You are on page 1of 10

ประเด็นปัญหาข้อกฎหมายน่าสนใจ

ปี 2566
(ประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา)

โดย
นายวัชรพล กุประดิษฐ์
คานา

ผู้ เขี ย นได้ ท ำกำรรวบรวม ประเด็ น ข้ อ กฎหมำยน่ ำสนใจ ประจ ำปี 2566 โดยรวบรวมพร้อ มทั้ ง
ข้อสังเกต เพียงเท่ำที่ผู้เขียนจะมีควำมสำมำรถเท่ำนั้น โดยผู้เขียนมีควำมประสงค์ที่จะทำเอกสำรนี้ เพื่อให้เป็น
ประโยชน์แก่ผู้ที่ประสงค์จะเตรียมสอบ ผู้ช่วยผู้พิพำกษำ อัยกำรผู้ช่วย หรือ ใช้สำหรับเพิ่มพูนควำมรู้แม้เพียง
เล็กน้อย
หำกผู้อ่ำนเห็นว่ำคำพิพำกษำฎีกำ หรือ ข้อสังเกต หรือกำรพิสูจน์อักษรของผู้เขียนนั้นไม่ถูกต้อง ไม่
เป็นไปตำมหลักกฎหมำย ผู้เขียนก็ขอกรำบประทำนอภัยและ น้อมรับคำติชมทุกกรณี

นายวัชรพล กุประดิษฐ์
3

ประเด็นข้อกฎหมายน่าสนใจ ประจาปี 25661


1. ศาลอุท ธรณ์ พิ พากษาแก้ โดยเพิ่ มบทบัญ ญั ติอื่น ที่ไม่ใช่บทความผิดอกีบ ทหนึ่ง เป็น การแก้ไข
เล็กน้อย
คาพิพากษาฎีกาที่ 2423/2563 ศาลอุทธรณ์ภาค 8 แก้ไขคาพิพากษาศาลชั้นต้นโดยใช้
บทบัญ ญัติป ระมวลกฎหมำยอำญำ มาตรา 316 ซึ่งมิใช่เป็น บทความผิดอีกบทหนึ่ง ต่ำงหำกกำหนดโทษ
จำเลยน้อยลง แต่ ยังคงพิพากษาว่า จาเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 313 (2) (3)
วรรคแรก (เดิม) ตำมที่ศำลชั้นต้นยกขึ้นปรับบท เป็นเพียงการแก้ไขเล็กน้อย แม้จะยังคงลงโทษจำคุกจำเลย
เกินห้ำปี ก็ต้องห้ำมมิให้โจทก์ ฎีกำในปัญหำข้อเท็จจริง ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำม อำญำ มำตรำ
218 วรรคสอง

2. โจทก์ฟ้องความผิด อาญาแผ่น ดิ น ศาลพิ พากษาปรับบทเป็น ความผิดต่อส่วนตัวตามประมวล


กฎหมายวิธีพิจารณาควาอาญา มาตรา 192 เมื่อยังไม่มีคาพิพากษาของศาลที่สูงกว่าแก้ไข เปลี่ยนแปลง
ต้องฟังว่าเป็นความผิดต่อส่วนตัว เมื่อมีการถอนคาร้องทุกข์ สิทธินาคดีอาญามาฟ้องระงับ คาพิพากษา
ของศาลล่างเป็นอันระงับไปในตัว อุทธรณ์ ฎีกา ไม่ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ 2972/2563 โจทก์ ฟ้ อ งขอให้ ล งโทษจ ำเลยตำมประมวลกฎหมำย
อำญำ มาตรา 335, 91 ให้จำเลยคืนหรือใช้เงินที่ยังไม่ได้คืนแก่ผู้เสียหำย อันเป็นควำมผิดอำญำแผ่นดิน ศาล
ชั้นต้นพิพากษาลงโทษจาเลยตาม มาตรา 335 (11) ศาลอุทธรณ์ลงโทษจำเลยตำมประมวลกฎหมำย อำญำ
มาตรา 352 ตำมข้อเท็จจริงที่ได้ควำม ตำมประมวลกฎหมำย วิธีพิจำรณำควำมอำญำ มำตรำ 192 วรรคสอง
และวรรคสำม เมื่อยังไม่มีคาพิพากษาศาลฎีกาเปลี่ยนแปลงแก้ไขคาพิพากษา ศาลอุทธรณ์ ถือว่าคดีเป็น
ความผิดต่อส่วนตัวตำมที่ศำลอุทธรณ์ พิพำกษำ กำรที่ผู้เสียหายถอนคาร้องทุกข์ต่อศำลชั้นต้นก่อนโจทก์ ยื่น
ฎีกำ ศำลชั้น ต้น อนุ ญ ำตและจ ำหน่ ำยคดี สิ ทธิ น าคดี อาญามาฟ้ อง ย่อมระงับ ตำมประมวลกฎหมำยวิธี
พิจำรณำควำมอำญำ มำตรำ 39 (2) คาพิพากษาศาลล่างเป็นอันระงับไปในตัว ไม่มีผลบังคับ กรณีไม่มี คา
พิพากษาศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาและยกฎีกา ของโจทก์

3. โจทก์ซื้อที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน ก่อนมีการออก ส.ป.ก.4-01 จาเลยแจ้งต่อเจ้าพนักงานสานักงาน


ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมว่า จาเลยเป็นผู้ครอบครองที่ดินเป็นเวลา 35 ปีแล้ว แม้จะฟังได้ว่าข้อความที่
จาเลยแจ้งเป็นความเท็จ โจทก์ก็ไม่ใช่ผู้ได้รับความเสียหายจากการกระทาของจาเลย
คาพิพากษาฎีกาที่ 3734/2563 ที่ ดิ น พิ พ าทอยู่ ในเขตปฏิ รู ป ที่ ดิ น เป็ น กรรมสิ ท ธิ์ ข อง
สานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หำกโจทก์ซื้อที่ดินพิพาทมาจากบุคคลอื่นก็เป็นการซื้อขายที่ดิน
ของรัฐไม่อาจอ้างสิทธิใช้ยันต่ อรัฐได้ และ หากประสงค์จะขอเข้ารับการจัดที่ดินต้องเข้าสู่กระบวนการ
1
นายวัชรพล กุประดิษฐ์ นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1), น.บ.ท.
4

พิจารณา ตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำรและเงื่อนไขในกำรคัดเลือกเกษตรกรเข้ำ ถือครองและทำประโยชน์ในที่ดิน


ตำมที่คณะกรรมกำรปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมกำหนด ตำมพระรำชบัญญัติกำรปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม
พ.ศ. 2518 มำตรำ 19 (7) และ 36 ทวิ ประกอบกับ ระเบียบคณะกรรมกำรปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมฯ พ.ศ.
2535 ซึ่ง ไม่แน่นอนว่าโจทก์จะได้รับการพิจารณาว่าเป็นเกษตรกรผู้มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน รวมทั้งได้รับ
เอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 หรือไม่ เพรำะ เจตนำรมณ์ของบทบัญญัติแห่งกฎหมำยมุ่งหมำยในกำรจัดที่ดิน
ให้แก่ เกษตรกรผู้ไม่มีที่ดินของตนเองหรือมีที่ดินเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่กำร ครองชีพเท่ำนั้น แม้จะมีข้อผ่อนผัน
ให้ ผู้ มี ที่ดิ น จ ำนวนมำกสำมำรถ กระจำยสิ ท ธิให้ แก่ บุค คลอื่ นได้ก็ ตำม อี กทั้ งที่ ดิน พิ พ ำทมีก ำรโต้ แย้ง กำร
ครอบครองระหว่ำงโจทก์และจำเลย และยังไม่ได้มีกำรออกเอกสำร สิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ให้แก่ผู้ใด จึงเป็นกรณีที่
จะต้องมีกำรพิสูจน์ต่อไปว่ำผู้ใดอยู่ในฐำนะที่จะได้รับเอกสำรสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ที่อนุญำตให้ เข้ำทำประโยชน์
ในที่ดิน พิพำทที่อยู่ในเขตปฏิรูปที่ดิน เมื่อที่ดินพิพาท ยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของรัฐ การที่จาเลยไปแจ้งต่อ
เจ้าหน้าที่ปฏิรูปที่ดิน สานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรว่าจาเลยเป็นผู้ครอบครองที่ดิน พิพาทต่อเนื่อง
ยาวนาน 35 ปี เพื่อประกอบการขอออกเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ถึงหากจะเป็นความเท็จ โจทก์ซึ่งยังไม่มี
สิทธิในที่ดิน พิพาทย่อมไม่ได้รับความเสียหายใด ๆ จากการกระทาของจาเลย โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายทาง
อาญา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา มาตรา 2 (4) ไม่มีอานาจฟ้อง

4. ไม่ลงลายมือชื่อผู้อุทธรณ์ แก้ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ 1961-1962/2564 จาเลยทั้งสองไม่ได้ลงชื่อผู้อุทธรณ์เป็นฟ้องอุทธรณ์
ที่ไม่ถูกต้อง ตำมกฎหมำย ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ มำตรำ 158 (7) ศาลอุทธรณ์ภาค 6
ชอบที่จ ะต้ อ งมีค าสั่งให้ศ าลชั้ น ต้ น สั่ ง ให้ จาเลยทั้ งสองผู้ยื่น ฟ้ องอุทธรณ์ แ ก้ไขให้ ถูกต้อ งเสี ยก่อน ตำม
ประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ มำตรำ 161 กำรที่ศำล อุทธรณ์ภำค 6 ด่วนพิจำรณำไม่รับวินิจฉัย
และยกอุทธรณ์ของจำเลย ทั้งสองโดยไม่ได้ให้จำเลยทั้งสองแก้ไขข้อบกพร่องเป็นกำรไม่ชอบ

5. คาพิพากษาให้เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ เป็นมาตรการทานองเดียวกับวิธีการเพื่อความปลอดภัย
ต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219 ทวิ
คาสั่งคาร้องที่ ท.839/2561 คำพิพำกษำของศำลอุทธรณ์ที่ให้เพิกถอนใบอนุญำตขับขี่ของ
จำเลยมิใช่เป็นกำรกำหนดโทษในทำงอำญำแก่จำเลย แต่ เป็นมาตรการทานองเดียวกันกับวิธีการเพื่อความ
ปลอดภัย ฎีกำของจำเลยคัดค้ำนดุลพินิจของศำลอุทธรณ์ทีให้เพิกถอนใบอนุญำตขับขี่ของจำเลยแต่เพียงอย่ำง
เดียว จึงเป็นฎีกาที่ต้องห้ามตามป.วิอาญา มาตรา 219 ทวิ วรรคหนึ่ง

6. บรรยายฟ้องเรื่องเพิ่มโทษแล้ว บทกฎหมายที่ขอให้ลงโทษระบุบทมาตราเพิ่มโทษแล้ว แต่ไม่ได้


ขอให้ศาลเพิ่มโทษจาเลย จาเลยให้การรับสารภาพ และรับว่าเป็นบุคคลเดียวกับที่เพิ่มโทษ เพิ่มโทษได้
5

ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ 2881/2564 ค ำฟ้ อ งของโจทก์ ก ล่ ำ วบรรยายว่ า จ าเลยต้ อ งค า


พิพากษาให้ จาคุกมาแล้ว และจาเลยมากระทาความผิดในคดีนี้อีกภายในเวลาห้าปีนับแต่วั นพ้นโทษ อัน
จะเป็นเหตุให้ถูกเพิ่มโทษ และอ้าง บทบัญญัติเรื่องเพิ่มโทษมำในคำขอท้ำยฟ้องด้วย แม้ในคาขอท้าย ฟ้องจะ
มิได้ระบุขอให้เพิ่มโทษจาเลยไว้อีกก็ตาม ก็ถือได้ว่าโจทก์ได้ขอให้เพิ่มโทษจาเลยแล้ว เมื่อจำเลยให้กำรรับ
สำรภำพกับรับว่ำเคย ต้องโทษและพ้นโทษมำแล้วตำมฟ้อง แสดงว่ำจำเลยรับข้อเท็จจริงที่ โจทก์อ้ำงมำในคำ
ขอให้ เพิ่ มโทษด้วย ดังนี้ อยู่ ในหลั กเกณฑ์ ที่จะ เพิ่ มโทษจำเลยหนึ่ งในสำมของโทษที่ศ ำลกำหนด ส ำหรับ
ควำมผิดใน คดีนี้ได้ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ 92 หำใช่เป็นกำร พิพำกษำเกินคำขอไม่

7. ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 354 ประกอบมาตรา 352 จาคุก


4 ปี ศาลอุทธรณ์ พิพ ากษาลงโทษตามมาตรา 352 ไม่ลงโทษ 354 จาคุก 1 ปี 6 เดือน เป็น การแก้ไข
เล็กน้อย
ค าพิ พ ากษาฎี กาที่ 4464/2563 ป.อ. มาตรา 354 เป็ น บทบั ญ ญั ติ ถึงเหตุ ที่ จะท าให้
ผู้กระทาความผิด ตาม ป.อ. มาตรา 352 ต้องรับโทษหนักขึ้น หาใช่เป็นความผิดอีกบทหนึ่ง ต่างหากไม่
คดีนี้ศาลชั้นต้นพิพากษาว่ำจำเลยที่ 1 มีควำมผิดตำม ป.อ. มาตรา 354 (เดิม) ประกอบมาตรา 352 วรรค
หนึ่ง (เดิม) จาคุก 4 ปี กำรที่ศาลอุทธรณ์ภำค 4 พิพำกษำแก้คำพิพำกษำศำลชั้นต้นเป็นไม่ลงโทษ ตาม ป.อ.
มาตรา 354 แต่ยังพิพากษาว่าจาเลยมีความผิดตามมาตรา 352 แม้จะแก้ไขโทษด้วย โดยเมื่อลดโทษแล้ว
คงจาคุก 1 ปี 6 เดือน ก็เป็นเพียง การแก้ไขให้เป็นไปตามระวางโทษที่กฎหมายบัญญัติไว้ว่าจาคุกไม่เกิน
สามปี จึงเป็นการแก้ไขเล็กน้อยจึงเป็นคดีต้องห้ำมมิให้คู่ควำมฎีกำ ในปัญหำข้อเท็จจริง ตำม ป.วิ.อ. มำตรำ
218 วรรคหนึ่ง ฎีกำของจำเลยที่ 1 ยกข้อเท็จจริงขึ้นกล่ำวอ้ำงว่ำจำเลยที่ 1 ไม่ได้กระทำควำมผิดตำมที่ศำล
อุทธรณ์ ภำค 4 พิพำกษำ กับขอให้ลงโทษสถำนเบำและรอกำรลงโทษนั้น ล้วนเป็น ฎีกำในปัญหำข้ อเท็จจริง
และฎีกำในข้อที่ 2 ที่ว่ำคดีโจทก์ขำดอำยุควำมนั้น ในกำรวินิจฉัยปัญหำดังกล่ำวศำลฎีกำต้องย้อนไปวินิจฉัย
ข้อเท็จจริงว่ำ โจทก์ทั้งแปดสิบสองรู้เรื่องควำมผิดและรู้ตัวผู้กระทำควำมผิดและร้องทุกข์ ภำยในสำมเดือนนับ
แต่วัน ที่รู้เรื่องควำมผิดและรู้ตัวผู้กระทำควำมผิด หรือไม่ อันเป็นฎีกำที่มีลักษณะโต้แย้งดุลพินิจกำรรับฟัง
พยำนหลักฐำน ที่ศำลอุทธรณ์ภำค 4 ฟังมำ เพื่อนำไปสู่กำรวินิจฉัยปัญหำข้อกฎหมำย จึงเป็นฎีกำในปัญหำ
ข้อเท็จจริง

8. การพั ก ใช้ ใ บอนุ ญ าตขั บ ขี่ ไ ม่ ใ ช่ โทษทางอาญา แต่ มี ลั ก ษณะเป็ น วิ ธี ก ารเพื่ อ ความปลอดภั ย
ต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219 ทวิ
คาพิพากษาฎีกาที่ 5331/2563(ป.) การพักใช้ใบอนุญาตขับขี่หรือเพิกถอนใบอนุญาต
ขับขี่ ตำม พ.ร.บ.จรำจรทำงบก พ.ศ.2522 แม้มิใช่โทษที่ใช้สำหรับลงโทษ ผู้กระทำควำมผิดตาม ป.อ. มาตรา
18 หรือวิธีการเพื่อความปลอดภัยตาม มาตรา 29 ก็ตาม แต่ก็มีบทบังคับเช่นเดียวกับวิธีการเพื่อความ
ปลอดภัย ด้วยเจตนำคุ้มครองประชำชนหรือสังคมเพื่อป้องกันมิให้ผู้ถูกพักใช้ ใบอนุญำตขับขี่หรือเพิกถอน
6

ใบอนุญำตขับขี่ไปขับขี่รถยนต์หรือรถจักรยำนยนต์ ในกรณีที่ก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่ผู้อื่นอีกตำมควำมมุ่ง
หมำยและเจตนำรมณ์ ของกฎหมำยเพื่อคุ้มครองประชำชนทั่วไปมิให้ได้รับอันตรำยที่อำจเกิดจำก กำรกระทำ
ของผู้กระทำควำมผิด กำรพักใช้ใบอนุญำตขับขี่จึงเป็นวิธีกำร เพื่อควำมปลอดภัยที่มีควำมสำคัญเพื่อป้องปรำม
มิให้ผู้ขับขี่กลับไป กระทำควำมผิดในช่วงระยะเวลำที่ถูกพักใช้ใบอนุญำต

9. มูลหนี้เดิมเป็นหนี้กู้ยืมเงินที่มีการคิดดอกเบี้ยเกินอัตรา จาเลยออกเช็คชาระหนี้เงินดังกล่าว เมื่อ


เช็คไม่สามารถขึ้นเงินได้ ผู้เสียหายไม่ใช่ผู้เสียหายโดยนิตินัย
คาพิพากษาฎีกาที่ 2181/2564 ยอดเงินกู้ตำมสัญญำกู้ยืมเงิน มีที่มำจำกกำรนำหนี้เก่ำ
รวมกับ ดอกเบี้ยในอัตรำร้อยละ 10 ต่อเดือน เมื่อยอดเงินตำมสัญญำกู้ยืมเงิน ดังกล่ำวมีดอกเบี้ยที่โจทก์ร่วม
เรี ย กในอัต รำร้ อ ยละ 10 ต่อ เดื อน ซึ่งเป็ น ดอกเบี้ ย เกิ น กว่ำอัต รำที่ กฎหมำยก ำหนดรวมอยู่ ด้ว ย อั น เป็ น
ควำมผิดตำม พ.ร.บ.ห้ำมเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรำ พ.ศ. 2560 มำตรำ 4 (1) การที่โจทก์ ร่วมรับเช็คพิพาททั้ง
ห้าฉบับจากจาเลยเพื่อชาระหนี้เงินกู้ยืมดังกล่าวโดย มีดอกเบี้ยที่โจทก์ร่วมเรียกเกินกว่าอัตราที่กฎหมาย
กาหนดรวมอยู่ด้วย แม้ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คดังกล่าว ก็จะถือว่าโจทก์ร่วมเป็น ผู้เสียหายตาม
ป.วิ.อ. มาตรา 2 (4) ไม่ได้ แม้โจทก์ร่วมจะร้องทุกข์ต่อจำเลยตำม พ.ร.บ.ว่ำด้วยควำมผิดอันเกิดจำกกำรใช้
เช็ค พ.ศ.2534 มำตรำ 4 ก็ตำม ถือไม่ได้ว่ำมีกำรร้องทุกข์และสอบสวนโดยชอบตำมกฎหมำยแล้วพนักงำน
อัย กำรโจทก์ไม่มี อำนำจฟ้ องตำม ป.วิ.อ. มำตรำ 120 และ 121 ประกอบ พ.ร.บ.จัดตั้ งศำลแขวงและวิธี
พิจำรณำควำมอำญำ ในศำลแขวง พ.ศ.2499 มำตรำ 4

10. ความผิดฐานฟ้องเท็จ โจทก์ไม่ได้บรรยายฟ้องว่าข้อความที่เป็นเท็จ ความจริงเป็นอย่างไร และ


ผู้กระทาทราบว่าข้อความที่นาไปฟ้องนั้นเป็นเท็จด้วย เป็นฟ้องไม่ชอบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา 158 (5) ยกฟ้อง แต่เป็นการยกฟ้องที่ศาลยังไม่ได้วินิจฉัยถึงการกระทาความผิดของ
จาเลย ฟ้องใหม่ได้ ไม่ต้องห้ามมาตรา 39 (4)
คาพิพากษาฎีกาที่ 2555/2564 คดีก่อนศำลอุทธรณ์ภำค 1 วินิจฉัยว่ำ ความผิดฐานฟ้อง
เท็จ โจทก์ต้องบรรยายฟ้องถึงข้อความตามที่อ้างว่าเป็นเท็จ โดยมีความจริงว่าอย่างไร และผู้กระทาทราบ
ว่าความที่นาไปฟ้องนั้นเป็นเท็จด้วย แต่โจทก์ทั้งสอง ไม่ได้บรรยำยฟ้องยืนยันข้อเท็จจริงที่เป็นควำมจริงด้วย
ว่ำควำมจริง จำเลยทั้งสองทรำบเป็นอย่ำงดีมำก่อนว่ำควำมที่นำไปฟ้องนั้นเป็นเท็จ ถือว่ำ ฟ้องโจทก์ทั้งสอง
ไม่ได้บรรยายถึงการกระทาทั้งหลายของจาเลยทั้งสอง ที่อ้ำงว่ำจำเลยทั้งสองฟ้องเท็จพอสมควรเท่ำที่จะให้
จำเลยทั้งสองเข้ำใจ ข้อหำได้ดี จึงเป็นฟ้องที่ไม่สมบูรณ์ และไม่ชอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 158 (5) คดีไม่มีมูล
ควำมผิดตำม ป.อ. มำตรำ 175 แล้วพิพากษายกฟ้อง ในควำมผิดตำม ป.อ. มำตรำ 175 นั้น คดีก่อนศำล
อุทธรณ์ภำค 1 พิพำกษำยกฟ้อง เพรำะโจทก์ทั้งสองบรรยำยฟ้องไม่ชอบด้วย ป.วิ.อ. มำตรำ 158 (5) โดยยัง
มิ ได้ วิ นิ จ ฉั ย ถึ งการกระท าของจ าเลยทั้ งสอง ตามข้ อ กล่ า วหาของโจทก์ ทั้ งสอง จึ งถือ ไม่ ได้ ว่ า เป็ น ค า
7

พิพากษาที่ได้วินิจฉัย ในความผิดซึ่งได้ฟ้อง อันจะเป็นเหตุให้สิทธิของโจทก์ทั้งสองที่จะนาคดี มาฟ้องใหม่


ระงับสิ้นไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา 39 (4) ฟ้องโจทก์ทั้งสองคดีนี้ จึงไม่เป็นฟ้องซ้ํากับคดีก่อน
ข้อสังเกต กำรบรรยำยฟ้องควำมผิดฐำนฟ้องเท็จ มีลักษณะเช่นเดียวกักำรบรรรยำยฟ้องในควำมผิดฐำน
แจ้ งข้อควำมอัน เป็ น เท็จ เบิ กควำมเท็จ น ำสื บเท็จ กล่ ำวคือ โจทก์อยู่ในบังคับที่ต้องบรรยำยฟ้องให้ ชัดว่ำ
ข้อควำมจริงเป็นอย่ำงไร และจำเลยทรำบว่ำข้อควำมที่ยื่นฟ้อง แจ้ง เบิกควำม หรือนำสืบ เป็นข้อควำมเท็จ (ฎ.
19980/2555, 1583/2552) ซึ่งกำรบรรยำยในส่วนของข้อควำมที่แสดงว่ำ จำเลยทรำบอยู่แล้วว่ำข้อควำมที่
จำเลยยื่นฟ้อง แจ้ง เบิกควำม หรือนำสืบ เป็นข้อควำมเท็จ เป็นส่วนของเจตนำของจำเลย กล่ำวอีกนับหนึ่ง ใน
แง่ข องกฎหมำยอำญำ หำกจ ำเลยไม่ รู้ ว่ำ ข้ อ ควำมที่ จ ำเลยกล่ ำ วเป็ น ข้ อ ควำมเท็ จ ถื อ ว่ ำจ ำเลยไม่ ท รำบ
ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของควำมผิด เพรำะควำมผิดฐำนฟ้องเท็จ แจ้งควำมเท็จ เบิกควำมเท็จ หรือนำ
สืบเท็จ กำรกระทำจะเป็นึควำมผิดได้ ข้อควำมดังกล่ำวต้องเป็นเท็จเสียก่อน หำกจำเลยไม่ทรำบว่ำข้อควำมนั้น
เป็นเท็จ จะถือว่ำจำเลยประสงค์ต่อผลหรือย่อมเล็งเห็นผล(เจตนำ) กระทำควำมผิดฐำนนั้น ๆ ไม่ได้
ดังนั้น กำรไม่ได้บรรยำยถึงข้อควำมที่ว่ำ จำเลยทรนำบดีว่ำข้อควำมนั้น ๆ เป็นควำมเท็จ จึง
เป็นกำรไม่ได้บรรยำยถึงองค์ประกอบของควำมผิด คือ องค์ประกอบภำยใน นั่นเอง เมื่อคำพิพำกษำฎีกำฉบับนี้
วินิจฉัยว่ำกำรบรรยำยดังกล่ำว แล้วศำลวินิจฉัยว่ำฟ้องโจทก์ไม่สมบูรณ์ตำมมำตรำ 158 (5) พิพำกษำยกฟ้อง
ถือว่ำศำลยังไม่ได้วินิจฉัยถึงกำรกระทำควำมผิดของจำเลย ฟ้องใหม่ได้ ไม่เป็นฟ้องซ้ำตำมมำตรำ 39 (4) ย่อม
หมำยควำมว่ำ ฟ้องที่ขำดองค์ประกอบของควำมผิด โจทก์ฟ้องใหม่ได้ ซึ่งจะกลับแนวคำวินิจฉัยคำพิพำกษำ
ฎีกำที่ 6770/2546 ทันที

11. ผู้เสียหายในความผิดฐานทาให้เสียทรัพย์ นอกจากเจ้าของทรัพย์แล้วยังรวมถึง บุคคลที่ได้รับ


มอบหมายโดยตรงจากเจ้าของทรัพย์ให้เป็นผู้ครอบครองดูแลทรัพย์ด้วย
คาพิพากษาฎีกาที่ 3578/2564 องค์ประกอบควำมผิดฐำนทำให้เสียทรัพย์นั้น ต้องกระทำ
ต่อทรัพย์ ของผู้อื่นหรือผู้อื่นเป็นเจ้ำของรวมอยู่ด้วย ซึ่ง คาว่า “ทรัพย์ของผู้อื่น” นั้น ย่อมหมายความรวมถึง
บุ ค คลที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายโดยตรงจากเจ้ า ของทรั พ ย์ ให้ เ ป็ น ผู้ ค รอบครองดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย์ นั้ น เมื่ อ
รถจักรยานยนต์คันเกิดเหตุ เป็นของ ล. และผู้เสียหายยืมจำกเพื่อนรุ่นน้องมำใช้โดยไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่า
ล. ซึ่งเป็นเจ้ำของรถจักรยำนยนต์คันเกิดเหตุ ได้มอบหมายโดยตรงให้ ผู้เสียหายเป็นผู้ครอบครองดูแลรักษา
รถจักรยานยนต์คันดังกล่าวโดย อาศัยสิทธิของเจ้าของทรัพย์ได้ผู้เสียหายจึงไม่ใช่ผู้เสียหายในควำมผิดฐำน
ร่วมกันทำให้ เสียทรัพย์ เมื่อ ล. ซึ่งเป็น ผู้เสียหำยที่แท้จริงไม่ได้แจ้งควำม ร้องทุกข์ต่อพนักงำนสอบสวนให้
ดำเนินคดีแก่จำเลยที่ 1 พนักงำนสอบสวน ย่อมไม่มีอำนำจสอบสวนจำเลยที่ 1 ในควำมผิดฐำนร่วมกันทำให้
เสียทรัพย์ กำรที่พนักงำนสอบสวนสอบสวนจำเลยที่ 1 ในควำมผิดฐำนดังกล่ำว จึงเป็นกำรไม่ชอบด้วย ป.วิ.อ.
มำตรำ 121 วรรคสอง โจทก์จึงไม่มีอำนำจฟ้อง จำเลยที่ 1 ในควำมผิดฐำนนี้ และผู้เสี ยหำยไม่มีอำนำจยื่นคำ
ร้องขอให้ บังคับจำเลยที่ 1 รับผิดชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนในกำรซ่อมรถจักรยำนยนต์ คันเกิดเหตุแก่ผู้เสียหำย
ได้
8

12. ยินยอมให้ผู้อื่นปลอมลายมือชื่อ ไม่อยู่ในฐานะผู้เสียหาย


คาพิพากษาฎีกาที่ 1957/2563 จาเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อโจทก์ร่วมที่ 2 และประทับตรา
สาคัญ ของโจทก์ร่วมที่ 1 ในช่องผู้มอบฉันทะ (ผู้ขอคืน) ในหนังสือแจ้งคืน ภำษีมูลค่ำเพิ่ม ภ.พ. 72 และลง
ลำยมือชื่อโจทก์ร่วมที่ 2 ในเอกสำร ประกอบเพื่อขอรับคืนเงินภำษีมูลค่ำเพิ่มอันได้แก่ หนังสือมอบอำนำจ
สำเนำหนังสือรับรองกำรจดทะเบียนนิติบุคคลของโจทก์ร่วมที่ 1 สำเนำบัตรประจำตัวประชำชนของโจทก์ร่วม
ที่ 2 รวม 8 ชุด ซึ่งในกรณี เกี่ยวกับลำยมือชื่อนั้นไม่มีกฎหมำยให้อำนำจลงลำยมือชื่อแทนกันได้ แม้เจ้ำของ
ลำยมือชื่ออนุญำตหรือให้ควำมยินยอมก็ลงลำยมือชื่อแทนไม่ได้ ดังนั้น ที่จำเลยที่ 1 ลงลำยมือชื่อโจทก์ร่วมที่ 2
ในเอกสำรจึงเป็นการ ลงลายมือชื่อปลอมในเอกสารดังที่บัญญัติไว้ใน ป.อ. มำตรำ 264
จาเลยที่ 1 ปลอมเอกสารโดยความยินยอมของโจทก์ร่วมทั้งสอง โจทก์ร่วมทั้งสองจึงไม่อยู่
ในฐำนะที่จะได้รับควำมเสียหำยจำกกำรกระทำ ของจำเลยที่ 1 โจทก์ร่วมทั้งสองมิใช่ผู้เสียหายตาม ป.วิ.อ.
มาตรา 2 (4) อันจะมีอำนำจยื่นคำร้องขอเข้ำร่วมเป็นโจทก์ตำม ป.วิ.อ. มำตรำ 30 ได้
จ าเลยที่ 1 ปลอมเอกสารและน าเอกสารปลอมดังกล่ าวไปใช้ แ สดง ต่อ อ. เจ้า หน้ า ที่
สรรพากรผู้มีอำนำจหน้ำที่ดำเนินกำรในส่วนกำรคืน ภำษีมูลค่ำเพิ่มจนกระทั่งได้รับคืนเงินภำษีมูลค่ำเพิ่มไป
แล้วเช่นนี้ ย่อมก่อให้เกิดความเสียหายแก่ อ. เจ้าหน้าที่สรรพากรผู้ดำเนินกำรดังกล่ำว และกรมสรรพำกร
จาเลยที่ 1 จึ งมีค วามผิด ฐานปลอมเอกสารและใช้ เอกสารปลอม ความผิดฐานปลอมเอกสารและใช้
เอกสารปลอมตาม ป.อ. มาตรา 264 และ 268 เป็นควำมผิดอำญำแผ่นดินไม่ใช่ควำมผิดต่อส่วนตัว แม้โจทก์
ร่วมทั้งสองไม่ใช่ผู้เสียหำยตำมกฎหมำย พนักงำนสอบสวน ก็มีอำนำจสอบสวนได้โดยไม่ต้องมีคำร้องทุกข์แ ละ
พนักงำนอัยกำรโจทก์ มีอำนำจฟ้อง
13. ศาลวินิจฉัยว่าการกระทาของจาเลยไม่เป็นความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน ไม่มีผลทาให้สิทธินา
คดีอาญาสาหรับความผิดฐานกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนต้องระงับไป
คาพิพากษาฎีกาที่ 2759/2563 ความผิดฐานกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน ตำม
พระรำชกำหนด กำรกู้ยืมเงินที่เป็นกำรฉ้อโกงประชำชนกับความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน ตำม ป.อ. มำตรำ
343 โจทก์ฟ้องเข้ามาในคดีนี้ด้วยกัน และในข้อเดียวกัน โดยที่ควำมผิดทั้งสองฐำนมีห ลักกำรและเหตุผล
ต่ำงกัน และองค์ป ระกอบ แห่งควำมผิดก็ต่ำงกัน เมื่อ ศาลชั้นต้น พิพากษายกฟ้ องในความผิดฐานฉ้อโกง
ประชาชนก็มีผลเป็นกำรยกฟ้องไปแต่เฉพำะควำมผิดฐำนนี้ ไม่มี ผลกระทบให้ต้องไปยกฟ้องในความผิดฐาน
อื่นด้วย กรณีไม่ใช่เรื่อง กำรพิจำรณำเพื่อลงโทษจำเลยถึงสองครั้งในควำมผิดครั้งเดียว ดังนี้ เมื่อควำมผิดฐำน
ฉ้อโกงประชำชน คู่ควำมไม่อุทธรณ์ คดีก็ถึงที่ สุด ไม่มีผลให้ สิทธินาคดีอาญาฟ้องสาหรับความผิดฐานกู้ยืม
เงิน ที่ เป็ น การฉ้ อโกง ประชาชนต้ องระงับไปตามนัยแห่ง ป.วิ.อ. มาตรา 39 (4) แต่อย่ำงใด และ กรณี
ดังกล่ำวยังถือไม่ได้ว่ำศำลได้วินิจฉัยชี้ขำดโดยพิพำกษำยกฟ้อง ในประเด็นเรื่องกำรกู้ยืมเงินที่เป็นกำรฉ้อโกง
ประชำชนไปแล้วด้วย กำรพิจำรณำพิพำกษำควำมผิดฐำนนี้ ต่อไปจึงไม่ถือเป็นกำรดำเนิน กระบวนพิจำรณำใน
9

ศำลนั้ นอันเกี่ยวกับคดีห รือประเด็นที่ได้วินิ จฉัยชี้ขำด แล้วนั้น อันจะเป็นกำรดำเนินกระบวนพิจำรณำซ้ํำที่


ต้องห้ำมตำมนัย แห่ง ป.วิ.พ. มำตรำ 144 ประกอบ ป.วิ.อ. มำตรำ 15
ข้อสังเกต ที่น่ ำสั งเกตคือกำรอ้ำงถึงประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง มำตรำ 144 ประกอบ
ประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ มำตรำ 15

14. ถอนคาร้องทุกข์ภายหลังศาลมีคาพิพากษษถึงที่สุดแล้ว ไม่มีผลทางกฎหมาย


คาพิพากษาฎีกาที่ 403/2565 ศาลชั้นต้น อ่านคาพิพากษาลับหลังจำเลยเมื่อ วันที่ 27
มีน าคม 2560 จ าเลยมีสิทธิอุทธรณ์ ภ ายในวัน ที่ 27 เมษายน 2560 แต่จาเลยไม่ได้ยื่น อุทธรณ์ ภ ำยใน
กำหนด ย่อมถือ ว่า คดี ถึงที่ สุ ด แล้ว ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจ ำรณำควำมแพ่ง มำตรำ 147 วรรคสอง
ประกอบประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ มำตรำ 15 กำร ที่ ศาลชั้นต้น ยังไม่ได้ออกหมายจาคุก
จาเลยตามคาพิพากษาเพราะ จาเลยหลบหนี ศำลชั้นต้นออกหมำยจับจำเลยเพื่อติดตำมจับกุมตัว จำเลยมำ
รับโทษตำมคำพิพำกษำ เป็นขั้นตอนในกำรบังคับคดีตำม คำพิพำกษำ หาทาให้คดียังไม่ถึงที่สุดไม่
แม้ประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำไม่มีบทบัญญัติ มำตรำใดที่บัญญัติระยะเวลำยื่นคำร้องขอ
ถอนคำร้องทุกข์ของ ผู้เสียหำยก็ตำม แต่มำตรำ 126 วรรคหนึ่ง บัญญัติให้ผู้ร้องทุกข์จะ ถอนคำร้องทุกข์เสีย
เมื่อใดก็ได้ ซึ่งผลของการถอนคาร้องทุกข์ในคดี ความผิดต่อส่วนตัวย่อมทาให้สิทธินาคดีอาญามาฟ้องย่อม
ระงับไปตามมาตรา 39 (2) ศาลต้องจาหน่ายคดีออกจากสารบบความ อันมี ผลทำให้ไม่มีคดีค้ำงพิจำรณำ
อยู่ ในศำล เมื่ อ คดี นี้ ถึ งที่ สุ ด แล้ ว ย่ อ มไม่ มี ค ดี ที่ ค้ า งพิ จ ารณาอยู่ ใ นศาล การขอถอนค าร้ อ งทุ ก ข์ ข อง
ผู้เสียหาย ภายหลังเมื่อคดีถึงที่สุดแล้วจึงไม่มีผลตามกฎหมาย

15. ผู้เสียหายถูกหลอกลวงให้นามาเงินมาให้ร่วมลงทุน โดยจะได้ผลประโยชน์ตอบแทนร้อยละ 5 ต่อ


7 วัน เมื่อไม่ปรากฏว่าจาเลยหลอกลวงเอาเงินไปปล่อยกู้ ผู้เสียหายจึงไม่มีส่วนร่วมในการก่อให้เกิดการ
กระทาความผิด เป็นผู้เสียหายโดยนิตินัย
คาพิพากษาฎีกาที่ 1227/2565 ผู้เสียหายนาเงินไปร่วมลงทุนกับจาเลยและพวกเพรำะ
ถูกจาเลยหลอกลวงว่าจะให้ผลตอบแทนแก่ผู้เสียหายร้อยละ 5 ต่อ 7 วัน โดย ผู้เสียหายไม่ทราบว่าจาเลย
จะนาเงินไปให้ผู้ที่จาเลยอ้างว่าเป็นลูกหนี้ของกองทุนหมู่บ้านและหรือธนาคารกู้นาไปชาระหนี้เพื่อปิดบัญชี
จริ งหรื อ ไม่ และจ ำเลยจะได้ รั บ ผลประโยชน์ ห รือ ดอกเบี้ ยในอั ต รำเท่ ำใดทั้ ง ผู้ เสี ย หายมิ ได้ มี ส่ วนเข้ า ไป
เกี่ยวข้องกับการดาเนินการของจาเลย เพียงจำเลยหลอกผู้เสียหำยจะให้ผลตอบแทนผู้เสียหำยเป็นดอกเบี้ย
อั ต รำร้ อ ยละ 5 ต่ อ 7 วั น เช่ น นี้ ยั ง ฟั ง ไม่ ไ ด้ ว่ ำ ผู้ เ สี ย หำยมี ส่ ว นก่ อ ให้ จ ำเลยกระท ำควำมผิ ด เกี่ ย วกั บ
พระรำชบัญญัติห้ำมเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรำ พ.ศ. 2560 ที่ผู้เสียหำยมอบเงินให้แก่จำเลยล้วนเกิดขึ้น เพรำะถูก
จำเลยหลอกลวง ถือไม่ได้ว่าผู้เสียหายมีเจตนามุ่งหวังผลประโยชน์อันเกิดจากการกระทาผิดกฎหมายของ
จาเลย ผู้เสียหายจึง เป็นผู้เสียหายโดยนิตินัยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 (4)
10

พนักงำนอัยกำรโจทก์มีสิทธิร้องขอให้เรียกทรัพย์สินแทนผู้เสียหำยได้ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำม
อำญำ มำตรำ 43

16. เปิด สื่ อบัน ทึกภาพและเสียงที่จัด ทาไว้ในชั้น สอบสวนในห้องพิ จารณาแล้ว แม้ไม่มีข้อเท็จจริ ง


เกี่ยวกับการกระทาความผิดขณะเบิกความ ต้องถือว่าสื่อบันทึกภาพเป็นส่วนหนึ่งของคาเบิกความ แม้
ไม่ได้เบิกความก็ลงโทษได้
คาพิพากษาฎีกาที่ 1903/2565 แม้ผู้เสียหายไม่ได้เบิกความถึงการกระทาของจาเลยเมื่อ
วันที่ 5 สิงหาคม 2562 เวลากลางวัน แต่ตำมรำยงำนกระบวนพิจำรณำของศำลชั้นต้น ศาลชั้นต้นจัดให้มี
การถ่ายทอดภาพและเสียง คาให้การของผู้เสียหายตามวัตถุพยานซึ่งพนักงานสอบสวนจัดให้มี การบันทึก
ไว้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิ จารณาความอาญา มาตรา 133 ทวิ วรรคสี่ ให้คู่ควำมฟังแล้ว ต้องถือสื่อ
ภาพและเสียงคาให้การ ของผู้เสียหายเป็นส่วนหนึ่งของคาเบิกความของผู้เสียหำยในชั้น พิจำรณำของศำล
ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ มาตรา 172 ตรี วรรคสาม เมื่อสื่อภำพและเสียงคำให้กำรของ
ผู้เสียหำยมีข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกำรกระทำของจำเลยเมื่อวันที่ สิงหำคม 2562 เวลำกลำงวันแล้ว ต้องถือว่ำ
ผู้เสียหำยเบิกควำมถึงข้อเท็จจริง ดังกล่ำวในชั้นพิจำรณำแล้ว

17. ศาลสั่งให้ผู้เสียหายวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมในคดีส่วนแพ่ง จะขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลไม่ได้


คาพิพากษาฎีกาที่ 1869/2565 คดีนี้เป็นคดีที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ซึ่งมีคาร้องให้คืน
หรือใช้ ราคาทรัพย์สินติดมำกับฟ้องอำญำตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ มำตรำ 43 หรือมีคำ
ขอของผู้เสียหำยขอให้บังคับจำเลย ชดใช้ค่ำสินไหมทดแทน ดังนี้ ต้องด้วยบทบัญญัติตำมประมวล กฎหมำยวิธี
พิจำรณำควำมอำญำ มาตรา 253 วรรคหนึ่ง ซึ่งกาหนด มิให้เรียกค่าธรรมเนียมในส่วนของกำรฟ้องคดีแพ่งที่
เกี่ยวเนื่องกับคดีอำญำ จึงไม่อาจนาบทบัญญัติการขอยกเว้นค่ าธรรมเนียมศาลใน ศำลชั้นต้น ชั้นอุทธรณ์
หรือชั้นฎีกำ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา มาตรา 254 วรรคสอง มาใช้บังคับ เพราะ
โจทก์และ โจทก์ร่วมไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลในส่วนของการฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญามา
ตั้งแต่ต้น
ในกรณีที่ศำลเห็นว่ำหำกโจทก์ร่วมขอให้บังคับจาเลยชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนสูงเกินสมควรหรือ
ดำเนินคดีโดยไม่สุจริต ประมวล กฎหมำยวิธี พิจำรณำควำมอำญำ มาตรา 253 วรรคหนึ่ง กาหนดให้ ศาลมี
อานาจสั่งให้โจทก์ร่วมชาระค่าธรรมเนียมทั้งหมดหรือแต่เฉพาะบางส่วนภำยในระยะเวลำที่ศำลกำหนดก็ได้
โดยโจทก์ร่วมไม่อาจขอ ยกเว้นค่าธรรมเนียมตามคาสั่งศาลในกรณี เช่นนี้ได้ ถือเป็นบทบังคับ เด็ดขาด
เพราะหากโจทก์ร่วมเพิกเฉยไม่ปฏิบัติตามคาสั่งศาล ให้ถือว่าเป็นการทิ้งฟ้องในคดีส่วนแพ่ง

You might also like