You are on page 1of 35

กฎหมายมหาชน – Public Law

เราได้ศึกษากันมาแล้วในส่วนของความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ว่ากฎหมายมหาชนนั้นหมายถึงกฎหมาย
ที่แสดงถึงความสัมพั นธ์ระหว่างรัฐกับประชาชนในฐานะที่รัฐเป็นผู้ถืออานาจเหนือกว่า ซึ่งหมายความรวมถึง
กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายการคลังและภาษีอากร กฎหมายอาญา กฎหมายวิธีพิจารณา
ความ และกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง แต่อย่างไรก็ดี โดยที่กฎหมายอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความ
และกฎหมายระหว่างประเทศนั้นต่างมีลักษณะพิเศษเฉพาะตัวที่แตกต่างกันออกไป จึงมักถูกจัดแยกประเภท
ออกไปเพื่อศึกษาเป็นรายวิชาเดี่ยวๆ ด้วยเหตุดังนี้ เราจึงอาจสรุปความได้ว่ากฎหมายที่มีลักษณะเป็น “กฎหมาย
มหาชนโดยแท้” นั้น มีเพียงกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง และกฎหมายการคลังและภาษีอากรเท่านั้น
กฎหมายมหาชน (ในความหมายอย่างแคบ) นั้นเพิ่งถือกาเนิดขึ้นครั้งแรกเมื่อราวๆ 200 กว่าปีมานี้เอง ซึ่ง
เป็นช่วงเวลาหลังจากที่กฎหมายเอกชนอย่างกฎหมายแพ่งนั้นเกิดขึ้นและพัฒนาไปไกลมากแล้ว เนื่องมาจากความ
พยายามที่จะ จำกัดอำนำจของผู้ปกครอง มิให้ใช้อานาจนั้นตามอาเภอใจของบรรดานักคิดนั้น เพิ่งจะเกิดขึ้นในยุค
รุ่งโรจน์ทางปัญญา (Age of Enlightenment) กล่าวคือในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 หลังจากที่ผ่านพ้นยุคสมัยต่างๆ
ในอดีตซึ่งผู้ปกครองมักมีอานาจเด็ดขาดจนไม่มีผู้ใดกล้าเสนอแนวคิดเช่นนี้มาแล้วนั่นเอง

1.) ข้อความคิดทั่วไป

1.1 แนวคิดของนักคิดคนสาคัญ
หลักการปกครองโดยกฎหมาย แนวคิดว่าด้วยรัฐ
Aristotle: มนุ ษ ย์ มี ธ รรมชาติ ที่ Niccolò Machiavelli: “ รั ฐ ”
เห็นแก่ตัวและชอบเอาเปรียบ การ เป็ น ตั ว แทนของบุ ค คลในการหา
ปกครองที่ดีจึงต้องปกครองกันโดย และรักษาผลประโยชน์ การคงอยู่
กฎหมาย (rule of law) มิ ใช่ โดย และเจตจ านงของรั ฐ จึ ง ต้ อ งอยู่
บุคคล เหนือสิ่งอื่นๆ รวมทั้งปัจเจกบุคคล
ด้วย
แนวคิดว่าด้วยอานาจอธิปไตย หลักการรับรองสิทธิและเสรีภาพ
Jean Bodin: อานาจอธิปไตย คือ John Locke: ประชาชนเป็นผู้สละ
สิทธิเสรีภาพตามธรรมชาติ บางส่วน
อานาจสูงสุดที่อยู่เหนือประชาชน
ของตนให้ แ ก่ รั ฐ เมื่ อ รั ฐ ใช้ อ านาจ
ทั้งหลายของรัฐ โดยไม่ถูกจากัด
อย่ า งไม่ ช อบธรรม ประชาชนก็ มี
โดยกฎหมาย และมีตัวแทนคือ
สิทธิที่จะต่อต้าน
กษัตริย์หรือรัฐบาลเป็นผู้บังคับใช้
หลักการแบ่งแยกอานาจ หลักอานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน

Montesquieu: ถ้าหากอานาจนิติ Jean-Jacques Rousseau:


บัญญัติ อานาจบริหาร และอานาจ “สั ญ ญาประชาคม” เกิ ด ขึ้ น เพื่ อ
ตุลาการมิได้ถูกแยกออกจากกัน แต่ รักษาเสรีภาพส่วนบุคคลในขณะที่
รวมอยู่ ใ นบุ ค คลคนเดี ย วกั น แล้ ว ยังคงมีสังคมให้อาศั ยได้ ก่อให้เกิด
เสรีภาพที่แท้จริงก็มิอาจเกิดขึ้นได้ General will ที่ทุกคนต้องเคารพ

1.2 รัฐและรูปแบบการปกครอง
รัฐ หมายถึง ชุมชนทางการเมืองของมนุษย์ที่มีการจัดโครงสร้างการปกครองอย่างเป็นระบบ รัฐสมัยใหม่
ซึ่งมีอานาจเหนือประชากรและดินแดนของตนนั้น เกิดขึ้นครั้งแรกตั้งแต่ช่วงเวลาภายหลังจากสมัยกลางซึ่งเป็นยุค
ที่ศาสนจักรเรืองอานาจ ในการศึกษาวิชากฎหมายมหาชนในเบื้องต้นนั้น เราจาเป็นต้องทาความเข้าใจข้อความคิด
ทั่วไปเกี่ยวกับรัฐเสียก่อน เพราะรัฐเป็นสถาบันทางกฎหมายมหาชนที่มีความสาคัญยิ่ง เนื่องจากไม่ว่าจะเป็นวิชา
กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง หรือกฎหมายการคลัง ต่างก็มีเนื้อหาที่เชื่อมโยงและเกี่ยวพันกับรัฐทั้งสิ้น

NOTE: ในทางกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐ.....เป็น....นิตบิ ุคคล


แต่ตามระบบกฎหมายภายใน รัฐ....ไม่เป็น....นิติบคุ คล

NOTE: รัฐ vs. ชาติ vs. ประเทศ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
1.2.1 องค์ประกอบของรัฐ
ในทางกฎหมายมหาชน ชุมชนการเมืองใดๆ จะมีลักษณะเป็น “รัฐ” ได้ก็ต่อเมื่อชุมชนนั้นประกอบด้วย
องค์ประกอบสาคัญ 3 ประการดังต่อไปนี้ กล่าวคือ
1.) ประชากร : กลุ่มบุคคลผู้ถือสัญชาติของรัฐ ซึ่งย่อมมีสิทธิและหน้าที่ที่สาคัญ กล่าวคือ สิทธิที่จะอาศัย
อยู่ในดินแดนของรัฐนั้น สิทธิในการออกเสียงเลือกตั้ง หน้าที่ในการรับราชการทหาร เป็นต้น
2.) ดินแดน : อาณาเขตที่ชัดเจนแน่นอนซึ่งรัฐนั้นตั้งอยู่ และเป็นพื้นที่ที่รัฐนั้นใช้อานาจปกครอง
3.) อานาจรัฐ : อานาจที่จะบังคับการให้สมาชิกปฏิบัติตามเจตจานงของตน เพื่อให้การอยู่ร่วมกันของคน
ในรัฐเป็นไปได้อย่างสงบและสันติ โดยการตรากฎเกณฑ์ขึ้นใช้ บังคับ และใช้กาลังทางกายภาพเพื่อบังคับการให้
เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่ได้ตราขึ้นนั้น อย่างไรก็ดี อานาจรัฐที่เป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งของรัฐนั้นไม่จาเป็นต้องเป็น
อำนำจอธิปไตย หรืออานาจตัดสินใจสูงสุดภายในรัฐนั้นเสมอไป ดังจะเห็นได้จาก “มลรัฐ” ซึ่งก็มีอานาจของตนเอง
เพียงแต่มิได้อยู่ในสถานะสูงสุดเหมือนกับอานาจของ “สหพันธรัฐ” หรือ “สหรัฐ” เท่านั้น
1.2.2 รูปแบบของรัฐ
เราอาจแบ่งรูปแบบของรัฐโดยพิจารณาจากประมุขของรัฐ หรือโครงสร้างของอานาจรัฐก็ได้ ดังนี้

ราชอาณาจักร
พิจารณาจากประมุขของรัฐ
สาธารณรัฐ
รูปแบบของรัฐ
พิจารณาจากโครงสร้างอานาจรัฐ รัฐเดี่ยว
รัฐรวม

NOTE : รัฐเดี่ยว หมายถึง รัฐที่มีอานาจรัฐเป็นอันหนึ่งอันเดียวไม่ได้แบ่งแยกจากกัน และมีศูนย์กลางการเมืองการปกครอง


รวมอยู่แห่งเดียวกัน รัฐเดี่ยวจึงรัฐที่มีอานาจสูงสุดสมบูรณ์ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ภายในประเทศมีรัฐบาลเดียวและ
รัฐสภาเดียว เช่น ประเทศไทย อังกฤษ สวีเดน สเปน ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เป็นต้น

รัฐรวม หมายถึง รัฐตั้งแต่สองรัฐขึ้นไปมารวมกันเป็นรัฐใหม่ แต่ต่างรัฐต่างก็มีสภาพเป็นรัฐอยู่ แต่จากัดการใช้อานาจ


อธิปไตยลงไปตามที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ รัฐรวมแบ่งได้ดังนี้

>สมาพันธรัฐ หมายถึง รัฐที่รวมตัวกันอย่างหลวมๆเป็นสมาคมของรัฐ มีการประชุมร่วมกัน เพื่อจัดการผลประโยชน์ร่วมกัน โดย


แต่ละรัฐมีอิสระและอานาจอธิปไตยเป็นของตนเอง แต่ปัจจุบันไม่มีแล้ว

>สหรัฐหรือสหพันธรัฐ หมายถึง รัฐที่ประกอบด้วยรัฐสมาชิกหรือมลรัฐจานวนหนึ่ง โดยแบ่งอานาจรัฐออกเป็น 2 ระดับ คือ


อานาจส่วนกลางและอานาจท้องถิ่น(มลรัฐ) โดยรัฐบาลกลางเป็นผูใ้ ช้อานาจกิจการภายนอกประเทศเพียงผู้เดียว ส่วนรัฐบาล
มลรัฐเป็นผู้ใช้อานาจตามที่รัฐธรรมนูญกาหนด เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย อินเดีย มาเลเซีย เป็นต้น
.

..............................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................
1.2.3 รูปแบบการปกครอง
เมื่อพิจารณาจากการมีสิทธิเสรีภาพของประชาชนของรัฐนั้นๆ เราอาจแบ่งรูปแบบการปกครองออกได้เป็น
2 ประเภทหลักๆ ดังนี้
1.) การปกครองแบบเผด็จการ การปกครองแบบเผด็จการ เป็ นการปกครองที่พยายามจากัดสิทธิเสรีภาพ
ของบุคคลให้เหลือน้อยที่ สุดเท่ าที่ จะเป็นไปได้ โดยที่ผู้ปกครองนั้นมีอานาจเด็ดขาด ไม่อาจถูกตรวจสอบหรือ
วิพากษ์วิจารณ์อย่างเป็นธรรมได้ และมักขึ้นสู่อานาจนั้นโดยไม่ได้รับความยินยอมจากประชาชนส่วนใหญ่ มีการ
ควบคุมระบบสื่อสารมวลชน ระบบการศึกษาและการใช้โฆษณาชวนเชื่อ เพื่อเผยแพร่อุดมการณ์ต่างๆ ของรัฐให้
แทรกซึมเข้าไปในจิตใจของประชาชนเช่น การรักและศรัทธาในตัวผู้นา และการเชื่อว่าชนชาติของตนนั้นยิ่งใหญ่
กว่าชนชาติอื่น เป็นต้น
2.) การปกครองแบบเสรีนิยม
การปกครองแบบเสรีนิยมเป็นคู่ตรงข้ามของการปกครองแบบเผด็จการ เสรีนิยม
โดยที่ผู้ปกครองจะเข้าไปจากัดสิทธิเสรีภาพของบุคคลให้น้อยที่สุด และจะไม่ยุ่ง ประชาธิป-
เกี่ยวกับความคิดความเชื่อส่วนบุคคลของแต่ละคน
ไตย
NOTE: การปกครองในระบอบประชาธิปไตย?
..............................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................

1.3 หลักนิติรฐั และหลักประชาธิปไตย


1.3.1 หลักนิตริ ัฐ
“A government of laws, not of men”

นิติรัฐ หมายถึง หลักการซึ่งเรียกร้องให้การใช้อานาจของรัฐนั้นตกอยู่ภายใต้ กฎหมำย และ ควำมยุติธรรม


ซึ่งประกอบไปด้วยหลักการในทางรูปแบบ กล่าวคือ หลักการแบ่งแยกอานาจ, หลักความผูกพันต่อรัฐธรรมนูญของ
ฝ่ายนิติบัญญัติ, หลักความผูกพันต่อกฎหมายของฝ่ายปกครองและฝ่ายตุลาการ, หลักการประกันการคุ้มครองสิทธิ
ในทางศาล และหลักความเป็นอิสระของตุลาการ นอกจากนี้ นิติรัฐยังต้องประกอบด้วยหลักการในทางเนื้อหา
กล่าวคือ หลักความพอสมควรแก่เหตุ, หลักการคุ้มครองสารัตถะแห่งสิทธิและเสรีภาพ, หลักการมีผลบังคับใช้เป็น
การทั่วไปของกฎหมายและการห้ามตรากฎหมายบังคับเฉพาะกรณีและเฉพาะบุคคล, หลักการอ้างบทบัญญัติแห่ง
รัฐธรรมนูญที่ให้อานาจในการตรากฎหมาย และหลักการคุ้มครองความมั่นคงแน่นอนแห่งนิติฐานะอีกด้วย

1.3.2 หลักประชาธิปไตย

“Government of the people, by the people and for the people.”

ประชาธิปไตย หมายถึง ระบอบการปกครองที่ประชาชนเป็นเจ้าของอานาจอธิปไตย และการใช้อานาจ


ต่างๆ ของรัฐนั้นต้องมีความยึดโยงกับประชาชนผ่านการมีส่วนร่วมทางการเมือง เช่น การออกเสียงเลือกตั้ง การทา
ประชาพิจารณ์ (public hearing) และการออกเสียงประชามติ (referendum) ยึดหลักการเคารพเสียงข้างมาก
และหลักการคุ้มครองเสียงข้างน้อย และมีการปกครองในระบบผู้แทน ผ่านการเลือกตั้งซึ่งต้องตั้งอยู่บนหลักการ
พื้นฐาน 5 ประการ กล่าวคือ หลักการเลือกตั้งโดยทั่วไป (in general), หลักการเลือกตั้งโดยเสมอภาค (one man
one vote), หลักการเลือกตั้งโดยตรง, หลักการเลือกตั้งโดยลั บ (secret voting) และหลักการเลือกตั้งโดยเสรี
(free voting) ทั้งนี้ โดยจะต้องเป็นการเลือกตั้งที่มีกาหนดเวลา (periodic election) และเป็นไปอย่างบริสุทธิ์
ยุติธรรม (fair election) ด้วย
..............................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................

1.4 การปฏิวตั ิและการรัฐประหาร


การปฏิวัติ (revolution) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพื้นฐานของรัฐโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายที่ใช้
บังคับอยู่ในขณะนั้น ซึ่งอาจเป็นการปฏิวัติโดยคณะบุคคล (การปฏิวัติโดยวิธีรัฐประหาร) เช่น เหตุการณ์อภิวัฒน์
สยามโดยคณะราษฏร เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475 หรือเป็นการปฏิวัติโดยประชาชน เช่น เหตุการณ์
ปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อปีคริสต์ศักราช 1789 เป็นต้น
การรัฐประหาร (coup d'état) หมายถึง การล้มล้างรัฐบาลและแย่งชิงอานาจรัฐมาเป็นของผู้ก่อการ
รัฐประหารโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพื้นฐานของรัฐ โดยใช้กาลังของกลุ่มบุคคลจานวนไม่มากนักซึ่งมัก
เป็นนายทหารระดับสูง เมื่อกระทาการรัฐประหารสาเร็จแล้ว บุคคลผู้เป็นหัวหน้าของคณะรัฐประหารนั้นก็ย่อมอยู่
ในฐานะ “รัฏฐาธิปัตย์” ซึ่งหมายถึงผู้ทรงอานาจสูงสุดของรัฐนั้นโดยปริยาย
2.) กฎหมายรัฐธรรมนูญ
2.1 ความหมายของรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายซึ่งวางหลักเกณฑ์อันเป็นระเบียบพื้นฐานของรัฐ มีภารกิจหลัก 2 ประการ
กล่าวคือ กำรกำหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับรัฐ รูปแบบของรัฐและรูปแบบการปกครอง สถาบันทางการเมืองและองค์กร
ตามรัฐธรรมนูญประการหนึ่ง และกำรกำหนดควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐกับประชำชนของรัฐนั้น โดยเฉพาะที่ปรากฏ
ในรูปสิทธิขั้นพื้นฐานอีกประการหนึ่ง

ในปัจจุบันเราสามารถแบ่งรัฐธรรมนูญออกได้เป็น 2 รูปแบบหลักๆ ได้แก่ .........ลายลักษณ์อักษร........


ซึ่งจัดทาขึ้นในรูปของเอกสารที่มีลักษณะเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน และเป็นที่นิ ยมใช้กันทั่วโลกรวมถึงใน
ประเทศไทยด้วย และอีกรูปแบบหนึ่ง เรียกว่า ........จารีตประเพณี........ ซึ่งบรรดาบรรทัดฐานทางกฎหมายซึ่งมีค่า
บังคับในระดับรัฐธรรมนูญนั้น ไม่จาเป็นจะต้องปรากฏอยู่ในรูปของบทบัญญัติลายลักษณ์อักษรเท่านั้น แต่อาจเกิด
จากคาพิพากษาของศาล หรือจารีตประเพณี ทางการเมืองก็ได้ เช่นใน
ประเทศ....อังกฤษ.... และประเทศ........ซาอุดิอารเบีย...... เป็นต้น

2.2 หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ

“รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัตใิ ดของกฎหมาย กฎ


หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได”

มีข้อสังเกตว่าเฉพาะในประเทศที่ใช้รัฐธรรมนูญจารีตประเพณีเท่านั้น ที่ไม่มีการกาหนดให้รัฐธรรมนูญเป็น
กฎหมำยสูงสุด ของประเทศ แต่ในขณะที่ประเทศอื่นๆ ซึ่งมีรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษร มักมีการกาหนดให้
รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด กล่าวคือ จะมีบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎหรือข้อบังคับ หรือการกระทาใดๆ ที่ขัด
หรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญมิได้ ทั้งนี้ เพื่อมิให้บุคคลหรือองค์กรใดๆ สามารถใช้อานาจได้ตามอาเภอใจ แต่จะต้อง
ผูกพั นตนเองอยู่กับรัฐธรรมนูญ ซึ่ งเป็ น เสมื อน “กรอบ” แห่ งการใช้อานาจนั้ น และเพื่ อเป็ น หลักประกัน สิท ธิ
เสรีภาพขั้นพื้นฐานต่างๆ ของประชาชนอีกทางหนึ่งด้วย
2.3 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ( ฉบับที่ 20 )
(โดยมีกรรมการร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยประธานกรรมการ 1 คน คือนายมีชัย ฤชุพันธุ์และกรรมการอีก 20
คน ซึ่งออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 และประกาศเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560)
หมวด 1 บททั่วไป
-ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกไม่ได้ ---มาตรา 1
-ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ---มาตรา 2
-อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อานาจนั้นทางรัฐสภา
คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ---มาตรา 3
-ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง ปวงชนชาว ไทย
ย่อมได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญเสมอกัน ---มาตรา 4
-รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัตใิ ดของกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ หรือการกระทา ใด ขัด
หรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติหรือการกระทานั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้ เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญนี้
บังคับแก่กรณีใด ให้กระทาการนั้นหรือวินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศ ไทยในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ---มาตรา 5
หมวด 2 พระมหากษัตริย์
-องค์พระมหากษัตริย์ทรงดารงอยู่ในฐานะที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหา พระมหากษัตริย์
ในทางใดๆมิได้ ---มาตรา 6
-พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก ---มาตรา 7
-พระมหากษัตริย์ทรงดารงตาแหน่งจอมทัพไทย ---มาตรา 8
-พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งอานาจที่จะสถาปนาและถอดฐานันดรศักดิ์และพระราชทานและเรียกคืน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ---มาตรา 9
-พระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒเิ ป็นประธานองคมนตรีคนหนึ่งและองคมนตรีอนื่ ไม่เกินสิบ
แปดคนประกอบเป็นคณะองคมนตรี (คณะองคมนตรีไม่เกิน19คน ประกอบด้วยประธานองคมนตรี1คนและ
องคมนตรีอนื่ ไม่เกิน18คน) ---มาตรา 10
-ในเมื่อพระมหากษัตริย์จะไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรหรือทรงบริหารพระราชภาระไม่ได้ด้วยเหตุใดก็ตาม จะ
ทรงแต่งตั้งบุคคลหนึ่งหรือคณะบุคคลขึ้นให้เป็นผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์หรือไม่ก็ได้ ---มาตรา16
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย
-สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากที่ได้คุ้มครองไว้เฉพาะในรัฐธรรมนูญแล้ว การใดที่มิได้ห้ามหรือ
จากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอื่น บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพทีจ่ ะทาการนั้นได้และได้รับความคุ้มครอง
ตามรัฐธรรมนูญ คราบเท่าทีก่ ารใช้สิทธิหรือเสรีภาพนั้นไม่กระทบหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบ
เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และไม่ละเมิดต่อสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น ---มาตรา 25
-บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและ
หญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน ---มาตรา 27
-บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย แต่อาจถูกจากัดได้โดยกฎหมาย ---มาตรา 28
-บุคคลต้องรับโทษอาญาต่อเมื่อได้กระทาความผิดซึ่งมีกฎหมายที่ใช้บงั คับอยู่ในขณะนั้นได้บัญญัติเป็น
ความผิดและกาหนดโทษไว้ ในคดีอาญาให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจาเลยไม่มีความผิด (หลัก
Nullum crimen, nulla poena sine lege หรือ หลักไม่มีความผิด ไม่มีโทษ โดยไม่มีกฎหมาย ) ---มาตรา
29
-การเกณฑ์แรงงานจะทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามกฎหมายที่ตราขึ้นเพื่อป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ หรือ
ในขณะที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินหรือประกาศใช้กฎอัยการศึก หรือในระหว่างเวลาที่ประเทศอยู่ในภาวะ
สงครามหรือการรบ ---มาตรา30
-บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการนับถือศาสนาและมีเสรีภาพในการปฏิบัติตามหลักศาสนาของตน แต่ต้องไม่
เป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ---มาตรา 31
-บุคคลย่อมมีเสรีภาพในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง และครอบครัว แต่อาจถูกจากัดได้โดยกฎหมาย
---มาตรา32
-บุคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และการสือ่ ความหมาย
โดยวิธีอื่น แต่อาจถูกจากัดได้โดยกฎหมาย และเสรีภาพทางวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครอง แต่การใช้
เสรีภาพนั้นต้องไม่ขัดต่อหน้าที่ของปวงชนชาวไทยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และต้องเคารพและไม่ปิด
กั้นความเห็นต่างของบุคคลอื่น ---มาตรา 34
-บุคคลย่อมมีสิทธิในทรัพย์สินและการสืบมรดก ซึ่งขอบเขตแห่งสิทธิและการจากัดสิทธินี้ ให้เป็นไปตามที่กฎหมาย
บัญญัติ และการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์จะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามกฎหมายที่ตราขึ้นเพื่อประโยชน์
ของประเทศ ---มาตรา 37
-บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการเดินทางและเลือกถิ่นที่อยู่ แต่อาจถูกจากัดได้โดยกฎหมาย ---มาตรา 38
-การเนรเทศบุคคลสัญชาติไทยออกนอกราชอาณาจักร หรือห้ามมิให้ผู้มีสญั ชาติไทยเข้ามาในราชอาณาจักร จะ
กระทามิได้ และการถอนสัญชาติของบุคคลซึ่งมีสัญชาติไทยโดยการเกิด จะกระทามิได้ ----มาตรา 39
-บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ แต่อาจถูกจากัดได้โดยกฎหมาย ---มาตรา 40
- บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิได้รับและเข้าถึงข่าวสารของรัฐามที่กฎหมายกาหนด เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ต่อ
หน่วยงานของรัฐ และฟ้องหน่วยงานของรัฐให้รับผิดจากการกระทาผิดของเจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐ ---มาตรา 41
-บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิ
>อนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีงามทั้งของ
ท้องถิ่นและของชาติ
>จัดการ บารุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพอย่าง
สมดุลและยั่งยืนตามวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ
>เข้าชื่อกันเพื่อเสนอแนะต่อหน่วยงานของรัฐให้ดาเนินการเพื่อเป็นประโยชน์ต่อประชาชนหรือชุมชน หรืองดเว้น
การดาเนินการใดอันจะกระทบต่อความเป็นอยู่อย่างสงบสุขของประชาชนหรือชุมชนและได้รับแจ้งผลการพิจารณา
โดยรวดเร็ว
>จัดให้มีระบบสวัสดิการของชุมชน ---มาตรา 43
-บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ แต่อาจถูกจากัดได้โดยกฎหมาย ---มาตรา 44
-สิทธิของผู้บริโภคย่อมได้รับความคุ้มครอง ---มาตรา 46
-บุคคลย่อมมีสิทธิได้รบั บริการสาธารณสุขของรัฐ
บุคคลผู้ยากไร้ย่อมมีสิทธิได้รบั บริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตามที่กฎหมายบัญญัติ
บุคคลย่อมมีสทิ ธิได้รับการป้องกันและขจัดโรคติดต่ออันตรายจากรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ---มาตรา 47
-สิทธิของมารดาในช่วงระหว่างก่อนและหลังการคลอดบุตรย่อมได้รับความคุ้มครองและช่วยเหลือตามที่กฎหมาย
บัญญัติ และบุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ และบุคคลผู้ยากไร้ย่อมมีสิทธิได้รับ
ความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ ---มาตรา 48
-บุคคลจะใช้สทิ ธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มิได้ ผู้ใดทราบว่ามีการกระทาข้างต้น ย่อมมีสิทธิร้องต่ออัยการสูงสุดเพื่อร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการ
ให้เลิกการกระทาดังกล่าวได้ ในกรณีที่อัยการสูงสุดมีคาสั่งไม่รับดาเนินการตามที่ร้องขอ หรือไม่ดาเนินการภายใน
สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับคาร้องขอ ผู้ร้องขอจะยื่นคาร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญก็ได้ โดยไม่กระทบต่อการ
ดาเนินคดีอาญา ---มาตรา 49
หมวด 4 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย
-บุคคลมีหน้าทีด่ ังต่อไปนี้
>พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข
>ป้องกันประเทศ พิทักษ์รักษาเกียรติภูมิ ผลประโยชน์ของชาติ และสาธารณสมบัติของแผ่นดินรวมทั้งให้ความ
ร่วมมือในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
>ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
>เข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ
>รับราชการทหารตามที่กฎหมายบัญญัติ
>เคารพและไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น และไม่กระทาการใดที่อาจก่อให้เกิดความแตกแยกหรือ
เกลียดชังในสังคม
>ไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือลงประชามติอย่างอิสระโดยคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมของประเทศเป็นสาคัญ
>ร่วมมือและสนับสนุนการอนุรักษ์และคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ
รวมทั้งมรดกทางวัฒนธรรม
>เสียภาษีอากรตามที่กฎหมายบัญญัติ
>ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ---มาตรา 50
หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ
-รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย ผลประโยชน์ของประเทศชาติ ความมั่นคงของ
รัฐ และความสงบเรียบร้อยของประชาชน ---มาตรา52
-รัฐต้องดูแลให้มีการปฏิบัตติ ามและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ---มาตรา53
-รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาค
บังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จา่ ย
รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพื่อพัฒนา
ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการดาเนินการด้วย
รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มี
การเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนในการ
จัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดาเนินการ กากับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมี
คุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซึ่งอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติ
เกี่ยวกับการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดาเนินการและตรวจสอบการดาเนินการให้เป็นไปตาม
แผนการศึกษาแห่งชาติด้วย
การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวนิ ัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความ
ถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
ในการดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษา
ตามวรรคสาม รัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จา่ ยในการศึกษาตามความ
ถนัดของตน
ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความเหลื่อมล้าในการศึกษาและ
เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุนหรือใช้
มาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษี
ด้วย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกาหนดให้การบริหารจัดการกองทุนเป็น
อิสระและกาหนดให้มีการใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว ---มาตรา 54
-รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รบั บริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง และเสริมสร้างให้
ประชาชนมีความรู้พื้นฐายเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ---มาตรา55
-รัฐต้องจัดหรือดาเนินการให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานทีจ่ าเป็นต่อการดารงชีวิตของประชาชนอย่างทั่วถึงตาม
หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน ---มาตรา56
หมวด 7 รัฐสภา
-รัฐสภาประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรกับวุฒิสภา ---มาตรา 79
-ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา ---มาตรา 80
-สภาผู้แทนราษฎรมีสมาชิกจานวน 500 คน ประกอบด้วย สมาชิกซึ่งมาจาการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตจานวน
350 คน และสมาชิกซึ่งมาจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองจานวน 150 คน ---มาตรา 83
-ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ต้องเป็นผู้ซึ่งพรรคการเมืองที่ตนเป็นสมาชิกส่ง
สมัครรับเลือกตั้ง และจะสมัครรับเลือกตั้งเกินหนึ่งเขตมิได้ และเมื่อสมัครรับเลือกตั้งแล้ว ผู้สมัครรับเลือกตั้งหรือ
พรรคการเมืองจะถอนการสมัครรับเลือกตั้งหรือเปลี่ยนแปลงผู้สมัครรับเลือกตั้งได้เฉพาะกรณีผู้สมัครรับเลือกตั้ง
ตายหรือขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม และต้องกระทาก่อนปิดการรับสมัครรับเลือกตั้ง ---มาตรา 87
-ในการเลือกตัง้ ทั่วไป ให้พรรคการเมืองทีส่ ่งผูส้ มัครรับเลือกตั้งแจ้งรายชื่อบุคคลซึง่ พรรคการเมืองมีมติว่าจะ
เสนอชื่อให้สภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีไม่เกินสามรายชื่อต่อ
คณะกรรมการการเลือกตั้ง และประกาศให้ประชาชนทราบ และเมื่อสมัครรับเลือกตั้งแล้ว ผู้สมัครหรือพรรค
การเมืองจะถอนการสมัครรับเลือกตั้งหรือเปลีย่ นแปลงผู้สมัครรับเลือกตั้งได้เฉพาะกรณีผู้สมัครตายหรือขาด
คุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม และต้องกระทาก่อนปิดการรับสมัครรับเลือกตั้ง ---มาตรา 88
....................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
-ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีคุณสมบัตติ ่อไปนี้ : มีสัญชาติไทย มีอายุไม่ต่ากว่า18ปีในวันเลือกตั้ง มีชื่ออยู่ในทะเบียน
บ้านในเขตเลือกตั้งไม่น้อยกว่า90วัน ผู้ไม่ไปใช้เลือกตั้งโดยไม่แจ้งเหตุอันสมควรอาจถูกจากัดสิทธิบางประการ
ตามกฎหมาย ---มาตรา 95
-บุคคลต่อไปนี้ต้องห้ามเลือกตั้งในวันเลือกตั้ง : เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช หรืออยู่ระหว่างถูกเพิก
ถอนสิทธิเลือกตั้งไม่ว่าคดีจะถึงที่สุดหรือไม่ หรือต้องคุมขังอยู่โดยหมายของศาลหรือโดยคาสั่งที่ชอบด้วย
กฎหมาย หรือวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ---มาตรา 96
-ผู้มีสิทธิลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีคุณสมบัตติ ่อไปนี้ : มีสัญชาติไทยโดยการเกิด อายุ
ไม่ต่ากว่า25ปีนับถึงวันเลือกตั้ง เป็นสมาชิกพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวติดต่อกันไม่น้อยกว่า90วันเลือกตั้ง
เว้นแต่เลือกตัง้ เพราะยุบสภาให้เหลือ30วัน ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบ่งเขต ต้องมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง
>มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านจังหวัดที่รับเลือกตั้งติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี
>เป็นบุคคลที่เกิดในจังหวัดรับเลือกตั้ง
>เคยศึกษาในสถานศึกษาทีต่ ั้งอยู่ในจังหวัดรับเลือกตั้งติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี
>เคยรับราชการหรือปฏิบัตหิ น้าที่ในหน่วยงานของรัฐ หรือเคยมีชื่อยูใ่ นทะเบียนบ้านจังหวัดที่รบั เลือกตั้ง เป็น
เวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี ---มาตรา 97
-อายุสภาผู้แทนราษฎรมีกาหนดคราวละสี่ปีนบั แต่วันเลือกตั้ง ---มาตรา 99-
-เมื่ออายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง ให้ตราพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ใหม่ เป็นการเลือกตั้งทั่วไปภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่สภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุ และต้องเป็นวันเดียวกันทั้ง
ประเทศตามทีค่ ณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา ---มาตรา 102
-การยุบสภาผูแ้ ทนราษฎรให้กระทาโดยพระราชกฤษฎีกา ---มาตรา 103
-วุฒิสภามีจานวนสมาชิก 200 คน มาจากการเลือกกันเองของบุคคลซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ
ประสบการณ์ทางานหรือเคยทางานด้านต่างๆที่หลากหลายของสังคม โดยการแบ่งกลุ่มต้องแบ่งให้ประชาชน
ซึ่งมีสิทธิรับเลือกทุกคนสามารถอยู่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งได้ และการเลือกสมาชิกวุฒิสภาให้เป็นไปตาม
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒสิ ภา ---มาตรา 107
....................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
-อายุของวุฒสิ ภามีกาหนดคราวละห้าปีนับแต่วันประกาศผลการเลือก ---มาตรา 109
-ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ที่ประชุมวุฒิสสภา หรือที่ปนะชุมร่วมของรัฐสภา สมาชิกผู้ใดจะกล่าวถ้อยคาใด
ในทางแถลงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น หรือออกเสียงลงคะแนนย่อมเป็นเอกสิทธิ์โดยเด็ดขาด ผู้ใดจะ
ฟ้องร้องกล่าวหาสมาชิกผู้นนั้ ในทางใดๆมิได้ ---มาตรา 124
-ในระหว่างสมัยประชุมสภา ห้ามมิให้จับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหือวุฒิสภาไปทาการ
สอบสวนในฐานะสมาชิกผู้นั้นเป็นผู้ต้อองหาในคดีอาญา เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากสภาที่เป็นสมาชิก หรือเป็นการ
จับขณะกระทาความผิด ในกรณีที่จับขณะทาความผิด ประธานแห่งสภานั้นอาจสั่งปล่อยผู้ถูกจับกุมเพือ่ มาประชุม
สภาได้ ----มาตรา 125
-ให้มีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (พรป.) ดังต่อไปนี้ (ในขณะทาเอกสารนี้ พรป.ยังอยู่ในขั้นร่างกฎหมาย)
>พรป.ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
>พรป.ว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
>พรป.ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง
>พรป.ว่าด้วยพรรคการเมือง
>พรป.ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน
>พรป.ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
>พรป.ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน
>พรป.ว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
>พรป.ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของดารงตาแหน่งทางการเมือง
>พรป.ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ---มาตรา 130
-คณะรัฐมนตรี หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจานวนไม่น้อยกว่า 20 คน หรือผู้มสี ิทธิเลือกตั้งจานวนไม่น้อย
กว่า 10,000 คน สามารถเสนอร่างพระราชบัญญัติต่อสภาผู้แทนราษฎรได้ ทั้งนี้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะเข้าชื่อกัน
เสนอกฎหมายตามหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทยหรือหมวด 5 หน้าที่ของรัฐได้ตามกฎหมาย
ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย และในกรณีที่เสนอร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการเงินและผู้เสนอเป็น
สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรหรือผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จะเสนอได้เมื่อมีคารับรองของนายกรัฐมนตรี ---มาตรา 133
หมวด 8 คณะรัฐมนตรี
- คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอื่นไม่เกิน 35 คน นายกรัฐมนตรีจะดารงตาแหน่ง
รวมกันเกิน 8 ปีมิได้ ---มาตรา 158
-ให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึง่ สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีจากบุคคลซึ่งมี
คุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญและเป็นผู้มชี ื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้
เฉพาะจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองที่มีสมาชิกได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่าร้อย
ละห้าของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร การเสนอชื่อตามต้องมีสมาชิกรับรองไม่น้อย
กว่าหนึ่งในสิบของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยูข่ องสภาผู้แทนราษฎร และมติที่เห็นชอบการแต่งตั้งบุคคล
ใดเป็นนายกรัฐมนตรีต้องกระทาโดยการลงคะแนนโดยเปิดเผยและมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน
สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยูข่ องสภาผู้แทนราษฎร ---มาตรา 159
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….…………………………………..……….………….
-ให้พระมหากษัตริย์ตราพระราชกาหนดโดยคาแนะนาคณะรัฐมนตรีได้ในกรณีฉุกเฉินที่มีความจาเป็นเพื่อความ
ปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติ
สาธารณะ และใช้บังคับเช่นเดียวกับพระราชบัญญัติ และต้องนาพระราชกาหนดนัน้ เสนอต่อรัฐสภาให้อนุมัติ
โดยเร็ว ถ้ารัฐสภาอนุมัติพระราชกาหนดนั้นให้ใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติต่อไป แต่ถ้ารัฐสภาไม่อนุมัติให้พระ
ราชกาหนดนั้นตกไป แต่ไม่กระทบต่อกิจการที่ได้เป็นไปในระหว่างทีใ่ ช้พระราชกาหนดนั้น ---มาตรา 172
-ให้พระมหากษัตริย์ตราพระราชกาหนดโดยคาแนะนาของคณะรัฐมนตรีได้ในกรณีทจี่ าเป็นต้องมีกฎหมายเกี่ยว
ด้วยภาษีอากรหรือเงินตราที่ต้องได้รับพิจารณาโดยด่วนและลับเพื่อรักษาผลประโยชน์ของแผ่นดิน และใช้
บังคับเช่นเดียวกับพระราชบัญญัติ และต้องนาพระราชกาหนดนั้นเสนอต่อรัฐสภาให้อนุมัติโดยเร็ว ถ้ารัฐสภา
อนุมัติพระราชกาหนดนั้นให้ใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติต่อไป แต่ถ้ารัฐสภาไม่อนุมตั ิให้พระราชกาหนดนั้นตก
ไป แต่ไม่กระทบต่อกิจการที่ได้เป็นไปในระหว่างที่ใช้พระราชกาหนดนั้น ---มาตรา 174
....................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
หมวด 10 ศาล (รายละเอียดศึกษาจากเนือ้ หาเฉพาะ)
หมวด 12 องค์กรอิสระ
-คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ประกอบด้วยกรรมการจานวน 7 คนโดยมีประธานกรรมการการเลือกตั้ง
1 คนและกรรมการอีก 6 คน ประกอบด้วย
ผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆที่เป็นประโยชน์ในการบริหารและจัดการเลือกตั้งให้เป็นไปโดย
สุจริตและเที่ยงธรรม จานวน 5 คน
ผู้มีความรู้ ประสบการณ์ทางกฎหมาย และเคยดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีผู้พิพากษาหรืออธิบดีอัยการ
ไม่น้อยกว่า 5 ปี ซึ่งได้รับเลือกจากที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา จานวน 2 คน
>คณะกรรมการการเลือกตั้งมีวาระดารงตาแหน่ง 7 ปีและดารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดียว
>กรรมการการเลือกตั้งมีหน้าที่หลักๆดังนี้
1).จัดหรือดาเนินการเลือกตั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น และการออกเสียงประชามติ
2).ควบคุมดูแลการเลือกตั้งให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรมและการออกเสียงประชามติให้เป็นไปตาม
กฎหมาย
3).มีอานาจสืบสวนหรือไต่สวนการเลือกตั้งหรือการลงประชามติ ที่ไม่สุจริตหรือไม่เที่ยงธรรม หรือไม่เป็นไป
ตามกฎหมาย และดูแลการดาเนินงานของพรรคการเมืองให้เป็นไปตามกฎหมาย ---มาตรา 222-227

-ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจานวน 3 คน ประกอบด้วย
ผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และเคยบริหารราชการในตาแหน่งไม่ต่า
กว่าอธิบดีหรือเทียบเท่าและดารงตาแหน่งไม่น้อยกว่า 5 ปี จานวน 2 คน
ผู้มีประสบการณ์ในการดาเนินกิจการอันเป็นสาธารณะไม่น้อยกว่า 20 ปี จานวน 1 คน
>ผู้ตรวจการแผ่นดินมีวาระการดารงตาแหน่ง 7 ปี และดารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดียว
>ผู้ตรวจการแผ่นดินมีหน้าทีห่ ลักๆดังนี้
1).เสนอแนะต่อหน่วยงานรัฐเพื่อปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ก่อให้เกิด
ความเดือดร้อนหรือความไม่เป็นธรรมให้กบั ประชาชน
2).แสงหาข้อเท็จจริงเมื่อเห็นว่ามีผเู้ ดือดร้อนหรือไม่ได้รบั ความเป็นธรรมจากหน่วยงานของรัฐ เพื่อเสนอต่อ
หน่วยงานนั้นเพื่อให้ยกเลิกหรือระงับความไม่เป็นธรรมนัน้ ---มาตรา 228-231

-คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือ ปปช. ประกอบด้วยกรรมการ 9 คน


> กรรมการปปช.มีวาระการดารงตาแหน่ง 7 ปี และดารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดียว
>ปปช.มีอานาจหน้าที่หลักๆดังนี้
1).ไต่สวนและมีความเห็นกรณีมีการกล่าวหาว่าผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดารง
ตาแหน่งในองค์กรอิสระ หรือผู้ตรวจการแผ่นดิน ผู้ใดมีพฤติการณ์ร่ารวยผิดปกติ หรือทุจริตต่อหน้าที่ หรือจง
ใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อานาจขัดต่อกฎหมาย หรือฝ่าฝืนมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง เพื่อดาเนินการ
ตามรัฐธรรมนูญหรือตามพรป.ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
2).ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ารวยผิดปกติ กระทาความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทา
ความผิดต่อหน้าที่ราชการ
3).กาหนดให้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ หรือ
ผู้ตรวจการแผ่นดิน และเจ้าหน้าที่ของรัฐยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนติ ิ
ภาวะ รวมทั้งตรวจสอบและเปิดเผยทรัพย์สินและหนี้สินของบุคคลดังกล่าว ---มาตรา232-237
-คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ประกอบด้วยกรรมการจานวน 7 คน
>กรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีวาระการดารงตาแหน่ง 7 ปีและดารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดียว
>ให้มีผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน 1 คนมีความอิสระในการปฏิบัติหน้าที่โดยรับผิดชอบต่อคณะกรรมการตรวจเงิน
แผ่นดิน และเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยธุรการของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (ผู้ว่าการตรวจเงิน
แผ่นดินไม่ใช่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน)
>กรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีหน้าที่หลักๆดังนี้
1).วางนโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน

2).กาหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน
3).กากับการตรวจเงินแผ่นดิน
4).ให้คาปรึกษา แนะนา หรือเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้จา่ ยเงินแผ่นดินให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวินัย
การเงินการคลังของรัฐ
5).สั่งลงโทษทางปกครองกรณีการกระทาผิดกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลัง ---มาตรา 238-245
-คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประกอบด้วยกรรมการจานวน 7 คน
>กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีวาระการดารงตาแหน่ง 7 ปีและดารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดียว
>คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมอี านาจและหน้าที่หลักๆดังนี้
1).ตรวจสอบ รายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน และเสนอแนะแนวทางการป้องกัน
และการเยียวยาผู้เสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2).จัดทารายงานการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางการส่งเสริม
และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง ---มาตรา 246-247
หมวด 13 องค์กรอัยการ (องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ)
-องค์กรอัยการมีหน้าที่และอานาจตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญและกฎหมาย พนักงานอัยการมีอิสระในการ
พิจารณาสั่งคดีและปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปโดยรวดเร็ว เที่ยงธรรม และปราศจากอคติทั้งปวง และไม่ถือเป็นคาสั่ง
ทางปกครอง และบริหารงานบุคคลเกี่ยวกับพนักงานอัยการโดยคณะกรรมการอัยการ ---มาตรา 248
หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ
-ให้ปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆให้เกิดผลดังนี้
ก.ด้านการเมือง เช่น ให้ดาเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองอย่างเปิดเผยและตรวจสอบได้ ให้ประชาชนมีส่วนร่วม
ทางการเมือง และให้มีกลไกให้ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ เป็นต้น
ข.ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น ให้มีการบูรณาการข้อมูลของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานเข้าด้วยกัน
เพื่อให้ข้อมูลเป็นระบบ เป็นต้น
ค.ด้านกฎหมาย เช่น ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทาและเสนอร่างกฎหมาย เป็นต้น
ง.ด้านกระบวนการยุติธรรม เช่น ให้กาหนดระยะเวลาดาเนินงานในทุกขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมที่ชัดเจน
เพื่อให้ประชาชนได้รับความยุติธรรมโดยไม่ล่าช้า ให้แก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับอานาจ หน้าที่ และภารกิจของ
ตารวจให้เหมาะสม เป็นต้น
จ.ด้านการศึกษา เช่น ให้ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด
ให้มีกลไกและระบบในการผลิต คัดกรอง พัฒนา และสร้างระบบคุณธรรมในผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ และ
ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เป็นต้น
ฉ.ด้านเศรษฐกิจ เช่น ปรับปรุงระบบภาษีอากรให้มีความเป็นธรรม สร้างกลไกเพื่อส่งเสริมสหกรณ์ เป็นต้น
ช.ด้านอื่นๆ เช่น การบริหารจัดการทรัพยากรน้า การกระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม ระบบการจัดการ
และกาจัดขยะมูลฝอย เป็นต้น ---มาตรา 257-261

บทเฉพาะกาล
-ในระหว่างที่ยังไม่มีสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญนี้ ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติที่ตั้งขึ้นตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ยังคงทาหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร
และวุฒิสภาต่อไป และให้สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติซึ่งดารงตาแหน่งอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้
ทาหน้าที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา ตามลาดับ ตามบทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนูญนี้ และให้
สภานิติบัญญัติแห่งชาติและสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติสิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรก
ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญนี้ ---มาตรา 263
-ให้คณะรัฐมนตรีที่บริหารราชการแผ่นดินอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้เป็นคณะรัฐมนตรีตาม
บทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนูญนี้ จนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญนี้
จะเข้ารับหน้าที่ ---มาตรา 264
-ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ดารงตาแหน่งอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ยังคงอยู่ในตาแหน่งเพื่อ
ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญนีจ้ ะเข้ารับ
หน้าที่
ในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติและคณะรักษาความ
สงบแห่งชาติยังคงมีหน้าที่และอานาจตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๘ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช
๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๕๕๙ และให้ถือว่าบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทยดังกล่าวในส่วนที่เกี่ยวกับอานาจของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ยังคงมีผลใช้บงั คับได้ต่อไป ---มาตรา 265
-ในวาระเริ่มแรก ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจานวนสองร้อยห้าสิบคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามที่คณะ
รักษาความสงบแห่งชาติถวายคาแนะนา โดยในการสรรหาและแต่งตั้งให้ดาเนินการโดยคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา และคณะกรรมการฯสรรหาบุคคลแล้วเสนอชื่อต่อคณะรักษา
ความสงบแห่งชาติเพื่อคัดเลือกสมาชิกต่อไป โดยมีปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บญั ชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการ
ทหารบก ผู้บญ ั ชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ และผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติเป็นสมาชิกวุฒิสภาด้วย
และอายุของวุฒิสภามีกาหนดห้าปีนับแต่วันที่มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภา ----
มาตรา 269
-ในระหว่างห้าปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับ
แต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีให้ดาเนินการตามมาตรา 159 เว้นแต่การพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควร
ได้รับแต่งตั้งเป็นยนายกรัฐมนตรี ให้กระทาในที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา และมติที่เห็นชอบการแต่งตั้งบุคคล
ใดให้เป็นนายกรัฐมนตรีตามมาตรา 159 ต้องมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนสมาชิกทัง้ หมดเท่าที่มี
อยู่ของทั้งสองสภา
ในระหว่างเวลาตามวรรคหนึง่ หากมีกรณีที่ไม่อาจแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อที่
พรรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88 ไม่ว่าด้วยเหตุใด และสมาชิกของทั้งสองสภารวมกันจานวนไม่น้อยกว่า
กึ่งหนึ่งของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภาเข้าชื่อเสนอต่อประธานรัฐสภาขอให้รัฐสภามีมติ
ยกเว้นเพื่อไม่ต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88
ในกรณีเช่นนั้น ให้ประธานรัฐสภาจัดให้มกี ารประชุมร่วมกันของรัฐสภาโดยพลัน และในกรณีที่รฐั สภามีมติ
ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภาให้ยกเว้นได้ ให้
ดาเนินการตามวรรคหนึ่งต่อไป โดยจะเสนอชื่อผู้อยู่ในบัญชีรายชื่อทีพ่ รรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88
หรือไม่ก็ได้ ---มาตรา 272
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
-บรรดาประกาศ คาสั่ง และการกระทาของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือของหัวหน้าคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ หรือที่จะออกใช้บังคับต่อไปตามมาตรา ๒๖๕ วรรค
สอง ไม่ว่าเป็นประกาศ คาสั่ง หรือการกระทาที่มีผลใช้บังคับในทางรัฐธรรมนูญ ทางนิติบัญญัติ ทางบริหาร หรือ
ทางตุลาการ ให้ประกาศ คาสั่ง การกระทาตลอดจนการปฏิบัติตามประกาศ คาสั่ง หรือการกระทานั้น เป็น
ประกาศ คาสั่ง การกระทา หรือการปฏิบัติที่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญนี้และกฎหมาย และมีผลใช้บังคับโดยชอบด้วย
รัฐธรรมนูญนี้ต่อไป การยกเลิกหรือแก้ไขเพิม่ เติมประกาศหรือคาสั่งดังกล่าว ให้กระทาเป็นพระราชบัญญัติ เว้นแต่
ประกาศหรือคาสั่งที่มีลักษณะเป็นการใช้อานาจทางบริหาร การยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมให้กระทาโดยคาสั่ง
นายกรัฐมนตรีหรือมติคณะรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี
บรรดาการใด ๆ ที่ได้รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซึ่งแก้ไข
เพิ่มเติมโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑)
พุทธศักราช ๒๕๕๘ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๕๕๙ ว่าเป็นการชอบด้วยรัฐธรรมนูญและกฎหมาย รวมทั้งการกระทาที่เกี่ยวเนื่องกับ
กรณีดังกล่าว ให้ถือว่าการนั้นและการกระทานั้นชอบด้วยรัฐธรรมนูญนีแ้ ละกฎหมาย ---มาตรา 279
2.3 สิทธิ เสรีภาพ และศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์

“ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง”

ดังที่ได้กล่าวไปแล้วในข้างต้นว่าภารกิจสาคัญอีกประการหนึ่งของรัฐธรรมนูญที่เคารพในหลักนิติรัฐ คือ
การรับรองและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน ซึ่งเป็นผลโดยตรงมาจากแนวคิดของ John Locke
นักปรัชญาการเมืองชาวอังกฤษ ผู้ที่เชื่อใน สิทธิตำมธรรมชำติ ของมนุษย์และมองสภาพธรรมชาติของมนุษย์ในแง่ดี
กล่าวคือ มนุษย์จะไม่ทาร้ายชีวิตและทรัพย์สินซึ่งกันและกัน แต่จะยอมรับสิทธิเสรีภาพของผู้อื่นเพื่อให้ต้นได้รับการ
ปฏิบัติเช่นเดียวกันนั้น ประกอบกับแนวคิดของสานักกฎหมายบ้านเมือง (legal positivism) ซึ่งเชื่อมั่นในกฎหมาย
ที่บังคับใช้อยู่ในสังคม จึงก่อให้เกิดเป็นบทบัญญัติเรื่องสิทธิเสรีภาพในรัฐธรรมนูญ หรือที่เรียกว่าเป็น “สิทธิเสรีภาพ
ขั้นพื้นฐาน” ของประชาชนนั่นเอง
2.3.1 สิทธิ
สิทธิ หมายถึง ความชอบธรรมที่บุคคลแต่ละคนสามารถใช้ยันต่อผู้อื่นเพื่อคุ้มครอง หรือรักษาผลประโยชน์
อันเป็นส่วนที่พึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น โดยที่ “สิทธิ” นั้นย่อมก่อให้เกิด “หน้าที่” แก่บุคคลอื่นในอันที่จะไม่ไป
รบกวนแทรกแซงสิทธิอันชอบธรรมนั้นด้วย เช่น สิทธิในชีวิตและร่างกาย สิทธิในทรัพย์สิน (กรรมสิทธิ์) สิทธิใน
ความเป็นอยู่ส่วนตัว สิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา และ* สิทธิเลือกตั้ง เป็นต้น

..............................................................................................................................................................................................................
2.3.2 เสรีภาพ
เสรีภาพ หมายถึง สภาวะที่บุคคลมีอิสระในการที่จะกระทาการหรือไม่กระทาใดๆ ตามเจตจานงของ
ตนเอง โดยมิได้อยู่ใต้อานาจบังคับหรือการครอบงาของบุคคลอื่นใด แตกต่างจาก “สิทธิ” ตรงที่เสรีภาพนั้นมิได้
ก่อให้เกิด “หน้าที่” กระทาการหรืองดเว้นกระทาการแก่บุคคลอื่น เช่น เสรีภาพในการนับถือศาสนา เสรีภาพใน
การแสดงความคิดเห็น และเสรีภาพในการทาสัญญา เป็นต้น
อย่างไรก็ดี หากเป็นกรณีที่เสรีภาพนั้นได้รับการบัญญัติรับรองไว้เป็น สิทธิขั้นพื้นฐำน ในรัฐธรรมนูญแล้ว
เสรีภาพดังกล่าวก็ย่อมอยู่ในสถานะที่เรียกว่าเป็น “สิทธิในเสรีภาพ” ซึ่งก่อหน้าที่แก่บุคคลอื่นในการที่จะต้องไม่ไป
รบกวนแทรกแซงการใช้เสรีภาพของบุคคลผู้ทรงเสรีภาพนั้นด้วย
2.3.3 ความเสมอภาค
หลักความเสมอภาคเป็นหลักการพื้นฐานของความยุติธรรมที่เรียกร้องมิให้ปฏิบัติต่อสิ่งที่เหมือนกันใน
สาระสาคัญ อย่างแตกต่างกัน กล่าวคือ ห้ามมิให้มี การเลือกปฏิบัติโดยไมเป็นธรรมต่อบุคคลเพียงเพราะความ
แตกต่างในเรื่องของเชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สุขภาพ สถานะของบุคคล ความเชื่อ ความคิดเห็น หรือเรื่องอื่นใด
เว้นแต่จะเป็นการเลือกปฏิบัติอย่างเป็นธรรม (positive discrimination) เพื่อขจัดอุปสรรค หรือส่งเสริมให้บุคคล
สามารถใช้สิทธิและเสรีภาพของตนได้อย่างทัดเทียมกับผู้อื่น อนึ่ง เมื่อถูกบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแล้ว หลักความ
เสมอภาคนั้นก็ย่อมมีสถานะเป็น “สิทธิในความเสมอภาค” ที่ก่อหน้าที่ต่อภาครัฐหรือองค์กรผู้ใช้อานาจรัฐด้วย
2.3.4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หมายถึง คุณ ค่าสูงสุดที่มีลักษณะเฉพาะอันผูกติดอยู่กับความเป็นมนุษย์ของ
บุคคล โดยไม่ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขอื่นใดไม่ว่าจะเป็นเชื้อชาติหรือศาสนา ไม่ขึ้นอยู่กับเวลาและสถานที่ มีความมุ่งหมาย
เพื่อให้บุคคลมีอิสระในการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตัวของตนภายใต้ความรับผิดชอบของตนเอง เป็นคุณค่าที่รัฐและ
บุคคลอื่นต้องเคารพ และมิอาจล่วงละเมิดได้โดยไม่เป็นการทาลายความเป็นมนุษย์ของบุคคลนั้นลง
2.4 อานาจอธิปไตย
อานาจอธิปไตย (sovereignty) หมายถึง อานาจ สูงสุด และ เด็ดขำด ซึ่งรัฐทรงไว้ในการกาหนดกฎเกณฑ์ขึ้น
เพื่อบังคับใช้กับประชากรภายในดินแดนของรัฐนั้นๆ โดยที่รัฐธรรมนูญของไทยทุกฉบับ ตั้งแต่รัฐธรรมนูญฉบับแรก
(พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475) ก็ได้มีการบัญญัติรับรองทั้ง “หลัก
อานาจอธิปไตยของปวงชน” และ “หลักการแบ่งแยกอานาจ” นั้นเอาไว้ด้วยเสมอ
2.4.1 หลักอานาจอธิปไตยของปวงชน
หลั ก อ านาจอธิ ป ไตยของปวงชน เป็ น แนวคิ ด ที่ ริ เริ่ ม ขึ้ น โดย Jean-Jacques Rousseau นั ก ปรั ช ญา
การเมืองชาวฝรั่งเศส ผ่านงานเขียนชื่อ “สัญญาประชาคม” โดยมีความหมายว่าประชาชนทุกคนในรัฐนั้นๆ เป็น
เจ้าของอานาจอธิปไตยอย่างเท่าเทียมกันคนละหนึ่งส่วน อาทิ หากรัฐนั้นมี ประชาชนจานวนสิบล้านคน ประชาชน
แต่ละคนจะเป็นเจ้าของอานาจอธิปไตยคนละหนึ่งในสิบล้านส่วน และโดยที่สัญญาประชาคมนั้น หมายถึงการที่
ประชาชนแต่ละคนเป็นผู้ตกลงสละสิทธิบางส่วนของตนเพื่อมอบอานาจแก่รัฐในการปกป้องคุ้มครองสิทธิของ
ตนเอง เจตจานงของรัฐนั้นจึงต้องถือว่าเป็นเจตจานงของปวงชน (general will) ด้วย
2.4 หลักการแบ่งแยกอานาจ

“Power tends to corrupt, and absolute power corrupts absolutely.”


อานาจอธิปไตย

อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร อานาจตุลาการ

หลักการแบ่งแยกอานาจซึ่งเป็นหลักการสาคัญที่สุดประการหนึ่งในการปกครองแบบสมัยใหม่นั้น เป็น
แนวคิดของ Montesquieu นักปรัชญาการเมืองคนสาคัญของฝรั่งเศส ที่ริเริ่มขึ้นมาเพื่อป้องกันมิให้อานาจอธิปไตย
แห่งรัฐหนึ่งๆ นั้นตกไปอยู่กับบุคคลหรือคณะบุคคลเพียงฝ่ายหนึ่งฝ่ายเดียว โดยองค์กรผู้ใช้อานาจอธิปไตยแต่ละ
ฝ่ายนั้นสามารถใช้อานาจเพื่อตรวจสอบและถ่วงดุล (check and balance) ซึ่งกันและกันได้ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการ
ประกันสิทธิและเสรีภาพของประชาชนของรัฐนั้นๆ ไปในตัวด้วย
หากพิจารณาแผนภาพข้างต้นให้ดี จะพบว่าการแบ่งแยกอานาจตามแนวคิดของ Montesquieu นั้น มี
“กฎหมาย” เป็นศูนย์กลางในการแบ่ง กล่าวคือ อานาจนิติบัญญั ติของรัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็น
อานาจในการ บัญญัติกฎหมำย อานาจบริหารของคณะรัฐมนตรีเป็นอานาจในการ บังคับใช้กฎหมำย และอานาจ
ตุลาการขององค์กรศาลเป็นอานาจในการ พิจำรณำพิพำกษำคดีตำมกฎหมำย นั่นเอง
2.5 ศาล
“ผู้พิพากษาและตุลาการมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี
ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ให้เป็นไปโดยยุติธรรมตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย”

ศาลเป็นองค์กรผู้ใช้อานาจตุลาการ ซึ่งมีหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทที่เกิดขึ้นเป็นคดีทั้งในทางแพ่งและทาง
อาญา รวมถึงในทางกฎหมายปกครองและกฎหมายรัฐธรรมนูญด้วย เพื่อป้องมิให้คู่กรณีโดยเฉพาะที่เป็นประชาชน
ใช้กาลังทางกายภาพหรือวิธีการที่มิชอบด้วยกฎหมายใดๆ เข้าระงับข้อพิพาทนั้นด้วยตนเอง เพื่อเป็นการช่วยให้เกิด
ความเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย เพื่อความสงบเรียบร้อยของสังคม และยังเป็นการทาให้ข้อขัดแย้งในการวินิจฉัย ตีความ
บทบัญญัติต่างๆ เป็นที่ยุติลง โดยที่ ผู้พิพากษาและตุลาการนั้นจะเป็นข้าราชการการเมือง หรือผู้ดารงตาแหน่ง
ทางการเมืองมิได้
2.5.1 ศาลรัฐธรรมนูญ
ศาลรั ฐ ธรรมนู ญ มี เ พี ย งศาลเดี ย ว จั ด ตั้ ง ขึ้ น ครั้ ง แรกโดย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร พ.ศ. 2550 ประกอบด้วยตุลาการศาล
รัฐธรรมนูญ 9 คน ซึ่งแบ่งเป็นประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 1 คน
และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอื่นอีก 8 คน โดยในการออกนั่งพิจารณา
และทา “คาวินิจฉัย” แต่ละครั้งนั้นจะต้องประกอบด้วยองค์คณะตุลา
การไม่น้อยกว่า 7 คน และจะถือ เสียงข้ำงมำก เป็นสาคัญ (ตามรัฐธรรมนูญ ปี 2560)
ผู้ได้รับการ แต่งตั้ง ให้ดารงตาแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญนั้น จะได้รับการคัดเลือกมาจาก
1.) ผู้พิพากษาศาลฎีกา 3 คน 2.) ตุลาการศาลปกครองสูงสุด 2 คน
3.) ผู้ทรงคุณวุฒิสาขา....นิติศาสตร์... 1 คน 4.) ผู้ทรงคุณวุฒิสาขา...รัฐศาสตร์.... 1 คน
5.) ผู้ทรงคุณวุฒิจากผู้รับราชการหรือเคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีหรือเทียบเท่าหรือไม่ต่า
กว่ารองอัยการสูงสุด 2 คน
โดยมีวาระการดารงตาแหน่ง 7 ปี และสามารถดารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดียวเท่านั้น
ศาลรัฐธรรมนูญมีอานาจหน้าที่หลักๆ ดังนี้
1.) ตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่งกฎหมาย (ระดับพระราชบัญญัติ)
2.) วินิจฉัยความขัดแย้งเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ระหว่างรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญที่
มิใช่ศาล ตั้งแต่ 2 องค์กรขึ้นไป
3.) วินิจฉัยว่าสนธิสัญญาใดต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก่อนหรือไม่
4.) วินิจฉัยการสิ้นสุดความเป็นรัฐมนตรี และการสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกแห่งรัฐสภา
5.) วินิจฉัยคดียุบพรรคการเมือง และ
6.) วินิ จฉั ย กรณี ก ารใช้ สิ ท ธิเสรีภ าพอั น เป็ น การขัด หรือ แย้งกั บ หลั ก การของการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

NOTE: “องค์คณะผู้พิพากษา / ตุลาการ” หมายถึง จานวนผู้พิพากษาที่ต้องใช้ในการพิจารณาคดีในแต่ละครั้ง


.....ครั้ง........
2.5.2 ศาลยุติธรรม
ศาลยุติธรรมเป็นศาลหลักของประเทศ เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทยโดยพระธรรมนูญ จ.ศ. 986 (พ.ศ.
2167) แต่ปั จจุบั น อยู่ภ ายใต้พ ระธรรมนู ญ ศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 และได้แยกออกเป็ น อิสระจากกระทรวง
ยุติธรรมโดยผลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มีอานาจในการพิจารณาพิพากษา คดีทั้งปวง
เว้นแต่คดีซึ่งอยู่ในอานาจพิจารณาของศาลอื่น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือหากประชาชนไม่สามารถนาคดีขึ้นสู่ศาลอื่น
ใดได้ ก็สามารถนาคดีนั้นมาขึ้นสู่การพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรมได้เสมอ โดยแบ่งออกเป็น 3 ชั้นศาล ได้แก่
ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1.) ศาลชั้นต้น
ศาลชั้นต้นเป็นศาลที่มีอยู่ทุกท้องที่ทั่วราชอาณาจักร เป็นศาลที่จะทาหน้าที่สืบพยานและบันทึกเก็บไว้ใน
สานวนความ เพื่อเป็นหลักสาหรับใช้ในการพิจารณาคดีของศาลอุทธรณ์และศาลฎีกา โดยที่ในการออกพิจารณา
พิพากษาคดีแต่ละครั้งของศาลชั้นต้นโดยทั่วไปนั้น จะต้องประกอบไปด้วยองค์คณะผู้พิพากษาอย่างน้อย 2 คน
เว้นแต่ ในกรณีของ ศำลแขวง ซึ่งมีองค์คณะผู้พิพากษาเพียงคนเดียว, ศำลแรงงำน ซึ่งต้องมีผู้พิพากษา ผู้พิพากษา
สมทบฝ่ายนายจ้าง และผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้างฝ่ายละเท่าๆ กันจึงจะเป็นองค์คณะในการพิจารณาคดีได้, ศำล
เยำวชนและครอบครัว ซึ่งต้องมีผู้พิพากษาไม่น้อยกว่า 2 คน และผู้พิพากษาสมทบ อีก 2 คน ซึ่งต้องเป็นสตรีอย่าง
น้อย 1 คน และ ศำลทรัพย์สินทำงปัญหำและกำรค้ำระหว่ำงประเทศ ซึ่งต้องมีผู้พิพากษาอย่างน้อย 2 คน และผู้
พิพากษาสมทบอีก 1 คน

NOTE: “ผู้พิพากษาสมทบ” หมายถึง บุคคลภายนอกซึ่งมิใช่ข้าราชการตุลาการ


ที่มาร่วมเป็นองค์คณะพิจารณาพิพากษาคดีในศาลชานัญพิเศษด้วย

1.1) ศาลชั้นต้นธรรมดา

ศาล รายละเอียด
ศาลแพ่ง,
ตั้งอยูใ่ นกรุงเทพมหานคร มีอานาจในการพิจารณาพิพากษา คดีแพ่ง ทั้งปวง
ศาลแพ่งกรุงเทพใต้,
เว้นแต่ คดีซึ่งอยู่ในเขตอานาจของศาลยุติธรรมอื่นๆ
ศาลแพ่งธนบุรี
ศาลอาญา,
ตั้งอยูใ่ นกรุงเทพมหานคร มีอานาจในการพิจารณาพิพากษา คดีอำญำ ทั้งปวง
ศาลอาญากรุงเทพใต้,
เว้นแต่ คดีซึ่งอยู่ในเขตอานาจของศาลยุติธรรมอื่นๆ
ศาลอาญาธนบุรี
ตั้งอยู่ในแต่ละจังหวัดหรือบางอาเภอ มีอานาจในการพิจารณาพิพากษา
ศาลจังหวัด คดีแพ่งและคดีอำญำ ทั้งปวง เว้นแต่ คดีซึ่งอยู่ในเขตอานาจของศาลยุติธรรมอื่น
หากมีการฟ้องคดีที่อยู่ในเขตอานาจของศาลแขวงต่อศาลจังหวัด
ศาลจังหวัดไม่จาเป็นจะต้องมีคาสั่งโอนคดีไปยังศาลแขวงนั้นอีก
ศาลแขวง มีอานาจในการพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 300,000 บาท และ
คดีอาญาที่มีอัตราโทษจาคุกอย่างสูงไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือ
ทั้งจาทั้งปรับ แต่ไม่มีอานาจในการพิจารณาคดีที่ไม่มีข้อพิพาทหรือไม่มีทุนทรัพย์

1.2) ศาลชั้นต้น ชานัญ พิเศษ : ศาลชั้นต้นที่ใช้วิธีพิจารณาคดีแบบพิเศษ ซึ่งจะต้องมีผู้พิพากษาที่มี


ความรู้ความเข้าใจเฉพาะเรื่องเป็นผู้ร่วมในการพิจารณาคดีด้วย
ศาล อานาจหน้าที่
ศาลทรัพย์สนิ ทางปัญญา มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญาเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา
และการค้าระหว่างประเทศ และการค้าระหว่างประเทศ เช่น คดีเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมาย
การค้า การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าหรือตราสารการเงินระหว่างประเทศ คดี
เกี่ยวกับกับการทุ่มตลาด และคดีเกี่ยวกับการกักเรือ เป็นต้น
ศาลภาษีอากร มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งที่เกี่ยวกับภาษีอากร
ศาลแรงงาน มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง
ศาลล้มละลาย มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีล้มละลาย และคดีฟื้นฟูกิจการ
ศาลเยาวชนและครอบครัว มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่เด็ก (อายุ....ไม่เกิน 15 ปี...) หรือเยาวชน
(อายุ ....มากกว่า15ปีแต่ต่ากว่า18ปี.........) ถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิดทาง
อาญา และคดีแพ่ง ซึ่งเกี่ยวกับผู้เยาว์หรือครอบครัว

2.) ศาลอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ต้องประกอบด้วยองค์คณะผู้พิพากษาอย่างน้อย 3 คน และมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
- พิจารณาพิพากษาบรรดาคดีและคาสั่งที่อุทธรณ์มาจากศาลชั้นต้น
- พิพากษา ยืนตำม แก้ไข กลับ หรือ ยก คาพิพากษาของศาลชั้นต้น
- วินิจฉัยชี้ขาดคาร้องคาขอที่ต้องยื่นต่อศาลอุทธรณ์โดยตรง
- วินิจฉัยชี้ขาดคดีอื่นที่ศาลอุทธรณ์มีอานาจวินิจฉัยได้ เช่น คดีเกี่ยวกับการเลือกตั้งและการเพิก
ถอนสิทธิเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น เป็นต้น
3.) ศาลฎีกา
ศาลสูงสุดในระบบศาลยุติธรรม ซึ่งต้องมีองค์คณะผู้พิพากษาอย่างน้อย 3 คน และมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
- พิจารณาพิพากษาบรรดาคดีหรือคาสั่งที่อุทธรณ์มาจากศาลชั้นต้น หรือศาลอุทธรณ์
- ไม่รับพิจารณาคดีที่ศาลเห็นว่าข้อกฎหมายหรือข้อเท็จจริงที่ฎีกานั้นไม่เป็นสาระอันควรพิจารณา
- พิจารณาพิพากษาคดีที่เสนอต่อศาลฎีกาได้โดยตรง เช่น คดีเกี่ยวกับการเลือกตั้งและการเพิก
ถอนสิท ธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิ สภา และคดีอาญาของผู้ดารง
ตาแหน่งทางการเมือง เป็นต้น

NOTE: ศำลฎีกำแผนกคดีอำญำของผู้ดำรงตำแหน่งทำงกำรเมือง ประกอบไปด้วยองค์คณะผู้พิพากษา5-9 คน


จากที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาโดยให้เลือกเป็นรายคดี มีอานาจหน้าที่ในการพิจารณาคดีที่มีการกล่าวหาว่าผู้ดารง
ตาแหน่งทางการเมืองร่ารวยผิดปกติ ทุจริตหรือมีการกระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ตามกฎหมาย และคดีที่
ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน หรือยื่นด้วยข้อความอันเป็น
เท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงอันควรแจ้งให้ทราบ

2.5.3 ศาลปกครอง
ศาลปกครองเป็นศาลที่ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญ ญั ติ
จั ด ตั้ งศาลปกครองและวิธีพิ จ ารณาคดี ป กครอง พ.ศ. 2542
ตามที่ได้กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
2540 แบ่งออกเป็น 2 ชั้นศาล ได้แก่ ศาล ปกครองชั้นต้น ซึ่งมี
ทั้งที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานครและที่กระจายออกไปอยู่ทั่วทุก
ภูมิภาค และศาลปกครองสูงสุด โดยในการออกพิจารณาพิพากษาคดีปกครองแต่ละครั้งนั้น หากเป็นศาลปกครอง
ชั้นต้น ต้องประกอบด้วยองค์คณะอย่างน้อย 3 คน แต่หากเป็นศาลปกครองสูงสุด จะต้องประกอบด้วยองค์คณะ
อย่างน้อย 5 คน
ศาลปกครองมีอานาจในการพิจารณาพิพากษา หรือมีคาสั่งในคดีหลักๆ ดังนี้
1.) คดีพิพาทอันเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐออกกฎ คาสั่ง หรือกระทาการ
อื่นใดโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
2.) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อการปฏิบัติหน้าที่ หรือ
ปฏิบัติหน้าที่นั้นล่าช้าเกินสมควร
3.) คดีพิพาทอันเกี่ยวกับการกระทาละเมิดของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งเกิดจาก
การใช้อานาจอันชอบด้วยกฎหมาย และ
4.) คดีพิพาทอันเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง

NOTE: ในกรณีที่กฎหมายซึ่งอยู่ในระดับพระราชบัญญัตขิ ัดแย้งกับรัฐธรรมนูญ ต้องฟ้องศาลรัฐธรรมนูญ


แต่หากกฎหมายที่ขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญนัน้ อยู่ในระดับต่ากว่าพระราชบัญญัติ ต้องฟ้องศาลปกครอง
2.5.4 ศาลทหาร
ศาลทหารจัดตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกโดยพระราชบัญ ญั ติ ธรรมนูญ ศาล
ทหาร พ.ศ. 2498 สังกัดอยู่ในกระทรวงกลาโหม โดยแบ่งออกเป็น 3 ชั้นศาล
ได้แก่ ศาลทหารชั้นต้น ศาลทหารกลาง และศาลทหารสูงสุด มีอานาจหน้าที่
ในการพิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี ที่ บุ ค คลกระท าผิ ด ต่ อ กฎหมายทหาร หรื อ
กฎหมายอื่นในทางอาญา ซึ่งมีผู้กระทาผิดเป็นบุคคลที่อยู่ในอานาจศาลทหาร
กล่าวคือ นายทหารชั้นสัญญาบัตร, นายทหารประทวน, พลทหารกองประจาการ หรือบุคคลอื่นที่รับราชการทหาร,
นักเรียนทหาร, พลเรือนที่สังกัดอยู่ในราชการทหาร, บุคคลที่อยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารโดยชอบ
ด้วยกฎหมาย และเชลยศึกหรือชนชาติศัตรูซึ่งอยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร
ส าหรับ องค์ ค ณะในการพิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี ข องศาลทหารในแต่ ล ะครั้งนั้ น หากเป็ น ศาลทหารชั้ น ต้ น ต้ อ ง
ประกอบด้วยตุลาการ 3 นาย หากเป็นศาลทหารกลางต้องประกอบด้วยตุลาการ 5 นาย และหากเป็นศาลทหาร
สูงสุด ก็จะต้องประกอบด้วยตุลาการ 5 นาย

NOTE: “ตุลาการศาลทหาร” ไม่จาเป็นจะต้องจบการศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต และ


“ตุลาการพระธรรมนูญ” ก็ไม่จาเป็นจะต้องจบการศึกษาระดับเนติบัณฑิตหรือผ่านการสอบใดๆ

3.) กฎหมายปกครอง
3.1 ความหมายของกฎหมายปกครอง
กฎหมายปกครอง (Administrative Law) หมายถึง บรรดากฎหมายมหาชนที่ว่าด้วยเรื่องของการจัด
โครงสร้างองค์การของฝ่ายปกครอง การดาเนินกิจกรรมทางปกครอง ตลอดจนการควบคุมตรวจสอบการดาเนิน
กิจกรรมเหล่านั้น เช่น พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน, พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน, พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง, พ.ร.บ.เทศบาล, พ.ร.บ.องค์การบริหารส่วนจังหวัด, พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์
ฉุกเฉิน และ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง เป็นต้น
3.2 ฝ่ายปกครอง
ฝ่ายปกครอง หมายถึง บรรดาองค์กรและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ใช้อานาจมหาชน ซึ่งมิใช่ฝ่ายนิติบัญญัติหรือ
ฝ่ ายตุ ล าการ แต่ เป็ น องค์ ก รฝ่ ายบริห ารที่ ได้ รับ อ ำนำจจำกกฎหมำยระดั บ พระรำชบั ญ ญั ติ มี อ านาจหน้ า ที่
ดาเนินการต่างๆ ตามแนวนโยบายของรัฐบาล
นอกจากองค์กรที่ได้กล่าวถึงไปข้างต้นแล้ว คาว่า “ฝ่ายปกครอง” ยังหมายความรวมถึงบรรดาองค์กรอิสระ
ตามรัฐธรรมนูญ หน่วยงานอิสระของรัฐ (หน่วยงานธุรการขององค์กรต่างๆ ของรัฐ เช่น สานักงานศาลยุติธรรม
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สานักงานอัยการสูงสุด ฯลฯ) องค์กรวิชาชีพ เฉพาะในกรณีที่องค์เหล่านั้น
ใช้อานาจทางปกครอง (เช่น ....สภาทนายความฯที่สามารถสั่งเพิกถอนใบอนุญาตทนายความ........) และรวมถึง
คณะรัฐประหาร ซึ่งได้กระทาการในฐานะที่เป็นฝ่ายปกครองอีกด้วย

กองทัพบก,เรือ,อากาศ มหาวิทยาลัยในระบบ สานักงานตารวจแห่งชาติ

การไฟฟ้า
การประปา การรถไฟ

มหาวิทยาลัยนอกระบบ
สวทช. สทศ.
3.3 การกระทาทางปกครอง
การกระทาทางปกครอง หมายถึ ง การดาเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครองที่เกิดจากการใช้อานาจมหาชน
ภายใต้กฎหมายระดับพระราชบัญญัติ ในการจัดทาบริการสาธารณะเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน
เราอาจแบ่งรูปแบบของการกระทาทางปกครองออกได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้

การกระทาทางข้อเท็จจริง ปฏิบัติกำรทำงปกครอง
การกระทาทางปกครอง
นิติกรรมทางปกครอง กฎ และ คำสั่งทำงปกครอง
สัญญำทำงปกครอง

3.3.1 ปฏิบัติการทางปกครอง
ปฏิบัติการทางปกครอง หมายถึงการกระทาในทางข้อเท็จจริงของฝ่ายปกครองที่มิได้มุ่งโดยตรงต่อการผูก
นิติสัมพันธ์ตามกฎหมาย แต่ก็อาจก่อให้เกิดผลในทางกฎหมาย ( ..ละเมิด..) ได้ในบางกรณี อาจมีลักษณะเป็นการ
กระทาทางกายภาพ เช่น การซ้อมรบของทหาร การเคลื่อนย้ายสิ่งกีด ขวางถนนของตารวจจราจร การควบคุมการ
รื้อถอนอาคารที่สร้างผิดแบบ การออกประกาศเตือนประชาชน ฯลฯ หรืออาจไม่เป็นการกระทาที่ใช้กาลังทาง
กายภาพก็ได้ เช่น การพิจารณาออกนิติกรรมทางปกครอง การให้คาปรึกษาหรือให้ข้อเสนอแนะของเจ้าหน้าที่ ฯลฯ
3.3.2 กฎ
กฎ หมายถึง นิติกรรมทางปกครองที่ถูกตราขึ้นโดยฝ่ายบริหารหรือฝ่ายปกครอง โดยอาศัยอานาจตาม
กฎหมายระดับพระราชบัญญัติเป็นกฎหมายแม่บท มีผลบังคับเป็นกำรทั่วไปโดยไม่มุ่งหมำยให้ใช้บังคับแก่กรณีใด
หรือบุคคลใดเป็นกำรเฉพำะ ได้แก่ พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.), กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่ น
(เช่น ...........เทศบัญญัติ...........) ระเบียบ ข้อบังคับ เป็นต้น
3.3.3 คาสั่งทางปกครอง
คาสั่ง หมายถึง นิติกรรมทางปกครองที่ มีผลบังคับเป็นกำรเฉพำะ เป็นการใช้อานาจตามกฎหมายของ
เจ้ าหน้ าที่ ฝ่ ายปกครอง โดยฝ่ ำยเดี ยว มี ผ ลเป็ น การสร้าง ......นิ ติ สั ม พั น ธ์ ..... ขึ้น ระหว่างบุ ค คลในอั น ที่ จะก่ อ
เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพหรือสิทธิหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าเป็นการถาวรหรือ
เป็นการชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับร้อง การรับจดทะเบี ยน การ
แต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ และการไล่ออกจากราชการ ทั้งนี้ โดยมิได้หมายความรวมถึงการออกกฎ
3.3.4 สัญญาทางปกครอง
สัญญาทางปกครอง หมายถึง สัญญาซึ่งคู่สัญญาอย่างน้อยฝ่ายหนึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครองหรือเป็น
บุคคลซึ่งกระทาการแทนรัฐ และจะต้องมีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องหนึ่งเรื่องใดดังต่อไปนี้ กล่าวคือ
1.) สัมปทาน .................เช่น คลื่นความถี่ โดย กสทช. ..................
2.) การจัดทาบริการสาธารณะ ........................เช่น รถเก็บชยะ................................
3.) การจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค ........................เช่น สร้างถนน ..............................................
4.) การแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ............เช่น สัมปทานป่าไม้ สัมปาทานรังนก.................

NOTE: แม้จะมีคู่สญ
ั ญาฝ่ายหนึ่งเป็นฝ่ายปกครอง สัญญาดังกล่าวก็อาจมิใช่ “สัญญาทางปกครอง” ก็ได้
แต่อาจเป็น “สัญญาทางแพ่ง” ทั่วๆ ไป หากว่าสัญญานัน้ ๆ ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น
เช่น สัญญาเช่าทีเ่ อกชนเพื่อใช้เป็นที่ทาการของหน่วยงานของรัฐ สัญญาขายไฟฟ้า-น้าประปา ฯลฯ
NOTE: หากเกิดข้อพิพาทอันเกี่ยวด้วยสัญญาทางปกครอง จะต้องฟ้องต่อ “....ศาลปกครอง.....”
แต่หากข้อพิพาทนั้นเกี่ยวด้วยสัญญาทางแพ่งทั่วๆ ไป จะต้องฟ้องต่อ “......ศาลยุติธรรม....”
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
COMPARATIVE TABLE
กฎหมายปกครอง กฎหมายเอกชน
ฝ่ายปกครองมีอานาจเหนือกว่าราษฎร สามารถใช้ ตั้งอยู่บนฐานของหลักความศักดิ์สิทธิ์ในการแสดง
อานาจนั้นบังคับการตามกฎหมายได้โดยไม่จาต้องได้รับ เจตนา (Autonomy of Will) ซึ่ งเอกชนแต่ ล ะคนมี
ความยินยอมจากราษฎร ความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
การกระทาใดๆ ของฝ่ายปกครองจะต้องไม่ขัดต่อ เอกชนสามารถดาเนินกิจกรรมใดๆ ระหว่างกันก็
กฎหมาย และฝ่ ายปกครองจะด าเนิ น การใดโดยไม่ มี ได้ตราบเท่าที่กิจกรรมนั้นไม่ขัดต่อกฎหมาย ตามหลัก
กฎหมายให้อานาจในการกระทามิได้ (หลักความชอบ อิสระในทางแพ่ง (Private Autonomy)
ด้วยกฎหมายของการกระทาทางปกครอง)
3.4 ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่รัฐ

เจ้าหน้าที่รัฐทาละเมิด

ในการปฏิบัติหน้าที่ ในทางส่วนตัว
ฟ้อง ฟ้อง

หน่วยงาน ชดใช้ เจ้าหน้าที่ ชดใช้


ผู้เสียหาย ผู้เสียหาย
(ห้ามฟ้องเจ้าหน้าที่) (ห้ามฟ้องหน่วยงาน)

ใช้อานาจตามกฎหมาย ไม่ได้ใช้อานาจฯ ฟ้องต่อ


ฟ้องต่อ ฟ้องต่อ ศาลยุติธรรม

ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม

เจ้าหน้าที่ประมาทเลินเล่อธรรมดา ไล่เบี้ยคืนไม่ได้

เจ้าหน้าที่จงใจ / ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ไล่เบี้ยคืนได้

..............................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................
แบบฝึกหัดในส่วนของกฎหมายมหาชน
1).แนวคิดหลักการแบ่งแยกอานาจเป็นแนวคิดของใคร
ก).John Locke ข).Jean Bodin ค).Jean-Jacques Rousseau ง).Montesquieu
2).ข้อใดมิใช่องค์ประกอบของรัฐในทางกฎหมายมหาชน
ก).ดินแดน ข).ประชากร ค).ทหาร ง).อานาจรัฐ
3).ข้อใดเป็นรัฐเดี่ยวทั้งหมด
ก).ออสเตรเลีย สิงคโปร์ ข).ญี่ปุ่น มาเลเซีย ค).อังกฤษ สเปน ง).สวีเดน แคนาดา
4).”อานาจอันชอบธรรมที่กฎหมายรับรองให้บุคคลสามารถใช้ยันต่อสู้กับบุคคลอื่นเพื่อคุ้มครองหรือรักษา
ผลประโยชน์อันเป็นส่วนที่ตนพึงมีพึงได้”ข้อความนี้เป็นความหมายของข้อใด
ก).เสรีภาพ ข).สิทธิ ค).ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ง).ความเสมอภาค
5).ข้อความใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ”อานาจอธิปไตย”
ก).ใช้กฎหมายเป็นศูนย์กลางในการแบ่งอานาจ
ข).เพื่อให้สามารถตรวจสอบและถ่วงดุลการใช้อานาจ
ค).ศาลเป็นผู้ใช้อานาจตุลาการ
ง).คณะรัฐมนตรีเป็นผูใ้ ช้อานาจนิติบัญญัติ
6).ข้อใดเป็นศาลยุติธรรมทั้งหมด
ก).ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลแขวงเชียงใหม่ ศาลแรงงาน
ข).ศาลภาษีอากรกลาง ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ศาลทหารกลาง
ค).ศาลอาญาธนบุรี ศาลอุทธรณ์ภาค 3 ศาลปกครองกลาง
ง).ศาลล้มละลาย ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลแขวงเบตง
7).ข้อใดมิใช่องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ 2560
ก).คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ข).คณะกรรมการการเลือกตั้ง
ค).สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม
ง).ผู้ตรวจการแผ่นดิน
8).บุคคลใดไม่มีอานาจเสนอร่างพระราชบัญญัติได้
ก).สมาชิกวุฒสิ ภา
ข).สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ค).ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ง).คณะรัฐมนตรี
9).ข้อใดมิใช่กฎหมายปกครอง
ก).กฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน
ข).กฎหมายว่าด้วยเทศบาล
ค).กฎหมายมรดก
ง).กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
10).หน่วยงานใดมิใช่ราชการส่วนกลาง
ก).สานักงานตารวจแห่งชาติ
ข).กรมประมง
ค).กรมทางหลวงชนบท
ง).คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
__________________________________________________

You might also like