You are on page 1of 28

กฏหมายละเมิด แยกเนื้อหาในการศึกษาออกเป็ น 4 ส่วนได้แก่

1. ความรับผิดเพือ
่ ละเมิด
2. ค่าสินไหมทดแทน
3. นิรโทษกรรม
4. อายุความ

ความรับผิดเพือ
่ ละเมิด
สาหรับความรับผิดเพือ่ ละเมิด ซึง่ ประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์กาหนดไว้นน
้ั
สามารถแบ่งหมวดหมูเ่ ป็ น 3 ประการ คือ

1. ความรับผิดเพือ
่ ละเมิดอันเกิดจากการกระทาของตนเอง

2. ความรับผิดเพือ
่ ละเมิดอันเกิดจากการกระทาของผูอ ้ น
ื่
3. ความรับผิดเพือ่ ละเมิดอันเกิดทรัพย์กอ
่ ให้เกิดความเสียหาย

เกิดจากการกระทาของตนเอง เกิดจากการกระทาของผูอ
้ น
ื่ เกิดจากทรัพย์

มาตรา 420 มาตรา 425


หลักเกณฑ์ท่วั ไปของ ความรับผิดของ มาตรา 433
ความรับผิดของเจ้าของหรือผูร้ บั เลีย้ งสัตว์
ละเมิด นายจ้าง

มาตรา 421
การใช้สท
ิ ธิเกินส่วน
มาตรา 422
ความเสียหายเกิดจาก มาตรา 434 ความรับผิดของผู้
มาตรา 427
การฝ่ าฝื นกฎหมาย ความรับผิดของตัวการ ครองโรงเรือนหรือสิง่ ปลูกสร้าง
มาตรา 423
กล่าวหรือไขข่าวซึง่ ฝ่ า

ฝื นต่อความจริง

มาตรา 429
มาตรา 428 ความรับผิดของผู้ มาตรา 436 ความรับผิดของผูอ
้ ยู่
ความรับผิดชอบของ
ว่าจ้างทาของ ในโรงเรือนกรณีของตก
บิดามารดาหรือผูอ
้ นุบาล

มาตรา 432 มาตรา 430 มาตรา 437 ความรับผิดของผู้


บุคคลหลายคนร่วมกัน ความรับผิดของ ครอบครองหรือควบคุมยานพาหนะ
ทาละเมิด อาจารย์หรือผูร้ บั ดูแล

1. ความรับผิดเพือ
่ ละเมิดอันเกิดจากการกระทาของตนเอง

มาตรา 420 หลักเกณฑ์ทว่ ั ไปของละเมิด

มาตรา 420 “ผูใ


้ ดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทาต่อบุคคลอืน ่ โดยผิดกฎหมาย
ให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวติ ก็ดี แก่รา่ งกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี
ิ หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผูน
ทรัพย์สน ้ น
้ ั ทาละเมิด
จาต้องใช้คา่ สินไหมทดแทนเพือ่ การนัน ้ ”
หลักเกณฑ์ทว่ ั ไปของละเมิด
1) ผูใ
้ ดกระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
2) กระทาต่อผูอ ้ นื่ โดยผิดกฎหมาย
3) เป็ นเหตุให้ผูอ ้ น ื่ ได้รบั ความเสียหาย
4) ผลทีเ่ กิดขึน้ สัมพันธ์กบั การกระทา
ข้อสังเกตุ การกระทา หมายรวมถึง
การงดเว้นการจักต้องกระทาตามหน้าทีเ่ พือ ่ ป้ องกันผลด้วย (มาตรา 59 วรรค 5)
หมายเหตุพเิ ศษ
1. ไม่มหี น้าทีไ่ ม่เป็ นการงดเว้นไม่ตอ ้ งรับผิด
2. กรณี มใ ิ ช่หน้าทีจ่ กั ต้องกระทาเพือ ่ ป้ องกันผลนัน ้ ด้วย ไม่เป็ นการละเมิด
3. หน้าทีเวรยาม

** ข้าราชการได้รบ
ั มอบหมายให้อยูเ่ วรรักษาราชการ
ปรากฏว่ามีทรัพย์สน ิ ทางราชการหายไปขณะทีร่ าชการซึง่ มาอยูเ่ วรหลับนอน ดังนี้
ถือไม่ได้วา่ ข้าราชการผูน ้ น ้ ั จงใจหรือประมาทเลินเล่อทาให้ทรัพย์สน ิ หายไป ไม่เป็ นละเมิด
(ฎีกา 167/2532)
** ข้าราชการทีไ ่ ด้รบั มอบหมายให้มาอยูเ่ วร แต่ไม่มาอยูเ่ วร
และในวันดังกล่าวทรัพย์สน ิ ของราชการหายไป
ศาลฎีกาก็วน ิ ิจฉัยว่าไม่ใช่เหตุโดยตรงทาให้ทรัพย์สน ิ ถูกลัก (ฎีกา 1996/2523)
** ถ้าข้าราชการผูน ้ น้ ั มีหน้าทีเ่ ป็ นเวรยามรักษาความปลอดภัย
ไม่ได้อยูเ่ วรยามเป็ นเหตุให้ทรัพย์สน ิ หาย ศาลฎีกาถือว่าเป็ นเหตุโดยตรง จาเลยต้องรับผิด
(ฎีกา 400/2534)

มาตรา 421 การใช้สท


ิ ธิเกินส่วน
มาตรา 421 ิ ธิซงึ่ มีแต่จะให้เกิดเสียหายแก่บค
“การใช้สท ุ คลอืน
่ นัน

ท่านว่าเป็ นการอันมิชอบด้วยกฎหมาย”
หลักเกณฑ์การใช้สท ิ ธิเกินส่วน
1) กระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
2) ใช้สท
ิ ธิโดย - ผูก
้ ระทามีสท
ิ ธิ
- สิทธินน
้ ั มีกฎหมายรับรองไว้
- ใช้สท
ิ ธิเกินส่วนทีม่ อ
ี ยู่
3) ผูอ
้ น
ื่ เสียหาย
4) การกระทาสัมพันธ์กบ ั ผล
หมายเหตุ
** การติดป้ ายโฆษณาสินค้า บนดาดฟ้ า
ต้องมีเจตนาจงใจหรือกลั่นแกล้งโดยมุง่ ประสงค์ความเสียหายแก่ผูอ ้ น
ื่ ฝ่ ายเดียว
จึงเป็ นการละเมิด
** เจ้าของร่วมนารถไปรับจ้างหาประโยชน์ สว ่ นตัว ถือว่าเป็ นการอันมิชอบตามมาตรา
421 (ฎีกา 1069/2509) **
การต่อเติมบ้านรุกลา้ ออกถนนถือเป็ นการอันมิชอบตามมาตรา 421 (ฎีกา 2559/2532)

มาตรา 422 ความเสียหายเกิดจากการฝ่ าฝื นกฎหมาย

มาตรา 422 “ถ้าความเสียหายเกิดแต่การฝ่ าฝื นบทบังคับแห่งกฎหมายใด


อันมีทป
ี่ ระสงค์เพือ่ จะปกป้ องบุคคลอืน ่ ๆ ผูใ้ ดทาการฝ่ าฝื นเช่นนัน

ท่านให้สนั นิษฐานไว้กอ่ นว่าผูน้ น
้ ั เป็ นผูผ
้ ด
ิ ”
หลักสาคัญของมาตรา 422 ในเรือ ่ งข้อสันนิษฐานของกฎหมายว่าเป็ นผูผ ้ ด

1) มีการฝ่ าฝื นกฎหมาย
2) เป็ นกฏหมายทีม ่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ปกป้ องบุคคลทัว่ ไป
3) บุคคลอืน ่ ได้รบั ความเสียหายต่อชีวต ิ ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สน

หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดอันเกิดจากการฝ่ าฝื นนัน ้
มาตรา 423 กล่าวหรือไขข่าวซึง่ ฝ่ าฝื นต่อความจริง (หมิน
่ ประมาททางแพ่ง)
มาตรา 423 ้ ดกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึง่ ข้อความอันฝ่ าฝื นต่อความจริง
“ผูใ
เป็ นทีเ่ สียหายแก่ชือ่ เสียงหรือเกียรติคณ
ุ ของบุคคลอืน ่ ก็ดี
หรือเป็ นทีเ่ สียหายแก่ทางทามาหาได้
หรือทางเจริญของเขาโดยประการอืน ่ ก็ดีทา่ นว่าผูน
้ น
้ ั จะต้องใช้คา่ สินไหมทดแทนให้แก่เข
าเพือ่ ความเสียหายอย่างใด ๆ อันเกิดแต่การนัน ้ แม้ทง้ ั เมือ่ ตนมิได้รวู ้ า่ ข้อความนัน
้ ไม่จริง
แต่หากควรจะรูไ้ ด้
ผูใ้ ดส่งข่าวสารอันตนมิได้รวู ้ า่ เป็ นความไม่จริง
หากว่าตนเองหรือผูร้ บั ข่าวสารนัน ้ มีทางได้เสียโดยชอบในการนัน ้ ด้วยแล้ว
ท่านว่าเพียงทีส่ ง่ ข่าวสารเช่นนัน
้ หาทาให้ผูน ้ น
้ ั ต้องรับผิดใช้คา่ สินไหมทดแทนไม่”
หลักเกณฑ์ของมาตรา 423
1) กล่าวหรือไขข่าวข้อความเท็จ
2) ทาให้แพร่หลาย (ต่อบุคคลที่ 3)
3) มีความเสียหายต่อชือ
่ เสียง เกียรติคณ
ุ ทางทามาหาได้ หรือทางเจริญของบุคคลอืน

การกระทาสัมพันธ์กบั ผล
4)
คาอธิบายเพิม
่ เติม
1. ผูใ
้ ดกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย หมายถึง การแสดงข้อความให้บค ุ คลที่ 3 ได้ทราบ
การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายจะเป็ นการพูดโดยปากเปล่า ทางวิทยุ โทรทัศน์
ข้อสังเกต ต้องเป็ นการกล่าว หรือไขข่าวต่อบุคคลที่ 3 ในตัวบทมาตรา 423
ไม่มค
ี าว่าต่อบุคคลที่ 3 แต่การไขข่าวตามมาตรา 423 นัน ้ ต้องแพร่หลายจึงต้องมีบคุ คลที่ 3
มารับรูแ
้ ละคนที่ 3 นี้ตอ
้ งเข้าใจความหมายทีก
่ ล่าวหรือไขข่าวด้วย
่ ข้อความอันฝ่ าฝื นต่อความจริง
2. ซึง
3. เป็ นทีเ่ สียหาย
** เสียหายแก่ชือ
่ เสียงหรือเกียรติคณ
ุ ของผูอ
้ น
ื่
** เสียหายแก่ทางทามาหารายได้หรือทางเจริญของเขาโดยประการอืน

# หมิน
่ ประมาท นัน
้ จะต้อง
(1) เป็ นเรือ
่ งทีเ่ ป็ นไปไม่ได้ และไม่จริง
(2) ต้องยืนยันข้อเท็จจริง (การเปรียบเทียบ คาดคะเน ทานายทายทัก
ไม่เป็ นหมิน
่ ประมาท
(3) ต้องชี้เฉพาะเจาะจงว่าเป็ นผูใ ้ ด

ข้อยกเว้นความผิดในกรณี หมิน
่ ประมาท
1. มีทางได้เสียในการส่งข่าว
์ ามรัฐธรรมนูญ
2. เอกสิทธิต
3. ์ ามประมวลกฎหมายอาญา
เอกสิทธิต
4. ความยินยอมไม่เป็ นการละเมิด

หมายเหตุ บุคคลต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็ นบุคคลที่ 3

1. สามีภริยา (ต้องจดทะเบียนสมรสแล้ว)
2. ตัวการร่วมด้วยกัน (ผูร
้ ว่ มกระทาผิด)
3. บุคคลพวกทีแ ่ อบดู แอบฟัง แอบรูเ้ ห็นโดยละเมิด

มาตรา 428 ความรับผิดของผูว้ า่ จ้างทาของ

มาตรา 428 “ผูว


้ า่ จ้างทาของไม่ตอ้ งรับผิดเพือ่ ความเสียหาย
อันผูร้ บั จ้างได้กอ่ ให้เกิดขึน้ แก่บค
ุ คลภายนอกในระหว่างทาการงานทีว่ า่ จ้าง
เว้นแต่ผูว้ า่ จ้างจะเป็ นผูผ
้ ด
ิ ในส่วนการงานทีส่ ่งั ให้ทา
หรือในคาสัง่ ทีต ่ นให้ไว้หรือในการเลือกหาผูร้ บั จ้าง”
หลักของมาตรา 428
ความรับผิดของผูว้ า่ จ้าง
่ ละเมิดซึง่ เกิดจากการกระทาของบุคคลอืน
มิใช่เป็ นความรับผิดเพือ ่
หากแต่เป็ นความรับผิดในฐานะทีต ่ วั ผูว้ า่ จ้างเองเป็ นผูผ
้ ด

โดยมีผูร้ บั จ้างเป็ นผูก ้ อ
่ ให้เกิดความเสียหายโดยตรง
ข้อยกเว้น 1) เป็ นผูผ ้ ด
ิ ในส่วนของการงานทีส่ ง่ ั ให้ทา
2) เป็ นผูผ
้ ดิ ในคาสั่งทีผ ่ วู้ า่ จ้างได้ให้ไว้
3) เป็ นผูผ้ ดิ ในการเลือกหาผูร้ บั จ้าง
ข้อสังเกตุ ถ้าผูว้ า่ จ้างต้องรับผิดและใช้คา่ สินไหมทดแทนไป จะไล่เบีย้ ผูร้ บั จ้างไม่ได้

มาตรา 432 บุคคลหลายคนร่วมกันทาละเมิด

มาตรา 432 “ถ้าบุคคลหลายคนก่อให้เกิดเสียหายแก่บค


ุ คลอืน
่ โดยร่วมกันทาละเมิด
ท่านว่าบุคคลเหล่านัน ้ จะต้องร่วมกันรับผิด ใช้คา่ สินไหมทดแทนเพือ่ ความเสียหายนัน ้
ความข้อนี้ทา่ นให้ใช้ตลอดถึงกรณี ทไี่ ม่สามารถสืบรูต ้ วั ได้แน่ วา่ ในจาพวกที่
ทาละเมิดร่วมกันนัน ้ คนไหนเป็ นผูก ้ อ่ ให้เกิดเสียหายนัน ้ ด้วย
อนึ่งบุคคลผูย้ ุยงส่งเสริมหรือช่วยเหลือในการทาละเมิด
ท่านก็ให้ถือว่าเป็ นผูก้ ระทาละเมิดร่วมกันด้วย
ในระหว่างบุคคลทัง้ หลายซึง่ ต้องรับผิดร่วมกันใช้คา่ สินไหมทดแทนนัน ้
ท่านว่าต่างต้องรับผิดเป็ นส่วนเท่า ๆ กัน
เว้นแต่โดยพฤติการณ์ ศาลจะวินิจฉัยเป็ นประการอืน ่ ”
หลักสาคัญของมาตรา 432 ตัวการ ผูย้ ยุ งส่งเสริม ผูช ้ ว่ ยเหลือ ==> รับผิดเท่ากัน
ผูก
้ ระทาละเมิดร่วมกันตามมาตรา 432 แบ่งออกเป็ น 3 กรณี คอ ื
1) ละเมิดร่วมในฐานะทีเ่ ป็ นตัวการ
2) ละเมิดร่วมในฐานะทีเ่ ป็ นผูย ้ ยุ งส่งเสริม
3) ละเมิดร่วมในฐานะทีเ่ ป็ นผูช ้ ว่ ยเหลือในการทาละเมิด
คาอธิบายเพิม่ เติม
**กรณี ทมี่ ไิ ด้รว่ มกันละเมิด คือต่างคนต่างทาละเมิดให้ปรับเข้ากับมาตรา 438
แบ่งความรับผิดไปตามพฤติการณ์ และความร้ายแรงแห่งละเมิด
# ในระหว่างบุคคลทัง้ หลาย ซึง ่ ต้องรับผิดร่วมกันใช้คา่ สินไหมทดแทนนัน ้
ท่านว่าต่างต้องรับผิดเป็ นส่วนเท่าๆกัน เว้นแต่โดยพฤติการณ์
ศาลจะวินิจฉัยเป็ นประเภทอืน ่

2. ความรับผิดเพือ
่ ละเมิดอันเกิดจากการกระทาของผูอ
้ น
ื่

มาตรา 425 ความรับผิดของนายจ้าง


มาตรา 427 ความรับผิดของตัวการ
มาตรา 429 ความรับผิดชอบของบิดามารดาหรือผูอ ้ นุบาล
มาตรา 430 ความรับผิดของอาจารย์หรือผูร้ บั ดูแล

มาตรา ผูร้ บั ผิดซึง่ มิได้กระทาละเมิด ร่วมรับผิด ผูท


้ าละเมิด

425 นายจ้าง ==> ลูกจ้าง


427 ตัวการ ==> ตัวแทน

429 บิดามารดา / ผูอ


้ นุบาล ==> ผูเ้ ยาว์ / ผูว้ ก
ิ ลจริต

430 ครูบาอาจารย์ / นายจ้าง / ผูด


้ แ
ู ล ==> บุคคลไร้ความสามารถ

มาตรา 425 ความรับผิดของนายจ้าง

มาตรา 425 “นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งละเมิด


ซึง่ ลูกจ้างได้กระทาไปในทางการทีจ่ า้ งนัน
้ ”
หลักสาคัญของมาตรา 425
1) ลูกจ้างทาละเมิดต่อผูอ ้ น
ื่
2) เป็ นนายจ้าง – ลูกจ้าง ขณะทาละเมิด
3) กระทาละเมิดในทางการทีจ ่ า้ ง
ข้อสังเกตุ นายจ้างไล่เบีย้ ได้ตามมาตรา 426
คาอธิบายเพิม ่ เติม
1. ต้องเป็ นสัญญาจ้างแรงงาน (จ้างทาของเข้า ม.428)
2. ใครคือนายจ้าง (กิจการของใคร, ผูม ้ อ
ี านาจบังคับบัญชา, ผูจ้ า่ ยสินจ้าง)
3. ในทางการทีจ ่ า้ งครอบคลุมเพียงใด (ส่วนใหญ่เป็ นเรือ ่ งขับรถของลูกจ้าง)
พอสรุปได้ดงั นี้
** เป็ นทางทีว ่ า่ จ้างหมดไม่วา่ ลูกจ้างจะขับรถออกนอกเส้นทาง หรือเปลีย่ นเส้นทาง
หรือให้คนอืน ่ ขับแทนแม้แต่ตอนกลับถ้าเกิดละเมิดถือว่าเป็ นการทีจ่ า้ งเพราะการนารถมาเ
ก็บก็เป็ นหน้าทีเ่ ช่นกัน
4. กรณี ทล ี่ ูกจ้างได้ทาสัญญาประนีประนอมยอมความกับผูไ้ ด้รบั เสียหาย
ผลของสัญญาประนีประนอมยอมความทาให้เกิดมูลหนี้ตอ ้ ใหม่
่ กันขึน
** มูลหนี้ ตามสัญญา (ม.852) หนี้ละเมิดเป็ นอันระงับ
นายจ้างหลุดพ้นจากความรับผิด
** ข้อตกลงทีถ ่ ือว่าเป็ นสัญญาประนีประนอมยอมความได้นน ้ั
จะต้องมีการตกลงให้ชดั เจนแน่ นอนเกีย่ วกับเรื่องจานวนเงิน ตลอดจนวิธีการชาระเงิน
หากไม่ตกลงในเรือ ่ งดังกล่าวก็มใิ ช่สญ ั ญาประนีประนอมยอมความ
นายจ้างไม่หลุดพ้นความผิด (ฎีกา 127/2538)
หมายเหตุ
** สัญญาประนี ประนอมยอมความจะฟ้ องร้องบังคับกันนัน

ต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสือ
การแต่งตัง้ ตัวแทนให้ทาสัญญาจึงต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสือด้วย ฝ่ ายผูเ้ สียหาย (โจทก์)
มอบอานาจให้ผูอ ้ น
ื่ ตกลงโดยมีหลักฐานเป็ นสัญญาประนีประนอมยอมความจึงผูกพันโจท
ก์ โจทก์จงึ ฟ้ องนายจ้างไม่ได้ (ฎีกา 2248/2524)
**
ถ้าผูเ้ สียหายมิได้แต่งตัง้ ตัวแทนโดยมีหลักฐานเป็ นหนังสือสัญญาประนีประนอมยอมความ
ก็ไม่ผูกพันผูเ้ สียหาย ผูเ้ สียหายจึงยังฟ้ องนายจ้างได้ (ฎีกา 3187/2524)
# นายจ้างยินยอมให้ลูกจ้างนารถไปใช้ในวันหยุด ก็ถือว่าอยูใ ่ นทางการทีจ่ า้ ง (ฎีกาที่
1196/2531)
# หากลูกจ้างมีเรือ
่ งส่วนตัวกับบุคคลอืน
่ ระหว่างขับรถในทางการทีว่ า่ จ้าง
แล้วไปแกล้งชกต่อยไม่ใช่ทางการทีจ่ า้ ง

ตารางเปรียบเทียบการจ้างแรงงานกับจ้างทาของ

จ้างแรงงาน (ม.425) จ้างทาของ (ม.428)

1. นายจ้าง-ลูกจ้าง 1. ผูว
้ า่ จ้าง-ผูร้ บั จ้าง

2. ไม่ถือเอาความสาเร็จของงาน 2. ถือเอาความสาเร็จของงาน

3. นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้าง 3. ผูว
้ า่ จ้างไม่ตอ
้ งรับผิดร่วมกับผูร้ บั จ้าง
4. 4.
นายจ้างมีอานาจสัง่ การหรือบังคับบัญชาลู ผูว้ า่ จ้างไม่มอ
ี านาจสัง่ การหรือบังคับบัญชาผู้
กจ้างได้ รับจ้างได้

นายจ้างมีสท
ิ ธิไล่เบีย้ ลูกจ้าง
มาตรา 426 ่ ได้ใช้คา่ สินไหมทดแทนให้แก่บค
“นายจ้างซึง ุ คลภายนอก
เพือ่ ละเมิดอันลูกจ้างได้ทานัน
้ ชอบทีจ่ ะได้ชดใช้จากลูกจ้างนัน
้ ”
การทีน่ ายจ้างจะไล่เบีย้ เอาจากลูกจ้างได้นน ้ั
คงไล่เบีย้ ได้เฉพาะค่าสินไหมทดแทนทีน ่ ายจ้างต้องรับผิดใช้ให้แก่ผูเ้ สียหายจากผลทีล่ ูกจ้า
งกระทาละเมิดในทางการทีจ่ า้ ง
แต่ถา้ เป็ นค่าเสียหายอย่างอืน ่ ซึง่ ไม่ใช่ผลโดยตรงจากการกระทาละเมิด
นายจ้างจะไล่เบีย้ ไม่ได้ เช่น ค่าฤชาธรรมเนียมในการขึน ้ ศาล
ค่าทนายความต่อสูค ้ ดีของนายจ้าง ฯลฯ
ข้อสังเกตุ
นายจ้างมีสท ิ ธิเรียกดอกเบีย้ นับแต่วน ั ทีน
่ ายจ้างได้ใช้เงินให้แก่ผูเ้ สียหายไป
จะเรียกดอกเบีย้ นับแต่วน ั ผิดนัดคือวันละเมิดไม่ได้
** สิทธิไล่เบีย้ จากลูกจ้างตามมาตรา 426
นัน
้ นายจ้างต้องได้ใช้คา่ สินไหมทดแทนให้แก่บค ุ คลภายนอกไปแล้ว
หากยังไม่ใช่ก็ยงั ไม่มส ี ท
ิ ธิไล่เบีย้ (ฎีกา 3373/2545)

มาตรา 427 ความรับผิดของตัวการ

มาตรา 427 “บทบัญญัตใิ นมาตราทัง้ สองก่อนนัน



ท่านให้ใช้บงั คับแก่ตวั การและตัวแทนด้วยโดยอนุโลม”
หลักสาคัญของมาตรา 427
1) ตัวแทนทาละเมิดต่อผูอ ้ น
ื่
2) เป็ นตัวการ – ตัวแทนขณะทาละเมิด
3) กระทาละเมิดในกิจการของตัวการ
ข้อสังเกตุ
1) ข้าราชการ ไม่เป็ นลูกจ้างและตัวแทนของส่วนราชการหรือผูบ
้ ังคับบัญชา
2) ตัวการไล่เบีย้ ได้ตามมาตรา 427
คาอธิบายเพิม ่ เติม
** ตัวการต้องร่วมกันรับผิดกับตัวแทนในผลแห่งละเมิด
ซึง่ ตัวแทนได้กระทาไปในกิจการทีไ่ ด้กระทาการแทนตัวการ
ข้อสังเกต

** มาตรา 427 ใช้กบั ตัวแทนโดยปริยายด้วย นอกจากนี้ยงั ใช้กบั ตัวแทนเชิดด้วย


(ฎีกา 314/2532)
#
ความรับผิดของตัวการในผลแห่งละเมิดทีต ่ วั แทนกระทาไปตามประมวลกฎหมายแพ่งแล
ะพาณิชย์ มาตรา 427 นัน ้
จะต้องเป็ นเรือ
่ งทีต
่ วั การตัง้ ตัวแทนให้ไปทาการติดต่อหรือมีความสัมพันธ์กบั บุคคลที่
3

โจทก์ฟ้องให้จาเลยที่ 2 ในฐานะเป็ นตัวการร่วมกันรับผิดกับจาเลยที่ 1 ซึง่ เป็ นตัวแทน


เมือ่ โจทก์นาสืบไม่ได้วา่ จาเลยที่ 1 ขับรถยนต์บรรทุกถ่านของจาเลยที2 ่
ได้ทาการติดต่อหรือมีความสัมพันธ์กบั บุคคลที่ 3 อันจะเข้าลักษณะเป็ นตัวแทนแล้ว
จาเลยที่ 1 จึงไม่ใช่ตวั แทนของจาเลยที่ 2 จาเลยที่ 2 ไม่ตอ
้ งร่วมรับผิดกับจาเลยที่ 1
ในฐานะตัวการตัวแทนตามทีโ่ จทก์ฟ้อง (ฎีกา 619/2507)
# การใช้ให้ขบ
ั รถไปทากิจการผูใ้ ช้ ถือว่าผูถ
้ ูกใช้เป็ นตัวแทนโดยปริยาย
เมือ่ ถูกใช้ขบั ไปชนผูอ
้ น
ื่ ผูใ้ ช้ตอ
้ งรับผิดตามมาตรา 427 (ฎีกา 260/2535, 1133/2516 (ป),
2977/2523)

ข้อสังเกตพิเศษ
** คาพิพากษาฎีกาทัง้ 3 เรือ
่ งเป็ นการใช้ให้ผูอ ้ นื่ ขับรถยนต์ไปในกิจการหรือ
เพือ ่ ประโยชน์ของผูใ้ ช้ จะถือได้วา่ ผูข ้ บั รถยนต์เป็ นตัวแทนผูใ้ ช้
ต่างกับการใช้ให้ผูอ ้ น
ื่ ยืมรถยนต์ไปใช้ในกิจการหรือเพือ ่ ประโยชน์ของผูย้ ืม
ผูย้ ืมจึงไม่ใช่ตวั แทนของผูใ้ ห้ยืม เมือ่ ยืมรถไปชนผูอ ้ น ื่ ผูใ้ ห้ยืมไม่ต้องรับผิดด้วย (ฎีกา
5519-5550/2541)
** ใช้ให้ผูอ
้ น
ื่ ขับรถหรือเรือ โดยผูใ้ ช้น่งั ไปด้วย ถือว่าผูถ
้ ูกใช้เป็ นตัวแทนโดยปริยาย
(ฎีกา 1627/2544, 3147/2532)

มาตรา 429 ความรับผิดชอบของบิดามารดาหรือผูอ


้ นุบาล
มาตรา 429 “บุคคลใดแม้ไร้ความสามารถ เพราะเหตุ เป็ นผูเ้ ยาว์หรือวิกลจริต
ก็ยงั ต้องรับผิดในผลทีต ่ นทาละเมิด บิดามารดาหรือผูอ้ นุบาลของบุคคลเช่นว่านี้
ย่อมต้องรับผิดร่วมกับเขาด้วย
เว้นแต่จะพิสจู น์ได้วา่ ตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าทีด ่ ูแลซึง่ ทาอยูน
่ น
้ั ”
หลักสาคัญของมาตรา 429
1) ต้องเป็ นบิดามารดา หรือผูอ ้ นุบาล
2) บิดามารดาชอบด้วยกฎหมายเท่านัน ้ (บิดาไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปรับเข้ามาตรา
430 ได้)
3) มีหน้าทีด ่ ูแลผูเ้ ยาว์ หรือคนวิกลจริตในขณะทีท ่ าละเมิด
4) ไม่ได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าทีด ่ แ
ู ล
ข้อยกเว้น พิสจู น์ได้วา่ ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าทีแ ่ ล้ว
คาอธิบายเพิม ่ เติม
1. ความรับผิดตามมาตรา 429 นี้ เป็ นเรือ ่ งการบกพร่องในหน้าทีด
่ แ
ู ลผูเ้ ยาว์
ถ้าเป็ นเรือ ่ งบิดามารดาใช้ผูเ้ ยาว์ให้ไปทาละเมิดต้องปรับเข้ามาตรา 432
เป็ นละเมิดร่วมไม่เข้ามาตรา 429
2. ต้องเป็ นกรณี ทผ ี่ เู้ ยาว์ทาละเมิดตามมาตรา 420 เสียก่อน
ถ้าผูเ้ ยาว์มไิ ด้ทาละเมิดก็ไม่เข้ามาตรา 429
3. กรณี ทย ี่ งั เรียกไม่ได้วา่ บิดาได้ใช้ความระมัดระวังสมควรแก่หน้าทีด ่ ูแล
4. กรณี ทผ ี่ เู้ ยาว์ไปกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง
ซึง่ บิดามารดาไม่รม ู ้ าก่อนหรือไม่อาจคาดคิดได้วา่ ผูเ้ ยาว์จะไปกระทาการนัน ้
ทาให้บด ิ ามารดาไม่มโี อกาสได้ทกั ท้วงหรือว่ากล่าวตักเตือนได้
ถือว่าบิดามารดาได้ใช้ความระมัดระวังดูแลผูเ้ ยาว์ตามสมควรแล้ว (ฎีกา 2850/2524)
5. เหตุสดุ วิส ัย

5.1) ผูเ้ ยาว์ออกไปเทีย


่ วกับเพือ
่ น แล้วไปขับรถแทนเพือ ่ น
ถือว่าเป็ นเหตุสด
ุ วิส ัยทีบ
่ ด
ิ ามารดาจะรูจ้ ะเห็นได้ ถือว่าบิดามารดาได้ใช้ความระมัดระวังต
ามสมควรแก่หน้าทีด ่ แู ลแล้ว เมือ่ ผูเ้ ยาว์ขบั รถไปชนผูอ
้ น
ื่ บิดามารดาไม่ตอ
้ งรับผิด (ฎีกา
2118/2540)
5.2) บุคคลอืน
่ นารถไปให้ผูเ้ ยาว์ขบัโดยมิได้บอกกล่าวบิดามารดา
ทาให้บด ิ ามารดาไม่มโี อกาสทักท้วง เป็ นเหตุสด
ุ วิสยั
ทีบ
่ ด
ิ ามารดาจะใช้ความระมัดระวังดูแลบุตรได้ จึงไม่ตอ ้ งรับผิดชอบ (ฎีกา 2732/2528)
6. หน้าทีพ
่ ส
ิ จู น์
**
บิดามารดามีหน้าทีพ ่ ส
ิ จู น์ วา่ ตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าทีด ่ ูแลซึง่ ทาอยูน
่ ้ั
น ถ้าสืบไม่ได้ ก็ตอ ้ งรับผิด
7. ข้อสังเกตอืน่ ๆ
7.1) ถ้าบิดามารดาใช้ให้ผูเ้ ยาว์ขบ ั รถแทนเช่นนี้ถือว่าเป็ นตัวแทนตามมาตรา 427
มิใช่มาตรา 429
7.2) ถ้าบิดาใช้ให้บต ุ รผูเ้ ยาว์ไปทาละเมิดต้องปรับเข้ากับมาตรา 420 ประกอบกับ
มาตรา 432 (ละเมิดร่วม) มิใช่มาตรา 429
# ผูต
้ อ
้ งรับผิดเพือ ่ การละเมิด คือ บิดามารดาทีช่ อบด้วยกฎหมาย
ถ้าเป็ นบิดามารดาทีไ่ ม่ชอบด้วยกฎหมาย จะนามาตรา 429 มาใช้บงั คับไม่ได้
แต่ถือว่าเป็ นผูด ้ ูแลผูเ้ ยาว์ตามมาตรา 430 (ฎีกาที่ 9184/2539)

ข้อสังเกต
การเป็ นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย คือ
กรณี ทเี่ ด็กเกิดจากบิดามารดาทีไ่ ด้จดทะเบียนกันแล้ว
กรณี ทเี่ ด็กเกิดจากบิดามารดาทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนสมรสกันจะเป็ นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมา
ยก็ตอ่ เมือ่ บิดามารดาได้สมรสกันภายหลัง
หรือบิดามารดาได้จดทะเบียนว่าเป็ นบุตรหรือศาลพิพากษาว่าเป็ นบุตร (มาตรา 1547)
ดังนัน
้ กรณี ทบ ี่ ด
ิ ามารดารับรองบุตรโดยข้อเท็จจริง
เช่นให้ใช้นามสกุลหรือให้การอุปการะเลีย้ งดู
ยังไม่ทาให้เป็ นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายคงก่อให้เกิดสิทธิในการรับมรดกของบิดาเท่านั้
น (มาตรา 1627)
ข้อสังเกต
คาพิพากษาฎีกาวินิจฉัยว่า
การทีผ ่ ูเ้ ยาว์ไปกระทาละเมิดทีอ่ น
ื่ โดยบิดามารดาไม่รเู ้ ห็นด้วย
บิดามารดาไม่อาจยกขึน ้ ปฏิเสธความรับผิดได้ (ฎีกา 9774/2544)

มาตรา 430 ความรับผิดของอาจารย์หรือผูร้ บั ดูแล

มาตรา 430 “ครูบาอาจารย์ นายจ้าง หรือบุคคลอืน ่


ซึง่ รับดูแลบุคคลผูไ้ ร้ความสามารถอยูเ่ ป็ นนิตย์ก็ดี ชั่วครัง้ คราวก็ดี
จาต้องรับผิดร่วมกับผูไ้ ร้ความสามารถในการละเมิด ซึง่ เขาได้กระทาลงในระหว่างทีอ่ ยูใ่
นความดูแลของตน ถ้าหากพิสจู น์ได้วา่ บุคคลนัน ้ ๆ มิได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควร”
หลักเกณฑ์ความรับผิดเพือ ่ ละเมิดของผูม้ ห
ี น้าทีร่ บั ดูแล
1) เป็ นผูด ้ ูแลผูไ้ ร้ความสามารถ
2) ผูไ้ ร้ความสามารถกระทาละเมิด
3) ผูด ้ แู ลมิได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควร
ผูม
้ ห
ี น้าทีด ่ แู ล (บุคคลทีต ่ อ ้ งรับผิดตามมาตรา 430)
1) ครูบาอาจารย์
2) นายจ้างของผูเ้ ยาว์
3) บุคคลทีร ่ บั ดูแลผูไ้ ร้ความสามารถ
ข้อยกเว้น พิสจู น์ได้วา่ ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าทีแ ่ ล้ว
ข้อสังเกต
เกีย่ วกับความรับผิดของบุคคลตามบทบัญญัตต ิ ามมาตรา 429 กับมาตรา 430 นัน

แตกต่างกัน
** มาตรา 429 เป็ นหน้าทีข ่ องบิดามารดาหรือผูอ ้ นุบาลต้องพิสจู น์ ได้วา่
ตนได้ใช้ความระมัดระวังตามควรแก่หน้าทีด ่ ูแลซึง่ ทาอยูน
่ น
้ั
ถ้าพิสจู น์ไม่ได้ก็ไม่พน ้ ความผิด
** มาตรา 430 เป็ นหน้าทีผ ่ ูถ
้ ก
ู ทาละเมิดจะต้องพิสจู น์วา่ ครูบาอาจารย์
นายจ้างหรือผูด ้ ูแลผูไ้ ร้ความสามารถไม่ได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควร
บุคคลเหล่านัน ้ จึงต้องรับผิด

มาตรา 431 สิทธิไล่เบีย้

มาตรา 431 ในกรณีทก


“ ี่ ล่าวมาในสองมาตราก่อนนัน
้ ท่านให้นาบทบัญญัตแ
ิ ห่งมาตรา
426 มาใช้บงั คับด้วยโดยอนุโลม”
กรณี ทบ
ี่ ด
ิ ามารดา ผูอ
้ นุบาล (มาตรา 429) หรือครูบาอาจารย์ นายจ้าง
หรือบุคคลผูร้ บั ดูแล (มาตรา 430) ต้องชดใช้คา่ สินไหมทดแทนให้แก่ผูเ้ สียหายไปแล้ว
มาตรา 431 นี้เปิ ดโอกาสให้บค ุ คลเหล่านัน
้ ใช้สท
ิ ธิไล่เบีย้ บุคคลผูไ้ ร้ความสามารถ
ซึง่ เป็ นผูก
้ ระทาละเมิดนัน้ ได้ ในทานองเดียวกับทีน ่ ายจ้างไล่เบีย้ ลูกจ้างได้น่น
ั เอง
3. ความรับผิดเพือ
่ ละเมิดอันเกิดจากทรัพย์
มาตรา 433 ความรับผิดของเจ้าของหรือผูร้ บั เลี้ยงสัตว์
มาตรา 434 ความรับผิดของผูค
้ รองโรงเรือนหรือสิง่ ปลูกสร้าง
มาตรา 436 ความรับผิดของผูอ้ ยูใ่ นโรงเรือนกรณี ของตก
มาตรา 437 ความรับผิดของผูค ้ รอบครองหรือควบคุมยานพาหนะ

มาตรา เหตุแห่งความเสียหาย ผูร้ บั ผิด ข้อแก้ตวั ไม่ตอ


้ งรับผิด
1)
ใช้ความระมัดระวังตามสมควร
แก่การเลีย้ งดูตามชนิด วิสยั
1) เจ้าของ หรือ
433 สัตว์ พฤติการณ์ ของสัตว์ หรือ
2) ผูร
้ บั เลีย้ ง ผูร้ กั ษา
2)
ความเสียหายนัน ้ อยูด
้ ต้องเกิดขึน ่ ี
แม้จะได้ใช้ความระมัดระวังแล้ว

1) ผูค
้ รอง ใช้ความระมัดระวังตามสมควร
โรงเรือน สิง่ ปลูกสร้าง
434 เพือ
่ ป้ องกันความเสียหายนัน
้ แล้ว
ต้นไม้ กอไผ่ 2) เจ้าของ (เจ้าของแก้ตวั ไม่ได้เลย)

ของตกหล่นหรือทิง้ ขว้าง
436 บุคคลผูอ
้ ยูใ่ นโรงเรือน ไม่มก
ี ฎหมายกาหนดให้แก้ตวั ได้
จากโรงเรือน

437
ยานพาหนะฯ 1) ผูค
้ วบคุม 1) เหตุสด
ุ วิส ัย
หรือทรัพย์อน
ั ตราย 2) ผูค
้ รอง 2) ความผิดของผูเ้ สียหายเอง

3) เจ้าของ

(ถ้าผูค
้ รองหรือ/และ
เจ้าของอยูด
่ ว้ ย
ต้องร่วมรับผิด)

้ เพราะสัตว์
ความเสียหายเกิดขึน

มาตรา 433 ้ เพราะสัตว์


“ถ้าความเสียหายเกิดขึน ท่านว่าเจ้าของสัตว์
หรือบุคคลผูร้ บั เลีย้ งรับรักษาไว้แทนเจ้าของ
จาต้องใช้คา่ สินไหมทดแทนให้แก่ฝ่ายทีต ่ อ้ งเสียหาย เพือ่ ความเสียหายอย่างใดๆ
อันเกิดแต่สตั ว์นน ้ ั เว้นแต่จะพิสจู น์ได้วา่ ตนได้ใช้ความระมัดระวังอันสมควร
แก่การเลี้ยงการรักษาตามชนิด และวิสยั ของสัตว์ หรือตามพฤติการณ์ อย่างอืน ่
หรือพิสจู น์ได้วา่ ความเสียหายนัน ้
ย่อมจะต้องเกิดมีขน ึ้ ทัง้ ทีไ่ ด้ใช้ความระมัดระวังถึงเพียงนัน ้
อนึ่งบุคคลผูต ้ อ้ งรับผิดชอบดังกล่าวมาในวรรคต้นนัน ้
จะใช้สท
ิ ธิไล่เบีย้ เอาแก่บค ุ คลผูท
้ เี่ ร้าหรือยั่วสัตว์นน
้ ั โดยละเมิด
หรือเอาแก่เจ้าของสัตว์อน ื่ อันมาเร้าหรือยั่วสัตว์นน ้ ั ๆ ก็ได้”
หลักเกณฑ์ความรับผิดเพือ ่ ละเมิดตามมาตรา 433
1) ต้องมีความเสียหาย หมายความว่า จะต้องมีความเสียหายเกิดขึน ้ จริง
ซึง่ อาจจะเป็ นความเสียหายทีเ่ กิดแก่บค ุ คล เช่น สุนข ั วิง่ ไปกัดคนได้รบั บาดเจ็บ
หรืออาจจะเป็ นความเสียหายทีเ่ กิดแก่ทรัพย์ก็ได้ เช่น โคหลุดออกจากคอกไปนอกบ้าน
เข้าไปเหยียบย่าแปลงผักในไร่ของผูอ ้ นื่ ได้รบั ความเสียหาย เป็ นต้น
2) ความเสียหายเกิดขึน ้ จากสัตว์ มี 2 กรณีคอ ื
2.1 ความเสียหายเกิดขึน ้ เพราะสัตว์โดยตรง เช่น สุนข ั กัด ม้าเตะ นกบินมาอุจาระใส่
วัวขวิด ช้างเหยียบ
2.2 ความเสียหายเกิดขึน ้ เพราะสัตว์ทางอ้อม (เป็ นผลเนื่องมาจากสัตว์) หมายความว่า
สัตว์ไม่ได้กอ ่ ให้เกิดความเสียหายโดยตรง เช่น ดาเลี้ยงสุนขั ไว้ตวั หนึ่ง
ปรากฎว่าสุนข ั ของดาเห่าหอนทัง้ วันทัง้ คืน
เป็ นเหตุให้แดงซึง่ มีบา้ นอยูต ่ ด ิ กันนอนไม่หลับจนล้มเจ็บลง
ต้องรักษาตัวในโรงพยาบาลเสียค่าใช้จา่ ยไป 500 บาท
กรณีนี้ถือว่าเป็ นความเสียหายเกิดจากสัตว์
คาอธิบายเพิม ่ เติม
1) ต้องเป็ นกรณี ทคี่ วามเสียหายเกิดขึน ้ เพราะสัตว์
ถ้าคนใช้สตั ว์เป็ นเครือ่ งมือในการทาละเมิดถือเป็ นการกระทาของคนต้องปรับเข้ามาตรา
420 มิใช่มาตรา 433
2) ในกรณี ทส
ี่ ตั ว์มเี จ้าของ แต่เจ้าของไม่ประสงค์จะเลี้ยงดู ปล่อยปละละเลย
หรือนาไปไว้ในทีห ่ า่ งไกล ถือว่าสัตว์นน ้ ั ไม่มเี จ้าของ
3) ลูกจ้างหรือคนรับใช้ทม ี่ ห
ี น้าทีด
่ แ ู ลเลี้ยงดูสตั ว์นน ้ ั ไม่ถือว่าเป็ นผูร้ บั เลี้ยงรับรักษา
เว้นแต่เป็ นกรณีรบั จ้างเลี้ยง
ความรับผิดระหว่างเจ้าของกับผูร้ บั เลีย้ งรับรักษา
1) ในกรณี ทส ี่ ตั ว์มแ ี ต่เจ้าของ หากมีความเสียหายเกิดขึน ้ เพราะสัตว์
เจ้าของสัตว์ตอ ้ งรับผิดชอบ
2) ในกรณี ทส ี่ ัตว์มเี จ้าของ และเจ้าของได้ให้ผูอ ้ น
ื่ รับเลี้ยง หรือรักษาสัตว์ไว้แทน ดังนี้
ผูร้ บั เลีย้ งรับรักษาต้องรับผิด (ฏีกา 889/2510)
สรุป ในระหว่างผูเ้ ป็ นเจ้าของ และผูร้ บั เลี้ยงรับรักษา ผูใ้ ดจะต้องรับผิดให้พจิ ารณาว่า
“ในขณะทีส ่ ตั ว์กอ
่ ให้เกิดความเสียหาย อยูใ่ นความดูแลของผูใ้ ด”
หมายเหตุ กรณี ชา้ ง ถ้าผูเ้ ลีย้ งช้างลักษณะเป็ นการทาแทนเจ้าของช้าง เจ้าของช้างไม่พ้
นความรับผิด

ความเสียหายอันเกิดโรงเรือนหรือสิง่ ปลูกสร้าง
มาตรา 434 ้ เพราะเหตุทโี่ รงเรือน
“ถ้าความเสียหายเกิดขึน
หรือสิง่ ปลูกสร้างอย่างอืน ่ ก่อสร้างไว้ ชารุดบกพร่องก็ดี หรือบารุงรักษาไม่เพียงพอก็ดี
ท่านว่าผูค ้ รองโรงเรือนหรือสิง่ ปลูกสร้างนัน ้ ๆ จาต้องใช้คา่ สินไหมทดแทน
แต่ถา้ ผูค
้ รองได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควร เพือ่ ปัดป้ องมิให้เกิดเสียหายฉะนัน ้ แล้ว
ท่านว่าผูเ้ ป็ นเจ้าของจาต้องใช้คา่ สินไหมทดแทน
บทบัญญัตท ิ กี่ ล่าวมาในวรรคก่อนนัน ้
ให้ใช้บงั คับได้ตลอดถึงความบกพร่องในการปลูกหรือคา้ จุนต้นไม้หรือกอไผ่ดว้ ย
ในกรณี ทก ี่ ล่าวมาในสองวรรคข้างต้นนัน ้
ถ้ายังมีผูอ้ น ื่ อีกทีต ่ อ้ งรับผิดชอบในการก่อให้เกิดเสียหายนัน ้ ด้วยไซร้
ท่านว่าผูค ้ รองหรือเจ้าของจะใช้สท ิ ธิไล่เบีย้ เอาแก่ผูน
้ น
้ ั ก็ได้”
หลักเกณฑ์ความรับผิดตามมาตรา 434 วรรคแรก
1) ความเสียหายเกิดจากโรงเรือน หรือสิง ่ ปลูกสร้างอย่างอืน

2) โรงเรือนหรือสิง่ ปลูกสร้างนัน
้ ชารุดบกพร่อง หรือบารุงรักษาไม่เพียงพอ
หลักเกณฑ์ความรับผิดตามมาตรา 434 วรรคสอง
1) ความเสียหายเกิดจากต้นไม้หรือกอไผ่
2) ต้นไม้หรือกอไผ่นน ้ ั มีความบกพร่องในการปลูกหรือคา้ จุน
คาอธิบายเพิม ่ เติม
1) สิง
่ ปลูกสร้าง

(ฎีกา
2959/2516) ป้ ายโฆษณาติดตัง้ บนดาดฟ้ าตึก ผูเ้ ช่าสถานทีต
่ ด
ิ ตัง้ เป็ นผูค
้ รอบครองป้ าย
ผูร้ บั จ้างติดตัง้ และดูแลป้ ายไม่ใช่ผูค
้ รอบครองร่วมด้วย ป้ ายติดตัง้ ไม่ตรงตามแบบแปลน
จึงถูกพายุตามธรรมดาพัดพังลงมาทาให้โจทก์เสียหาย ผูเ้ ช่าต้องรับผิด
2) ถ้าผูค
้ รอบครองรับผิดแล้ว เจ้าของก็ไม่ตอ ้ งรับผิด (ฎีกา 1358-1359/2496)
3) พายุมาแรงตามฤดูกาล ไม่ใช่เหตุสด ุ วิสยั
4) เปรียบเทียบกับเรือ
่ งของตกหล่นจากโรงเรือน (ม.436)

มาตรา 436 “บุคคลผูอ


้ ยูใ่ นโรงเรือนต้องรับผิดชอบในความเสียหาย
อันเกิดเพราะของตกหล่นจากโรงเรือนนัน
้ หรือเพราะทิง้ ขว้างของไปตกในทีอ่ นั มิควร ”
ความเสียหายจากโรงเรือน (ม.434) ของตกหล่นจากโรงเรือน (ม.436)

1. เจ้าของหรือผูค
้ รอบครองเป็ นผูร้ บั ผิด 1. บุคคลผูอ
้ ยูใ่ นโรงเรือนเป็ นผูร้ บั ผิด

2.ความเสียหายจากโรงเรือน 2.
หรือสิง่ ปลูกสร้างหรือต้นไม้หรือกอไผ่ ความเสียหายจากของตกหล่นจากโรงเรือน

การทีบ
่ ค
ุ คลผูอ ้ ได้ 2 กรณีคอ
้ ยูใ่ นโรงเรือนจะต้องรับผิดตามมาตรา 436 อาจเกิดขึน ื

4.1 ของตกหล่นจากโรงเรือน หรือ

4.2 ทิง้ ขว้างของจากโรงเรือนไปตกในทีอ่ น


ั มิควร

5. กรณี ตามมาตรา 435

มาตรา 435 “บุคคลใดจะประสบความเสียหายอันพึงเกิดจากโรงเรือน


หรือสิง่ ปลูกสร้างอย่างอืน
่ ของผูอ้ น
ื่ บุคคลนัน
้ ชอบทีจ่ ะเรียกให้จดั การตามทีจ่ าเป็ น
เพือ่ บาบัดป้ องกันภยันตรายนัน้ เสียได้”
ถ้าบุคคลใดจะประสพความเสียหาย อันเกิดจากโรงเรือนหรือสิง่ ปลูกสร้าง
โดยทีย่ งั ไม่มค
ี วามเสียหายเกิดขึน ้ เลย ก็ยงั มีสท
ิ ธิในการเรียกให้เจ้าของหรือผูค
้ รองนัน
้ ๆ
จัดการตามทีจ่ าเป็ นเพือ่ ป้ องกันภยันตรายทีใ่ กล้จะถึงนัน้ ก็ได้ตามมาตรา 435

ข้อสังเกตุ มาตรา 435 นัน


้ มิได้กล่าวถึงต้นไม้หรือกอไผ่ดว้ ย แต่น่าจะนามาใช้บงั คับได้
โดยอาศัยมาตรา 4 วรรคท้าย ในฐานะทีม ่ าตรา 435 เป็ นบทกฎหมายทีใ่ กล้เคียงอย่างยิง่

ความเสียหายเกิดจากยานพาหนะ
มาตรา 437 “บุคคลใดครอบครองหรือควบคุมดูแลยานพาหนะอย่างใดๆ
อันเดินด้วยกาลังเครือ่ งจักรกล บุคคลนัน ้ จะต้องรับผิดชอบเพือ่ การเสียหายอันเกิดแต่ยาน
พาหนะนัน ้ เว้นแต่จะพิสจู น์ ได้วา่ การเสียหายนัน้ เกิดแต่เหตุสด
ุ วิสยั
หรือเกิดเพราะความผิดของผูต ้ อ้ งเสียหายนัน
้ เอง”
ความเสียหายจากทรัพย์ตามมาตรา 437 มี 2 ประเภทคือ
1) ยานพาหนะอันเดินด้วยเครือ ่ งจักรกล
2) ทรัพย์อน
ั ตราย แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทคือ
2.1 ทรัพย์อนั ตรายโดยสภาพ ได้แก่ ทรัพย์ทเี่ กิดอันตรายแก่รา่ งกาย ชีวต

ทรัพย์สน ิ ได้โดยสภาพของตัวทรัพย์เอง เช่น กระแสไฟฟ้ า น้ามันเบนซิน น้ากรด
ลูกระเบิด แก๊ส เป็ นต้น
2.2 ทรัพย์อน ั ตรายโดยความมุง่ หมายทีใ่ ช้ ได้แก่
ทรัพย์โดยสภาพของมันเองไม่เกิดอันตราย แต่โดยการใช้ทาให้เกิดอันตรายขึน ้ เช่น
เอาอาวุธปื นมาบรรจุกระสุนในลากล้อง เอาบัง้ ไฟหรือพลุมาใช้จุด
เอาสารเคมีอน ั เป็ นพิษมาปรุงแต่งเพือ่ ทาอันตรายคน หรือเพือ ่ ใช้ฆา่ แมลง เป็ นต้น
2.3 ทรัพย์อน ั ตรายโดยอาการกลไกของทรัพย์ ได้แก่ พวกเครือ ่ งจักรกลต่างๆ
ซึง่ ไม่ใช่ยานพาหนะตามมาตรา 437 วรรคแรก แต่มอ ี าการกลไกจักรกลทีม ่ อ
ี ยูใ่ นตัวเอง
เช่น เครือ ่ งจักรต่างๆ เลือ่ ย จักรไส ชิงช้าสวรรค์ เรือเหาะ สไลเดอร์ เครือ่ งตัดกระดาษ
รถตักดิน เป็ นต้น ทรัพย์เหล่านี้จะเป็ นทรัพย์อ ันตรายในขณะทีก ่ าลังทางานอยู่
หลักเกณฑ์ความรับผิดตามมาตรา 437 วรรคแรก
(ความเสียหายเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยเครือ
่ งจักรกล)
1) ยานพาหนะต้องเดินด้วยเครือ
่ งจักรกล
2)ความเสียหายต้องเกิดขึน ้ ในขณะทีย่ านพาหนะฯ นัน ้ เดินด้วยเครือ่ งจักรกลอยู่
3) ความเสียหายเป็ นผลโดยตรงซึง ้ จากยานพาหนะทีเ่ ดินด้วยเครือ
่ เกิดขึน ่ งจักรกล
4) ความเสียหายต้องเกิดแก่บค ุ คล ทรัพย์สน ิ
หรือยานพาหนะอืน ่ ทีม
่ ไิ ด้เดินด้วยกาลังเครือ่ งจักรกล

หลักเกณฑ์ความรับผิดตามมาตรา 437 วรรคสอง (ความเสียหายเกิดจากทรัพย์อ ันตราย)

กาหนดให้ผูค ้ รอบครองหรือควบคุมดุแลยานพาหนะ หรือทรัพย์อน ั ตรายนัน



ต้องรับผิดเท่านัน ้ เจ้าของทรัพย์ไม่ตอ ้ งรับผิด เว้นแต่จะอยูใ่ นฐานะผูค้ รอบครองด้วย
และบุคคลคนเดียวอาจะอยูใ่ นฐานะเจ้าของ ผูค ้ รอบครอง และผูค ้ วบคุมพร้อมกันได้
คาอธิบายเพิม ่ เติม
1. ตามมาตรา 437
เป็ นกรณี ทยี่ านพาหนะของฝ่ ายหนึ่งเดินด้วยเครือ่ งจักรกลอีกฝ่ ายหนึ่งไม่ใช่ ดังนัน ้
หากความเสียหายทีเ่ กิดขึน ้ นัน ้ เกิดจากรถยนต์ชนกันซึง่ ยานพาหนะเดินด้วยเครือ ่ งจักรกล
ทัง้ 2 ฝ่ าย ก็ไม่ใช่กรณี มาตรา 437 แต่เป็ นกรณี มาตรา 420 กล่าวคือ
ฝ่ ายผูเ้ สียหายจะต้องพิสจู น์วา่ ผูข ้ บั รถยนต์ประมาทเลินเล่อ ดังนี้
แม้ผูเ้ สียหายจะเป็ นเพียงผูโ้ ดยสารในรถยนต์ค ันทีช ่ นกันก็ตาม (ฎีกา 2379-2380/2532)
2. กรณี เรือกลไฟกับเรือธรรมดา
ถือว่าเรือธรรมดาดังกล่าวเป็ นยานพาหนะอันเดินด้วยกาลังเครือ ่ งกลแล้ว
เพราะเดินด้วยอานาจของเครือ ่ งจักรกล
แต่อย่างไรก็ตามถ้าเรือดังกล่าวมาชนกันเองก็ให้กลับมาใช้หลักตามมาตรา 437
เหมือนเดิม ให้สน ั นิษฐานว่า เรือกลไฟดังกล่าวผิดต่อเรือธรรมดา
3. ผูต้ อ
้ งรับผิด หากผูท ้ เี่ ป็ นเจ้าของรถยนต์ไมได้น่งั รถยนต์ไปในขณะเกิดเหตุดว้ ย
ก็ไม่ถือว่าเป็ นผูค ้ รอบครอง เจ้าของไม่ตอ ้ งรับผิด (ฎีกา 2481/2533)
4. ทรัพย์อ ันตรายตามมาตรา 437 วรรคสอง ได้แก่ น้ามัน, แก๊ส หรือกระแสไฟฟ้ า
5. การชารุดบกพร่องภายในตัวเครือ
่ งยนต์ จะอ้างเหตุสด
ุ วิสยั ไมได้
6. หมายเหตุ โปรดระวังเจ้าของรถยนต์หรือผูเ้ ช่าซื้ออาจจะต้องรับผิดในฐานะนายจ้าง
หรือตัวการตามม.425 และ 427 ได้ ดังนัน ้ จึงต้องพิจารณาว่าเข้ามาตรา 425 หรือมาตรา
427 ด้วยหรือไม่
# เจ้าของรถยนต์น่ งั ไปด้วย โดยมีผูอ
้ น
ื่ ขับแต่เจ้าของรถเมาสุรานอนหลับอยูใ่ นรถ
ไม่ถือว่าเป็ นผูค
้ รอบครองหรือควบคุมยานพาหนะ (ฎีกา 3076/2522)

ค่าสินไหมทดแทน
มาตรา 438 “ค่าสินไหมทดแทนจะพึงใช้โดยสถานใดเพียงใดนัน

ให้ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์ และความร้ายแรงแห่งละเมิด
อนึ่งค่าสินไหมทดแทนนัน ้
ได้แก่การคืนทรัพย์สน ิ อันผูเ้ สียหายต้องเสียไปเพราะละเมิด หรือใช้ราคาทรัพย์สน
ิ นัน

้ นัน
รวมทัง้ ค่าเสียหายอันจะพึงบังคับให้ใช้เพือ่ ความเสียหายอย่างใด ๆ อันได้กอ่ ขึน ้ ด้วย”
มาตรา 438 วรรคแรก การกาหนดค่าสินไหมทดแทนเพือ ่ การละเมิด
ศาลจะต้องใช้ดุลพินิจในขอบเขตทีก
่ ฎหมายกาหนดไว้ คือ
ในการกาหนดค่าสินไหมทดแทนนัน ้
1) ศาลจะต้องพิเคราะห์พฤติการแห่งละเมิด และ
2) ความร้ายแรงแห่งละเมิด

ข้อสังเกตุ "ค่าสินไหมทดแทน" มีความหมายทีแ ่ ตกต่างจากคาว่า "ค่าเสียหาย"


เพราะค่าเสียหายเป็ นเพียงส่วนหนึ่งของค่าสินไหมทดแทนเท่านัน ้
มาตรา 438 วรรคสอง การกาหนดถึงการชดใช้คา่ สินไหมทดแทน มี 3 กรณี คอ ื
1) การคืนทรัพย์
2) การใช้ราคาทรัพย์
3) การใช้คา่ เสียหาย

โดยทั่วไปการทีจ่ าเลยเอาทรัพย์ของผูเ้ สียหายไปโดยละเมิด


จาเลยต้องคืนทรัพย์นน ้ ั ให้แก่ผูเ้ สียหาย ถ้าจาเลยคืนไม่ได้ก็ตอ้ งใช้ราคาทรัพย์
เมือ่ มีการคืนทรัพย์ หรือใช้ราคาทรัพย์ไปแล้ว ถ้ายังมีความเสียหายอยูอ ่ ก

ก็เรียกค่าเสียหายได้ตามมาตรา 438 วรรคสองทีว่ า่
"ค่าเสียหายอันจะพึงบังคับให้ใช้เพือ ่ ความเสียหายใดๆ ทีก
่ อ ้ "
่ ให้เกิดขึน
การเรียกค่าเสียหายตามมาตรา 438 วรรคสอง จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 2
ประการคือ
1) ต้องเป็ นความเสียหายทีเ่ ป็ นผลโดยตรงจากการละเมิด
2) ต้องเป็ นความเสียหายทีไ ่ ม่ไกลกว่าเหตุ

ดอกเบีย้ ในราคาทรัพย์
มาตรา 440 “ในกรณี ทต
ี่ อ้ งใช้ราคาทรัพย์อนั ได้เอาของเขาไปก็ดี
ในกรณี ทต
ี่ อ้ งใช้ราคาทรัพย์อนั ลดน้อยลงเพราะบุบสลายก็ดี
ฝ่ ายผูต้ อ้ งเสียหายจะเรียกดอกเบี้ยในจานวนเงินทีจ่ ะต้องใช้
คิดตัง้ แต่เวลาอันเป็ นฐานทีต่ ง้ ั แห่งการประมาณราคานัน
้ ก็ได้”
คาอธิบายเพิม
่ เติม
การใช้ราคาทรัพย์ เป็ นหน้าทีต ่ อ
่ เนื่องจากการคืนทรัพย์ กล่าวคือ
ในกรณี ทผ ี่ กู้ ระทาละเมิดไม่สามารถคืนทรัพย์ทเี่ อามาได้เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง
ไม่วา่ จะเป็ นอุบตั เิ หตุหรือเป็ นการพ้นวิส ัยก็ดี ก็ให้ผูก ้ ระทาละเมิดชดใช้ราคาทรัพย์
หรือใช้ราคาค่าลดน้อยลงเป็ นจานวนเงินโดยตรง และเมือ่ เป็ นหนี้เงิน
ผูเ้ สียหายก็มส ี ทิ ธิเรียกดอกเบีย้ ได้
ในเรือ่ งการคิดดอกเบีย้ นี้
กฎหมายให้คด ิ ตัง้ แต่เวลาอันเป็ นฐานทีต ่ ง้ ั แห่งการประมาณราคานัน ้ คือ
ตัง้ แต่วนั ทาละเมิดนั่นเอง เพือ ่ ให้สอดคล้องกับ ป.พ.พ.มาตรา 206 และมาตรา 224
วรรคแรก
ดอกเบีย้ ในราคาทรัพย์ = เริม ่ นับตัง้ แต่วน ั ทาละเมิด

การอ้างหลุดพ้นเพราะได้ใช้แก่ผูค
้ รองทรัพย์
มาตรา 441 “ถ้าบุคคลจาต้องใช้คา
่ สินไหมทดแทน เพือ่ ความเสียหายอย่างใดๆ
เพราะเอาสังหาริมทรัพย์ของเขาไปก็ดี หรือเพราะทาของเขาให้บบ ุ สลายก็ดี
เมือ่ ใช้คา่ สินไหมทดแทนให้แก่บค ุ คลซึง่ เป็ นผูค
้ รองทรัพย์นน ้ ั อยู่ ในขณะทีเ่ อาไป
หรือขณะทีท ่ าให้บบ
ุ สลายนัน
้ แล้ว ท่านว่าเป็ นอันหลุดพ้นไปเพราะการทีไ่ ด้ใช้ให้เช่นนัน ้
แม้กระทัง่ บุคคลภายนอกจะเป็ นเจ้าของทรัพย์ หรือมีสท ิ ธิอย่างอืน่ เหนือทรัพย์นน ้ั
เว้นแต่สท ิ ธิของบุคคลภายนอกเช่นนัน ้ จะเป็ นทีร่ อู ้ ยูแ
่ ก่ตนหรือมิได้รู ้
เพราะความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของตน”
หลักสาคัญของมาตรา 441
1) เอาสังหาริมทรัพย์ไป หรือทาให้สงั หาริมทรัพย์บบ ุ สลาย
2) ใช้คา ่ สินไหมทดแทนแก่ผค ู้ รองทรัพย์เต็มจานวนหนี้
3) ใช้ให้ผูค ้ รองทรัพย์ขณะเอาไป หือทาให้บบ ุ สลาย
4) ชดใช้โดยสุจริต หรือไม่ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
ข้อยกเว้น
1) รูอ
้ ยูแ ่ ล้วว่าผูค
้ รองทรัพย์มใิ ช่เจ้าของทรัพย์
2) ไม่รเู ้ พราะความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

ค่าสินไหมทดแทนเพือ
่ ละเมิด

เสียหายต่อทรัพย์ เสียหายต่อชีวต
ิ เสียหายต่อร่างกายอนามัย

1) ค่าปลงศพ (ม.443 ว.1) 1) ค่าใช้จา่ ยอันต้องเสียไป (ม.444 ว.1)


(ม.438 ว.2)
2) 2)
1) คืนทรัพย์ ค่าใช้จา่ ยอันจาเป็ น เกีย่ วเนื่องกับการปลงศพ ค่าขาดประโยชน์ ทามาหาได้ระหว่างเจ
(ม.443 ว.1) (ม.444 ว.1)
2)
ใช้ราคาแทนการคืน 3) ค่ารักษาพยาบาลก่อนตาย (ม.443 ว.2) 3)ค่าเสียความสามารถประกอบการงา
(ม.444 ว.1)
3) ค่าเสียหาย 4)ค่าขาดประโยชน์ ทามาหาได้กอ
่ นตาย
(ม.443 ว.2) 4) ค่าชดใช้ขาดการงาน (ม.445)

5) ค่าขาดไร้อป
ุ การะ(ม.443 ว.ท้าย) 5)ค่าความเสียหายอย่างอืน
่ อันมิใช่ตวั
(ม.446)
6) ค่าชดใช้ขาดการงาน (ม.445)

ค่าสินไหมทดแทนแก่ชีวต

มาตรา 443 “ในกรณี ทาให้เขาถึงตายนัน
้ ค่าสินไหมทดแทนได้แก่คา่ ปลงศพ
รวมทัง้ ค่าใช้จา่ ยอันจาเป็ นอย่างอืน ่ ๆ อีกด้วย
ถ้ามิได้ตายในทันที ค่าสินไหมทดแทน
ได้แก่คา่ รักษาพยาบาลรวมทัง้ ค่าเสียหายทีต ่ อ้ งขาดประโยชน์ ทามาหาได้เพราะไม่สามาร
ถประกอบการงานนัน ้ ด้วย
ถ้าว่าเหตุทต ี่ ายลงนัน ้
ทาให้บค ุ คลหนึ่งคนใดต้องขาดไร้อป ุ การะตามกฎหมายไปด้วยไซร้
ท่านว่าบุคคลคนนัน ้ ชอบทีจ่ ะได้รบั ค่าสินไหมทดแทนเพือ่ การนัน้ ”
มาตรา 445 “ในกรณี ทาให้เขาถึงตาย หรือให้เสียหายแก่รา่ งกายหรืออนามัยก็ดี
ในกรณี ทาให้เขาเสียเสรีภาพก็ดี ถ้าผูต ้ อ้ งเสียหายมีความผูกพันตามกฎหมาย
จะต้องทาการงานให้เป็ นคุณแก่บค ุ คลภายนอกในครัวเรือน
หรืออุตสาหกรรมของบุคคลภายนอกนัน ้ ไซร้
ท่านว่าบุคคลผูจ้ าต้องใช้คา่ สินไหมทดแทนนัน ้ จะต้องใช้คา่ สินไหมทดแทนให้แก่บค ุ คลภา
ยนอก เพือ่ ทีเ่ ขาต้องขาดแรงงานอันนัน ้ ไปด้วย”
ค่าสินไหมทดแทนกรณี ทาให้ตายตามมาตรา 443 และ 445
แยกตามลักษณะของค่าสินไหมทดแทนได้ดงั นี้
1) ค่าปลงศพ (มาตรา 443 วรรค 1) ==> ทายาท * กรณี บต ุ รนอกกฏหมาย
บิดาต้องรับรองโดยพฤติการณ์ แล้ว
2) ค่าใช้จา
่ ยอันจาเป็ นในอืน
่ ๆ เกีย่ วกับการจัดการศพ (มาตรา 443 วรรค 1) ==>
ทายาท
3) ค่ารักษาพยาบาลก่อนตาย (มาตรา 443 วรรค 2) ==> ทายาท
4) ค่าขาดประโยชน์ ทามาหาได้กอ ่ นตาย (มาตรา 443 วรรค 2) ==> ทายาท

5) ค่าขาดไร้อป
ุ การะ (มาตรา 443 วรรคท้าย)
หมายถึงค่าสินไหมทดแทนทีผ ่ ท ุ คลซึง่ ผูต
ู้ าละเมิดให้แก่บค ้ ายมีหน้าทีต
่ อ
้ งอุปการะไว้
ตามกฎหมายครอบครัว
โดยไม่จาต้องพิจารณาว่าในทางข้อเท็จจริงจะได้มก ี ารอุปการะกันหรือไม่
และไม่จาเป็ นต้องพิจารณาว่าผูต
้ ายมีรายได้หรือไม่ มีหลักเกณฑ์ 3 ประการคือ

5.1 ผูถ
้ ก
ู ทาละเมิดจะต้องได้ถงึ แก่ความตายเท่านัน

5.2 ผูถ
้ ก
ู ทะละเมิดมีหน้าทีต
่ อ
้ งอุปการะเลีย้ งดูบค
ุ คลตามกฎหมายครอบครัว

5.3 ความตายทาให้บค
ุ คลนัน
้ ต้องขาดไร้อป
ุ การะ

ผูท
้ ม
ี่ ส
ี ท
ิ ธิเรียกค่าขาดไร้อป
ุ การะ ได้แก่
(ก) สามีภริยาทีถ ่ ูกต้องตามกฎหมาย คือ
สามีภริยาทีไ่ ด้มก
ี ารจดทะเบียนสมรสกันแล้ว
(ข) บิดามารดาทีช
่ อบด้วยกฎหมาย

(ค) บุตรทีช
่ อบด้วยกฎหมาย รวมทัง้ บุตรบุญธรรม เฉพาะทีเ่ ป็ นผูเ้ ยาว์
หรือทุพพลภาพ หาเลีย้ งตนเองไม่ได้เท่านัน

(ง) ผูร้ บั บุตรบุญธรรม (กรณี ทลี่ ก
ู บุญธรรมเสียชีวต
ิ )
6) ค่าชดใช้ขาดแรงงานของบุคคลภายนอก (มาตรา 445)

6.1 ค่าขาดแรงงานในครัวเรือน

(ก) สามีหรือภรรยาทีช
่ อบด้วยกฏหมาย
หากคูส่ มรสคนหนึ่งถูกทาละเมิดให้ตายหรือให้เสียหายแก่รา่ งกายหรืออนามัย
คูส่ มรสอีกคนหนึ่งขาดแรงงานในครัวเรือน ย่อมมีสทิ ธิเรียกค่าชดใช้การขาดแรงงานได้
(ข) ผูใ้ ช้อานาจปกครองบุตร
ตามกฎหมายครอบครัวบัญญัตใิ ห้ผูใ้ ช้อานาจปกครองมีอานาจทีจ่ ะให้บต
ุ รทาการงานตาม
ความจาเป็ นและฐานานุรูปตามมาตรา 1567(3)
ดังนัน
้ หากบุตรถูกทาละเมิดให้ตายหรือให้เสียหายแก่รา่ งกายหรืออนามัย
บิดามารดาผูใ้ ช้อานาจปกครองก็สามารถฟ้ องร้องเรียกค่าขาดแรงงานตามมาตรา 445 ได้

6.2 ค่าขาดแรงงานในอุตสาหกรรม

กรณี นี้เป็ นความผูกพันตามกฎหมายทีต ่ อ


้ งทาการงานในอุตสาหกรรมให้บค
ุ คลภายน
อก ผูเ้ สียหายไม่ได้ทาการงานให้
แต่บคุ คลภายนอกกลับจะต้องเสียค่าใช่จา่ ยไปสาหรับบุคคลนัน ้
โดยไม่ได้รบั แรงงานตอบแทนเลย ดังนัน ้ มาตรา 445
จึงให้สท ิ ธิบค
ุ คลภายนอกฟ้ องเรียกค่าขาดแรงงานในอุตสาหกรรมได้
@ ผูท
้ ม
ี่ ส
ี ท
ิ ธิเรียกค่าปลงศพ ได้แก่บค ุ คลทีร่ ะบุไว้ในมาตรา 1649 (บุตร, บิดามารดา,
พีน่ ้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน, พีน ่ ้องร่วมบิดา หรือมารดาเดียวกัน, ปู่ ย่า ตายาย,
ลุงป้ าน้าอา, คูส่ มรสทีจ่ ดทะเบียนกันแล้ว) รวมไปถึง บุตรนอกกฎหมายทีบ ่ ด
ิ ารับรองแล้ว
แต่บต ุ รนอกกฎหมายจะเรียกค่าเลีย้ งดูไม่ได้ (ฎีกา 508/2509)
@ ผูท้ ที่ ส
ี ท
ิ ธิเรียกค่าอุปการะเลีย้ งดู
** สามีภรรยามีหน้าทีอ ่ ป ุ การะซึง่ กันและกัน (จดทะเบียนสมรส) ม.1461
** บิดามารดาต้องอุปการะเลีย ้ งดูบตุ รขณะเป็ นผูเ้ ยาว์ (ม.1564)
** กรณี บด ิ าหรือมารดาถึงแก่ความตาย
ผูท
้ เี่ รียกค่าอุปการะเลีย้ งดูได้ตอ ้ งเป็ นบุตรผูเ้ ยาว์
และบุตรทีบ ่ รรลุนิตภ ิ าวะทีท
่ พ ุ ลภาพและหาเลี้ยงตนเองไม่ได้
** บุตรต้องอุปการะเลี้ยงดูบด ิ ามารดา (ม.1463)
** บุตรถูกทาละเมิดถึงตาย บิดามารดาเรียกค่าอุปการะได้
โดยไม่ตอ ้ งคานึงถึงอายุและไม่ตอ ้ งคานึงว่ามีการอุปการะกันจริงหรือไม่ แม้ผูเ้ ยาว์จะอายุ
4 ขวบ ถึงแก่ความตายโดยการทาละเมิด
บิดาของผูเ้ ยาว์ชอบทีจ่ ะเรียกค่าอุปาระทัง้ ในปัจจุบน ั และความหวังในอนาคต
ไม่ตอ ้ งพิจารณาว่าขณะเกิดเหตุผเู้ ยาว์จะได้อป ุ การะบิดาจริงหรือไม่และในอนาคตผูเ้ ยาว์จ
ะอุปการะบิดาหรือไม่ (ฎีกา 412-413/2515)
** บุตรนอกกฎหมายทีบ ่ ด ิ ารับรองแล้ว
** หากบิดามารดาสมรสกันในภายหลัง หรือบิดาได้จดทะเบียนว่าเป็ นบุตร
หรือศาลพิพากษาว่าเป็ นบุตร ถือว่าเป็ นบุตรทีช ่ อบด้วยกฎหมาย
สามารถเรียกร้องค่าไร้อป ุ การะได้
**
หากศาลพิพากษาว่าเป็ นบุตรทีช ่ อบด้วยกฎหมายของบิดาหลังบิดาถึงแก่ความตายแล้ว
บุตรก็ไม่มส ี ท
ิ ธิฟ้องเรียกค่าไร้อป ุ การะได้ (ฎีกา 2255/2515)
** บุตรบุญธรรมมีสท ิ ธิและหน้าทีเ่ หมือนผูส้ บ
ื สันดาน
จึงมีสทิ ธิฟ้องเรียกค่าขาดไร้อป ุ การะได้ (ฎีกา 713/2517)
** บุตรนอกกฎหมายทีบ ่ ด
ิ ารับรองแล้ว
กฎหมายให้เพียงสิทธิในการรับมรดกในฐานะผูส้ บ ื สันดาน
แต่ไม่ได้ให้สท ิ ธิฟ้องเรียกค่าขาดไร้อป ุ การะ (ฎีกา 792/2515)
** ละเมิดถึงตายเท่านัน ้ จึงจะเรียกค่าขาดไร้อป ุ การะได้ ถ้าไม่ตายเรียกไม่ได้ (ฎีกา
2455/2519)

สรุปเกีย่ วกับค่าขาดแรงงาน
1) บุตรอายุ 19 ปี มิใช่แรงงานในการขับรถยนต์ของบ้าน เรียกค่าขาดแรงงานไม่ได้
2) อุตสาหกรรมของบุคคลภายนอก เช่น นายจ้าง
** ถ้าลูกจ้างถึงแก่ความตาย สัญญาจ้างย่อมระงับลง
นายจ้างเรียกร้องตามมาตรานี้ไม่ได้
3) ค่าสินไหมทดแทนกรณี ทาให้เสียหายแก่รา ่ งกายและอนามัย
(ไม่ทาให้ถงึ แก่ความตาย)
3.1 ค่าใช้จา
่ ยอันตนต้องเสียไป
** ค่าแท็กซีท ่ ภ
ี่ ริยาไปโรงพยาบาล ค่าแท็กซีท ่ น
ี่ ่งั ไปทางานเพราะเดินไม่ได้
** ค่าใช้จา่ ยเดีย่ วกับรักษาพยาบาล ค่าพาหนะไปโรงพยาบาล
** ค่าโดยสารเครือ ่ งบินไปต่างประเทศเพือ
่ ให้ผูเ้ ชีย่ วชาญรักษา
3.2 ค่าเสียความสามารถในการประกอบการงานทัง้ ในปัจจุบน ั และอนาคต
3.3 ค่าขาดแรงงาน

ค่าสินไหมทดแทนแก่รา่ งกายและอนามัย
ค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิดเป็ นเหตุให้ผูอ
้ น
ื่ เสียหายแก่รา่ งกาย หรืออนามัย มี 5
ประเภทคือ
1) ค่าใช้จา่ ยอันตนต้องเสียไป (มาตรา 444 วรรค 1)
2) ค่าขาดประโยชน์ ทามาหาได้ระหว่างเจ็บป่ วย (มาตรา 444 วรรค 1)
3) ค่าเสียความสามารถประกอบการงาน (มาตรา 444 วรรค 1)
4) ค่าชดใช้ขาดแรงงาน (มาตรา 445)
5) ค่าเสียหายมิใช่ตวั เงิน (มาตรา 446)
- รับสภาพโดยสัญญา (ทายาทฟ้ องแทนได้)
- ฟ้ องคดีไว้แล้ว (ทายาทฟ้ องแทนได้)

มาตรา 444 “ในกรณี ทาให้เสียหายแก่รา


่ งกายหรืออนามัยนัน

ผูต
้ อ้ งเสียหายชอบทีจ่ ะได้ชดใช้คา่ ใช้จา่ ยอันตนต้องเสียไป
และค่าเสียหายเพือ่ การทีเ่ สียความสามารถประกอบการงานสิน ้ เชิงหรือแต่บางส่วน
ทัง้ ในเวลาปัจจุบนั นัน
้ และในเวลาอนาคตด้วย
ถ้าในเวลาทีพ ่ พ
ิ ากษาคดี
เป็ นพ้นวิสยั จะหยั่งรูไ้ ด้แน่ วา่ ความเสียหายนัน
้ ได้มแ
ี ท้จริงเพียงใด
ศาลจะกล่าวในคาพิพากษาว่ายังสงวนไว้
ซึง่ สิทธิทจี่ ะแก้ไขคาพิพากษานัน ้ อีกภายในระยะเวลาไม่เกินสองปี ก็ได้”
หลักสาคัญของมาตรา 444 ค่าสินไหมทดแทนแก่รา่ งกายและอนามัย ==>
ผูเ้ สียหายเท่านัน ้ ทีเ่ รียกได้ ได้แก่ 1) ค่าใช้จา
่ ยอันตนต้องเสียไป (มาตรา 444 วรรค 1)
(ก) ค่ารักษาพยาบาล ได้แก่
ค่าใช้จา่ ยทีต ่ อ
้ งเสียไปในการทาให้รา่ งกายทีบ ่ าดเจ็บกลับคืนสภาพปกติ เช่น ค่ารักษา
ค่ายก ค่าเลือด ค่าน้าเกลือ ค่าเอกซ์เรย์ ฯลฯ
รวมทัง้ ค่ารักษาพยาบาลทีจ่ ะต้องเสียต่อไปอย่างแน่ นอนในอนาคตก็เรียกได้ดว้ ย
(ข) ค่าใช้จา่ ยอันจาเป็ นอืน่ ๆ เนื่องจากรักษาพยาบาลนัน ้ ๆ เช่นค่าจ้างคนเฝ้ าไข้
ค่าพาหนะ ค่าพักโรงแรมของคนเฝ้ าไข้ ค่าพาหนะไปโรงพยาบาลหรือคลีนิคแพทย์
เป็ นต้น
2) ค่าขาดประโยชน์ ทามาหาได้ระหว่างเจ็บป่ วย (มาตรา 444 วรรค 1)
ในกรณี ทาละเมิดเป็ นเหตุให้ผูอ ้ น
ื่ เสียหายแก่รา่ งกายหรืออนามัย
ผูเ้ สียหายต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล ในช่วงนัน ้ ไม่สามารถทางานได้
เป็ นเหตุให้ขาดรายได้ไป ผูเ้ สียหายมีสท ิ ธิเรียกจากผูท ้ าละเมิดได้
3) ค่าเสียความสามารถประกอบการงาน (มาตรา 444 วรรค 1)
ในกรณีละเมิดเป็ นเหตุให้รา่ งกายพิการ หรือประสาทพิการ เช่น แขนขาด ขาขาด
เป็ นอัมพาต ประสาทพิการ สมองเสือ่ ม ฯลฯ
ไม่สามารถรักษาพยาบาลให้กลับคืนดีดงั เดิมได้
ทาให้เสียความสามารถประกอบการงานทัง้ ในปัจจุบ ันและอนาคตโดยสิน ้ เชิง
หรือเพียงบางส่วน ผูเ้ สียหายย่อมเรียกค่าสินไหมทดแทนได้
ข้อควรระวัง
การได้รบั บาดเจ็บจนเป็ นเหตุให้ตอ ้ งพักการศึกษาเล่าเรียน
ไม่มก ี ฎหมายในเรือ ่ งละเมิดให้ตอ
้ งรับผิดชดใช้คา่ สินไหมทดแทน
4) ค่าชดใช้ขาดแรงงาน (มาตรา 445)
4.1 ค่าขาดแรงงานในครัวเรือน
(ก) สามีหรือภรรยาทีช ่ อบด้วยกฏหมาย
หากคูส่ มรสคนหนึ่งถูกทาละเมิดให้ตายหรือให้เสียหายแก่รา่ งกายหรืออนามัย
คูส่ มรสอีกคนหนึ่งขาดแรงงานในครัวเรือน ย่อมมีสท ิ ธิเรียกค่าชดใช้การขาดแรงงานได้
(ข) ผูใ้ ช้อานาจปกครองบุตร
ตามกฎหมายครอบครัวบัญญัตใิ ห้ผูใ้ ช้อานาจปกครองมีอานาจทีจ่ ะให้บต ุ รทาการงานตาม
ความจาเป็ นและฐานานุรูปตามมาตรา 1567(3)
ดังนัน ้ หากบุตรถูกทาละเมิดให้ตายหรือให้เสียหายแก่รา่ งกายหรืออนามัย
บิดามารดาผูใ้ ช้อานาจปกครองก็สามารถฟ้ องร้องเรียกค่าขาดแรงงานตามมาตรา 445 ได้
4.2 ค่าขาดแรงงานในอุตสาหกรรม
กรณี นี้เป็ นความผูกพันตามกฎหมายทีต ่ อ
้ งทาการงานในอุตสาหกรรมให้บค ุ คลภายน
อก ผูเ้ สียหายไม่ได้ทาการงานให้
แต่บค ุ คลภายนอกกลับจะต้องเสียค่าใช่จา่ ยไปสาหรับบุคคลนัน ้
โดยไม่ได้รบั แรงงานตอบแทนเลย ดังนัน ้ มาตรา 445
จึงให้สท ิ ธิบคุ คลภายนอกฟ้ องเรียกค่าขาดแรงงานในอุตสาหกรรมได้
มาตรา 446 “ในกรณี ทาให้เขาเสียหายแก่รา
่ งกายหรืออนามัยก็ดี
ในกรณี ทาให้เขาเสียเสรีภาพก็ดี ผูต ้ อ้ งเสียหายจะเรียกร้องเอาค่าสินไหมทดแทน
เพือ่ ความทีเ่ สียหายอย่างอืน ่ อันมิใช่ตวั เงินด้วยอีกก็ได้ สิทธิเรียกร้องอันนี้ไม่โอนกันได้
และไม่ตกสืบไปถึงทายาท
เว้นแต่สทิ ธินน ้ ั จะได้รบั สภาพกันไว้โดยสัญญาหรือได้เริม ่ ฟ้ องคดีตามสิทธิ นัน
้ แล้ว
อนึ่ง หญิงทีต ่ อ้ งเสียหายเพราะผูใ้ ดทาผิดอาญาเป็ นทุรศีลธรรมแก่ตน
ก็ยอ่ มมีสทิ ธิเรียกร้องทานองเดียวกันนี้ ”
ตัวอย่างค่าเสียหายอย่างอืน
่ อันมิใช่ตวั เงิน
1) ความทนทุกข์ทรมาน หรือได้รบ ั บาดเจ็บจนทุพพลภาพ หรือพิการ
2) การเสียบุคลิกภาพเพราะใบหน้าเสียโฉม
3) การสูญเสียความสุขสาราญในชีวต ิ สมรส
4) การเสียความบริสท ุ ธิใ์ นกรณี ถก ู ข่มขืนกระทาชาเราตามมาตรา 446 วรรค 2
5) การสูญเสียอวัยวะสืบพันธุ์
ความเสียหายบางกรณีไกลกว่าเหตุ กฎหมายไม่ให้สท ิ ธิเรียกร้องได้ เช่น
ค่าความโศกเศร้า เสียใจ ค่าความว้าเหว่ ค่าสูญเสียความรืน ่ รมย์ในชีวต ิ ฯลฯ
ตามมาตรา 446 วรรค 2 นัน ้ กฏหมายบัญญัติให้ใช้กบั หญิงทีต ่ อ
้ งเสียหาย
เพราะมีผูท ้ าผิดอาญาเป็ นทุรศีลธรรมแก่ตน คาว่า “ทุรศีลธรรม”
หมายถึงไม่มศ ี ลี ธรรมและการกระทานัน ้ เป็ นความผิดทางอาญาด้วย เช่น
ฉุ ดหญิงไปกระทาอนาจาร หรือข่มขืนกระทาชาเรา เป็ นต้น
สิทธิเรียกร้องตามมาตรา 446 เป็ นสิทธิเฉพาะตัวทีไ่ ม่อาจโอนให้แก่กน ั ได้
และก็ไม่ตกทอดไปถึงทายาท เว้นแต่
1) ได้มก ี ารรับสภาพกันไว้แล้วโดยสัญญา เช่น
จาเลยผูก ้ ระทาละเมิดได้ทาหนังสือรับสภาพหนี้ไว้แล้วว่ายินยอมชดใช้คา่ เสียหาย
โดยทาสัญญากันไว้เรียบร้อยแล้ว
2) ได้มกี ารฟ้ องคดีตามสิทธินน ้ ั แล้ว เช่น
ผูเ้ สียหายโดยตรงฟ้ องคดีเรียกร้องค่าเสียหายแล้ว
หลังจากนัน ้ ผูเ้ สียหายโดยตรงถึงแก่ความตาย
เช่นนี้ก็สามารถสืบทอดมรดกตกทอดไปถึงทายาทในการทีจ่ ะเรียกร้องต่อไปได้

ค่าสินไหมทดแทนเพือ
่ ความเสียหายแก่ชือ
่ เสียง และสิทธิอน
ื่ ๆ
มาตรา 447 “บุคคลใดทาให้เขาต้องเสียหายแก่ชือ
่ เสียง เมือ่ ผูต
้ อ้ งเสียหายร้องขอ
ศาลจะสั่งให้บค ุ คลนัน
้ จัดการตามควร
เพือ่ ทาให้ชือ่ เสียงของผูน้ น
้ ั กลับคืนดีแทนให้ใช้คา่ เสียหาย
หรือทัง้ ให้ใช้คา่ เสียหายด้วยก็ได้”
หลักสาคัญของมาตรา 447
กรณี ทจี่ ะเรียกค่าสินไหมทดแทนตามมาตรา 447 นี้
ย่อมหมายถึงการละเมิดต่อชือ ่ เสียงตามมาตรา 423 เพราะถ้าเป็ นการละเมิดตามมาตรา 420
ศาลย่อมสั่งให้ตามมาตรา 447 ไม่ได้
ตามมาตรา 447 ให้เรียกร้องได้ 3 กรณีคอ ื
1) ให้ใช้คา ่ เสียหาย
2) ให้จด ั การให้ชือ ่ เสียงกลับคืนดี
3) ให้ใช้คา ่ เสียหาย และให้จดั การให้ชือ่ เสียงกลับคืนดี
ซึง่ เป็ นดุลพินิจของศาลทีจ่ ะเลือกสัง่ อย่างใดก็ได้
ตามควรแก่พฤติการณ์ และความร้ายแรงแห่งละเมิด
ในทางปฎิบตั ก ิ ารให้ชือ ่ เสียงกลับคืนดี ศาลมักจะนาประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 332
มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
นิรโทษกรรม

การป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
มาตรา 449 “บุคคลใดเมือ
่ กระทาการป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมายก็ดี
กระทาตามคาสัง่ อันชอบด้วยกฎหมายก็ดี หากก่อให้เกิดเสียหายแก่ผูอ้ น
ื่ ไซร้
ท่านว่าบุคคลนัน ้ หาต้องรับผิดใช้คา่ สินไหมทดแทนไม่
ผูต
้ อ้ งเสียหายอาจเรียกค่าสินไหมทดแทนจากผูเ้ ป็ นต้นเหตุ
ให้ตอ้ งป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย หรือจากบุคคลผูใ้ ห้คาสั่งโดยละเมิดนัน
้ ก็ได้”
หลักสาคัญของมาตรา 449
“การป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย” ใน ป.พ.พ. มิได้กาหนดไว้
ดังนัน
้ ต้องอาศัยเทียบเคียง ป.อาญา โดยนา ป.อาญา มาตรา 68 มาใช้
มาตรา
68 “ผูใ
้ ดจาต้องกระทาการใดเพือ่ ป้ องกันสิทธิของตน
หรือของผูอ้ น
ื่ ให้พน ้ อันตรายซึง่ เกิด
จากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายและเป็ นภยันตรายทีใ่ กล้จะถึง ถ้าได้กระทาพอส
มควรแก่เหตุ การกระทานัน
้ เป็ นการป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมายผูน ้ น
้ ั ไม่มคี วามผิด ”
ฉะนัน
้ หลักในเรือ
่ งการป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมายตาม ป.อาญา
ทีจ่ ะนามาใช้กบั มาตรา 449 นัน
้ มีหลักเกณฑ์อยู่ 5 ประการ คือ

1) มีภยันตรายต่อสิทธิของตนหรือสิทธิตอ ่ ผูอ้ น
ื่
2) ภยันตรายทีเ่ กิดขึน้
ต้องเป็ นภยันตรายทีเ่ กิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายด้วย
3) ภยันตรายนัน้ ใกล้จะถึง
4) ผูก้ ระทาจาต้องกระทาเพือ่ ป้ องกันสิทธิของตน หรือของผูอ
้ น
ื่
5) การกระทานัน ้ ได้กระทาไปพอสมควรแก่เหตุ

หมายเหตุ

1) ผูต
้ อ
้ งเสียหายเรียกค่าสินไหมทดแทนจากผูใ้ ห้

2) ถ้าเป็ นการป้ องกันเกินสมควรแก่เหตุแล้วจะกลายเป็ นละเมิดตามมาตรา 420


หรือกรณี ทเี่ ป็ นเรือ
่ งไกลกว่าเหตุก็เป็ นการละเมิดตามมาตรา 420 เช่นกัน

การกระทาตามคาสั่งโดยชอบด้วยกฎหมาย
“ทาตามคาสั่งโดยชอบด้วยกฎหมาย” ใน ป.พ.พ. มิได้กาหนดไว้
ดังนัน
้ ต้องอาศัยเทียบเคียง ป.อาญา โดยนา ป.อาญา มาตรา 70 มาใช้
มาตรา 70 "ผูใ้ ดกระทาตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน แม้คาสั่งนัน
้ จะมิชอบด้วยกฎหมาย
ถ้าผูก
้ ระทามีหน้าทีห ่ รือเชือ่ โดยสุจริตว่ามีหน้าทีต
่ อ้ งปฏิบตั ต
ิ าม ผูน
้ น
้ ั ไม่ตอ้ งรับโทษ
้ เป็ นคาสั่ง ซึง่ มิชอบด้วยกฎหมาย"
เว้นแต่จะรูว้ า่ คาสั่งนัน
มาตรา 70 เป็ นเรือ ่ งการทีผ ่ ูก
้ ระทาความผิดไม่ตอ ้ งรับโทษ
เพราะผูก ้ ระทาได้กระทาตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน ซึง่ มีหลักเกณฑ์ดงั นี้
1. กระทาตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน
2. คาสัง ่ นัน
้ มิชอบด้วยกฎหมาย แต่
3. ผูก
้ ระทามีหน้าทีต ่ อ
้ งกระทา หรือเชือ ่ โดยสุจริตว่ามีหน้าทีต
่ อ
้ งกระทา
4. ผูก้ ระทาไม่รวู ้ า่ คาสัง่ นัน
้ เป็ นคาสั่งทีม่ ช
ิ อบด้วยกฎหมาย

หมายเหตุ ผูต
้ อ
้ งเสียหายเรียกค่าสินไหมทดแทนจากผูใ้ ห้คาสั่งโดยละเมิด

การกระทาด้วยความจาเป็ นเพือ
่ ป้ องกันภัย
มาตรา 450 “ถ้าบุคคลทาบุบสลาย หรือทาลายทรัพย์สงิ่ หนึ่งสิง่ ใด
เพือ่ จะบาบัดปัดป้ องภยันตรายซึง่ มีมาเป็ นสาธารณะโดยฉุ กเฉิน
ท่านว่าไม่จาต้องใช้คา่ สินไหมทดแทน
หากความเสียหายนัน ้ ไม่เกินสมควรแก่เหตุภยันตราย
ถ้าบุคคลทาบุบสลาย หรือทาลายทรัพย์สงิ่ หนึ่งสิง่ ใด
เพือ่ จะบาบัดปัดป้ องภยันตรายอันมีแก่เอกชนโดยฉุ กเฉิน ผูน ้ น
้ ั จะต้องใช้คน
ื ทรัพย์นน
้ั
ถ้าบุคคลทาบุบสลาย หรือทาลายทรัพย์สงิ่ หนึ่งสิง่ ใด
เพือ่ จะป้ องกันสิทธิของตนหรือของบุคคลภายนอกจากภยันตรายอันมีมาโดยฉุ กเฉิน
เพราะตัวทรัพย์นน ้ ั เองเป็ นเหตุ บุคคลเช่นว่านี้หาต้องรับผิดใช้คา่ สินไหมทดแทนไม่
หากว่าความเสียหายนัน ้ ไม่เกินสมควรแก่เหตุ
แต่ถา้ ภยันตรายนัน ้ เพราะความผิดของบุคคลนัน
้ เกิดขึน ้ เองแล้ว
ท่านว่าจาต้องรับผิดใช้คา่ สินไหมทดแทนให้”
หลักสาคัญของมาตรา 450
วรรคแรก เป็ นภัยสาธารณะโดยฉุ กเฉิน ผูก ้ ระทาไม่ตอ ้ งใช้คา่ สินไหมทดแทน
วรรคสอง เป็ นภัยเอกชนและทรัพย์นน ้ ั มิได้กอ
่ ให้เกิด ผูก้ ระทาต้องใช้คน
ื ทรัพย์
วรรคสาม เป็ นภัยเอกชน
แต่ทรัพย์นน ้ เอง ผูก
้ ั ก่อภัยขึน ้ ระทาไม่ตอ
้ งใช้คา่ สินไหมทดแทนถ้าได้กระทาไปพอสมคว
รแก่เหตุ
หมายเหตุ ถ้าเป็ นความผิดของตนเองแล้วจะอ้างมาตรา 450 วรรคสามไม่ได้

ภัยสาธารณะ ภัยเอกชน ภัยซึง่ ทรัพย์นน


้ ั เป็ นเหตุ

- มีภยั สาธารณะโดยฉุ กเฉิน - มีภยั แก่เอกชนโดยฉุ กเฉิน - มีภยันตรายโดยฉุ กเฉิน

- - -
ุ สลายหรือทาลายทรัพย์ ทาให้บบ
ทาให้บบ ุ สลายหรือทาลายทรัพย์ ทาให้บบ
ุ สลายหรือทาลายทรัพย์

- ไม่เกินสมควรแก่เหตุ - ไม่เกินสมควรแก่เหตุ - ตัวทรัพย์นน


้ ั เป็ นต้นเหตุ
- ไม่เกินสมควรแก่เหตุ

-
ไม่ได้เกิดจากความผิดของตน

การป้ องกันสมดังสิทธิ
มาตรา 451 “บุคคลใช้กาลังเพือ
่ ป้ องกันสิทธิของตน
ถ้าตามพฤติการณ์ จะขอให้ศาลหรือเจ้าหน้าทีช ่ ว่ ยเหลือให้ทนั ท่วงทีไม่ได้
และถ้ามิได้ทาในทันใด
ภัยมีอยูด
่ ว้ ยการทีต
่ นจะได้สมดังสิทธินน ้ ั จะต้องประวิงไปมากหรือถึงแก่สาบสูญได้ไซร้
ท่านว่าบุคคลนัน ้ หาต้องรับผิดใช้คา่ สินไหมทดแทนไม่
การใช้กาลังดังกล่าวมาในวรรคก่อนนัน ้
ท่านว่าต้องจากัดครัดเคร่งแต่เฉพาะทีจ่ าเป็ นเพือ่ จะบาบัดปัดป้ องภยันตรายเท่านัน

ถ้าบุคคลผูใ้ ดกระทาการดังกล่าวมาในวรรคต้น
เพราะหลงสันนิษฐานพลาดไปว่ามีเหตุอนั จาเป็ นทีจ่ ะทาได้โดยชอบด้วยกฎหมายไซร้
ท่านว่าผูน ้ น
้ ั จะต้องรับผิดใช้คา่ สินไหมทดแทนให้แก่บคุ คลอืน

แม้ทง้ ั การทีห ่ ลงพลาดไปนัน้ จะมิใช่เป็ นเพราะความประมาทเลินเล่อของตน ”
หลักสาคัญของมาตรา 451
1) มีสท
ิ ธิตามกฎหมาย
2) ใช้กาลังป้ องกันสิทธิของตน
3) ไม่อาจขอให้ศาลหรือเจ้าหน้าทีช
่ ว่ ยเหลือได้ท ันท่วงที

4) ถ้ามิได้ทาในทันที การจะได้สมดังสิทธิ จะต้องประวิงสาบสูญหรือสาบสูญ

การกระทาทีจ่ ะได้รบั นิรโทษกรรมตามมาตรา 451


จะต้องเป็ นการใช้กาลังเพือ ้ ครองสิทธิของตนซึง่ จะขอให้ศาลหรือเจ้าหน้าทีช
่ คุม ่ ว่ งเหลือให้
ทันท่วงทีไม่ได้
ข้อสังเกตุ การทีจ่ ะได้รบั นิรโทษกรรมตามมาตรา 451
จะต้องเป็ นการใช้กาลังเพือ ่ ป้ องกันสิทธิของตน แต่ถา้ เป็ นการใช้กาลัง
เพือ
่ ป้ องกันสิทธิของผูอ้ น
ื่ ไม่ได้รบั นิรโทษกรรมตามมาตรา 451
การกระทานัน ้ ก็ละเมิดตามมาตรา 420 ซึง่ ผูก ้ ระทาต้องใช้คา่ สินไหมทดแทน

การป้ องกันสัตว์ (จับ ยึด หรือฆ่าสัตว์)

มาตรา 452 “ผูค


้ รองอสังหาริมทรัพย์ชอบทีจ่ ะจับสัตว์ของผูอ้ น
ื่
อันเข้ามาทาความเสียหายในอสังหาริมทรัพย์นน ้ั
และยึดไว้เป็ นประกันค่าสินไหมทดแทนอันจะพึงต้องใช้แก่ตนได้
และถ้าเป็ นการจาเป็ นโดยพฤติการณ์ แม้จะฆ่าสัตว์นน ้ ั เสียก็ชอบทีจ่ ะทาได้
แต่วา่ ผูน
้ น
้ ั ต้องบอกกล่าวแก่เจ้าของสัตว์โดยไม่ชกั ช้า ถ้าและหาตัวเจ้าของสัตว์ไม่พบ
ผูท
้ จี่ บั สัตว์ไว้ตอ้ งจัดการตามสมควรเพื่อสืบหาตัวเจ้าของ”
หลักสาคัญของมาตรา 452
1) เป็ นผูค
้ รองอสังหาริมทรัพย์

2) ความเสียหายเกิดจากสัตว์ของผูอ
้ น
ื่
3) สัตว์เข้ามาทาความเสียหายในอสังหาริมทรัพย์

** การกระทาทีจ
่ ะได้รบั นิรโทษกรรมตามมาตรา 452
จะต้องเป็ นกรณี ทส ี ัตว์เข้ามาทาความเสียหายในอสังหาริมทรัพย์และผูค ้ รอบครองอสังหาริ
มทรัพย์สามารถจับและยึดเป็ นประกันค่าสินไหมทดแทนได้
** ข้อน่ าสังเกตว่า คาว่า “ผูค ้ รอบครอง” หมายถึง
ผูท
้ ยี่ ด
ึ ถือครอบครองอสังหาริมทรัพย์ จะยึดถือครองครอบให้ฐานะเจ้าของ
หรือผูเ้ ช่าหรือผูอ ้ าศัยก็ได้
** ผูม ้ ส ี ท
ิ ธิจบั สัตว์และยึดเป็ นประกันค่าสินไหมทดแทนตามมาตรา 452 จะต้องเป็ นผู้
ครองอสังหาริมทรัพย์ ถ้าเป็ นผูค ้ รอบครอง สังหาริมทรัพย์
ไม่มส ี ท
ิ ธิทจี่ ะจับและยึดเป็ นประกันค่าสินไหมทดแทน
และสัตว์นน ้ ั ต้องเป็ นสัตว์ทม ี่ เี จ้าของ ถ้าเป็ นสัตว์ทไี่ ม่มเี จ้าของ
หรือสัตว์ทเี่ จ้าของสละกรรมสิทธิแ ์ ล้ว
ถ้าเป็ นสัตว์ทไี่ ม่มเี จ้าของไม่เข้าตามนี้สตั ว์นน ้ ั จะต้องเข้าไปทาความเสีย หาย
หากสัตว์ไม่กอ ่ ความเสียหาย ผูค ้ รองจะร้องใช้สท ิ ธิตามมาตรานี้ไม่ได้
** การทีจ ่ ะเป็ นนิรโทษกรรมตามมาตรานี้
สัตว์นน ้ ั จะต้องเข้ามาทาความเสียหายในอสังหาริมทรัพย์นน ้ั
อาจเป็ นความเสียหายต่อบุคคลหรือต่อทรัพย์
ในกรณี ทเี่ ป็ นความเสียหายต่อทรัพย์จะทาความเสียหายต่ออสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมท
รัพย์ก็ได้ แต่ตอ ้ งอยูใ่ นอสังหาริมทรัพย์

อายุความ
อายุความฟ้ องร้องเรียกค่าเสียหายในมูลละเมิด
มาตรา 448 “สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มลู ละเมิดนัน

ท่านว่าขาดอายุความเมือ่ พ้นปี หนึ่งนับแต่วนั ทีผ
่ ต
ู้ อ้ งเสียหายรูถ้ งึ การ
ละเมิดและรูต
้ วั ผูจ้ ะพึงต้องใช้คา่ สินไหมทดแทน หรือเมือ่ พ้นสิบปี นับ แต่วน
ั ทาละเมิด ”
หลักสาคัญของมาตรา 448
การนับอายุความฟ้ องเรียกค่าเสียหายจากมูลละเมิด ซึง่ มีความผิดอาญารวมอยูด
่ ว้ ย
ต้องบังคับตามมาตรา 448 วรรคสอง กล่าวคือ อายุความไหนยาวกว่ากัน
ให้นาอายุความนัน ้ มาบังคับใช้
ส่วนกรณี การนับอายุความทั่วไป ในการฟ้ องเรียกค่าเสียหายในมูลละเมิดนัน

ต้องใช้มาตรา 448 วรรคแรกบังคับ คือ
1) ห้ามฟ้ องเมือ ่ พ้น 1 ปี นับแต่ผูเ้ สียหายรูถ
้ งึ การละเมิด
และรูต
้ วั ผูจ้ ะพึงต้องใข้คา่ สินไหมทดแทน หรือ
2) ห้ามฟ้ องเมือ
่ พ้น 10 ปี นับแต่วน ั ทาละเมิด
กล่าวคือ อายุความจะเริม ่ นับเมือ่ ผูเ้ สียหายรูถ
้ ึงการละเมิด
และรูต ้ วั ผูจ้ ะพึงต้องใช้คา่ สินไหมทดแทน โดยต้องรูค ้ รบถ้วนทัง้ 2 ประการ
ถ้ารูถ
้ งึ การละเมิดแต่ยงั ไม่รต ู ้ วั ผูจ้ ะพึงต้องใช้คา่ สินไหมทดแทน ยังไม่เริม ่ นับอายุความ
(ฏีกา 1358/2508)

ข้อสังเกต
** รูต
้ วั ผูพ
้ งึ ต้องชดใช้คา่ สินไหมทดแทน
รวมถึงตัวบุคคลทีต ่ อ
้ งร่วมรับผิดกับผูท
้ าละเมิดด้วย
** อย่างไรก็ดี อายุความตามมาตรา 448 วรรคแรก มีกาหนดยาวทีส่ ด ุ 10 ปี
นับแต่วน ั ทาละเมิด (ไม่วา่ ผูเ้ สียหายจะรูห ้ รือไม่ร)ู ้ เมือ่ พ้นกาหนดดังกล่าว
สิทธิเรียกร้องย่อมขาดอายุความ

ข้อควรระวัง
อายุความกรณี ฟ้องเรียกทรัพย์คน ื หรือใช้ราคาแทนการคืนทรัพย์
ไม่มก
ี ฎหมายบัญญัตไิ ว้เฉพาะ ต้องใช้อายุความตามมาตรา 193/30 คือ 10 ปี
จึงไม่ตกอยูภ
่ ายใต้บงั คับมาตรา 448 วรรคแรก

You might also like