You are on page 1of 12

อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2 หน้า 1

MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2


ป.วิ.แพ่ง ภาค 1 ลักษณะ 6 คําพิพากษาและคําสั่ง
สัญญาประนีประนอมยอมความในศาลและการพิพากษาตามยอม

*** มาตรา 138 ว.1 ในคดีท่คี ่คู วามตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันในประเด็นแห่งคดีโดยมิได้มี


การถอนคําฟ้องนัน้ และข้อตกลงหรือการประนีประนอมยอมความกันนัน้ ไม่เป็ นการฝ่ าฝื นต่อกฎหมาย ให้ศาลจด
รายงานพิสดารแสดงข้อความแห่งข้อตกลงหรือการประนีประนอมยอมความเหล่านัน้ ไว้ แล้วพิพากษาไปตามนัน้
* ว.2 ห้ามมิให้อทุ ธรณ์คาํ พิพากษาเช่นว่านี ้ เว้นแต่ในเหตุต่อไปนี ้
(1) เมื่อมีขอ้ กล่าวอ้างว่าคูค่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งฉ้อฉล
(2) เมื่อคําพิพากษานัน้ ถูกกล่าวอ้างว่าเป็ นการละเมิดต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบ
เรียบร้อยของประชาชน
(3) เมื่อคําพิพากษานัน้ ถูกกล่าวอ้างว่ามิได้เป็ นไปตามข้อตกลงหรือการประนีประนอมยอมความ
***1.ข้อตกลงในสัญญาประนีประนอมยอมความต้องเกี่ยวกับประเด็นแห่งคดี (หนีท้ ่ฟี ้องร้อง) ถ้านําหนีท้ ่ไี ม่
เกี่ยวกับประเด็นแห่งคดีและไม่เกี่ยวเนื่องกับประเด็นแห่งคดี ศาลไม่มีอาํ นาจพิพากษาตามยอม คูค่ วามอุทธรณ์ได้
*ฎ.5372/2542 เมือ่ ประเด็นแห่งคดีคงมีเฉพาะเกีย่ วกับหนีจ้ าํ นวนทีโ่ จทก์ฟ้องมิได้รวมถึงหนีร้ ายอืน่ ทีจ่ าํ เลยให้
การถึง การทีท่ นายโจทก์ทาํ สัญญาประนีประนอมยอมความกับจําเลยในหนีร้ ายอื่น โดยโจทก์มิได้ ยินยอมด้ วย
จึงเป็ นการทําสัญญาประนีประนอมยอมความในหนีท้ ไี่ ม่เกีย่ วกับประเด็นแห่งคดี ไม่มีผลผูกพันโจทก์ และศาลไม่
อาจมีคาํ พิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความนัน้ ให้ได้ การทีศ่ าลชัน้ ต้นมีคาํ พิพากษาตามสัญญาประนีประนอม
ยอมความให้ จึงไม่ชอบด้วยป.วิ.แพ่ง มาตรา 138 โจทก์ย่อมอุทธรณ์ขอให้เพิกถอนเสียได้
2.ข้อตกลงในสัญญาประนีประนอมยอมความต้องไม่ขดั ต่อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน
มิฉะนัน้ ศาลไม่มีอาํ นาจพิพากษาตามยอม คู่ความอุทธรณ์ได้
Ex 1. คิดดอกเบีย้ เกินอัตรา (ฎ.8309/2543, *570/2549)
ฎ.570/2549 การทีศ่ าลฎีกาจะพิพากษาตามยอมได้นนั้ ศาลฎีกาจะต้องพิจารณาสัญญาประนีประนอมยอม
ความของคู่ความว่า เป็ นการฝ่ าฝื นต่อกฎหมายหรือไม่ หากสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวฝ่ าฝื นต่อกฎหมาย
ศาลฎีกาก็ย่อมไม่อาจพิพากษาให้คดีเป็ นอันเสร็จเด็ดขาดไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความนัน้ ได้เพราะเป็ นการขัด
ต่อ ป.วิ.พ. มาตรา 138 เมือ่ ปรากฏตามสัญญาประนีประนอมยอมความทีโ่ จทก์เสนอต่อศาลใน ข้อ. 1 ระบุวา่ จําเลยตก
ลงชําระเงินแก่โจทก์ ซึ่งเงินจํานวนดังกล่าวนีม้ จี าํ นวนเงินซึ่งคํานวณจากดอกเบีย้ เกินอัตราอันเป็ นการต้องห้ามตาม พ.ร.บ.
ห้ามเรียกดอกเบีย้ เกินอัตราฯ มาตรา 3 (ก) รวมอยู่ดว้ ย สัญญายอมทีโ่ จทก์เสนอต่อศาลจึงเป็ นการฝ่ าฝื นต่อกฎหมาย
Ex 2. โจทก์ไม่มีอาํ นาจฟ้อง ศาลพิพากษาตามยอมไม่ได้ (*ฎ.8608/2557)
3.กรณีตกลงกันได้ในประเด็นบางข้อ ถ้ายังมีประเด็นที่ศาลจะต้องวินิจฉัยจากข้อเท็จจริงในสํานวน ศาล
พิพากษาตามยอมไม่ได้ (*ฎ.6391-6392/2550, *30/2549)
***4.กรณีตามมาตรา 138 เป็ นข้อยกเว้นของหลักการห้ามศาลพิพากษาเกินคําขอตามมาตรา 142
*ฎ.3191/2547 (ผูพ้ พิ ากษาสนามใหญ่ปี 48) การทีศ่ าลพิพากษาไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความว่า
ดอกเบีย้ ระหว่างผิดนัดอัตราร้อยละ 10 ต่อปี เกินกว่าอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ตามคําขอของโจทก์ หาเป็ นการต้องห้ามตาม
ป.วิ.พ. มาตรา 142 และ 138 ว.2 (2) ไม่ (เนติ สมัย 65, ฎ.8309/2543 แนวเดียวกัน, ศึกษาเพิ่มเติม ฎ.2628/2558)

ติวกฎหมายเข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ต้องติวกับ อาจารย์เป้ & อาจารย์ตนู T.086-987-5678 Line @smartlawtutor


อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2 หน้า 2
ฎ.5478/2553 แม้ตามคําฟ้องในคดีแพ่งโจทก์จะฟ้องขอให้ชาํ ระหนีแ้ ละบังคับจํานอง หากยึดทรัพย์จาํ นองออก
ขายทอดตลาดไม่พอชําระหนีย้ อมให้ยดึ ทรัพย์สนิ อืน่ ได้ก็ตาม แต่สญ ั ญาระบุในข้อ 6 ว่า หากจําเลยผิดนัดชําระหนีง้ วดใด
งวดหนึง่ ให้ถือว่าผิดนัดชําระหนีท้ งั้ หมด ยอมให้โจทก์บงั คับคดียดึ ทรัพย์จาํ นองตามฟ้องได้ทนั ที โดยไม่ตดิ ใจเรียกร้องเงิน
อืน่ ใดอีก โดยไม่ปรากฏข้อความในสัญญายอมว่า หากบังคับชําระหนีเ้ อาทรัพย์จาํ นองตามฟ้องออกขายทอดตลาดได้เงิน
ไม่พอชําระหนีก้ ใ็ ห้บงั คับเอาแก่ทรัพย์สนิ อืน่ ได้ดว้ ย ดังนี ้ แสดงว่าโจทก์และจําเลยประสงค์จะบังคับคดีแก่ทรัพย์จาํ นอง
ตามฟ้องเท่านัน้ ดังนัน้ โจทก์ย่อมไม่มีสทิ ธิทจี่ ะบังคับเอาแก่ทรัพย์สนิ อืน่ ของจําเลยได้อกี
***5.คูค่ วามที่เห็นว่า ข้อตกลงในสัญญาประนีประนอมยอมความไม่เกี่ยวกับประเด็นแห่งคดีและไม่เกี่ยวเนื่องกับ
ประเด็นแห่งคดี หรือ ขัดต่อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน หรือ กล่าวอ้างว่าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง
ฉ้อฉล หรือ เมื่อคําพิพากษานัน้ ถูกกล่าวอ้างว่าเป็ นการละเมิดต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อย
ของประชาชน หรือ เมื่อคําพิพากษานัน้ ถูกกล่าวอ้างว่ามิได้เป็ นไปตามข้อตกลงหรือการประนีประนอมยอมความ คู่ความ
ต้องใช้สิทธิยน่ื อุทธรณ์ตามมาตรา 138 ประกอบมาตรา 229 เท่านั้น มิฉะนัน้ คดีย่อมถึงที่สดุ ตามมาตรา 147 และ
จะร้องขอให้ศาลเพิกถอน หรือ จะฟ้ องเป็ นคดีใหม่ขอให้ศาลเพิกถอนไม่ได้
***ฎ.7542/2562 ศาลชัน้ ต้ นไม่มีอํานาจยกเลิกสัญญาประนีประนอมยอมความและคําพิพากษาตาม
ยอมแล้ วมีคําพิพากษาใหม่ ตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 142 (5)
658/2562 โจทก์ฎกี าอ้ างว่าผู้รับมอบอํานาจโจทก์ฉ้อฉลโจทก์ทาํ สัญญาประนีประนอมยอมความโดย
ฎ.ฎ.658/2562
โจทก์ไม่ได้มอบอํานาจให้กระทําได้นนั้ จึงเป็ นการกล่าวอ้างว่าคําพิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความละเมิดต่อ
บทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายอันเกีย่ วด้วยความสงบเรียบร้อยฯโจทก์มสี ทิ ธิอทุ ธรณ์ฎีกาได้ตามป.วิ.พ ม.138 ว.2 (2)
6.การแก้ไขสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลซึง่ ศาลพิพากษาตามยอมแล้ว ต้องใช้มาตรา 143
*มาตรา 143 ว.1 ถ้าในคําพิพากษาหรือคําสั่งใด มีขอ้ ผิดพลาดเล็กน้อยหรือข้อผิดหลงเล็กน้อยอื่น ๆ และมิได้มี
การอุทธรณ์หรือฎีกาคัดค้านคําพิพากษาหรือคําสั่งนัน้ เมื่อศาลที่ได้พิพากษาหรือมีคาํ สั่งนัน้ เห็นสมควร หรือเมื่อคู่ความที่
เกี่ยวข้องร้องขอ ศาลจะมีคาํ สั่งเพิม่ เติมแก้ไขข้อผิดพลาด หรือข้อผิดหลงเช่นว่านัน้ ให้ถกู ก็ได้ ....
ว.2 การทําคําสั่งเพิ่มเติมมาตรานี ้ จะต้องไม่เป็ นการกลับหรือแก้คาํ วินิจฉัยในคําพิพากษาหรือคําสั่งเดิม
Ex 1. ขอแก้ไขเลขที่อาคารที่พิมพ์ผิดได้ (*ฎ.1482/2551)
Ex 2.ขอแก้ไขเพือ่ เพิ่มความรับผิดของจําเลยไม่ได้ (ดูวรรค 2) *ฎ.1771/2547
Ex 3. แก้ไขเนือ้ ที่ของที่ดินไม่ได้ (*ฎ.9848/2556) ยกเว้น ช่างรังวัดทําการรังวัดผิดพลาด (ฎ.915/2564 ม.27)
***ฎ.915/2564 โจทก์ตกลงทําสัญญาประนีประนอมยอมความกับจําเลยตามแผนทีพ่ พิ าทฉบับแรกที่ อ. นาย
ช่างรังวัดชํานาญงานสํานักงานทีด่ นิ จัดทําผิดพลาดคลาดเคลือ่ น หาใช่เป็ นความผิดพลาดของโจทก์ไม่ หากจะบังคับให้
โจทก์ตอ้ งปฏิบตั ติ ามสัญญาประนีประนอมยอมความทีเ่ กิดจากข้อผิดพลาดเช่นนี ้ อาจไม่ถูกต้องและเป็ นธรรมตาม
ข้อเท็จจริง แต่ทโี่ จทก์ขอแก้ไขเนือ้ ทีท่ ดี่ นิ ของโจทก์ในสัญญาประนีประนอมยอมความจากเนือ้ ที่ 3 งาน 57 ตารางวา เป็ น
1 ไร่ 24 ตารางวา ถือว่าเป็ นการแก้ไขเนือ้ ทีด่ นิ ของโจทก์เพิม่ มากขึน้ เป็ นการแก้ไขมาก มิใช่ขอ้ ผิดพลาดหรือผิดหลง
เล็กน้อย ตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 143
โจทก์และจําเลยทําสัญญาประนีประนอมยอมความไปเพราะเชือ่ ว่าเจ้าพนักงานรังวัดคํานวณเนือ้ ทีต่ ามแผนที่
พิพาทครัง้ แรกถูกต้องแล้ว อันเป็ นความเข้าใจจากข้อเท็จจริงซึ่งเกิดจากข้อผิดพลาดของเจ้าพนักงานรังวัด ความไม่
ถูกต้องดังกล่าวย่อมส่งผลต่อสัญญาประนีประนอมยอมความทีโ่ จทก์และจําเลยเสนอต่อศาล และกระทบกระเทือนต่อ
ความเป็ นธรรม การทีศ่ าลชัน้ ต้นพิพากษาคดีให้เป็ นไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความ จึงเป็ นกรณีทมี่ ิได้ปฏิบตั ติ าม
บทบัญญัตแิ ห่งป.วิ.แพ่งในข้อทีม่ งุ่ หมายจะยังให้การเป็ นไปด้วยความยุตธิ รรมในเรือ่ งการพิจารณาคดีและการบังคับคดี
ซึ่งเกีย่ วด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 27 ว.1 ศาลฎีกาชอบทีจ่ ะเพิกถอนสัญญา
ประนีประนอมยอมความและคําพิพากษาตามยอมของศาลชัน้ ต้น และให้ศาลชัน้ ต้นพิจารณาและพิพากษาคดีใหม่

ติวกฎหมายเข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ต้องติวกับ อาจารย์เป้ & อาจารย์ตนู T.086-987-5678 Line @smartlawtutor


อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2 หน้า 3

ห้ามดําเนินกระบวนพิจารณา า้ํ
มาตรา 144 ว.1 เมื่อศาลใดมีคาํ พิพากษา หรือคําสั่งวินจิ ฉัยชีข้ าดคดีหรือในประเด็นข้อใดแห่งคดีแล้ว ห้ามมิให้
ดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลนัน้ อันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ได้วินิจฉัยชีข้ าดแล้วนัน้ เว้นแต่...
มาตรา 14 ว.1 ายใต้บงั คับบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนีว้ ่าด้วยการอุทธรณ์ฎีกา และการพิจารณาใหม่
คําพิพากษาหรือคําสั่งใด ๆ ให้ถือว่าผูกพันคู่ความในกระบวนพิจารณาของศาลที่พิพากษาหรือมีคาํ สั่งนับตัง้ แต่วนั ที่ได้
พิพากษาหรือมีคาํ สั่ง จนถึงวันที่คาํ พิพากษาหรือคําสั่งนัน้ ได้ถกู เปลีย่ นแปลง แก้ไข กลับหรืองดเสีย ถ้าหากมี

ผลของการดําเนินกระบวนพิจารณา าํ้
1. เป็ นปั ญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ในศาลชัน้ ต้น แม้คคู่ วามไม่ยกขึน้ เป็ นข้อต่อสู้ ศาลชัน้ ต้นมีดลุ พินจิ ที่จะยกขึน้ วินจิ ฉัยเองได้ (ม.142 (5))
ในชัน้ อุทธรณ์ คู่ความมีสิทธิยกขึน้ อ้างในชัน้ อุทธรณ์ตามมาตรา 225 ว.2 แม้จะมิได้ยกขึน้ ว่ากล่าวมาในศาล
ชัน้ ต้น หรือถ้าคูค่ วามไม่ยกขึน้ อ้าง ศาลอุทธรณ์ยอ่ มมีอาํ นาจยกขึน้ วินิจฉัยเองได้ตามมาตรา 246, 142 (5)
2. การดําเนินกระบวนพิจารณาซํา้ สําหรับคู่ความบางคนอาจทําให้ศาลพิพากษาตามคําฟ้องไม่ได้
*ฎ.11391/2555 โจทก์ฟ้องจําเลยทัง้ สองโดยมีคาํ ขอให้เพิกถอนนิตกิ รรมการซือ้ ขายบ้านและทีด่ นิ ระหว่าง
จําเลยที่ 1 และที่ 2 ให้จาํ เลยที่ 2 จดทะเบียนโอนบ้านและทีด่ นิ คืนแก่จาํ เลยที่ 1 และให้จาํ เลยที่ 1 จดทะเบียนคืนแก่
โจทก์ เมือ่ ฟ้องโจทก์สาํ หรับจําเลยที่ 2 เป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํา้ ซึ่งไม่อาจบังคับให้เพิกถอนนิตกิ รรมการซือ้ ขาย
บ้านและทีด่ นิ พิพาทระหว่างจําเลยที่ 1 และที่ 2 และไม่อาจบังคับให้จาํ เลยที่ 2 จดทะเบียนคืนแก่จาํ เลยที่ 1 ได้แล้ว
ส าพคํา อบังคับ องโจทก์อนั เกี่ยวกับจําเลยที่ จึงไม่เปิ ดช่องทีจ่ ะบังคับตามคําขอของโจทก์ในคดีนไี ้ ด้ คดีสาํ หรับ
จําเลยที่ 1 จึงไม่เป็ นประโยชน์ทจี่ ะพิจารณาอีกต่อไป
หลักเกณ ม์ าตรา 144 ว.1 ***
1.ศาลได้มีคาํ พิพากษาหรือคําสั่งวินิจ ัยชีข้ าดคดีหรือ 4.ห้ามดําเนินกระบวนพิจารณาในเรื่องนัน้ ซํา้ ทุกรูปแบบ
คําสั่งในประเด็นข้อใดแห่งคดีแล้ว 5.ห้ามทัง้ ในศาลเดียวกันและศาลอื่น
2.คําพิพากษาหรือคําสั่งนัน้ ไม่จาํ เป็ นต้องถึงที่สดุ 6.ห้ามเฉพาะที่เกี่ยวกับคดี/ประเด็นที่ได้วินิจฉัยชีข้ าดแล้ว
3.ห้ามคู่ความและศาลดําเนินกระบวนพิจารณานัน้ ซํา้ อีก

1.ศาลได้มีคาํ พิพากษาหรือคําสั่งวินิจ ัยชีข้ าดคดีหรือคําสั่งในประเด็นข้อใดแห่งคดี


Ex 1. ศาลเคยมีคาํ พิพากษาแล้วว่าฟ้องโจทก์ไม่เป็ นฟ้องซํา้
ฎ.3452/2562 แม้ประเด็นข้อพิพาทเรือ่ งฟ้องซํา้ เป็ นปัญหาเกีย่ วด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แต่เมือ่
ศาลอท ร ์มีคําพิพากษายกคําพิพากษาศาลชัน้ ต้ นทีย่ ก ้ องโจทก์ในส่วนทีเ่ กี่ยวกับอํานาจ ้ อง ให้ศาลชัน้ ต้น
พิจารณาใหม่ตามรูปคดี จําเลยมิได้ฎีกาโต้แย้งคําพิพากษาศาลอุทธรณ์ในประเด็นเรือ่ งฟ้องซํา้ จําเลยเพิ่งหยิบยกเป็ น
ประเด็นในชัน้ ฎีกา เมือ่ ศาลอุทธรณ์มคี าํ พิพากษาใหม่ จึงเป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํ้า ต้องห้ามตามมาตรา 144
Ex 2. ศาลเคยยกคําร้องไปแล้ว แต่มายื่นคําร้องใหม่โดยอ้างเหตุอย่างเดียวกัน (เนติ 72 ฎ.3981/2555, 923/2564)
ถ้าศาลยังไม่เคยมีคาํ พิพากษา มีคาํ สั่งวินิจ ัยชีข้ าดคดี มีคาํ สั่งในประเด็นข้อนั้น ไม่เป็ นดํา า้ํ
1) กรณีศาลมีคาํ สั่งยกคําร้องฉบับก่อนเพราะบรรยายไม่ครบหลักเกณ ์ หากยื่นคําร้องใหม่โดยบรรยายให้
ครบหลักเกณ ย์ อ่ มมีประเด็นที่ตอ้ งวินจิ ฉัยแตกต่างกันจึงไม่เป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํา้ (ฎ.7174/2556)
2) คดีก่อนยกฟ้องเพราะโจทก์ยงั ไม่ถกู โต้แย้งสิทธิ จึงนําคดีมาฟ้องใหม่เมื่อมีการโต้แย้งสิทธิเกิดขึน้ (ฎ.8275/2551)
ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ต้องติวกับ อาจารย์เป้ & อาจารย์ตูน T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2 หน้า 4
3) กรณีคดีก่อนศาลมิได้ยกประเด็นนัน้ ขึน้ วินิจฉัย***
ฎ.1659/2559 คดีก่อนโจทก์ฟ้องว่า ทางพิพาทเป็ นทางจําเป็ นและหรือทาง าระจํายอม ศาลชัน้ ต้นพิพากษา
ว่าทางพิพาทเป็ นทาง าระจํายอม โดยมิได้วนิ จิ ฉัยว่าทางพิพาทเป็ นทางจําเป็ นหรือไม่ ทัง้ ทีท่ างพิพาทอาจเป็ นได้ทงั้ ทาง
จําเป็ นและทาง าระจํายอมในขณะเดียวกัน แต่โจทก์ไม่มคี วามจําเป็ นใดทีจ่ ะต้ องอท ร ์ต่อไปอีก เพราะคํา
พิพากษาศาลชัน้ ต้ นเป็ นผลดีแก่โจทก์อยู่แล้ ว แม้จาํ เลยอุทธรณ์ศาลอุทธรณ์ พิพากษากลับ ให้ยกฟ้อง โจทก์ฎีกา ศาล
ฎีกาวินจิ ฉัยเฉพาะประเด็นว่าทางพิพาทเป็ นทาง าระจํายอมหรือไม่ โดยไม่รบั วินจิ ฉัยประเด็นว่าทางพิพาทเป็ นทาง
จําเป็ นหรือไม่ เนือ่ งจากเป็ นข้อทีม่ ิได้ยกขึน้ ว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลอุทธรณ์ ต้องห้ามมิให้ฎีกาตามป.วิ.แพ่ง มาตรา
249 วรรคหนึง่ (เดิม) ส่วนการทีศ่ าลฎีกาวินจิ ฉัยในคดีกอ่ นว่า เมือ่ โจทก์มิได้อทุ ธรณ์ปัญหาเรือ่ งทางพิพาทเป็ นทางจําเป็ น
หรือไม่ ย่อมยุตไิ ปตามคําพิพากษาศาลชัน้ ต้น เป็ นการกล่าวถึงเหตุผลตามกฎหมายทีศ่ าลอุทธรณ์ ไม่มีอาํ นาจยกปัญหา
เรือ่ งทางจําเป็ นขึน้ วินจิ ฉัยเท่านัน้ กรณีถือไม่ได้ว่าในคดีก่อนศาลได้วนิ จิ ฉัยประเด็นทีว่ ่าทางพิพาทเป็ นทางจําเป็ นหรือไม่
แล้ว และไม่มีคาํ พิพากษาในประเด็นดังกล่าวทีจ่ ะผูกพันโจทก์ตามม.145 ว.1 การทีโ่ จทก์ฟ้องจําเลยขอให้เปิ ดทางจําเป็ น
คดีนี ้ จึงมิใช่เป็ นการรือ้ ร้องฟ้องกันอีกในประเด็นทีไ่ ด้วนิ จิ ฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกัน ไม่เป็ นฟ้องซํ้า
4) คดีก่อนฟ้องละเมิดและ าระจํายอม แต่ศาลกําหนดประเด็นข้อพิพาทเรื่อง าระจํายอมเพียงประเด็นเดียว
คดีนฟี ้ ้องละเมิดได้
***ฎ.6 /256 แม้คดีกอ่ นของศาลชัน้ ต้นทีจ่ าํ เลยคดีนเี ้ ป็ นโจทก์ฟ้องโจทก์ทงั้ สามคดีนเี ้ ป็ นจําเลย โจทก์ทงั้ สาม
ให้การว่า การกระทําของจําเลยในคดีนเี ้ ป็ นการละเมิดต่อโจทก์ทงั้ สามก็ตาม แต่ชนั้ ชีส้ องสถานศาลชัน้ ต้นในคดีก่อน
กําหนดประเด็นข้อพิพาทประเด็นเดียวว่า ทางพิพาทเป็ น าระจํายอมหรือไม่ คดีนโี ้ จทก์ทงั้ สามฟ้องจําเลยว่า การทีจ่ าํ เลย
เข้าไปใช้ประโยชน์ในทางพิพาทเป็ นการละเมิดต่อสิทธิของโจทก์ซ่งึ เป็ นเจ้าของทางพิพาท ข้ออ้างอันเป็ นหลักแห่งข้อหา
ของโจทก์ทงั้ สาม เป็ นเรือ่ งของการใช้สทิ ธิใน านะเจ้าของกรรมสิทธิ ทัง้ ขอให้บงั คับจําเลยส่งมอบทีด่ นิ พิพาทคืนโจทก์กบั
ชําระค่าเสียหายพร้อมดอกเบีย้ ประเด็นทีศ่ าลต้องวินจิ ฉัยในคดีนคี ้ อื เรือ่ งละเมิด เป็ นคนละประเด็นกับประเด็นข้อพิพาท
ในคดีก่อนเรือ่ งทางพิพาทเป็ นทาง าระจํายอมหรือไม่ หาใช่เป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาในประเด็นทีศ่ าลได้มีคาํ
วินจิ ฉัยชีข้ าดในคดีก่อนตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง มาตรา 144 ไม่

2.คําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นไม่จาํ เป็ นต้องถงทีส่ ุด


2.1.ถ้าคําพิพากษาหรือคําสั่งวินจิ ฉัยชีข้ าดในคดีก่อนยังไม่ถึงที่สดุ การฟ้องคดีใหม่เป็ นดํา ซํา้ แต่ไม่เป็ นฟ้องซํา้
2.2.ถ้าคําพิพากษาหรือคําสั่งวินจิ ฉัยชีข้ าดในคดีก่อนถึงที่สดุ แล้ว การฟ้องคดีใหม่เป็ นฟ้องซํา้ และดํา ซํา้
3.ห้ามคู่ความทุก ่ าย และศาลดําเนินกระบวนพิจารณานั้น า้ํ อีก
1) ห้ามศาลวินิจฉัยประเด็นเดียวกันนัน้ อีก (ฎ.906/2558, 105/2 ) ยกเว้นกรณีอทุ ธรณ์หรือฎีกา
ฎ. 26 /255 ศาลฎีกาวินจิ ฉัยว่า โจทก์มีอาํ นาจฟ้องและพิพากษายกคําพิพากษาศาลชัน้ ต้นให้ศาลชัน้ ต้น
พิจารณาพิพากษาใหม่ตามรูปคดี คําวินิจฉัย องศาลฎีกาในประเด็นอํานาจ ้ องจึง ึงทีส่ ดแล้ ว ศาลชัน้ ต้ นจะ
วินิจฉัย ้าํ อีกไม่ได้ ทีศ่ าลชัน้ ต้นพิจารณาแล้วพิพากษายกฟ้องโดยเห็นว่า โจทก์มิได้ถกู โต้แย้งสิทธิ โจทก์จงึ ไม่มีอาํ นาจ
ฟ้องนัน้ จึงเป็ นการวินจิ ฉัยในเนือ้ หาเช่นเดียวกับทีศ่ าลฎีกาวินจิ ฉัยไว้ดงั กล่าวแล้วข้างต้นนั่นเองจึงเป็ นการไม่ชอบ
2) ห้ามคู่ความทุกฝ่ ายดําเนินกระบวนพิจารณานัน้ ซํา้ อีก ไม่วา่ จะเป็ นฝ่ ายเดียวกันหรือคนละฝ่ าย
Ex . จําเลยในคดีก่อนกลับมาฟ้องคดีใหม่เป็ นโจทก์ในคดีหลัง (สลับ านะ ทํานองเดียวกับฟ้องซํา้ )

ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ต้องติวกับ อาจารย์เป้ & อาจารย์ตูน T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2 หน้า 5
3) กรณีมบี ุคคลอืน่ ใช้สทิ ธิดาํ เนินคดีแทนตนไปแล้ว ถือว่าเป็ นคู่ความในคดีเดิมด้วย
Ex 1 .เจ้าของรวม (ฎ.7281/2556*) คนหนึง่ ดําเนินกระบวนพิจารณาไปแล้ว เจ้าของรวมอื่นจะมาดําเนินกระบวน
พิจารณาให้ศาลวินิจฉัยในประเด็นเดียวกันไม่ได้ (ดูป.พ.พ. มาตรา 1359)
Ex 2. ผูส้ ืบสิทธิของคู่ความเดิมถือว่าเป็ นคู่ความในคดีเดิมด้วย อาทิ ผูร้ บั มรดกหรือรับโอนทรัพย์สินที่พิพาทของ
คู่ความเดิม เช่น ทายาท ผูจ้ ดั การมรดก ผูซ้ ือ้ ทรัพย์สินที่พิพาท (หลักการเดียวกันกับฟ้องซํา้ และฟ้องซ้อน)
ในทางกลับกัน คําพิพากษาหรือคําสั่งที่วินิจฉัยชีข้ าดย่อมผูกพันเฉพาะคู่ความในคดีเดิมตามมาตรา 145 ดังนัน้
บุคคลที่มิใช่ค่คู วามในคดีเดิมย่อมไม่ตอ้ งห้ามที่จะขอให้ศาลดําเนินกระบวนพิจารณานัน้ ซํา้ อีก
ฎ. 85/25 (ผูพ้ พิ ากษาสนามใหญ่ปี 59) ตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 145 (2) บัญญัตขิ อ้ ยกเว้นไว้ว่าคําพิพากษาที่
วินจิ ฉัยถึงกรรมสิทธิแห่งทรัพย์สนิ ใด เป็ นคุณแก่คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งอาจใช้ยนั แก่บคุ คล ายนอกได้ เว้นแต่
บุคคล ายนอกนัน้ จะพิสูจน์ได้วา่ ตนมีสทิ ธิดกี ว่า คดีนโี ้ จทก์นาํ พยานมาสืบได้ว่าจําเลยครอบครองทีด่ นิ พิพาทยังไม่ครบ
10 ปี จึงไม่ได้กรรมสิทธิในทีด่ นิ พิพาทโดยการครอบครอง เมือ่ ทีด่ นิ พิพาทเป็ นทีง่ อกริมตลิ่งจากทีด่ นิ ของโจทก์ โจทก์จงึ
เป็ นเจ้าของทีด่ นิ พิพาทตามป.พ.พ. มาตรา 1308 โจทก์พสิ ูจน์ได้วา่ โจทก์มีสทิ ธิดกี ว่าจําเลย คําสัง่ ของศาลชัน้ ต้นในคดี
ดังกล่าวจึงใช้ยนั โจทก์ไม่ได้ คําพิพากษาทีร่ ะบุไว้ตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 145 (2) นัน้ มิได้หมายถึงเฉพาะกรณีคาํ พิพากษา
ในคดีทมี่ ีคู่ความตัง้ แต่สองฝ่ ายขึน้ ไปเท่านัน้ ดังนัน้ คําสั่ง องศาลชัน้ ต้ นในคดีไม่มี ้ อพิพาททีส่ ั่งว่าจําเลย ึ่งเป็ นผู้
ร้ อง อในคดีดังกล่าวมีกรรมสิท ิในทีด่ ินพิพาทโดยการครอบครองจึงอยู่ในบังคับบทบัญญัติมาตรา 5 (2)
ด้วย โจทก์มิได้ เป็ นคู่ความในคดีทจี่ ําเลยร้ อง อแสดงกรรมสิท ทีิ ด่ นิ กับจําเลย (คดีก่อน) จึง ือว่าโจทก์เป็ น
บคคล ายนอกตามบทบัญญัตแิ ห่งป.วิ.แพ่ง มาตรา 145 (2) และการทีโ่ จทก์ฟ้องคดีนกี ้ เ็ พือ่ พิสจู น์ให้เห็นว่าโจทก์ยงั คงมี
กรรมสิทธิในทีด่ นิ พิพาทจึงถือไม่ได้ว่าเป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํ้ากับคดีดงั กล่าว
ประเด็น บุคคลซึง่ ถูกกล่าวอ้างว่าเป็ นบริวารของจําเลยในคดีฟ้องขับไล่ ถือว่าเป็ นคูค่ วามในคดีก่อนหรือไม่
1) ถ้ามิได้ย่ืนคําร้องขอแสดงอํานาจพิเศษในคดีก่อน ถือว่ามิใช่ค่คู วามในคดีก่อน
*ฎ.3557/2560 การทีบ่ รรษัทบริหารสินทรัพย์ไทยฟ้องขับไล่ ช. (จําเลยในคดีก่อน) โดยผลของมาตรา 142 (1)
แห่ง ป.วิ.พ. คําพิพากษาทีใ่ ห้ขบั ไล่ย่อมมีผลใช้บงั คับตลอดถึงวงศ์ญาติทงั้ หลายและบริวารของ ช. ซึ่งไม่สามารถแสดง
อํานาจพิเศษให้ศาลเห็นได้เท่านัน้ แต่หาได้ ทาํ ให้ วงศ์ญาติและบริวารทีอ่ าจ กู บังคับตามคําพิพากษานั้นมี านะ
เป็ นคู่ความไปด้ วยไม่ เมือ่ ไม่ปรากฏว่าจําเลย (คดีน)ี ้ เคยยืน่ คําร้องขอแสดงอํานาจพิเศษ จําเลยจึงยังไม่อยูใ่ น านะเป็ น
คู่ความในคดี ทัง้ การทีจ่ าํ เลยรับมอบอํานาจจาก ช. ให้เป็ นผูด้ าํ เนินคดีแทน ก็ไม่ทาํ ให้จาํ เลยกลับมี านะกลายเป็ นคู่ความ
ในคดีไปได้ เมือ่ จําเลยมิได้เป็ นคูค่ วามในคดีก่อน และในคดีก่อนศาลยังมิได้วนิ จิ ฉัยชีข้ าดว่าจําเลยมีสทิ ธิอยู่ในทีด่ นิ และสิ่ง
ปลูกสร้างพิพาทได้โดยไม่เป็ นละเมิดต่อสิทธิของเจ้าของหรือไม่อย่างไร การทีโ่ จทก์มาฟ้องเป็ นคดีนี ้ จึงไม่เป็ นฟ้องซํา้
2) ถ้าได้ย่นื คําร้องขอแสดงอํานาจพิเศษในคดีก่อน ถือว่าเป็ นคู่ความในคดีก่อน (ฎ.4479/2556)
ฎ.4479/2556 คดีก่อนจําเลย (คดีน)ี ้ ยืน่ คําร้องขอแสดงอํานาจพิเศษในชัน้ บังคับคดีว่าตนเองไม่ใช่บริวารของ .
จําเลยจึงอยู่ใน านะเป็ นคู่ความในคดีก่อนด้วย เมื่อศาลชัน้ ต้ นในคดีก่อนมีคําวินิจฉัยชี้ าดแล้วว่าจําเลยไม่ใช่ผูม้ ี
อํานาจพิเศษในทีด่ นิ พิพาททีจ่ ะยกขึน้ ต่อสูโ้ จทก์ การทีโ่ จทก์ฟ้องขับไล่จาํ เลยออกจากทีด่ นิ พิพาทเป็ นคดีนี ้ จึงมีประเด็นที่
จะต้องวินจิ ฉัยเกีย่ วกับสิทธิในทีด่ นิ พิพาทระหว่างโจทก์กบั จําเลยเช่นเดียวกัน โดยโจทก์กบั จําเลยคดีนเี ้ ป็ นคู่ความเดียวกับ
คดีก่อน ย่อมเป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลนัน้ อันเกีย่ วกับประเด็นทีไ่ ด้วนิ จิ ฉัยชีข้ าดแล้ว จึงเป็ นการดําเนิน
กระบวนพิจารณาซํ้า แม้โจทก์จะฟ้องคดีนไี ้ ว้ก่อนก็ตาม

ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ต้องติวกับ อาจารย์เป้ & อาจารย์ตูน T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2 หน้า 6
4.ห้ามดําเนินกระบวนพิจารณาในเรื่องนั้น าํ้ ทุกรู ปแบบ
Ex. ห้ามการดําเนินคดีทงั้ แบบคดีมีขอ้ พิพาทหรือไม่มีขอ้ พิพาท (ให้ดปู ระเด็นที่ศาลต้องวินิจฉัยเป็ นหลัก)
ฎ.26 /255 ศาลชัน้ ต้นวินจิ ฉัยประเด็นข้อพิพาทในคดีรอ้ งขอเป็ นผูจ้ ดั การมรดกคดีก่อนซึ่งเป็ นคดีไม่มีขอ้
พิพาทโดยถือว่าคําร้องขอของผูร้ อ้ งซึ่งถือว่าเป็ นโจทก์มีส าพเป็ นคําฟ้อง และคําคัดค้านของผูค้ ดั ค้านซึ่งถือว่าเป็ นจําเลย
เป็ นคําให้การว่า ห. ผูต้ ายนําเงินทีไ่ ด้จากการขายทีด่ นิ ของผูต้ ายซึ่งมีอยูก่ ่อนอยู่กินกับโจทก์ไปชําระค่าทีด่ นิ ตามหนังสือ
รับรองการทําประโยชน์ (น.ส. 3) ให้แก่ ว. ผูข้ าย ทีด่ นิ ตามหนังสือรับรองการทําประโยชน์ (น.ส.3) จึงเป็ นของผูต้ าย ไม่ใช่
ทรัพย์ทผี่ ูต้ ายกับโจทก์ทาํ มาหาได้ร่วมกัน ผูร้ อ้ ง (โจทก์) มิใช่เจ้าของรวมในทีด่ นิ มิใช่เป็ นผูม้ ีส่วนได้เสียในทีด่ นิ และคดีถึง
ทีส่ ดุ แล้ว คําพิพากษาในคดีก่อนย่อมต้องผูกพันโจทก์และจําเลยซึ่งเป็ นคูค่ วามในคดีก่อน ตามป.วิ.แพ่งมาตรา 145 วรรค
หนึ่ง โจทก์นาํ คดีนมี ้ าฟ้องจําเลยซึ่งเป็ นคู่ความรายเดียวกันว่า ระหว่างโจทก์กบั ห. ผูต้ ายอยู่กินเป็ นสามี ริยาไม่จด
ทะเบียนสมรส โจทก์กบั ผูต้ ายได้ร่วมกันซือ้ ทีด่ นิ ตามหนังสือรับรองการทําประโยชน์(น.ส. 3) ด้วยเงินทีท่ าํ มาหาได้รว่ มกัน
ทีด่ นิ เป็ นทรัพย์ทที่ าํ มาหาได้ร่วมกัน โจทก์กบั ผูต้ ายเป็ นเจ้าของมีสทิ ธิครอบครองคนละกึ่งหนึ่ง ย่อมเป็ นการดําเนิน
กระบวนพิจารณาด้วยการรือ้ ร้องฟ้องกันอีกในประเด็นทีศ่ าลชัน้ ต้นได้วนิ จิ ฉัยถึงทีส่ ดุ โดยอาศัยเหตอย่างเดียวกันกับคดี
ก่อนว่า โจทก์กับผู้ตายเป็ นเจ้ า องผู้มีสทิ ิครอบครองทีด่ นิ ดังกล่าวร่วมกันหรือเป็ นทรัพย์สินทีท่ าํ มาหาได้
ร่วมกันหรือไม่ ฟ้องโจทก์คดีนเี ้ ป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํ้าตาม ป.วิ.พ. มาตรา 144 และฟ้องซํ้าตามมาตรา 148

5.ห้ามทัง้ ในศาลเดียวกันและศาลอื่น (*ฎ.7281/2556, 1571/2550, 1702/2559, 7844/2553)


1) เมื่อศาลได้มีคาํ พิพากษาหรือคําสั่งวินิจฉัยชีข้ าดคดีหรือประเด็นข้อใดแห่งคดีแล้ว ย่อมทําให้คดีอีกเรื่องหนึ่งที่
ขอให้ศาลวินิจฉัยในประเด็นเดียวกันต้องห้ามดําเนินกระบวนพิจารณาซํา้ แม้ต่อมาภายหลังคดีที่ ง่ ศาลมีคาํ วินิจ ัยไป
ก่อนจะถูกถอนฟ้ องไปจากศาลก็ไม่ทาํ ให้คดีท่เี ป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํา้ กลับกลายเป็ นการดําเนินกระบวน
พิจารณาที่ชอบด้วยกฎหมาย (หลักเดียวกับฟ้องซํา้ และฟ้องซ้อน)
*ฎ.19404/2557 ศาลชัน้ ต้นมีคาํ สัง่ ว่าการฟ้องคดีของผูร้ อ้ งสอดเป็ นการใช้สทิ ธิโดยไม่สจุ ริต ผูร้ อ้ งสอดไม่มีอาํ นาจ
ฟ้อง แม้เป็ นในชัน้ ตรวจคําคู่ความก็ถือว่าศาลชัน้ ต้นได้มีคาํ พิพากษาหรือคําสั่งวินจิ ฉัยชีข้ าดประเด็นแห่งคดีแล้ว เมือ่ คําร้อง
สอดเป็ นคําคู่ความทีผ่ รู ้ อ้ งสอดยืน่ เข้ามาเพือ่ ตัง้ ประเด็นระหว่างผูร้ อ้ งสอดกับจําเลยในเรือ่ งเดียวกันกับทีผ่ รู ้ อ้ งสอดฟ้องจําเลยไว้
แล้วในคดีดงั กล่าวของศาลชัน้ ต้น คําร้องสอดจึงเป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลอันเกีย่ วกับคดีหรือประเด็นทีไ่ ด้
วินจิ ฉัยชีข้ าดแล้วต้องห้ามตามมาตรา 144 วรรคหนึ่ง แม้ต่อมาศาลอุทธรณ์พพิ ากษากลับให้ศาลชัน้ ต้นรับฟ้องไว้พจิ ารณา
และต่อมาผูร้ อ้ งสอดถอนฟ้องคดีแพ่งดังกล่าวไปแล้วก็ตาม ก็ไม่ทาํ ให้คาํ ร้องสอดทีไ่ ม่ชอบด้วยกฎหมายมาแต่ตน้ กลับ
กลายเป็ นคําร้องสอดทีช่ อบด้วยกฎหมายขึน้ มาได้
2) คดีท่อี ยู่ระหว่างการพิจารณาและต้องห้ามดําเนินกระบวนพิจารณาซํา้ ศาลจะมีคาํ สั่งอย่างไร
แนวเดิม ศาลจะมีคาํ สั่งให้จาํ หน่ายคดีออกเสียจากสารบบความ (*ฎ.9467/2552, 2180/2 1*)
แนวล่าสุด ศาลต้องมีคาํ สั่งให้เลื่อนคดีตามมาตรา 39 วรรคหน่ง มิใช่พิพากษายกฟ้อง ***
*ม.39 ว.1 ถ้าการที่จะชีข้ าดตัดสินคดีเรื่องใดที่คา้ งพิจารณาอยูใ่ นศาลใดจําต้องอาศัยทัง้ หมดหรือแต่บางส่วน
ซึ่งคําชีข้ าดตัดสินบางข้อที่ศาลนัน้ เองหรือศาลอื่นจะต้องกระทําเสียก่อน .... หรือในกรณีอื่นใดซึง่ ศาลเห็นว่าถ้าได้เลื่อน
การพิจารณาไปจักทําให้ความยุติธรรมดําเนินไปด้วยดี เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคู่ความที่เกี่ยวข้องร้องขอ ศาลจะมี
คําสั่งเลื่อนการนั่งพิจารณาต่อไปจนกว่าจะได้มีการพิพากษาหรือชีข้ าดในข้อนัน้ ๆ แล้วหรือ ายในระยะเวลาใด ๆ
ตามที่ศาลเห็นสมควรก็ได้

ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ต้องติวกับ อาจารย์เป้ & อาจารย์ตูน T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2 หน้า 7
ฎ.9011/2560 คดีนมี ้ ีประเด็นข้อพิพาทหลักเช่นเดียวกันกับคดีก่อนและมีคู่ความรายเดียวกัน แม้ขณะทีโ่ จทก์ฟ้อง
คดีนศี ้ าลชัน้ ต้นในคดีก่อนยังไม่มีคาํ พิพากษาจึงไม่ทาํ ให้การฟ้องคดีของโจทก์เป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํ้า ตามป.วิ.
แพ่งมาตรา 144 ก็ตาม แต่ต่อมาศาลชัน้ ต้นในคดีก่อนมีคาํ พิพากษาวินจิ ฉัยชีข้ าดในประเด็นแห่งคดีแล้ว ศาลชัน้ ต้นในคดีนี ้
ย่อมไม่อาจดําเนินกระบวนพิจารณาต่อไปได้เพราะจะเป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํ้า ต้องห้ามตามบทกฎหมายดังกล่าว
และต้องเลือ่ นการนั่งพิจารณาคดีนตี ้ ่อไปจนกว่าคําพิพากษาคดีก่อนจะถึงทีส่ ดุ ตามมาตรา 39 ว.1 มิใช่พพิ ากษายกฟ้อง เพราะ
การฟ้องคดีของโจทก์มิใช่กระบวนพิจารณาทีต่ อ้ งห้ามตามกฎหมาย เมือ่ ต่อมาคดีกอ่ นศาลฎีกามีคาํ พิพากษาว่าจําเลยทํา
สัญญาขายทีด่ นิ และบ้านพิพาทให้แก่โจทก์และโจทก์ทาํ สัญญาจะซือ้ ขายคืนให้แก่จาํ เลย มิใช่เป็ นการแสดงเจตนาลวง คํา
พิพากษาอันถึงทีส่ ดุ ในคดีก่อนมีผลผูกพันโจทก์และจําเลยซึ่งเป็ นคู่ความในคดีนดี ้ ว้ ยตามม.145 ว.1 เท่ากับว่าสัญญาขายทีด่ นิ
และบ้านและสัญญาจะซือ้ ขายระหว่างโจทก์จาํ เลยมีผลสมบูรณ์ มิใช่นติ กิ รรมอําพราง โจทก์จึงไม่มีอาํ นาจฟ้องคดีนี ้

6.ห้ามเ พาะทีเ่ กี่ยวกับคดีหรือประเด็นทีไ่ ด้วินิจ ัยชีข้ าดแล้วนั้น***


1) หนีค้ นละประเ ท, หนีป้ ระเ ทเดียวกันแต่คนละคราว
ฎ.2 5 /25 (เนติ 61) คดีเดิมฟ้องในมูลละเมิด ส่วนคดีนฟี ้ ้องในมูลหนีก้ ูย้ ืมเงิน เป็ นคนละประเด็น
2) ทรัพย์สินคนละอย่างกัน
ฎ.6 2/25 การขอคุม้ ครองชัว่ คราวก่อนพิพากษาครัง้ แรก โจทก์ขอให้อายัดทีด่ นิ ของจําเลย ครัง้ ทีส่ องโจทก์
ขอให้อายัดเงินทีจ่ าํ เลยซึ่งเป็ นเหตุทเี่ กิดขึน้ ใหม่ ายหลัง เป็ นคนละประเด็นกัน ไม่เป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํ้า
3) ข้ออ้างแตกต่างกัน
Ex.คดีก่อนฟ้องว่าสัญญาขายฝากที่ดินพิพาทเป็ นนิติกรรมอําพราง คดีนฟี ้ ้องขับไล่อา้ งว่าเป็ นเจ้าของกรรมสิทธิ
***ฎ. /256 คดีก่อน จําเลยทัง้ สองเป็ นโจทก์ฟ้องโจทก์และ ส. เป็ นจําเลย มีประเด็นแห่งคดีวา่ สัญญาขาย
ฝากทีด่ นิ พิพาทเป็ นนิตกิ รรมอําพรางการกูย้ มื เงินระหว่างจําเลยทัง้ สองกับ ส. หรือไม่ ซึ่งศาลชัน้ ต้นวินจิ ฉัยว่าสัญญาขาย
ฝากทีด่ นิ พิพาทมิใช่นติ กิ รรมอําพราง การกูย้ ืมเงินระหว่างจําเลยทัง้ สองกับ ส. ทีด่ นิ พิพาทตกเป็ นของ ส. ตัง้ แต่วนั รับซือ้
ฝากเมือ่ จําเลยทัง้ สองไม่ไถ่ถอนทีด่ นิ พิพาทคืน ายในกําหนด ส. มีสทิ ธิขายทีด่ นิ พิพาทให้แก่โจทก์ซ่งึ เป็ นจําเลยที่ 2 ในคดี
ก่อนได้อนั เป็ นการวินจิ ฉัยในเรือ่ งความสมบูรณ์ของนิตกิ รรมการขายฝากทีจ่ าํ เลยทัง้ สองในคดีนที ้ าํ กับ ส.
คดีนโี ้ จทก์ซ่งึ ได้กรรมสิทธิในทีด่ นิ มาตามสัญญาซือ้ ขายทีโ่ จทก์ทาํ กับ ส. ฟ้องขอให้ขบั ไล่จาํ เลยทัง้ สองและเรียก
ค่าเสียหายอันเป็ นการใช้สทิ ธิใน านะเป็ นเจ้าของกรรมสิทธิในทีด่ นิ โดยมีประเด็นแห่งคดีวา่ จําเลยทัง้ สองอยูใ่ นทีด่ นิ โดย
ละเมิดหรือไม่ และจําเลยทัง้ สองต้องชําระค่าเสียหายแก่โจทก์หรือไม่เพียงใดซึ่งเป็ นคนละประเด็นกับคดีก่อน ดังนีม้ ิใช่เป็ น
การดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลนัน้ อีกในประเด็นแห่งคดีทไี่ ด้วนิ จิ ฉัยชีข้ าดแล้วไม่เป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํ้า
ตัวอย่างกรณีทศี่ าลฎีกาวินิจ ัยว่าเป็ นประเด็นเดิม
Ex.คดีก่อนและคดีหลังมีประเด็นที่ตอ้ งวินจิ ฉัยว่าทรัพย์สินที่พิพาทเป็ นของคูค่ วามฝ่ ายใด
ฎ.888/256 คดีก่อน จําเลยเป็ นโจทก์ฟ้องจําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 ซึ่งจําเลยที่ 3 ในคดีก่อนเป็ นโจทก์ในคดีนี ้ โดย
ประเด็นแห่งคดีมวี ่า ทีด่ นิ พิพาทเป็ นกรรมสิทธิของจําเลยในคดีนซี ้ ่งึ เป็ นโจทก์ในคดีก่อน หรือเป็ นกรรมสิทธิของจําเลยที่ 3
ในคดีก่อนซึ่งเป็ นโจทก์ในคดีนี ้ เมือ่ ในคดีก่อนจําเลยที่ 3 ซึ่งเป็ นโจทก์ในคดีนใี ้ ห้การต่อสูว้ ่าทีด่ นิ พิพาทเป็ นของโจทก์โดย
โจทก์ขอยืมเงินจากบุคคลอืน่ นํามาซือ้ ทีด่ นิ พิพาทโดยให้จาํ เลยในคดีนซี ้ ือ้ ทีด่ นิ แทน จึงเป็ นเรือ่ งโจทก์และจําเลยในคดีก่อน
กลับมาพิพาทในประเด็นแห่งคดีเรือ่ งเดียวกัน เมือ่ คดีกอ่ นศาลฎีกาพิพากษาชีข้ าดในประเด็นแห่งคดีว่า ทีด่ นิ พิพาทเป็ น
ของโจทก์ในคดีก่อนซึ่งเป็ นจําเลยในคดีนแี ้ ล้ว ผลของคําพิพากษาในคดีก่อนย่อมผูกพันทัง้ โจทก์และจําเลยในคดีนดี ้ ว้ ย
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 145 ว.1 การฟ้องคดีของโจทก์จึงเป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํา้ ตาม ป.วิ.พ. ม.144 ว.1

ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ต้องติวกับ อาจารย์เป้ & อาจารย์ตูน T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2 หน้า 8
หลักสําคัญ กรณีคคู่ วามยื่นฟ้องคดีใหม่หรือยื่นคําร้องใหม่โดยอ้างประเด็นใหม่หรือเหตุใหม่หรือข้อเท็จจริงใหม่
โดยหลักแล้วย่อมไม่เป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํา้ แต่ถ้าศาลเห็นว่าคู่ความนั้นสามารถอ้างเหตุดังกล่าวมาใน
คําฟ้ องหรือคําร้อง บับแรกได้อยู่แล้ว แต่ไม่อ้างมา ศาลอาจถือว่าคําฟ้องหรือคําร้องฉบับที่ 2 มีประเด็นที่จะต้อง
วินิจฉัยอย่างเดียวกันกับคําฟ้องหรือคําร้องฉบับแรกจึงเป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาซํา้ ***
ฎ.4716/2561 คําฟ้องของโจทก์เป็ นฟ้องซํ้ากับคดีแพ่งหมายเลขแดงที่ 142/2558 ของศาลแขวงอุบลราชธานี
หรือไม่ เห็นว่า คดีก่อนโจทก์ฟ้องนางสาวเตือนใจและจําเลยเรียกทรัพย์มรดกคืน อ้างว่าบุคคลทัง้ สองมีเจตนาทุจริต
ร่วมกันฉ้อฉลโจทก์ทาํ นิตกิ รรมโอนทีด่ นิ พิพาทตามหนังสือรับรองการทําประโยชน์ (น.ส. 3 ก.) เลขที่ 2297 เป็ นของจําเลย
และนางสาวเตือนใจโดยไม่แบ่งให้ทายาทอืน่ ขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนโอนทีด่ นิ ดังกล่าวกลับเข้าสู่กองมรดก ศาล
แขวงอุบลราชธานี วินจิ ฉัยว่า จําเลยเป็ นบุตรของนายถวิล เจ้ามรดกจึงเป็ นทายาทโดยธรรมซึ่งมีสทิ ธิจะรับมรดก เมือ่
นางสาวเตือนใจซึ่งเป็ นผูจ้ ดั การมรดกโอนทรัพย์มรดกให้จาํ เลยแล้ว จําเลยย่อมมีความชอบธรรมทีจ่ ะรับไว้ดว้ ยสิทธิความ
เป็ นทายาท และย่อมจะครอบครองทรัพย์มรดกได้ดว้ ยอํานาจของตน กรณีไม่เข้าข่ายการปิ ดบังยักย้ายทรัพย์มรดกและไม่
ถือเป็ นการครอบครองทรัพย์มรดกแทนโจทก์ เมือ่ โจทก์ฟ้องจําเลยเพือ่ รับเอาทรัพย์มรดก จึงเป็ นคดีมรดก และโจทก์ฟ้อง
คดีเกิน 10 ปี นับแต่เมือ่ เจ้ามรดกตาย คดีในส่วนของจําเลยขาดอายุความและพิพากษายกฟ้องในส่วนของจําเลย โจทก์
มิได้อทุ ธรณ์คาํ พิพากษาของศาลแขวงอุบลราชธานี คําพิพากษาคดีดงั กล่าวจึงถึงทีส่ ดุ มีผลผูกพันโจทก์และจําเลยซึ่งเป็ น
คู่ความตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 145 วรรคหนึง่
การทีโ่ จทก์ฟ้องคดีนขี ้ อให้เพิกถอนการโอนทีด่ นิ พิพาทระหว่างนางสาวเตือนใจกับจําเลย โดยอาศัยข้อเท็จจริง
เดียวกันกับคดีก่อน แม้จะอ้างเหตุแห่งการเพิกถอนว่าเป็ นนิตกิ รรมอําพรางก็ดว้ ยมีความประสงค์อย่างเดียวกัน คือให้ทดี่ นิ
พิพาทกลับสู่กองมรดกของนายถวิล และนํามาแบ่งปันแก่โจทก์รวมทัง้ ทายาทอืน่ ต่อไป ข้ออ้างทีอ่ าศัยเป็ นหลักแห่งข้อหา
ในคดีนแี ้ ละคดีก่อนจึงเป็ นข้ออ้างเดียวกัน คือ การโอนทีด่ นิ ระหว่างนางสาวเตือนใจกับจําเลยกระทําโดยชอบด้วย
กฎหมายหรือไม่ ดังนี ้ แม้คดีก่อนศาลแขวงอุบลราชธานีได้พพิ ากษายกฟ้องโจทก์ในส่วนจําเลยเพราะเหตุขาดอายุความ
แต่ศาลแขวงอุบลราชธานีก็ได้วนิ จิ ฉัยชีข้ าดในประเด็นแห่งคดีดว้ ยว่า จําเลยเป็ นทายาทโดยธรรมย่อมมีสทิ ธิรบั มรดก การ
ทีน่ างสาวเตือนใจผูจ้ ดั การมรดกโอนทีด่ นิ พิพาทให้จาํ เลยมิใช่การปิ ดบังยักยอกทรัพย์มรดกและไม่ถือว่าจําเลยครอบครอง
ทีด่ นิ แทนโจทก์ ถือได้ว่าศาลแขวงอุบลราชธานีได้วนิ จิ ฉัยในเนือ้ หาของเรือ่ งทีฟ่ ้องร้องกันแล้ว ฟ้องโจทก์ในคดีนจี ้ ึงเป็ นการ
รือ้ ร้องฟ้องกันอีกในประเด็นทีไ่ ด้วนิ จิ ฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกัน คําฟ้องของโจทก์จงึ เป็ นฟ้องซํ้ากับคดีแพ่งหมายเลข
แดงที่ 142/2558 ของศาลแขวงอุบลราชธานี ตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 148

ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ต้องติวกับ อาจารย์เป้ & อาจารย์ตูน T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2 หน้า 9

ฟ้ อง า้ํ
***มาตรา 148 คดีท่ไี ด้มีคาํ พิพากษาหรือคําสั่งถึงที่สดุ แล้วห้ามมิให้คคู่ วามเดียวกันรือ้ ร้องฟ้องกันอีก ใน
ประเด็นที่ได้วินจิ ฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกัน เว้นแต่.....
1.ขณะยื่นฟ้องคดีหลัง คดีแรกได้มีคาํ พิพากษาหรือคําสั่งวินิจฉัยชีข้ าดคดีอนั ถึงที่สดุ แล้ว
2.ห้ามมิให้คคู่ วามเดียวกันรือ้ ร้องฟ้องกันอีก (แม้สลับ านะ, แม้จะฟ้องในรูปแบบอื่น ฎ.5216/2538)
3.คดีแรกต้องได้วินิจฉัยชีข้ าดในประเด็นแห่งคดีแล้ว
4.คดีแรกและคดีหลังมีประเด็นอย่างเดียวกัน
1.ขณะยื่นฟ้ องคดีหลัง คดีแรกได้ถงทีส่ ุดแล้ว
ประเด็นว่าคดีถึงที่สดุ เมื่อใดพิจารณาได้จากมาตรา ว.1 ว.2 ประกอบมาตรา 244/1
1) คําพิพากษาหรือคําสั่งใดซึ่งตามกฎหมายจะอุทธรณ์หรือฎีกาหรือมีคาํ ขอให้พิจารณาใหม่ไม่ได้
ให้ถือว่าเป็ นทีส่ ุดตั้งแต่วนั ทีไ่ ด้อ่านเป็ นต้นไป ตามมาตรา 147 วรรคหนึง่
2) คําพิพากษาหรือคําสั่ง ่งอาจอุทธรณ์ฎีกา หรือมีคาํ ขอให้พจิ ารณาใหม่ได้ ถ้ามิได้อทุ ธรณ์ ฎีกาหรือร้อง
ขอให้พิจารณาใหม่ ายในเวลาที่กาํ หนดไว้ ถือว่าเป็ นทีส่ ุดตั้งแต่ระยะเวลาเช่นว่านั้นได้สิน้ สุดลง ตามม.147 ว.สอง
เนติ สมัย 7 ศาลชัน้ ต้นอ่านคําพิพากษา 15 ม.ค.61 ไม่มีการอุทธรณ์ คดีถึงที่สดุ 15 ก.พ.61
2.ห้ามมิให้คู่ความเดียวกันรือ้ ร้องฟ้ องกันอีก
1) ถ้ามิได้เป็ นคู่ความในคดีก่อน ไม่เป็ นฟ้องซํา้ (*ฎ.2524-2525/2529, 9899/2557*, 7631/2552*)
ฎ.7631/2552 คดีก่อนโจทก์ฟ้องสามีจาํ เลยให้ชาํ ระหนีก้ ูย้ ืมเงิน โจทก์ไม่ได้ฟ้องจําเลยคดีนเี ้ ป็ นจําเลยในคดี
ดังกล่าว สามีจาํ เลยซึ่งเป็ นจําเลยในคดีก่อนกับจําเลยคดีนจี ้ ึงไม่ได้เป็ นคู่ความเดียวกัน ฟ้องของโจทก์คดีนไี ้ ม่เป็ นฟ้องซํา้
2) กรณีคคู่ วามในคดีก่อนสลับ านะกันในคดีหลังเป็ นฟ้องซํา้ ได้ ( เนติ 68 ฎ.2473/2552)
3) คดีไม่มขี อ้ พิพาท ผูร้ อ้ งเป็ นคู่ความเสมอ ส่วนบุคคล ายนอกจะเป็ นคู่ความในคดีต่อเมื่อยื่นคําคัดค้าน
Ex 1. คดีก่อนแม่ย่นื คําร้องขอตัง้ ผูจ้ ดั การมรดก คดีหลังลูกยื่นคําคัดค้านในคดีรอ้ งขอตัง้ ผูจ้ ดั การมรดกของผูอ้ ื่น
*ฎ.640/2515 คดีก่อนมารดาผูค้ ดั ค้านยืน่ คําร้องขอเป็ นผูจ้ ดั การมรดก (ผูค้ ดั ค้านมิได้เป็ นคู่ความในคดีกอ่ น)
และผูร้ อ้ งเป็ นผูค้ ดั ค้าน คดีหลังผูร้ อ้ งยืน่ คําร้องขอเป็ นผูจ้ ดั การมรดกรายเดียวกัน และผูค้ ดั ค้านได้ยืน่ คําคัดค้าน คูค่ วามทัง้
สองคดีมใิ ช่คู่ความเดียวกันจึงไม่เป็ นฟ้องซํา้ แม้ผูร้ อ้ งจะร้องขอให้ตงั้ ผูร้ อ้ งเป็ นผูจ้ ดั การมรดกในคดีหลังในระหว่างทีค่ ดีก่อน
ยังพิจารณาอยู่ก็ไม่เป็ นการฟ้องซ้อน เพราะผูร้ อ้ งมิได้เคยร้องขอให้ตงั้ ผูร้ อ้ งเป็ นผูจ้ ดั การมรดกรายนีใ้ นคดีกอ่ นมาก่อน
Ex 2. ผูร้ อ้ งยื่นคําร้องขอครอบครองปรปั กษ์ท่ดี ินแปลงเดียวกันไว้สองคดี เป็ นฟ้องซํา้ (ฎ.5216/2538)
หมายเหตุ หากในคดีก่อนเป็ นคดีไม่มีขอ้ พิพาทและมีผยู้ ่นื คําคัดค้าน ผูค้ ดั ค้านย่อมเป็ นคูค่ วามในคดีก่อนด้วย
หากมีการนําเรื่องเดียวกันมารือ้ ร้องฟ้องกันใหม่ ย่อมเป็ นฟ้องซํา้ ได้ (ฎ.4549/2540)
4) หากคดีแรกและคดีหลังเป็ นคูค่ วามคนเดียวกันแต่คนละ านะถือว่ามิใช่ค่คู วามเดียวกัน
*ฎ.1010/2551 คดีก่อน ก. เป็ นโจทก์มีโจทก์คดีนเี ้ ป็ นผูฟ้ ้องแทนใน านะผู้แทนโดยชอบ รรมของ ก. ผูเ้ ยาว์
คดีนโี ้ จทก์ฟ้องจําเลยเป็ นส่วนตัวใน านะคู่สัญญาตามสัญญาประนีประนอมยอมความ มิใช่คู่ความเดียวกัน ไม่เป็ นฟ้องซํ้า
5) บุคคลผูส้ ืบสิทธิตามกฎหมายหรือรับโอนสิทธิมาจากคู่ความเดิม ถือว่าเป็ นคูค่ วามในคดีเดิมด้วย

ติวกฎหมายเข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ต้องติวกับ อาจารย์เป้ อาจารย์ตนู SmartLaw utor .086-987-5678 Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2 หน้า 10
Ex 1.ผูส้ ืบสิทธิตามกฎหมายมาจากคู่ความเดิม เช่น ทายาทที่มีสทิ ธิรบั มรดกหรือผูจ้ ดั การมรดกของคู่ความเดิม
ซึ่งเสียชีวติ ไปแล้ว (ข้อสอบเนติ สมัย 62 ฎ.3962/2547*, /2544, 2751/2 , 4636/2556*, 13284/2558)
***ฎ.13284/2558 คดีก่อน พ. ้ องโจทก์ใน านะผูจ้ ดั การมรดกของ บ. ส่วนคดีนโี ้ จทก์ใน านะผูจ้ ดั การมรดก
ของ บ. ฟ้องจําเลยที่ 1 ถึงที่ 3 ใน านะทีจ่ าํ เลยที่ 1 ถึงที่ 3 เป็ นผูม้ ีชอื่ ถือกรรมสิทธิรวมในทีด่ นิ พิพาทกับ พ. หลังจากศาล
พิพากษาคดีก่อนและจําเลยที่ 4 ึงที่ 6 เป็ นทายาทผู้มีสิท ิรับมรดกในทีด่ นิ พิพาท อง พ. หลังจากศาลพิพากษาคดี
ก่อนแล้ว เจ้าพนักงานทีด่ นิ ได้จดทะเบียนโอนทีด่ นิ พิพาทให้แก่จาํ เลยที่ 1 ถึงที่ 3 เป็ นผูถ้ ือกรรมสิทธิรวมกับ พ. ในทีด่ นิ
พิพาท จําเลยทัง้ หกจึงเป็ นผูส้ บื สิทธิจาก พ. ซึ่งเป็ นโจทก์ในคดีก่อน ถือได้วา่ คูค่ วามในคดีนกี ้ บั คู่ความในคดีก่อนเป็ น
คู่ความรายเดียวกัน ฟ้องโจทก์คดีนใี ้ นส่วนทีเ่ กีย่ วกับทีด่ นิ พิพาทจึงเป็ นฟ้องซํ้ากับคดีก่อน
Ex 2. บุคคลที่รบั โอนสิทธิโดยทางนิติกรรมมาจากคู่ความเดิม เช่น ผูซ้ อื ้ ผูร้ บั ให้ ผูร้ บั โอนสิทธิเรียกร้อง
*ฎ. 5210/2557 คดีเดิม โจทก์ฟอ้ งว่าทีด่ นิ พิพาทในคดีนเี ้ ป็ นทีธ่ รณีสง ์ จําเลยในคดีเดิม คือ ท. กับพวก ให้การ
ต่อสูว้ ่าทีด่ นิ พิพาทตามฟ้องไม่ใช่ทธี่ รณีสง ์ แต่เป็ นทีด่ นิ ของจําเลย คือ ท. กับพวก คดีดงั กล่าวถึงทีส่ ดุ แล้ว โดยศาลฎีกา
มีคาํ วินจิ ฉัยฟังข้อเท็จจริงว่าทีด่ นิ พิพาทไม่ใช่ทธี่ รณีสง ์ตามทีโ่ จทก์อา้ ง การทีโ่ จทก์นําคดีนีม้ า ้ องจําเลยในคดีนี้ ึ่ง
เป็ นผู้รับโอนทีด่ นิ จากจําเลยในคดีก่อน โดยกล่าวอ้างข้อเท็จจริงว่าทีด่ นิ พิพาทในคดีนเี ้ ป็ นทีธ่ รณีสง ์เช่นเดียวกับคดี
ก่อน และจําเลยในคดีนกี ้ ็ให้การต่อสูเ้ ช่นเดียวกันกับจําเลยในคดีก่อนว่าทีด่ นิ พิพาทไม่ใช่ทธี่ รณีสง ์ จึงเป็ นการรือ้ ร้องฟ้อง
กันอีกในประเด็นทีไ่ ด้วนิ จิ ฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกันเป็ นการต้องห้ามตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 148
6) บุคคลที่คคู่ วามเดิมได้ใช้สิทธิดาํ เนินคดีแทนตนเองไปแล้ว เช่น เจ้าของรวม, ทายาท, ผูจ้ ดั การมรดก, สามี
ริยากรณีสินสมรส, พนักงานอัยการมีคาํ ขอให้คืนทรัพย์หรือใช้ราคาตามป.วิ.อาญา มาตรา 43
6.1.กรณีเจ้าของรวม (ดูป.พ.พ. มาตรา 1359 และ 1 วรรคหนึ่งประกอบ ฎ.4926/2548, 635/2515, 2595/2522
ม.1359 เจ้าของรวมคนหนึง่ ๆ อาจใช้สิทธิอนั เกิดแต่กรรมสิทธิครอบไปถึงทรัพย์สินทัง้ หมดเพื่อต่อสูบ้ คุ คล ายนอก ….
ฎ.1022/2561 สัญญาประนีประนอมยอมความทีจ่ าํ เลยและโจทก์ตกลงในประเด็นข้อพิพาทซึ่งศาลชัน้ ต้นมีคาํ
พิพากษาตามยอม โจทก์และจําเลยมิได้อทุ ธรณ์ฎีกาตามมาตรา 147 วรรคสอง คดีถึงทีส่ ดุ ไม่วา่ ผูร้ อ้ ง (เจ้าของรวม) จะ
ให้ความยินยอมในการทําสัญญาหรือไม่ก็ตาม คําพิพากษาซึ่งถึงทีส่ ดุ แล้วย่อมมีผลผูกพันผูร้ อ้ งซึ่งเป็ นเจ้าของกรรมสิทธิ
รวมด้วยตามป.วิ.แพ่งมาตรา 145 วรรคหนึง่ เพราะจําเลยใน านะเจ้าของกรรมสิทธิรวมคนหนึ่งได้ใช้สทิ ธิอนั เกิดแต่
กรรมสิทธิครอบไปถึงทรัพย์สนิ ทัง้ หมดเพือ่ ต่อสูโ้ จทก์ซ่งึ เป็ นบุคคล ายนอก ตามป.พ.พ. มาตรา 1359 การทีผ่ ูร้ อ้ งยืน่ คํา
ร้องขอแสดงอํานาจพิเศษโดยอ้างเหตุอย่างเดียวกันอีกว่าผูร้ อ้ งเป็ นเจ้าของกรรมสิทธิรวมกับจําเลยในทีด่ นิ พิพาทโดยการ
ครอบครองปรปักษ์โดยบ่ายเบีย่ งเป็ นว่าผูร้ อ้ งมิได้รูเ้ ห็นเป็ นใจหรือยินยอมในเรือ่ งทีโ่ จทก์กบั จําเลยทําสัญญายอมกันด้วยก็
ตาม ก็เป็ นการรือ้ ร้องฟ้องกันอีกในประเด็นทีไ่ ด้วนิ จิ ฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกัน ซึ่งต้องห้ามตามมาตรา 148
6.2.กรณีสามี ริยาฟ้องคดีเกี่ยวกับสินสมรสโดยได้รบั ความยินยอม
ฎ.2811/2519 จําเลยที่ 1 ฟ้อง ริยาโจทก์เรือ่ งกรรมสิทธิทีด่ นิ โจทก์ยินยอมให้ ริยาโจทก์ฟ้องแย้งจําเลย
ที่ 1 จําเลยที่ 1 กับ ริยาโจทก์ประนีประนอมยอมความกันในคดีนนั้ ศาลพิพากษาตามยอม โจทก์ฟ้องจําเลยที่ 1 ขอให้
แสดงกรรมสิทธิทีด่ นิ รายเดียวกันอีกไม่ได้ เป็ นฟ้องซํา้ (ฎ.7496/2555* วินจิ ฉัยแนวเดียวกัน)

ติวกฎหมายเข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ต้องติวกับ อาจารย์เป้ อาจารย์ตนู SmartLaw utor .086-987-5678 Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2 หน้า 11
6.3.กรณีทายาทหรือผูจ้ ดั การมรดก
*ฎ. 710/2509 การทีท่ ายาทคนหนึ่งฟ้องผูจ้ ดั การมรดกเกีย่ วกับการจัดการมรดก ถือว่าเป็ นการฟ้องแทนทายาท
คนอืน่ ด้วย ทายาทคนหนึ่งฟ้องผูจ้ ดั การมรดกคนก่อนว่า จัดการมรดกไปด้วยความทุจริตประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
ทําให้ทายาทกองมรดกนัน้ เสียหาย ศาลวินจิ ฉัยว่าโจทก์นาํ สืบไม่ได้ว่าผูจ้ ดั การมรดกคนเก่านัน้ ได้กระทําไปด้วยความไม่
สุจริตและประมาทเลินเล่อการทีผ่ ูจ้ ดั การมรดกได้กระทําไปจึงผูกพันกองมรดกคดีถึงทีส่ ดุ ต่อมาผูจ้ ดั การมรดกคนใหม่ซ่งึ
เข้ามาจัดการมรดกแทนผูจ้ ดั การมรดกคนเก่าทีถ่ ูกศาลพิพากษาเพิกถอนได้ฟ้องผูจ้ ดั การมรดกคนเก่าในทํานองเดียวกันกับ
ทีท่ ายาทได้ฟ้องในคดีก่อน และคดีถึงทีส่ ดุ แล้วนัน้ ถือว่าเป็ นการรือ้ ฟื ้นคดีขนึ้ มาฟ้องแทนทายาทอีกเป็ นการใช้สทิ ธิของ
ทายาทซึ่งเป็ นตัวการทีไ่ ด้ฟ้องไปแล้ว จึงเป็ นฟ้องซํา้
ข้อยกเว้น ถ้าทายาทหรือเจ้าของรวมซึ่งเป็ นโจทก์ใช้สิทธิขดั กับทายาทหรือเจ้าของรวมคนอื่น การฟ้องคดีนหี ้ า
ได้ผกู พันทายาทอื่นหรือเจ้าของรวมคนอื่นไม่ (ดูป.พ.พ. มาตรา 1 )
มาตรา 1360 เจ้าของรวมคนหนึ่ง ๆ มีสิทธิใช้ทรัพย์สินได้ แต่การใช้นนั้ ต้องไม่ขดั ต่อสิทธิแห่งเจ้าของรวมคนอื่น ๆ
*ฎ.9129/2558 คดีก่อนโจทก์กบั นาง ท. ฟ้องจําเลยที่ 2 และที่ 3 ขอเพิกถอนนิตกิ รรมระหว่างจําเลยที่ 2 กับที่
3 ในคดีก่อนนัน้ ถือได้วา่ โจทก์ซ่งึ เป็ นทายาทคนหนึ่งฟ้องบุคคล ายนอกแทนทายาทคนอืน่ ด้วย เพราะหากศาลพิพากษา
ให้เพิกถอนทีด่ นิ กลับมาเป็ นทรัพย์ในกองมรดก ทายาททุกคนย่อมได้รบั ประโยชน์ แต่การทีโ่ จทก์กบั นาง ท. ทําสัญญา
ประนีประนอมยอมความให้จาํ เลยทัง้ สองชําระเงิน 90,000 บาท แก่โจทก์กบั นาง ท. และศาลพิพากษาตามยอม คดีถึง
ทีส่ ดุ แล้ว การกระทําของโจทก์ใน านะทายาทซึ่งเป็ นเจ้าของรวมในทรัพย์มรดกใช้สทิ ธิขดั กับทายาทอืน่ หรือเจ้าของรวม
คนอืน่ คําพิพากษาตามยอมในคดีดงั กล่าวคงผูกพันเฉพาะส่วนของโจทก์เท่านัน้ หาได้ผูกพันทายาทอืน่ หรือเจ้าของรวม
คนอืน่ ไม่ เมือ่ โจทก์ใช้อาํ นาจผูจ้ ดั การมรดกฟ้องจําเลยที่ 2 และที่ 3 เป็ นคดีนอี ้ กี จึงเป็ นคูค่ วามเดียวกันและมีประเด็น
เดียวกัน คือ ขอให้เพิกถอนนิตกิ รรมเกีย่ วกับทีด่ นิ พิพาทระหว่างจําเลยที่ 2 กับที่ 3 กับคดีก่อนซึ่งถึงทีส่ ดุ แล้ว จึงเป็ น ้ อง
้าํ เฉพาะส่วน องโจทก์ใน านะส่วนตัวเท่านัน้ แต่ในส่วนผูจ้ ดั การมรดกหาได้เป็ นฟ้องซํ้าด้วยไม่

3.คดีแรกต้องได้วนิ ิจ ัยชีข้ าดในประเด็นแห่งคดีแล้ว


3.1.กรณีศาลมีคาํ สั่งให้จาํ หน่ายคดีออกเสียจากสารบบความ ไม่ว่าจะด้วยเหตุใดๆ ศาลยังมิได้วินิจฉัยชี ้
ขาดในประเด็นแห่งคดีทงั้ สิน้ (ดูมาตรา 132) เช่น โจทก์ขาดนัดพิจารณา (*ฎ.1182/2550, 2604/2535, *693/2555) ไม่ย่นื
คําขอให้ศาลพิพากษาให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยจําเลยขาดนัดยื่นคําให้การ ถอนฟ้อง (*ฎ.1584/2546, 3182/2541,
3998/25 , 1855/2535) ทิง้ ฟ้อง (*ฎ.15572/2558) คู่ความมรณะ ดังนัน้ การนําคดีมาฟ้องใหม่จึงไม่เป็ นฟ้องซํา้
3.2. คดีก่อนศาลพิพากษาตามยอมไปแล้วถือว่ามีคาํ วินิจ ัยในประเด็นแห่งคดีแล้ว
. . ศาลพิพากษายกฟ้ อง ต้องแยกพิจารณาจากแนวคําพิพากษาศาลฎีกาดังนี ้
3.4.กรณี
1) กรณีทศี่ าลพิพากษายกฟ้ อง ดยยังมิได้วินิจ ัยชีข้ าดในประเด็นข้อพิพาทแห่งคดี เช่น คําฟ้องไม่ชอบ
, โจทก์ไม่มีอาํ นาจฟ้อง, โจทก์ฟ้องคดีต่อศาลที่ไม่มอี าํ นาจ ฟ้องใหม่ได้ไม่เป็ นฟ้องซํา้
Ex 1. ยกฟ้องเพราะฟ้ องเคลือบคลุม (ฎ.155/2523, 1 1/2549*, ฎ. /2538)
Ex 2. ยกฟ้องเพราะคําฟ้องไม่ชอบด้วยกฎหมายเนื่องจากมิได้ลงลายมือชื่อ (ฎ.2522/2523)
Ex 3. ยกฟ้องเพราะคําฟ้องมีคาํ ขอที่ไม่อาจบังคับได้ (ฎ.1674/2529)
Ex 4. ยกฟ้องเพราะคําฟ้องมิได้บรรยายการอันโต้แย้งสิทธิ (ฎ. /2538)
Ex 5. ยกฟ้องเพราะจําเลยยังมิได้โต้แย้งสิทธิโจทก์ (ฎ.1566/2553 หนีย้ งั ไม่ถงึ กําหนดชําระ)

ติวกฎหมายเข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ต้องติวกับ อาจารย์เป้ อาจารย์ตนู SmartLaw utor .086-987-5678 Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 2 หน้า 12
ตัวอย่างกรณีศาลพิพากษายกฟ้ อง ดยได้วินิจ ัยชีข้ าดในประเด็นข้อพิพาทแห่งคดีแล้ว
1) คดีก่อนศาลพิพากษายกฟ้องเพราะไม่มีพยานหลัก านมาสืบ (ฎ.7872/2543, 554/2532)
2) คดีก่อนศาลพิพากษายกฟ้องเพราะโจทก์ไม่มีหลัก านการทําสัญญาเป็ นหนังสือมาแสดง ในกรณีท่มี ี
กฎหมายบังคับให้ตอ้ งมีพยานหลัก านมาแสดง เช่น สัญญากูย้ มื เงิน สัญญาคํา้ ประกัน สัญญาเช่าซือ้
3) คดีก่อนศาลพิพากษายกฟ้องเพราะจําเลยไม่ใช่ค่สู ญั ญา (ฎ. 1/2549)
4) คดีก่อนศาลพิพากษายกฟ้องเพราะคดีขาดอายุความ (ฎ.4431/2553)
4.คดีแรกและคดีหลังมีประเด็นอย่างเดียวกัน
4.1.คดีก่อนกับคดีหลังมีประเด็นข้อพิพาทแห่งคดีแตกต่างกัน
1) ทรัพย์สินที่พิพาทเป็ นคนละอย่าง และมีประเด็นที่ตอ้ งวินิจฉัยแตกต่างกัน
2) เป็ นมูลหนีค้ นละคราว, คนละประเ ท, ผิดนัดคนละงวด (ฎ. 7751/2538)
3) ฟ้องบังคับจํานองที่ดินแปลงเดียวกัน แต่หนีป้ ระธานต่างรายกัน ไม่เป็ นฟ้องซํา้ /ดําเนินกระบวนพิจารณาซํา้
ฎ. 6 /256 จํานองทรัพย์สนิ รายเดียวเป็ นประกันหนีป้ ระธานต่างราย คดีก่อนโจทก์ฟ้องว่า จําเลยทํา
สัญญาจํานองทีด่ นิ พิพาทเพือ่ เป็ นประกันหนีท้ ี่ ส. กูเ้ งิน 1,000,000 บาท ไปจากโจทก์ คดีนโี ้ จทก์ฟ้องว่า จําเลยทําสัญญา
จํานองทีด่ นิ พิพาทเพือ่ เป็ นประกันหนีท้ จี่ าํ เลยกูเ้ งิน 1,300,000 บาท ไปจากโจทก์ เป็ นการฟ้องเรียกหนีเ้ งินกูอ้ นั เป็ นหนี ้
ประธานและการจํานองอันเป็ นหนีอ้ ปุ กรณ์เพือ่ เป็ นประกันหนีป้ ระธานต่างรายกันไม่ได้มคี วามเกีย่ วข้องกันเลย แม้ทรัพย์
จํานองจะเป็ นทีด่ นิ พิพาทแปลงเดียวกันก็ตาม ความรับผิดของคดีก่อนและคดีนแี ้ ยกต่างหากจากกัน ฟ้องโจทก์ไม่เป็ นฟ้อง
ซํ้าหรือดําเนินกระบวนพิจารณาซํ้ากับคดีก่อน
4) เป็ นหนีห้ รือเหตุการณ์ท่เี กิดขึน้ ใหม่หลังจากยื่นฟ้องคดีก่อนหรือหลังจากศาลมีคาํ พิพากษาในคดีก่อน
Ex 1.หนีเ้ ดิมยังไม่ถงึ กําหนดชําระ มาฟ้องคดีใหม่หลังจากหนีถ้ ึงกําหนดชําระ (ฎ.1566/2552)
Ex 2.หนีห้ รือความเสียหายที่เกิดขึน้ หลังจากคดีก่อนศาลพิพากษาให้ยดึ รถ
Ex 3. คดีก่อนฟ้องว่าผิดสัญญาหุน้ ส่วน คดีนฟี ้ ้องขอคืนทุนเนื่องจากเลิกห้าง
ฎ. 22/256 คดีก่อนโจทก์ฟ้องว่า โจทก์จาํ เลยตกลงร่วมลงทุนซือ้ ทีด่ นิ เพือ่ นําไปขายแบ่งกําไรกัน โจทก์ลงทุน
5,000,000 บาท จําเลยลงทุน 200,000 บาท แต่โจทก์ตรวจสอบแล้วจําเลยซือ้ ทีด่ นิ ราคาเพียง 2,600,000 บาท ต่อมา
จําเลยขายไป 2,800,000 บาท กําไร 200,000 บาท ขอให้จาํ เลยคืนเงินลงทุนส่วนเกิน 2,600,000 บาท และเงินลงทุน
2,400,000 บาท และแบ่งกําไร จําเลยให้การว่า จําเลยซือ้ ทีด่ นิ ราคา 5,200,000 บาท แต่ขายไป 2,800,000 บาท ขาดทุน
2,400,000 บาท จําเลยไม่ตอ้ งคืนทุนหรือกําไร ประเด็นแห่งคดีมวี ่า จําเลยผิดสัญญาหุน้ ส่วนหลอกลวงเอาเงินลงทุนไป
จากโจทก์หรือไม่ และต้องคืนเงินลงทุนกับแบ่งผลกําไรให้แก่โจทก์หรือไม่ คดีนโี ้ จทก์ฟ้องว่า จําเลยขายทีด่ นิ ได้แล้วห้าง
หุน้ ส่วนเป็ นอันเลิกกันและต้องมีการชําระบัญชี แต่จาํ เลยเพิกเฉย ขอให้บงั คับจําเลยคืนเงินทุน 2,688,000 บาท จําเลยให้
การว่า ไม่ได้เป็ นหุน้ ส่วน ไม่ตอ้ งชําระบัญชี ทัง้ จําเลยเสียค่าใช้จา่ ยในการถมดิน ทําท่อระบายนํา้ ค่าคําขอขาย
ค่าธรรมเนียม ค่า าษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ค่าอากรแสตมป์ ค่า าษีธุรกิจเฉพาะและรายได้ทอ้ งถิ่น และค่าพยาน รวม
1,081,985 บาท แม้โจทก์มีคาํ ขอให้จาํ เลยคืนเงินทุนแก่โจทก์ แต่เป็ นเงินทีเ่ ป็ นผลมาจากโจทก์อา้ งว่าห้างหุน้ ส่วนเลิกกัน
และโจทก์ได้ชาํ ระบัญชีแล้ว จําเลยให้การว่า โจทก์จาํ เลยร่วมลงทุนกัน ไม่ตอ้ งชําระบัญชี ประเด็นมีว่า กิจการระหว่าง
โจทก์จาํ เลยต้องมีการชําระบัญชีหรือไม่ อย่างไร ฟ้องโจทก์ไม่เป็ นฟ้องซํา้
5) คดีก่อนจําเลยยื่นคําให้การแต่ขอสละประเด็นดังกล่าวแล้ว (ฎ.11369/2555)
6) คดีก่อนศาลยกขึน้ วินิจฉัยให้โดยไม่ชอบ เช่น วินิจฉัยนอกฟ้อง นอกประเด็น (ฎ.1835-1836/2539)
7) ประเด็นข้อพิพาทในคดีก่อนที่ศาลมิได้ยกขึน้ วินจิ ฉัยให้

ติวกฎหมายเข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ต้องติวกับ อาจารย์เป้ อาจารย์ตนู SmartLaw utor .086-987-5678 Line @smartlawtutor

You might also like