You are on page 1of 66

ความหมายของกฎหมาย

ส่วนพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒
“กฎหมาย” คือ กฎที่สถาบันหรือผู้มีอานาจสูงสุด
ในรัฐตราขึ้น หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็น
ที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้
บังคับบุคคลให้ปฏิบัติ ต าม หรือ เพื่อ กาหนดระเบียบ
แห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับ
รัฐ
ความหมายของกฎหมาย
สรุปได้ว่า
“กฎหมาย” คือ คาสั่ง หรือ คาบังคับของรัฐ หรือ
ของประเทศ ที่ตราขึ้น เพื่อใช้บังคับความประพฤติของ
บุคคล อันเกี่ยวด้วยความสัมพันธ์ระหว่างกัน หากผู้ใด
ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามก็จะต้องมี ความผิด และ ถูกลงโทษ
ทั้งนี้อาจะเป็นโทษทางแพ่ง ทางอาญา
กฎหมายจึ ง เป็ น ข้ อ บั ง คั บ ไม่ ใ ช้ ข้ อ เลื อ ก ทุ ก คนจึ ง
จาเป็นต้องปฏิบัติตาม
กาเนิดของกฎหมายมหาชน
ปัญหาก่อนเกิดกฎหมายมหาชน
 1. 1. มีการแบ่ งชนชั้ นในสั งคมขึ้นอย่ างชั ดเจน รวมทั้งจะเกิด การเอารั ด
เอาเปรียบระหว่ างชนชั้น เหล่ านั้น ประชาชนไม่ มสี ่ วนร่ วมในการปกครอง
 2. 2. ผู้ปกครองจะใช้ อานาจทีม ่ อี ยู่ตามอาเภอใจ และใช้ เกินขอบเขตอย่ าง
ไม่ มีคุณธรรม เนื่องจาก ผู้ปกครองเป็ นผู้บัญญัติหลักเกณฑ์ การใช้ อานาจ
เอง
3. 3. ประชาชนหรื อผู้ อยู่ ใต้ อานาจปกครองไม่ สามารถควบคุม การใช้
อานาจของผู้ปกครองหรือ แม้ กระทั่งไม่ สามารถที่จะตรวจสอบการกระทา
ดังกล่ าวได้
กำเนิดของกฎหมำยมหำชน
วัตถุประสงค์ ของกฎหมำยมหำชน
1. กฎหมำยมหำชนเกิดขึน้ มำเพื่อ แก้ ไขปั ญหำ
กำรใช้ อำนำจของผู้ปกครองที่ขำดกำรควบคุม
2. กำรใช้ อ ำนำจของผู้ ป กครองถู ก ควบคุ ม โดย
กำรแบ่ งแยกอำนำจ ( อำนำจอธิปไตย )
3. เพื่อให้ สำมำรถควบคุมและตรวจสอบกำรใช้
อำนำจของผู้ปกครองได้
4. เพื่อให้ กำรปกครองเป็ นไปตำม “ หลักนิติ รั ฐ ”
หลักการของกฎหมายมหาชน
1. กฎหมายทีบ่ ัญญัติเกีย่ วกับ “หน้ าที”่ ของรัฐ ของหน่ วยงาน
ของรั ฐ และของเจ้ า หน้ า ที่ข องรั ฐ ในการปกครองและการบริ ก าร
สาธารณะ
2. กฎหมายที่ บั ญ ญั ติ เ กี่ ย วกั บ “อ านาจ” ของรั ฐ ของ
หน่ วยงานของรั ฐ และของเจ้ าหน้ าที่ของรั ฐ ในการปกครองและการ
บริการสาธารณะ
3. กฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับ “ การควบคุม และตรวจสอบ ”
การใช้ อานาจและหน้ าทีใ่ นการ ปกครอง และการบริการสาธารณะของ
รัฐ ของ หน่ วยงานของรัฐ และของเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ
ลักษณะเฉพาะของกฎหมาย มหาชน
1.กฎหมายมหาชนเป็ นกฎหมายที่ใช้ บังคับกับความสั ม พันธ์
ระหว่ า งรั ฐ หน่ ว ยงานของรั ฐ หรื อ เจ้ า หน้ า ที่ของรั ฐด้ วยกั น หรื อ
ความสั มพันธ์ ระหว่ างรั ฐ หน่ วยงานของรั ฐ หรื อ เจ้ าหน้ าที่ของ รั ฐ
กับประชาชน
2. กฎหมายมหาชนเป็ นกฎหมายเพือ่ สาธารณประโยชน์
3. เป็ นกฎหมายที่มีลักษณะไม่ เสมอภาค คือ เป็ นกฎหมายที่
ให้ รัฐ หน่ วยงานของรัฐหรือ เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐมีอานาจที่เหนือกว่า
4. ใช้ ในการปฏิ รู ป ( เปลี่ย นแปลงพัฒ นา ) ด้ า นต่ า งๆ ทั้ ง
ทางด้ าน การเมือง การศึกษา สั งคม เศรษฐกิจ
ระบบกฎหมาย (Legal System)
Common Law
Civil Law
Common Law Civil Law
ต้นกาเนิดจาก England มี ร า ก ฐ า น ม า จ า ก
หลักกฎหมายที่ศาลหลวงวาง Roman law ให้ความสาคัญ
ไว้ judge-made law, case ต่อ ก.ม.ลายลักษณ์อักษร จึงมี
law การตราประมวลกฎหมาย
ให้ความสาคัญกับวิธีพิจารณา (Codes)
ความ
ถือคาพิพากษาของศาลสูงสุด
เ ป็ น บ ร ร ทั ด ฐ า น
(Precedent)
ความแตกต่างจากกฎหมายทั้งสองระบบ
ศ.ดร.หยุด แสงอุทัย
O การบัญญัติกฎหมาย
O คาพิพากษา
O ตัวบทกฎหมายและบรรทัดฐานแห่งคดี
O ผู้มีบทบาทในระบบกฎหมาย
O บทบาทของศาล
ทัศนคติต่อกฎหมายลายลักษณ์อักษร
Civil Law Common Law
O เริ่มต้นจากจารีตประเพณี O เริ่มต้นจากจารีตประเพณี แต่
แล้วนามาบัญญัติเป็นลาย มิได้นามาบัญญัติเป็นลาย
ลักษณ์อักษร ลักษณ์อักษร
ทัศนคติต่อคาพิพากษา
Civil Law Common Law
• เป็นการอธิบายการใช้ตัวบท • เป็นบ่อเกิดของกฎหมาย
กฎหมาย
ทัศนคติต่อจารีตประเพณีและศีลธรรม
Civil Law Common Law
O กฎหมายลายลักษณ์อักษร O จารีประเพณีและศีลธรรม
เป็นสิ่งที่เคียงคู่กับจารีต เป็นสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกันและ
ประเพณีและศีลธรรม อาจเป็นปฏิปักษ์กันได้
การใช้และการตีความกฎหมายลายลักษณ์อักษร
Civil Law Common Law
• ตัวบทสามารถนาไปปรับใช้กับ • กฎหมายของศาลหลวงเป็นหลัก
ข้อเท็จจริงได้ทุกกรณีที่อยูใ่ น กฎหมายของรัฐสภาเป็น
ขอบเขตของกฎหมายนั้น ข้อยกเว้น
วิธีการบัญญัติกฎหมายลายลักษณ์อักษร
Civil Law Common Law
O บัญญัติกฎหมายวางหลัก O การบัญญัติกฎหมายจะต้อง
ชัดเจนแน่นอน เพื่อผูกมัดผู้
ทั่วๆ ไป ตีความตามให้ใช้กฎหมาย
ตามที่ฝ่ายนิติบัญญัติ
ต้องการ
แนวความคิดในการแบ่งประเภทกฎหมาย
Civil Law Common Law
O กฎหมายมหาชน และ O ปฏิเสธการแบ่งแยกสาขา
กฎหมายเอกชน กฎหมายออกเป็นกฎหมาย
เอกชนและกฎหมายมหาชน
การแบ่งประเภทของกฎหมาย

ถ้าใช้เนื้อหาของกฎหมายเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา

กฎหมายสารบัญญัติ กฎหมายซึ่งกาหนดสิทธิและหน้าที่ของ
บุคคลโดยตรง

กฎหมายวิธีสบัญญัติ กฎหมายซึ่งกาหนดวิธีการเยียวยาเมื่อมี
การละเมิดสิทธิหน้าที่เกิดขึ้น

ถ้าใช้ลักษณะของความสัมพันธ์ทางกฎหมายเป็นเกณฑ์
ในการพิจารณา

กฎหมายเอกชน กฎหมายซึ่งใช้บังคับความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับ
เอกชนด้วยกัน โดย ทั้งสองฝ่ายเสมอภาคกัน

กฎหมายซึ่งใช้บังคับกับความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ
กฎหมายมหาชน
เอกชน โดยรัฐมีฐานะเหนือกว่าเอกชน
กฎหมายมหาชน
ความหมายของกฎหมายมหาชน
อัลเปียน (Unpian)
บทบั ญ ญั ติ ใ ดที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กิ จ การของ
ส่วนรวมของบ้านเมื องโรมัน บทบัญญั ตินั้น เป็ น
กฎหมายมหาชน
บทบั ญ ญั ติ ใ ดเกี่ ย วข้ อ งกั บ ประโยชน์ ส่ ว นตั ว
บทบัญญัตินั้นเป็นกฎหมายเอกชน
กฎหมายมหาชน
ความหมายของกฎหมายมหาชน
ศ.โมริช ดูแวร์แซ (M. Duverger)
กฎหมายมหาชน - กฎหมายที่กล่าวถึงกฎเกณฑ์ทั้งหลาย
ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สถานะและอ านาจของผู้ ป กครอง ทั้ ง
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้ปกครอง
กฎหมายเอกชน คื อ กฎหมายที่ ก ล่ า วถึ ง กฎเกณฑ์
ทั้งหลายที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างผู้อยู่
ใต้ปกครองด้วยกันเอง
กฎหมายมหาชน
ความหมายของกฎหมายมหาชน
ศ.แบกนา บาเซ (Bernard Brachet)
กฎหมายมหาชน คื อ กฎหมายเกี่ ย วข้ อ งกั บ
องค์ ก รของอ านาจสาธารณะและฝ่ า ยปกครอง
รวมทั้ งที่ เ กี่ ยวข้ อ งระหว่างความสั มพั น ธ์ ระหว่ า ง
องค์กรดังกล่าวกับเอกชน
กฎหมายเอกชน คื อ กฎเกณฑ์ ท างกฎหมายที่
กาหนดถึงความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
กฎหมายมหาชน
ความหมายของกฎหมายมหาชน
ศ.ดร. หยุด แสงอุทัย
กฎหมายมหาชน กฎหมายที่ ก าหนดความสั ม พั น ธ์
ระหว่างรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐกับราษฎร ในฐานะที่เป็น
ฝ่ า ยปกครอง กล่ า วคื อ ในฐานะที่ รั ฐ มี ฐ านะเหนื อ กว่ า
ราษฎร
กฎหมายเอกชน ส่วนกฎหมายเอกชน ได้แก่กฎหมายที่
กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกันในฐานะที่เท่า
เทียมกัน
เหนือกว่า

ความสัมพันธ์ ต่ากว่า
ระหว่างรัฐหรือ
หน่วยงานของรัฐ
กฎหมายมหาชนมี ๓ สาขา
๑. กฎหมายรัฐธรรมนูญ
๒. กฎหมายปกครอง
๓. กฎหมายการคลังและภาษีอากร
การปกครองระบอบประชาธิปไตย
รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายมหาชน
เป็นกฎหมายที่กาหนดสถานะและความสัมพันธ์
ระหว่างรัฐหรือหน่วยงานของรัฐกับบุคคล
ในฐานะที่รัฐหรือหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ปกครอง
รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายที่รัฐต้องตอบสนองความต้องการของ
ประโยชน์สาธารณะ รัฐจึงต้องมีสถานะเหนือกว่าเอกชน
รัฐออกกฎเกณฑ์ที่มีอยู่ตามรัฐธรรมนูญผูกพันเอกชนได้
รัฐธรรมนูญในความหมายอย่างกว้าง

หมายถึง กฎเกณฑ์ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็
ตาม หากว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับสถานะของรัฐ ความสัมพันธ์ระหว่าง
องค์กรที่ใช้อานาจอธิปไตยระบอบการปกครองประเทศ ถือว่าเป็น
รัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญในความหมายอย่างแคบ

หมายถึ ง รั ฐ ธรรมนู ญ ที่ มี ก ารบั ญ ญั ติ ไ ว้ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์


อักษรเป็นพิเ ศษและมีส ถานะเป็นกฎหมายสู งสุ ดแตกต่างจากกฎหมาย
ทั่วไป
และบทบั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า ว ก าหนดสถานะและความสั ม พั น ธ์ ข อง
องค์กรที่ใช้อานาจสูงสุดต่อกันหรือต่อประชาชน
สาระสาคัญของรัฐธรรมนูญ
- เป็นกฎหมายแม่บท หรือกฎหมายสูงสุด
- เป็นระบบพื้นฐานทางกฎหมายของประชาคม
- กาหนดองค์กรต่างๆของรัฐ
- วิธีการได้มาซึ่งบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในองค์กรนั้น
- ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร
- ขอบเขตอานาจหน้าที่ขององค์กร
สาระสาคัญของรัฐธรรมนูญ
จากัดอานาจของผู้ปกครองและคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
สร้างความเป็นธรรมในสังคม
สร้างเสถียรภาพและประสิทธิภาพให้กับรัฐบาลในระบบการเมือง
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
ให้ประชาชนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการปกครอง
สาระสาคัญของรัฐธรรมนูญ
การใช้อานาจอธิปไตย
ระบอบการปกครองของประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่ใช้อานาจสูงสุดนั้นๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน สิทธิเสรีภาพ
ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งรัฐ กั บ ประชาชน สิท ธิเ สรี ภ าพ
ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
สิทธิและเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้โดยชัดแจ้ง โดยปริยาย
หรื อโดยค าวิ นิ จฉั ย ของศาลรั ฐธรรมนู ญ ย่อ มได้ รับ ความคุ้ม ครองและ
ผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ และ
หน่วยงานของรัฐโดยตรงในการตรากฎหมาย การใช้บังคับกฎหมาย และ
การตีความกฎหมายทั้งปวง
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
สิทธิตามรัฐธรรมนูญในทางสังคมและเศรษฐกิจ
เช่น สิทธิในการได้รับสวัสดิการจากรัฐ เป็นเรื่องที่รัฐต้อง
ใช้งบประมาณเป็นจานวนมาก รัฐธรรมนูญจึงเพียงแต่กาหนดไว้
เป็นแนวนโยบายแห่งรัฐที่รัฐบาลต้องพยายามดาเนินการให้เป็นไป
ตามนโยบายนั้นเมื่อมีความพร้อมด้านงบประมาณ
สาระสาคัญของรัฐธรรมนูญ
มีระบบการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐอย่างเป็นรูปธรรม
ก าหนดกลไกสถาบั น ทางการเมื อ งทั้ ง ฝ่ า ยนิ ติ บั ญ ญั ติ แ ละฝ่ า ย
บริหารให้มีดุลยภาพและประสิทธิภาพตามวิถีการปกครองแบบ
รัฐสภา
ให้สถาบันศาลและองค์กรอิสระอื่นสามารถปฏิบัติหน้าที่
ได้อย่างอิสระ เป็นกลาง ปราศจากการแทรกแซง สุจริต และ
เที่ยงธรรม
การร่างรัฐธรรมนูญต้องยึดเจตนารมณ์ ๔ ประการ
ประกอบด้วย การแก้ปัญหาในอดีต คือ
๑. สร้างพลเมืองเป็นใหญ่
๒. สร้างการเมืองใสสะอาดและสมดุล
๓. การหนุนสังคมมีความเป็นธรรม
๔. นาชาติสู่สันติสุข
ศ.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
ในการยกร่างรัฐธรรมนูญที่ถือเป็นเสาเอก ซึ่งถือเป็น
เรื่องสาคัญเหมือนกับเราสร้างบ้าน เสาเอกจะเป็นโครงสร้าง
หลักของบ้าน
เสาเอกที่นี่ก็อาจจะมีเสา 4 หลัก คงจะต้องยึดไว้ แต่
ว่ารายละเอียดของแต่ละเรื่องก็อาจจะปรับปรุงได้
ศ.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
การที่ต้องสร้างพลเมืองให้เป็นใหญ่ เพราะตราบใดที่
พลเมืองยังเป็นเพียงราษฎร ไม่สนใจการเมือง สนใจแต่การบ้าน
ปล่อยให้การเมืองเป็นเรื่องของนักการเมือง การซื้อสิทธิ์ขายเสียงก็
ไม่ ห มด การบริ ห ารบ้ า นเมื องจะเกิ ด ปั ญ หาแบบนี้ ต้ องปลู ก ฝั ง
ความเป็นพลเมืองเพื่ออนาคต และนาการเมืองภาคพลเมืองมาเป็น
เครื่องมือถ่วงดุลการเมืองภาคนักการเมือง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยนอกจากจะเป็นกฎหมายซึ่งบัญญัติ
ถึ ง สถานะและความสั ม พั น ธ์ ข ององค์ ก ร ที่ ใ ช้ อ านาจสู ง สุ ด ต่ อ กั น หรื อ ต่ อ
ประชาชนแล้ว ยังเป็นกฎหมายที่บัญญัติ รับรองสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค
การรั บ รองการบั ง คั บ ใช้ สิ ท ธิ เสรี ภ าพ ความเสมอภาค โดยตรงทั้ ง ต่ อ ศาล
รัฐธรรมนูญและศาลอื่นโดยที่ไม่ต้องรอให้มีกฎหมายลูก บัญญัติถึง แนวนโยบาย
แห่งรัฐ และบัญญัติถึงเรื่องสาคัญที่ต้องการให้แก้ไขยาก
ลักษณะสาคัญของรัฐธรรมนูญ
๑. เป็นกฎหมายที่เปลี่ยนแปลงได้เรื่อยๆ ไม่ว่าจะเป็นเพราะการแก้ไข
เพิ่มเติมรัฐธรรมนูญหรือเพราะการตีความรัฐธรรมนูญของศาล
เช่น สหรัฐอเมริกาประกาศเอกราชปี ค.ศ. ๑๗๗๖ มีรัฐธรรมนูญ
ปี ค.ศ. ๑๗๘๗ นับถึงปัจจุบัน ๒๒๘ ปีแล้ว มีการแก้ไขเพิ่มเติม ๒๐
กว่าครั้ง เนื้อหาเดิมส่วนใหญ่ยังคงอยู่
ลักษณะสาคัญของรัฐธรรมนูญ
๒. รั ฐ ธรรมนู ญ เป็ น กฎหมายที่ สั ม พั น ธ์ กั บ การเมื อ ง
รัฐธรรมนูญแสดงให้เห็นอัตลักษณ์ของประเทศ
เช่ น ประเทศไทยเป็ น ราชอาณาจั ก ร มี ก าร
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
รัฐธรรมนูญรับรองสิทธิเสรีภาพ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การใช้
การตีความรัฐธรรมนูญล้วนแต่มีผลต่อการใช้อานาจขององค์กร
ตามรัฐธรรมนูญที่ใช้อานาจอธิปไตย และมีผลต่อประชาชน
๓. รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่กระจายอานาจการตีความ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ (Constitutional law)
กฎหมาย ซึ่ง กาหนดสถานะและความสัมพันธ์ขององค์กรที่ใช้
อ านาจสู ง สุ ด (อ านาจอธิ ป ไตย)ในการปกครองรั ฐ ต่ อ กั น หรื อ ต่ อ
ประชาชน

ข้อสังเกต การใช้อานาจทางปกครองโดยหลักอยู่ในอานาจศาลปกครอง
คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ๑๗๘/๒๕๕๐
ปัญหาว่าที่ครม. มีมติให้นายกรัฐมนตรีและผู้เกี่ยวข้อง
ลงนามในความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทยญี่ปุ่น แล้วจึงนาเข้าสู่
การพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาตินั้น เป็นการกระทาที่
ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
คาวินิจฉัย
ครม. เป็นคณะบุคคลที่ใช้อานาจทางบริหารของรัฐ
๑. กรณีอาศัยอานาจตามพรบ.หรือกฎหมายอื่น เช่น การดาเนินการ
หรืออกคาสั่งใดๆ กรณีนี้ถือว่าครม. เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐตามพรบ. จัดตั้ง
ศาลปกครองและวิ ธี พิ จ ารณาคดี ใ นศาลปกครองมาตรา ๓ จึ ง เป็ น คดี ใ น
อานาจศาลปกครอง
คาวินิจฉัย
๒. กรณีที่ครม. ใช้อานาจบริหารตามรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าเป็น
การกระท าในความสั ม พั น ธ์ กั บ รั ฐ สภาหรื อ กระท าในเรื่ อ ง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศตามรัฐธรรมนูญก็ตาม กรณีนี้ครม.หา
ได้กระทาการในฐานะเจ้าหน้าที่ของรัฐตามมาตรา ๓ ไม่ แต่เป็นการ
กระทาในฐานะองค์กรตามรัฐธรรมนูญ การที่ครม.มีมติเห็นชอบให้
ลงนามในข้อตกลงดังกล่าวเป็นการใช้อานาจทางบริหารของรัฐตาม
รัฐธรรมนูญ คดีจึงไม่อยู่ในอานาจการพิจารณาพิพากษาของศาล
ปกครอง
ข้อสังเกต
คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ๕๔๗/๒๕๕๑
“การที่รัฐบาลออกแถลงการณ์ร่วม ไทย –กัมพูชา ตกลงเรื่อง
การขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกเป็นการใช้
อานาจทางปกครอง ศาลปกครองรั บ ไว้ พิ จารณาและมี คาสั่ ง
คุ้มครองชั่วคราว”
รัฐธรรมนูญไม่มีผลใช้บังคับระหว่างปัจเจกชนเว้นแต่จะ
มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นการเฉพาะ แต่กฎหมายนั้นต้อง
ไม่ขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญ ๒๕๖๐ มาตรา ๒๗
บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและ
ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน
ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน
รั ฐ ธรรมนู ญ เป็ น กฎหมายที่ ใ ช้ บั ง คั บ กั บ รั ฐ หรื อ
หน่วยงานของรัฐในความสัมพันธ์กับบุคคลในลักษณะที่ไม่
เท่าเทียมกัน ไม่ใช้บังคับระหว่างบุคคลกับบุคคลด้วยกันเอง
ดังนั้นจึงต้องมีจุดเกาะเกี่ยวกับหน่วยงานของรัฐจึงจะ
อ้างรัฐธรรมนูญได้
อาจฟ้องที่ศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลอื่นก็ได้ (รัฐธรรมนูญ
กระจายอานาจการตีความ)
ถ้าจะให้เอกชนผูกพันตามหลักการในรัฐธรรมนูญ ต้อ ง
ออกกฎหมายต่างหาก
เช่ น พรบ. คุ้ ม ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ที่ บั ญ ญั ติ
เรื่องความเสมอภาคของชายหญิง
Oบางกรณี
Oกฎหมายรั ฐธรรมนู ญ บัญ ญั ติ ใ ห้ ห ลั ก การส าคัญ ไว้
ส่วนรายละเอียดให้นาไปบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญ
ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ 24
มิถุนายน 2475 โดยคณะราษฎรยึดอ านาจ และมี การ
ประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน
สยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 เมื่อ 27 มิถุนายน
2475 เป็นรัฐธรรมนูญชั่วคราวฉบับแรก
มีรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ
1.พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475
2.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475
3.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
4.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 (รัฐธรรมนูญ
ตุ่มแดงหรือรัฐธรรมนูญใต้ตุ่ม)
5.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492
6.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช
2495
7. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502
8. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511
9. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515
10. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517
11. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519
12. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520
13. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521
14. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534
15.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534
16.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
17.รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย (ฉบั บ ชั่ ว คราว) พุ ท ธศั ก ราช
2549
18.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
19.รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย (ฉบั บ ชั่ ว คราว) พุ ท ธศั ก ราช
2557
20. รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย พุ ท ธศั ก ราช 2560 ( 6 ุ
เมษายน 2560-ปัจจุบัน)
กฎหมายมหาชนมี ๓ สาขา (ต่อ)
๑. กฎหมายรัฐธรรมนูญ
๒. กฎหมายปกครอง
๓. กฎหมายการคลังและภาษีอากร
กฎหมายปกครองมีเนื้อหาแยกได้เป็น 3 ประเภท
1. เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับ การจัดองค์กรของรัฐและบุคลากรของรัฐในทาง
บริหาร
- การจั ด องค์ ก รของรั ฐ ในทางบริ ห าร โดยการใช้ ห ลั ก การรวม
อานาจ ในรูปแบบของส่วนราชการ ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม จัดตั้ง
โดยกฎหมายเฉพาะ โดยแบ่งเขตอานาจปกครองเป็นราชการส่วนภูมิภาค
- การจัดองค์กรของรัฐในทางบริหาร โดยการใช้หลักการกระจาย
อานาจ ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ
กฎหมายปกครองมีเนื้อหาแยกได้เป็น 3 ประเภท
2. เป็ น กฎหมายที่ ก าหนดให้ อ งค์ ก รของรั ฐ หรื อ บุ ค ลากรของรั ฐ มี
อานาจรัฐ หรือ อานาจมหาชนที่กาหนดกฎเกณฑ์ หรือ ออกคาสั่งให้เอกชน
ต้องปฏิบัติตามได้โดยไม่จาเป็นต้องอาศัยความสมัครใจความยินยอมของเอกชน
เช่ น กฎหมายว่ า ด้ ว ยผั ง เมื อ ง ในเรื่ อ งการก าหนดพื้ น ที่ “สี เ ขี ย ว”
กฎหมายว่าด้วยจราจรทางบก หากเอกชนใดฝ่าฝืนกฎหมายให้องค์กรขอรัฐ
หรือบุคลากรของรัฐมีอานาจตามที่กฎหมายที่จะบังคับ
กฎหมายปกครองมีเนื้อหาแยกได้เป็น 3 ประเภท
3. เป็นกฎหมายทีก่ าหนดเงื่อนไข หลักเกณฑ์และวิธีการ
ในการใช้อานาจโดยองค์กรของรัฐหรือ บุคลากรของรัฐ และ
เป็นกฎเกณฑ์ในการควบคุมการใช้อานาจดังกล่าว

เช่น กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
ลักษณะของกฎหมายปกครอง
1. กม.ปกครอง เป็นสาขาหนึ่งในกฎหมายมหาชน
>> กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ กับเอกชน ในฐานะที่รัฐมีฐานะ
เหนือกว่าฝ่ายเอกชน หลักการพื้นฐานต่างๆในกฎหมายมหาชนจึงนามาใช้ใน
กฎหมายปกครอง
2. กม.ปกครอง เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดโครงสร้างของฝ่ายปกครอง
>> เจ้าหน้าที่รัฐ คือ ผู้ที่เข้ามาโดยหน้าที่ เข้ามาดาเนินการแทนรัฐ
โดยจาแนกการกระทาของรัฐได้หลายประเภท เช่น
ลักษณะของกฎหมายปกครอง
(2.1) การกระทาทางนิติบัญญัติ องค์กรที่ใช้อานาจนี้ คือ รัฐสภา
เจ้าหน้าที่รัฐที่ใช้อานาจแทนรัฐด้านนิติบัญญัติ คือ สมาชิกรัฐสภา
จัดตั้งองค์กรเป็น สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา
(2.2). การกระทาทางตุลาการ องค์กรที่ใช้อานาจนี้ คือ ศาล
- ผู้พิพากษา หรือ ตุลาการ
โดยมี จั ด องค์ ก รแยกศาล 4 ศาล คื อ ศาลยุ ติ ธ รรม ศาล
รัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และศาลทหาร
ลักษณะของกฎหมายปกครอง
(2.3). การกระท าทางปกครอง องค์ ก รที่ ใ ช้ อ านาจนี้ คื อ ฝ่ า ย
บริ ห าร เจ้ า ห น้ า ที่ รั ฐ ที่ ใ ช้ อ านาจแทนรั ฐ ด้ า นปกครอง คื อ
“ข้าราชการ”
โดยจัดโครงสร้างของการบริหารราชการออกเป็น 3 ฝ่ายหลัก
คือ ราชการบริหารส่วนกลาง
ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
ลักษณะของกฎหมายปกครอง
3. กม.ปกครองเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการบริการสาธารณะ
“บริ ก ารสาธารณะ” (Publice Service) รั ฐ เป็ น ผู้ ด าเนิ น การ หรื อ
มอบให้ผู้อื่นดาเนินการแต่รัฐต้องควบคุมการดาเนินการนั้น
เช่น การป้องกั นประเทศ การรัก ษาความสงบภายใน การคมนาคม
ต่างๆเป็นต้น
ตัวอย่างเช่น โรงงานปล่อยน้าเสีย ฝ่ายปกครองสามารถสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
โรงงานได้ โดยเจ้าของโรงงานไม่จาเป็นต้องยินยอมในการรับคาสั่งนั้น
ลักษณะของกฎหมายปกครอง
4. กม.ปกครองเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง
รัฐต้องกระทาโดยชอบด้วยกฎหมาย ต้องอยู่ภายใต้ความชอบ
ด้ ว ยกฎหมายเช่ น เดี ย วกั น ดั ง นั้ น จึ ง ต้ อ งสร้ า งมาตรการต่ า งๆ
ขึ้นมาเพื่อควบคุมอานาจฝ่ายปกครอง
ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่าง
กฎหมายรัฐธรรมนูญ และ กฎหมายปกครอง
ความหมายของกฎหมายรัฐธรรมนูญ
>> เป็นกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์ในการวางระเบียบการปกครองรัฐ
ในทางการเมืองโดยกาหนดโครงสร้างของรัฐ ทั้งยังครอบคลุมการจัดองค์กร
การดาเนินการ อานาจหน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรดังกล่าวต่อกัน
และประชาชน
>> รวมทั้ ง กฎเกณฑ์ อื่ น ๆที่ ไ ม่ อยู่ ใ นรั ฐ ธรรมนู ญ เช่ น กฎหมายประกอบ
รัฐธรรมนูญ รวมถึง กฎเกณฑ์ที่เป็นธรรมเนียมปฏิบัติ และคาพิพากษาของ
ศาลรัฐธรรมนูญ หรือ ศาลปกครอง
ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่าง
กฎหมายรัฐธรรมนูญ และ กฎหมายปกครอง
ความหมายกฎหมายปกครอง >> กฎหมายมหาชน ซึ่งวางหลักว่าด้วยการ
จัดการองค์การของฝ่ายปกครอง อันเกี่ยวกับการ “จัดระเบียบบริหาร” การ
ปกครองของรัฐในการจัดทา “บริการสาธารณะ”
และวางหลักเกี่ยวกับการจัดระเบียบฝ่ายปกครองและดาเนินกิจกรรมของ
ฝ่ายปกครอง ตลอดจนการควบคุมการดาเนินกิจกรรมทางปกครอง รวมทั้ง
วางหลักความเกี่ยวพันในทางปกครองระหว่างฝ่ายปกครองกับฝ่ายเอกชน
ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายปกครอง
1. ด้านเนื้อหา
>> กฎหมายรั ฐ ธรรมนู ญ วางระเบี ย บการปกครองรั ฐ ในระดั บ สู ง
กว้างขวางกว่ากฎหมายปกครอง
เช่ น การเข้ า สู่ อ านาจ การสิ้ น อ านาจ และระเบี ย บเกี่ ย วกั บ ฝ่ า ย
บริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ
>> กฎหมายปกครอง วางระเบียบรัฐในทางปกครอง หรือการบริหาร
ราชการแผ่นดิน มีการเน้นการดาเนินการของฝ่ายปกครองเรียกว่า “บริการ
สาธารณะ” เป็นพิเศษ
ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายปกครอง

2. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างราษฎรกับรัฐ
>> กฎหมายรั ฐ ธรรมนู ญ โดยแสดงความสั ม พั น ธ์ เ กี่ ย วกั บ
ระหว่างรัฐกับราษฎรโดยเป็นส่วนรวม
>> กฎหมายปกครอง แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับระหว่างรัฐกับ
ราษฎรเป็นรายบุคคลกับรัฐ วางหลักเพื่อคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ
ราษฎรในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทาของฝ่ายบริหารเพื่อปกป้องมิให้ฝ่าย
ปกครองบังคับเอาแก่ราษฎรตามใจชอบ
ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายปกครอง
3. ด้านฐานะของกฎหมาย
>> กฎหมายรั ฐ ธรรมนู ญ เป็ น กฎหมายสู ง สุ ด ที่ มี เ นื้ อ หาเป็ น การ
กาหนดระบบการเมืองเกี่ยวกับการจัดองค์กรของรัฐผู้ใช้อานาจอธิปไตย
>> กฎหมายปกครอง เป็ น กฎหมายล าดั บ ต่ ากว่ า กฎหมาย
รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ การจัดองค์กรของรัฐในทาง
บริหาร การให้อานาจทางปกครองแก่องค์กรของรัฐและบุคลากรของรัฐ และ
การควบคุมการใช้อานาจทางปกครองโดยองค์กรของรัฐและบุคลากรของรัฐ
กฎหมายการคลังและภาษีอากร
เป็น กฎหมายที่ เกี่ ยวกับการหารายได้ เข้ ารั ฐ การจัด การ
ทรัพย์สินที่เป็นเงินตราของรัฐและการใช้จ่ายเงินของรัฐ
รัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502
พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ.2491
พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ.2548

You might also like