You are on page 1of 14

ภาคทฤษฎี รุน่ 53 ตัวอย่างข้อสอบบทที่ 1 : ทนายความ

และมรรยาททนายความ
O ความรูท้ ่วั ไป ค. ทนายความตามพ.ร.บ.ทนายความ พ.ศ.2528
1. ข้อใดไม่ใช่วตั ถุประสงค์ของสภาทนายความ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น ง. ข้อ ข และ ข้อ ค
16/1 ข้อ 46)
7. นายน้อย เขาใหญ่ ทนายความ ถูกห้ามทาการเป็ นทนาย
ก. ส่งเสริมการศึกษาและการประกอบวิชาชีพทนายความ
ความมีกาหนด 3 ปี แต่ในระหว่างถูกห้ามทาการเป็ นทนาย
ข. ควบคุมมรรยาทของทนายความ
ความ นายน้อย เขาใหญ่ ในฐานะทนายผูร้ อ้ งได้ทาคาร้องขอ
ค. ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิกสภา
จัดการมรดกยื่นต่อศาลแพ่ง ความผิดที่นายน้อย เขาใหญ่
ทนายความ
จะต้องรับนัน้ มีระวางโทษอย่างไร (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 34 ข้อ19)
ง. ส่งเสริมและจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิกสภาทนายความและ
ก. จาคุกไม่เกิน 1 ปี /ปรับไม่เกิน 40,000 บาท /ทัง้ จาทัง้ ปรับ
ครอบครัว
ข. จาคุกไม่เกิน 2 ปี /ปรับไม่เกิน 40,000 บาท /ทัง้ จาทัง้ ปรับ
2. การช่ วยเหลือประชาชนทางกฎหมายตาม พ.ร.บ.ทนาย
ค. จาคุกไม่เกิน 3 ปี /ปรับไม่เกิน 40,000 บาท /ทัง้ จาทัง้ ปรับ
ความ พ.ศ. 2528 ได้แก่ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 16/1 ข้อ 49)
ง. จาคุกไม่เกิน 4 ปี /ปรับไม่เกิน 40,000 บาท /ทัง้ จาทัง้ ปรับ
ก. การให้คาปรึกษาหรือแนะนาเกี่ยวกับกฎหมาย
ข. การร่างนิตกิ รรมสัญญา ค. การยกเว้นค่าทนายความ 8. นายอาทิตย์ ทนายความถูกคณะกรรมการสภาทนายความ
ง. ถูกข้อ ก, ข, ค จ. ถูกข้อ ก, ข มีคาสั่งห้ามทาการเป็ นทนายความมีกาหนด 2 ปี นายอาทิตย์
ได้รบั ทราบคาสั่งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2553 และได้ยื่นอุทธรณ์
3. พระราชบัญญัติทนายความฯ มีขนึ ้ ครัง้ แรกเมื่อใด (ภ.ทฤษฎี
ค าสั่ง ต่ อ สภานายกพิ เศษเมื่ อ วัน ที่ 20 สิ ง หาคม 2553 ใน
รุ ่น 16/2 ข้อ 48)
ก. พ.ศ. 2455 ข. พ.ศ. 2456 ค. พ.ศ. 2457 ง. พ.ศ. 2458 ระหว่างรอคาวินิจฉัยของสภานายกพิเศษ นายอาทิตย์ตกลง
ทาหน้าที่ทนายความให้แก่นางศุกร์ และทาคาร้องขอจัดการ
4. วันทนายความและวันสถาปนาสภาทนายความได้แก่วนั ใด มรดกยื่นต่อศาลแพ่ง การกระทาของนายอาทิตย์ ผิดหรือไม่
(ภ.ทฤษฎี รุ ่น 16/2 ข้อ 50)
อย่างไร (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 35 ข้อ1)
ก. วันที่ 20 มกราคม และวันที่ 10 กันยายน ของทุกปี
ก. ไม่มีความผิดใด เพราะคดียงั ไม่ถึงที่สดุ จึงยังสามารถทา
ข. วันที่ 10 กุมภาพันธ์ และวันที่ 10 กันยายน ของทุกปี
หน้าที่ทนายความได้ตอ่ ไปจนกว่าจะมีคาสั่งของสภานายก
ค. วันที่ 10 กุมภาพันธ์ และวันที่ 20 กันยายน ของทุกปี
พิเศษแห่งสภาทนายความ
ง. วันที่ 20 กุมภาพันธ์ และวันที่ 10 กันยายน ของทุกปี
ข. มีความผิดทางอาญา ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 4 ปี หรือ
5. หากผู้ที่ มิ ได้จ ดทะเบี ย นและรับ ใบอนุญ าตให้เป็ น ทนาย ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ความ หรือผูซ้ งึ่ ขาดจากการเป็ นทนายความมาว่าความในศาล ค. ไม่มีความผิดทางอาญาและเป็ นการละเมิดอานาจศาล
ถือว่ามีความผิดตามพ.ร.บ.ทนายความ พ.ศ.2528 มาตรา 33 ง. มีความผิดทางอาญาต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ
ต้องระวางโทษเท่าใด(ภ.ทฤษฎี รุ ่น24 ข้อ2,ภ.ทฤษฎี รุ ่น31 ข้อ14) ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ก. จาคุกไม่เกิน 1ปี /ปรับไม่เกินสามหมื่นบาท /ทัง้ จาทัง้ ปรับ
9. วัตถุประสงค์ของสภาทนายความ ตามพ.ร.บ.ทนายความ
ข. จาคุกไม่เกิน 2ปี /ปรับไม่เกินสีห่ มื่นบาท /ทัง้ จาทัง้ ปรับ
พ.ศ.2528 คือ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 40 ข้อ 4)
ค. จาคุกไม่เกิน 1ปี /ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท /ทัง้ จาทัง้ ปรับ
ก. ส่งเสริมการศึกษาและการประกอบวิชาชีพทนายความ
ง. จาคุกไม่เกิน 2ปี /ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท /ทัง้ จาทัง้ ปรับ
ข. ควบคุมมรรยาทของทนายความ
6. สมาชิ กสภาทนายความได้แก่ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 27 ข้อ 10, ภ. ค. ส่งเสริม ช่วยเหลือ แนะนา เผยแพร่ และให้การศึกษาแก่
ทฤษฎี รุ ่น 48 ข้อ 5)
ประชาชนในเรือ่ งเกี่ยวกับกฎหมาย
ก. ผูท้ ี่จบนิติศาสตรบัณฑิต
ง. ถูกทุกข้อ
ข. ผูผ้ ่านการอบรมจากสานักฝึ กอบรมวิชาว่าความแห่งสภา
ทนายความ
1
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

10. ตามความหมายของพ.ร.บ.ทนายความ พ.ศ. 2528 มาตรา ชื่อออกจากทะเบียนทนายความ


4 บัญญัติวา่ “ทนายความ” หมายถึง ผูใ้ ด (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 42 ข้อ 1) ง. ถูกทุกข้อ
ก. ผูท้ ี่สภาทนายความได้รบั จดทะเบียนและอนุญาตให้เป็ น
O คณะกรรมการในสภาทนายความ
ทนายความ
14. นาย ก. ทนายความเห็น ว่าข้อบังคับสภาทนายความว่า
ข. ผูท้ ี่ได้ผา่ นการอบรมวิชาว่าความของสานักฝึ กอบรมวิชาว่า
ด้ว ยมรรยาททนายความ พ.ศ.2529 ใช้บัง คับ มานานแล้ว
ความ
สมควรมี ก ารแก้ ไ ข หากจะต้ อ งแก้ ไ ขข้ อ บั ง คั บ จะต้ อ ง
ค. ผูท้ ี่นายกสภาทนายความอนุญาตให้เป็ นทนายความ
ดาเนินการอย่างไร (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 16/1 ข้อ 45)
ง. ผูท้ ี่นายทะเบียนสภาทนายความอนุญาตให้เป็ น
ก. ทนายความจานวน 100 คน มีสิทธิเสนอขอให้กรรมการ
ทนายความ
พิจารณาแก้ไขข้อบังคับ
11. พระบิดาแห่งวิชาชีพทนายความคือท่านใด (ภ.ทฤษฎี รุ ่น ข. ทนายความไม่ น ้ อ ยกว่ า 100 คน มี สิ ท ธิ เ สนอขอให้
46 ข้อ 5) กรรมการพิจารณาแก้ไขข้อบังคับ
ก. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช ค. ทนายความมากกว่า 100 คน มีสทิ ธิเสนอขอให้กรรมการ
ข. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั พิจารณาแก้ไขข้อบังคับ
ค. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ง. ทนายความไม่ น ้ อ ยกว่ า 300 คน มี สิ ท ธิ เ สนอขอให้
ง. กรมหลวงราชบุรดี ิเรกฤทธิ์ กรรมการพิจารณาแก้ไขข้อบังคับ
12. ทนายความที่เคยมีใบอนุญาตให้เป็ นทนายความประเภท 15. ใครมีอานาจหน้าทีค่ วบคุมการเลือกตัง้ นายกและกรรมการ
2 ปี แต่ขาดต่อใบอนุญาต หากประสงค์จะต่อใบอนุญาต ต้อง ให้เป็ นไปตามกฎหมายและข้อบังคับ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 16/1 ข้อ 47)
ยื่นคาขอต่อใบอนุญาต ภายในเวลาไม่เกิน (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 23 ข้อ
ก. สภานายกพิเศษ
15, ภ.ทฤษฎี รุ ่น 47 ข้อ 19 (เปลี่ยนคาถามเล็กน้อย))
ก. 90 วัน นับแต่ใบอนุญาตสิน้ อายุ และยอมชาระค่าธรรม ข. ประธานกรรมการมรรยาททนายความ
เนียมเพิ่มร้อยละ 20 ของค่าธรรมเนียมสาหรับใบอนุญาต ค. คณะกรรมการมรรยาททนายความ
ข. 90 วัน นับแต่ใบอนุญาตสิน้ อายุ และยอมชาระค่าธรรม ง. ประธานศาลฎีกาหรือผูแ้ ทน
เนียมเพิ่มร้อยละ 25 ของค่าธรรมเนียมสาหรับใบอนุญาต จ. คณะกรรมการเนติบณ ั ฑิตยสภา
ค. 60 วัน นับแต่ใบอนุญาตสิน้ อายุ และยอมชาระค่าธรรม 16. บุคคลต่อไปนีถ้ ือว่าเป็ นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมาย
เนียมเพิ่มร้อยละ 20 ของค่าธรรมเนียมสาหรับใบอนุญาต อาญา (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 16/2 ข้อ 43, ภ.ทฤษฎี รุ ่น 43 ข้อ 1, ภ.ทฤษฎี
ง. 60 วัน นับแต่ใบอนุญาตสิน้ อายุ และยอมชาระค่าธรรม รุ ่น 46 ข้อ 2, ภ.ทฤษฎี รุ ่น 47 ข้อ 3 (เปลี่ยนตัวเลือก))
เนียมเพิ่มร้อยละ 25 ของค่าธรรมเนียมสาหรับใบอนุญาต ก. นายกสภาทนายความ
ข. กรรมการสภาทนายความ
13. นายดุสิต เป็ นทนายความใบอนุญาตตลอดชีพ ถูกศาลมี
ค. กรรมการมรรยาททนายความ
คาพิพากษาให้เป็ นบุคคลล้มละลายคดีถึงที่สดุ ตัง้ แต่ ปี พ.ศ.
ง. กรรมการสอบสวนมรรยาททนายความ
2554 และภายหลังถูกปลดจากล้มละลายแล้ว เมื่อข้อเท็จจริง
จ. ผูอ้ านวยการสานักฝึ กอบรมวิชาว่าความแห่งสภา
ปรากฏต่อคณะกรรมการสภาทนายความ คณะกรรมการต้อง
ทนายความ
ดาเนินการอย่างไร (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 48 ข้อ 2)
ก. ให้คณะกรรมการลบชื่อออกจากทะเบียนทนายความ 17. คณะกรรมการสอบสวนมีอานาจเรียกบุคคล หรือ เอกสาร
ข. ให้คณะกรรมการจาหน่ายชื่อออกจากทะเบียนทนายความ เพื่อประกอบการพิจารณาคดีมรรยาททนายความได้ หรือไม่
(ภ.ทฤษฎี รุ ่น 22 ข้อ 2)
ค. ให้คณะกรรมการลบชื่อ แล้วแจ้งให้นายทะเบียนจาหน่าย

2
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

ก. ไม่ได้ เพราะเป็ นหน้าที่ของประธานกรรมการมรรยาท 22. กรรมการสอบสวนมรรยาททนายความ ได้รบั การแต่งตัง้


ทนายความ จาก (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 32 ข้อ 1)
ข. ไม่ได้ เพราะไม่ใช่เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมาย ก. นายกสภาทนายความ
อาญา ข. กรรมการสภาทนายความ
ค. ได้ เพราะเป็ นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา ค. ประธานกรรมการมรรยาททนายความ
ง. ได้ เพราะพระราชบัญญัติทนายความให้อานาจไว้ ง. คณะกรรมการมรรยาททนายความ
18. ผูใ้ ดมิใช่คณะกรรมการสภาทนายความ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 24 23. บรรดาข้อบังคับต่างๆของสภาทนายความจะมีผลใช้บงั คับ
ข้อ 1) เมื่อใด (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 32 ข้อ 18)
ก. ผูแ้ ทนศาลยุติธรรม ข. ผูแ้ ทนเนติบณ
ั ฑิตยสภา ก. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วและได้รบั ความเห็น
ค. นายกสภาทนายความ ง. ผูแ้ ทนกระทรวงยุติธรรม ชอบจากนายกสภาทนายความ
19. คณะกรรมการสอบสวนมรรยาททนายความ มี ห นังสือ ข. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วและได้รบั ความเห็น
เรีย กให้บุค คลใดมาเป็ น พยานในการสอบสวนคดี ม รรยาท ชอบจากสภานายกพิเศษ
ทนายความแล้วบุคคลนัน้ ไม่มา บุคคลนัน้ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น25 ข้อ3) ค. เมื่ อ ได้ร ับ ความเห็ น ชอบจากสภานายกพิ เศษและได้
ก. ไม่ มี ค วามผิ ด เพราะคณะกรรมการสอบสวนมรรยาท ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
ทนายความไม่ใช่ศาล ง. เมื่ อ ได้ร ับ ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการสภาทนาย
ข. ไม่ มี ค วามผิ ด เพราะคณะกรรมการสอบสวนมรรยาท ความและได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ทนายความไม่ได้เป็ นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมาย 24. คดีมรรยาททนายความเรื่องหนึ่ง ประธานคณะกรรมการ
อาญา สอบสวนฯ มีหนังสือแจ้ง เพื่อเรียกให้ผจู้ ดั การธนาคารให้จดั ส่ง
ค. มีความผิด เพราะไม่ให้ความร่วมมือในการสอบสวน ส าเนาเอกสารบั ญ ชี ก ระแสรายวัน ของทนายความผู้ถู ก
ง. มี ค วามผิ ด เพราะเป็ นการฝ่ าฝื นต่ อ พระราชบั ญ ญั ติ กล่าวหาที่ มี อ ยู่ในธนาคารนั้น มายังประธานคณะกรรมการ
ทนายความ ฯ สอบสวนฯ เพื่อประกอบการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ
20. ทนายความผูส้ มัครรับเลือกตัง้ เป็ นนายกสภาทนายความ ภายใน 15 วัน นับ แต่ ได้รบั หนังสือ ผู้จัด การธนาคารได้ร ับ
และกรรมการสภาทนายความ จะต้องเป็ น ผูซ้ ึ่งได้จดทะเบีย น หนังสือเรียกดังกล่าวแล้ว ครบกาหนดเวลาแล้วเพิกเฉยโดย
และรับใบอนุญาตให้เป็ นทนายความมาแล้วรวมกันไม่นอ้ ย ปราศจากเหตุ ผ ลอัน สมควร ผู้จัด การธนาคารมี ค วามผิ ด
กว่ากี่ปีก่อนวันเลือกตัง้ นายกหรือกรรมการ(ภ.ทฤษฎีรุ่น28 ข้อ2) หรือไม่ อย่างไร (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 36 ข้อ 2)
ก. นายกสภาทนายความ 5 ปี กรรมการสภาทนายความ 5 ปี ก. ไม่มีความผิด เพราะกรรมการสอบสวนไม่ได้เป็ นเจ้าพนักงาน
ข. นายกสภาทนายความ 7 ปี กรรมการสภาทนายความ 7 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา
ค. นายกสภาทนายความ 10 ปี กรรมการสภาทนายความ 7 ปี ข. มีความผิด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิ น 3 เดือน หรือปรับ
ง. นายกสภาทนายความ10 ปี กรรมการสภาทนายความ 10 ปี ไม่เกิน 1,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ค. มีความผิด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 เดือน หรือปรับ
21. ทนายความที่ได้รบั จดทะเบียนและรับใบอนุญาตก่อนวัน
ไม่เกิน 1,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
เลือกตัง้ นายกสภาทนายความและกรรมการสภาทนายความ
ง. มีความผิด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับ
กี่วนั จึงมีสทิ ธิเลือกตัง้ นายกสภาทนายความและหรือกรรมการ
ไม่เกิน 1,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
สภาทนายความ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 28 ข้อ 3, ภ.ทฤษฎี รุ ่น 34 ข้อ 18,
ภ.ทฤษฎี รุ ่น 39 ข้อ 18)
ก. สิบห้าวัน ข. สามสิบวัน ค. สีส่ บิ ห้าวัน ง. หกสิบวัน

3
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

25. ทนายความที่จะได้รบั การแต่ง ตั้งเป็ น คณะกรรมการสอบ ก. ต้องฟ้องร้องต่อศาลปกครองภายใน 20 วัน


สวนฯ จะต้องมีคุณสมบัติตามพ.ร.บ.ทนายความ พ.ศ. 2528 ข. ต้องฟ้องร้องต่อศาลปกครองภายใน 30 วัน
ข้อใดที่ทา่ นเห็นว่าไม่ถกู ต้อง (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 36 ข้อ 4) ค. ต้องฟ้องร้องต่อศาลปกครองภายใน 50 วัน
ก. เป็ นทนายความมาแล้วรวมกันไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี ง. ต้องฟ้องร้องต่อศาลปกครองภายใน 90 วัน
ข. เป็ นทนายความมาแล้วรวมกันไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี 29. เมื่อคณะกรรมการสภาทนายความมีคาสั่งลงโทษทนายความ
ค. ไม่ เคยถูก ลงโทษประพฤติ ผิด ตามมรรยาททนายความ ในคดีมรรยาททนายความ ทนายความผูน้ นั้ มีสทิ ธิที่จะดาเนินการ
หรือถูกลบชื่อออกจากทะเบียนทนายความ อย่างไร (ภ.ทฤษฎี รุ ่น31 ข้อ 3,ภ.ทฤษฎี รุ ่น 37 ข้อ 3(แก้โจทย์))
ง. ไม่เคยถูกจาหน่ายชื่อออกจากทะเบียนทนายความ หรือ ก. อุทธรณ์คาสั่งลงโทษต่อนายกสภาทนายความได้ภายใน
ถู ก ลบชื่ อ ออกจากทะเบี ย นทนายความ ตามพ.ร.บ. 30 วันนับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้งคาสั่ง
ทนายความ ข. อุทธรณ์คาสั่งลงโทษต่อสภานายกพิเศษได้ภายใน 30 วัน
26. การแต่งตัง้ คณะกรรมการมรรยาททนายความจะสมบูรณ์ นับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้งคาสั่ง
เมื่อใด (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 37 ข้อ 1) ค. อุทธรณ์คาสั่งลงโทษต่อประธานกรรมการมรรยาททนาย
ก. คณะกรรมการสภาทนายความแต่งตัง้ โดยความเห็นชอบ ความได้ภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้งคาสั่ง
ของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุติธรรม ง. ฟ้องคดีตอ่ ศาลปกครองภายใน 90 วันนับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้ง
ข. นายกสภาทนายความแต่ ง ตั้ง โดยความเห็ น ชอบของ คาสั่ง
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุติธรรม 30. การกล่าวหาว่าทนายความประพฤติ ผิด มรรยาททนาย
ค. คณะกรรมการสภาทนายความแต่งตัง้ โดยความเห็ นชอบ ความ ต้องกล่าวหาภายในกาหนด (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 32 ข้อ 2)
ของสภานายกพิเศษแห่งสภาทนายความ ก. หนึง่ ปี นบั แต่วนั รูเ้ รือ่ งการประพฤติผิด
ง. นายกสภาทนายความแต่ ง ตั้ ง โดยความเห็ น ชอบของ ข. หนึง่ ปี นบั แต่วนั ประพฤติผิด
สภานายกพิเศษแห่งสภาทนายความ ค. สามปี นบั แต่วนั รูเ้ รือ่ งการประพฤติผิด
27. ทนายความผูม้ ีสทิ ธิใช้สทิ ธิเลือกตัง้ นายกหรือกรรมการ ง. ห้าปี นบั แต่วนั ประพฤติผิด
สภาทนายความ ต้องมีคณ ุ สมบัติดงั นี ้ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 47 ข้อ 20) 31. นาย ก. ยื่นคากล่าวหา นาย ข. ทนายความ ว่าประพฤติ
ก. ทนายความที่ได้รบั จดทะเบียนและรับใบอนุญาตมาไม่นอ้ ย ผิด มรรยาททนายความ ขอให้พิ จ ารณาลงโทษ แต่ป ระธาน
กว่า 1 เดือน กรรมการมรรยาททนายความได้ พิ จ ารณาค ากล่ า วหา
ข. ทนายความที่ได้รบั จดทะเบียน ให้เป็ นทนายความ ข้อเท็จจริง และพยานหลักฐานต่างๆ แล้วมีคาสั่งไม่รบั เป็ นคา
ค. ทนายความที่ได้รบั จดทะเบียนและรับใบอนุญาตแล้ว ใช้ กล่า วหา และได้แ จ้ง ค าสั่ง ไม่ รบั เป็ นค ากล่า วหาให้น าย ก.
สิทธิได้ทนั ที ทราบแล้ว นาย ก. ประสงค์จะฟ้ องคดี ต่อศาลปกครองต้อ ง
ง. ทนายความที่ได้รบั จดทะเบียนและรับใบอนุญาตก่อนรับ ดาเนินการอย่างไร (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 33 ข้อ 1)
เลือกตัง้ นายกหรือกรรมการไม่นอ้ ยกว่า 30 วัน ก. นาย ก.สามารถยื่ น ฟ้ อ งคดี ต่ อ ศาลปกครองได้ ทั น ที
O กาหนดเวลา เนื่ อ งจากพ.ร.บ.ทนายความ พ.ศ.2528 ไม่ ได้ก าหนด
28. ทนายความที่ประพฤติผิดมรรยาททนายความหรือมีคาสั่ง ขัน้ ตอนอุทธรณ์ไว้
ลบชื่อทนายความออกจากทะเบียนทนายความ จะเป็ นหน้าที่ ข. นาย ก. จะต้องยื่นอุทธรณ์คาสั่งต่อประธานมรรยาททนาย
ของนายทะเบี ย นทนายความแจ้ง ผลค าสั่ง ลงโทษให้ผู้ถู ก ความ ภายใน 14 วัน นับแต่วันรับแจ้งคาสั่ง เมื่อประธาน
กล่ า วหาทุ ก ราย พร้อ มกั บ แจ้ง สิ ท ธิ ในการฟ้ อ งร้อ งต่ อ ศาล มรรยาททนายความมีคาสั่งยืน จึงจะฟ้องศาลปกครองได้
ปกครองภายในกี่วนั นับแต่วนั ทราบคาสั่ง (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 28 ข้อ1)

4
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

ค. นาย ก. จะต้องยื่นอุทธรณ์คาสั่งต่อประธานมรรยาททนาย ภายในอายุความของคดีนบั แต่วนั ที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน


ความ ภายใน 15 วัน นับแต่วันรับแจ้งคาสั่ง เมื่อประธาน นางสาวยุติ ตรวจสอบพบว่า นายชอบ ไม่ดาเนินการฟ้องให้
มรรยาททนายความมีคาสั่งยืน จึงจะฟ้องศาลปกครองได้ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 จึงบอกเลิกการจ้าง ขอเอกสาร
ง. นาย ก. จะต้องยื่นอุทธรณ์คาสั่งต่อประธานมรรยาททนาย และเงินค่าทนายความคืน แต่นายชอบ เพิกเฉย ไม่ยินยอมคืน
ความภายใน 30 วัน นับ แต่วันรับแจ้งค าสั่ง เมื่ อ ประธาน ให้ ต่อมานางสาวยุติ ได้ยื่นคากล่าวหาว่า นายชอบ ประพฤติ
มรรยาททนายความมีคาสั่งยืน จึงจะฟ้องศาลปกครองได้ ผิ ด มรรยาททนายความเมื่ อ วัน ที่ 10 มี น าคม 2557 ข้อ ใด
32. การสอบสวนคดี มรรยาททนายความ คณะกรรมการสอบ ถูกต้องที่สดุ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 43 ข้อ 2, ภ.ทฤษฎี รุ ่น 44 ข้อ 1 )
สวนฯ จะต้องสอบสวนให้เสร็จภายในกี่วนั (ภ.ทฤษฎี รุ ่น35 ข้อ18) ก. สิทธิกล่าวหาคดีนสี ้ นิ ้ สุดลง เพราะยื่นคากล่าวหาเกินกว่า
ก. 60 วัน ข. 90 วัน ค. 180 วัน ง. ไม่มีกาหนดเวลา 1 ปี นบั แต่ผกู้ ล่าวหารูเ้ รือ่ งการประพฤติผิดมรรยาท
ทนายความ และรูต้ วั ผูป้ ระพฤติผดิ
33. เมื่อคณะกรรมการมรรยาททนายความได้รบั สานวนคดี
ข. สิทธิกล่าวหาในคดีนยี ้ งั ไม่สนิ ้ สุดลง เพราะการประพฤติผิด
มรรยาททนายความจากประธานกรรมการสอบสวนที่ ส่ ง
มรรยาททนายความยังไม่เกินสามปี นบั แต่วนั ประพฤติผิด
สานวนสอบสวนเสร็จแล้ว คณะกรรมการมรรยาททนายความ
ค. ยังถือไม่ได้วา่ มีการประพฤติผิดมรรยาททนายความ เพราะ
จะต้องวินิจฉัยสานวนคดีมรรยาททนายความนัน้ ให้เสร็จสิน้
คดีนยี ้ งั สามารถไปดาเนินการฟ้องคดีแพ่งเรียกร้องได้
ภายในกี่วนั นับแต่ได้รบั สานวน (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 36 ข้อ 1, ภ.ทฤษฎี
ง. ผิดทุกข้อ
รุ ่น 38 ข้อ 2)
ก. 180 วัน ข. 90 วัน ค. 60 วัน ง. ไม่มีกาหนดเวลา 37. สิ ท ธิ ก ล่า วหาทนายความของผู้ก ล่า วหาในคดี ม รรยาท
34. เมื่อสภานายกพิเศษได้รบั สานวนคดีมรรยาททนายความ ที่ ทนายความย่อมสิน้ สุดลง ในกรณีตอ่ ไปนี ้ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 48 ข้อ 1)
ทนายความอุทธรณ์คาสั่งลงโทษของกรรมการสภาทนายความ ก. ผูก้ ล่าวหา ยื่นคากล่าวหาเมื่อพ้นกาหนดหนึง่ ปี นับแต่วนั ที่
สภานายกพิเศษจะต้องมีคาสั่งคดีมรรยาททนายความภายในกี่ ผูม้ ีสทิ ธิกล่าวหารูเ้ รือ่ งการประพฤติผิดมรรยาททนายความ
วัน (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 38 ข้อ 1) และรูต้ วั ผูป้ ระพฤติผิดมรรยาททนายความ
ก. 30 วัน ข. 60 วัน ค. 90 วัน ง. 180 วัน ข. ผูก้ ล่าวหา ยื่นคากล่าวหาเมื่อพ้นกาหนดสองปี นับแต่วนั ที่
ผูม้ ีสทิ ธิกล่าวหารูเ้ รือ่ งการประพฤติผิดมรรยาททนายความ
35. วันที่ 1 กรกฎาคม 2552 นายเอกทนายความ ได้เปิ ดเผย
และรูต้ วั ผูป้ ระพฤติผิดมรรยาททนายความ
ความลับของนายโทลูกความที่ได้รูใ้ นหน้าที่ของทนายความ
ค. ผูก้ ล่าวหา ยื่นคากล่าวหาเมื่อพ้นกาหนดสามปี นับแต่วนั ที่
โดยไม่ได้รบั อนุญาตจากนายโทลูกความ นายโทรูเ้ รือ่ งการ
ผูม้ ีสทิ ธิกล่าวหารูเ้ รือ่ งการประพฤติผิดมรรยาททนายความ
ประพฤติผิดมรรยาททนายความของนายเอกวันที่ 1 มกราคม
และรูต้ วั ผูป้ ระพฤติผิดมรรยาททนายความ
2555 นายโทจะต้องยื่นคากล่าวหาต่อประธานคณะกรรมการ
ง. ผูก้ ล่าวหา ยื่นคากล่าวหาเมื่อพ้นกาหนดห้าปี นับแต่วนั ที่ผู้
มรรยาททนายความภายในวันที่เท่าใด สิทธิการกล่าวหาทนาย
มีสทิ ธิกล่าวหารูเ้ รือ่ งการประพฤติผิดมรรยาททนายความ
ความจึงจะไม่สนิ ้ สุด (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 39 ข้อ 2)
และรูต้ วั ผูป้ ระพฤติผิดมรรยาททนายความ
ก. วันที่ 1 มกราคม 2556 ข. วันที่ 1 กรกฎาคม 2555
O ขั้นตอนการดาเนินคดีมรรยาททนายความ
ค. วันที่ 1 มกราคม 2557 ง. วันที่ 1 กรกฎาคม 2557
38. วิธีการแจ้งคากล่าวหาว่ากระทาผิดมรรยาททนายความ
36. เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555 นางสาวยุติ จ้างนายชอบ ให้แก่ทนายความผูถ้ กู กล่าวหาทราบ กระทาดังนี ้ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น
เป็ นทนายความยื่ น ฟ้ อ งคดี อ าญาตามกฎหมายว่ า ด้ ว ย 16/2 ข้อ 44)
ความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ซึ่งจะขาดอายุความยื่นฟ้องคดี ก. ส่งสาเนาคากล่าวหาทางไปรษณียล์ งทะเบียนตอบรับ
ในวัน ที่ 1 มกราคม 2556 รับ เงิ น ค่ า ทนายความไปจ านวน ข. ส่งสาเนาคากล่าวหาโดยให้พนักงานของสภาทนายความ
30,000 บาท นายชอบละทิ ้ง คดี ไม่ ด าเนิ น การยื่ น ฟ้ อ งคดี เป็ นผูส้ ง่

5
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

ค. จดหมายแจ้งให้ไปรับสาเนาคากล่าวหาที่สภาทนายความ 43. ทนายความที่ พ บเห็ น ว่าทนายความคนใดประพฤติ ผิ ด


ง. ประกาศให้ผถู้ กู กล่าวหามารับสาเนาคากล่าวหาที่สภา มรรยาททนายความ มีสิทธิ ยื่นคากล่าวหาให้ทาการสอบสวน
ทนายความ มรรยาทของทนายความผูน้ นั้ ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด (ภ.ทฤษฎี
จ. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข. รุ ่น 25 ข้อ 4)
ก. ไม่ได้ เพราะไม่ได้เป็ นผูเ้ สียหาย
39.บุคคลทีไ่ ม่มอี านาจกล่าวหาหรือแจ้งกล่าวหาว่าทนายความ
ข. ไม่ได้ เพราะไม่ได้เกี่ยวข้องกับการกระทาของทนายผูน้ นั้
กระทาความผิดมรรยาททนายความ(ภ.ทฤษฎี รุ ่น 16/2 ข้อ 45)
ค. ได้ เพราะเป็ นสมาชิกของสภาทนายความ
ก. บุคคลผูพ้ บการกระทาความผิด ข. ทนายความ
ง. ได้ เพราะรูเ้ ห็นในการกระทาความผิดนัน้
ค. พนักงานสอบสวน ง. พนักงานอัยการ
44. เมื่ อ มี ก ารยื่ น ค ากล่ า วหาว่ า ทนายความประพฤติ ผิ ด
40. การยื่ น ค ากล่ า วหาทนายความ ผู้ได้ร ับ ความเสี ย หาย
มรรยาททนายความแล้ว สามารถถอนคากล่าวหาได้โดย (ภ.
จะต้องยื่นเป็ นหนังสือต่อผูใ้ ด (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 22 ข้อ 1, ภ.ทฤษฎี
ทฤษฎี รุ ่น 26 ข้อ 3)
รุ ่น 47 ข้อ 1)
ก. ผูก้ ล่าวหาขอถอนเอง
ก. นายกสภาทนายความ
ข. กรรมการสอบสวนอนุญาตให้ถอนได้
ข. ประธานทนายความจังหวัด
ค. กรรมการมรรยาททนายความอนุญาตให้ถอนได้
ค. ประธานกรรมการสอบสวน
ง. กรรมการสภาทนายความอนุญาตให้ถอนได้
ง. ประธานกรรมการมรรยาททนายความ
45. กรณี ไม่มีผู้กล่าวหาว่าทนายความประพฤติ ผิด มรรยาท
41. บุคคลที่ถูกลบชื่อออกจากทะเบียนทนายความ สามารถ
ทนายความ คณะกรรมการมรรยาททนายความมีอานาจตั้ ง
กลับมาเป็ นทนายความได้หรือไม่ อย่างไร (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 23 ข้อ
17)
คณะกรรมการสอบสวนมรรยาททนายความผู้นนั้ ได้หรือไม่
ก. ท าไม่ ได้โดยเด็ ด ขาด เพราะการถู ก ลบชื่ อ เท่ า กั บ โทษ เพราะเหตุใด (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 27 ข้อ 12)
ประหารชีวิตทางวิชาชีพ ก. ไม่มีอานาจ เพราะไม่มีผเู้ สียหาย
ข. ทาได้ เมื่อเวลาได้ผ่านพ้นไปแล้วไม่นอ้ ยกว่าห้าปี นับแต่ ข. ไม่มีอานาจ เพราะไม่มีผกู้ ล่าวหาเป็ นคดี
วันที่ถกู กล่าวหา ค. มีอานาจ เพราะเป็ นหน้าที่ตอ้ งควบคุมความประพฤติของ
ค. ทาได้ เมื่อสภานายกพิเศษมีคาสั่งอนุญาตให้กลับมา ทนายความ
ง. ผิดทุกข้อ ง. มีอานาจ เพราะเมื่อปรากฏว่ามีทนายความประพฤติผิด

42. ผู้ ก ล่ า วหาสามารถถอนค ากล่ า วหาให้ ค ดี มรรยาท 46. ทนายความที่ถูกสภาทนายความมีคาสั่งลงโทษห้ามท า


ทนายความระงับได้หรือไม่ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 23 ข้อ 16) การเป็ นทนายความ คดี อ ยู่ ร ะหว่ า งการยื่ น อุ ท ธรณ์ ต่ อ
ก. ถอนไม่ได้โดยเด็ดขาด สภานายกพิเศษ สามารถทาหน้าที่ทนายความได้หรือไม่ (ภ.
ทฤษฎี รุ ่น 28 ข้อ 4)
ข. เป็ นสิทธิของผูก้ ล่าวหาที่จะทาได้ตลอดเวลา
ก. ได้ เพราะคดียงั ไม่ถึงทีส่ นิ ้ สุด
ค. ทาได้ก็ต่อเมื่อคณะกรรมการมรรยาททนายความมีมติดว้ ย
ข. ได้ เพราะเมื่อสภานายกพิเศษมีคาสั่งอย่างใด ยังสามารถ
คะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึง่ ของจานวนกรรมการมรรยาท
ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองได้อีก
ทนายความที่ ม าประชุ ม อนุ ญ าตให้ผู้ก ล่ า วหาถอนค า
ค. ไม่ ได้ ต้ อ งรอผลค าสั่ ง ของสภานายกพิ เศษแห่ ง สภา
กล่าวหาได้
ทนายความก่อน
ง. ทาได้ก็ตอ่ เมื่อคณะกรรมการมรรยาททนายความมีมติดว้ ย
ง. ไม่ได้ เพราะคาสั่งของสภาทนายความ ถือเป็ นที่สดุ
คะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่า 3/4 ของจานวนกรรมการมรรยาท
ทนายความ อนุญาตให้ผกู้ ล่าวหาถอนคากล่าวหาได้

6
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

47. นอกจากทนายความจะถูกร้องกล่าวหาแล้ว ยังอาจถูกแจ้ง ข. คณะกรรมการสภาทนายความ


กล่าวหาได้ บุคคลที่สามารถแจ้งกล่าวหา คือบุคคลดังต่อไปนี ้ ค. คณะกรรมการมรรยาททนายความ
(ภ.ทฤษฎี รุ ่น 29 ข้อ 3) ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
ก. เฉพาะศาล ข. เฉพาะพนักงานอัยการ
52. ในการพิ จ ารณาคดี ม รรยาททนายความค ากล่าวข้อใด
ค. เฉพาะพนักงานสอบสวน ง. ถูกทุกข้อ
ถูกต้องที่สดุ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 32 ข้อ 17)
48. ข้อใดไม่ถกู ต้อง (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 30 ข้อ 2) ก. ในการปฏิบตั ิหน้าที่ของคณะกรรมการสภาทนายความ ถือ
ก. กรรมการมรรยาททนายความ ตามพ.ร.บ.ทนายความ พ.ศ. เป็ นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และอาจถูก
2528 เป็ นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย คัดค้านโดยนาบทบัญ ญัติว่าด้วยการคัดค้านผูพ้ ิพากษา
ข. โทษผิดมรรยาททนายความมีสามสถาน ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีพิ จ ารณาความแพ่งมาใช้บังคับ
ค. สิทธิกล่าวหาคดีมรรยาททนายความสิน้ สุดเมื่อพ้นกาหนด ด้วยโดยอนุโลม
1 ปี นับแต่วนั ที่รูเ้ รื่องการประพฤติผิดมรรยาททนายความ ข. ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการสอบสวนคดี
และเมื่อรูต้ วั ผูป้ ระพฤติผิดมรรยาททนายความ มรรยาททนายความ ถื อ เป็ น เจ้า พนัก งานตามประมวล
ง. กรรมการสอบสวนมรรยาททนายความมีอานาจให้ถอนคา กฎหมายอาญา และอาจถูกคัดค้านโดยนาบทบัญญัติว่า
กล่าวหาคดีมรรยาททนายความ ด้ว ยการคั ด ค้ า นผู้ พิ พ ากษาตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยวิ ธี
49. ระหว่ า งการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนคดี พิจารณาความแพ่งมาใช้บงั คับด้วยโดยอนุโลม
มรรยาททนายความ หากมีคาร้องขอถอนคากล่าวหา (ภ.ทฤษฎี ค. ในการปฏิบตั ิหน้าที่ของคณะกรรมการมรรยาททนายความ
รุ ่น 30 ข้อ 3) ถือเป็ นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และอาจ
ก. กรรมการสอบสวนต้องยุติการสอบสวนเพื่อเสนอคาร้องขอ ถูกคัดค้านโดยนาบทบัญญัติวา่ ด้วยการคัดค้านผูพ้ ิพากษา
ถอนคากล่าวหาให้กรรมการมรรยาททนายความ พิจารณา ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีพิ จ ารณาความแพ่งมาใช้บังคับ
ข. กรรมการสอบสวนต้อ งงดการสอบสวน เพราะคู่ ก รณี ด้วยโดยอนุโลม
สามารถตกลงกันได้ ง. ถูกทุกข้อ
ค. กรรมการสอบสวนต้องทาการสอบสวนต่อไป เพราะไม่ มี
53. ในกรณี ที่คณะกรรมการมรรยาททนายความเห็นว่า การ
อานาจสั่งเรือ่ งขอถอนคากล่าวหาได้
สอบสวนคดี มรรยาททนายความไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือ
ง. คณะกรรมการสอบสวนต้อ งจ าหน่ า ยคดี เพราะคู่ก รณี
ข้อ เท็ จจริงที่ได้จากการสอบสวนไม่เพีย งพอ คณะกรรมการ
สามารถยุติขอ้ พิพาทได้
มรรยาททนายความมีอานาจย้อนสานวนให้ใครด าเนิน การ
50. ข้อใดที่เป็ นโทษในความผิดมรรยาททนายความ (ภ.ทฤษฎี ต่อไป (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 33 ข้อ 14)
รุ ่น 31 ข้อ 2) ก. ให้คณะกรรมการสภาฯ เพิกถอนการสอบสวน
ก. ทาทัณฑ์บนเป็ นหนังสือ, ห้ามทาการเป็ นทนายความ 3 ปี
ข. ให้คณะกรรมการสอบสวนสอบข้อเท็จจริงเพิ่ม
ข. ภาคทัณฑ์, ห้ามทาการเป็ นทนายความ 2 ปี
ค. ให้นายกสภาทนายความพิจารณาและมีคาสั่ง
ค. ว่ากล่าวตักเตือน, ห้ามทาการเป็ นทนายความ 6 เดือน
ง. ให้เลขาธิการสภาทนายความสอบข้อเท็จจริงเพิ่ม
ง. ท าทัณ ฑ์บ นเป็ น หนัง สือ ,ลบชื่ อ ออกจากทะเบี ย นทนาย
54. การยื่นอุทธรณ์คาสั่งที่สภาทนายความมีคาสั่งให้ลงโทษ
ความ
ทนายความที่ประพฤติผิดมรรยาททนายความ ทนายความผู้
51. ผู้ ใ ดที่ ไ ม่ มี อ านาจหน้ า ที่ ใ นการด าเนิ น คดี ม รรยาท ถูกกล่าวหาจะยื่นอุทธรณ์คาสั่งต่อผูใ้ ด (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 35 ข้อ 19)
ทนายความ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 31 ข้อ 4) ก. นายกสภาทนายความ
ก. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุติธรรม ข. สภานายกพิเศษแห่งสภาทนายความ

7
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

ค. ประธานกรรมการมรรยาททนายความ คากล่าวหาความว่า เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2556 นาย ก . ได้


ง. เลขาธิการสภาทนายความ เข้าเป็ นทนายความแก้ต่างคดีอาญาให้ นาย ข. ซึ่งมี นาย ค.
55. คาสั่งของคณะกรรมการสภาทนายความ เกี่ยวกับคดี เป็ นทนายความแก้ต่างอยู่แล้ว โดยนาย ค. ไม่ได้ยินยอม และ
มรรยาททนายความใด ทีใ่ ห้เป็ นที่สดุ ตามพระราชบัญญัติ นาย ข. ไม่ได้ถ อนตัว นาย ค. ออกจากการเป็ น ทนายความ
ทนายความ พ.ศ. 2528 โดยคูก่ รณีไม่มีสทิ ธิอทุ ธรณ์คาสั่งต่อ ประธานกรรมการมรรยาททนายความจะมี ค าสั่งรับ เป็ น ค า
สภานายกพิเศษ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 39 ข้อ 1) กล่าวหาได้หรือไม่ (ภ.ปฏิบัติ รุ ่น 41 ข้อ 10, ภ.ทฤษฎี รุ ่น 42 ข้อ 3,
ภ.ทฤษฎี รุ ่น 49 ข้อ12)
ก. คาสั่งที่ยืนตามคณะกรรมการมรรยาททนายความ ให้
ก. ไม่ได้ เพราะ นาย ก. อยูร่ ะหว่างถูกลงโทษห้ามทาการเป็ น
จาหน่ายคดี
ทนายความมีกาหนด 1 ปี
ข. คาสั่งที่ยืนตามคณะกรรมการมรรยาททนายความ ให้ยกคา
ข. ไม่ได้ เพราะเมื่อนาย ก. ถูกห้ามทาการเป็ นทนายความมี
กล่าวหา
กาหนด 1 ปี นนั้ ทาให้สถานภาพการเป็ นทนายความหมด
ค. คาสั่งที่ยืนตามคณะกรรมการมรรยาททนายความ ให้
สิน้ ไป
จาหน่ายคดี หรือคาสั่งให้ยกคากล่าวหา
ค. ไม่ได้ตามข้อ ก และ ข้อ ข
ง. คาสั่งที่ส่งั ลงโทษทนายความ
ง. ได้ เพราะการที่ นาย ก. อยูใ่ นระหว่างถูกลงโทษห้ามทา
56. นาย ศ.ทนายความ ถูกคณะกรรมการสภาทนายความมี การเป็ นทนายความมีกาหนด 1 ปี นนั้ สถานภาพการเป็ น
คาสั่งลบชื่อออกจากทะเบียนทนายความ นายศ.ได้รบั ทราบ ทนายความของนาย ก. ยังคงมีอยู่ เมื่อถูกกล่าวหาว่า
ค าสั่งเมื่ อ วัน ที่ 3 ตุล าคม 2555 และได้ยื่ น อุท ธรณ์ต่อ สภา ประพฤติผิดมรรยาททนายความประธานกรรมการมรรยาท
นายกพิเศษเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2555 สภานายกพิเศษมีคาสั่ง ทนายความจึงรับเป็ นคากล่าวหาได้
ให้สอบสวนเพิ่มเติม นายศ. สามารถทาหน้าที่ทนายความใน
59. กรณีใดบ้างที่ไม่เป็ นโทษผิดประพฤติมรรยาททนายความ
ศาลได้หรือไม่ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 40 ข้อ 1)
(ภ.ทฤษฎี รุ ่น 43 ข้อ 3, ภ.ทฤษฎี รุ ่น 47 ข้อ 2)
ก. ไม่ได้ เพราะความเป็ นทนายความของนายศ. สิน้ สุด ลงแล้ว
ก. ว่ากล่าวตักเตือน
และไม่มีคาสั่งให้ทเุ ลาการบังคับคาสั่งให้ลบชื่อ
ข. ภาคทัณฑ์
ข. ได้ เพราะคดียงั ไม่ถึงที่สดุ
ค. ทาทัณฑ์บนเป็ นหนังสือ
ค. ได้ เพราะสภานายกพิเศษฯ มีคาสั่งให้สอบสวนเพิ่มเติม
ง. ว่ากล่าวตักเตือนและทาทัณฑ์บนเป็ นหนังสือ
ง. ไม่ได้ เพราะนายศ. มิได้ฟอ้ งคดีตอ่ ศาลปกครอง
60.หน้าที่ของสมาชิกสภาทนายความ คือ(ภ.ทฤษฎี รุ ่น 45 ข้อ 5.)
57. ค าว่ า “บุ ค คลผู้ ไ ด้ ร ับ ความเสี ย หาย” ในคดี ม รรยาท
ก. ช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย
ทนายความ หมายความว่าอย่างไร (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 40 ข้อ 2, ภ.
ทฤษฎี รุ ่น 49 ข้อ 10)
ข. ปฏิบตั ิตามคาสั่งนายกสภาทนายความ
ก. ผูเ้ สียหายโดยนิตินยั ค. ปฏิบตั ิตามคาสั่งประธานกรรมการมรรยาททนายความ
ข. ผูเ้ สียหายตามป.วิ.อ. มาตรา 2(4) ง. ผดุงไว้ซงึ่ เกียรติศกั ดิแ์ ห่งวิชาชีพและปฏิบตั ิตนตาม
ค. ไม่จาเป็ นต้องเป็ นผูเ้ สียหายโดยนิตินยั เท่านัน้ พระราชบัญญัติทนายความ
ง. ผิดทุกข้อ 61. ทนายความที่ถกู ลงโทษสถานใดบ้างที่ไม่สามารถเข้าร่วม
58. คณะกรรมการสภาทนายความมี ค าสั่ง ลงโทษ นาย ก. ประชุมใหญ่ประจาปี สภาทนายความ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 46 ข้อ 3)
ทนายความ ฐานประพฤติมรรยาททนายความโดยห้ามทาการ ก. ภาคทัณฑ์
เป็ นทนายความมีกาหนด 1 ปี นาย ก. ได้รบั แจ้งคาสั่งเมื่อวันที่ ข. ห้ามทาการเป็ นทนายความ 3 ปี
1 กันยายน 2556 ต่อมาวันที่ 16 กันยายน 2556 นาย ค. ยื่ น ค. ลบชื่อออกจากทะเบียนทนายความ

8
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

ง. ห้ามทาการเป็ นทนายความ 3 ปี หรือลบชื่อออกจาก ก. ทนายความตั้งสานัก งานทนายความบังหน้า แต่ใช้เป็ น


ทะเบียนทนายความ บ่อนเล่นการพนันโดยไม่ได้รบั อนุญาต เมื่อพนักงานตารวจ
62. ข้อใดที่เป็ นโทษในความผิดมรรยาททนายความ (ภ.ทฤษฎี มีหมายมาตรวจค้น ก็อา้ งความเป็ นทนายความข่มขู่
รุ ่น 48 ข้อ 3) ข. ทนายความเช่าบ้านแล้วกูย้ ืมเงินจากผู้ให้เช่า แต่ไม่ชาระ
ก. ทาทัณฑ์บนเป็ นกาหนดเวลาไม่เกิน 3 ปี ค่ า เช่ า และเงิ น กู้ยื ม จนถู ก ฟ้ อ งขับ ไล่แ ละฟ้ อ งช าระหนี ้
ข. ภาคทัณฑ์ไม่มีกาหนดเวลา จนถึงขัน้ บังคับคดีก็ยงั ไม่ยอมชาระ
ค. จาหน่ายชื่อออกจากทะเบียนทนายความ ค. ทนายความร่วมกับพระภิกษุ ปล่อยเงินกูใ้ นอัตราดอกเบีย้
ง. ลบชื่อออกจากทะเบียนทนายความเป็ นเวลาห้าปี ร้อ ยละ 5 ต่ อ เดื อ น โดยทนายความเป็ นผู้ท าสัญ ญากู้
O มรรยาททนายความ ติดตามทวงถาม เก็บเงินต้น แล้วแบ่งรายได้กบั พระภิกษุ
63. มรรยาททนายความต่ อ ศาลและในศาลยึ ด ถื อ ตาม ง. ทนายความเป็ นทนายความอาสาสมัค รประจ าหน่ ว ย
หลักการใด(ภ.ทฤษฎี รุ ่น 19 ข้อ 14) ราชการรับเป็ นทนายความให้ผมู้ าขอความช่วยเหลือ เรียก
ก. ทนายความเป็ นผูม้ ีความรู ค้ วามสามารถในการนาเสนอ ค่าจ้าง ค่าขอประกันตัว ค่าถ่ายเอกสารสาเนาหลักประกัน
พยานหลักฐาน และหลักฐานบัตรที่อยู่ของผูป้ ระกัน 5,000 บาท ค่าจ้างว่า
ข. ทนายความเป็ นเครือ่ งมือในกระบวนการยุติธรรม ความ 10,000 บาท อ้างว่าผูข้ อความช่วยเหลือไม่ยากจน
ค. ทนายความเป็ นอาชีพผูกขาด จึงต้องมีอุดมการณ์ในการ 66. ข้อ ใดถื อ เป็ นความผิ ด ตามข้อ บั ง คั บ ว่ า ด้ว ยมรรยาท
รับใช้ประชาชน ทนายความ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 24 ข้อ 5)
ง. ถูกเฉพาะ ข. และ ค. ก. ออกเงินค่าธรรมเนียมศาลให้ลกู ความ
64. ทนายความได้รบั หนังสือ ขอแรงจากผู้พิ พ ากษาให้เป็ น ข. อ้างต่อลูกความว่าตนเป็ นเพื่อนกับผูพ้ ิ พากษาซึ่งสามารถ
ทนายความแก้ต่างจาเลยในคดีอาญาได้ไปพบจาเลยตามนัด ช่วยเหลือทางคดีได้
หมาย ไปศาลในวันนัดพร้อม ยื่นใบแต่งทนายแล้วไม่ไปศาลอีก ค. อ้างต่อลูกความว่าตนมีความสามารถพิเศษที่จะทาให้คดีมี
เลย ถื อ ได้ว่า ประพฤติ ผิด ข้อ บังคับ สภาทนายความว่าด้ว ย โอกาสชนะได้
มรรยาททนายความข้อใด (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 24 ข้อ 3, ภ.ทฤษฎี รุ ่น ง. ถูกทุกข้อ
37 ข้อ 2) 67. ทนายความพิมพ์นามบัตรว่าตนมีความรู ค้ วามสามารถ
ก. ไม่รบั คดีเมื่อผูพ้ ิพากษาขอแรง พิเศษ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 25 ข้อ 1)
ข. กระทาการอันอาจเสื่อมประโยชน์ของลูกความโดยจงใจ ก. ไม่เป็ นความผิดมรรยาททนายความ เป็ นสิทธิสว่ นบุคคลที่
ขาดนัดหรือทอดทิง้ คดี จะพึงกระทาได้
ค. ไม่เคารพยาเกรงอานาจศาล ข. ไม่ เ ป็ นความผิ ด มรรยาททนายความ เพราะมี ค วาม
ง. ผิดมรรยาททนายความ ทัง้ ข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ค. สามารถเช่นว่านัน้ จริง
65. พฤติการณ์ตามข้อต่อไปนี ้ ข้อใดไม่เป็ นการประพฤติฝ่ า ค. มีความผิดมรรยาททนายความ เป็ นการชักชวนให้ผมู้ ีอรรถ
ฝื นต่อข้อบังคับสภาทนายความ พ.ศ.2529 หมวด 4 ข้อ 18 ซึง่ คดีมาว่าจ้างให้เป็ นทนายความ
บัญ ญัติว่าประกอบอาชี พดาเนินธุรกิ จ หรือประพฤติตนเป็ น ง. มีความผิดมรรยาททนายความเป็ นการหลอกลวงเพราะไม่
การฝ่ าฝื นต่อศีลธรรมอัน ดี หรือเป็ นการเสื่อมเสียต่อศักดิ์ศ รี เป็ นการแน่นอนว่าคดีจะชนะเสมอไป
และเกียรติคณ ุ ทนายความ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 24 ข้อ 4) 68. รับเป็ นทนายความเข้าไปในคดีที่มีทนายความอยู่แล้ว โดย
ทนายความเดิมไม่รูเ้ ห็นหรือยินยอม (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 25 ข้อ 2, ภ.
ทฤษฎี รุ ่น 27 ข้อ 9, ภ.ทฤษฎี รุ ่น 48 ข้อ 4)

9
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

ก. ไม่ผิดมรรยาททนายความ เพราะเป็ นความประสงค์ของ ก. ทราบวันนัดแล้ว แต่จดวันผิด


ลูกความ ข. ยังไม่ทราบวันนัด เพราะย้ายสานักงานไปนานแล้ว
ข. ไม่ ผิ ด มรรยาททนายความ เพราะเป็ นการช่ ว ยเหลื อ ค. จาเลยได้บอกว่าจะไม่ต่อสูค้ ดี จะรับสารภาพ ทนายความ
ทนายความคนเดิม ไม่ตอ้ งไปศาล
ค. ผิ ด มรรยาททนายความ เพราะเป็ นก ารแย่ ง คดี ที่ มี ง. ติดว่าความในคดีอื่น และมาศาลตามนัดไม่ทนั
ทนายความอยูแ่ ล้ว 73. ทนายความรับว่าความให้กบั นาย ก. หลังจากคดีนาย ก.
ง. ผิดมรรยาททนายความ เพราะการซักพยานทนายความคน เสร็จสิน้ แล้ว ได้รบั ว่าความให้นาย ข. และจะต้องฟ้องนาย ก.
เดียวเป็ นผูก้ ระทาได้ เป็ นจาเลย (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 29 ข้อ 2)
69. ทนายความไม่ไปศาลในวัน สืบ พยานเพราะป่ วย โดยไม่ ก. ทนายความทาไม่ได้ เพราะเคยเป็ นทนายความให้นาย ก.
แจ้งเหตุขดั ข้องหรือขอเลือ่ นคดี (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 25 ข้อ 5) มาก่อน
ก. ไม่ ผิด มรรยาททนายความ เพราะไม่ส ามารถไปศาลได้ ข. ทนายความทาไม่ได้ เพราะรู เ้ รื่องเกี่ยวกับ นาย ก.มาก่อน
จริงๆ แล้ว
ข. ไม่ผิดมรรยาททนายความ เพราะไม่เป็ นการจงใจขาดนัด ค. ทนายความทาได้ ถ้าไม่ใช้ความรูใ้ นฐานะทนายความของ
พิจารณาคดี นาย ก. มาเป็ นประโยชน์ในคดี
ค. ผิดมรรยาททนายความ เพราะไม่แจ้งเหตุขดั ข้องหรือขอ ง. ทนายความทาไม่ได้ เพราะถือว่าเป็ นทัง้ ทนายความโจทก์
เลือ่ นคดีตอ่ ศาล และทนายความจาเลยในขณะเดียวกัน
ง. ผิ ด มรรยาททนายความ เพราะเป็ นการจงใจขาดนั ด 74. ทนายความรับ ว่า ความให้โจทก์ ตกลงค่ า ทนายความ
พิจารณาหรือทอดทิง้ คดี 10,000 บาท ได้ ร ับ แล้ว 5,000 บาท คดี มี ก ารท ายอมกั น
70. ทนายความสามารถอวดอ้างความสามารถพิเศษของตน จ าเลยในคดี น าเงิ น มาช าระตามสัญ ญายอม 5,000 บาท
ในการทาคดี (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 26 ข้อ 1) ทนายความจะนาเงินที่ได้มาหักกับเงิ นค่าทนายความที่คา้ ง
ก. ได้ หากมีความสามารถเช่นว่านัน้ จริง (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 30 ข้อ 1)
ข. ได้ เพราะเป็ นการแจ้งให้ลกู ความทราบ ก. น าม าหั ก ไม่ ได้ เพราะเงิ น ที่ ร ั บ ม าเป็ นการรั บ แทน
ค. ไม่ได้ เพราะเป็ นการจูงใจให้มอบคดีให้ ตัวความต้องส่งคืนให้ตวั ความก่อน
ง. ไม่ได้ เพราะผลของคดี ทนายความไม่ใช่ผตู้ ดั สิน ข. น ามาหั ก ได้ เพราะตั ว ความจะต้อ งจ่ า ยเงิ น ค่ า ทนาย
ความที่เหลือ
71. ทนายความไม่ไปศาลในวัน นัด เพราะลงวัน นัด ผิ ด (ภ.
ค. นามาหักได้ เพราะทนายความมีสทิ ธิหกั กลบลบหนี ้
ทฤษฎี รุ ่น 26 ข้อ 4)
ก. มีความผิด ถือว่าจงใจขาดนัด ง. น ามาหั ก ได้ เพราะเป็ นการเก็ บ เงิ น ค่ า ทนายความ
ข. มีความผิด เพราะไม่แจ้งให้ศาลทราบถึงเหตุขดั ข้อง ไม่เป็ นการฉ้อตระบัดสินลูกความ
ค. ไม่เป็ นความผิด เพราะเป็ นความผิดพลาดโดยไม่เจตนา 75. นายชาติชายเป็ นทนายความจาเลยในคดีอาญา แต่ยงั ไม่ได้
ง. ไม่เป็ นความผิด เพราะไม่ทราบถึงวันนัดดังกล่าว รับค่าจ้างว่าความ จึงได้บอกเลิกการเป็ นทนายความต่อจาเลย
72. ศาลขอแรงทนายความให้ทาหน้าที่ทนายความจาเลยใน และได้ทาคาร้องขอถอนทนายความให้เสมียนทนายไปยื่นต่อ
คดีอาญา ปรากฏว่าถึงวันนัดสืบ พยานโจทก์ครัง้ แรก ทนาย ศาล แต่เสมียนทนายความทาคาร้องขอถอนทนายความหาย
ความจ าเลยไม่ม าศาล โดยไม่ยื่ น ค าร้องขอเลื่อ นคดี ต่อมา จึงไม่ได้ยื่ นต่อศาล เมื่ อถึ งวันนัด นายชาติ ชายไม่ ได้ไปศาล
ทนายความจาเลยจะอ้างเหตุเป็ นข้อแก้ตวั ข้อ ใดที่เป็ นข้อแก้ เพราะเห็ น ว่า ได้ให้เสมี ย นทนายความไปยื่ น ค าร้อ งขอถอน
ตัวอันสมควรและไม่ผิดมรรยาทฯ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 29 ข้อ 1) ทนายความแล้ว ศาลจึงมีคาสั่งให้จาเลยจัดหาทนายความใหม่

10
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

เพื่อให้ทาหน้าที่แทนนายชาติชายในนัดหน้า การกระทาของ ให้แก่นายบุญศรี โดยรับหน้าที่เป็ นทนายโจทก์ ฟ้องนาย


นายชาติชายเป็ นการประพฤติผิดมรรยาททนายความหรือไม่ บุญเลิศฐานผิดสัญญาลงทุน กรณีนี ้ ทนายสมชายประพฤติผิด
เพราะเหตุใด (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 31 ข้อ 1, ภ.ทฤษฎี รุ ่น 35 ข้อ 17) มรรยาททนายความหรือไม่ อย่างไร (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 34 ข้อ 20)
ก. ผิ ด เพราะตราบใดที่ ศ าลยัง ไม่ มี ค าสั่ง อนุ ญ าตให้ถ อน ก. ไม่ผิด เพราะนายบุญศรีเป็ นลูกความของทนายสมชายก่อนที่
ทนายความต้องไปศาลตามนัด จะให้คาปรึกษาแก่นายบุญเลิศ
ข. ผิด เพราะเป็ นการจงใจทอดทิง้ คดี อันอาจทาให้เสื่อมเสีย ข. ไม่ผิด เพราะเป็ นการฟ้องเรื่องผิดสัญญาร่วมลงทุน ไม่ใช่
ประโยชน์ของลูกความ เรือ่ งการจัดการทรัพย์มรดก
ค. ไม่ผิด เพราะนายชาติชายได้บอกเลิกการเป็ นทนายความ ค. ผิด เพราะถือว่าได้ลว่ งรู ข้ อ้ มูลเกี่ยวกับกรณีพิพาทจากการ
ต่อจาเลยแล้ว และเข้าใจโดยสุจริตว่าศาลได้อนุญ าตให้ ให้คาปรึกษาแก่นายบุญเลิศมาก่อน
ถอนทนายความแล้ว ง. ผิด เพราะเป็ นการไม่เคารพยาเกรงศาล
ง. ถูกทัง้ ข้อ ก. และข้อ ข. 78. คดีมรรยาททนายความเรื่องหนึ่ง ศาลมีหนังสือแจ้งมายัง
76. นายสมศักดิ์ เป็ นทนายจาเลยในคดีอาญาข้อหาพยายาม สภาทนายความว่า ทนายความไม่ไปศาลตามวันนัดโดยไม่
ฆ่า ศาลนัดสืบพยานจาเลยในวันที่ 15 สิงหาคม 2552 เวลา แจ้งเหตุขดั ข้อง ทาให้ค่คู วามได้รบั ความเสียหายและทาให้คดี
9.00 นาฬิกา แต่ปรากฏว่านายสมศักดิ์ และจาเลยมีความเห็น ต้องเลื่อนไป ทนายความผูถ้ ูกแจ้งข้อกล่าวหา แก้ขอ้ กล่าวหา
ไม่ตรงกัน และจาเลยแจ้งว่าจะหาทนายความใหม่ให้ว่าความ ว่าไม่ได้จงใจขาดนัดหรือทอดทิง้ คดี แต่เนื่องจากเสมียนทนาย
แทนในวันนัดดังกล่าว แต่เมื่อถึงวันนัดนายสมศักดิ์ ไม่ไปศาล ลงวันนัดในสมุดนัดผิดไป ข้อแก้ตัวของทนายความรับฟั งได้
ตามนัด เพราะเข้าใจว่าจาเลยจะแต่งตัง้ ทนายความคนใหม่ หรือไม่ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 36 ข้อ 3)
เข้าว่าความแทน และยื่นคาร้องขอถอนนายสมศักดิ์ จากการ ก. รับฟั งได้ เพราะไม่ได้เป็ นการจงใจขาดนัด หรือทอดทิง้ คดี
เป็ นทนายจ าเลย ศาลจึ ง ให้เลื่ อ นคดี ไปเพราะจ าเลยไม่ มี ข. รับฟั งได้ เพราะผูก้ ระทาผิดมรรยาททนายความคือเสมียน
ทนายความ และศาลแจ้งข้อกล่าวหาว่านายสมศักดิ์ ทนาย ทนาย
จาเลยไม่มาศาลตามนัดโดยไม่แจ้งเหตุขดั ข้อง ทาให้คดีลา่ ช้า ค. รับ ฟั งไม่ได้ เพราะทนายความต้อ งใช้ค วามระมัด ระวัง
นายสมศัก ดิ์ ประพฤติ ผิ ด มรรยาททนายความหรือ ไม่ (ภ. อย่ า งผู้มี วิ ช าชี พ จึ ง ถื อ ได้ว่ า ทนายความประพฤติ ผิ ด
ทฤษฎี รุ ่น 33 ข้อ 2, ภ.ปฏิบัติ รุ ่น 40 ข้อ 13) มรรยาททนายความฐานจงใจขาดนัด หรือทอดทิง้ คดี
ก. ไม่ถือว่าเป็ นการจงใจทอดทิง้ คดี แต่เป็ นการประพฤติผิด ง. ถูกต้องทัง้ ข้อ ก. และข้อ ข.
มรรยาททนายความ
79. นายอังคารทนายความ ได้ต กลงเป็ น ทนายความให้แ ก่
ข. เป็ นการจงใจทอดทิง้ คดีและเป็ นการประพฤติผิดมรรยาท
นางพุธ เพื่อฟ้องคดีเรียกเงินจากลูกหนีน้ ายอังคารได้รบั เงินค่า
ทนายความ
ทนายความมาแล้ว บางส่ว น แต่ไม่ฟ้ องคดี ให้ต ามข้อ ตกลง
ค. เป็ นการจงใจทอดทิง้ คดี แต่ไม่เป็ นการประพฤติผิดมรรยาท
และไม่คื น เงิ น ที่ ได้รบั มาแก่ น างพุธ นางพุธร้อ งเรีย นเป็ น คดี
ทนายความ
มรรยาททนายความ การกระท าของนายอัง คารเป็ นการ
ง. ไม่ถือว่าเป็ นการจงใจทอดทิง้ คดี ไม่เป็ นการประพฤติผิด
ประพฤติผิดมรรยาททนายความหรือไม่ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 38 ข้อ 3,
มรรยาททนายความ
ภ.ทฤษฎี รุ ่น 40 ข้อ 3, ภ.ทฤษฎี รุ ่น 49 ข้อ 9)
77. นายบุญเลิศ ได้ปรึกษาทนายสมชายเกี่ยวกับทรัพย์มรดก ก. ไม่ผิด เพราะนายอังคารยังได้รบั เงินค่าทนายความไม่ครบ
หลังจากนัน้ นายบุญเลิศได้นาทรัพย์มรดกที่เคยได้รบั การ จึงมีสทิ ธิยงั ไม่ฟอ้ งคดีได้
ปรึกษาจากทนายสมชายมาร่วมลงทุนทาการค้ากับนายบุญศรี ข. ผิด เพราะถือว่าเป็ นการฉ้อโกงยักยอก ตระบัดสินลูกความ
ลูกความของทนายสมชาย ต่อมา นายบุญเลิศได้บอกเลิก หรือครอบครองหน่วงเหนี่ยวเงิน หรือทรัพย์สนิ ของ
สัญญาร่วมลงทุนกับนายบุญศรี ทนายสมชายจึงเป็ นทนาย ลูกความที่ตนได้รบั มาโดยหน้าทีไ่ ว้นานเกินสมควรกว่าเหตุ
11
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

โดยไม่ได้รบั ความยินยอมจากลูกความและไม่มเี หตุอนั ยากไร้และไม่ได้รบั ความเป็ นธรรมในทางคดีความ โดยไม่คิด


สมควร ค่า ทนายความ กรณี นี ท้ นายสมศัก ดิ์ ประพฤติ ผิ ด มรรยาท
ค. ไม่ผิด นางพุธต้องยื่นบอกกล่าวทวงถามให้นายอังคารคืน ทนายความหรือไม่ เพราะเหตุใด (ภ.ปฏิบัติ รุ ่น 41 ข้อ 11)
เงินเสียก่อน เมื่อไม่คืนจึงเป็ นการประพฤติผิดมรรยาท ก. ไม่ผิดมรรยาททนายความ เพราะทนายความมีหน้าที่
ทนายความ ช่วยเหลือประชาชนผูย้ ากไร้ และไม่ได้รบั ความเป็ นธรรม
ง. ผิด เพราะถือว่าประพฤติตนเสือ่ มเสียต่อศักดิศ์ รีและเกียรติ ข. ผิดมรรยาททนายความ เพราะเป็ นการโฆษณาโดยไม่
คุณของทนายความ เรียกร้องค่าจ้างว่าความ
80. ทนายกบ รับว่าความให้แก่นางนกตกลงค่าจ้างว่าความ ค. ไม่ผิดมรรยาททนายความ เพราะเป็ นการโฆษณาแสดง
20,000 บาท ให้ชาระก่อนวันที่ศาลจะมีคาพิพากษา ขณะที่ ความเมตตาในการช่วยเหลือประชาชนผูม้ ีอรรถคดี
ศาลกาลังพิจารณาคดี ทนายกบขอให้นางนกชาระค่าทนาย ง. ผิดมรรยาททนายความ เพราะเป็ นการทาผิด พ.ร.บ. ว่า
ความหลายครัง้ แต่นางนกก็เพิกเฉย ทนายกบส่งหนังสือทวง ด้วยการเลือกตัง้ สมาชิกสภาผูแ้ ทนและสมาชิกวุฒิสภา
ถามแจ้งว่า หากไม่ชาระค่าทนายความก่อนวันนัดสืบพยาน 83. ทนายความร้องขัดทรัพย์ โดยอ้างว่าที่ดินที่ถูกบังคับคดี
จาเลยวันที่ 15 พฤษภาคม 2556 ทนายกบจะไม่ไปศาล เมื่อ ยึดขายทอดตลาดเป็ นที่ดินของผูร้ อ้ ง เจ้าพนักงานบังคับคดีจึง
ถึงกาหนดนางนกไม่ชาระค่าทนายความ ทนายกบจึงไม่ไป มีคาสั่งให้งดการขายทอดตลาด ทัง้ ที่ทนายความรู ด้ ีว่าที่ดิน
ศาลการกระทาของทนายกบเป็ นการ (ภ.ปฏิบัติ รุ ่น 40 ข้อ 12) เป็ นกรรมสิทธิ์ของจาเลยมิใช่เป็ นของผูร้ อ้ งแต่อย่างใด เป็ นการ
ก. ประพฤติผิดมรรยาททนายความข้อ 12(1)(2) จงใจขาดนัด ประพฤติผิดมรรยาททนายความหรือไม่ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 46 ข้อ 4)
หรือทอดทิง้ คดีจงใจละเว้นหน้าที่ ก. ไม่เป็ นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ
ข. ประพฤติผิดมรรยาททนายความข้อ 18 ประกอบวิชาชีพ ข. เป็ นการประพฤติผิดมรรยาททนายความตามข้อบังคับสภา
ดาเนินธุรกิจ ประพฤติตนอันเป็ นการฝ่ าฝื นต่อศีลธรรมอันดี ทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. 2529 ข้อ 9
หรือเป็ นการเสือ่ มเสียต่อศักดิศ์ รีและเกียรติคณ
ุ “กระทาการใดอันเป็ นการยุยงส่งเสริมให้มีการฟ้องร้องคดีกนั
ค. ประพฤติผิดมรรยาททนายความข้อ 14 รับเป็ นทนายความ ในกรณีอนั หามูลมิได้”
แล้วใช้อบุ ายเพื่อให้ตนได้รบั ประโยชน์นอกเหนือจากสัญญา ค. เป็ นการประพฤติผิดมรรยาททนายความตามข้อบังคับสภา
ง. ไม่เป็ นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ ทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. 2529 ข้อ 18
81. ทนายความทาหนังสือทวงถามลูกหนีใ้ ห้ชาระหนีแ้ ละชีแ้ จง “ประกอบอาชีพดาเนินธุรกิจ หรือประพฤติตนอันเป็ นการ
ว่า หากไม่ ช าระหนี ต้ ้อ งถูก ฟ้ อ งร้อ งด าเนิ น คดี เสีย ค่า ธรรม ฝ่ าฝื นต่อศีลธรรมอันดี หรือเป็ นการเสื่อมเสียต่อศักดิศ์ รีและ
เนียมศาล ค่าทนายความโจทก์ ค่าทนายความจาเลย ต้องถูก เกียรติคณ ุ ทนายความ”
ยึดทรัพย์ ส่งเรื่องไปยังที่ทางานเพื่ออายัดเงินเดือนบัญชีเงิน ง. เป็ นการประพฤติผิดมรรยาททนายความตามข้อบังคับสภา
ฝากผิดมรรยาททนายความหรือไม่ (ภ.ปฏิบัติ รุ ่น 40 ข้อ 15) ทนายความว่ า ด้ ว ยมรรยาททนายความ พ.ศ. 2529
ก. ไม่ผิด เพราะเป็ นการชีแ้ จงให้เห็นถึงผลการไม่ชาระหนี ้ ทัง้ ข้อ 9 และข้อ 18
ข. ไม่ผิด เพราะเป็ นอานาจหน้าที่ของทนายความ 84. บุคลากรหรือองค์กรใดที่รว่ มทาหน้าที่คานอานาจ ถ่วงดุล
ค. ไม่ผิด เพราะเป็ นปกติวิสยั ในการทวงถามให้ชาระหนี ้ อานาจ หรือตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐ ในการอ านวยความ
ง. ไม่มีขอ้ ถูก ยุติธรรมให้ประชาชนว่าถูกต้องชอบธรรมหรือไม่ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น
47 ข้อ 17)
82. ทนายสมศัก ดิ์ มี ค วามประสงค์จ ะลงสมัค รเป็ น สมาชิ ก
ก. ทนายความ ข. ตารวจ ค. ทหาร ง. ถูกทุกข้อ
วุฒิ สภาจึงวางแผนหาคะแนนนิยมล่วงหน้าโดยติ ดประกาศ
โฆษณาหน้า สานัก งานของตนว่า รับ ช่ ว ยเหลือ ประชาชนผู้

12
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

85. นายจันทร์ ทนายความ ตกลงรับจ้างนายอังคาร ฟ้องคดี ค. คณะกรรมการมรรยาททนายความต้อ งพิ จารณาลบชื่ อ


เรียกร้องเงินตามเช็คจากลูกหนี ้ โดยไม่มีการทาสัญญาไว้เป็ น ออกจากทะเบียนทนายความ
หนังสือ แต่ไม่ฟ้องคดีให้และไม่คืนเงินค่าทนายความแก่นาย ง. สภาทนายความไม่ มี สิ ท ธิ เข้า ไปเกี่ ย วข้อ ง เพราะศาล
อังคาร นายจันทร์ประพฤติผิดมรรยาททนายความหรือไม่ (ภ. ได้พิพากษาลงโทษแล้ว
ทฤษฎี รุ ่น 49 ข้อ 11)
O บทบาทของทนายความในกระบวนการยุติธรรม
ก. ไม่ผิดมรรยาททนายความ เพราะไม่มีขอ้ ตกลงเป็ นหนังสือ
89. สิง่ สาคัญที่สดุ ในการทาความเห็นทางกฎหมายคือ
นายอังคารต้องไปฟ้องคดีแพ่งเมื่อเรียกร้องเงินคืน (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 42 ข้อ 12)
ข. ผิดมรรยาททนายความเพราะเป็ นการจงใจทอดทิง้ คดี และ ก. ต้องค้นคว้าข้อกฎหมายให้ครบถ้วน
ครอบครองหรือหน่วงเหนี่ยวเงินของลูกความไว้โดยไม่ได้ ข. ต้องอ้างคาพิพากษาฎีกา
รับความยินยอมและไม่มีเหตุอนั สมควร ค. ต้องสามารถแยกแยะระหว่างข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย
ค. ผิดมรรยาททนายความเพราะเป็ นการละเว้นหน้าที่อนั ควร ง. ต้องเข้าใจคาถาม
กระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน
90. งานให้คาปรึกษาทางกฎหมายเป็ นงาน (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 43
ง. ไม่ผิดมรรยาททนายความเพราะนายอังคารยังไม่มีหนังสือ ข้อ 19)
บอกกล่าวทวงถามให้ดาเนินคดีภายในเวลาอันสมควร ก. ว่าความ ข. แก้ปัญหาที่ปลายเหตุ
เสียก่อน ค. ป้องกันไม่ให้เกิดปั ญหา ง. ทัง้ ข้อ ก. และ ข. ถูก
86. คาสั่งตามอานาจหน้าที่ของบุคคลใดต่อไปนี ้ ที่ทนายความ 91. ในการร่างสัญญา (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 44 ข้อ 10)
ต้องปฏิบตั ิตามอย่างเคร่งครัด (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 19 ข้อ 16) ก. ผูร้ า่ งมีเสรีภาพเต็มที่ในการที่จะกาหนดสิทธิและหน้าที่ของ
ก. กรรมการมรรยาททนายความ ข.กรรมการสภาทนายความ คูส่ ญั ญา
ค. สภานายกพิเศษ ง.ถูกทุกข้อ ข. ผูร้ า่ งต้องดูวา่ มีกฎหมายมหาชนที่อาจจากัดเสรีภาพใน
87. ทนายความที่ถูกศาลพิพากษาโทษจาคุก คดีถึงที่สดุ ซึ่ง การทาสัญญานัน้ หรือไม่ เพียงใด
ไม่ ใ ช่ ค วามผิ ด โดยประมาท หรื อ ลหุ โทษ คณะกรรมการ ค. ผูร้ า่ งไม่จาต้องคานึงถึงกฎหมายอื่นนอกจากประมวล
มรรยาททนายความจะลงโทษได้หรือไม่ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 24 ข้อ 6) กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ก. ไม่ได้ เพราะศาลได้ลงโทษแล้ว ง. ผูร้ า่ งต้องคานึงถึงกฎหมายอาญาด้วย
ข. ไม่ได้ เพราะไม่เป็ นความผิดตามข้อบังคับว่าด้วยมรรยาท 92. งานให้คาปรึกษากฎหมายต่างกับงานระงับข้อพิพาท
ทนายความ เพราะ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 45 ข้อ 10)
ค. ได้ เพราะไม่สมควรที่จะประกอบวิชาชีพทนายความต่อไป ก. เป็ นงานทีม่ องปั ญหาคนละมุม
ง. ได้ เมื่อเห็นว่าเป็ นการกระทาที่ช่ วั ร้าย หรือไม่น่าไว้วางใจ ข. งานให้คาปรึกษาเป็ นงานที่มงุ่ ป้องกันไม่ให้เกิดปั ญหาใน
ในความซื่อสัตย์สจุ ริต อนาคต ส่วนงานระงับข้อพิพาทเป็ นงานที่แก้ปัญหาที่
88. ทนายความซึ่งถูกศาลพิพากษาลงโทษถึงที่สดุ ให้จาคุก ซึ่ง ปลายเหตุ
ไม่ใช่ความผิดลหุโทษหรือประมาทจะมีผล (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 28 ข้อ 5) ค. ไม่มีความแตกต่างเพราะเป็ นงานของทนายความเช่นกัน
ก. นายกสภาทนายความต้ อ งถอนชื่ อ ออกจากทะเบี ย น ง. งานให้คาปรึกษาเป็ นงานง่ายๆ
ทนายความ 93. ข้อสัญญามาตรฐานคือ ข้อสัญญาที่ควรใส่ไว้ในสัญญา
ข. คณะกรรมการสภาทนายความต้องพิ จารณาลบชื่ อออก ทุกประเภท ข้อ สัญ ญาใดดังกล่าวต่อไปนี ไ้ ม่ ใช่ขอ้ สัญ ญา
จากทะเบียนทนายความ มาตรฐาน (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 46 ข้อ 17)
ก. การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญา

13
ภาคทฤษฎี รุน่ 53

ข. การโอนสิทธิตามสัญญา
ค. การมอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัยชีข้ าด
ง. การไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาท
94. พินยั กรรมแบบเอกสารฝ่ ายเมืองคือ พินยั กรรมที่ (ภ.ทฤษฎี
รุ ่น 46 ข้อ 18)
ก. ผูท้ าพินยั กรรมแจ้งข้อความทีป่ ระสงค์จะระบุไว้ใน
พินยั กรรมแก่นายอาเภอต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คน
พร้อมกัน
ข. นายอาเภอจดข้อความที่ผทู้ าพินยั กรรมแจ้งและอ่านให้
ผูท้ าพินยั กรรมพร้อมพยานฟัง
ค. เมื่อผูท้ าพินยั กรรมทราบข้อความและเห็นว่าถูกต้องตรงกับ
ทีแ่ จ้งไว้ผทู้ าพินยั กรรมและพยานลงลายมือชื่อไว้
ง. ถูกทุกข้อ
95. ในการกูย้ มื เงิน ตามป.พ.พ. กาหนดดอกเบีย้ สูงสุดไว้ที่รอ้ ย
ละเท่าใดต่อปี (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 47 ข้อ 16)
ก. 3.5 ต่อปี ข. 5 ต่อปี ค. 7.5 ต่อปี ง. 15 ต่อปี
96. ข้อใดไม่ถือเป็ นความสาคัญผิดในสาระสาคัญของนิตกิ รรม
อันจะทาให้นิติกรรมเป็ นโมฆะ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 48 ข้อ 10)
ก. ความสาคัญผิดในลักษณะแห่งนิติกรรม
ข. ความสาคัญผิดในคุณสมบัตขิ องบุคคลหรือทรัพย์สนิ
ค. ความสาคัญผิดในตัวบุคคลซึง่ เป็ นกรณีแห่งนิติกรรม
ง. ความสาคัญผิดในทรัพย์สนิ ซึง่ เป็ นวัตถุของนิติกรรม
97. ผูใ้ ดเป็ นผูร้ บั ทรัพย์ตามพินยั กรรมไม่ได้ (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 48
ข้อ 11)
ก. ผูเ้ ยาว์
ข. พยานในพินยั กรรม
ค. คูส่ มรสของผูเ้ ขียนหรือพยานในพินยั กรรม
ง. ข้อ ข. และ ข้อ ค.
98. ผูเ้ ยาว์ที่อายุ 17 ปี บริบรู ณ์ ทาการหมัน้ โดยไม่ได้รบั การ
ยินยอมจากบิดามารดา ผลจะเป็ นอย่างไร (ภ.ทฤษฎี รุ ่น 49
ข้อ 15)
ก. เป็ นโมฆียะ ข. เป็ นโมฆะ
ค. ผลไม่สมบูรณ์ ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก

14

You might also like