูในเขตอํานาจศาลปกครอง
เรื่องที่ไมอยูในอํานาจศาลปกครอง
1. การดําเนินการเกี่ยวกับวินัยทหาร
2. การดําเนินการของคณะกรรมการตุลาการ
ตามกฎหมาย วาดวยระเบียบขาราชการฝายตุลาการ
3. คดีทอี่ ยูในอํานาจของศาลเยาวชนและครอบครัว
ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพยสนิ ทางปญญา
และการคาระหวางประเทศศาลลมละลาย หรือ
ศาลชํานัญพิเศษอื่น
อํานาจการพิจารณาพิพากษาคดี
ของศาลปกครองชัน้ ตน

ศาลปกครองชัน้ ตนมีอํานาจพิจารณา
พิพากษาคดีที่อยูในอํานาจศาลปกครอง
เวนแตคดีที่อยูในอํานาจพิจารณาพิพากษา
ของศาลปกครองสูงสุด
อํานาจการพิจารณาพิพากษาคดี
ของศาลปกครองสูงสุด
1. คดีพพิ าทเกี่ยวกับคําวินิจฉัยของ คณะกรรมการวินิจฉัย
ขอพิพาทตามที่ที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด
ประกาศกําหนด
2. คดีพพิ าทเกี่ยวกับความชอบดวยกฎหมายของ
พระราชกฤษฎีกาหรือกฎที่ออกโดยคณะรัฐมนตรี
หรือโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
3. คดีทมี่ ีกฎหมายกําหนดใหอยูในอํานาจศาลปกครองสูงสุด
4. คดีทอี่ ุทธรณคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครองชั้นตน
การฟองคดีตอศาลปกครอง

1. การยื่นคําฟอง
2. เงือ่ นไขการฟองคดี
1. การยืน่ คําฟอง
1. วิธีการยื่นคําฟอง
(1) ยื่นดวยตนเองตอพนักงานเจาหนาที่ของศาลปกครอง
(2) สงทางไปรษณียลงทะเบียน
 การมอบฉันทะ
 การมอบอํานาจ
 การตั้งผูแทนในการดําเนินคดี
1. การยื่นคําฟอง
2. ยืน่ ฟองคดีตอ ศาลปกครองทีม่ ีเขตอํานาจพิจารณาพิพากษา
(1) คดีที่อยูใ นอํานาจของศาลปกครองสูงสุด ยื่นฟองคดี
ตอศาลปกครองสูงสุด เวนแตคดีที่อทุ ธรณคําพิพากษา/คําสั่ง
ของศาลปกครองชั้นตน ยื่นตอศาลปกครองชั้นตนที่มี
คําพิพากษา/คําสั่ง
(2) คดีที่อยูใ นอํานาจของศาลปกครองชั้นตน ยื่นฟองตอ
ศาลปกครองชั้นตนทีผ่ ูฟองคดีมภี ูมิลําเนาหรือที่มูลคดีเกิดขึ้น
ในเขตศาลปกครองชั้นตนนั้น
1. การยื่นคําฟอง
3. ในระหวางที่ศาลปกครองในภูมภิ าคยังมิไดมีเขตอํานาจ
ในทองที่ใดใหศาลปกครองกลางมีเขตอํานาจในทองที่นั้น
ดวย
4. คําฟองซึ่งอาจยื่นตอศาลไดสองศาลหรือหลายศาล
ไมวาจะเปนเพราะภูมิลําเนาของผูฟองคดี เพราะสถานที่
ที่มูลคดีเกิด หรือเพราะมีหลายขอหาถามูลคดีมคี วาม
เกี่ยวเนื่องกัน ผูฟองคดีจะยืน่ คําฟองตอศาลหนึ่งศาลใดก็ได
1. การยื่นคําฟอง
5. การฟองคดีที่มูลคดีมิไดเกิดขึ้นในราชอาณาจักร
ถาผูฟองคดีเปนผูมีสัญชาติไทยและไมมีภูมลิ ําเนา
อยูในราชอาณาจักรใหยื่นฟองตอศาลปกครองกลาง
6. การฟองคดีทเี่ กิดขึ้นนอกเขตอํานาจศาลปกครองกลาง
หากผูฟองคดีประสงคจะยื่นฟองคดีตอศาลปกครองกลาง
ก็ได แตใหอยูในดุลพินิจของศาลปกครองกลางที่จะไมรับ
พิจารณาพิพากษาคดีที่ยื่นฟองเชนนั้นได
2. เงื่อนไขการฟองคดี
1. ความเปนผูมีสิทธิฟองคดี
(1) ผูที่ไดรับความเดือดรอนหรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดรอนหรือเสียหาย
โดยมิอาจหลีกเลี่ยงไดอันเนื่องมาจาก
(ก) การกระทําหรือการงดเวนการกระทําของ หนวยงานทางปกครอง
หรือเจาหนาที่ของรัฐ หรือมีขอโตแยงเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง
หรือกรณีอื่นใดที่อยูในเขตอํานาจศาลปกครอง ตามมาตรา 9 และ
(ข) การแกไขหรือบรรเทาความเดือดรอนหรือความเสียหาย
หรือยุติขอโตแยงนั้น ตองมีคําบังคับตามที่กําหนดในมาตรา 72
(2) ผูตรวจการแผนดิน
กรณีเห็นวากฎหรือการกระทําใดของหนวยงานทางปกครองหรือ
เจาหนาที่ของรัฐไมชอบดวยรัฐธรรมนูญ
2. เงือ่ นไขการฟองคดี
2. ผูฟองคดีเปนผูมีความสามารถตามกฎหมาย
(1) ไมเปนบุคคลไรความสามารถ ไดแก
(ก) ผูเยาว
(ข) คนไรความสามารถ
(ค) คนเสมือนไรความสามารถ
(2) กรณีเปนบุคคลไรความสามารถจะฟองคดีได
ตอเมื่อไดปฏิบัติตามบทบัญญัตแิ หงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชยวาดวยความสามารถ
(3) ผูเยาวทมี่ ีอายุไมต่ํากวา 15 ป จะฟองคดีดวยตนเองได
ตอเมื่อศาลอนุญาต
2. เงื่อนไขการฟองคดี
3. คําฟองและเอกสารประกอบคําฟอง
(1) คําฟองตองทําเปนหนังสือ ใชถอยคําสุภาพและตองมี
(ก) ชื่อและที่อยูข องผูฟองคดี
(ข) ชื่อหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาทีข่ องรัฐที่เกี่ยวของอันเปนเหตุ
แหงการฟองคดี
(ค) การกระทําทั้งหลายที่เปนเหตุแหงการฟองคดี พรอมทั้งขอเท็จจริงหรือ
พฤติการณ ตามสมควรเกี่ยวกับการกระทําดังกลาว
(ง) คําขอของผูฟองคดี
(จ) ลายมือชื่อของผูฟองคดี ถาเปนการยื่นฟองคดีแทนผูอื่น จะตองแนบ
ใบมอบฉันทะ ใหฟองคดี มาดวย
(2) ตองแนบพยานหลักฐานที่เกี่ยวของมาพรอมกับคําฟองเวนแตไมอาจแนบได
เนื่องจากพยานหลักฐานอยูในความครอบครองของหนวยงานทางปกครองเจาหนาที่
ของรัฐหรือบุคคลอื่น หรือเพราะ เหตุใด ใหระบุเหตุที่ไมอาจแนบพยานหลักฐานไวดวย
(3) จัดทําสําเนาคําฟองและสําเนาพยานหลักฐานที่ผูฟองคดีรับรองสําเนาถูกตองตาม
จํานวนของผูถูกฟองคดี
2. เงือ่ นไขการฟองคดี
4. การดําเนินการแกไขความเดือดรอนหรือเสียหายกอนการฟองคดี
ในกรณีที่มกี ฎหมายกําหนดขั้นตอนหรือวิธีการสําหรับ
การแกไขความเดือดรอนหรือเสียหายในเรื่องใดไวโดยเฉพาะ
การฟองคดีปกครองในเรื่องนัน้ จะกระทําไดตอ เมือ่ มีการดําเนินการ
ตามขั้นตอนและวิธีการดังกลาว และ
(1) มีการสั่งการตามกฎหมายนั้น หรือ
(2) มิไดมกี ารสั่งภายในเวลาอันสมควรหรือภายในเวลาที่กฎหมาย
นัน้ กําหนด
2. เงื่อนไขการฟองคดี
5. เรื่องทีน่ ํามาฟองมีคําขอที่ศาลปกครองมีอาํ นาจกําหนดคําบังคับได
(1) ขอใหสั่งใหเพิกถอนกฎหรือคําสั่งหรือสั่งหามการกระทํา
ทั้งหมดหรือบางสวน กรณีฟองตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (1)
(2) ขอใหสั่งใหหัวหนาหนวยงานทางปกครอง หรือเจาหนาที่ของรัฐ
ที่เกี่ยวของปฏิบัติตามหนาทีภ่ ายในเวลาที่ ศาลปกครองกําหนด กรณีฟองตาม
มาตรา 9 วรรคหนึ่ง (2)
(3) ขอใหสั่งใหใชเงินหรือใหสงมอบทรัพยสินหรือใหกระทําการ หรืองดเวน
กระทําการ โดยจะกําหนดระยะเวลาและเงื่อนไขอืน่ ๆ ไวดวยก็ได กรณีฟองตาม
มาตรา 9 วรรคหนึ่ง (3) และ (4)
(4) ขอใหสั่งใหถือปฏิบัตติ อ สิทธิหรือหนาที่ของบุคคลที่เกี่ยวของ ในกรณี
ฟองใหศาลมีคาํ พิพากษาแสดงความเปนอยูของสิทธิหรือหนาทีน่ นั้
(5) สั่งใหบุคคลกระทําหรือละเวนกระทําอยางหนึ่งอยางใดเพื่อใหเปน
ไปตามกฎหมาย
2. เงื่อนไขการฟองคดี
6. ฟองคดีภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด
(1) ระยะเวลาการฟองคดีพพิ าทเกี่ยวกับการที่หนวยงานทาง
ปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐการกระทําการโดยไมชอบดวย
กฎหมายหรือละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตอง
ปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร จะตองฟองคดี
ภายใน 90 วัน นับแตวันที่รูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดี หรือ
นับแตวันที่พนกําหนด 90 วัน นับแตวันที่ผูฟองคดีไดมีหนังสือ
รองขอตอหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐเพื่อให
ปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด และไมไดรบั หนังสือชี้แจง
จากหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ หรือไดรับแต
เปนคําชี้แจงที่ผูฟองคดีเห็นวาไมมีเหตุผลแลวแตกรณี เวนแต
จะมีบทกฎหมายเฉพาะกําหนดไวเปนอยางอื่น
2. เงื่อนไขการฟองคดี
(ก) กรณียื่นฟองคดีภายใน 90 วัน นับแตวันที่รูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดี

90 วัน
รูหรือควรรู ระยะเวลาฟอง ขาดอายุความ

(ข) กรณียื่นฟองคดีเมื่อพนกําหนด 90 วัน นับแตวันที่มีหนังสือรองขอ และ


- ไมไดรับหนังสือชี้แจง หรือ
- ไดรับแตเปนคําชีแ้ จงที่ไมมีเหตุผล
90 วัน 90 วัน
รองขอ ขาดอายุความ
ระยะเวลารอ ระยะเวลาฟอง
 เวนแตจะมีบทกฎหมายเฉพาะกําหนดไวเปนอยางอื่น
2. เงื่อนไขการฟองคดี
(2) ระยะเวลาฟองคดีละเมิดหรือความรับผิดอยางอื่น
รูหรือควรรูเ หตุแหงการ 1 ป
ฟองคดี ระยะเวลาฟอง ขาดอายุความ

- กรณีที่ไมรูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดีตอ งยื่นฟอง
ภายใน10 ป นับแตวันที่มเี หตุแหงการฟองคดี
วันที่มีเหตุ 10 ป
แหงการฟองคดี ระยะเวลาฟอง ขาดอายุความ
2. เงื่อนไขการฟองคดี
(3) ระยะเวลาฟองคดีสญ
ั ญาทางปกครอง
รูหรือควรรูเ หตุแหงการ 5 ป
ฟองคดี ระยะเวลาฟอง ขาดอายุความ

- กรณีที่ไมรูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดีตอ งยื่นฟอง
ภายใน 10 ป นับแตวันที่มเี หตุแหงการฟองคดี
วันที่มีเหตุ 10 ป
แหงการฟองคดี ระยะเวลาฟอง ขาดอายุความ
2. เงื่อนไขการฟองคดี

(4) คดีปกครองที่ไมมีกําหนดระยะเวลาการฟองคดี
คดีปกครองที่เกี่ยวกับการคุมครองประโยชน
สาธารณะหรือสถานะของบุคคลจะยื่นฟองคดี
เมื่อใดก็ได
2. เงื่อนไขการฟองคดี
(5) คดีปกครองที่ฟอ งเมื่อพนกําหนดเวลาและการขยายระยะเวลาการฟองคดี
(ก) คดีที่ปกครองที่ยื่นฟองเมื่อพนกําหนดเวลาการฟองคดีแลว ถาศาลปกครอง
เห็นวาจะเปนประโยชนแกสวนรวม หรือมีเหตุจําเปนอืน่ โดยศาลเห็นเองหรือ
คูกรณีมีคาํ ขอ ศาลปกครองจะรับไวพจิ ารณาก็ได
(ข) กรณีผูออกคําสัง่ มิไดระบุวิธีการยื่นคําฟองและระยะเวลาสําหรับ
การยื่นคําฟองไวในคําสัง่
- ในภายหลังไดมีการแจงขอความใหผูรับคําสั่งทราบระยะเวลายื่นคําฟอง
เริ่มนับใหมตั้งแตวันที่ผูรับคําสั่งไดรับแจง
- กรณีไมมีการแจงขอความใหม ถาระยะเวลาสําหรับ ยื่นคําฟองมีกําหนด
นอยกวา 1 ป ใหขยายระยะเวลาสําหรับยื่นคําฟองเปน 1 ป นับแตวันที่
ไดรับคําสัง่
2. เงื่อนไขการฟองคดี
7. การเสียคาธรรมเนียมศาล
(1) การฟ อ งคดีไ มต องเสี ยค า ธรรมเนีย มศาล เวน แต ก าร
ฟองคดีขอใหสั่ง ใหใชเงินหรือสงมอบทรัพยสิน ตามมาตรา 9
วรรคหนึ่ง (3) หรือ (4) เสียคาธรรมเนียมศาลในอัตราตามที่ระบุ
ไวในตาราง 1 ทายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
สําหรับคดีที่มีคําขอใหปลดเปลื้องทุกขอันอาจคํานวณเปนราคา
เงินได (ม.45 วรรคสี่)
ตาราง 1 ทาย ปวพ. คาขึ้นศาล
สําหรับคดีทมี่ ีคําขอใหปลดเปลื้องทุกขอันอาจคํานวณเปนราคาเงินได
(1) คดีที่มีคําขอใหปลดเปลื้องทุกขอันอาจคํานวณเปนราคาเงินได ใหคิด
คาขึ้นศาลตามทุนทรัพยดังตอไปนี้
(ก) คําฟองนอกจากที่ระบุไวใน (ข) และ (ค) ทุนทรัพยไมเกิน 50 ลานบาท เสียคาธรรมเนียม
ศาลรอยละ 2 แตไมเกิน 200,000 บาท สวนที่เกิน 50 ลานบาท เสียคาธรรมเนียมศาล
รอยละ 0.1
(ข) คํารองขอใหบังคับตามคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการในประเทศหรือคํารองขอเพิกถอน
คําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการในประเทศ ทุนทรัพยไมเกิน 50 ลานบาท เสียคาธรรมเนียมศาล
รอยละ 0.5 ของจํานวนที่รองขอใหศาลบังคับแตไมเกิน 50,000 บาท สวนที่เกิน 50 ลานบาทขึ้น
ไปเสียคาธรรมเนียมศาลรอยละ 0.1 และคํารองขอใหศาลบังคับตามคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
ตางประเทศหรือคํารองขอใหเพิกถอนคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตางประเทศ ทุนทรัพยไมเกิน
50 ลานบาท เสียคาธรรมเนียมศาลรอยละ 1 ของจํานวนที่รอ งขอใหศาลบังคับ แตไมเกิน
100,000 บาท สวนที่เกิน 50 ลานบาทเสียคาธรรมเนียมศาลรอยละ 0.1
(ค) ฟองบังคับจํานอง...
(2) คดีที่มีคําขอใหปลดเปลื้องทุกขอันไมอาจคํานวณเปนราคาเงินได...
2. เงื่อนไขการฟองคดี
(2) ศาลปกครองมีอํานาจออกคําสั่งอนุญาตใหคูกรณี
ดําเนินคดี โดยยกเวนคาธรรมเนียมศาลทั้งหมดหรือเฉพาะ
บางสวนได หากเห็นวาคูกรณีที่ยื่นคําขอไมมีทรัพยสินเพียง
พอที่ จ ะเสี ย ค า ธรรมเนี ย มศาล หรื อ โดยสถานะของผู ข อ
ถาไมไดรับยกเวนคาธรรมเนียมศาลจะไดรับความเดือดรอน
เกินสมควร คําสั่งยกเวนคาธรรมเนียมศาลทั้งหมดใหเป น
ที่สุด (ม. 45/1)
การขอดําเนินคดีโดยไดรับยกเวนคาธรรมเนียม
ตามระเบียบของที่ประชุมใหญฯ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2548
ผูม ีสทิ ธิยื่นคํารองขอ ไดแก คูกรณี (ขอ 41/1)
ลักษณะของคูกรณี (ขอ 41/1)
คดีมีขออางหรือขอเท็จจริงเพียงพอ/คดีมีเหตุผลสมควรที่จะอุทธรณได
ไมมที รัพยสินเพียงพอฯ หรือโดยสถานะถาตองเสียจะไดรับความเดือดรอน
เกินสมควร
การยื่นคํารองขอ (ขอ 41/2)
ยื่นตอศาลปกครองชั้นตน
ยื่นพรอมคําฟองหรือคําอุทธรณ หรือยื่นภายหลังได แตตอ งกอนศาลมีคาํ สั่งรับ/
ไมรบั คําฟอง/คําอุทธรณ
การสาบานตัว (ขอ 41/2)
สาบานตัวกับพนักงานเจาหนาที่
2. เงื่อนไขการฟองคดี
(3) การชําระคาธรรมเนียมศาล ใหชําระเปนเงินสด
หรือเช็คซึ่งธนาคารรับรอง
(4) กรณี ผูฟ องคดีหลายคนร วมกั นยื่นคํ า ฟองเป น
ฉบับเดียวกัน หากเปนกรณีที่อาจแบงแยกไดวาทุนทรัพยของ
ผู ฟ อ งคดี แ ต ล ะคนเป น จํ า นวนเท า ใด ให ผู ฟ อ งคดี แ ต ล ะคน
ชําระคาธรรมเนียมศาลตามสวนของตน
(5) ในการคํานวณทุนทรัพย ถาทุนทรัพยไมถึง 100
บาท ใหนับเปน 100 บาท เศษของ 100 บาท ถาถึง 50 บาท
ใหนับเปน 100 บาท ถาต่ํากวา 50 บาท ใหปดทิ้ง
2. เงื่อนไขการฟองคดี
8. เหตุแหงการฟองคดีหรือวัตถุแหงคดียงั คงมีอยูในขณะ
ยืน่ ฟองคดี
ในการฟองคดีนนั้ ถาเหตุหรือวัตถุที่ทําใหผูฟองคดีไดรับความ
เดือดรอนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดรอนหรือเสียหายโดยมิอาจ
หลีกเลี่ยงไดไมมอี ยูแลวในขณะยื่นคําฟองยอมถือไดวา
(1) ผูนนั้ มิใชเปนผูมีสทิ ธิฟองคดี
(2) ศาลไมสามารถออกคําบังคับกําหนดใหไดเพราะเหตุ แหง
การฟองคดีหรือวัตถุแหงคดีไมมอี ยูแลว ในขณะที่มายื่นคําฟอง
2. เงื่อนไขการฟองคดี
9. การฟองซ้ํา ฟองซอน และการดําเนินกระบวน
พิจารณาซ้ํา
(1) การฟองซ้ํา
คดีที่ไดมีคาํ พิพากษาหรือคําสั่งชีข้ าดคดีถึงที่สุดแลว
หามมิใหคูกรณีเดียวกันฟองกันอีกในประเด็นที่ไดวินิจฉัย
โดยอาศัยเหตุอยางเดียวกัน
2. เงื่อนไขการฟองคดี
(2) การฟองซอน
นับแตเวลาที่ไดยื่นคําฟองตอศาลแลวคดีนั้นอยูใ นระหวาง
การพิจารณาและผลแหงการนี้
(ก) หามมิใหผูฟองคดียื่นคําฟองเรื่องเดียวกันตอศาลปกครอง
เดียวกันหรือตอศาลปกครองอืน่ อีก และ
(ข) ถามีเหตุเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในพฤติการณอันเกี่ยวดวย
การยืน่ ฟองคดีตอศาลปกครองที่มี เขตอํานาจศาลเหนือคดีนั้น
เชน การเปลีย่ นแปลงเขตอํานาจศาล หรือการเปลี่ยนแปลงภูมิลาํ เนา
ของผูฟองคดี การเปลี่ยนแปลง เชนวานั้น หาตัดอํานาจศาลปกครอง
ที่รับคําฟองไวในอันที่จะพิจารณาพิพากษาคดี นัน้ ไม
2. เงื่อนไขการฟองคดี
(3) การดําเนินกระบวนพิจารณาช้ํา
เมื่อศาลปกครองมีคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดี หรือประเด็นขอใด
แหงคดีแลวหามมิใหดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลนั้นอันเกี่ยวกับคดีหรือ
ประเด็นที่ไดวินิจฉัยชี้ขาดแลวนั้น เวนแต
(ก) เปนการแกไขขอผิดพลาดหรือผิดหลงเล็กนอยตามระเบียบฯ ขอ 95
(ข) การพิจารณาพิพากษาหรือมีคําสั่งชี้ขาดคดีใหมตามมาตรา 75
(ค) การพิจารณาใหมแหงคดีที่สํานวนคดี หรือเอกสารในสํานวนคดีสูญหาย
หรือบุบสลายตามขอ 21
(ง) การยื่น การรับ หรือไมรบั อุทธรณตามมาตรา 73
(จ) การดําเนินการเกี่ยวกับการบรรเทาทุกข ชั่วคราว ในระหวางการยื่นอุทธรณ
ซึ่งคําอุทธรณอยูระหวางการพิจารณา ของศาลปกครองชั้นตน ตามระเบียบฯ
ขอ 104 หรือ ขอ 106
(ฉ) การที่ศาลปกครองสูงสุดสงคดีคืนไปยังศาลปกครองชั้นตน ที่ไดพิจารณา
และพิพากษาหรือมีคําสั่งคดีนั้น เพื่อใหพิพากษาหรือมีคําสั่งใหม หรือพิจารณา
และคําพิพากษาหรือมีคําสั่งใหมตามระเบียบฯ ขอ 112
(ช) การบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง
ขั้นตอนการดําเนินคดีปกครอง
1. การตรวจคําฟอง
2. การแสวงหาขอเท็จจริงของศาล
3. การสรุปสํานวนและทําคําแถลงการณ
4. การนั่งพิจารณาคดีและการแถลงการณ
5. การพิพากษาหรือมีคําสั่งชี้ขาดคดี
6. การอุทธรณคาํ พิพากษาหรือคําสั่ง
7. การบังคับคดี
8. การขอพิจารณาคดีใหม
9. มาตรการ/วิธีการชั่วคราวกอนการพิพากษาคดี
ภาพการนั่งพิจารณาคดีในศาลปกครอง
ขั้นตอนการดําเนินคดี
ผูฟองคดี ผูถูกฟองคดี
คําฟอง คําใหการ
ตรวจเบื้องตน ภายใน 30 วัน/ ศาลกําหนด
ลงสารบบคดี แสดงการปฏิเสธ / ยอมรับขอหา
เสนออธิบดีฯ แสดงขอเท็จจริง+พยานหลักฐาน
มอบองคคณะ อาจฟองแยงได
สั่งไมรับ/แกไข/รับ ไมสงคําใหการถือวายอมรับ
ขอเท็จจริง
รายงานใหลงโทษทางวินัย &
ลงโทษละเมิดอํานาจศาลได
ทําคําคัดคานคําใหการ
ทําคําใหการเพิม่ เติม
ภายใน 30วัน / ศาลกําหนด
ภายใน 15 วัน/ ศาลกําหนด
ไมประสงคจะทํา
ศาลสงสําเนาใหผูฟองคดีดวย
แตประสงคดําเนินคดีตอทํา
หนังสือแจงศาล
ไมทําศาลอาจจําหนายคดี
แสวงหาขอเท็จจริง /
ไตสวนเพิ่มเติม

สรุปสํานวน : สรุปขอเท็จจริง >ประเด็นวินิจฉัย >ความเห็น


กําหนดวันสิ้นสุดการแสวงหาขอเท็จจริง
(แจงคูก รณีทราบลวงหนาไมนอยกวา 10วัน)

แจงกําหนดวันสิ้นสุดการแสวงหา
สรุปขอเท็จจริง
ขอเท็จจริงลวงหนา ไมนอยกวา 10วัน

สง “สํานวนคดี” ใหผูแถลงคดีทําคําแถลงการณ


(สรุปขอเท็จจริงประเด็น ความเห็น)

สงคูกรณีลวงหนาไมนอย 7 วัน วันนั่งพิจารณาคดี


การนั่งพิจารณาคดี
 อยางนอย 1 ครั้ง เพื่อใหคูกรณีมาแถลงดวยวาจาตอองคคณะ  ศาลสงสรุป
ขอเท็จจริง&แจงกําหนดวันนั่งพิจารณาคดีใหคูกรณีทราบลวงหนาไมนอ ยกวา
7 วัน คูกรณีทําคําแถลงเปนหนังสือ ตองยื่นอยางชาในวันนั่งพิจารณา

ขั้นตอนการนั่งพิจารณาคดี
1. ตุลาการเจาของสํานวนสรุปขอเท็จจริง ประเด็นแหงคดี
2. คูกรณีแถลงดวยวาจาประกอบคําแถลงเปนหนังสือ/
ไมมีคําแถลงเปนหนังสือ ตองขออนุญาต
3. คูกรณีอาจนําพยานมาใหถอยคําและศาลอนุญาต / ศาลเรียกมา
4. ตุลาการผูแถลงคดี ชีแ้ จงดวยวาจาตอองคคณะ ประกอบคําแถลงการณเปน
หนังสือที่เสนอไวแลว หรือเสนอคําแถลงการณดวยวาจากรณียังไมไดจัดทํา
คําแถลงการณเปนหนังสือ
องคคณะประชุมปรึกษาเพื่อพิพากษา/มีคําสั่ง
• อาจมีคําพิพากษา / คําสั่งในวันนั้น / วันอืน

• จัดทําคําพิพากษา / คําสั่ง
• การอานคําพิพากษา / คําสั่งชีข้ าด
• ใหศาลแจงคูกรณีทราบวันอานฯลวงหนาตามสมควร
• อานผลแหงคําพิพากษา / คําสั่งชี้ขาดถือวันอาน
• ไมมีคูกรณีมาศาล งดการอาน บันทึกไวถงึ วันทีบ่ ันทึก
• ใหสาํ นักงานฯจัดใหมีคําพิพากษา/คําสั่งฯ ไวทศี่ าลปกครอง
• ประชาชนเขาตรวจดู / ขอสําเนาที่มีการรับรองถูกตองได
• ใหสํานักงานฯพิมพเผยแพรคําพิพากษา / คําสั่ง / คําแถลงการณ
รายละเอียดของคําพิพากษา / คําสั่ง
ชื่อผูฟอ งคดี VS ชื่อผูถูกฟองคดี
เหตุแหงการฟองคดี
ขอเท็จจริงของเรือ่ งที่ฟอ ง
เหตุผลแหงคําวินจิ ฉัย
คําวินจิ ฉัยในประเด็นแหงคดี & ความเห็นแยง (ถามี)
คําบังคับ
ขอสังเกตเกี่ยวกับแนวทาง /วิธีการใหเปนไปตามคําพิพากษา
คําสัง่ คืนคาธรรมเนียมตามสวนแหงการชนะคดี
ชื่อตําแหนงตุลาการในองคคณะ & ตุลาการผูแถลงคดี
ขอกําหนดเกี่ยวกับคําสัง่ ทุเลาการบังคับฯ มาตรการบรรเทาทุกข
ศาลมีอํานาจกําหนดคําบังคับอยางใดอยางหนึ่ง
สั่งเพิกถอนกฎ คําสัง่
สั่งหามกระทําการทั้งหมด/บางสวน
ฟองวากระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมาย
สั่งใหปฏิบัติตามหนาที่ภายในเวลาที่กําหนด
ฟองวาละเลย ลาชา
สั่งใหใชเงิน / สงมอบทรัพยสิน
สั่งใหกระทําการ / งดเวนกระทําการ
ฟองวาละเมิด ความรับผิดอยางอื่น สัญญาทางปกครอง
สั่งใหถือปฏิบัติติตอสิทธิ / หนาที่ของบุคคลที่เกี่ยวของ
ฟองใหศาลมีคาํ พิพากษาแสดงความเปนอยูของสิทธิ / หนาที่
สั่งใหบุคคลกระทํา / ละเวนกระทํา เพื่อใหเปนไปตามกฎหมาย
เงื่อนไขอื่นๆ
อาจใหมีผลยอนหลัง ไมยอนหลังในอนาคต กําหนดเงือ่ นไข
ไดตามความเปนธรรม
ใหศาลคืนคาธรรมเนียมทั้งหมด / บางสวน ตามสวน
การชนะคดี
กําหนดเกี่ยวกับมาตรการทุเลาการบังคับตามกฎ/คําสั่ง หรือ
การบรรเทาทุกขชั่วคราว
ผลแหงคําพิพากษาศาลปกครอง
1. คําพิพากษาใหผูกพันคูก รณีที่จะตองปฏิบัติตาม
คําบังคับนับแตวันทีก่ ําหนดในคําพิพากษาจนถึงวันททีี่
คําพิพากษานัน้ ถูกเปลี่ยนแปลง แกไข กลับ หรืองดเสีย
2. กรณีเปนคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน
ใหรอการปฏิบัติตามคําบังคับไวจนกวาจะพนระยะเวลา
การอุทธรณ หรือในกรณีที่มีการอุทธรณใหรอการบังคับ
คดีไวจนกวาคดีจะถึงที่สดุ
การดําเนินการตามคําพิพากษา
หรือคําสั่งของศาลปกครอง
การอุทธรณคําพิพากษา / คําสั่ง
ตองยื่นอุทธรณภายใน 30 วันนับแตวันมีคําพิพากษา/คําสั่ง
ไมมีแบบกําหนดเฉพาะ ทําเปนหนังสือระบุรายการ
ชื่อผูอุทธรณ และชื่อผูถกู อุทธรณ
ขอคัดคานคําพิพากษา/คําสัง่ แสดงขอเท็จจริง/
ขอกฎหมายสนับสนุน
คําขอของผูอุทธรณ
ลายมือชื่อผูอุทธรณ ยื่นอุทธรณแทนตองมีใบมอบฉันทะ
ตองจัดทําสําเนาคําฟอง & พยานหลักฐานเทาจํานวน
ผูถูกอุทธรณ
การอุทธรณคําพิพากษา / คําสั่ง
ยืน่ อุทธรณตอศาลปกครองชั้นตนทีม่ คี ําพิพากษา/คําสั่ง
ยื่นดวยตนเอง/มอบฉันทะเจาหนาที่จะออกใบรับไว
เปนหลักฐาน
สงทางไปรษณียลงทะเบียน
ศาลปกครองสูงสุดมีคําพิพากษา/ คําสัง่ ชี้ขาดอุทธรณคดี
ถึงที่สดุ
การบังคับคดีปกครอง
ผลแหงคําพิพากษา / คําสั่ง คูกรณีตองดําเนินการตาม
เพิกถอนกฎ เมื่อประกาศใน รจ. ก็มีผลเปนการเพิก
ถอนกฎ
เพิกถอนคําสั่ง มีผลทันทีตามคําพิพากษา/คําสั่ง
สั่งใหใชเงิน สงมอบทรัพยสนิ หากไมดาํ เนินการศาลมี
คําสั่งยึดอายัดและขายทอดตลาดทรัพยสินผูนั้นได และ
บังคับใหกระทําการ/ละเวนกระทําการได ตาม ปวิพ.
ไดภายใน 10 ป
การขอใหพิจารณาคดีใหม
คดีทศี่ าลมีคําพิพากษา/คําสั่งชี้ขาดคดีเสร็จเด็ดขาด ไปแลว
คูกรณี / บุคคลภายนอกผูมีสวนไดเสีย / อาจถูกกระทบจากผลคดี
มีสิทธิขอใหพิจารณาคดีใหมไดในกรณี
ฟงขอเท็จจริงผิดพลาด มีพยานหลักฐานใหมทําให
ขอเท็จจริงเดิมเปลี่ยนไป
คูกรณีที่แทจริง/บุคคลภายนอกนั้นไมไดเขามาในคดี / เขามาแต
ถูกตัดโอกาสโดยไมเปนธรรม
มีขอบกพรองในกระบวนพิจารณาทําใหผลคดี ไมยุตธิ รรม
ตอมาขอเท็จจริง/ขอกฎหมายเปลี่ยนแปลงในสาระสําคัญทําให
คําพิพากษา/ คําสั่งขัดกับกฎหมายที่ใชบังคับในเวลานั้น
ยื่นคําขอภายใน 90 วัน นับแตรู/ควรรูเหตุ แตไมเกิน 5 ปนับแตมี
คําพิพากษาฯ และผูขอตองไมทราบเหตุโดยมิใชความผิดของผูนั้น
มาตรการ/วิธีการชั่วคราวกอนการพิพากษาคดี
การทุเลาการบังคับตามกฎ คําสั่งทางปกครอง
ฟองเพิกถอนกฎ คําสั่งทางปกครอง
ยื่นคําขอทุเลา/ชะลอ/ระงับ การบังคับฯ ชั่วคราว
กอนมีคําพิพากษา
• ขอเท็จจริงเปนอยางไร
• เหตุผลความไมชอบ
• ความเดือดรอนหรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดรอนฯ
• หากมีผลบังคับตอไปเสียหายยากแกการเยียวยาอยางไร
ศาลเห็นสมควรก็อาจมีคําสั่งได โดยไมตอ งมี คําขอ (ศาลเห็นเอง)
กฎฯ นาจะไมชอบ เสียหายยากเยียวยาไมเปนอุปสรรคการบริหาร
การบรรเทาทุกขชวั่ คราว
ฟองกรณีอื่น (นอกจากเพิกถอนกฎ คําสั่งฯ)
ยื่นคําขอ
• ใหศาลกําหนดมาตรการ/วิธีการคุมครองเพื่อบรรเทา
ทุกขชวั่ คราวกอนพิพากษา
• คุมครองประโยชนระหวางการพิจารณาคดี/บังคับตาม
คําพิพากษา
• แสดงเหตุผลความจําเปน
มีเหตุผลสมควร ศาลจะมีคําสั่งหนวยงาน/เจาหนาที่
ใหปฏิบัติ
ลักษณะพิเศษของวิธพี ิจารณาคดีปกครอง
เปนวิธีพิจารณาคดีแบบไตสวน
ทําเปนลายลักษณอักษร
หลักฟงความทุกฝาย
วิธีพิจารณาคดีเรียบงาย รวดเร็ว ประหยัด
ระบบการตรวจสอบถวงดุล คําพิพากษา / คําสัง่
รักษาดุลยภาพของประโยชนสาธารณะ&สิทธิเสรีภาพ
ประชาชน
ผลอันเกิดจากการจัดตั้งศาลปกครอง

พัฒนาระบบศาลไทย และกระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
พัฒนาหลักกฎหมายมหาชน
พัฒนาบุคลากรและวิชาชีพกฎหมายมหาชน
พัฒนาระบบการศึกษากฎหมายมหาชน
พัฒนาระบบการควบคุมตรวจสอบฝายปกครอง
พัฒนาระเบียบแบบแผนและวิธีปฏิบัติราชการ
“ศาลปกครอง
เพื่อความเปนธรรมในสังคม”
ตรวจสอบ ควบคุมความชอบดวยกฎหมายของการกระทํา
ทางปกครอง
ปกปองคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนจากการกระทํา
โดยไมชอบดวยกฎหมายของหนวยงาน/เจาหนาที่ของรัฐ
รักษาดุลยภาพของประโยชนสาธารณะ & สิทธิเสรีภาพ
ประชาชน เพื่อใหราชการบริหารมีประสิทธิภาพ
สรางบรรทัดฐานของระเบียบแบบแผนและวิธีปฏิบัติราชการทีด่ ี

You might also like