You are on page 1of 572

1

ตอบข้ อสอบกฎหมายอย่ างไร


ให้ ได้ คะแนน

ถาม - ตอบ

ทรัพย์สิน

สมชาย พงษ์ พัฒนาศิลป์


ผู้พิพากษา
๒๕๕๖
2

ชื่อหนังสือ ถาม – ตอบ ทรัพย์สิน


ISBN 978-616-335-476-1
ผูแ้ ต่ง สมชาย พงษ์พฒั นาศิลป์
จานวนหน้า ๔๔๐
ราคา ๑๖๐ บาท
ปี ที่พิมพ์ สิงหาคม ๒๕๕๖
พิมพ์ที่ ห้างหุ ้นส่วนจาก ัด เจริ ญรัฐการพิมพ์
๔๘๖/๒๙-๓๒ หมู่ที่ ๑๑ แขวงบางปะกอก
เขตราษฎร์บูรณะ กรุ งเทพฯ ๑๐๑๔๐
โทร. ๐๒-๘๗๗-๕๕๓๘-๙
จัดพิมพ์โดย นางกนก พงษ์พฒั นาศิลป์
๑๑๔/๘๓ หมู่ที่ ๓ ตาบลไทรม้า
อาเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐
โทร. ๐๘-๙๕๐๕-๕๙๙๙
จัดจาหน่า ยโดย บริ ษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จาก ัด (มหาชน)
อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ชั้นที่ ๑๙
๑๘๕๘/๘๗-๙๐ ถนนบางนา-ตราด
แขวงบางนา เขตบางนา กทม. ๑๐๒๖๐
โทร ๐-๒๗๓๙-๘๐๐๐, ๐-๒๗๓๙-๘๒๒๒
โทรสาร ๐-๒๗๓๙-๘๓๕๖-๙ www.se-ed.com
3

คานา
(ในการพิมพ์ครั้งที่ ๓)

การพิ ม พ์ค รั้ งนี้ ได้แ กไ้ ขเพิ่ ม เติ มโดยน าค าถามและค าตอบ
พร้อมคาพิพากษาฎีกาจากหนังสือ “ถาม-ตอบ แพ่ง อาญา เล่ม ๗” ของ
ผูแ้ ต่งในส่วนของกฎหมายทรัพย์สินมารวมไว้ในเล่ม นี้ โดยได้เพิ่มเติ ม
ค าพิ พากษาฎี กาจนถึง ค าพิพ ากษาฎีก าเนติ ฯ ปี ๒๕๕๔ ถึ งเล่ม ๑๑
ปี ๒๕๕๕ ถึงเล่ม ๕ และคาพิพากษาฎีกาสานักงานศาลฯ ปี ๒๕๕๔
ถึงเล่ม ๙ ปี ๒๕๕๕ ถึงเล่ม ๑
สมชาย พงษ์พฒั นาศิลป์
สิงหาคม ๒๕๕๖

คานา
(ในการพิมพ์ครั้งที่ ๒)

การพิม พ์ค รั้งนี้ ได้แ กไ้ ขค าตอบที่ มีแ นวค าพิพ ากษาฎี กาใหม่
กลับ หลักเดิ ม และได้เ พิ่ม เติ มโดยน าค าถามจากหนั งสื อ “ถาม-ตอบ
แพ่ง อาญา เล่ม ๔” และ “ถาม-ตอบ แพ่ง อาญา เล่ม ๕” ของผูแ้ ต่ งใน
ส่วนของกฎหมายทรัพย์สินมารวมไว้ในเล่มเดียว
สมชาย พงษ์พฒั นาศิลป์
สิ ง หาค ม ๒๕๕๔
4

คานา
(ในการพิมพ์ครั้งที่ ๑)

หนังสือ ถาม - ตอบ ทรัพย์สิน เล่มนี้ ต้องการนาเสนอรู ปแบบ


การตอบข้อสอบกฎหมายที่มีการนาข้อเท็จจริ งจากคาถามมาปรับเข้า กบั
ข้อกฎหมายและให้เหตุ ผลประกอบที่ ส้ นั กระชับ แต่ มีเนื้ อหาครบถ้ว น
โดยผู ้แ ต่ ง น าธงค าตอบมาแยกให้ เ ห็ น ว่ า ธงค าตอบส่ ว นใดเป็ น
ข้อเท็จจริ งที่นามาจากค าถาม ซึ่ งจะทาเป็ นตัว อักษรขี ด เส้นใต้ ส่ ว นใด
เป็ นข้ อ กฎหมายซึ่ ง จะท า เป็ นตั ว หนา และส่ ว นใดเป็ นเหตุ ผ ล
ประกอบการวินิจฉัยและสรุปผลทางกฎหมายซึ่ งจะทาเป็ นตัว หนาและ
ขีดเส้ นใต้ เพื่อที่ นักศึกษาจะได้นาไปเป็ นตัว อย่า งในการปรับปรุ งและ
พัฒนาการเขียนตอบข้อสอบให้ได้คะแนนดีต่อไป
หนังสือเล่มนี้ ผูแ้ ต่ งได้นาค าถามจากหนังสื อ ถาม-ตอบ แพ่ง
ถาม-ตอบ แพ่ง อาญา เล่ม ๒ และ ถาม-ตอบ แพ่ ง อาญา เล่ม ๓ ของ
ผูแ้ ต่ งและคณะในส่ ว นของกฎหมายทรัพย์สิน มารวมไว้ใ นเล่มเดี ย ว
และยังได้นาข้อสอบ การสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุเป็ นข้า ราชการตุ ลาการ
ในตาแหน่งผูช้ ่วยผูพ้ ิพากษา ก ับข้อสอบ การสอบความรู ้ ช้ นั เนติ บัณ ฑิต
ที่ น่ า สนใจในส่ ว นของกฎหมายทรัพ ย์สิ น มารวมไว้ โดยวิ เ คราะห์
ประเด็นที่ น่า สนใจเพิ่มเติ มจากค าถามและค าตอบเพื่อนักศึกษาจะได้
ศึกษาอย่า งลึกซึ้ ง ในวิชากฎหมายทรัพย์สินซึ่ งเป็ นวิ ชาที่ สาคัญมาก ๆ
ของการศึ ก ษากฎหมาย นอกจากนี้ ยัง น าประเด็ น ที่ เ ป็ นปั ญหาที่
น่ า สนใจจากหนังสื อ ค าอธิ บ ายกฎหมายทรัพ ย์สิ นของศาสตราจารย์
5

ม.ร.ว.เสนีย ์ ปราโมช ศาสตราจารย์บญั ญัติ สุชีวะ และรองศาสตราจารย์


วิริยะ นามศิริพงศ์พนั ธุ์ มาแต่ งเป็ นข้อสอบ เพื่อใช้เป็ นตัว อย่า งในการ
ฝึ กเขี ย นตอบข้อ สอบของนัก ศึ ก ษา และยัง ได้น าค าพิ พ ากษาฎี ก า
น่ า สนใจมารวบรวมไว้ต อนท้ า ยของเรื่ อ งนั้ น ๆ ด้ว ย อี ก ทั้ง ได้น า
ตัว อย่า งที่ นักศึกษาตอบค าถามมาทาง www.arjarnsomchai.com ซึ่ ง มี
ตัว อย่า งที่ นักศึกษาตอบมาโดยมีข ้อบกพร่ อง และผู ้แ ต่ งได้แ นะนาว่ า
จะต้องแก ้ไขอย่างไร เพื่อที่นักศึกษาจะได้นาไปแกไ้ ขข้อบกพร่ องของ
ตนเองในการเขียนตอบข้อสอบต่อไป
หนังสือเล่มนี้เหมาะสาหรับผูท้ ี่ เตรี ยมสอบเนติ บัณ ฑิต อัยการ
ผู ้ช่ ว ย ผู ้ช่ ว ยผู ้พิ พ ากษา และนัก ศึ ก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี ที่ ต้อ งการ
พัฒ นาการเขี ย นตอบข้อสอบให้ไ ด้ม าตรฐานสู ง เพื่ อเตรี ย มตัว สอบ
ชั้นเนติบณ ั ฑิต อัยการผูช้ ่วย หรื อผูช้ ่วยผูพ้ ิพากษาให้ได้ต่อไป
ส่ ว นดี ข องหนัง สื อ เล่ ม นี้ ผู ้แ ต่ ง ขอมอบให้ แ ด่ บิ ด ามารดา
และอาจารย์ทุ ก ท่ า นที่ ถ่ า ยทอดความรู ้ ใ ห้ แ ก่ผู ้แ ต่ ง โดยเฉพา ะ
รองศาสตราจารย์วิริยะ นามศิริพงศ์พนั ธุ์ ที่ สอนวิชากฎหมายทรัพย์สิน
แก่ผแู ้ ต่ งในระดับปริ ญญาตรี และศาสตราจารย์บัญญัติ สุ ชีว ะ ที่ สอน
วิชากฎหมายทรัพย์สินแก่ผแู ้ ต่งในระดับเนติบัณฑิต

สมชาย พงษ์พฒั นาศิลป์


มีนาคม ๒๕๕๒
6

สารบาญ

เรื่อง ห น้ า

ทรัพยสิทธิและบุคคลสิทธิ ข้อ ๑ ๑๓
ข้อ ๒ ๒๒
อสังหาริ มทรัพย์และสังหาริ มทรัพย์ ข้อ ๓ ๒๕
ส่วนควบ ข้อ ๔ ๒๙
ข้อ ๕ ๓๐
ข้อ ๖ ๓๗
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๔๔ ๓๙
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๔๖ ๔๑
การคุม้ ครองบุคคลภายนอกผูส้ ุจริ ตและเสียค่าตอบแทน ๔๒
การได้มาโดยนิติกรรมซึ่งอสังหาริ มทรัพย์
(มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง) ๔๗
ข้อ ๗ ๔๘
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง ๕๒
การได้อสังหาริ มทรัพย์มาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม
(มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง) ๖๑
ข้อ ๘ ๖๒
ข้อ ๙ ๖๗
ข้อ ๑๐ ๗๒
7

เรื่อง ห น้ า
ข้อ ๑๑ ๗๕
ข้อ ๑๒ ๗๙
ข้อ ๑๓ ๘๖
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง
ประเภทของสิทธิที่ได้รับความคุม้ ครอง ๘๙
บุคคลภายนอกที่ได้รับความคุม้ ครอง ๙๓
บุคคลภายนอกไม่สุจริ ต ๙๕
บุคคลผูอ้ ยูใ่ นฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิทธิ ของตนได้อยู่กอ่ น
ตามมาตรา ๑๓๐๐ ๙๙
ข้อ ๑๔ ๑๐๑
ข้อ ๑๕ ๑๐ ๖
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๐๐ ๑๑๐
การคุม้ ครองบุคคลภายนอกตามมาตรา ๑๓๐๓ ข้อ ๑๖ ๑๑๓
ข้อ ๑๗ ๑๒๐
การคุม้ ครองบุคคลภายนอกตามมาตรา ๑๓๒๙ ข้อ ๑๘ ๑๒๓
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๒๙ ๑๒๗
การคุม้ ครองบุคคลภายนอกตามมาตรา ๑๓๓๐ ข้อ ๑๙ ๑๒๙
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๓๐ ๑๓๒
การคุม้ ครองบุคคลภายนอกตามมาตรา ๑๓๓๑ ข้อ ๒๐ ๑๓๗
การคุม้ ครองบุคคลภายนอกตามมาตรา ๑๓๓๒ ข้อ ๒๑ ๑๓๙
ข้อ ๒๒ ๑๔๑
8

เรื่อง ห น้ า
ข้อ ๒๓ ๑๔๔
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๓๒ ๑๔ ๕
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ข้อ ๒๔ ๑๔ ๘
ข้อ ๒๕ ๑๔๙
ข้อ ๒๖ ๑๕๓
ข้อ ๒๗ ๑๕๘
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๐๔ ๑๖ ๒
การโอนที่ ดิ น ให้เป็ นสาธารณประโยชน์ไม่ต ้องทาตามแบบ ๑๖๔
การยกที่ ดิ น ให้เ ป็ นสาธารณประโยชน์ โ ดยปริ ย าย ๑๖๙
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๐๕ ๑๗๑
กรรมสิทธิ์ ข้อ ๒๘ ๑๗๒
ข้อ ๒๙ ๑๗๕
ข้อ ๓๐ ๑๗๗
ข้อ ๓๑ ๑๘๐
ข้อ ๓๒ ๑๙๐
ข้อ ๓๓ ๑๙๓
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๐๘ ๑๙ ๖
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๑๐ ๑๙๘
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๑๓ ๒๐๑
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๓๖ ๒๐๒
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๓๗ ๒๐๕
9

เรื่อง ห น้ า
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๓๙ ๒๐๗
การปลูกสร้างโรงเรื อนรุ กล้ า ข้อ ๓๔ ๒๐๙
ข้อ ๓๕ ๒๑๑
ข้อ ๓๖ ๒๑ ๖
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๑๒ ๒๒๓
ทางจาเป็ น ข้อ ๓๗ ๒๒๕
ข้อ ๓๘ ๒๓๐
ข้อ ๓๙ ๒๓ ๘
ข้อ ๔๐ ๒๔๐
ข้อ ๔๑ ๒๔ ๓
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๔๙ ๒๔๙
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๕๐ ๒๕๗
การวางท่อน้ า สายไฟฟ้ า
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๕๒ ๒๖๓
กรรมสิทธิ์รวม
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๕๖ ๒๖๔
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๕๗ ๒๖๕
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๕๘ ๒๖๗
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๕๙ ๒๖๘
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๖๐ ๒๖๙
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๖๑ ๒๗๒
10

เรื่อง ห น้ า
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๖๓ ๒๗๔
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๖๔ ๒๗๖
สิทธิครอบครอง ข้อ ๔๒ ๒๘๐
ข้อ ๔๓ ๒๘๙
ข้อ ๔๔ ๒๙๘
ข้อ ๔๕ ๓๐๑
ข้อ ๔๖ ๓๐๕
ข้อ ๔๗ ๓๐๙
ข้อ ๔๘ ๓๑๑
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๖๗ ๓๑๕
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๖๘ ๓๒๕
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๗๓ ๓๒๖
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๗๔ ๓๒๖
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๗๕ ๓๒๗
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๗๗ ๓๓ ๑
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๗๘ ๓๓ ๑
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๐ ๓๓๖
ครอบครองปรปั กษ์ ข้อ ๔๙ ๓๓ ๙
ข้อ ๕๐ ๓๔ ๒
ข้อ ๕๑ ๓๔ ๗
ข้อ ๕๒ ๓๔๙
11

เรื่อง ห น้ า
ข้อ ๕๓ ๓๕๓
ข้อ ๕๔ ๓๕๖
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๑ ๓๕ ๗
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๒ ๓๖๕
ต้องครอบครองทรัพย์ของผูอ้ ื่น ๓๗ ๑
การครอบครองโดยความสงบ ๓๗ ๒
ครอบครองด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ ๓๗๓
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๕ ๓๘ ๑
ภาระจายอม ข้อ ๕๕ ๓๘ ๒
ข้อ ๕๖ ๓๘๘
ข้อ ๕๗ ๓๙๑
ข้อ ๕๘ ๓๙๓
ข้อ ๕๙ ๓๙๗
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๗ ๓๙๙
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๘ ๔๐๔
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๙๐ ๔๐๗
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๙๒ ๔ ๐๘
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๙๙ ๔๑๒
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๔๐๑ ๔๑๒
การใช้โดยสงบ ๔ ๑๓
การใช้โดยเปิ ดเผย ๔๑๔
12

เรื่อง ห น้ า
การใช้โดยปรปั กษ์ ๔๑๕
การใช้โดยได้รับอนุญาตหรื อวิสาสะ
ไม่ได้ภาระจายอมโดยอายุความ ๔ ๑๘
อาศัย ข้อ ๖๐ ๔๒๔
ข้อ ๖๑ ๔๒๗
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๔๐๒ ๔ ๓๒
สิทธิเหนือพื้นดิน ข้อ ๖๒ ๔๓๓
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๔๑๒ ๔๓๔
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๔๑๓ ๔๓๕
สิทธิเก็บกิน ข้อ ๖๓ ๔๓๘
บรรณานุกรม ๔๔๐
13

ถาม - ตอบ
ทรัพย์ สิน
ทรัพยสิ ทธิและบุคคลสิ ทธิ

ข้ อ ๑ คาถาม นายเอกให้นายโทเช่ าที่ดินมีโฉนดโดยไม่ได้ทา


สัญญาเช่าเป็ นหนังสื อ แต่ส่งมอบที่ดินให้นายโทครอบครองแล้ว ต่อมา
นายตรี เข้ามาแย่งการครอบครองที่ดินจากนายโทเมื่อวันที่ ๑๘ ธันวาคม
๒๕๕๐ และวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๐ นายเอกทาสัญญาให้นายจัตวา
เช่าที่ดินดังกล่าว ๑ ปี โดยทาสัญญาเช่าเป็ นหนังสื อและนายจัตวาชาระ
ค่าเช่าให้แก่นายเอกครบถ้วนแล้ว
ให้วนิ ิจฉัยว่า ต่อมาวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๐
ก. นายโทจะฟ้ องเรี ยกที่ดินคืนจากนายตรี ได้หรื อไม่
ข. นายจัตวาจะฟ้ องเรี ยกให้นายตรี ส่งมอบที่ดินได้หรื อไม่
ข้ อ ๑ คาตอบ ก. นายเอกให้นายโทเช่าที่ดินมีโฉนด แม้จะไม่มี
การทาสัญญาเช่ าเป็ นหนังสื อ ไม่ อาจฟ้องร้ องบังคับตามสั ญญาเช่ าซึ่ ง
เป็ นบุคคลสิ ทธิ แต่นายเอกส่ งมอบที่ดินให้นายโท นายโทได้ เข้ ายึดถือ
ทีด่ ินดังกล่าวโดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตนในลักษณะที่จะได้ ใช้ ประโยชน์
จากที่ ดิ น ตามสั ญ ญา นายโทจึ ง ได้ สิ ท ธิ ค รอบครองตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๗
การที่ นายตรี เข้า มาแย่ง การครอบครองที่ ดินจากนายโทเมื่ อ
วัน ที่ ๑๘ ธั น วาคม ๒๕๕๐ นั้ น สิ ท ธิ ค รอบครองของนายโทเป็ น
14

ทรั พ ยสิ ทธิ ที่ใ ช้ อ้ า งต่ อ บุ ค คลทั่ว ไปได้ ทุก คน การที่ นายโทฟ้ องเรี ย ก
ที่ ดิ น คื น จากนายตรี เมื่ อ วัน ที่ ๒๙ ธั น วาคม ๒๕๕๐ เป็ นกรณี ที่
ผู้ครอบครองซึ่ งถูกแย่ งการครอบครองโดยมิชอบด้ วยกฎหมาย มีสิทธิ
ได้ คืนซึ่งการครอบครองเมื่อได้ ฟ้องภายในปี หนึ่งนับแต่ เวลาถูกแย่ งการ
ครอบครอง นายโทจึ ง ฟ้ องเรี ย กที่ ดิ น คื น จากนายตรี ไ ด้ ตามมาตรา
๑๓๗๕ (๕ คะแนน)
ข. นายเอกทาสัญญาให้นายจัตวาเช่าที่ดินดังกล่าว ๑ ปี โดยทา
สัญญาเช่าเป็ นหนังสื อและนายจัตวาชาระค่าเช่าให้แก่นายเอกครบถ้วน
แล้ว เมื่อนายจัตวายังไม่ ได้ รับมอบการครอบครองที่ดินตามสั ญญาเช่ า
ถือว่ า ยังไม่ ไ ด้ เข้ า ยึด ถื อ ที่ดิ น จึ ง ยังไม่ มี สิ ท ธิ ค รอบครองตามมาตรา
๑๓๖๗ ถือว่ านายจัตวายังไม่ มีทรัพยสิ ทธิเหนือที่ดินตามสั ญญาเช่ า แม้
สั ญญาเช่ าระหว่ างนายเอกและนายจัตวาจะใช้ บังคับกันได้ แต่ ก็มีผล
เป็ นเพียงบุคคลสิ ทธิที่นายจัตวาจะใช้ บังคับแก่ นายเอกซึ่ งเป็ นคู่สัญญา
เท่ านั้น ไม่ อาจใช้ บังคับนายตรี ซึ่งเป็ นบุ คคลภายนอกได้ นายจัตวาจึ ง
ฟ้องเรียกให้ นายตรีส่งมอบทีด่ ินไม่ ได้ (๕ คะแนน)
ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนีเ้ ป็ นคำถำมที่ ะวัดดคัำมเข้ ำใะพืน้ ฐำนเรื่ อบบุคคล
สิ ทธิ แลวทรด พยสิ ทธิ ซึ่บเป็ นเรื่ อบที่ สำคดญมำกในกฎหมำยลดกษณวทรด พย์
กำรตอบคำถำมข้ อนีะ้ วต้ อบรู้ หลดกกฎหมำยแลวอธิ บำยหลดกกฎหมำยทด้บ
ที่ มีตดับทกฎหมำยแลวไม่ มีตดับทกฎหมำย โดยเฉพำวหลดกกฎหมำยที่
ไม่ มี ตด ับทกฎหมำย ซึ่ บ เป็ นหลด ก กฎหมำยที่ ได้ อ ธิ บ ำยไั้ ใ นต ำรำที่
นดกศึกษำต้ อบศึกษำแลวะำไั้ ตอบข้ อสอบด้ ัย
กำรตอบข้ อ สอบไม่ ะ ำเป็ นต้ อ บตอบชื่ อ แลวเลขมำตรำขอบ
15

กฎหมำย เพรำวกำรตอบเลขมำตรำถูกนดกศึกษำะวไม่ ได้ ควแนนเพิ่ม แต่


ถ้ ำตอบเลขมำตรำผิดอำะำรย์ บำบท่ ำนอำะตดดควแนน แต่ ถ้ำะวตอบชื่ อ
กฎหมำยคัรใช้ ชื่อเต็ม เช่ น ปรวมัลกฎหมำยแพ่ บแลวพำณิ ชย์ มำตรำ
๑๓๖๗ ในกำรกล่ ำัถึบกฎหมำยดดบกล่ ำัครด้ บแรก แลวในครด้ บต่ อไป เมื่อ
ตอบกฎหมำยเดี ยักด นก็รวบุแต่ เลขมำตรำโดยไม่ ต้อบใส่ ชื่อกฎหมำย
เช่ น มำตรำ ๑๓๗๕ เป็ นต้ น
ต่ อไปะวเป็ นตดัอย่ ำบคำตอบที่ น่ำะวเป็ นปรวโยชน์ แก่ นดกศึกษำ
เพื่ อ ะวได้ ท รำบแนัทำบในกำรให้ ควแนน แลวปด ญ หำในกำรตอบ
ข้ อสอบ ซึ่ บะวได้ นำไปปรด บปรุ บแลวพดฒนำกำรเขียนตอบข้ อสอบต่ อไป
แลวนดกศึกษำยดบสำมำรถเข้ ำไปดูคำถำมแลวคำตอบัิชำอื่น ๆ ได้ ด้ัย
ในตดัอย่ ำบคำตอบตดัอดกษรปกติทด้บหมดเป็ นคำตอบที่ นดกศึกษำ
ตอบมำ ส่ ันที่ ผ้ ูแต่ บให้ ควแนนแลวแนวนำะว (ใส่ ไว้ ในวงเล็บและทา
เป็ นตัวหนา) ส่ ันใดที่ ไม่ คัรตอบะว (ใส่ ไว้ในวงเล็บและทาเป็ นตัวที่
ถูกขีดฆ่า)
ตั ว อย่ างค าตอบที่ ๑ ก. การที่ น ายโทเช่ า ที่ ดิ น อั น เป็ น
อสังหาริ มทรัพย์ แม้มิได้มีหลักฐานเป็ นหนังสื อจะฟ้ องร้ องบังคับคดี
หาได้ไม่ตาม ปพพ.มาตรา ๕๓๘ (การเรียกชื่ อกฎหมายไม่ ควรใช้ คาย่ อ
ควรใช้ คาเต็มว่ า “ประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ มาตรา ๕๓๘”
โดยเขียนชื่ อกฎหมายครั้ งแรกเพียงครั้ งเดียว ต่ อไปเมื่ออ้ างกฎหมาย
ก็อ้างมาตราโดยไม่ ต้ อ งใส่ ชื่ อ กฎหมาย เช่ น “มาตรา ๕๔๐” เป็ นต้ น
ขอให้ ดู รู ป แบบในธงค าตอบข้ อ สอบผู้ ช่ วยผู้ พิ พ ากษาและข้ อ สอบ
เนติบัณฑิต) อันจะเป็ นบุคคลสิ ทธิ ที่สมบูรณ์ ที่จะใช้ยนั แก่นายเอกผูใ้ ห้
16

เช่ าได้ก็ตาม แต่นายโทได้ครอบครองที่ ดินแปลงดังกล่ าวแล้ว ย่อมมี


สิ ทธิ ครอบครอง (ถ้ ามีข้อความว่ า สิ ทธิครอบครองซึ่ งเป็ นทรั พยสิ ทธิ
จะได้ คะแนนเต็มในส่ วนนี้) และใช้ยนั แก่บุคคลอื่นนอกจากนายเอกได้
เมื่อนายตรี ซ่ ึ งเป็ นบุคคลภายนอกมารบกวนแย่งการครอบครองที่ดินที่
ตนครอบครองไปโดยมิ ช อบด้วยกฎหมาย ผูค้ รอบครองย่อมมี สิ ท ธิ
ได้คื น ซึ่ ง การครอบครองเว้น แต่ บุ ค คลนั้น มี สิ ท ธิ ดีก ว่า และได้ฟ้ อง
ภายใน ๑ ปี นับ แต่ เ วลาถู ก แย่ ง การครอบครองตาม ปพพ. มาตรา
๑๓๗๕ ดัง นั้น นายโทย่อ มมี สิ ท ธิ ฟ้ องเรี ย กที่ ดิ น คื น จากนายตรี ไ ด้
(ประเด็นนีใ้ ห้ ๔ คะแนน จาก ๕ คะแนน และขอให้ สังเกตว่ าคาตอบนี้มี
หลักกฎหมายเรื่องการฟ้องเรียกคืนการครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๕
แต่ ขาดหลัก กฎหมายจากค าอธิ บ ายซึ่ งไม่ มี ใ นตัวบท คื อทรั พ ยสิ ท ธิ
คาตอบนีเ้ ป็ นคาตอบทีอ่ ยู่ในเกณฑ์ ดีแล้ ว)
ข. แม้การเช่าที่ดินอันเป็ นอสังหาริ มทรัพย์ระหว่างนายเอกและ
นายจัต วาได้มี ห ลัก ฐานเป็ นหนัง สื อ ย่ อ มฟ้ องร้ อ งบัง คับ คดี ไ ด้ต าม
มาตรา ๕๓๘ ก็ ตาม อันเป็ นบุ ค คลสิ ทธิ ระหว่า งคู่ สัญญา แต่ เมื่ อนาย
จัตวายังมิได้ครอบครองที่ดินอันเป็ นทรัพย์สินที่เช่าตามสัญญาเช่าจึงยัง
มิไ ด้มี สิ ท ธิ ค รอบครองในที่ ดินอันเป็ นทรั พ ย์สิ นที่ เช่ า เพราะนายตรี
บุ ค คลภายนอกครอบครองที่ ดินที่ เช่ า อยู่ก่ อน จึ ง ถื อ ไม่ ไ ด้ว่า นายตรี
โต้แย้งสิ ทธิ ของนายจัตวาผูเ้ ช่ าแต่อย่างใดไม่ สิ ทธิ ตามสัญญาเช่ าของ
นายจัตวายัง คงมี อยู่ตามสั ญญาเช่ า นายจัตวาคงว่า กล่ า วเอาความได้
เฉพาะแต่บุคคลที่เป็ นคู่สัญญาตามสัญญาเช่ าคือนายเอกเท่านั้น ดังนั้น
นายจัต วาจึ ง หามี สิ ท ธิ ฟ้ องร้ อ งนายตรี ใ ห้ ส่ ง มอบที่ ดิ น ให้ แ ก่ ต นไม่
17

(ประเด็นนีไ้ ม่ มีข้อความว่า สิ ทธิครอบครองซึ่งเป็ นทรัพยสิ ทธิ ให้ เพียง


๔ คะแนนจาก ๕ คะแนน ได้ รวม ๘ คะแนน)
ตัวอย่างคาตอบที่ ๒ ก. นายโทจะฟ้ องเรี ยกที่ดินคืนจากนายตรี
ได้หรื อไม่ (ไม่ ต้องทวนคาถาม ให้ ตอบตามย่อหน้ าต่ อไปได้ เลย)
นายโทจะฟ้ องเรี ยกที่ ดิ น คื น จากนายตรี ได้ โดยอ้า งสิ ท ธิ
ครอบครองตามความเป็ นจริ ง เพราะนายเอกเจ้าของที่ดินได้ส่งมอบการ
ครอบครองให้แล้ว แม้ว่าจะไม่ได้ทาเป็ นสัญญาเช่ าก็ตาม การเข้าแย่ง
การครอบครองของนายโทเป็ นการโต้แย้งสิ ทธิ ของนายโท (คาตอบนี้
ถูกธง แต่ เหตุผลยังไม่ ส้ ู ดีนัก ไม่ ได้ ตอบเรื่ องทรั พยสิ ทธิและบุคคลสิ ทธิ
และไม่ ได้ ตอบเรื่องการฟ้องเรียกคืนการครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๕
ถือว่ าธงถูกแต่ เหตุผลพอฟังได้ พอให้ ได้ ๒.๕ คะแนน)
ข. นายจัตวาจะฟ้ องเรี ยกให้นายตรี ส่งมอบที่ ดินไม่ได้ เพราะ
นายจัตวาไม่ได้ทรัพยสิ ทธิ เหนื อที่ดินดังกล่าว เพราะยังไม่ได้รับมอบ
การครอบครอง (คาตอบนี้ตอบมาถูกทางว่ ายังไม่ ได้ ครอบครอง ไม่ ได้
ทรั พ ยสิ ท ธิ แต่ ไ ม่ ไ ด้ บ อกว่ า สั ญ ญาเช่ าเป็ นบุ ค คลสิ ท ธิ บั ง คั บ ได้ แ ต่
คู่สัญญา ไม่ อาจอ้ างต่ อบุ คคลอื่นได้ พอให้ ได้ ๓ คะแนน ได้ รวม ๕.๕
คะแนนจาก ๑๐ คะแนน แต่ การให้ คะแนน อาจารย์ จะไม่ ให้ เป็ นเศษ
คะแนน ต้ องดูในภาพรวมแล้ วปั ดขึน้ หรื อปั ดลง คาตอบนี้ดูในภาพรวม
แล้วให้ ๖ คะแนน)
ตัวอย่ างคาตอบที่ ๓ ข้อ ก. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา ๑๓๗๘ บัญญัติว่า (ควรใช้ คาว่ า “วางหลักไว้ ว่า ” ในการตอบ
ข้ อ สอบจะไม่ ใ ช้ ค าว่ า “บั ญ ญั ติว่ า ” เพราะตามหลักภาษาหลัง ค าว่ า
18

“บัญญัติว่า ” จะต้ องมีข้อความตรงตามกฎหมายทุกประการ แต่ การ


ตอบข้ อสอบหลักกฎหมายไม่ จาเป็ นต้ องตรงตามกฎหมายทุกประการ
ขอเพียงใจความสาคัญครบถ้ วนก็พอ) การโอนไปซึ่ งการครอบครอง
นั้น ย่ อ มท าได้ โ ดยการโอนทรั พ ย์สิ น ที่ ค รอบครอง (ค าตอบข้ อ นี้
ไม่ เกีย่ วกับเรื่องการโอนการครอบครองไม่ ควรตอบมา แต่ ไม่ ตัดคะแนน
แต่ ถ้าเป็ นอาจารย์ ท่านอื่น ไม่ แน่ อาจจะถือว่ าตอบผิดแล้ วตัดคะแนน
ก็ไ ด้ ) การที่ นายเอกส่ ง มอบที่ ดิน ให้นายโทครอบครองแล้ว นายโท
(ได้ เ ข้ า ยึ ด ถื อ ที่ ดิ น ดั ง กล่ า วโดยเจตนาจะยึ ด ถื อ เพื่ อ ตน) จึ ง มี สิ ท ธิ
ครอบครอง การที่นายตรี มาแย่งการครอบครอง นายโทย่อมมีสิทธิ ฟ้อง
เรี ยกคืนการครอบครองภายใน ๑ ปี นับแต่วนั ถูกแย่งการครอบครอง
ตามหลักในมาตรา ๑๓๗๕ (ให้ ๓.๕ คะแนนจาก ๕ คะแนน)
ข. แม้นายเอกจะทาสัญญาเช่ าที่ ดินดังกล่าวกับนายจัตวาเป็ น
หนัง สื อและมี ก ารช าระค่ า เช่ า แล้ว แต่ สั ญ ญาเช่ า ดัง กล่ า วก็ เป็ นเพี ย ง
บุ คคลสิ ทธิ ใช้บงั คับ กันได้ระหว่า งคู่สัญญาเท่านั้น (ไม่ ได้ ตอบว่ ายัง
ไม่ ได้ รับมอบการครอบครอง ไม่ มีทรั พยสิ ทธิ ขาดเหตุ ผลสาคั ญไป)
นายตรี เป็ นบุคคลภายนอกสัญญาเช่า นายจัตวาจึงไม่มีสิทธิ ฟ้องนายตรี
(ประเด็นนีใ้ ห้ ๓.๕ คะแนน รวมได้ ๗ คะแนน)
ตั ว อย่ า งค าตอบที่ ๔ ก. หลัก กฎหมาย เรื่ องบุ ค คลสิ ทธิ
ทรัพยสิ ทธิ การเช่าอสังหาริ มทรัพย์ (การตอบโดยวางหลักกฎหมายต้ อง
ใส่ สาระส าคั ญของหลัก กฎหมายมาด้ ว ย ตอบมาเพียงเท่ า นี้ถือว่ า ยัง
ไม่ ได้ วางหลักกฎหมาย)
นายเอกให้นายโทเช่าที่ดินมีโฉนดโดยส่ งมอบการครอบครอง
19

ที่ ดิน ให้แ ก่ น ายโทครอบครองแล้ว นั้น หลัก ป.พ.พ. (ตามประมวล


กฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ ) มาตรา ๕๓๘ เรื่ องการเช่ า อสั ง หาฯ
อสั งหาริมทรัพย์ กฎหมายบังคับให้ตอ้ งทาเป็ นหนังสื อลงลายมือชื่อฝ่ าย
ที่ตอ้ งรั บผิดเป็ นสาคัญ และหากการเช่ าอสังหาฯอสั งหาริ มทรั พย์ ที่มี
กาหนดเกินกว่า ๓ ปี ต้องทาเป็ นหนังสื อ และจดทะเบีย นต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่ จึงจะฟ้ องร้องบังคับคดีกนั ได้ เมื่อการเช่าที่ดินดังกล่าวไม่ได้
ทาเป็ นหนัง สื อลงลายมื อชื่ อนายโทผูเ้ ช่ า สั ญญาเช่ า ดัง กล่ าวจึ ง ยัง ไม่
สมบูรณ์ในฐานะบุคคลสิ ทธิ กล่าวคือสิ ทธิ ของคู่สัญญาระหว่างนายเอก
กับนายโทไม่สามารถที่จะฟ้ องร้ องบังคับคดี กนั ได้ แต่ยงั ไม่ถึงกับเป็ น
โมฆะ และบุ ค คลอาจได้ ม าซึ่ งสิ ทธิ การครอบครอง อสั ง หาฯ
อสั งหาริ ม ทรั พ ย์ โดยผูอ้ ื่ น ส่ ง มอบการครอบครองให้ ต าม ม.มาตรา
๑๓๗๘ เมื่ อนายเอกส่ ง มอบที่ ดินให้นายโท นายโทจึ งได้มาซึ่ งสิ ทธิ
ครอบครองในที่ดินดังกล่าวตามสัญญาเช่ า จึงสมบูรณ์ ในฐานะบุคคล
สิ ทธิ ซึ่ งเป็ นสิ ทธิ ที่มีอยู่เหนื อตัวบุคคลใช้บงั คับได้เฉพาะตัวบุ คคลที่
เป็ นคู่กรณี คือนายเอกกับนายโทเท่านั้น ไม่ใช่ทรัพยสิ ทธิ ที่เป็ นสิ ทธิ ที่มี
วัตถุแห่งสิ ทธิ เป็ นทรัพย์สินโดยตรง หรื อเป็ นสิ ทธิ ที่มีอยูเ่ หนื อตัวทรัพย์
อั น จะบั ง คั บ แก่ ต ั ว ทรั พ ย์ น้ ั นได้ โ ดยตรง และการบั ง คั บ นั้ นจะ
กระทบกระเทือนถึ งบุคคลอื่นได้ ดังนั้น เมื่อนายตรี ซ่ ึ งบุคคลภายนอก
เข้ามาแย่งการครอบครองที่ดิน นายโทจึงไม่อาจอ้างสิ ทธิ ครอบครอง
ที่ดินตามสัญญาเช่าเพราะนายโทมีเพียงสิ ทธิ ครอบครองในฐานะบุคคล
สิ ทธิ เท่านั้น จะใช้ยนั บุคคลภายนอกคือนายตรี ไม่ได้ (ที่ขีดฆ่ าออกเป็ น
คาตอบส่ วนทีผ่ ดิ )
20

สรุ ป นายโทจึงฟ้ องเรี ยกที่ดินคืนจากนายตรี ไม่ได้ตามเหตุผล


ข้างต้น (๐ คะแนน)
๒. ต่อมาวันที่ ๒๐ ธค.๒๕๕๐ นายเอกได้ทาสัญญาเช่ าให้แก่
นายจัตวาขึ้นอีกฉบับหนึ่ งโดยเช่ากันมีระยะเวลา ๑ ปี และได้ทาสัญญา
เช่ ากันเป็ นหนังสื อตาม ป.พ.พ.มาตรา ๕๓๘ แล้ว ตามหลักกฎหมาย
ข้างต้น สัญญาเช่ าอสังหาฯอสั งหาริ มทรั พย์ จึงสมบูรณ์ในฐานะบุคคล
สิ ทธิ บงั คับได้ระหว่างคู่สัญญา แต่เมื่อนายจัตวายังไม่ได้เข้าครอบครอง
ที่ดินอันเป็ นทรัพย์สินที่เช่าจึงยังไม่มีสิทธิ ครอบครองตามความเป็ นจริ ง
และการเช่าที่ดินระหว่างนายเอกกับนายจัตวาได้ทากันหลังจากนายตรี
ได้เข้า มาแย่งการครอบครองแล้ว จึ งถื อไม่ได้ว่านายตรี ไ ด้เข้า มาแย่ง
การครอบครองของนายจัต วา นายจัต วาจึ ง ยัง มิ ใ ช่ ผูถ้ ู ก โต้แ ย้ง สิ ท ธิ
ในการเช่าที่ดินดังกล่าว ดังนั้น นายจัตวาจึงไม่มีสิทธิ ที่จะฟ้ องเรี ยกที่ดิน
คืนจากนายตรี ได้ (ไม่ ได้ ตอบว่ าเมื่อ ยังไม่ ได้ รับ มอบการครอบครอง
ยั ง ไม่ มี ท รั พ ยสิ ทธิ ประเด็ น นี้ ใ ห้ ๓.๕ คะแนนจาก ๕ คะแนน
ดูในภาพรวมทั้งข้ อแล้ วให้ ๔ คะแนนจาก ๑๐ คะแนน)
ข้ อสั งเกต กำรตอบข้ อสอบะวตอบโดยะวัำบหลดกกฎหมำยหรื อะวตอบ
โดยฟด นธบก็ได้ ถ้ ำะวตอบโดยัำบหลดกกฎหมำยต้ อบใส่ สำรวสำคดญขอบ
หลดกกฎหมำยมำด้ ัย กำรตอบมำในตดัอย่ ำบคำตอบนีถ้ ือั่ ำยดบไม่ ได้ ัำบ
หลดกกฎหมำย หำกผิดธบอำะะวไม่ ได้ ควแนนเลย
คำถำมไม่ มีปรวเด็นในเรื่ อบสิ ทธิ ขอบนำยโทแลวนำยะดตัำั่ ำ
ใครมีสิทธิ ในที่ดินดีกั่ ำกดน ะึบไม่ ต้อบตอบในปรวเด็นนี ้
ตัวอย่างคาตอบที่ ๕ ก. นายโทฟ้ องเรี ยกที่ดินคืนจากนายตรี ได้
21

เพราะนายเอกให้นายโทเช่ าที่ ดินมี โฉนดโดยส่ งมอบที่ ดินให้นายโท


ครอบครองแล้ว แม้สัญญาเช่าดังกล่าวจะไม่ได้ทาหลักฐานเป็ นหนังสื อ
ลงลายมือชื่อนายเอกผูใ้ ห้เช่าก็ตาม ก็มีผลเพียงนายโทจะฟ้ องร้องบังคับ
นายเอกตามสัญญาเช่าไม่ได้เท่านั้น ไม่ได้ทาให้การเช่านั้นกลายเป็ นไม่
ชอบด้วยกฎหมายแต่อย่างใด นายเอก (โทได้ เข้ ายึดถือที่ดินดังกล่ าวโดย
เจตนาจะยึดถือเพือ่ ตน) จึงเป็ นผูม้ ีสิทธิ ครอบครองในที่ดินดังกล่าว การ
ที่ นายตรี เข้ามาแย่ง การครอบครองที่ ดินดังกล่ าวจากนายโทเมื่ อวันที่
๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๐ นั้น เป็ นการกระทาต่อสิ ทธิ ครอบครองที่ดินของ
นายโทซึ่ งมีอยูต่ ามสัญญาเช่าที่ทาไว้กบั นายเอกด้วย ซึ่ งเป็ นการกระทา
ที่นายเอกนายตรี ไม่มีสิทธิ จะทาได้โดยชอบด้วยกฎหมาย จึ งเป็ นการ
กระท าละเมิ ด ต่ อ สิ ทธิ ครอบครองของนายโท นายโทผู ้ มี สิ ทธิ
ครอบครองที่ ดินดังกล่ าวจึ งมี สิทธิ ติดตามและเอาคื นการครอบครอง
ที่ดินจากนายตรี ผไู ้ ม่มีสิทธิ ยึดถือไว้ได้ (ประเด็นนี้ตอบผิดจากนายตรี
เป็ นนายเอกซึ่งเป็ นสาระสาคัญ แม้ ถูกธงก็ให้ เพียง ๓ คะแนน)
ข. นายจัตวาจะฟ้ องเรี ยกให้นายตรี ส่งมอบที่ ดินไม่ได้ เพราะ
แม้นายเอกจะทาสัญญาเช่าที่ดินดังกล่าวกับนายจัตวาเป็ นเวลา ๑ ปี โดย
ทาสัญญาเป็ นหนังสื อและนายจัตวาชาระค่าเช่ าครบถ้วนแล้วก็ตาม แต่
สัญญาเช่ าดังกล่าวก็เป็ นเพียงบุคคลสิ ทธิ ที่มีผลบังคับระหว่างนายเอก
กับนายจัตวาซึ่ งเป็ นคู่สัญญาเท่านั้น นายจัตวาไม่อาจจะนาไปบังคับต่อ
นายตรี ซึ่ งเป็ นบุ ค คลภายนอกได้ และเมื่ อ นายจัต วายัง ไม่ ไ ด้ เ ข้ า
ครอบครองที่ดินดังกล่าวตามสัญญาเช่าจึงยังไม่มีสิทธิ ครอบครองที่ดิน
อันเป็ นทรัพยสิ ทธิ ที่จะใช้ยนั นายตรี บุคคลภายนอกได้เช่ นกัน ดังนั้น
22

นายจัตวาจึงไม่มีสิทธิ ฟ้องเรี ยกให้นายตรี ส่งมอบที่ดินได้ (ประเด็นนี้ได้


เต็ ม ๕ คะแนน รวมแต่ ล ะประเด็ น ได้ ๘ คะแนน แต่ ดู ใ นภาพรวม
มีข้อผิดพลาดจุดสาคัญ ให้ เพียง ๗ คะแนน)

ข้ อ ๒ คาถาม นายสดมีที่ดิน ๑ แปลง ตกลงให้นายอิ่มถมดินให้


เต็ ม แล้ว ยอมให้ น ายอิ่ ม ปลู ก เรื อ นอยู่บ นที่ ดิ น นั้นได้เ ป็ นเวลา ๑๐ ปี
ข้อตกลงนี้ได้ทาเป็ นหนังสื อไว้ เมื่อนายอิ่มปลูกเรื อนอยู่ ๕ ปี แล้ว
(ก) ถ้านายสดขอให้นายอิ่มรื้ อเรื อนออก เพราะนายสดจะปลูก
ห้องแถวให้เช่า นายอิ่มไม่ยอมรื้ ออ้างว่าตามหนังสื อสัญญา นายสดต้อง
ยอมให้ตนปลูกเรื อนอยู่ได้ถึง ๑๐ ปี นายสดเถี ยงว่าข้อตกลงนี้ มิได้จด
ทะเบียน จึงใช้บงั คับมิได้
(ข) หากนายสดขายที่ดินนั้นให้นายใจโดยนายใจทราบว่านาย
สดยอมให้นายอิ่มปลูกเรื อนอยูบ่ นที่ดินนั้นได้เป็ นเวลา ๑๐ ปี แต่นายใจ
ก็ไม่ยอมให้นายอิ่มอยูแ่ ละให้ร้ื อเรื อนออกไป นายอิ่มอ้างว่านายใจต้อง
ยอมให้เรื อนของตนอยู่จนครบ ๑๐ ปี ตามข้อตกลงที่นายสดทาไว้กบั
ตน นายใจเถียงว่าข้อตกลงนั้นไม่ผกู มัดตน
ให้วินิจฉัย ว่า ทั้ง สองกรณี น้ ี ข้ออ้า งข้อเถี ย งของผูใ้ ดถู ก ต้อง
(ข้อสอบเนติบณั ฑิต สมัยที่ ๔๒ ปี การศึกษา ๒๕๓๒)
ข้ อ ๒ คาตอบ (ก) การที่นายสดยอมให้นายอิ่มปลูกเรื อนอยูใ่ น
ที่ ดิ น ของนายสดได้เ ป็ นเวลา ๑๐ ปี นั้น ถ้ า ท าเป็ นหนั ง สื อ และจด
ทะเบียนกับพนักงานเจ้ าหน้ าที่ย่อมบริ บูรณ์ เป็ นสิ ทธิเหนือพืน้ ดินตาม
ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง และ
23

มาตรา ๑๔๑๐ แต่เมื่อมิได้จดทะเบียนก็เพียงไม่ บริ บูรณ์ เป็ นสิ ทธิเหนือ


พื้นดิ นซึ่ ง เป็ นทรั พ ยสิ ทธิ เ ท่ า นั้ น ข้ อ ตกลงดั งกล่ า วไม่ ถึงกับ ตกเป็ น
โมฆะ แต่ ยั ง ใช้ บั ง คั บ กั น ได้ ร ะหว่ า งคู่ สั ญ ญาในฐานะบุ ค คลสิ ท ธิ
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๖๘/๒๕๒๑, ๑๒๔๕/๒๕๒๓) นายสดต้ องยอม
ให้ เรือนของนายอิม่ อยู่จนครบ ๑๐ ปี จะบังคับให้ นายอิ่มรื้อเรือนออกไป
ก่อนกาหนดมิได้ ประเด็นนีข้ ้ ออ้ างของนายอิม่ ถูกต้ อง
(ข) ข้อตกลงระหว่า งนายสดและนายอิ่ ม ดัง กล่ า ว เป็ นเพียง
บุคคลสิ ทธิ มีผลผูกพันเฉพาะคู่สัญญาเท่ านั้ น จะใช้ ยันนายใจซึ่ งเป็ น
บุคคลภายนอกมิได้ แม้นายใจจะทราบว่ามีขอ้ ตกลงระหว่างนายสดและ
นายอิ่ ม ก็ ต าม เพราะข้ อ ตกลงนี้ มิ ใ ช่ ทรั พ ยสิ ท ธิ อั น จะมี ผ ลผู ก พั น
บุคคลภายนอก (คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๕๕/๒๕๐๘) ประเด็นนี้ข้อเถียง
ของนายใจถูกต้ อง
ข้ อสั งเกต คำถำมะวตรบตำมข้ อสอบ แต่ คำตอบได้ ปรด บปรุ บเพิ่มเติมเพื่อ
เป็ นปรวโยชน์ ในกำรฝึ กเขียนตอบข้ อสอบแลวได้ นำคำพิพำกษำฎีกำที่
อ้ ำ บถึ บ มำลบไั้ ท้ ำ ยค ำตอบเพื่ อ คัำมสวดักในกำรท ำคัำมเข้ ำใะ
เพิ่มเติม
คำตอบใน (ข) หำกข้ อตกลบขอบนำยสดแลวนำยอิ่ มทำเป็ น
หนดบสื อแลวะดทวเบี ยนกดบพนดกบำนเะ้ ำหน้ ำที่ ข้ อตกลบดดบกล่ ำัย่ อม
บริ บู ร ณ์ เป็ นสิ ท ธิ เ หนื อ พื ้น ดิ น ซึ่ บ เป็ นทรด พ ยสิ ท ธิ ซึ่ บ ะวติ ด ตำมตด ั
ทรด พย์ ไป แม้ นำยสดะวขำยที่ ดินให้ นำยใะ นำยใะก็ต้อบยอมให้ เรื อน
ขอบนำยอิ่มอยู่ในที่ดินขอบนำยใะต่ อไป
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๔๕/๒๕๒๓ โจทก์ทาหนังสื อตกลงยอม
24

ให้จาเลยอาศัยอยู่ในบ้านพิพาทจนตลอดชี วิตของจาเลย แม้จะมิได้จด


ทะเบียนการได้มาซึ่ งสิ ทธิ อาศัยนั้นกับพนักงานเจ้าหน้าที่ อันเป็ นเหตุ
ให้สิทธิ น้ นั ไม่บริ บูรณ์เป็ นทรัพยสิ ทธิ แต่จาเลยก็ยกเอาสิ ทธิ ที่มีอยูต่ าม
เอกสารนั้นขึ้นยันโจทก์ผเู ้ ป็ นคู่สัญญาได้ในฐานะเป็ นบุคคลสิ ทธิ โจทก์
ไม่มีสิทธิ บอกเลิกสัญญาขับไล่จาเลยก่อนกาหนดดังกล่าว
สัญญาที่มีขอ้ ตกลงว่าฝ่ ายเจ้าของที่ดินเป็ นผูอ้ อกทุนทรัพย์ซ้ื อ
พืชต้นผลไม้ต่าง ๆ ให้อีกฝ่ ายหนึ่งเป็ นฝ่ ายออกแรงทาการปลูกสร้างลง
ในที่ดินและบารุ งรักษา เมื่อเป็ นผลซื้ อขายได้มาก็ให้แบ่งกันคนละครึ่ ง
เท่า ๆ กันจนตลอดชีวติ ทั้งสองฝ่ าย เช่นนี้ เป็ นสัญญาต่างตอบแทนอย่าง
หนึ่ ง แต่เมื่อไม่ได้จดทะเบียนก็ก่อให้เกิ ดเพียงบุ คคลสิ ทธิ มีผลผูกพัน
เฉพาะคู่กรณี เท่านั้น จะใช้ยนั บุคคลภายนอกผูซ้ ้ื อที่ดินนั้นไม่ได้ แม้วา่ ผู ้
ซื้ อจะได้ทราบว่ามี ขอ้ ตกลงเช่ นนั้นอยู่ก็ตาม ในเมื่ อผูซ้ ้ื อมิ ได้ยินยอม
ปฏิบตั ิตามข้อตกลงนั้นด้วย ผูซ้ ้ื อย่อมมีสิทธิ ตามกฎหมายฟ้ องขับไล่ฝ่าย
ที่ออกแรงดังกล่าวนั้นได้ จะถือว่าผูซ้ ้ื อใช้สิทธิ โดยไม่สุจริ ตไม่ได้
25

อสั งหาริมทรัพย์และสั งหาริมทรั พย์


ข้ อ ๓ คาถาม นายเอกยอมให้นายโทมีสิทธิ อาศัยในบ้านและมี
สิ ทธิ เหนื อพื้นดิ นบนที่ดินของนายเอกโดยไม่ได้จดทะเบียนและไม่มี
กาหนดระยะเวลา ระหว่างที่นายโทอยู่อาศัยในบ้านและที่ดินดังกล่าว
นายโทปลูกต้นสักบนที่ดินในบริ เวณรั้วบ้าน ๒๐ ต้น และมีตน้ มะม่วง
ขึ้นเองตามธรรมชาติ ๑๐ ต้น ต่อมาอีก ๑๐ ปี นายโทได้รับอนุญาตจาก
ทางราชการให้ตดั ต้นสักดังกล่าวและต้นมะม่วงมีผลเต็มต้น เมื่อวันที่ ๑
มีนาคม ๒๕๕๑ นายโทจึงขายต้นสักและผลมะม่วงทั้งหมดให้แก่นาย
ตรี โดยให้นายตรี ตดั ต้นสักและเก็บผลมะม่วงเองในวันที่ ๗ มีนาคม
๒๕๕๑ และนายตรี ไ ด้ช าระเงิ น ค่ า ต้น สั ก ๘๐,๐๐๐ บาทและค่ า ผล
มะม่วง ๒๐,๐๐๐ บาท ให้แก่นายโทรวม ๑๐๐,๐๐๐ บาทเรี ยบร้อยแล้ว
ในวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๕๑ นายเอกและนายโทมีปากเสี ยงกัน นายเอก
จึงไล่ นายโทให้ออกจากบ้านและที่ ดิน นายโทยอมออกจากบ้านและ
ที่ ดิ น ดัง กล่ า วไป ต่ อ มาวัน ที่ ๗ มี น าคม ๒๕๕๑ นายตรี ม าที่ บ้า น
ดังกล่าวเพื่อขอตัดต้นสักและเก็บผลมะม่วง แต่นายเอกไม่ยอม
ให้ วิ นิ จ ฉั ย ว่ า นายเอกหรื อ นายตรี มี สิ ท ธิ ใ นต้น สั ก และผล
มะม่วงดีกว่ากัน
ข้ อ ๓ คาตอบ การให้สิทธิ อาศัยในบ้านและสิ ทธิ เหนื อพื้นดิ น
บนที่ ดินโดยไม่ ไ ด้จดทะเบี ย น แม้จะไม่ บ ริ บู รณ์ เป็ นทรั พ ยสิ ทธิ ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง แต่ ก็
บริ บูรณ์ เป็ นบุ คคลสิ ทธิ ใช้ บังคับกันได้ ระหว่ างคู่ สัญญา (คาพิพากษา
ฎีกาที่ ๑๒๔๕/๒๕๒๓) (๒ คะแนน)
26

แม้ไม้ ยืนต้ นเป็ นส่ วนควบกับที่ดิ นที่ไม้ น้ ั นขึ้นอยู่ตามมาตรา


๑๔๕ วรรคหนึ่ ง แต่ต้ นสั กเป็ นทรั พย์ ติดกับที่ดินซึ่ งนายโทมีสิทธิใน
ที่ดิ น ของผู้ อื่น ใช้ สิ ท ธิ ปลู ก ไว้ ใ นที่ดิ น ไม่ เ ป็ นส่ วนควบกั บ ที่ ดิ น ตาม
มาตรา ๑๔๖ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๑๙๓/๒๕๔๗) นายโทจึงเป็ นเจ้ าของ
ต้ นสั กซึ่งตนได้ ปลูกขึน้ ตามมาตรา ๑๔๑๐ (๒ คะแนน)
เมื่อนายโทเป็ นเจ้าของต้นสักดังที่วินิจฉัยมาแล้ว แม้ต้นสั กจะ
เป็ นทรั พย์ อันติดอยู่กับที่ดินอันมีลักษณะเป็ นการถาวร ซึ่ งถือว่ าเป็ น
อสั งหาริ ม ทรั พย์ ตามมาตรา ๑๓๙ แต่นายโทขายต้นสักให้แก่ นายตรี
โดยให้นายตรี ตดั ต้นสักเอง เจตนาของนายโทและนายตรี ประสงค์ จะ
ซื้อต้ นสั กที่ตัดออกจากที่ดินแล้ ว จึงเป็ นการซื้อสั งหาริมทรัพย์ การซื้อ
ขายต้ น สั ก ดั ง กล่ า วจึ ง ไม่ ต้ อ งท าเป็ นหนั ง สื อ และจดทะเบี ย นต่ อ
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ เมื่อนายโทเป็ นเจ้ าของต้ นสั ก นายโทจึงมีสิทธิขาย
ต้ นสั กดังกล่าวได้ ตามมาตรา ๑๓๓๖ ประกอบมาตรา ๔๕๘ นายตรีจึงมี
กรรมสิ ทธิ์ในต้ นสั กดีกว่ านายเอก (คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๐๒/๒๕๓๕)
(๒ คะแนน)
ส่ วนต้นมะม่วงขึ้นเองตามธรรมชาติ ไม่ใช่ สิ่งเพาะปลูกที่นาย
โทปลูกไว้ เมื่อต้ นมะม่ วงเป็ นไม้ ยืนต้ น เป็ นส่ วนควบกับที่ดินที่ไม้ น้ัน
ขึน้ อยู่ นายเอกซึ่งเป็ นเจ้ าของที่ดินจึงเป็ นเจ้ าของต้ นมะม่ วงตามมาตรา
๑๔๕ วรรคหนึ่ง (๒ คะแนน)
นายเอกเป็ นเจ้าของต้นมะม่วงดังที่วนิ ิจฉัยมาแล้ว แม้ นายโทซึ่ง
มีสิทธิ อ าศั ยในบ้ า นจะมี สิ ทธิ เก็บ เอาดอกผลธรรมดาแห่ งที่ดิ นมาใช้
เพียงที่จาเป็ นแก่ ความต้ องการของครัวเรื อนตามมาตรา ๑๔๐๖ แต่ ผล
27

มะม่ วงซึ่งเป็ นดอกผลธรรมดาสามารถถือเอาได้ เมื่อขาดจากต้ นมะม่ วง


ตามมาตรา ๑๔๘ วรรคสอง เมื่ อนายโทและนายตรี ย งั ไม่ ได้ส อยผล
มะม่วงออกจากต้น ผลมะม่ วงยังเป็ นส่ วนหนึ่งของต้ นมะม่ วงอยู่ นาย
เอกซึ่งเป็ นเจ้ าของต้ นมะม่ วงจึงยังมีสิทธิในผลมะม่ วงดีกว่านายตรี
ข้ อสั งเกต กำรตอบค ำถำมข้ อนี ้นดกศึ กษำต้ อบะด บปรวเด็นในกำรตอบ
ตำมลำดดบก่ อน มิฉวนด้นะวเขียนักไปันมำ โดยมีปรวเด็นดดบนี ้ ๑. สิ ทธิ
อำศดยแลวสิ ทธิ เหนื อพื น้ ดิ นไม่ บริ บูรณ์ เป็ นทรด พยสิ ทธิ แต่ ใช้ บดบคดบได้
ในฐำนวเป็ นบุ ค คลสิ ท ธิ ๒. ต้ นสด ก ไม่ เป็ นส่ ันคับ ๓. ต้ นสด ก เป็ น
อสด บหำริ มทรด พย์ แต่ กำรขำยต้ นสด กโดยให้ ตด ด ไปเป็ นกำรขำย
สดบหำริ มทรด พย์ ๔. ต้ นมวม่ ับเป็ นส่ ันคับ ๕. ผลมวม่ ับเป็ นดอกผลที่
ยดบไม่ ได้ เก็บเป็ นขอบเะ้ ำขอบต้ นมวม่ ับ
เมื่ อ ะด บ ปรวเด็นได้ แ ล้ ันด ก ศึ ก ษำต้ อ บลอบดู ั่ ำกำรเขี ย นตำม
ปรวเด็นะวักไปันมำหรื อไม่ หำกไม่ มีปดญหำะึบเขียนตอบต่ อไป
ขอให้ สด บ เกตั่ ำ ปรวเด็ น ที่ ๒ ต้ น สด ก ไม่ เ ป็ นส่ ันคับ แต่
ปรวเด็นที่ ๓ ต้ นสด กเป็ นอสด บ หำริ มทรด พ ย์ นดก ศึ ก ษำบำบคนะำสด บสน
โดยตอบั่ ำไม่ เป็ นส่ ันคับแลวไม่ เป็ นอสด บหำริ มทรด พย์ ด้ัย ซึ่ บเป็ น
คำตอบที่ ผิด เพรำวกรณี ขอบส่ ันคับนด้น ถ้ ำเป็ นทรด พย์ ติดกดบที่ ดินซึ่ บผู้
มีสิทธิ ในที่ ดินขอบผู้อื่นใช้ สิทธิ ปลูกไั้ ในที่ ดิน ไม่ ถือั่ ำเป็ นส่ ันคับ
กดบที่ ดินตำมมำตรำ ๑๔๖ แต่ เป็ นทรด พย์ อดนติ ดอยู่กดบที่ ดินอดนมีลดกษณว
เป็ นกำรถำัร ซึ่ บถือั่ ำเป็ นอสดบหำริ มทรด พย์ ตำมมำตรำ ๑๓๙
คำถำมข้ อนี ้มีหลำยปรวเด็นแลวยำก หำกอ่ ำนคำตอบแล้ ัยดบ
สบสด ย โดยเฉพำวในปรวเด็นเรื่ อบผลมวม่ ับขอให้ ดูเพิ่มเติมในหนดบสื อ
28

อธิ บำยปรวมัลกฎหมำยแพ่ บแลวพำณิ ชย์ กฎหมำยลดกษณวทรด พย์ โดย


ศำสตรำะำรย์ ม.ร.ั. เสนี ย์ ปรำโมช ะด ด พิ ม พ์ โ ดยเนติ บดณ ฑิ ต ยสภำ
๒๕๕๑ หน้ ำ ๗๐
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๑๙๓/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๙๖ การที่ผถู้ ือ
ประทานบัตรเหมืองแร่ ปลูกต้นยางพาราลงในที่ดินซึ่ งอยู่ในเขตเหมือง
แร่ ซ่ ึ งเป็ นป่ าสงวนแห่ งชาติ เป็ นการใช้สิทธิ ในฐานะผูถ้ ือประทานบัตร
ตาม พ.ร.บ. เหมืองแร่ ฯ มาตรา ๗๓ ไม่ทาให้ตน้ ยางพาราที่ปลูกไว้เป็ น
ส่ วนควบของที่ ดินตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๖ ต้นยางพารายังคงเป็ น
ทรัพย์สินของโจทก์ผถู ้ ื อประทานบัตร การที่จาเลยกรี ดเอาน้ ายางพารา
จากต้นยางพาราของโจทก์ไปจึงเป็ นความผิดฐานลักทรัพย์
ข้ อสั งเกต คดีนีแ้ ม้ ะวัินิะฉด ยในคดี อำญำ แต่ หลดกกฎหมำยที่ ัินิะฉด ยคื อ
กฎหมำยลดกษณวทรด พย์ ซึ่ บมีปรวเด็นตรบกดบคำถำมข้ อนี ้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๐๒/๒๕๓๕ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๑๙๘ จาเลย
ซื้ อบ้านจากการขายทอดตลาดอย่างสังหาริ มทรั พย์ซ่ ึ งจะต้องรื้ อถอน
ออกไป การซื้ อขายในลักษณะเช่นนี้ ไม่ตอ้ งทาเป็ นหนังสื อจดทะเบียน
ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๕๖ และจาเลยย่อมโอนต่อ
ให้ผรู ้ ้องสอดอย่างการโอนสังหาริ มทรัพย์ได้เช่นเดียวกัน เมื่อจาเลยยก
บ้า นหลัง พิ พ าทให้ ผูร้ ้ อ งสอดโดยเสน่ ห า จึ ง ไม่ ต้อ งจดทะเบี ย นต่ อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ และผูร้ ับโอนย่อมรั บไปทั้งสิ ทธิ และหน้าที่โดย
จะต้องรื้ อถอนบ้านพิพาทออกไป
29

ส่ วนควบ
ข้ อ ๔ คาถาม นายเอกลักไม้ของนายหนึ่ ง ลักปูนและทรายกับ
เสาปู นของนายสองมาปลู ก เป็ นบ้า นแน่ นหนาถาวรติ ดที่ ดินของตน
ต่อมานายเอกขายบ้านให้นายสามโดยให้นายสามรื้ อเอาไป โดยนายเอก
ได้เงินจากนายสาม ๒๐๐,๐๐๐ บาทแล้ว นายสามรื้ อบ้านของนายเอกได้
ไม้และเสาปูนกองไว้หน้าบ้า นที่ ร้ื อ กาลังจะนากลับไปบ้า นของนาย
สาม นายหนึ่งและนายสองอ้างว่าไม้และเสาปูนเป็ นของตน
ให้วนิ ิจฉัยว่า นายหนึ่ง นายสอง และนายสาม ใครมีสิทธิ ในไม้
และเสาปูนดีกว่ากัน
ข้ อ ๔ ค าตอบ การที่ นายเอกลักไม้ของนายหนึ่ ง ลัก ปูนและ
ทรายกับเสาปูนของนายสองมาปลูกบ้านแน่ นหนาถาวรติดที่ดิน เป็ น
กรณีที่บุค คลใดสร้ างโรงเรื อ นในที่ดินของตนด้ วยสั ม ภาระของผู้ อื่น
ท่ า นว่ า บุ ค คลนั้ น เป็ นเจ้ า ของสั ม ภาระ แต่ ต้ อ งใช้ ค่ า สั ม ภาระตาม
ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๑๕ นายเอกจึ ง เป็ น
เจ้ า ของบ้ า นที่ ปลู ก สร้ า งขึ้น เมื่ อ นายเอกเป็ นเจ้ า ของบ้ า น จึ ง มี สิ ท ธิ
จาหน่ ายบ้ านดังกล่าวได้ ตามมาตรา ๑๓๓๖
การที่นายเอกขายบ้านให้นายสามโดยให้นายสามรื้ อเอาไป แม้
บ้ านจะเป็ นอสั งหาริมทรัพย์ แต่ เมื่อเป็ นการขายโดยให้ รื้อเอาไปแสดงว่ า
คู่ สั ญญาเจตนาขายกั น อย่ า งสั งหาริ ม ทรั พ ย์ สั ญญาซื้ อ ขายระหว่ า ง
นายเอกและนายสามมีผลบังคับได้ ระหว่ างคู่ สัญญา หาตกเป็ นโมฆะ
เพราะไม่ ได้ ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ไม่
แม้ว่า นายเอกยัง ไม่ ไ ด้ช าระค่ า สั ม ภาระให้ แก่ นายหนึ่ ง และ
30

นายสองตามมาตรา ๑๓๑๕ แต่ ก็เป็ นเรื่ องที่นายหนึ่งและนายสองต้ อง


ไปว่ ากล่ าวกับนายเอกซึ่ งเป็ นบุคคลสิ ทธิ ระหว่ างนายเอกกับนายหนึ่ ง
และนายสอง การที่นายเอกยังไม่ ช าระค่ า สั ม ภาระดั งกล่ า วหาท าให้
กรรมสิ ทธิ์ของนายเอกหมดไปหรื อทาให้ ไม่ มีอานาจจาหน่ ายจ่ ายโอน
ทรัพย์ไม่
แม้ไม้จะเคยเป็ นของนายหนึ่ งและเสาปูนจะเคยเป็ นของนาย
สอง แต่ เมื่อนายเอกได้ เป็ นเจ้ าของบ้ านดังที่วินิจฉัยมาแล้ ว นายสามซื้อ
บ้ า นมาจากนายเอกซึ่ ง เป็ นเจ้ าของกรรมสิ ท ธิ์ นายสามย่ อ มได้
กรรมสิ ทธิ์ในไม้ และเสาปูนดังกล่ าวตามมาตรา ๑๓๓๖ ประกอบมาตรา
๔๕๘ นายสามจึงมีสิทธิในไม้ และเสาปูนดีกว่ านายหนึ่งและนายสอง
ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนีห้ ำกเปลี่ยนข้ อเท็ะะริ บะำกคำถำมไปเล็กน้ อย ะำก
นำยเอกปลูกบ้ ำนบนที่ ดินขอบตนเอบ เป็ นปลูกบ้ ำนบนที่ ดินขอบผู้อื่น
คำตอบะวเปลี่ยนไปมำก ขอให้ ดูในคำถำมข้ อต่ อไป

ข้ อ ๕ คาถาม นายเอกเช่ าที่ ดินนายโทเพื่อปลู กบ้านพักอาศัย


สองปี หลังจากครบกาหนดสัญญาจะรื้ อไป นายเอกไปลักไม้ของนาย
หนึ่ง ลักปูนและทรายกับเสาปูนของนายสองมาปลูกเป็ นบ้านแน่นหนา
ถาวรติดที่ดิน เมื่อครบกาหนดตามสัญญาเช่านายเอกจึงขายบ้านให้นาย
สามโดยให้ น ายสามรื้ อเอาไป โดยนายเอกได้ เ งิ น จากนายสาม
๒๐๐,๐๐๐ บาท แล้วนายสามรื้ อบ้านของนายเอกได้ไม้และเสาปูนกอง
ไว้หน้าบ้านที่ร้ื อ กาลังจะนากลับไปบ้านของนายสาม นายหนึ่งและนาย
31

สองอ้างว่าไม้และเสาปูนเป็ นของตน
ให้วนิ ิจฉัยว่า นายหนึ่ง นายสอง และนายสาม ใครมีสิทธิ ในไม้
และเสาปูนดีกว่ากัน
ข้ อ ๕ คาตอบ แม้โดยสภาพแห่ งทรัพย์ หรือโดยจารีตประเพณี
แห่ งท้ องถิ่นจะถือว่ าบ้ านเป็ นส่ วนควบของที่ดิน ก็ตาม แต่นายเอกปลูก
บ้านบนที่ดินซึ่ งเช่ ามาจากนายโทสองปี แล้วจะรื้ อไป บ้ านดังกล่ าวจึง
เป็ นทรั พย์ ซึ่งติดกับที่ดินเพียงชั่ วคราวและยังเป็ นโรงเรื อนซึ่ งผู้มีสิทธิ
ในทีด่ ินของผู้อนื่ ใช้ สิทธิน้ ันปลูกสร้ างไว้ ในที่ดินนั้นด้ วย บ้ านที่นายเอก
ปลู ก จึ ง ไม่ เ ป็ นส่ วนควบของที่ ดิ น ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และ
พาณิ ชย์ มาตรา ๑๔๖ (๒ คะแนน)
การที่ นายเอกลักไม้ของนายหนึ่ ง ลักปูนและทรายกับเสาปูน
ของนายสองมาปลูกบ้านแน่ นหนาถาวรติดที่ดิน ไม่ ใช่ กรณีที่บุคคลใด
สร้ างโรงเรื อนในที่ดินของตนด้ วยสั มภาระของผู้อื่นตามมาตรา ๑๓๑๕
เพราะตามมาตราดังกล่าวต้ องเป็ นการสร้ างโรงเรือนในที่ดินของตน แต่
นายเอกไม่ได้สร้ างในที่ดินของตน เพียงแต่เป็ นที่ ดินที่ นายเอกเช่ ามา
จากนายโท (๒ คะแนน)
ตามหลักกฎหมายเรื่องส่ วนควบไม่ ต้องการให้ ทรั พย์ ประธาน
และส่ วนควบต้ องแยกออกจากกัน เพราะจะทาให้ เกิดความเสี ยหายทาง
เศรษฐกิจมากกว่ าให้ คงอยู่ร่วมกัน แต่กรณี การปลูกบ้านของนายเอก
นายเอกไม่ได้นาทรัพย์สินของตนมาปลูก จึงไม่ มีทรัพย์ สินของนายเอก
ที่จะเป็ นทรั พย์ ประธานให้ ส่วนควบอื่นมารวมได้ และไม่ มีกฎหมายที่
จะนามาบังคับใช้ ได้ โดยตรง แต่ เมื่อนายเอกนาไม้ ของนายหนึ่ง ปูนและ
32

ทรายกับเสาปูนของนายสองมาปลูกบ้ าน สามารถนาหลักกฎหมายตาม
มาตรา ๑๓๑๖ กรณีที่เอาสั งหาริ มทรั พย์ ของบุคคลหลายคนมารวมเข้ า
กันจนเป็ นส่ วนควบมาใช้ บังคับโดยอนุ โลมได้ นายหนึ่งและนายสอง
จึ ง เป็ นเจ้ า ของรวมแห่ งบ้ า นที่น ายเอกปลู ก สร้ า ง โดยมี ส่ วนตามค่ า
แห่ งทรั พ ย์ ของตนในเวลาที่รวมเข้ า กับ ทรั พ ย์ อื่น ตามมาตรา ๑๓๑๖
(๒ คะแนน)
การที่ นายเอกขายบ้า นให้นายสามโดยให้นายสามรื้ อเอาไป
แม้ บ้า นจะเป็ นอสั งหาริ ม ทรั พ ย์ แต่เมื่ อเป็ นการขายโดยให้ร้ื อเอาไป
แสดงว่ าคู่สัญญาเจตนาซื้อขายกันอย่ างสั งหาริ มทรั พย์ มิได้ ซื้อขายกัน
อย่ า งอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ สั ญ ญาซื้ อ ขายระหว่ า งนายเอกและนายสาม
จึงมีผลใช้ บังคับกันได้ หาตกเป็ นโมฆะเพราะไม่ ได้ ทาเป็ นหนังสื อและ
จดทะเบี ย นต่ อ พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ไ ม่ (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๓๗๐๒/
๒๕๓๕) (๑ คะแนน)
เมื่อนายหนึ่งและนายสองเป็ นเจ้ าของบ้ าน นายหนึ่งและนาย
สองเท่ านั้นที่สิทธิขายบ้ านดังกล่ าวได้ ตามมาตรา ๑๓๓๖ นายเอกไม่ มี
สิ ทธินาบ้ านไปขาย แม้นายสามจะชาระเงิ นให้แก่นายเอกไปแล้ว แต่ ก็
ไม่ ปรากฏเหตุหรื อพฤติการณ์ พิเศษที่จะทาให้ นายสามได้ กรรมสิ ทธิ์ไม้
และเสาปูนดังกล่ าวได้ นายหนึ่งและนายสองจึงมีสิทธิในไม้ และเสาปูน
ดีกว่านายสาม (๓ คะแนน)
ข้ อสั งเกต ในประเด็นที่ว่าบ้ ำนเป็ นส่ ันคับหรื อไม่ นด้น ศำสตรำะำรย์
ม.ร.ั. เสนี ย์ ปรำโมช แลวรอบศำสตรำะำรย์ ัิริยว นำมศิ ริพ บศ์ พดนธุ์
เห็ นั่ ำ ไม่ เป็ นส่ ันคับ แต่ ศำสตรำะำรย์ บด ญญดติ สุ ชีัว เห็ นั่ ำ เมื่ อ
33

ไม่ ใ ช่ กรณี มำตรำ ๑๓๑๕ ก็ต กเป็ นส่ ันคับ ซึ่ บ ผู้ แ ต่ บ เห็ น ด้ ั ยกด บ
ศำสตรำะำรย์ ม.ร.ั. เสนี ย์แลวรอบศำสตรำะำรย์ ัิริยว เพรำวกำรที่ ะว
พิะำรณำั่ ำเป็ นส่ ันคับหรื อไม่ ะวต้ อบพิะำรณำะำกเรื่ อบัดตถุแห่ บสิ ทธิ
ซึ่ บบดญญดติไั้ ในบรรพ ๑ ส่ ันบทบดญญดติในบรรพ ๔ เป็ นบทบดญญดติใน
เรื่ อบทรด พยสิ ทธิ เมื่อะวพิ ะำรณำั่ ำบ้ ำนเป็ นส่ ันคับขอบที่ ดินหรื อไม่
ะึ บต้ อบพิะำรณำะำกมำตรำ ๑๔๔ แลวมำตรำ ๑๔๖ ส่ ันมำตรำ ๑๓๑๕
เป็ นเรื่ อบที่ ม ำบดญญดติเสริ มให้ ชด ดเะนั่ ำ เมื่ อเป็ นส่ ันคับแล้ ัมี สิ ทธิ
หน้ ำ ที่ กด น อย่ ำ บไร คื อ ถ้ ำ เป็ นส่ ันคับก็ต้ อ บะ่ ำ ยค่ ำ สด ม ภำรวนด่ น เอบ
ประเด็ น ที่ส อง ข้ อเท็ะ ะริ บตำมปด ญ หำไม่ ใ ช่ กรณี ต ำมมำตรำ ๑๓๑๕
ไม่ น่ำะวมีข้อโต้ เถียบ ประเด็นทีส่ าม ไม่ มีตำรำเล่ มใดฟด นธบั่ ำคัระวใช้
มำตรำใด ตำมธบคำตอบที่ ใช้ มำตรำ ๑๓๑๖ เป็ นคัำมเห็นขอบผู้แต่ บเอบ
หำกนดกศึกษำไม่ เห็นด้ ัย ก็มีสิทธิ ที่ะวเห็นต่ ำบได้ คำถำมข้ อนีต้ ้ อบกำร
ัดดั่ ำนดกศึกษำอ่ ำนหนดบสื อกดนมำเพียบใด แต่ ผ้ ทู ี่ ตอบั่ ำเป็ นกรณี มำตรำ
๑๓๑๕ ผู้ แต่ บก็ ม อบั่ ำมี เ หตุ ผ ลใช้ ได้ ปรวเด็ น ที่ สี่ เรื่ อบกำรซื ้ อ
อสด บหำริ มทรด พย์ โดยเะตนำรื ้ อไป ไม่ ต้อบะดทวเบียน ธบคำตอบตำมคำ
พิพำกษำฎีกำที่ ๓๗๐๒/๒๕๓๕ ประเด็นสุ ดท้ าย ถ้ ำตอบปรวเด็นที่ สำม
มำคนลวทำบ ปรวเด็นสุดท้ ำยก็ต้อบไปอีกทำบ ผิดธบไม่ ศูนย์ ปรวเด็นนี ้
ตั ว อย่ า งค าตอบที่ ๑ ทรั พ ย์ ที่ ติ ด กั บ ที่ ดิ น หรื อโรงเรื อน
เพียงชัว่ คราวไม่ถือว่าเป็ นส่ วนควบกับที่ ดินหรื อโรงเรื อนที่ ทรัพย์น้ นั
ขึ้ นอยู่ ซึ่ ง รวมถึ งผูม้ ี สิ ทธิ ในที่ ดินของผูอ้ ื่ นใช้สิท ธิ น้ ันปลู ก สร้ างด้วย
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๔๖ เมื่อนายเอกมีสิทธิ
ในที่ดินของนายโทตามสัญญาเช่ า ปลูกบ้านอาศัยมีกาหนดสองปี แล้ว
34

จะรื้ อออกไป (ไม่ ได้ ตอบเรื่องติดทีด่ ินชั่ วคราวถูกตัดคะแนนประเด็นนี้)


จึ งเป็ นกรณี ที่นายเอกผูม้ ี สิท ธิ ในที่ ดินของผูอ้ ื่ นใช้สิทธิ น้ ันปลู ก สร้ า ง
บ้า นหลัง ดัง กล่ าวจึ ง หาตกเป็ นส่ วนควบกับที่ ดินของนายโทไม่ ตาม
มาตรา ๑๔๖ ประกอบมาตรา ๑๔๔ (๑.๕ คะแนน จาก ๒ คะแนน)
การที่นายเอกไปลักไม้ของนายหนึ่ง ลักปูน ทราย และเสาปูน
ของนายสองมาปลูกสร้างโรงเรื อนของตน อันเป็ นการเอาสัมภาระของ
ผูอ้ ื่นมาปลูกสร้างโรงเรื อนในที่ดินของตน (ในสิ ทธิ ตามสัญญาเช่า) ซึ่ ง
ผูน้ ้ ัน เป็ นเจ้า ของสั ม ภาระแต่ ต้องใช้ค่ า สั ม ภาระ ตามมาตรา ๑๓๑๕
โรงเรื อนจึ งเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของนายเอก แต่นายเอกต้องใช้ค่าสัมภาระ
ค่ า ไม้ค่ า ปู น ทรายและเสาปู น ให้ แ ก่ น ายหนึ่ ง และนายสอง (ให้ ห ลัก
กฎหมาย ๐.๕ คะแนน จาก ๒ คะแนน)
นายเอกในฐานะเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ โรงเรื อน ย่อมมีสิทธิ ใช้สอย
และจาหน่ายทรัพย์สินของตนได้ตามมาตรา ๑๓๓๖ นายเอกย่อมมีสิทธิ
จาหน่ า ยโรงเรื อ นของตนให้ แก่ นายสามได้ (ผิด ธงแต่ ให้ ๑ คะแนน
เพราะหลักกฎหมายถูก) เมื่อไม้และเสาปูนอันเป็ นสังหาริ มทรัพย์ของ
นายหนึ่ งและนายสองได้แปรสภาพกลายเป็ นโรงเรื อนซึ่ งเป็ นอสังหา-
ริ มทรัพย์ไปแล้ว ไม้และเสาปูนจึงสิ้ นสภาพการเป็ นสังหาริ มทรัพย์ เมื่อ
นายสามซื้ อโรงเรื อนของนายเอกไปแม้จะซื้ อโดยการรื้ อไปอันเป็ นการ
ซื้ อขายอย่างสังหาริ มทรัพย์ก็ตาม (๑ คะแนน) ไม้และเสาปูนจึงตกเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ ของนายสามในฐานะผูซ้ ้ื อ ดังนั้นนายสามย่อมมีสิทธิ ในไม้
และเสาปูนดีกว่านายหนึ่งและนายสองในฐานะเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ย่อมมี
สิ ทธิ ขดั ขวางมิให้บุคคลอื่นสอดเข้าเกี่ ยวข้องกับทรัพย์สินของตนโดย
35

มิ ชอบด้วยกฎหมายได้ ตามมาตรา ๑๓๓๖ (ตามประเด็ น ได้ รวม ๔


คะแนน แต่ ในภาพรวมถือว่ ารู้ ในหลักกฎหมายแล้ ว ข้ อนี้ให้ ๕ คะแนน
ข้ อนีท้ าได้ คะแนนน้ อยอย่าตกใจ เพราะข้ อนีย้ ากมาก ๆ)
ตัวอย่างคาตอบที่ ๒ นายเอกเช่าที่ดินนายโทเพื่อปลูกบ้านอาศัย
สองปี หลังจากครบกาหนดสัญญาจะรื้ อไป เป็ นกรณี ที่นายเอกได้สิทธิ
ในที่ ดินของนายโทมา โดยมี สิท ธิ ใช้สอยที่ ดินเช่ าเพื่ อปลู กบ้าน เป็ น
ระยะเวลาสองปี ก่อนที่สัญญาเช่าจะครบกาหนด และเมื่อสัญญาระบุว่า
เป็ นสัญญาเช่ าเพื่อปลูกบ้าน ทั้งหลังจากครบกาหนดสัญญา จะรื้ อบ้าน
ออกไป บ้านจึงไม่ตกเป็ นส่ วนควบของที่ดิน เพราะเป็ นเพียงทรัพย์สิน
อันประกอบติดอยูก่ บั ที่ดินเป็ นการชัว่ คราวดังการแสดงเจตนาของนาย
เอกและนายโทในสัญญาดังกล่าวมาแล้ว (ไม่ ได้ ตอบเรื่ องปลูกโรงเรื อน
ในทีด่ ินผู้อนื่ โดยมีสิทธิ ให้ เพียง ๑.๕ คะแนน จาก ๒ คะแนน)
การที่ นายเอกไปลักไม้ของนายหนึ่ ง ลักปูนและทรายกับเสา
ปูนของนายสองมาปลูกเป็ นบ้านแน่นหนาถาวรติดที่ดิน เป็ นกรณี ที่ ี่นาย
เอก นาสัมภาระของผูอ้ ื่นมาปลูกสร้างโรงเรื อนในที่ดินที่ตนมีสิทธิ ซึ่ ง
กฎหมายให้นายเอกได้กรรมสิ ทธิ์ ในโรงเรื อนนั้น แต่ตอ้ งใช้ค่าสัมภาระ
ให้นายหนึ่งและนายสอง และแม้นายเอกจะเอาเสาและปูนมาปลูกเป็ น
บ้านแน่นหนาถาวรติดที่ดินหรื อไม่ ก็ไม่เป็ นสาระสาคัญ (๐.๕ คะแนน
จาก ๒ คะแนน)
เมื่อครบกาหนดตามสัญญาเช่านายเอกจึงขายบ้านให้นายสาม
โดยให้นายสามรื้ อเอาไป โดยนายเอกได้เงิ นจากนายสาม ๒๐๐,๐๐๐
บาท แล้วนายสามรื้ อบ้านของนายเอกได้ไม้และเสาปูนกองไว้หน้าบ้าน
36

ที่ร้ื อ เป็ นกรณี ที่นายเอกเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ในบ้านอันประกอบไปด้วย


เสาและปูน ได้โอนกรรมสิ ทธิ์ ในบ้านนั้นให้แก่ นายสาม ซึ่ งเป็ นสิ ทธิ
โดยชอบของเจ้าของทรัพย์สินที่ จะโอนกรรมสิ ทธิ์ ในทรั พย์สินให้แก่
ผูอ้ ื่นได้ และเมื่อกรรมสิ ทธิ์ ได้โอนไปยังนายสามแล้ว นายสามย่อมมี
สิ ท ธิ โ ดยชอบในอัน ที่ จ ะรื้ อบ้า นออกมาเป็ น เสาและปู น อัน เป็ น
สังหาริ มทรัพย์ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป (๒ คะแนน)
การที่นายหนึ่ งและนายสองอ้างว่าไม้และเสาปูนเป็ นของตน
จึ ง เป็ นการอ้า งสิ ท ธิ ที่ ต นไม่ มี แ ล้ว เพราะเสาและปู น นั้น ได้ต กเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ ของนายสามดังได้วินิจฉัยมาแล้ว นายสามย่อมมีสิทธิ ในเสา
และปู น ดี ก ว่ า นายหนึ่ งและนายสอง (รวมตามประเด็ น ได้ ร วม ๔
คะแนน แต่ ในภาพรวมถือว่ ารู้ ในหลักกฎหมายแล้ ว ข้ อนี้ให้ ๕ คะแนน
เท่ากับคนแรก)
37

ข้ อ ๖ คาถาม นายเอกปลูกบ้านบนที่ดินมีโฉนดของตน โดย


นายเอกมีชื่อเป็ นเจ้าบ้านในทะเบียนบ้าน ต่อมานายเอกจดทะเบียนโอน
ที่ดินให้แก่นายโทโดยไม่ได้ระบุเกี่ยวกับบ้านที่ปลูกอยูบ่ นที่ดินดังกล่าว
แล้วนายเอกได้แจ้งเปลี่ ยนชื่ อเจ้าบ้านหลังดังกล่าวกับทางราชการให้
นายตรี เป็ นเจ้าบ้านแทนตน นายโทจดทะเบียนขายที่ดินดังกล่าวให้แก่
นายจัตวาโดยระบุว่าขายเฉพาะที่ดินเท่านั้นไม่รวมบ้าน และในเย็นวัน
เดียวกันนายโทยกบ้านให้แก่นายเบญจเพื่อรื้ อถอนเอาไปปลูกสร้างใหม่
โดยมิ ไ ด้ท าสั ญญาเป็ นหนัง สื อ ขณะที่ นายเบญจก าลัง รื้ อบ้า นอยู่น้ ัน
นายดาขับรถบรรทุ กน้ ามันโดยประมาทเสี ยหลักพุ่งเข้าชนบ้านไฟลุ ก
ท่วมบ้านดังกล่าวจนหมด นายเอก นายโท นายตรี นายจัตวา และนาย
เบญจ ต่ า งอ้า งว่ า บ้า นที่ ถู ก ไฟไหม้เ ป็ นของตนขอให้ น ายด าชดใช้
ค่าเสี ยหาย
ให้วนิ ิจฉัยว่า ใครมีสิทธิ ได้รับค่าเสี ยหายจากนายดา
ข้ อ ๖ คาตอบ นายเอกปลูกบ้านบนที่ดินมีโฉนดของตนซึ่ งโดย
สภาพแห่ งทรัพย์หรือโดยจารีตประเพณีแห่ งท้ องถิ่นเป็ นสาระสาคัญใน
ความเป็ นอยู่ของทรัพย์ น้ ัน และไม่ อาจแยกจากกันได้ นอกจากจะทาลาย
ทาให้ บุบสลาย หรื อทาให้ ทรั พย์ น้ ั นเปลี่ยนแปลงรู ปทรงหรื อสภาพไป
บ้ านจึงเป็ นส่ วนควบของที่ดิน และเจ้ าของที่ดินซึ่ งเป็ นทรัพย์ ประธาน
ย่ อมมีก รรมสิ ทธิ์ใ นบ้ านซึ่ งเป็ นส่ วนควบตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๔๔ กรรมสิ ทธิ์ในบ้ านดังกล่าวจึงเป็ นของนายเอก
นายเอกจดทะเบี ย นโอนที่ ดิ น ให้ แ ก่ น ายโทโดยไม่ ไ ด้ร ะบุ
เกี่ ยวกับบ้านที่ปลู กอยู่บนที่ดินดังกล่ าว แม้นายตรี จะมีชื่อเป็ นเจ้าบ้าน
38

แต่ น ายโทเป็ นเจ้ า ของที่ ดิ น ซึ่ ง เป็ นทรั พ ย์ ป ระธาน นายโทย่ อ มได้
กรรมสิ ท ธิ์ บ้ า นซึ่ ง เป็ นส่ วนควบด้ ว ยตามมาตรา ๑๔๔ วรรคสอง
กรรมสิ ท ธิ์ ใ นบ้ า นจึ ง เป็ นของนายโท (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๗๒๓/
๒๕๕๑)
นายโทจดทะเบียนขายที่ดินดังกล่าวให้แก่นายจัตวาโดยระบุวา่
ขายเฉพาะที่ดินเท่านั้นไม่รวมบ้าน บ้ านจึงไม่ เป็ นส่ วนควบของที่ดินอีก
ต่ อไป กรรมสิ ทธิ์ในบ้ านจึงยังเป็ นของนายโท (เทียบคาพิพากษาฎีกาที่
๕๙๖๒/๒๕๕๑)
นายโทยกบ้ า นให้ แ ก่ น ายเบญจเพื่ อ รื้ อถอนเอาไปปลู ก
สร้างใหม่โดยมิได้ทาสัญญาเป็ นหนังสื อ เป็ นการยกให้ ในลักษณะที่เป็ น
สั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ไ ม่ ใช่ อสั งหาริ ม ทรั พ ย์ การยกให้ บ้ า นที่ เ กิ ด เหตุ
จึ ง สมบู ร ณ์ โดยไม่ ต้ อ งทาเป็ นหนั งสื อ และจดทะเบี ย นต่ อ พนั กงาน
เจ้ าหน้ าที่ ต ามมาตรา ๔๕๖ วรรคหนึ่ ง ประกอบมาตรา ๕๒๕
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๙๖๒/๒๕๕๑)
ขณะที่นายเบญจกาลังรื้ อบ้านอยูน่ ้ นั ถือว่ าการให้ สมบูรณ์ แล้ ว
เพราะนายโทได้ ส่ งมอบบ้ า นให้ แก่ นายเบญจแล้ ว ตามมาตรา ๕๒๓
กรรมสิ ทธิ์ในบ้ านดังกล่าวจึงเป็ นของนายเบญจ
นายดาขับรถบรรทุกน้ ามันโดยประมาทเสี ยหลักพุง่ เข้าชนบ้าน
ที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของนายเบญจจนไฟลุกท่วมบ้านดังกล่าวจนหมด นาย
เบญจซึ่ งเป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์บ้านดังกล่ าวจึงมีสิทธิได้ รับค่ าเสี ยหาย
จากนายดา
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๒๓/๒๕๕๑ ฎ.๑๑๗๘ บ้านพิพาทอยู่ใน
39

ที่ดินที่ ท. จดทะเบียนยกกรรมสิ ทธิ์ ให้ ด. บุตรจาเลยโดยมิได้ระบุวา่ ยก


ให้ แ ต่ ที่ ดิ น มิ ไ ด้ย กบ้า นพิ พ าทให้ ด้ว ย ด. ซึ่ งเป็ นเจ้า ของที่ ดิ น จึ ง มี
กรรมสิ ทธิ์ ในบ้านพิพาทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา
๑๔๔ แม้จาเลยจะมีชื่ออยูใ่ นสาเนาทะเบียนบ้านพิพาทในฐานะเจ้าบ้าน
ก็มิใช่ผมู ้ ีกรรมสิ ทธิ์ ในบ้านพิพาทตามกฎหมาย การที่โจทก์ให้จาเลยรื้ อ
ถอนบ้านพิพาทส่ วนที่รุกล้ าออกไป แต่จาเลยมิได้ปฏิ บตั ิตาม โจทก์จึง
ฟ้ องจาเลยไม่ได้ เนื่ องจากจาเลยมิได้เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ บ้านพิพาท
แม้จาเลยจะอยู่ในบ้านพิพาทด้วย ก็ถือว่าอยู่ในฐานะบริ วารของ ด.
จาเลยไม่ได้เป็ นผูโ้ ต้แย้งสิ ทธิ โจทก์ โจทก์ไม่มีอานาจฟ้ องจาเลย และ
จาเลยก็ไม่มีอานาจฟ้ องแย้งโจทก์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๙๖๒/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๓๓ น. ยกให้
เฉพาะที่ดินที่ปลูกบ้านที่เกิดเหตุให้แก่ บ. โดยไม่รวมบ้าน และยกบ้าน
ที่เกิ ดเหตุให้แก่โจทก์เพื่อให้ร้ื อถอนเอาไปปลูกสร้ างใหม่ บ้านเกิดเหตุ
จึ ง ไม่ ใ ช่ ส่ ว นควบของที่ ดิ น และเป็ นการยกให้ ใ นลัก ษณะสั ง หา-
ริ มทรัพย์ไม่ใช่ อสังหาริ มทรัพย์ การยกให้บา้ นเกิ ดเหตุจึงสมบูรณ์ โดย
หาจาต้องท าเป็ นหนัง สื อและจดทะเบี ย นต่ อ พนัก งานเจ้า หน้า ที่ ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๔๕๖ วรรคหนึ่ง

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๔๔


คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๓๗/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๖ น. ๘๔ แม้ในการ
ซื้ อขายสิ่ งปลูกสร้างพิพาท ผูร้ ้องกับจาเลยมิได้จดทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่ แต่สิ่งปลูกสร้ างนี้ อยู่บนที่ดินโฉนดเลขที่ ๗๔๑๒ ซึ่ งจาเลย
40

ทาหนังสื อสัญญาและจดทะเบียนขายฝากให้แก่ ผรู ้ ้ องแล้ว กรรมสิ ทธิ์


ในที่ดินย่อมตกเป็ นของผูร้ ้ อง เมื่อบ้านเลขที่ ๕๐ อยู่บนที่ ดินดังกล่ าว
มาก่ อน และจาเลยยังได้ทาหนังสื อสัญญาโอนสิ่ งปลูกสร้ างนั้นให้แก่
ผูร้ ้ องด้วย สิ่ ง ปลู กสร้ า งจึ ง เป็ นส่ วนควบของที่ ดินซึ่ ง ป.พ.พ. มาตรา
๑๔๔ วรรคสอง บัญญัติว่า เจ้าของทรัพย์ยอ่ มมีกรรมสิ ทธิ์ ในส่ วนควบ
ของทรั พ ย์น้ ัน เช่ น นี้ การที่ โ จทก์ น ายึ ด สิ่ ง ปลู ก สร้ า งดัง กล่ า วย่ อ ม
เป็ นการโต้แย้งสิ ทธิ ของผูร้ ้องในฐานะเจ้าของทรัพย์ ผูร้ ้องจึงมีอานาจ
ยืน่ คาร้องขอให้ปล่อยทรัพย์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๐๕/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๕ น. ๑๒๕ แม้การ
ที่ น. ยกบ้านพิพาทให้โจทก์จะไม่สมบูรณ์ เพราะมิได้ทาเป็ นหนังสื อ
และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิ ชย์ มาตรา ๕๒๕ แต่ต่อมาโจทก์ได้รับการจดทะเบียนยกให้ที่ดิน
โฉนดเลขที่ ๑๒๐๕๗ ซึ่ งบ้านพิพาทปลูกอยู่ ย่อมทาให้บา้ นพิพาทตก
เป็ นส่ วนควบของที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๒๐๕๗ ทันที โจทก์ซ่ ึ งเป็ นเจ้าของ
ที่ดินจึงมี กรรมสิ ทธิ์ ในบ้านพิพาทตามมาตรา ๑๔๔ ส่ วนการที่ น. ทา
พินยั กรรมเอกสารฝ่ ายเมืองยกบ้านพิพาทให้จาเลยไว้ก่อน ต่อมา น. ยก
บ้านพิพาทให้โจทก์ระหว่างที่ น. ยังมี ชีวิตอยู่ จึ งทาให้ขอ้ กาหนดใน
พินัยกรรมเอกสารฝ่ ายเมืองเป็ นอันเพิกถอนไป เพราะบ้านพิพาทตก
เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของโจทก์ไปก่อนที่ขอ้ กาหนดในพินยั กรรมเอกสารฝ่ าย
เมืองจะมีผลใช้บงั คับ บ้านพิพาทจึงเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของโจทก์
41

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๔๖


คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๕๗๗/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล.๓ น.๑๕๗ จาเลย
ปลู กสร้ างบ้านบนที่ดินที่ โจทก์เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวม โดยได้รับ
อนุ ญาตจากโจทก์ บ้านที่จาเลยปลูกสร้ างย่อมไม่ใช่ ส่วนควบของที่ดิน
ที่ โจทก์มี ก รรมสิ ท ธิ์ รวมตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๔ ประกอบมาตรา
๑๔๑๐ โจทก์ไม่มีกรรมสิ ทธิ์ ในบ้านที่จาเลยสร้างขึ้นใหม่ บ้านดังกล่าว
ยังคงเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของจาเลย แต่การที่ จาเลยปลูกสร้ างบ้านบนที่ดิน
ที่โจทก์มีกรรมสิ ทธิ์ รวม ย่อมเป็ นการก่ อให้เกิ ดสิ ทธิ เหนื อพื้นดิ นเป็ น
คุณแก่จาเลย แต่สิทธิ เหนื อพื้นดินดังกล่าวไม่ได้ทาเป็ นหนังสื อและจด
ทะเบี ย นการได้ ม ากับ พนัก งานเจ้า หน้ า ที่ จึ ง เป็ นเพี ย งบุ ค คลสิ ท ธิ
ระหว่างโจทก์เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมกับจาเลย เมื่ อสิ ทธิ เหนื อพื้นดิ น
ดังกล่าวไม่มีกาหนดเวลา โจทก์บอกเลิกได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๑๓
โดยการบอกกล่าวล่วงหน้าแก่จาเลยตามสมควร
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๐๘๔/๒๕๕๐ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๑๗๙ บ้านที่
โจทก์ปลูกสร้างขึ้นในที่ดินพิพาทของ พ. กับ ศ. ซึ่ งเป็ นบิดามารดาโดย
ได้รับความยินยอมจาก พ. กับ ศ. จึ ง เป็ นเรื่ องบุ ตรได้สิท ธิ ปลู กสร้ า ง
โรงเรื อนในที่ดินของบิดามารดา จึงเป็ นการปลูกสร้างโรงเรื อนหรื อการ
ปลูกสร้างอย่างอื่นซึ่ งผูม้ ีสิทธิ ในที่ดินของผูอ้ ื่นใช้สิทธิ น้ นั ปลูกสร้างไว้
ในที่ดินนั้นด้วย ย่อมไม่ตกเป็ นส่ วนควบของที่ดินพิพาทตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๔๖ บ้านทรงบังกะโลซึ่ งโจทก์ต่อเติมขึ้นภายหลัง ย่อมไม่ตก
เป็ นส่ วนควบของที่ดินพิพาทของจาเลยซึ่ งได้รับโอนมาโดยพินยั กรรม
ของ ศ. เช่นกัน
42

การคุ้มครองบุคคลภายนอกผู้สุจริตและเสี ยค่ าตอบแทน


ตามกฎหมายลักษณะทรัพย์สิน เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ เป็ นผูม้ ีสิทธิ
จาหน่ ายจ่ายโอนทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา
๑๓๓๖ กล่าวคือ ผูร้ ับโอนทรัพย์มาจากเจ้าของจะได้กรรมสิ ทธิ์ แต่ถ้า
รั บ โอนทรั พ ย์ ม าจากบุ ค คลที่ ไ ม่ ใ ช่ เ จ้ า ของ ผู ้รั บ โอนก็ จ ะไม่ ไ ด้
กรรมสิ ท ธิ์ ซึ่ ง ก็ ตรงกับ หลัก กฎหมายทัว่ ไปที่ ว่า ผูร้ ั บ โอนไม่ มี สิ ท ธิ
ดี กว่าผูโ้ อน หากใช้หลักกรรมสิ ทธิ์ หรื อหลักผูร้ ับโอนไม่มีสิทธิ ดีกว่า
ผูโ้ อนโดยเคร่ งครั ด บางกรณี บุคคลภายนอกผูไ้ ด้รับโอนทรั พย์สินมา
โดยสุ จริ ตและเสี ยค่าตอบแทนจะไม่ได้รับความเป็ นธรรม จึงจาเป็ น
ต้อ งมี ห ลัก กฎหมายเพื่ อ คุ ้ม ครองบุ ค คลภายนอกที่ สุ จ ริ ตและเสี ย
ค่าตอบแทนโดยก าหนดเงื่ อนไขบางประการขึ้ น กล่ า วคื อ แม้บุ คคล
ภายนอกผูไ้ ด้รั บ โอนทรั พ ย์สิ น มาจากบุ ค คลที่ ไ ม่ ใ ช่ เ จ้า ของ แต่ ถ้า
บุ ค คลภายนอกสุ จ ริ ตและเสี ย ค่ า ตอบแทน กับ เป็ นไปตามเงื่ อ นไข
ที่กฎหมายกาหนด บุคคลภายนอกจะมีสิทธิ ในทรัพย์ดีกว่าผูโ้ อน โดย
ไม่ นาหลัก กรรมสิ ท ธิ์ หรื อหลัก ผูร้ ั บ โอนไม่ มี สิ ท ธิ ดีก ว่า ผูโ้ อน มาใช้
บังคับ
หลักกฎหมายคุม้ ครองบุคคลภายนอกที่สาคัญมีสองระบบ คือ
หลักกฎหมายคุม้ ครองบุคคลภายนอกของระบบประมวลกฎหมาย เช่น
กฎหมายของประเทศเยอรมัน และหลัก กฎหมายคุ ้ม ครองบุ ค คล
ภายนอกของระบบกฎหมายประเพณี เช่น กฎหมายของประเทศอังกฤษ
ส าหรั บ หลัก กฎหมายคุ ้ม ครองบุ ค คลภายนอกตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ของประเทศไทยได้นาหลักกฎหมายคุม้ ครอง
43

บุ ค คลภายนอกของทั้ง สองระบบมาใช้ กล่ า วคื อ นาระบบประมวล


กฎหมาย กรณี อสังหาริ มทรัพย์บญั ญัติไว้ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง
และกรณี สัง หาริ มทรัพ ย์บญ ั ญัติไ ว้ตามมาตรา ๑๓๐๓ ส าหรั บระบบ
กฎหมายประเพณี บญั ญัติไว้ตามมาตรา ๑๓๒๙ ถึงมาตรา ๑๓๓๒
หลักกฎหมายคุ ม้ ครองบุคคลภายนอก กรณี อสังหาริ มทรัพ ย์
ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง จะคุ ม้ ครองบุคคลภายนอกผูไ้ ด้สิทธิ มา
โดย (๑) เสี ยค่าตอบแทน (๒) โดยสุ จริ ต และ (๓) ได้จดทะเบียนสิ ทธิ
โดยสุ จ ริ ตแล้ว ซึ่ งจะต้อ งครบหลัก เกณฑ์ ดัง กล่ า วทั้ง ๓ ประการ
หากขาดประการใดประการหนึ่ งไปบุคคลภายนอกก็จะไม่ได้รับความ
คุม้ ครอง เหตุที่กฎหมายให้ความคุม้ ครองบุคคลภายนอกที่ได้สิทธิ ใน
อสังหาริ มทรัพย์ทางทะเบียนมาโดยสุ จริ ตและเสี ยค่าตอบแทน ก็เพราะ
การแสดงออกถึงความเป็ นเจ้าของอสังหาริ มทรัพย์ที่น่าเชื่อถือที่สุดก็คือ
การมีชื่อในทะเบียน หากคนที่เป็ นเจ้าของไม่มีชื่อในทะเบียน ก็ควรจะ
รี บ ด าเนิ น การให้ ต นมี ชื่ อ ในทะเบี ย นเสี ย การที่ เ จ้า ของละเลยไม่
ดาเนินการให้ตนมีชื่อทางทะเบียน จนมีบุคคลภายนอกผูไ้ ด้สิทธิ มาโดย
เสี ย ค่ า ตอบแทนโดยสุ จ ริ ต และได้จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ โ ดยสุ จ ริ ต แล้ว
เจ้าของที่แท้จริ งก็ไม่อาจยกสิ ทธิ ของตนขึ้นต่อสู ้บุคคลภายนอกได้ตาม
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง เช่น นาย ก. ครอบครองปรปั กษ์ที่ดินมีโฉนด
ของนาย ข. ครบ ๑๐ ปี นาย ก. ได้ ก รรมสิ ทธิ์ ในที่ ดิ น ทัน ที เ มื่ อ
ครอบครองปรปั กษ์ครบ ๑๐ ปี ตามมาตรา ๑๓๘๒ ซึ่ งเป็ นการได้มาซึ่ ง
อสังหาริ มทรัพย์โดยผลของกฎหมาย แม้ในโฉนดที่ดินจะมีชื่อนาย ข.
เป็ นเจ้าของ แต่กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินดังกล่าวก็ตกเป็ นของนาย ก. ไปเสี ย
44

แล้ว เมื่อนาย ก. เป็ นเจ้าของที่ ดินแต่นาย ก. ไม่มีชื่อเป็ นเจ้าของที่ ดิน


ตามโฉนด นาย ก. ก็ควรจะรี บไปยื่นคาร้ องขอต่อศาล ให้ศาลมีคาสั่ง
แสดงกรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดิ น ของนาย ก. และเมื่ อ ศาลมี ค าสั่ ง แสดง
กรรมสิ ท ธิ์ แล้ว นาย ก. ก็ ส ามารถน าค าสั่ ง ศาลไปจดทะเบี ย นสิ ท ธิ
เปลี่ยนชื่อเจ้าของจากนาย ข. มาเป็ นของนาย ก. ได้ หากนาย ก. ละเลย
ไม่ยื่นคาร้ องขอต่อศาล ต่อมานาย ข. จดทะเบียนโอนขายที่ ดินให้แก่
นาย ค. หากนาย ค. เสี ยค่าตอบแทนโดยสุ จริ ต และได้จดทะเบียนสิ ทธิ
โดยสุ จ ริ ต แล้ว นาย ก. ไม่ อ าจยกการได้ม าซึ่ งกรรมสิ ท ธิ์ โดยการ
ครอบครองปรปั ก ษ์ ย นั ต่ อ นาย ค. ได้ เพราะนาย ก. เป็ นเพี ย งผูไ้ ด้
อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์โ ดยทางอื่ น นอกจากนิ ติ ก รรมที่ ย งั ไม่ จ ดทะเบี ย น
หลักกฎหมายคุม้ ครองบุคคลภายนอก กรณี สังหาริ มทรัพย์ตาม
มาตรา ๑๓๐๓ จะคุ ม้ ครองบุคคลภายนอกผูไ้ ด้สิทธิ มาโดยการส่ งผ่าน
การครอบครองโดยถู ก ต้องที่ สุ จ ริ ต และเสี ย ค่ า ตอบแทนตามมาตรา
๑๓๐๓ วรรคหนึ่ ง บัญญัติว่า ถ้าบุคคลหลายคนเรี ยกเอาสังหาริ มทรัพย์
เดียวกัน โดยอาศัยหลักกรรมสิ ทธิ์ ต่างกันไซร้ ท่านว่าทรัพย์สินตกอยูใ่ น
ครอบครองของบุคคลใด บุคคลนั้นมีสิทธิ ยิ่งกว่าบุคคลอื่น ๆ แต่ตอ้ งได้
ทรั พ ย์น้ ันมาโดยมี ค่ า ตอบแทนและได้ก ารครอบครองมาโดยสุ จริ ต
มาตรา ๑๓๐๓ วรรคสอง บัญ ญัติ ว่า ท่ า นมิ ใ ห้ ใ ช้ม าตรานี้ บัง คับ ถึ ง
สั ง หาริ ม ทรั พ ย์ซ่ ึ งระบุ ไ ว้ใ นมาตราก่ อ นในเรื่ อ งทรั พ ย์สิ น หาย กับ
ทรัพย์สินที่ได้มาโดยการกระทาผิด เหตุที่กฎหมายให้ความคุ ม้ ครอง
บุคคลภายนอกผูไ้ ด้สิทธิ มาโดยการส่ งผ่านการครอบครองโดยถูกต้องที่
สุ จริ ตและเสี ยค่าตอบแทน ก็เพราะการแสดงออกถึ งความเป็ นเจ้าของ
45

สังหาริ มทรัพย์ที่น่าเชื่ อถือที่สุดก็คือการครอบครอง ดังนั้น หากเจ้าของ


ที่แท้จริ งมอบการครอบครองให้แก่ผอู ้ ื่น เป็ นกรณี ที่เจ้าของทรัพย์ทาให้
บุคคลภายนอกมีเหตุอนั ควรเชื่ อว่าผูค้ รอบครองเป็ นเจ้าของ หากบุคคล
ภายนอกได้ทรัพย์ไปโดยสุ จริ ตและเสี ยค่าตอบแทน บุคคลภายนอกก็จะ
ได้รับความคุม้ ครองตามมาตรา ๑๓๐๓ หากเจ้าของทรัพย์ได้รับความ
เสี ยหายก็ตอ้ งไปเรี ยกร้องเอาจากบุคคลที่ตนมอบการครอบครองให้ ซึ่ ง
ตรงกับสุ ภาษิตกฎหมายที่วา่ ระหว่างผูส้ ุ จริ ตด้วยกัน ผูป้ ระมาทเลินเล่อ
ย่อมเสี ยเปรี ยบ กล่ าวคื อเจ้า ของประมาทตรงที่ ไ ว้ใจคนผิด เมื่อไว้ใ จ
บุคคลใดก็ตอ้ งไปเรี ยกค่าเสี ยหายจากบุคคลนั้น ไม่ใช่ ไปทาให้บุคคล
ภายนอกที่สุจริ ตและเสี ยค่าตอบแทนเสี ยหาย
หากคิดตามหลักของระบบประมวลกฎหมาย มาตรา ๑๓๐๓
วรรคหนึ่ ง จะคุ ม้ ครองเฉพาะการส่ งผ่านการครอบครองโดยถู ก ต้อง
ก็ คื อ การโอนการครอบครองให้ แ ก่ ก ัน เช่ น นาย ก. ให้น าย ข. ยื ม
หนังสื อไป แล้วนาย ข. นาหนังสื อไปขายให้นาย ค. กรณี น้ ี ถือว่าการ
ส่ งผ่านการครอบครองโดยถูกต้องเพราะนาย ก. โอนการครอบครองให้
นาย ข. นาย ค. จึงได้รับความคุม้ ครองตามมาตรา ๑๓๐๓ วรรคหนึ่ ง แต่
ถ้าเป็ นการแย่งการครอบครองไม่ถือว่าเป็ นการส่ งผ่านการครอบครอง
โดยถูกต้อง เช่น นายหนึ่ งลักหนังสื อของนายสองไป แล้วนายหนึ่ งนา
หนังสื อไปขายให้นายสาม กรณี น้ ี ไม่ถือว่าการส่ งผ่านการครอบครอง
โดยถูกต้อง เพราะนายหนึ่ งลักไป เป็ นการแย่งการครอบครองจากนาย
สอง นายสามจึงไม่ได้รับความคุ ม้ ครองตามมาตรา ๑๓๐๓ วรรคหนึ่ ง
เพราะเป็ นทรัพย์สินที่ ได้มาโดยการกระทาผิดตามมาตรา ๑๓๐๓ วรรค
46

สอง จากที่ ก ล่ า วถึ ง หลั ก กฎหมายคุ ้ ม ครองบุ ค คลภายนอกกรณี


สังหาริ มทรัพย์ตามมาตรา ๑๓๐๓ ว่าจะคุ ม้ ครองบุ คคลภายนอกผูไ้ ด้
สิ ท ธิ ม าโดยการส่ ง ผ่า นการครอบครองโดยถู ก ต้อ งที่ สุ จริ ต และเสี ย
ค่าตอบแทน เป็ นหลักทางทฤษฎี แต่ในทางปฏิบตั ิแล้วศาลฎีกามิได้เห็น
ด้วยกับหลักที่กล่าวมาแล้วเนื่องจากศาลฎีกาเคยตัดสิ นคดีที่ นาย ก. ฝาก
หนังสื อไว้กบั นาย ข. แล้วนาย ข. นาหนังสื อไปขายให้นาย ค. ศาลฎีกา
ตัดสิ นว่า นาย ค. ไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ เพราะเป็ นทรัพย์สินที่ได้มาโดยการ
กระทาผิดฐานยักยอก นาย ค. จึ ง ไม่ ไ ด้รับ ความคุ ้มครองตามมาตรา
๑๓๐๓ วรรคสอง
นอกจากหลักคุม้ ครองบุคคลภายนอกในกรณี อสังหาริ มทรัพย์
ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง และกรณี สั ง หาริ ม ทรั พ ย์ต ามมาตรา
๑๓๐๓ แล้ว ซึ่ งเป็ นหลักคุ ม้ ครองบุคคลภายนอกกรณี ทวั่ ไปแล้ว ยังมี
หลั ก คุ ้ ม ครองบุ ค คลภายนอกเฉพาะเรื่ อง เช่ น การคุ ้ ม ครอง
บุคคลภายนอกที่ได้รับโอนทรัพย์สินโดยมีค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ต
จากนิ ติกรรมอันเป็ นโมฆียะ และนิ ติกรรมนั้นได้ถูกบอกล้างภายหลัง
ตามมาตรา ๑๓๒๙ การคุ ้ม ครองบุ ค คลภายนอกที่ ซ้ื อ ทรั พ ย์สิ น โดย
สุ จริ ตในการขายทอดตลาดตามค าสั่ ง ศาลฯ ตามมาตรา ๑๓๓๐ การ
คุ ม้ ครองบุค คลภายนอกที่ได้เงิ นตรามาโดยสุ จริ ตตามมาตรา ๑๓๓๑
หรื อการคุม้ ครองบุคคลภายนอกผูซ้ ้ื อทรัพย์สินมาโดยสุ จริ ตในการขาย
ทอดตลาดหรื อในท้องตลาด หรื อจากพ่อค้าซึ่ งขายของชนิ ดนั้นตาม
มาตรา ๑๓๓๒ ขอให้ดูในเรื่ องดังกล่าวตามลาดับต่อไป
47

การได้ มาโดยนิติกรรมซึ่งอสั งหาริมทรัพย์


(มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง)
การได้มาโดยทางนิ ติกรรมซึ่ งทรัพยสิ ทธิ ในอสังหาริ มทรัพย์
นั้น ไม่ บริ บูรณ์ เว้นแต่นิติกรรมจะได้ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบี ยน
การได้ม ากับ พนัก งานเจ้า หน้าที่ ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง ค าว่า
"ไม่ บริ บูรณ์ " ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง หมายถึง ไม่ บริ บูรณ์ เป็ น
ทรั พยสิ ทธิ แต่ บริ บูรณ์ เป็ นบุคคลสิ ทธิใช้บงั คับกันได้ระหว่างคู่สัญญา
เช่ น คู่สัญญาตกลงทาสัญญาเรื่ องภาระจายอม แต่มิได้ทาเป็ นหนังสื อ
และจดทะเบี ยนการได้มากับพนักงานเจ้าหน้าที่ ข้อตกลงดังกล่ าวใช้
บังคับกันได้ระหว่างคู่สัญญา เพราะข้อตกลงดังกล่าวบริ บูรณ์เป็ นบุคคล
สิ ทธิ แล้ว แต่ขอ้ ตกลงดังกล่าวไม่บริ บูรณ์ เป็ นทรัพยสิ ทธิ หากเจ้าของ
ภารยทรัพย์โอนที่ดินไป ข้อตกลงดังกล่าวก็ยงั มีผลบังคับกันได้ระหว่าง
คู่ สั ญ ญา แต่ ไ ม่ ส ามารถใช้ ย ัน ต่ อ ผู ้ รั บ โอนได้ ผลก็ คื อ เจ้ า ของ
สามยทรั พ ย์ไ ม่ ส ามารถใช้ท างภาระจ ายอมต่ อ ไป แต่ ส ามารถเรี ย ก
ค่าเสี ยหายจากผูผ้ ดิ สัญญาได้
การได้มาโดยทางนิติกรรมซึ่ งทรั พยสิ ทธิ ในอสังหาริ มทรัพย์ที่
ไม่ บ ริ บู รณ์ เ ป็ นทรั พ ยสิ ท ธิ ใ นกรณี ที่ ไ ม่ ไ ด้จดทะเบี ย นการได้ม า แต่
บริ บูรณ์เป็ นบุคคลสิ ทธิ เช่น ภาระจายอม อาศัย สิ ทธิ เหนื อพื้นดิน สิ ทธิ
เก็ บ กิ น ภาระติ ด พัน ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ประนี ป ระนอมยอมความ
เกี่ยวกับกรรมสิ ทธิ์ ในอสังหาริ มทรัพย์ หรื อการไถ่ทรัพย์สินซึ่ งขายฝาก
เพราะการได้ม าโดยนิ ติ ก รรมดัง กล่ า วเป็ นนิ ติก รรมที่ ไ ม่ มี ก ฎหมาย
บัญญัติเรื่ องแบบไว้
48

แต่ถา้ เป็ นนิ ติกรรมที่กฎหมายบัญญัติเรื่ องแบบไว้ เช่น สัญญา


ซื้ อขาย ขายฝาก (เฉพาะการขายฝาก ส่ วนการไถ่ทรัพย์สินซึ่ งขายฝาก
ไม่มีกฎหมายบัญญัติเรื่ องแบบ) แลกเปลี่ยนหรื อให้อสังหาริ มทรัพย์ ถ้า
ไม่ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ไม่อยูใ่ นบังคับ
ของมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง กล่าวคือ สัญญาดังกล่าวจะตกเป็ นโมฆะ
ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะ และไม่บริ บูรณ์เป็ นบุคคลสิ ทธิ ดว้ ย

ข้ อ ๗ คาถาม นายเอกครอบครองที่ดินมีโฉนดของนายตรี โดย


ความสงบและโดยเปิ ดเผย ด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของเป็ นเวลา ๕ ปี แล้ว
นายเอกขายที่ดินดังกล่าวให้แก่นายโทโดยการส่ งมอบการครอบครอง
นายโทครอบครองที่ ดิ น ดัง กล่ า วต่ อ มาอี ก ๖ ปี ต่ อ มาในวัน ที่ ๑๕
มกราคม ๒๕๔๙ นายโทยื่นคาร้ องขอให้ศาลแพ่งมีคาสั่งว่า นายโทมี
กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินโดยการครอบครองปรปั กษ์ ศาลประกาศและนัดไต่
สวนวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๙ นายตรี ไม่ทราบจึงไม่ได้มาศาล ถึ งวัน
นัดไม่ มีผูใ้ ดคัดค้าน ศาลมี คาสั่ งว่า นายเอกครอบครองที่ ดินมา ๕ ปี
นายโทครอบครองต่อมาอีก ๖ ปี นายโทจึงได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินโดย
การครอบครองปรปั กษ์ โดยมี คาสั่งในวันนัดไต่สวน ต่อมาวันที่ ๒๐
มีนาคม ๒๕๔๙ นายตรี นาที่ดินที่ นายโทครอบครองไปทาสัญญาจะ
ขายให้แก่นายจัตวา โดยนายจัตวาชาระเงินไปทั้งหมดแล้วโดยไม่ทราบ
ว่าที่ดินดังกล่าวนายโทครอบครองอยู่ ต่อมานายตรี ผิดสัญญาไม่ไปจด
ทะเบียนโอนที่ดินตามสัญญา นายจัตวาจึงฟ้ องนายตรี เป็ นจาเลยขอให้
ศาลบัง คับ ให้ น ายตรี โ อนที่ ดิ น แล้ว นายจัต วากับ นายตรี ท าสั ญ ญา
49

ประนีประนอมยอมความกันในศาล ศาลได้พิพากษาตามยอมให้นายตรี
จดทะเบี ย นโอนที่ ดิ น ให้ แ ก่ น ายจัต วาภายในวัน ที่ ๒๐ พฤษภาคม
๒๕๔๙ หากไม่ไปโอนให้ถือเอาคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนา เมื่อ
ถึงกาหนดนายตรี ไม่ยอมไปโอนที่ดิน
ต่อมาในวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๔๙ นายโทนาคาสั่งของศาล
แพ่งซึ่ งถึงที่สุดแล้วไปยื่นต่อเจ้าพนักงานที่ดินเพื่อขอจดทะเบียนสิ ทธิ
ในที่ดินโดยการครอบครองปรปั กษ์ และในวันเดียวกันนั้น นายจัตวาได้
ยืน่ คาขอจดทะเบียนโอนขายที่ดินตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
ที่ทาไว้ต่อศาล โดยถือเอาคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของนายตรี
เจ้า พนัก งานที่ ดินพิ จารณาค าขอของนายโทพร้ อมค าสั่ งศาลที่ แสดง
กรรมสิ ทธิ์ โดยการครอบครองปรปั กษ์ และคาขอของนายจัตวาพร้ อม
คาพิพากษาตามยอม แล้วจดทะเบียนสิ ทธิ จากการครอบครองปรปั กษ์
ให้ที่ดินเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของนายโท
ให้วินิจฉัยว่า ก. คาสั่งศาลที่ว่า นายเอกครอบครองที่ดินมา ๕
ปี นายโทครอบครองต่ อมาอี ก ๖ ปี นายโทจึ ง ได้ก รรมสิ ทธิ์ ในที่ ดิน
ดังกล่าวโดยการครอบครองปรปั กษ์ ชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่
ข. เจ้าพนัก งานที่ ดินจดทะเบีย นสิ ท ธิ ใ นที่ ดินโดยการครอบ
ครองปรปั ก ษ์ใ ห้ ที่ ดินเป็ นกรรมสิ ท ธิ์ ของนายโท ชอบด้วยกฎหมาย
หรื อไม่
ข้ อ ๗ คาตอบ ก. นายเอกครอบครองที่ดินมีโฉนดของนายตรี
โดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ แล้วนายเอกขาย
ที่ ดินดัง กล่ า วให้แก่ นายโทโดยส่ ง มอบการครอบครอง เป็ นการโอน
50

การครอบครองแก่ กัน ผู้รับโอนจะนับเวลาซึ่ งผู้โอนครอบครองอยู่ก่อน


นั้น รวมเข้ ากับเวลาครอบครองของตนก็ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๕ นายโทจึ ง นั บ ระยะเวลาที่ น ายเอก
ครอบครองมา ๕ ปี รวมกับเวลาที่ตนครอบครองมา ๖ ปี ได้ รวมเป็ น
ระยะเวลาในการครอบครองปรปักษ์ ๑๑ ปี เมื่อนายโทครอบครองที่ดิน
ซึ่งเป็ นอสั งหาริมทรัพย์ ของนายตรี โดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้ วย
เจตนาเป็ นเจ้ าของติดต่ อกันเป็ นเวลา ๑๐ ปี นายโทจึงได้ กรรมสิ ทธิ์ใน
ที่ดิ น ตามมาตรา ๑๓๘๒ ค าสั่ งศาลที่ว่ า นายเอกครอบครองที่ดิ นมา
๕ ปี นายโทครอบครองต่ อมาอีก ๖ ปี นายโทจึงได้ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดิน
ดังกล่าวโดยการครอบครองปรปักษ์ จึงชอบด้ วยกฎหมาย
ข. การที่ น ายจัต วาจะซื้ อ ที่ ดิ น จากนายตรี แ ละช าระเงิ น ไป
ทั้ง หมด และมี ก ารฟ้ องคดี จ นนายจัต วากับ นายตรี ท าสั ญ ญาประนี
ประนอมยอมความกันในศาล แม้ศาลได้พิพากษาตามยอมให้นายตรี
จดทะเบี ยนโอนที่ ดินให้แก่นายจัตวาในวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๔๙
ซึ่งเป็ นวันหลังจากวันที่นายโทได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินไปแล้วนั้น แม้นาย
จัตวาอยู่ในฐานะอันจะให้ จดทะเบียนสิ ทธิของตนได้ อยู่ก่อนตามมาตรา
๑๓๐๐ แต่ ก ารได้ สิ ท ธิ ดั ง กล่ า วมา ก็เ ป็ นการได้ ม าโดยนิ ติ ก รรมซึ่ ง
อสั งหาริ ม ทรั พ ย์ เมื่ อ ยั ง ไม่ ได้ จดทะเบี ย นย่ อ มไม่ บริ บู ร ณ์ เป็ น
ทรั พ ยสิ ทธิ ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง สิ ทธิ ดั งกล่ า วบริ บู รณ์ เป็ น
เพียงบุ ค คลสิ ทธิ ผูก พันเฉพาะนายตรี และนายจั ต วาซึ่ งเป็ นคู่ สั ญญา
เท่ านั้น เมื่ อนายโทได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินโดยการครอบครองปรปั กษ์
เป็ นการได้ อสั งหาริมทรัพย์ มาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมตามมาตรา
51

๑๒๙๙ วรรคสอง ซึ่งเป็ นสิ ทธิที่เกิดขึน้ ด้ วยผลของกฎหมาย เมื่อศาลมี


คาสั่ งถึงที่สุดยืนยันสิ ทธิดังกล่ าว ย่ อมมีผลผูกพันนายตรี เจ้ าของที่ดิน
และนายจัตวาซึ่ งเป็ นบุ คคลภายนอก การได้ กรรมสิ ทธิ์ ของนายโทจึ ง
บริบูรณ์ เป็ นทรัพยสิ ทธิตามกฎหมาย สามารถยกขึน้ ต่ อสู้ ทุกคนได้ การ
ทีเ่ จ้ าพนักงานทีด่ ินจดทะเบียนสิ ทธิในที่ดินโดยการครอบครองปรปักษ์
ให้ ที่ ดิ น เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของนายโท จึ ง ชอบด้ วยกฎหมายแล้ ว
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๘๗๒/๒๕๔๖)
ข้ อสั งเกต ในปรวเด็นข้ อ ก. กรณี ขอบกำรโอนกำรครอบครอบ ผู้รดบโอน
กำรครอบครอบะวนดบรวยวเัลำครอบครอบขอบผู้โอนรัมกดบรวยวเัลำ
ที่ผ้ รู ด บโอนครอบครอบต่ อกดนได้ เพรำวเป็ นกำรโอนกำรครอบครอบตำม
มำตรำ ๑๓๘๕ แต่ ถ้ำเป็ นกำรแย่ บกำรครอบครอบ ผู้แย่ บกำรครอบครอบ
ะวนด บ รวยวเัลำขอบผู้ ค รอบครอบเดิ ม มำรัมกด บ รวยวเัลำที่ ต น
ครอบครอบไม่ ได้ เพรำวไม่ ใช่ กำรโอนกำรครอบครอบแก่ กดนตำมมำตรำ
๑๓๘๕
ในปรวเด็นข้ อ ข. ค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำที่ ๑๐๘๗๒/๒๕๔๖ เป็ น
ตดัอย่ ำบที่น่ำสนใะมำกขอบกำรัินิะฉด ยเรื่ อบคัำมบริ บูรณ์ แห่ บกำรได้ มำ
ซึ่ บทรด พยสิ ทธิ ในอสด บหำริ มทรด พย์ เพรำวได้ ชี้ให้ เห็นคัำมแตกต่ ำบขอบ
กำรได้ ท รด พ ยสิ ท ธิ ใ นอสด บ หำริ มทรด พ ย์ ม ำโดยทำบนิ ติ ก รรม (มำตรำ
๑๒๙๙ ัรรคหนึ่ บ) แลวกำรได้ ทรด พยสิ ทธิ ในอสด บหำริ มทรด พย์ มำโดย
ทำบอื่นนอกะำกนิติกรรม (มำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคสอบ) ั่ ำ สิ ทธิ ที่บริ บูรณ์
เป็ นทรด พยสิ ทธิ แล้ ั (สิ ทธิ ที่เกิดขึน้ ด้ ัยผลขอบกฎหมำย) ย่ อมใช้ ยดนได้
กดบคนทด่ัไป รัมถึบใช้ ยดนต่ อผู้ได้ สิทธิ ในอสด บหำริ มทรด พย์ มำโดยทำบ
52

นิ ติกรรม (มำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคหนึ่ บ) ซึ่ บบริ บูรณ์ เป็ นเพี ยบบุคคลสิ ทธิ
ได้ ด้ัย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๘๗๒/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๓๐๓ สัญญา
ประนี ป ระนอมยอมความระหว่างโจทก์กบั ส. เป็ นเพีย งบุ ค คลสิ ท ธิ
ผูกพันเฉพาะคู่กรณี แม้ศาลจะพิพากษาตามสัญญาประนี ประนอมยอม
ความ โจทก์ก็ เพี ย งอยู่ใ นฐานะอัน จะให้จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ ข องตนได้
อยู่ก่อนเท่านั้น แต่สิทธิ ของผูไ้ ด้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๘๒ เป็ นสิ ทธิ ที่เกิดขึ้นด้วยผลของกฎหมาย เมื่อศาลพิพากษา
ถึงที่สุดยืนยันสิ ทธิ ดงั กล่าว ผลของคาพิพากษาย่อมผูกพัน ส. กับพวก
ซึ่ งถื อกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทร่ วมกันทุกคน และผลของคาพิพากษา
นั้นใช้ยนั โจทก์ซ่ ึ งเป็ นบุคคลภายนอกได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๕ (๒)
คาสั่งของจาเลยทั้งสองที่ให้จดทะเบียนการได้มาซึ่ งกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดิน
พิพาทตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ ก่อนการจดทะเบียนสิ ทธิ แก่โจทก์
จึงถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายแล้ว

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง


คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๒๑๕/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๘ น.๑๐๙ จาเลยที่ ๑
ปลูกสร้างอาคารบนที่ดินพิ พาทโดยได้รับความยินยอมจากธนาคาร ท.
เจ้า ของที่ ดินเดิ ม จึ งก่ อให้เกิ ดสิ ทธิ เหนื อพื้นดิ นเป็ นคุ ณแก่ จาเลยที่ ๑
โดยไม่มีกาหนดเวลา ต่อมาโจทก์ซ้ื อที่ดินดังกล่าวจากธนาคาร ท. และ
มีหนังสื อบอกกล่ าวให้จาเลยทั้งสองรื้ อถอนสิ่ งปลูกสร้ างออกไปจาก
ที่ดินพิพาท จาเลยทั้งสองได้รับแล้ว ดังนี้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๑๓
53

บัญญัติว่า ถ้าสิ ทธิ เหนื อพื้นดินไม่มีกาหนดเวลาไซร้ ท่านว่าคู่กรณี ฝ่าย


ใดจะบอกเลิกในเวลาก็ได้ แต่ตอ้ งบอกกล่าวแก่อีกฝ่ ายตามสมควร การ
ที่โจทก์มีหนังสื อบอกกล่าวให้จาเลยทั้งสองออกไปจากที่ดินและจาเลย
ทั้งสองได้รับ แล้ว ถื อได้ว่าโจทก์บอกเลิ กสิ ทธิ เหนื อพื้นดิ นแก่ จาเลย
ทั้งสองโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว นอกจากนี้ ยงั ปรากฏว่าสิ ทธิ เหนื อ
พื้นดิ นพิพาทของจาเลยทั้งสองที่ได้มานั้น มิได้มีการนาไปจดทะเบียน
ต่ อ พนัก งานเจ้า หน้ า ที่ การได้สิ ท ธิ เ หนื อ พื้ น ดิ น ของจ าเลยทั้ง สอง
ดังกล่าวจึงไม่สมบูรณ์ ไม่อาจยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกได้ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๘ ประกอบมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง จาเลยทั้งสอง
จึงไม่อาจยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้โจทก์ผไู ้ ด้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทมาจาก
ธนาคาร ท.
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๙๗๕/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๑๖๐ น. เสนอ
ขายที่ดินโดยนารู ปแผนที่หลังโฉนดที่ดินมาแสดงแก่โจทก์เพื่อยืนยัน
รั บ รองแก่ โจทก์ว่า หากโจทก์ซ้ื อที่ ดินของ น. โจทก์ก็ มี สิ ท ธิ ใ ช้ท าง
พิพ าทเป็ นทางเข้า ออกและใช้ป ระโยชน์ เกี่ ยวแก่ ก ารสาธารณู ป โภค
สาหรับที่ดินที่ซ้ื อได้ อันเป็ นเหตุให้ น. ต้องยอมรั บกรรมบางอย่างซึ่ ง
กระทบถึงทรัพย์สินของตนหรื อต้องงดเว้นการใช้สิทธิ บางอย่างอันมีอยู่
ในกรรมสิ ท ธิ์ ทรั พ ย์สิ น นั้น เพื่ อ ประโยชน์ แ ก่ อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย์อื่ น
เมื่อโจทก์ตกลงซื้ อที่ดินตามที่ น. เสนอจึงเกิดเป็ นสัญญาก่อให้เกิดภาระ
จายอม การที่ น. ไม่ได้จดทะเบียนภาระจายอมให้แก่โจทก์เหมือนอย่าง
ที่ดินซึ่ งแบ่งแยกพร้ อมกับแปลงอื่น ๆ คงมีผลเพียงทาให้ภาระจายอม
ดังกล่าวยังไม่เป็ นทรัพยสิ ทธิ ที่สมบูรณ์ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
54

พาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง เท่านั้น แต่ก็เป็ นบุคคลสิ ทธิ ใช้บงั คับ
กันได้ระหว่างคู่สัญญา และไม่ใช่สิทธิ ที่ตามกฎหมายหรื อว่าโดยสภาพ
แล้วเป็ นการเฉพาะตัวของ น. โดยแท้ เมื่ อ น. ถึ งแก่ ค วามตาย สิ ท ธิ
หน้าที่ และความรั บผิดต่าง ๆ ตามสัญญาภาระจายอมย่อมตกทอดแก่
จาเลยซึ่ งเป็ นทายาทตามมาตรา ๑๕๙๙ และ ๑๖๐๐ โจทก์จึงมีสิทธิ ฟ้อง
บังคับ ให้จาเลยไปดาเนิ นการจดทะเบี ย นภาระจายอมและบังคับให้
จ าเลยรื้ อรั้ ว เสาปู น และลวดหนามที่ ปิ ดกั้ นทางพิ พ าทซึ่ งเป็ น
ภารยทรัพย์ออกได้
ข้ อสั งเกต กรณี ภำรวะำยอมที่ไม่ ได้ ะดทวเบียน หำกเะ้ ำขอบที่ดินยินยอม
ให้ ใช้ ทำบโดยไม่ มีค่ำตอบแทน แล้ ัต่ อมำเปลี่ ยนใะไม่ ยอมให้ ใช้ ทำบ
เะ้ ำขอบที่ ดิ น สำมำรถปิ ดกด้ น ทำบได้ แต่ ถ้ ำ เป็ นกำรใช้ ทำบโดยเสี ย
ค่ ำตอบแทนหรื อแบ่ บ ที่ ดินขำยเหมื อนกดบได้ ค่ำ ตอบแทนโดยรัมใน
รำคำไั้ แล้ ั เะ้ ำขอบที่ดินไม่ สำมำรถปิ ดกด้นทำบได้
แต่ ถ้ ำเป็ นภำรวะ ำยอมที่ ะดทวเบี ย นแล้ ั แม้ ะวไม่ ได้
ค่ ำตอบแทน ก็ะวบอกเลิ กภำรวะำยอมไม่ ได้ คำพิ พำกษำฎีกำที่ ๘๘๙/
๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๔๖ ภำรวะำยอมเป็ นทรด พยสิ ทธิ ที่ก่อตด้บขึน้ ด้ ัย
อำศด ย อ ำนำะแห่ บกฎหมำยตำมปรวมัลกฎหมำยแพ่ บ แลวพำณิ ชย์
มำตรำ ๑๒๙๘ แลวกำรได้ มำโดยนิติกรรมซึ่ บภำรวะำยอมขอบโะทก์ ได้
ทำเป็ นหนดบ สื อแลวะดทวเบี ย นกำรได้ ม ำกด บ พนดก บำนเะ้ ำหน้ ำที่ ตำม
มำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคหนึ่บ แล้ ั ะึ บเป็ นทรด พยสิ ทธิ ที่สมบูรณ์ มีผลทำให้
ที่ ดินโฉนดเลขที่ ๔๔๕๓ ขอบ ค. ตกเป็ นภำรวะำยอมแก่ ที่ดินโฉนด
เลขที่ ๓๓๑๘๔ ขอบโะทก์ ใช้ สำหรด บรถยนต์ เข้ ำออกได้ ทด้บแปลบ เมื่ อ
55

บดนทึ กข้ อตกลบดดบกล่ ำัมิได้ กำหนดไั้ เป็ นอย่ ำบอื่ น ภำรวะำยอมย่ อม


ตกติ ดไปกดบที่ ดินโฉนดเลขที่ ๔๔๕๓ ซึ่ บเป็ นภำรยทรด พย์ ตำมมำตรำ
๑๓๙๓ ะำเลยได้ รดบโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินโฉนดเลขที่ ๔๔๕๓ มำะำก ค.
ะึ บต้ อบยอมให้ โะทก์ ใช้ ที่ดินดดบกล่ ำัเป็ นทำบสำหรด บรถยนต์ เข้ ำออก
แลวต้ อบบดเั้ นกำรใช้ สิทธิ บำบอย่ ำบอดนมีอยู่ในกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินดดบกล่ ำั
เพื่ อ ปรวโยชน์ แก่ ที่ ดิ น โฉนดเลขที่ ๓๓๑๘๔ ขอบโะทก์ ซึ่ บเป็ น
สำมยทรด พ ย์ ต ำมมำตรำ ๑๓๘๗ ภำรวะ ำยอมดด บ กล่ ำ ัะวสิ ้ น ไปเมื่ อ
ภำรยทรด พย์ หรื อสำมยทรด พย์ สลำยไปทด้บหมด หรื อสิ ้นไปเพรำวไม่ ได้ ใช้
สิ บปี หรื อสิ ้นไปเพรำวภำรวะำยอมนด้นหมดปรวโยชน์ แก่ สำมยทรด พย์
ตำมมำตรำ ๑๓๙๗ มำตรำ ๑๓๙๙ แลวมำตรำ ๑๔๐๐ แลวกฎหมำยมิได้
ให้ อำนำะแก่ เะ้ ำขอบภำรยทรด พย์ ที่ะวเลิกภำรวะำยอมได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๐๑๑/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๗๓ แม้จาเลย
ที่ ๒ ในขณะเป็ นเจ้าของถนนพิพาทจะทาหนังสื อยินยอมให้ โจทก์ที่ ๑
และที่ ๒ ใช้ถนนพิพาทเป็ นทางเข้าออก ต่อมาเมื่อถนนพิพาทตกเป็ น
ของจาเลยที่ ๓ จาเลยที่ ๓ ก็ทาหนังสื ออนุ ญาตให้โจทก์ท้ งั สี่ ใช้ถนน
พิ พ าทเป็ นทางเข้า ออกได้ อันท าให้โจทก์ท้ งั สี่ มี สิ ท ธิ ใ ช้ถ นนพิ พ าท
ก็ตาม แต่เมื่อข้อตกลงดังกล่าวไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
จึงไม่เป็ นทรัพยสิ ทธิ ไม่เป็ นภาระจายอมตามกฎหมายและการที่โจทก์
ทั้งสี่ มีสิทธิ ใช้ถนนพิพาทได้ก็เพราะจาเลยที่ ๒ และจาเลยที่ ๓ ยินยอม
และอนุ ญาตให้ใช้ จึงเป็ นการใช้โดยอาศัยสิ ทธิ ของเจ้าของที่ดิน แม้จะ
ใช้ถนนพิพาทมานานเกินกว่า ๑๐ ปี โจทก์ท้ งั สี่ ก็ไม่ได้ภาระจายอมโดย
อายุความตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๑ ประกอบมาตรา ๑๓๘๒ และแม้
56

จาเลยที่ ๒ และที่ ๓ จะทาข้อตกลงกับโจทก์ท้ งั สี่ วา่ ถ้ามีการเปลี่ยนมือ


กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิน ผูร้ ั บโอนต้องยินยอมให้ผูร้ ั บ ความยินยอมมี สิ ทธิ ใ ช้
ถนนและลานคอนกรี ตได้ต ลอดไป ข้อ ตกลงเช่ น นี้ ไม่ อ าจบัง คับ
บุคคลภายนอกไว้ล่วงหน้า โดยที่บุคคลภายนอกนั้นมิได้ยินยอมด้วยได้
ข้อตกลงดังกล่าวจึงไม่มีผลบังคับถึ งจาเลยที่ ๑ ซึ่ งเป็ นบุคคลภายนอก
ผูร้ ับโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินจากจาเลยที่ ๓ ซึ่ งมีถนนพิพาทรวมอยูด่ ว้ ย คง
มีผลเฉพาะจาเลยที่ ๓ ผูท้ าหนังสื ออนุ ญาตที่จะต้องจัดการให้เป็ นไป
ตามข้อตกลงเท่านั้น แม้จาเลยที่ ๓ จะเป็ นภริ ยาของจาเลยที่ ๒ ซึ่ งเป็ น
กรรมการของจาเลยที่ ๑ และจาเลยที่ ๓ โอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินซึ่ งมีถนน
พิพาทรวมอยูด่ ว้ ยให้แก่จาเลยที่ ๑ จาเลยที่ ๑ ก็หาผูกพันต้องปฏิบตั ิตาม
หนังสื ออนุญาตให้ใช้ทางที่จาเลยที่ ๓ ทาไว้กบั โจทก์ท้ งั สี่ ไม่
ข้ อ สั ง เกต เรื่ อบนี ้มี ก ำรโอนที่ ดิ น ภำรยทรด พ ย์ ใ ห้ บุ ค คลภำยนอกไป
ข้ อตกลบะึบไม่ ผกู พดนบุคคลภำยนอก เพรำวข้ อตกลบที่ ไม่ ะดทวเบียนไั้
เป็ นเพี ย บบุ ค คลสิ ท ธิ ไม่ บ ริ บู รณ์ เป็ นภำรวะำยอมซึ่ บเป็ นทรด พ ยสิ ทธิ
ใช้ ยนด บุคคลภำยนอกไม่ ได้ โดยไม่ ต้อบพิะำรณำั่ ำบุคคลภำยนอกสุ ะริ ต
เสี ยค่ ำตอบแทนหรื อไม่
แต่ ถ้ำผู้รดบโอนตกลบกดบผู้โอนั่ ำ ยอมให้ ใช้ ทำบเช่ นเดิมก็ถือั่ ำ
เป็ นสด ญญำเพื่อปรวโยชน์ บุคคลภำยนอกตำมมำตรำ ๓๗๔ แม้ ะวไม่ ได้
ท ำเป็ นหนด บ สื อ แลวะดทวเบี ย นฯ ก็ บด บ คด บ กด น ได้ ถ้ ำ ได้ เ ข้ ำ ถื อ เอำ
ปรวโยชน์ ตำมมำตรำ ๓๗๕ แล้ ั
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๕๔/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๗ น. ๓ สัญญาต่าง
ตอบแทนยิง่ กว่าสัญญาเช่าธรรมดา เป็ นเพียงบุคคลสิ ทธิ ที่ใช้บงั คับกัน
57

ได้เฉพาะแต่ในระหว่างคู่สัญญา ไม่ผกู พันโจทก์ซ่ ึ งเป็ นบุคคลภายนอก


ผูร้ ั บ โอนที่ ดิน พิ พ าท เว้น แต่ โ จทก์ ผูร้ ั บ โอนที่ ดิ น พิ พ าทจะได้ต กลง
ยินยอมผูก พันที่ จ ะปฏิ บ ตั ิ ต ามสั ญญาต่ า งตอบแทนยิ่ ง กว่า สั ญญาเช่ า
ธรรมดาแทนผูใ้ ห้ เ ช่ า เดิ ม ข้อ เท็ จ จริ ง ได้ค วามว่า โจทก์ ไ ม่ ไ ด้ต กลง
ยินยอมที่จะผูกพันตามสัญญาต่างตอบแทนยิ่งกว่าการเช่ าธรรมดา แม้
โจทก์จะทราบว่ามีสัญญาต่างตอบแทนยิ่งกว่าการเช่ าธรรมดาระหว่าง
จาเลยกับ บริ ษทั ม. ในขณะรั บ โอนที่ ดินพิพ าท สัญญาต่า งตอบแทน
ยิง่ กว่าการเช่าธรรมดาก็ไม่ผกู พันโจทก์ และไม่ถือว่าโจทก์รับโอนที่ดิน
พิพาทโดยไม่สุจริ ต
ข้ อสั งเกต บุคคลสิ ทธิ ผูกพดนเฉพำวคู่สดญญำ ไม่ ผูกพดนบุคคลภำยนอก
เมื่อะำเลยไม่ ใช่ ค่ ูสดญญำ แม้ ะำเลยรด บโอนที่ ดินมำโดยรู้ ั่ ำที่ ดินพิพำทมี
กำรทำสดญญำต่ ำบตอบแทนยิ่บกั่ ำสด ญญำเช่ ำธรรมดำไั้ สด ญญำดดบกล่ ำั
ก็ไม่ ผูกพดนะำเลย แต่ ถ้ำโะทก์ ตด้บเรื่ อบในกำรฟ้ อบคดีเป็ นขอให้ เพิ กถอน
สด ญญำซื ้อขำยรวหั่ ำบเะ้ ำขอบเดิ มแลวโะทก์ ตำมหลดกเพิ กถอนกำรฉ้ อ
ฉล แล้ ัให้ โะทก์ ะดทวเบียนตำมสด ญญำต่ ำบตอบแทนยิ่บกั่ ำสด ญญำเช่ ำ
ธรรมดำ ผลสุ ดท้ ำยขอบคดี อำะะวเปลี่ ยนไป หรื อหำกขณวทำสด ญญำ
ต่ ำบตอบแทนยิ่ บกั่ ำสด ญญำเช่ ำธรรมดำ โะทก์ ะดทวเบี ยนกำรเช่ ำกด บ
เะ้ ำขอบเดิม สดญญำเช่ ำก็ะวผูกพดนะำเลยตำมมำตรำ ๕๖๙
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๑๔๓/๒๕๔๖ (ประชุ มใหญ่) ฎ.ส.ล.๑๑ น.
๒๑๑ จ าเลยร่ วมใช้สิ ท ธิ ฟ้ องขับ ไล่ โ จทก์ต่ อ ศาลชั้น ต้น ขณะคดี อ ยู่
ระหว่า งพิ จารณา จาเลยร่ วมกับ โจทก์ท าสั ญญาประนี ป ระนอมยอม
ความกัน โดยศาลชั้นต้นมีคาพิพากษาตามยอม คาพิพากษาจึงผูกพัน
58

คู่ความตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๕ วรรคหนึ่ง เมื่อโจทก์ปฏิบตั ิตามสัญญา


ประนี ประนอมยอมความโดยชาระเงิ นให้แก่จาเลยร่ วมครบถ้วนแล้ว
โดยผลแห่ ง ข้อ ก าหนดตามสั ญญาระหว่า งโจทก์ก ับ จ าเลยร่ วมที่ ดิ น
พิพาทย่อมตกเป็ นของโจทก์และเป็ นการได้มาโดยทางนิ ติกรรมตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง แม้โจทก์ฎี กาว่า การได้มาซึ่ งที่ ดิน
พิพาทเป็ นการได้มาโดยทางอื่นนอกจากนิ ติกรรมตามมาตรา ๑๒๙๙
วรรคสอง ศาลฎี ก าย่ อ มมี อ านาจปรั บ ข้ อ เท็ จ จริ งให้ ถู ก ต้ อ งตาม
ข้อกฎหมายได้ และผลแห่ งนิ ติกรรมนี้ แม้จะยังมิได้มีการจดทะเบียน
การได้ม ากับ พนัก งานเจ้า หน้า ที่ ก็ หามี ผ ลให้นิติก รรมตกเป็ นโมฆะ
หรื อไม่ส มบู รณ์ เพีย งแต่ท าให้ไ ม่ บ ริ บู รณ์ ถึง ขั้นเป็ นทรั พ ยสิ ทธิ ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง เท่านั้น แต่ระหว่างคู่กรณี ย่อมมี ผล
ผู ก พัน กั น ในฐานะเป็ นบุ ค คลสิ ทธิ ท าให้ โ จทก์ มี สิ ทธิ เ ข้ า ยึ ด ถื อ
ครอบครองใช้ประโยชน์ในฐานะเจ้าของที่ ดินพิพาทยันจาเลยร่ วมได้
และเมื่ อ ที่ ดิ นพิ พ าทมี หนัง สื อ ส าคัญแสดงกรรมสิ ท ธิ์ คื อโฉนดที่ ดิ น
โจทก์ก็มีสิทธิ เรี ยกร้ องให้จาเลยร่ วมจดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ ให้แก่
โจทก์เพื่อให้บริ บูรณ์เป็ นทรัพยสิ ทธิ สามารถใช้ยนั ต่อบุคคลทัว่ ไปได้
ข้ อสั งเกต เรื่ อบนีเ้ ป็ นเรื่ อบปรวนี ปรวนอมยอมคัำมเกี่ ยักดบกรรมสิ ทธิ์
ไม่ ใ ช่ สด ญ ญำซื ้ อ ขำย ข้ อ ตกลบะึ บ บริ บู ร ณ์ เป็ นบุ ค คลสิ ท ธิ ใช้ ยดน ต่ อ
คู่สดญญำได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๓๗๐/๒๕๔๔ ฎ.๘๐๖ ม.ไถ่ที่ดินจากจาเลย
ภายในกาหนดในสัญญาขายฝากแล้ว แม้จะไม่ได้จดทะเบียนไถ่การขาย
ฝาก ก็เป็ นเพียงทาให้การกลับคืนมาซึ่ งทรัพยสิ ทธิ ยงั ไม่บริ บูรณ์เท่านั้น
59

แต่ใช้ยนั กันได้ระหว่าง ม. กับจาเลย เมื่อโจทก์เป็ นผูจ้ ดั การมรดกของ


ม. จึ ง มี ผ ลยัน กัน ได้ร ะหว่ า งโจทก์ ก ับ จ าเลยด้ว ย โจทก์ ย่ อ มมี สิ ท ธิ
ติดตามเอาคืนและฟ้ องร้ องขอให้จาเลยจดทะเบียนไถ่การขายฝากที่ดิน
แก่ โ จทก์เ มื่ อ ใดก็ ไ ด้ต ามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ มาตรา
๑๓๓๖ คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๖/๒๕๕๓ ฎ. ๕๙๑ ข้อตกลงท้ายทะเบียน
การหย่าระหว่างจาเลยกับ ว. ที่ยกบ้านพิพาทให้แก่ผรู ้ ้ องและบุตรของ
จาเลยและ ว. อีก ๓ คน เป็ นผูร้ ับประโยชน์ จึงเป็ นสัญญาแบ่งทรัพย์สิน
ระหว่างสามีภริ ยาตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๕๓๒ และสัญญาเพื่อประโยชน์
บุคคลภายนอกตามมาตรา ๓๗๔ การที่ผรู้ ้องเข้าถือเอาประโยชน์ตาม
ข้อตกลงดังกล่าวจึงเป็ นการได้มาโดยนิ ติกรรมซึ่ งอสังหาริ มทรัพย์ แม้
จะมิได้ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ทาให้การ
ได้มาไม่บริ บูรณ์ ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง แต่บา้ นพิพาทตั้งอยูบ่ น
ที่สาธารณประโยชน์ และผูร้ ้องได้เข้าครอบครองบ้านพิพาทแล้ว ถือได้
ว่าผูร้ ้ องเป็ นบุ คคลผูอ้ ยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบี ยนสิ ทธิ ของตนได้
อยู่ก่ อนตามมาตรา ๑๓๐๐ แม้จาเลยยัง คงอาศัย อยู่ใ นบ้า นพิ พาท แต่
จาเลยเป็ นมารดาของผูร้ ้ อง จึ ง อยู่อาศัยกับบุ ตรของตนได้ มิได้ทาให้
สิ ทธิ ของผูร้ ้ องสิ้ นไป การยื่นคาร้ องขัดทรัพย์ในกรณี น้ ี จึงถื อได้วา่ เป็ น
กรณี ที่ผูร้ ้ องซึ่ งเป็ นเจ้าของรวมคนหนึ่ ง ใช้สิท ธิ อนั เกิ ดแต่ กรรมสิ ท ธิ์
ครอบไปถึ ง ทรั พ ย์สินทั้ง หมดตามมาตรา ๑๓๕๙ ผูร้ ้ องจึ งร้ องขอให้
เพิกถอนการยึดได้ โจทก์ในฐานะเจ้าหนี้ตามคาพิพากษาจะบังคับคดีให้
กระทบถึงสิ ทธิ ของผูร้ ้องไม่ได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๗
60

ข้ อสั งเกต เรื่ อบกำรยึดทรด พย์ เพื่ อขำยทอดตลำดนำเบิ นมำชำรวหนี ้ แม้


เะ้ ำหนีต้ ำมคำพิพำกษำะวเป็ นบุคคลภำยนอก แต่ กไ็ ม่ ใช่ บุคคลภำยนอก
ที่ ได้ รดบโอนทรด พย์ เพรำวยดบไม่ มีกำรโอนทรด พย์ คดี นี้มีกำรยึ ดทรด พย์
แลวมีกำรร้ อบขอให้ ปล่ อยทรด พย์ เป็ นกำรใช้ สิทธิ ก่อนที่ะวขำยทรด พย์ ซึ่ บ
เะ้ ำหนีต้ ำมคำพิพำกษำะวบดบคดบคดี ให้ กรวทบสิ ทธิ ตำม ป.พ.พ. มำตรำ
๑๓๐๐ ขอบผู้ร้อบไม่ ได้ ตำม ป.ัิ.พ. มำตรำ ๒๘๗
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๓๒๙/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๒๐๐ โจทก์
เป็ นผูค้ รอบครองโฉนดที่ ดินพิ พ าทก็โดยจาเลยผูเ้ ป็ นลู กหนี้ เงิ นกู้ใ ห้
ยึดถื อเป็ นประกันเงิ นกูต้ ามหนังสื อสัญญากูเ้ งิ น โจทก์จึงมี สิทธิ ยึดถื อ
โฉนดที่ดินพิพาทไว้เป็ นประกันการชาระหนี้ จนกว่าจะได้รับชาระหนี้
เงิ นกูค้ ืน แต่สิทธิ ยึดถื อโฉนดที่ดินดังกล่าวเป็ นเพียงบุคคลสิ ทธิ บงั คับ
กันได้ระหว่างคู่สัญญา ไม่สามารถใช้ยนั แก่บุคคลอื่นได้ ส่ วนผูร้ ้องซื้ อ
และจดทะเบี ยนรับโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินพิพาทพร้ อมสิ่ งปลูกสร้ างจาก
จาเลยตั้งแต่ก่อนที่โจทก์จะฟ้ องเรี ยกหนี้ เงินกูค้ ืนจากจาเลยโดยได้มีการ
ทานิ ติกรรมซื้ อขายเป็ นหนังสื อและจดทะเบี ย นต่อเจ้า พนัก งานที่ ดิน
นิติกรรมดังกล่าวจึงมีผลสมบูรณ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง
การบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของจาเลยซึ่ งเป็ นลูกหนี้ ตามคาพิพากษาย่อม
ไม่อาจกระทบกระทัง่ ถึงสิ ทธิ ของผูร้ ้องที่มีอยูเ่ หนื อทรัพย์พิพาทได้ตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๗ โจทก์ไม่มีสิทธิ ยึดทรัพย์พิพาทเพื่อชาระหนี้ ตาม
คาพิพากษา
61

การได้ อสั งหาริมทรัพย์มาโดยทางอืน่ นอกจากนิติกรรม


(มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง)
การได้อสั ง หาริ ม ทรั พย์ม าโดยทางอื่ นนอกจากนิ ติกรรมนั้น
สิ ทธิ ของผูไ้ ด้มาบริ บูรณ์เป็ นทรัพยสิ ทธิ สามารถใช้ยนั กับบุคคลทัว่ ไป
ได้ทนั ทีเมื่อได้ปฏิ บตั ิครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด เช่ น
ผูค้ รอบครองที่ดินมีโฉนดของผูอ้ ื่น โดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้วย
เจตนาเป็ นเจ้า ของมาเป็ นเวลา ๑๐ ปี ย่ อ มได้ ก รรมสิ ท ธิ์ โดยการ
ครอบครองปรปักษ์ตามมาตรา ๑๓๘๒ แม้ยงั ไม่ได้ยื่นคาร้องขอต่อศาล
ให้มี ค าสั่ ง แสดงกรรมสิ ท ธิ์ และยัง ไม่ ไ ด้จดทะเบี ย นการได้ม า ก็ ไ ด้
กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินเมื่ อครอบครองปรปั กษ์ครบ ๑๐ ปี หากผูอ้ ื่นบุกรุ ก
ผูค้ รอบครองปรปั กษ์ส ามารถฟ้ องขับไล่ โดยอาศัยความเป็ นเจ้า ของ
กรรมสิ ท ธิ์ ได้ เช่ น ก. แย่ง การครอบครองที่ ดิน มี โฉนดของ ข. โดย
ครอบครองมาถึง ๑๐ ปี แล้ว ค. มาแย่งที่ดิน ก. มีสิทธิ ฟ้องเรี ยกคืนที่ดิน
โดยอาศัยความเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ คือ ฟ้ องเรี ยกคืนได้ภายใน ๑๐ ปี
เพราะเป็ นการฟ้ องโดยอาศัยอานาจแห่งกรรมสิ ทธิ์
อย่ า งไรก็ ต าม ความเป็ นเจ้ า ของอสั ง หาริ มทรั พ ย์ ไ ด้ รั บ
ประโยชน์ จ ากข้อสั นนิ ษ ฐานว่า ผูม้ ี ชื่ อในทะเบี ย นที่ ดิ น เป็ นผูม้ ี สิ ท ธิ
ครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๓ ดัง นั้น หากผูใ้ ดครอบครองปรปั ก ษ์
ที่ดินของผูอ้ ื่นจนได้ก รรมสิ ทธิ์ แล้ว ก็ตอ้ งรี บขวนขวายที่จะยื่นคาร้ อง
ขอต่อศาลให้สั่งว่าผูค้ รอบครองปรปั กษ์ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดิน เพื่อจะได้
นาคาสั่งศาลไปจดทะเบียนสิ ทธิ ในที่ดินเป็ นของตน หากได้สิทธิ แล้ว
ผูไ้ ด้สิท ธิ เพิ ก เฉย ไม่ ดาเนิ นการตามที่ ก ล่ า วมาข้างต้น สิ ทธิ ข องผูไ้ ด้
62

อสังหาริ มทรัพย์มาโดยทางอื่นนอกจากนิ ติกรรมที่ยงั ไม่ได้จดทะเบียน


การได้มา จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนและไม่สามารถยกขึ้น
ต่อสู ้บุคคลภายนอกผูไ้ ด้สิทธิ มาโดยเสี ยค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ต และ
ได้จดทะเบียนสิ ทธิโดยสุ จริ ตแล้วตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง

ข้ อ ๘ คาถาม นาย ก. เป็ นเจ้าของที่ ดินตามหนังสื อรับรองการ


ทาประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) รวม ๒ แปลง นาย ก. ขายที่ดินแปลงแรกให้
นายหนึ่ ง แปลงหลังให้นายสอง โดยไม่ได้จดทะเบียน แต่ส่งมอบที่ดิน
ให้แก่นายหนึ่งและนายสองครอบครองแล้ว ต่อมานาย ก. นา น.ส.๓ ก.
ของที่ดินแปลงแรกไปขอออกโฉนด เจ้าหน้าที่ไม่ทราบว่านาย ก.ขาย
ที่ดินโดยการส่ งมอบให้นายหนึ่ ง ทางราชการจึงออกโฉนดที่ดินแปลง
แรกให้แก่นาย ก. ต่อมานาย ก. กูย้ ืมเงินนายเอโดยนาโฉนดที่ดินแปลง
แรกไปจดทะเบี ย นจานองเป็ นประกัน และนาย ก. ได้นา น.ส. ๓ ก.
ของที่ดินแปลงหลังไปจดทะเบียนขายฝากไว้กบั นายบี โดยนายเอและ
นายบีเข้าใจว่านาย ก. เป็ นเจ้าของที่ดิน ให้วนิ ิจฉัยว่า
๑. นายหนึ่งและนายเอ ใครมีสิทธิ ดีกว่ากัน
๒ นายสองและนายบี ใครมีสิทธิ ดีกว่ากัน
ข้ อ ๘ ค าตอบ นาย ก. ขายที่ ดิ น ตามหนัง สื อ รั บ รองการท า
ประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) แปลงแรกให้นายหนึ่ ง แปลงหลังให้นายสอง
โดยไม่ ไ ด้จ ดทะเบี ย น แต่ ส่ ง มอบที่ ดิ น ให้ แ ก่ น ายหนึ่ ง และนายสอง
ครอบครองแล้ว แม้ สั ญ ญาซื้ อ ขายจะตกเป็ นโมฆะตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๔๕๖ วรรคหนึ่ง (๑ คะแนน) แต่ นาย
63

ก. ได้ สละเจตนาครอบครองที่ดินและโอนการครอบครองโดยส่ งมอบ


ที่ดิ น พิพ าทแก่ นายหนึ่ ง และนายสอง เมื่ อ นายหนึ่ ง และนายสองเข้ า
ครอบครองที่ ดิ น โดยเจตนายึ ด ถื อ เพื่ อ ตนในวัน ที่ ซื้ อ ขายแล้ ว การ
ครอบครองที่ดินพิพาทของนาย ก. จึงสิ้ นสุ ดลง นายหนึ่งและนายสอง
ย่ อ มได้ สิ ท ธิ ค รอบครองตามมาตรา ๑๓๖๗, ๑๓๗๗ และ ๑๓๗๘
(๒ คะแนน)
ต่ อ มานาย ก. น า น.ส.๓ ก. ของที่ ดิ น แปลงแรกไปขอออก
โฉนด ทางราชการจึงออกโฉนดที่ดินแปลงแรกให้แก่นาย ก. แล้วนาย
ก. นาโฉนดที่ดินแปลงแรกไปจดทะเบียนจานองเป็ นประกันหนี้ กบั นาย
เอนั้น เมื่อนาย ก. ไม่ ใช่ เจ้ าของที่ดินแปลงแรกแล้ ว จึงไม่ มีสิทธินาที่ดิน
แปลงแรกไปขอออกโฉนดเป็ นของนาย ก. และไม่ มีสิทธินาที่ดินแปลง
แรกไปจดทะเบี ยนจ านองแก่ นายเอ เพราะการจ านองทรั พ ย์ สินนั้ น
นอกจากผู้เป็ นเจ้ าของในขณะนั้ นแล้ ว ใครอื่นจะจานองหาได้ ไม่ การ
จ านองระหว่ างนาย ก. และนายเอต้ องห้ ามตามมาตรา ๗๐๕
(๒ คะแนน) การจ านองจึงไม่ มีผลโดยไม่ ต้ องคานึงว่ านายเอซึ่ งเป็ น
ผู้รับจานองสุ จริ ตหรื อไม่ เพราะสิ ทธิ ของผู้ได้ มาซึ่ งอสั งหาริ มทรั พย์
โดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม ที่ห้ามมิให้ ยกเป็ นข้ อต่ อสู้ บุคคลภายนอก
ผู้ได้ สิทธิมาโดยเสี ยค่ าตอบแทนโดยสุ จริ ต และได้ จดทะเบียนสิ ทธิโดย
สุ จริตแล้ วตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง นั้น ต้ องเป็ นการได้ สิทธิในที่ดิน
ที่ไ ด้ จดทะเบี ยนแล้ ว และสิ ทธิ ที่ไ ด้ น้ ั นต้ อ งเกิด จากเอกสารสิ ทธิ ของ
ที่ดิ น ที่อ อกโดยชอบ เมื่ อ การออกโฉนดที่ดิ นในส่ วนที่ดิ นแปลงแรก
ไม่ ชอบ นายเอจะอ้ างสิ ทธิที่เกิดจากโฉนดที่ดินส่ วนที่ออกโดยไม่ ชอบ
64

ดั ง กล่ า วหาได้ ไ ม่ กรณี ไ ม่ อ ยู่ ใ นบั งคั บ ของมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง


(๒ คะแนน) นายหนึ่ ง จึ ง มี สิ ทธิ ใ นที่ ดิ น แปลงแรกดี ก ว่ า นายเอ
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๒๒๙/๒๕๔๙)
เมื่อนาย ก. สละการครอบครองที่ดินแปลงหลังให้แก่นายสอง
ดังที่วนิ ิจฉัยมาแล้ว การที่นาย ก. ได้นา น.ส. ๓ ก. ที่ดินแปลงหลังไปจด
ทะเบียนขายฝากไว้กบั นายบี แม้นายบีเข้าใจว่านาย ก. เป็ นเจ้าของที่ดิน
นั้น แต่ เมื่ อนาย ก. หมดสิ ทธิ ครอบครองที่ดินแปลงหลังแล้ ว นาย ก.
ก็ไ ม่ มี สิ ทธิ ที่จ ะขายฝากที่ดิ นดั งกล่ า วแก่ น ายบี เพราะนาย ก. ไม่ ใ ช่
เจ้ าของที่ดินแล้ ว แม้การขายฝากระหว่างนาย ก. และนายบี จะทาเป็ น
หนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ก็ไม่ ทาให้ นายบีได้ สิทธิ
ครอบครองในที่ดินแปลงหลังแต่ อย่ างใด เพราะผู้รับโอนย่ อมไม่ มีสิทธิ
ดี ก ว่ า ผู้ โอน กรณีไ ม่ อ าจนามาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง มาใช้ บั ง คั บ ได้
(๓ คะแนน) นายสองจึ ง มี สิ ทธิ ใ นที่ ดิ น แปลงหลั ง ดี ก ว่ า นายบี
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๗๓๗/๒๕๕๑)
ข้ อสั งเกต ข้ อเท็ะะริ บแลวข้ อกฎหมำยที่ นำมำแต่ บคำถำมข้ อนีใ้ กล้ เคี ยบ
กดนมำก แต่ มีข้อสด บเกต คื อ คำพิพำกษำฎีกำที่ ๖๒๒๙/๒๕๔๙ มีกำรขอ
ออกโฉนดที่ ดินโดยไม่ ชอบ ผู้ได้ สิทธิ ใ นที่ ดินตำมโฉนดะึ บไม่ ได้ รดบ
คัำมคุ้มครอบ ส่ ันคำพิ พำกษำฎีกำที่ ๑๔๗๓๗/๒๕๕๑ ไม่ มีกำรขอ
ออกโฉนดที่ดิน แต่ ใช้ น.ส.๓ ก. ที่มีอยู่ไปะดทวเบียน กำรให้ เหตุผลใน
กำรัินิะฉดยะวแตกต่ ำบกดน
คาพิพากษาฎีก าที่ ๖๒๒๙/๒๕๔๙ ฎ.ส.ล.๖ น.๑๘๓ อ. ขาย
ที่ดินพิพาทซึ่งเป็ นที่ดินที่มีหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ให้แก่โจทก์
65

โดยท าเป็ นหนัง สื อ แต่ ไ ม่ ไ ด้จ ดทะเบี ย นโอนสิ ท ธิ ก ัน ต่ อ พนัก งาน


เจ้า หน้า ที่ แต่ อ. ได้ส ละเจตนาครอบครองที่ ดินพิ พ าทและโอนการ
ครอบครองโดยส่ งมอบที่ดินพิพาทแก่โจทก์ และโจทก์เข้าครอบครอง
โดยเจตนายึดถือเพื่อตนในวันที่ซ้ื อขายแล้ว ดังนั้น การครอบครองที่ดิน
พิพาทของ อ. จึงสิ้ นสุ ดลง และโจทก์ย่อมได้สิทธิ ครอบครองไปตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗, ๑๓๗๗ และ ๑๓๗๘ อ. ไม่ใช่ เจ้าของที่ ดิน
พิพาทแล้ว จึงไม่มีสิทธิ นาที่ดินพิพาทไปขอออกโฉนดเป็ นของ อ. และ
ไม่มี สิท ธิ นาที่ ดินพิพ าทไปจานองแก่ จาเลยที่ ๒ เพราะต้องห้ามตาม
มาตรา ๗๐๕ การจานองจึ งไม่มีผลโดยไม่ตอ้ งคานึ งว่าจาเลยที่ ๒ ซึ่ ง
เป็ นผูร้ ับจานองสุ จริ ตหรื อไม่ เพราะสิ ทธิ ของผูไ้ ด้มาซึ่ งอสังหาริ มทรัพย์
ที่ ห้ า มมิ ใ ห้ ย กเป็ นข้ อ ต่ อ สู ้ บุ ค คลภายนอกผู ้ไ ด้ สิ ทธิ ม าโดยเสี ย
ค่ า ตอบแทนโดยสุ จ ริ ต และได้จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ โ ดยสุ จ ริ ต แล้ว ตาม
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง นั้น ต้อ งเป็ นการได้สิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น ที่ ไ ด้จ ด
ทะเบียนแล้ว และสิ ทธิ ที่ได้น้ นั ต้องเกิดจากเอกสารสิ ทธิ ของที่ดินที่ออก
โดยชอบ เมื่อการออกโฉนดที่ดินในส่ วนที่ดินพิพาทไม่ชอบ จาเลยที่ ๒
จะอ้า งสิ ท ธิ ที่ เ กิ ด จากโฉนดที่ ดิ น ส่ ว นที่ อ อกโดยไม่ ช อบดัง กล่ า ว
หาได้ไม่ กรณี ไม่อยู่ในบังคับของมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง โจทก์จึงมี
อานาจฟ้ องขอให้เพิกถอนนิ ติกรรมการจานองที่ ดินพิพาทระหว่าง อ.
กับจาเลยที่ ๒ ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๗๓๗/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๒ น. ๒๘๕ แม้
ในหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) จะมี ชื่อ อ. เป็ นผูถ้ ื อ
66

สิ ทธิ ครอบครอง แต่การที่ อ. ขายที่ดินพิพาทให้แก่ ล. และได้มอบการ


ครอบครองให้แก่ ล. ถือเป็ นการสละการครอบครองที่ดินพิพาทให้แก่
ล. ตั้งแต่ปี ๒๕๓๐ แล้ว อ. จึงหมดสิ ทธิ ครอบครองในที่ดินพิพาทตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๘ และเมื่อ ล. ขายและมอบการครอบครองที่ดิน
พิพ าทให้แก่ จาเลยที่ ๑ แล้ว จาเลยที่ ๑ เข้า ไปไถและถมดิ นในที่ ดิน
พิ พ าทตั้ง แต่ ปี ๒๕๓๖ จึ ง เป็ นการเข้า ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทโดยมี
เจตนาที่จะยึดถื อเพื่อตน จาเลยที่ ๑ จึง มีสิทธิ ครอบครองที่ดินพิพาท
ตามมาตรา ๑๓๖๗ ดังนั้น เมื่อ อ. หมดสิ ทธิ ครอบครองที่ดินพิพาทแล้ว
จึ ง ไม่ มี สิ ท ธิ ที่ จ ะขายฝากที่ ดิน ดัง กล่ า วให้ แ ก่ โจทก์ แม้ก ารขายฝาก
ระหว่างโจทก์ กับ อ. จะท าเป็ นหนังสื อและจดทะเบี ย นต่อพนัก งาน
เจ้าหน้าที่ ก็ไม่ทาให้โจทก์ได้สิทธิ ครอบครองในที่ดินดังกล่าวแต่อย่าง
ใด
ข้ อสั งเกต คำพิพำกษำฎีกำนีั้ ินิะฉด ยเดินตำมคำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๒๗๖/
๒๕๓๓ ที่ ตด ด สิ น ั่ ำ มำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคสอบ ไม่ ใ ช้ กด บ ที่ ดิ น ซึ่ บ มี
หนดบสื อรด บรอบกำรทำปรวโยชน์ ซึ่ บ กลดบ หลดกตำมคำพิ พ ำกษำฎี กำที่
๔๒๗/๒๕๓๘, ที่ ๒๕๑๒/๒๕๔๙ ที่ ตดดสิ นั่ ำ มำตรำ ๑๒๙๙ ัรรค
สอบ ใช้ กด บ ที่ ดิ น ซึ่ บมี ห นด บ สื อรด บรอบกำรท ำปรวโยชน์ ด้ ัย หำก
ข้ อเท็ะะริ บตำมฎี ก ำนี ้อ อกข้ อสอบผู้ช่ ั ยผู้พิ พ ำกษำหรื อข้ อสอบเนติ
บดณฑิต ผู้สอบคบต้ อบตอบตำมคำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๔๗๓๗/๒๕๕๑ ซึ่ บ
เป็ นฎี กำใหม่ อย่ ำบไรก็ตำม ฎี กำนี ไ้ ม่ ใช่ ฎีกำปรวชุ มใหญ่ ปด ญหำนี ้คบ
ต้ อบติดตำมต่ อไปั่ ำศำลฎีกำะวคบแนันีไ้ ั้ ได้ นำนเพียบใด
67

ข้ อ ๙ คาถาม นายดาครอบครองที่ดินมีโฉนดของนายแดงโดย
ความสงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของมา ๕ ปี นายดาถึ งแก่
ความตาย นายขาวบุ ตรของนายดาครอบครองที่ ดินดังกล่ าวต่อมาอี ก
๖ ปี ในปี นี้ น ายแดงน าที่ ดิ นที่ น ายด าและนายขาวครอบครองไปจด
ทะเบียนจานองเป็ นประกันเงินกูก้ บั ธนาคารไทย จากัด (มหาชน) ในปี
เดี ยวกันนี้ นายเทาซึ่ งเป็ นปู่ ของนายขาวถึ งแก่ความตาย โดยนายเทาทา
พินยั กรรมยกที่ดินของนายเทาให้แก่นายขาวเพียงผูเ้ ดียว ทั้งที่นายเทามี
บุตร ๒ คน คื อ นายดาและนายเงิ น นายเงิ นไม่พอใจนายเทาและนาย
ขาว นายเงินจึงแอบไปยืน่ คาร้องขอต่อศาลแพ่งขอจัดการมรดกของนาย
เทา โดยอ้างว่านายเทาไม่ได้ทาพินยั กรรมไว้และมีทายาท คือ นายเงิ น
เพียงคนเดียว โดยที่นายขาวซึ่ งเป็ นผูร้ ับมรดกตามพินยั กรรมไม่ทราบ
นายขาวจึงไม่ได้ไปคัดค้านต่อศาล ศาลแพ่งมีคาสั่งแต่งตั้งนายเงิ นให้
เป็ นผูจ้ ดั การมรดกของนายเทา นายเงินนาคาสั่งศาลไปจดทะเบียนโอน
ที่ดินซึ่ งเป็ นทรัพย์มรดกของนายเทามาเป็ นของนายเงินแต่เพียงผูเ้ ดี ยว
และนายเงินได้นาที่ ดินดังกล่ าวไปจดทะเบี ยนจานองเป็ นประกันหนี้
เงินกูก้ บั ธนาคารไทย จากัด (มหาชน)
ให้วินิจฉัย ว่า ก. นายขาวฟ้ องนายแดงเป็ นจาเลย ขอให้ศ าล
พิพากษาให้นายแดงไปจดทะเบียนไถ่ถอนจานองที่ดิน ได้หรื อไม่
ข. นายขาวฟ้ องนายเงิ น และธนาคารไทย จ ากัด (มหาชน)
เป็ นจาเลย ขอให้ศาลพิพากษาเพิกถอนการจดทะเบียนโอนที่ดินให้นาย
เงินและสัญญาจานองระหว่างนายเงินกับธนาคารไทย จากัด (มหาชน)
ได้หรื อไม่
68

ข้ อ ๙ คาตอบ ก. นายดาครอบครองที่ดินมีโฉนดของนายแดง
โดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของมา ๕ ปี นายดาถึง
แก่ความตาย นายขาวบุตรของนายดาครอบครองที่ดินดังกล่าวต่อมาอีก
๖ ปี ถือว่ าเป็ นการโอนการครอบครองแก่ กัน ผู้รับโอนจะนั บเวลาซึ่ ง
ผู้โอนครอบครองอยู่ก่อนนั้ นรวมเข้ ากับเวลาครอบครองของตนก็ได้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๕ นายขาวจึงนับ
ระยะเวลาทีน่ ายดาครอบครองมา ๕ ปี รวมกับเวลาที่ตนครอบครองมา
๖ ปี ได้ รวมเป็ นระยะเวลาในการครอบครองปรปักษ์ ๑๑ ปี เมื่อนายขาว
ครอบครองที่ดินซึ่ งเป็ นอสั งหาริ มทรั พย์ ของนายแดง โดยความสงบ
และโดยเปิ ดเผยด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของติดต่ อกันเป็ นเวลา ๑๐ ปี นาย
ขาวจึงได้ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินของนายแดงโดยการครอบครองปรปั กษ์
ตามมาตรา ๑๓๘๒
การที่ น ายขาวได้ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น ของนายแดงโดยการ
ครอบครองปรปั ก ษ์ก่อนที่ นายแดงจะจดทะเบี ยนจานองเป็ นประกัน
เงินกูก้ บั ธนาคารไทย จากัด (มหาชน) แม้ นายขาวจะได้ อสั งหาริมทรัพย์
มาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม ซึ่ งบริ บูรณ์ เป็ นทรั พยสิ ทธิตามมาตรา
๑๒๙๙ วรรคสอง แล้ ว แต่ นายขาวยัง ไม่ ไ ด้จดทะเบี ย นการได้ม าต่ อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ นายขาวจะฟ้ องขอบังคับให้นายแดงไปจดทะเบียน
ไถ่ถอนจานองที่ดินซึ่งเป็ นการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนอย่ างหนึ่งมิได้
ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ประกอบมาตรา ๑๓๐๑ อี กทั้งธนาคาร
ผูร้ ับจานองเป็ นบุ คคลนอกคดี เมื่ อนายขาวไม่ ได้ฟ้องเป็ นจาเลยด้วย
ศาลก็ไม่อาจพิพากษาถึงธนาคารให้จดทะเบียนไถ่จานองได้ตาม ป.วิ.พ.
69

มาตรา ๑๔๕ วรรคสอง (คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๘๗/๒๕๔๗)


ข. นายเทาทาพินยั กรรมยกที่ดินของนายเทาให้แก่นายขาวเพียง
ผูเ้ ดี ยว นายเงิ นจึ งแอบไปยื่นคาร้ องขอต่อศาลขอจัดการมรดก ศาลมี
คาสั่งแต่งตั้งนายเงินให้เป็ นผูจ้ ดั การมรดกของนายเทา นายเงินนาคาสั่ง
ศาลไปจดทะเบียนโอนที่ดินซึ่ งเป็ นทรัพย์มรดกของนายเทามาเป็ นของ
นายเงินแต่เพียงผูเ้ ดียว เป็ นการได้ ทดี่ ินมาโดยทุจริตอาศัยคาสั่ งศาลที่สั่ง
โดยหลงผิดและแจ้ งความเท็จแก่ เจ้ าพนัก งาน ระหว่ างที่นายเงินเป็ น
ผู้จัดการมรดกของนายเทา นายเงินย่ อมเป็ นตัวแทนของบรรดาทายาท
ในการจัดการทรั พย์ มรดก มีหน้ าที่ต้องแบ่ งทรั พย์ มรดกให้ แก่ ผ้ ูมีสิทธิ
และจะทานิติกรรมใด ๆ ที่ตนมีส่วนได้ เสี ยเป็ นปฏิปักษ์ ต่อกองมรดกหา
ได้ ไม่ การที่ น ายเงิ น รั บ โอนที่ ดิ น โดยไม่ ใ ช่ ผู ้รั บ ประโยชน์ จ าก
พินยั กรรมและเป็ นผูถ้ ูกตัดมิให้รับมรดก จึงไม่ เป็ นการแบ่ งปั นทรั พย์
มรดกตามหน้ าที่ผ้ ูจัดการมรดกโดยสุ จริ ต แต่ เป็ นการทานิติกรรมให้
นายเงินที่มีส่วนได้ เสี ยเป็ นปฏิปักษ์ ต่อกองมรดกของนายเทา อันเป็ น
การต้ องห้ ามโดยชั ดแจ้ งตามมาตรา ๑๗๑๒ นิติกรรมการโอนที่ดินตก
เป็ นโมฆะตามมาตรา ๑๕๐ ถือเสมือนว่ าไม่ มีนิติกรรมการโอนเกิดขึ้ น
เลย กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินยังเป็ นของกองมรดกของนายเทาเช่ นเดิม หาตก
เป็ นกรรมสิ ทธิ์ของนายเงินไม่ เมื่อนายเงินไม่ มีกรรมสิ ทธิ์ในที่ดิน นาย
เงินเป็ นผู้ไม่ มีสิทธิจะจานองได้ ย่ อมไม่ เกิดผลให้ ธนาคารฯ มีสิทธิตาม
นิ ติ ก รรมจ านอง แม้ ธ นาคารฯ จะรั บ จ านองไว้ โดยสุ จ ริ ตก็ต าม การ
จ านองไม่ ผู ก พัน นายขาว นายขาวจึ งฟ้ องนายเงิ นและธนาคารไทย
จากัด (มหาชน) เป็ นจาเลย ขอให้ ศาลพิพากษาเพิกถอนการจดทะเบียน
70

โอนที่ดินให้ นายเงินและสั ญญาจานองระหว่ างนายเงินกับธนาคารไทย


จากัด (มหาชน) ได้ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๙๗๘/๒๕๔๗)
ข้ อสั งเกต ข้ อ ก.คำตอบตอนท้ ำยตำม ป.ัิ.พ.มำตรำ ๑๔๕ อำะะวไม่ มี
ในคำตอบก็ได้ ไม่ ทำให้ เสี ยควแนน เพรำวคำถำมข้ อนีเ้ ป็ นัิชำกฎหมำย
ทรด พย์ สิน แต่ ถ้ำมีกค็ บไม่ ผิด
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๘๗/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๖ น.๓๙ โจทก์ไ ด้
กรรมสิ ทธิ์ ที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์ก่อนที่ จาเลยจะจด
ทะเบียนจานองที่ดินพิพาท แต่โจทก์ยงั ไม่ได้จดทะเบียนการได้มาต่อ
พนัก งานเจ้า หน้า ที่ โจทก์ จ ะขอบัง คับ ให้ จ าเลยจดทะเบี ย นไถ่ ถ อน
จานองที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ นการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนอย่างหนึ่ งไม่ได้
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ประกอบมาตรา ๑๓๐๑ อี กทั้ง
ธนาคารผูร้ ับจานองเป็ นบุคคลนอกคดี เมื่อโจทก์ไม่ได้ฟ้องเป็ นจาเลย
ด้ ว ย ศาลก็ ไ ม่ อ าจพิ พ ากษาถึ ง ธนาคารให้ ยิ น ยอมให้ จ ดทะเบี ย น
ไถ่จานองได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๕ วรรคสอง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๙๗๘/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๒๔๕ จาเลย
ที่ ๑ รู ้ อ ยู่ แ ล้ว ว่ า ตนเองไม่ มี สิ ท ธิ รั บ มรดกของ ค. เนื่ อ งจาก ค. ท า
พิ นั ย กรรมยกทรั พ ย์ม รดกให้ แ ก่ โ จทก์ ก ับ พวก แต่ ไ ปร้ อ งขอเป็ น
ผูจ้ ดั การมรดกของ ค. ต่อศาล จนกระทัง่ ศาลมี คาสั่งตั้ง ให้จาเลยที่ ๑
เป็ นผูจ้ ดั การมรดก และเมื่อได้เป็ นผูจ้ ดั การมรดกแล้ว จาเลยที่ ๑ ไปแจ้ง
ความอันเป็ นเท็จต่ อพนัก งานสอบสวนว่า โฉนดที่ ดินพิ พ าทสู ญหาย
แล้วนาหลักฐานการแจ้ง ความไปขอใบแทนโฉนดที่ดินแปลงพิพาท
ทั้ง ที่ ข ณะนั้น โฉนดที่ ดิ น ตัว จริ ง อยู่ ก ับ โจทก์ จากนั้น จ าเลยที่ ๑ จด
71

ทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินเป็ นชื่ อของตนโดยใช้ใบแทนโฉนดที่ดิน


เป็ นหลักฐาน การได้มาซึ่ งที่ดินของจาเลยที่ ๑ เป็ นการได้มาโดยทุจริ ต
อาศัยคาสั่งศาลที่ สั่งโดยหลงผิดและการแจ้งความเท็จต่อเจ้าพนักงาน
ในระหว่า งที่ จาเลยที่ ๑ เป็ นผูจ้ ดั การมรดกของ ค. ย่อมเป็ นตัวแทน
บรรดาทายาทในการจัดการมรดก จาเลยที่ ๑ มีหน้าที่ตอ้ งดาเนิ นการ
แบ่งปั นทรั พย์มรดกให้แก่ ทายาทของ ค. ตามที่ บ ญ ั ญัติไว้ใน ป.พ.พ.
มาตรา ๑๗๑๙ และจะทานิติกรรมใด ๆ ซึ่ งตนมีส่วนได้เสี ยเป็ นปฏิปักษ์
ต่อกองมรดกหาได้ไม่ การที่ จาเลยที่ ๑ ในฐานะผูจ้ ดั การมรดกไปรับ
โอนที่ดินพิพาทอันเป็ นมรดกของ ค. มาเป็ นของตนเองในฐานะส่ วนตัว
โดยจาเลยที่ ๑ เป็ นผูท้ ี่มิได้รับประโยชน์จากพินยั กรรม และเป็ นผูถ้ ูกตัด
มิ ใ ห้รับ มรดก จึ งไม่ เป็ นการแบ่ งปั นทรั พ ย์ม รดกตามหน้า ที่ ผูจ้ ดั การ
มรดกโดยสุ จริ ตตามข้อกาหนดในพินยั กรรม แต่เป็ นการทานิ ติกรรมให้
จาเลยที่ ๑ มี ส่วนได้เสี ยเป็ นปฏิ ปักษ์ต่อกองมรดกของ ค. อันเป็ นการ
ต้องห้ามโดยชัดแจ้งตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๒ นิ ติกรรมการโอนตก
เป็ นโมฆะตามมาตรา ๑๕๐ ถือเสมือนว่ามิได้มีนิติกรรมการโอนเกิดขึ้น
เลย กรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดินพิ พ าทจึ ง ยัง คงเป็ นของกองมรดกของ ค. อยู่
ตามเดิ ม หาตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของจาเลยที่ ๑ ในฐานะส่ วนตัวไม่ เมื่ อ
จาเลยที่ ๑ ในฐานะส่ วนตัวไม่มีกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทเสี ยแล้ว ก็ไม่มี
สิ ทธิ จะเอาที่ดินพิพาทไปจานองแก่ผใู ้ ดได้ ดังนั้น การที่จาเลยที่ ๒ เป็ น
ผูร้ ับจานองที่ดินพิพาทไว้จากจาเลยที่ ๑ ในฐานะส่ วนตัวซึ่ งเป็ นผูไ้ ม่มี
สิ ท ธิ จะจานองได้ ย่อมไม่ เกิ ดผลให้จาเลยที่ ๒ มี สิ ทธิ ต ามนิ ติก รรม
จานอง แม้จาเลยที่ ๒ จะอ้างว่ารับจานองไว้โดยสุ จริ ตก็ตาม การจานอง
72

จึงไม่ผกู พันโจทก์
ข้ อสั งเกต คำพิ พำกษำฎีกำนี ผ้ ้ ูแต่ บไม่ เห็นด้ ัยกดบกำรัินิะฉด ย แต่ ะวไม่
อธิ บำยให้ เสี ย เัลำอ่ ำน เพรำวถ้ ำ นำข้ อเท็ะ ะริ บนี ้มำออกข้ อสอบ ธบ
คำตอบคบต้ อบเป็ นไปตำมค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำ กำรสอบเนติ ฯ หรื อสอบ
ผู้ ช่ ัยฯ อำะำรย์ ผ้ ู ต รัะข้ อ สอบมด ก ะวเคร่ บครด ด กด บ ธบค ำตอบ เมื่ อ
นด ก ศึ ก ษำทรำบกติ ก ำขอบกำรตรัะข้ อ สอบแล้ ั ถ้ ำ นด ก ศึ ก ษำพบ
คำพิ พำกษำฎี กำที่ นดกศึ กษำไม่ เห็ นด้ ัย นดกศึ กษำก็ต้อบะำคำพิ พำกษำ
ฎีกำแลวเหตุผลที่ศำลฎีกำตดดสิ นไั้ ไปเขียนตอบข้ อสอบ

ข้ อ ๑๐ คาถาม นายจันทร์ ได้ครอบครองปรปั กษ์ที่ดินมีโฉนด


ของนายพุธจนได้กรรมสิ ทธิ์ แล้ว แต่ยงั มิ ได้จดทะเบี ยนเปลี่ ยนชื่ อใน
โฉนดเป็ นชื่ อ ตน นายพุ ธ ก็ น าที่ ดิ น นั้น ไปขายให้ น ายเสาร์ โ ดยจด
ทะเบี ย นการซื้ อ ขายถู ก ต้อ งและนายเสาร์ ไ ม่ ท ราบว่ า นายจัน ทร์ ไ ด้
ครอบครองปรปั กษ์ที่ดินนั้นมาก่อน นายเสาร์ ซ้ื อแล้ว ๑ เดือนก็ตาย นาย
ศุกร์ บุตรนายเสาร์ ได้จดทะเบียนรับโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินโดยทางมรดก
และได้ฟ้ องขับ ไล่ นายจันทร์ นายจันทร์ ต่อสู ้ ว่า ตนได้ก รรมสิ ท ธิ์ ใน
ที่ดินนั้นโดยการครอบครองปรปั กษ์ และนายศุกร์ เป็ นทายาทของนาย
เสาร์ ไ ด้ที่ ดินนั้นโดยการรั บมรดก มิ ได้เสี ยค่ าตอบแทน จึ งไม่มี สิท ธิ
ดีกว่าตน
ให้วินิจฉัย ว่า ข้อต่อสู ้ ของนายจันทร์ ฟัง ขึ้ นหรื อไม่ (ข้อสอบ
เนติบณั ฑิต สมัยที่ ๔๖ ปี การศึกษา ๒๕๓๖)
73

ข้ อ ๑๐ ค าตอบ แม้น ายจัน ทร์ จ ะครอบครองปรปั ก ษ์ที่ ดิ น มี


โฉนดของนายพุ ธ จนได้ก รรมสิ ท ธิ์ แล้ว แต่ เ มื่ อ ยัง มิ ไ ด้จ ดทะเบี ย น
เปลี่ยนชื่อในโฉนดเป็ นชื่อตน เป็ นกรณีที่นายจันทร์ ได้ มาซึ่งกรรมสิ ทธิ์
ในอสั งหาริ มทรั พย์ โดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมที่ยังมิได้ จดทะเบียน
เมื่อนายพุธก็นาที่ดินนั้นไปขายให้นายเสาร์ โดยจดทะเบียนการซื้ อขาย
ถูกต้องและนายเสาร์ ไม่ทราบว่านายจันทร์ ได้ครอบครองปรปั กษ์ที่ดิน
นั้น มาก่ อ น นายเสาร์ จึ ง เป็ นบุ ค คลภายนอกผู้ ไ ด้ รับ สิ ท ธิ ม าโดยเสี ย
ค่ าตอบแทนและโดยสุ จริ ต และได้ จดทะเบียนสิ ทธิโดยสุ จริ ตแล้ วตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง นายจันทร์
จึ งไม่ อ าจยกการได้ ม าซึ่ ง กรรมสิ ท ธิ์ โดยการครอบครองปรปั กษ์ ซึ่ ง
ยังมิได้ จดทะเบียนดังกล่ าว ขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ นายเสาร์ ได้
เมื่อสิ ทธิของนายเสาร์ ได้ รับความคุ้มครองตามมาตรา ๑๒๙๙
วรรคสอง ดังที่วินิจฉั ยมาแล้ ว หากนายเสาร์ โอนทรั พย์ ดังกล่ าวต่ อไป
ผู้รับโอนก็สามารถสื บสิ ทธิ ของนายเสาร์ ต่อไปได้ ด้วย ดังนั้น แม้นาย
ศุกร์ บุตรนายเสาร์ ได้จดทะเบียนรับโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินโดยทางมรดก
ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ นบุ ค คลภายนอกผู้ ไ ด้ อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ม าโดยไม่ มี ค่ า
ตอบแทน แต่ นายศุ ก ร์ ก็ส ามารถสื บ สิ ทธิ ของนายเสาร์ ซึ่งเป็ นบุ ค คล
ภายนอกผู้ได้ รับสิ ทธิ มาโดยเสี ยค่ าตอบแทนและโดยสุ จริ ต และได้ จด
ทะเบียนสิ ทธิโดยสุ จริ ตที่ได้ รับความคุ้มครองมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง
ได้ ด้วย นายจันทร์ จึงไม่ อาจยกสิ ทธิที่ได้ มาโดยการครอบครองปรปักษ์
ขึน้ ต่ อสู้ นายศุ กร์ ผ้ ูรับมรดกของนายเสาร์ ได้ ข้ อต่ อสู้ ของนายจันทร์ ฟัง
ไม่ ขนึ้ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๘๗-๑๐๙๐/๒๕๐๑ และ ๒๕๑๑/๒๕๑๘)
74

ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนี ้มดดข้ อเท็ะะริ บั่ ำ นำยะดนทร์ ครอบครอบปรปด กษ์
ที่ ดินมี โ ฉนดขอบนำยพุ ธ ะนได้ ก รรมสิ ท ธิ์ แล้ ั ในค ำตอบะึ บ ไม่ ต้อ บ
ัินิะฉดยั่ ำ นำยะดนทร์ ครอบครอบอสด บหำริ มทรด พย์ ขอบผู้อื่นไั้ โดยคัำม
สบบแลวโดยเปิ ดเผยด้ ัยเะตนำเป็ นเะ้ ำ ขอบ ติ ดต่ อกด นเป็ นเัลำสิ บปี
ตำมมำตรำ ๑๓๘๒ แต่ ถ้ำเปลี่ ยนคำถำมเป็ นั่ ำ นำยะดนทร์ เข้ ำไปทำนำ
ในที่ ดินมีโฉนดขอบนำยพุธเป็ นเัลำ ๑๒ ปี โดยนำยพุธไม่ ทรำบ แล้ ั
นำยพุธก็นำที่ดินนด้นไปขำยให้ นำยเสำร์ ... กำรตอบคำถำม นดกศึกษำต้ อบ
ตอบั่ ำ นำยะดนทร์ เข้ ำไปทำนำในที่ ดินมีโฉนดขอบนำยพุธ เป็ นกำรเข้ ำ
ครอบครอบอสด บหำริ มทรด พย์ ขอบผู้อื่นไั้ โดยคัำมสบบแลวโดยเปิ ดเผย
ด้ ั ยเะตนำเป็ นเะ้ ำ ขอบ ติ ด ต่ อ กด น เป็ นเัลำกั่ ำ สิ บ ปี แม้ น ำยพุ ธ ะว
ไม่ ท รำบั่ ำ ที่ ดิ น ขอบตนถูก ครอบครอบปรปด ก ษ์ แต่ ก ำรครอบครอบ
ปรปด กษ์ กฎหมำยมิได้ คำนึ บั่ ำเะ้ ำขอบที่ ดินเดิ มะวทรำบั่ ำที่ ดินขอบตน
ถู ก ครอบครอบปรปด ก ษ์ ห รื อไม่ นำยะด น ทร์ ะึ บ ได้ ก รรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ ดิ น
ดดบกล่ ำัโดยกำรครอบครอบปรปด กษ์ ตำมมำตรำ ๑๓๘๒
เมื่ อ ัิ นิ ะ ฉด ย ในปรวเด็น ดด บ กล่ ำ ัแล้ ั ะึ บ ัิ นิ ะ ฉด ย ปรวเด็น อื่ น
ต่ อไป กำรตอบข้ อสอบกฎหมำย เป็ นเรื่ อบที่ ต้อบฝึ กฝนแล้ ันดกศึกษำะว
ทรำบั่ ำอวไรต้ อบตอบ อวไรไม่ ต้อบตอบ ถ้ ำตอนนีย้ ดบไม่ ทรำบั่ ำอวไร
ต้ อบตอบ อวไรไม่ ต้อบตอบ ก็ค่อย ๆ ฝึ กเขียนตอบข้ อสอบแลวสด บเกต
ข้ อแนวนำที่ ให้ ไั้ เมื่อฝึ กฝนะนชำนำญแล้ ัะวทรำบแลวเขียนตอบได้
ครบถ้ ันทุกปรวเด็น
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๘๗-๑๐๙๐/๒๕๐๑ ผูร้ ับโอนที่ดินมีโฉนด
ไว้โดยเสี ยค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ตและได้จดทะเบียนสิ ทธิ โดยสุ จริ ต
75

แล้ว ย่อมมีสิทธิ ดีกว่าผูท้ ี่ครอบครองที่ดินนั้นมาโดยปรปั กษ์กว่า ๑๐ ปี


ถ้ามี ผรู ้ ับโอนทางทะเบียนต่อมาเป็ นทอด ๆ อีกไม่ถึง ๑๐ ปี นับแต่วนั
โอนครั้ งแรก ผูร้ ับโอนต่อ ๆ มานี้ จะรู ้ หรื อไม่รู้ถึงการครอบครองโดย
ปรปักษ์ ก็มีสิทธิ ดีกว่าผูค้ รอบครอง

ข้ อ ๑๑ คาถาม นายขาวหลอกเอาโฉนดที่ดินของนายขาไป โดย


อ้างว่าจะเอาไปตรวจสอบที่ดินและสอบสวนราคาเพื่อจะซื้ อ แล้วนาย
ขาวปลอมลายมือชื่ อนายขาลงในใบมอบฉันทะว่าเป็ นผูย้ กกรรมสิ ทธิ์
ที่ดินรายนี้ ให้นายขาว และนายขาวได้ไปทาการแก้ทะเบียนโอนให้กบั
ตัวนายขาวเสี ยเองโดยนายขาไม่รู้เห็ นยินยอมด้วย เมื่ อโอนเสร็ จแล้ว
นายขาวได้เอาที่ดินนี้ ไปจดทะเบียนจานองไว้กบั นายเขียวเป็ นเงินหนึ่ ง
แสนบาท นายข าทราบจึ ง ฟ้ องให้ ศ าลพิ พ ากษาเพิ ก ถอนสั ญ ญาให้
ระหว่างนายขากับนายขาว และสัญญาจานองระหว่างนายขาวกับนาย
เขียว ดังนี้ ท่านเป็ นศาลจะตัดสิ นอย่างไร
ข้ อ ๑๑ คาตอบ การคุ้ ม ครองบุ คคลภายนอกที่สุ จ ริ ต และเสี ย
ค่ าตอบแทนที่ได้ จดทะเบียนโดยสุ จริ ตตามประมวลกฎหมายแพ่ งและ
พาณิช ย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง นั้ น ต้ อ งเป็ นกรณี ที่ มี ผ้ ู ไ ด้ ม าซึ่ ง
อสั งหาริ มทรั พย์ โดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมเสี ยก่ อน แล้ วสิ ทธิของผู้
ได้ มานั้นถ้ ายังมิได้ จดทะเบียน มิให้ ยกขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ บุคคลภายนอกผู้
ได้ สิทธิมาโดยเสี ยค่ าตอบแทนและโดยสุ จริ ต และได้ จดทะเบียนสิ ทธิ
โดยสุ จ ริ ต แล้ ว การที่ นายขาวปลอมลายมื อ ชื่ อ นายข าลงในใบมอบ
ฉันทะแล้วนาไปแก้ทะเบียนโอนที่ดินให้กบั ตัวนายขาวเสี ยเอง โดยนาย
76

ขาไม่รู้เห็ นยินยอมด้วย เมื่ อโอนเสร็ จแล้วนายขาวได้เอาที่ดินนี้ ไปจด


ทะเบียนจานองไว้กบั นายเขี ยว ไม่ มีการได้ มาซึ่ งอสั งหาริ มทรั พย์ โดย
ทางอื่ น นอกจากนิ ติ ก รรม นายเขี ย วจึ ง ไม่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองตาม
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง
เมื่ อสั ญญาให้ระหว่า งนายข ากับ นายขาว และสัญญาจานอง
ระหว่างนายขาวกับนายเขี ยว เกิ ดขึ้ นจากการทุ จริ ตและนายขาวมิ ไ ด้
รู้เห็นยินยอมด้วย ต้ องถือว่ ามิได้ มีสัญญาให้ ที่ดินเกิดขึน้ เลย กรรมสิ ทธิ์
ในที่ ดิ นยั งคงเป็ นของนายขาวอยู่ ต ามเดิ ม หาตกเป็ นของนายข าไม่
เมื่อนายขาไม่ มีกรรมสิ ทธิ์ในที่ดินแล้ ว นายขาก็ไม่ มีสิทธิจะเอาที่ดินนั้น
ไปจานองใครได้ การที่นายเขียวจดทะเบียนรับจานองที่ดินรายนี้ ไว้จาก
นายข าผูไ้ ม่ มี สิ ท ธิ จ ะจานองได้ จึ งไม่ เกิด ผลให้ น ายเขี ยวมีสิ ทธิ ต าม
สั ญญาจานองนั้น กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินดังกล่ าวยังเป็ นของนายขาว นาย
ขาวซึ่งเป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์จึงมีสิทธิติดตามเอาคืนและขอให้ เพิกถอน
การจดทะเบียนทีไ่ ม่ ชอบด้ วยกฎหมายได้ ตามมาตรา ๑๓๓๖ ศาลจึงต้ อง
พิพ ากษาเพิก ถอนสั ญ ญาให้ ระหว่ า งนายขากับ นายขาว และสั ญ ญา
จานองระหว่ างนายขาวกับนายเขียว (คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๓๐/๒๕๐๑
(ประชุมใหญ่))
ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนีเ้ ป็ นคำถำมกฎหมำยลดกษณวทรด พย์ นดกศึกษำต้ อบ
ตอบหลดกกฎหมำยเรื่ อบกรรมสิ ทธิ์ ตำมมำตรำ ๑๓๓๖ แลวต้ อบตอบั่ ำ
ไม่ ใช่ กรณี ตำมมำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคสอบ ด้ ัย
ค ำถำมข้ อ นี ้มี ก ำรปลอมลำยมื อ ชื่ อ ขอบเะ้ ำ ขอบที่ ดิ น ไปะด
ทวเบี ย นโอนที่ ดิน ถื อ ั่ ำ ไม่ มี ก ำรโอนที่ ดิน เลยตำมคำพิ พ ำกษำฎี ก ำ
77

ที่ ๒๓๐/๒๕๐๑ (ปรวชุ ม ใหญ่ ) แต่ ถ้ ำ มี ก ำรลบลำยมื อ ชื่ อ หรื อพิ ม พ์


ลำยนิ ้ั มื อ ในหนด บ สื อ มอบอ ำนำะโดยมิ ไ ด้ ก รอกข้ อ คัำม ถื อ ได้ ั่ ำ
เะ้ ำขอบที่ ดินปรวมำทเลิ นเล่ ออย่ ำบร้ ำยแรบ ไม่ อำะอ้ ำบคัำมปรวมำท
เลิ น เล่ อ ขอบตนมำเป็ นมู ล เหตุ ฟ้ อบร้ อบบุ ค คลภำยนอกผู้รด บ ะ ำนอบ
โดยสุ ะริ ตแลวมี ค่ำ ตอบแทนเพื่ อให้ ตนพ้ นคัำมรด บผิ ด เะ้ ำขอบที่ ดิน
ะึ บไม่ มีสิทธิ ฟ้อบขอให้ เพิ กถอนกำระดทวเบี ยนะำนอบที่ ดินพิ พำทได้
ตำมคำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๙๒๒/๒๕๔๘
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๓๐/๒๕๐๑ (ประชุ มใหญ่) จาเลยที่ ๑ รับ
เอาโฉนดที่พิ พาทของโจทก์ไปโดยบอกว่าจะซื้ อ แล้วจัดการโอนเอา
เสี ยเองโดยโจทก์มิได้รู้เห็ นยินยอมด้วย เมื่อนิ ติกรรมการโอนที่ดินราย
พิพาทมาเป็ นของจาเลยที่ ๑ เกิ ดขึ้นจากการทุจริ ตและโจทก์มิได้รู้เห็ น
ยินยอมด้วย นิ ติกรรมการโอนเป็ นโมฆะแล้ว ก็ตอ้ งถื อเสมือนว่ามิได้มี
นิ ติกรรมการโอนเกิดขึ้นเลย กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินยังคงเป็ นของโจทก์อยู่
ตามเดิม หาตกเป็ นของจาเลยที่ ๑ ไม่ เมื่อจาเลยที่ ๑ ไม่มีกรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินแล้ว จาเลยที่ ๑ ก็ไม่มีสิทธิ จะเอาที่ดินนั้นไปจานองใครได้ การที่
จาเลยที่ ๒ จดทะเบียนรับจานองที่ดินรายนี้ไว้จากจาเลยที่ ๑ ผูไ้ ม่มีสิทธิ
จะจานองได้ จึงไม่เกิดผลให้จาเลยที่ ๒ มีสิทธิ ตามนิติกรรมจานองนั้น
คาพิพากษาฎีก าที่ ๓๙๒๒/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๕ น.๒๑๒ โจทก์
เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินพิพาท ธ. ได้ขอซื้ อที่ดินแปลงดังกล่าว โดย
ให้ ม. เป็ นนายหน้า ต่อมา ม. นาเอกสารให้โจทก์พิม พ์ลายนิ้ วมื อใน
หนังสื อมอบอานาจโดยมิได้กรอกข้อความ และโจทก์ยงั ได้มอบโฉนด
ที่ดินพิพาทให้แก่ ม. ไปจนกระทัง่ มีการกรอกข้อความในหนังสื อมอบ
78

อานาจดังกล่าวว่าโจทก์มอบอานาจให้ ส. มีอานาจจดทะเบียนจานอง
ที่ดินพิพาทได้ เป็ นการกระทาที่เปิ ดโอกาสให้บุคคลอื่นนาหนังสื อมอบ
อานาจไปใช้จดทะเบียนจานองที่ดินพิพาทแก่จาเลย ตามพฤติการณ์ของ
โจทก์ ซ่ ึ งเป็ นเจ้า ของที่ ดิ น พิ พ าทกระท าการดัง กล่ า ว ถื อ ว่ า โจทก์
ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง โจทก์จึงไม่อาจอ้างความประมาทเลินเล่อ
ของตนมาเป็ นมูลเหตุฟ้องร้องจาเลยซึ่ งเป็ นบุคคลภายนอกผูร้ ับจานอง
โดยสุ จริ ตและมี ค่าตอบแทนเพื่อให้ตนพ้นความรั บผิด โจทก์จึงไม่ มี
สิ ทธิฟ้องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนจานองที่ดินพิพาทได้
ข้ อสั งเกต เกี่ ยักดบกำรปลอมหนดบสื อมอบอำนำะไปโอนที่ ดิน อำะใช้
หลด ก กฎหมำยเรื่ อบตด ั แทนเชิ ด หรื อกำรใช้ หลด ก กฎหมำยทด่ ั ไปั่ ำ
รวหั่ ำบผู้สุะริ ตด้ ัยกดนผู้ปรวมำทเลินเล่ อย่ อมเสี ยเปรี ยบ หำกผู้ปรวมำท
มำฟ้ อบก็ต้อบยกฟ้ อบ แต่ เมื่อศำลฎีกำอ้ ำบเรื่ อบสุ ะริ ตแลวเสี ยค่ ำตอบแทน
ะึบนำคำพิพำกษำฎีกำเหล่ ำนีม้ ำรัมในมำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคสอบ
หลดกในกำรคิดเกี่ยักดบเรื่ อบกำรปลอมหนดบสื อมอบอำนำะ หรื อ
ปลอมลำยมือชื่ อ ก็ใช้ หลดกั่ ำถ้ ำเะ้ ำขอบปรวมำทเลิ นเล่ อ เะ้ ำขอบะวมำ
ฟ้ อบขอให้ เพิ ก ถอนกำรโอนหรื อกำระ ำนอบไม่ ไ ด้ เพรำวท ำให้
บุคคลภำยนอกเสี ยหำย ตดัอย่ ำ บเช่ นค ำพิ พำกษำฎี กำนี ้ แต่ ถ้ำเะ้ ำขอบ
ที่ ดินฟ้ อบเรี ยกคื นะำกคนปลอมหนดบสื อมอบอำนำะ แม้ เะ้ ำขอบที่ ดินะว
ปรวมำท ก็ฟ้อบเรี ยกคื นได้ เพรำวไม่ มีบุคคลภำยนอกเสี ยหำย ขอให้ ดู
คำพิพำกษำฎีกำต่ อไป
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๗๙๐๖/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๘๖ การที่
โจทก์ฟ้ องเพื่ อติ ด ตามเอาคื นซึ่ งทรั พ ย์สิ น ของโจทก์ จากจาเลยที่ ๑
79

ผูป้ ลอมเอกสารโดยกรอกข้อความอันเป็ นเท็จลงในหนังสื อมอบอานาจ


ซึ่ งยังไม่ได้กรอกข้อความว่า โจทก์มอบให้จาเลยที่ ๑ มีอานาจจัดการยื่น
คาขอจดทะเบี ย นขายที่ ดินของโจทก์โดยยอมให้จาเลยที่ ๑ เป็ นผูร้ ั บ
โอนในนามของจาเลยที่ ๑ ได้ดว้ ย ทาให้สามารถโอนที่ดินไปเป็ นของ
ตนเองได้ ถื อได้ว่าจาเลยที่ ๑ เป็ นบุคคลผูไ้ ม่มีสิทธิ ที่จะยึดถื อที่ดินไว้
โจทก์สามารถฟ้ องจาเลยที่ ๑ ได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๖ แม้โจทก์
จะมี ส่ วนประมาทเลิ นเล่ ออย่างร้ า ยแรง ก็ ย งั มี สิ ท ธิ ติดตามเอาคื นซึ่ ง
ทรั พ ย์สิ น ของโจทก์ จ ากจ าเลยที่ ๑ ได้ ในเมื่ อ ที่ ดิ น นั้น ยัง มิ ไ ด้โ อน
เปลี่ ย นมื อ ไปเป็ นของบุ ค คลอื่ น ยัง อยู่ ใ นวิ สั ย ที่ จ ะเพิ ก ถอนการจด
ทะเบียนโอนขายที่ทาขึ้นโดยปราศจากอานาจได้ โจทก์จึงมีอานาจฟ้ อง
จาเลยที่ ๑

ข้ อ ๑๒ คาถาม นายแดงและนายดาเป็ นเจ้าของที่ดินมีโฉนด


แปลงละ ๒๐๐ ตารางวา ซึ่ งอยู่ติดกัน นายแดงปลูกบ้านรุ กล้ าเข้าไปใน
ที่ดินของนายดาเนื้ อที่ ๑๐ ตารางวา โดยนายแดงเข้าใจว่าเป็ นที่ดินที่อยู่
ในโฉนดที่ ดินของตน นายแดงอยู่อาศัยในบ้านดังกล่ าวโดยเดิ นผ่า น
ที่ดินของนายดากว้างประมาณ ๒ เมตรออกสู่ ถนนสาธารณะเป็ นเวลา
๓ ปี แล้วนายแดงให้นายจันทร์ เช่ าบ้านดังกล่าว นายจันทร์ ใช้ทางเดิ น
ดังกล่าวเข้าออกบ้านตลอดมาเป็ นเวลา ๔ ปี นายจันทร์ เลิกเช่า นายแดง
จึงกลับเข้ามาอยู่ในบ้านโดยใช้ทางเดิ นต่อมาอีก ๔ ปี นายดาขายที่ดิน
ให้นายอังคาร นายอังคารจดทะเบียนรับโอนที่ดินไว้โดยเข้าใจว่าที่ดินมี
เนื้ อที่ ๒๐๐ ตารางวา และไม่ทราบเรื่ องการปลูกสร้ างรุ กล้ าและการใช้
80

ทางเดินของนายแดงและนายจันทร์เลย
ให้วินิจฉัยว่า นายแดงมี สิทธิ ในที่ ดินที่ นายอังคารรั บโอนมา
หรื อไม่เพียงใด
ข้ อ ๑๒ คาตอบ การที่ นายแดงปลู กบ้า นรุ ก ล้ าเข้าไปในที่ ดิน
ของนายดาเนื้ อที่ ๑๐ ตารางวา โดยนายแดงเข้าใจว่าเป็ นที่ ดินที่ อยู่ใน
โฉนดที่ดินของตน เป็ นกรณีที่นายแดงสร้ างโรงเรื อ นรุ กล้าเข้ า ไปใน
ที่ดินของนายดาโดยสุ จริ ต นายแดงจึงเป็ นเจ้ าของโรงเรื อนที่สร้ างขึ้น
แต่ ต้ อ งเสี ย เงิน ให้ แ ก่ นายด าเจ้ า ของที่ดิ น เป็ นค่ า ใช้ ที่ดิ น นั้ น และจด
ทะเบียนสิ ทธิเป็ นภาระจายอมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา ๑๓๑๒ วรรคหนึ่ง
นอกจากนี้ การที่ นายแดงปลู กโรงเรื อนรุ กล้ า ดังกล่ าวและอยู่
อาศัย ยังเป็ นกรณีทนี่ ายแดงครอบครองทรั พย์ สินของผู้อื่นไว้ โดยความ
สงบ และโดยเปิ ดเผยด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของตามมาตรา ๑๓๘๒ อีกด้ วย
การที่นายแดงเดิ นผ่านที่ดินของนายดา เป็ นการใช้ ทางเดินบน
ที่ดินของนายดาโดยความสงบ และโดยเปิ ดเผยด้ วยเจตนาจะเอาเป็ น
ทางภาระจายอม ซึ่ งเป็ นการใช้ ทางเดินโดยปรปั กษ์ ตามมาตรา ๑๔๐๑
ประกอบมาตรา ๑๓๘๒ จึ งเป็ นกรณีที่ที่ดินของนายด าอาจตกอยู่ใ น
ภาระจ ายอม อั น เป็ นเหตุ ใ ห้ น ายด าเจ้ า ของที่ ดิ น ต้ อ งยอมรั บ กรรม
บางอย่ า งซึ่ งกระทบถึงทรั พย์ สินของตน หรื อต้ องงดเว้ นการใช้ สิทธิ
บางอย่ างอันมีอยู่ในกรรมสิ ทธิ์ทรั พย์ สินนั้น เพื่อประโยชน์ แก่ ที่ดินของ
นายแดงตามมาตรา ๑๓๘๗
การที่นายแดงปลูกบ้านรุ กล้ าเข้าไปในที่ดินและเดิ นผ่านที่ดิน
81

ของนายดาเอง เป็ นการครอบครองและใช้ สิทธิในทางเดินโดยปรปั กษ์


ที่ดิ นของนายด าเป็ นเวลา ๓ ปี ต่ อมานายแดงให้นายจันทร์ เ ช่ า บ้า น
ดังกล่าว นายจันทร์ ใช้ทางเดินดังกล่าวเข้าออกบ้าน นายแดงย่ อมได้ มา
ซึ่ งสิ ทธิครอบครองและสิ ทธิในทางเดินโดยปรปั กษ์ โดยมีนายจันทร์
ยึดถือไว้ ให้ และใช้ ทางให้ ตามมาตรา ๑๓๖๘ เป็ นเวลา ๔ ปี ต่อมานาย
แดงกลับเข้ามาอยูใ่ นบ้านโดยใช้ทางเดินต่อมาอีก ๔ ปี นายแดงสามารถ
นับระยะเวลาที่นายแดงเคยครอบครองและใช้ ทางเดิน ๓ ปี นายจันทร์
เช่ าและใช้ ทางเดิน ๔ ปี และที่นายแดงครอบครองและใช้ ทางเดินอีก ๔
ปี รวมเข้ าด้ วยกันได้ ๑๑ ปี ต้ องถือว่ านายแดงครอบครองที่ดินของนาย
ดาไว้โดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของติดต่ อกันเป็ น
เวลาสิ บปี นายแดงย่ อมได้ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดิน ๑๐ ตารางวาดังกล่ าวตาม
มาตรา ๑๓๘๒ และถื อ ว่ า นายแดงใช้ ทางเดินโดยความสงบและโดย
เปิ ดเผยด้ วยเจตนาจะเอาเป็ นทางภาระจายอมติดต่ อกันเป็ นเวลาสิ บปี
นายแดงย่อมได้ ทางภาระจายอมโดยปรปักษ์ กว้ าง ๒ เมตร ในที่ดินของ
นายดาตามมาตรา ๑๔๐๑ ประกอบมาตรา ๑๓๘๒
การที่นายดาขายที่ดินดังกล่าวเนื้ อที่ ๒๐๐ ตารางวาตามโฉนด
ที่ดินให้แก่นายอังคารนั้น แม้นายแดงจะได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินดังกล่าว
เนื้ อที่ ๑๐ ตารางวาโดยการครอบครองปรปั กษ์ดงั ที่วินิจฉัยมาแล้ว แต่
การได้ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินโดยการครอบครองปรปั กษ์ ดังกล่ าว เป็ นการ
ได้ มาซึ่ งอสั งหาริ มทรั พย์ โดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม เมื่อยังมิได้ จด
ทะเบียน การที่นายอังคารจดทะเบียนรับโอนที่ดินไว้โดยเข้าใจว่าที่ดิน
มีเนื้อที่ ๒๐๐ ตารางวา จึงถือว่ านายอังคารเป็ นบุคคลภายนอกผู้ได้ สิทธิ
82

มาโดยเสี ยค่ าตอบแทนและโดยสุ จริ ต และได้ จดทะเบียนสิ ทธิโดยสุ จริ ต


แล้ ว นายแดงจึงไม่ อาจยกการได้ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินเนื้อที่ ๑๐ ตารางวา
โดยการครอบครองปรปั ก ษ์ ขึ้นเป็ นข้ อต่ อสู้ นายอังคารได้ ตามมาตรา
๑๒๙๙ วรรคสอง เมื่อนายแดงไม่อาจยกการได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินโดย
การครอบครองปรปั กษ์ข้ ึนเป็ นข้อต่อสู ้นายอังคารได้ จึงต้องพิจารณา
การปลูกสร้างโรงเรื อนรุ กล้ าเนื้อที่ ๑๐ ตารางวาต่อไป
การที่ นายแดงเจ้า ของโรงเรื อ นที่ ไ ด้สิ ท ธิ ใ นโรงเรื อนรุ ก ล้ า
มีสิทธิ จดทะเบียนภาระจายอมในที่ดินของนายดาตามมาตรา ๑๓๑๒
วรรคหนึ่ ง นั้น แม้ จะเป็ นการได้ มาซึ่ งทรั พยสิ ทธิอันเกี่ยวกับอสั งหา-
ริมทรัพย์โดยทางอืน่ นอกจากนิติกรรมตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง แต่
สิ ทธิ ใ นโรงเรื อ นรุ ก ล้า ตามมาตรา ๑๓๑๒ วรรคหนึ่ ง เป็ นบทบัญญัติ
พิเศษที่บังคับแก่ เจ้ าของที่ดินที่ถูกปลูกสร้ างรุ กลา้ ไม่ ว่าจะเป็ นเจ้ าของ
ในขณะที่มีการปลูกสร้ างหรื อรั บโอนในเวลาต่ อมา ก็ต้องตกอยู่ใต้ ภาระ
จายอมดังกล่าว แม้ ยงั มิได้ จดทะเบียนสิ ทธิเป็ นภาระจายอม แต่ ก็ไม่ เป็ น
เหตุ ให้ สิ ทธิ ที่จะขอจดทะเบียนภาระจ ายอมตามที่กฎหมายให้ ไ ว้ น้ ั น
หมดไป (คาพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๗๔๑/๒๕๐๕ (ประชุ มใหญ่ )) นายแดง
จึงเป็ นเจ้ าของโรงเรื อนส่ วนที่รุกลา้ เข้ าไปในที่ดินเนื้อที่ ๑๐ ตารางวา ที่
นายอังคารซื้อมา แต่ ต้องเสี ยเงินให้ แก่ นายอังคารเจ้ าของที่ดินเป็ นค่ า
ใช้ ที่ดิ นนั้ น และมี สิ ทธิ จ ดทะเบี ยนสิ ทธิ เป็ นภาระจ ายอมตามมาตรา
๑๓๑๒ วรรคหนึ่ง
สาหรับสิ ทธิ ในทางเดินโดยปรปั กษ์กว้าง ๒ เมตรนั้น แม้ ตาม
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ถ้ า มี ผ้ ู ไ ด้ ม าซึ่ ง ทรั พ ยสิ ท ธิ อั น เกี่ ย วกั บ
83

อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ โ ดยทางอื่ น นอกจากนิ ติ ก รรม สิ ท ธิ อัน ยั ง มิ ไ ด้ จ ด


ทะเบียนนั้น มิให้ ยกขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ บุคคลภายนอกผู้ได้ สิทธิมาโดยเสี ย
ค่ าตอบแทนและโดยสุ จริ ต และได้ จดทะเบียนสิ ทธิ โดยสุ จริ ตแล้ ว แต่
สิ ท ธิ ต ามความหมายในมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ต้ อ งเป็ นสิ ท ธิ ใ น
ประเภทเดียวกัน เมื่อภาระจายอมเป็ นสิ ทธิ ในประเภทรอนสิ ทธิ ส่ วน
กรรมสิ ทธิ์ เ ป็ นสิ ทธิ ใ นประเภทได้ สิ ท ธิ เป็ นสิ ท ธิ ค นละประเภทกัน
ดัง นั้ น แม้น ายอัง คารจะเป็ นบุ ค คลภายนอกผู้ไ ด้สิ ท ธิ ม าโดยเสี ย
ค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ต และได้จดทะเบียนสิ ทธิ โดยสุ จริ ตแล้ว แต่
การที่นายแดงได้ ทางภาระจายอมโดยปรปั กษ์ กว้ าง ๒ เมตร ในที่ดิ น
ของนายดาตามมาตรา ๑๔๐๑ ประกอบมาตรา ๑๓๘๒ เป็ นทรัพยสิ ทธิที่
ติ ด ไปกั บ ตั ว ทรั พ ย์ ภาระจ ายอมจะสิ้ น ไปได้ ถ้ า ภารยทรั พ ย์ ห รื อ
สามยทรัพย์ สลายไป หรือมิได้ ใช้ เป็ นเวลาสิ บปี ตามมาตรา ๑๓๙๗ และ
มาตรา ๑๓๙๙ เท่ านั้น (คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๐๐/๒๕๐๒ (ประชุ มใหญ่),
ที่ ๓๒๖๒/๒๕๔๘) นายแดงจึ ง อ้ า งสิ ท ธิ ใ นทางภาระจ ายอมโดย
ปรปักษ์ เหนือทีด่ ินของนายอังคารได้
ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนี ้เป็ นค ำถำมที่ มีหลำยปรวเด็นมำก กำระวเขี ย น
ตอบให้ ทดนเัลำ ต้ อบะดดลำดดบปรวเด็นในกำรเขียนตอบก่ อน ะึ บะวเขียน
ได้ ครบถ้ ัน คำถำมข้ อนี ห้ ำกกำรครอบครอบปรปด กษ์ ไม่ ถึบ ๑๐ ปี กำร
ตอบคำถำมข้ อนี ะ้ วตอบเพี ยบปรวเด็นโรบเรื อนรุ กลำ้ ไม่ ต้อบตอบเรื่ อบ
ครอบครอบปรปด ก ษ์ กำรตอบค ำถำมข้ อ นี ้ะึ บ ต้ อ บตอบเรื่ อบกำรได้
ทรด พยสิ ทธิ ต่ ำบ ๆ ก่ อน แล้ ัะึ บะวพิ ะำรณำเรื่ อบกำรคุ้ มครอบ
บุคคลภำยนอกผู้สุะริ ตแลวเสี ยค่ ำตอบแทนต่ อไป
84

คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๔๑/๒๕๐๕ (ประชุ มใหญ่) ฎ.๗๑๒ ปลูก


สร้างเรื อนในที่ดินของตน ตัวเรื อนไม่รุกล้ าเข้าไปในที่ดินของผูอ้ ื่น แต่
ชายคาได้รุกล้ าเข้าไปโดยสุ จริ ตนั้น ย่อมเป็ นการปลู กสร้ า งโรงเรื อน
รุ กล้ าเข้าไปในที่ ดินของผูอ้ ื่ นตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์
มาตรา ๑๓๑๒ ไม่ใช่มาตรา ๑๓๔๑ เพราะตามมาตรา ๑๓๔๑ หมายถึง
ทาหลังคาหรื อการปลูก สร้ างอย่างอื่นโดยมิได้รุกล้ าที่ดินของผูอ้ ื่น แต่
เมื่ อ ฝนตกน้ าฝนได้ ไ หลลงไปยัง ที่ ดิ น หรื อทรั พ ย์ สิ นของผู ้อื่ น ที่
ติดต่อกัน
เมื่อกรณี เรื่ องนี้ เข้ามาตรา ๑๓๑๒ ซึ่ งใช้บงั คับในกรณี ที่สร้าง
เรื อนรุ กล้ าเข้าไปในที่ดินของผูอ้ ื่ นโดยสุ จริ ต มาตรานี้ เป็ นบทบัญญัติ
พิเศษบังคับแก่เจ้าของที่ดิน ไม่ว่าจะเป็ นเจ้าของขณะมีการปลูกสร้ าง
หรื อเป็ นผูร้ ับโอนในเวลาต่อมา การที่จาเลยยังมิได้จดทะเบียนสิ ทธิ น้ นั
ไม่เป็ นเหตุให้สิทธิ ที่จะขอจดทะเบียนภาระจายอมตามที่กฎหมายให้ไว้
นั้นหมดไป
ในกรณี ป ลู ก เรื อนรุ ก ล้ า ที่ ดินของผูอ้ ื่ นโดยสุ จริ ตตามมาตรา
๑๓๑๒ นั้นเจ้า ของโรงเรื อนมี สิ ท ธิ ข อให้จ ดทะเบี ย นสิ ทธิ เ ป็ นภาระ
จายอมได้โดยไม่ตอ้ งรอจนเกิน ๑๐ ปี
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๐๐/๒๕๐๒ (ประชุ มใหญ่) ภาระจายอมจะ
สิ้ นไปก็แต่เมื่อภารยทรัพย์หรื อสามยทรัพย์สลายไปทั้งหมดหรื อมิได้ใช้
สิ บปี ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๙๗, ๑๓๙๙ และในลักษณะซื้ อขายตาม
มาตรา ๔๘๐ ก็ยงั บัญญัติว่า "ถ้าอสังหาริ มทรัพย์ตอ้ งแสดงว่าตกอยู่ใน
บัง คับแห่ งภาระจายอมโดยกฎหมายไซร้ ท่ า นว่า ผูข้ ายไม่ต้องรั บ ผิด
85

เว้นแต่ ผูข้ ายจะได้รับ รองไว้ใ นสั ญญาว่า ทรั พ ย์น้ ัน ปลอดจากภาระ


จายอมอย่างใด ๆ ทั้งสิ้ นหรื อปลอดจากภาระจายอมอันนั้น" ตามมาตรา
๑๒๙๙ หมายถึ ง แต่ ก รณี ที่ บุ ค คลได้ม าโดยสุ จ ริ ต ซึ่ งทรั พ ย์สิ ท ธิ อ ัน
เดียวกันกับสิ ทธิ ที่ยงั ไม่ได้จดทะเบียน ผูร้ ับโอนกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินซึ่ งมี
ภาระจ ายอมติ ด อยู่ หาได้ สิ ท ธิ ใ นภาระจ ายอมไปด้ ว ยแต่ อ ย่ า งไร
ไม่ สาหรับที่ดินอันเป็ นภารยทรัพย์น้ นั ภาระจายอมที่มีอยู่เป็ นแต่การ
รอนสิ ทธิ ตาม มาตรา ๔๘๐ เท่านั้น ผูร้ ับโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินจะยกการ
รับโอนกรรมสิ ทธิ์ โดยสุ จริ ตขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้เพื่อให้ภาระจายอมที่มีอยู่
ในที่ดินนั้นต้องสิ้ นไปหาได้ไม่
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๒๖๒/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๕ น.๑๕๕ คดี ก่อน
ศาลฎี กาพิพากษาว่าทางพิพาทตกเป็ นภาระจายอมแก่ที่ดินโฉนดเลขที่
๑๕๗๖๔ โดยอายุความ อันเป็ นทรัพยสิ ทธิ ที่ติดไปกับตัวทรัพย์ กรณี หา
ใช่ เป็ นภาระจายอมโดยนิ ติกรรมซึ่ งยังมิ ได้จดทะเบี ยนอันเป็ นบุ คคล
สิ ทธิ ไม่ จาเลยทั้งสองหาอาจอ้างว่าจาเลยทั้งสองได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินที่
เป็ นภารยทรัพย์โดยเสี ยค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ตจึงมีสิทธิ ดีกว่าโจทก์
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ได้ไม่ เพราะสิ ทธิ ตามความหมาย
ในบทบัญญัติดงั กล่าวต้องเป็ นสิ ทธิ ในประเภทเดียวกัน แต่ภาระจายอม
เป็ นสิ ท ธิ ใ นประเภทรอนสิ ท ธิ ส่ วนกรรมสิ ท ธิ์ เป็ นสิ ท ธิ ใ นประเภท
ได้สิ ท ธิ เ ป็ นสิ ท ธิ ค นละประเภทกัน ทั้ง โจทก์ และจาเลยทั้ง สองเป็ น
ผูส้ ื บสิ ทธิ จากคู่ความในคดี ก่อน ค าพิพากษาศาลฎี กาคดี ก่อนจึ งมี ผ ล
ผูกพันโจทก์และจาเลยทั้งสอง
86

ข้ อ ๑๓ คาถาม นายหนึ่ งและนายสองเป็ นเจ้าของรวมที่ดินมี


โฉนดแปลงหนึ่ งซึ่ งมี เนื้ อที่ ๑๐ ไร่ ต่อมาปี ๒๕๔๐ นายสองเล่ นการ
พนันเสี ยเงินไปมาก นายสองจึงขายที่ดินให้แก่นายสาม ๑๐๐ ตารางวา
ราคา ๑๐,๐๐๐ บาท โดยนายสองและนายสามทาสัญญาและส่ งมอบ
ที่ดินให้แก่กนั นายสามปลูกบ้านบนที่ดินดังกล่าวและอยูอ่ าศัยจนถึงปี
๒๕๔๕ นายสามยกบ้านและที่ดิน ๑๐๐ ตารางวา ดังกล่าว ให้แก่นายสี่
ซึ่ งเป็ นบุ ตร นายสี่ ค รอบครองบ้า นและที่ ดินดังกล่ า วเรื่ อยมาจนถึ ง ปี
๒๕๕๑ นายสองขายที่ดินกรรมสิ ทธิ์ รวมส่ วนของตนให้แก่ นายหนึ่ ง
โดยท าเป็ นหนั ง สื อและจดทะเบี ย นต่ อ เจ้ า พนั ก งานที่ ดิ น ราคา
๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ให้วินิจฉัยว่า นายสี่ มีสิทธิ ในที่ดิน ๑๐๐ ตารางวา
หรื อไม่เพียงใด
ข้ อ ๑๓ คาตอบ การที่นายสองขายที่ดิน ๑๐๐ ตารางวา ให้แก่
นายสามนั้น แม้ การซื้อขายจะมิได้ ทาเป็ นหนั งสื อและจดทะเบียนต่ อ
พนักงานเจ้ า หน้ าที่ย่อมตกเป็ นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิ ชย์ มาตรา ๔๕๖ วรรคหนึ่ ง แต่นายสองส่ งมอบที่ ดินให้แก่ นาย
สาม การที่นายสามปลู กบ้านอยู่อาศัย เป็ นกรณีที่นายสามครอบครอง
อสั งหาริ มทรั พย์ ของผู้อื่นไว้ โดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้ วยเจตนา
เป็ นเจ้ าของตั้งแต่ ปี ๒๕๔๐ ถึงปี ๒๕๔๕
ต่อมานายสามยกบ้า นและที่ ดินให้แก่ นายสี่ ซ่ ึ งเป็ นบุ ตร เป็ น
การโอนการครอบครองแก่ กัน นายสี่ ผ้ ูรับโอนจึงนับเวลาซึ่ งผู้โอนการ
ครอบครองอยู่ก่อนนั้นรวมเข้ ากับเวลาครอบครองของตนได้ ตามมาตรา
๑๓๘๕ การที่นายสี่ ครอบครองบ้านและที่ดินดังกล่าวเรื่ อยมาจนถึงปี
87

๒๕๕๑ จึ งเป็ นการครอบครองอสั งหาริ มทรั พย์ ของผู้อื่นไว้ โดยความ


สงบและโดยเปิ ดเผยด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของเป็ นเวลากว่ าสิ บปี นายสี่
จึงได้ ก รรมสิ ทธิ์ ใ นที่ดิ น ๑๐๐ ตารางวา โดยการครอบครองปรปั กษ์
ตามมาตรา ๑๓๘๒
แม้ นายสี่ จะเป็ นผู้ได้ มาซึ่งอสั งหาริมทรัพย์ โดยทางอื่นนอกจาก
นิติกรรมทีย่ งั มิได้ จดทะเบียน ซึ่งมิให้ ยกขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ บุคคลภายนอก
ผู้ได้ สิทธิมาโดยเสี ยค่ าตอบแทนและโดยสุ จริ ต และได้ จดทะเบียนสิ ทธิ
โดยสุ จ ริ ตแล้ ว ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง แต่ นายหนึ่ งเป็ นเจ้าของ
รวมในที่ดินตามโฉนด การที่นายสี่ ครอบครองปรปั กษ์ที่ดินพิพาทซึ่ ง
เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของที่ ดิ น ตามโฉนดจนได้ก รรมสิ ท ธิ์ ดัง กล่ า วมาแล้ว
เท่ า กับว่ านายสี่ ได้ ค รอบครองปรปั ก ษ์ ในส่ ว นที่นายหนึ่งเป็ นเจ้ า ของ
รวมอยู่ ด้ ว ย แม้ภ ายหลัง นายหนึ่ งจะรั บ โอนที่ ดิ น จากนายสองผู้มี
กรรมสิ ทธิ์ รวมคนอื่ นจนนายหนึ่ งเป็ นเจ้าของที่ดินเพียงคนเดี ยว ก็ไม่
ถือว่ านายหนึ่งเป็ นบุคคลภายนอกตามความหมายแห่ งมาตรา ๑๒๙๙
วรรคสอง นายสี่ จึงยกเอาการได้ ที่ดินพิพาท ๑๐๐ ตารางวามาโดยการ
ครอบครองปรปั กษ์ ขึ้นต่ อ สู้ นายหนึ่ งได้ (ค าพิ พากษาฎี ก าที่ ๓๖๗๐/
๒๕๔๗)
ข้ อสั ง เกต ข้ อ เท็ะ ะริ บะำกค ำถำมที่ ั่ ำ นำยสอบเล่ นกำรพนด นเสี ย เบิ น
ไปมำก นำยสอบะึบขำยที่ดินให้ แก่ นำยสำมนด้น นำยสอบะวเล่ นกำรพนดน
เสี ยเบินไปมำกหรื อไม่ ไม่ คัรมีในคำตอบ เพรำวไม่ เป็ นปรวเด็น ขอให้
นดกศึกษำลอบสด บเกตดูั่ำข้ อเท็ะะริ บใดที่ เรำต้ อบนำไปปรด บบทกฎหมำย
ข้ อเท็ะะริ บใดไม่ ะำเป็ นต้ อบเขียนตอบ แล้ ันดกศึกษำะวเขียนตอบได้ สด้น
88

แลวตรบปรวเด็น
ส่ ันข้ อเท็ะะริ บที่ ั่ำ นำยสอบขำยที่ ดินกรรมสิ ทธิ์ รัมส่ ันขอบ
ตนให้ แก่ นำยหนึ่ บ โดยไม่ ได้ รวบุให้ ชดดเะนั่ ำนำยหนึ่ บสุ ะริ ตหรื อไม่
เป็ นกำรช่ ัยนด ก ศึ ก ษำอี ก ทำบหนึ่ บ เพรำวหำกนด ก ศึ ก ษำะวตอบั่ ำ
นำยหนึ่บเป็ นบุคคลภำยนอก นดกศึกษำต้ อบมำหำข้ อเท็ะะริ บในคำถำมั่ ำ
ส่ ันใดที่ ะวชี ้ใ ห้ เห็ นั่ ำ นำยหนึ่ บ สุ ะริ ตหรื อไม่ แลวนดก ศึ ก ษำอำะะว
ย้ อนกลดบมำคิดได้ ั่ำนำยหนึ่บไม่ ใช่ บุคคลภำยนอก
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๖๗๐/๒๕๔๗ ฎ.๘๘๗ ย. ย่าของผูร้ ้องซื้ อ
ที่ ดินพิ พ าทอันเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของที่ ดินโฉนดตราจองจาก จ. ซึ่ ง เป็ น
เจ้า ของกรรมสิ ท ธิ์ รวม แม้ก ารซื้ อขายจะมิ ไ ด้ท าเป็ นหนัง สื อและจด
ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ยอ่ มตกเป็ นโมฆะตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๔๕๖ วรรคหนึ่ง แต่หลังจากตกลงซื้ อขายที่ดิน
กันแล้ว จ. ได้ส่ ง มอบที่ ดินพิ พ าทให้ ย. เข้า ครอบครองปลู ก บ้า นอยู่
อาศัยโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ ต่อมา ย. ยกที่ดินพิพาทให้แก่
ส. บิดาของผูร้ ้ องและสื บทอดต่อมายังผูร้ ้ อง เป็ นเวลากว่า ๑๐ ปี ผูร้ ้อง
จึงได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์ตามมาตรา
๑๓๘๒ การที่ฝ่ายผูร้ ้องมิได้โต้แย้งคัดค้านการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง
สิ ทธิ ในโฉนดตราจอง หรื อผูร้ ้องมิได้ดาเนิ นการทางทะเบียนเมื่อครบ
กาหนดเวลาการได้ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดินพิพ าทตามกฎหมาย ไม่ท าให้
ลักษณะการยึดถือที่ดินพิพาทของฝ่ ายผูร้ ้องเปลี่ยนแปลงไป
ผูค้ ดั ค้า นเป็ นเจ้าของรวมในที่ ดินโฉนดตราจอง ผูร้ ้ องครอบ
ครองปรปั ก ษ์ที่ ดิ น พิ พ าทซึ่ งเป็ นส่ ว นหนึ่ งของที่ ดิ น โฉนดตราจอง
89

ดังกล่าวจนได้กรรมสิ ทธิ์ แล้ว เท่ากับว่าผูร้ ้องได้ครอบครองปรปั กษ์ใน


ส่ วนที่ผคู ้ ดั ค้านเองเป็ นเจ้าของรวมอยู่ดว้ ย แม้ภายหลังผูค้ ดั ค้านจะรับ
โอนที่ ดินจากผูม้ ี ก รรมสิ ท ธิ์ รวมคนอื่ นจนผูค้ ดั ค้านเป็ นเจ้า ของที่ ดิน
เพียงคนเดียวก็ไม่ถือว่าผูค้ ดั ค้านเป็ นบุคคลภายนอกตามความหมายแห่ ง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ผูร้ ้องจึงยก
เอาการได้ที่ดินพิพาทมาโดยการครอบครองปรปั กษ์ข้ ึนต่อสู ้ผคู ้ ดั ค้าน
ได้

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง


ประเภทของสิ ทธิทไี่ ด้ รับความคุ้มครอง
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๘๗๐๐/๒๕๕๐ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๒๖๓ , ที่
๖๑๔๗/๒๕๕๔ ฎ.๒๓๑๔ จาเลยครอบครองที่ ดิ นพิ พ าทตั้ง แต่ ที่ ดิ น
พิพาทเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ช. เมื่อ ช. ขายที่ดินพิพ าทและจดทะเบีย น
โอนกรรมสิ ทธิ์ ให้แก่บิดาโจทก์ก่อนจาเลยครอบครองครบกาหนดสิ บปี
จาเลยไม่อาจยกการครอบครองดังกล่าวขึ้นยันบิดาโจทก์ได้ การครอบ
ครองที่ ดิ น พิ พ าทของจ าเลยจึ ง ขาดตอนตั้ง แต่ บิ ด าโจทก์ ไ ด้รั บ โอน
กรรมสิ ทธิ์ ทางทะเบียนแล้ว จาเลยจะต้องเริ่ มนับระยะเวลาครอบครอง
ที่ดินพิพาทใหม่ จะนาระยะเวลาที่จาเลยครอบครองที่ดินของ ช. มานับ
รวมด้วยไม่ได้ เมื่อจาเลยครอบครองที่ดินพิพาทหลังจากบิดาโจทก์ได้
กรรมสิ ทธิ์ มายังไม่ครบสิ บปี จาเลยจึงไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ที่ดินพิพาทโดย
การครอบครองปรปักษ์
ข้ อสั งเกต หำกะำเลยครอบครอบปรปด กษ์ ที่ดินขอบ ช. ครบ ๑๐ ปี ะนได้
90

กรรมสิ ทธิ์ แล้ ั ช. ขำยที่ ดินให้ บิดำโะทก์ ที่ได้ ะดทวเบียนรด บโอนที่ ดิน
โดยสุ ะริ ตแลวเสี ยค่ ำตอบแทน ะำเลยะวยกกำรครอบครอบปรปด กษ์ ขึน้
ต่ อสู้บิดำโะทก์ ไม่ ได้ ตำมมำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคสอบ
กำรที่ ะ ำเลยได้ ก รรมสิ ท ธิ์ โ ดยกำรครอบครอบปรปด ก ษ์ ต ำม
มำตรำ ๑๓๘๒ แล้ ัยดบไม่ สำมำรถยกขึน้ ต่ อสู้ บิดำโะทก์ ได้ ตำมมำตรำ
๑๒๙๙ ัรรคสอบ หำกะำเลยครอบครอบที่ ดินเพียบ ๓ ปี ซึ่ บเป็ นสิ ทธิ ที่มี
สิ ทธิ น้อยกั่ ำ ครอบครอบครบ ๑๐ ปี กำรครอบครอบที่ ดินเพี ย บ ๓ ปี
ก็ ไ ม่ ส ำมำรถยกขึ ้น ต่ อ สู้ บิ ด ำโะทก์ ตำมมำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคสอบ
เช่ นเดียักดน
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๒๗๒๒/๒๕๔๗ ฎ.๔๗๖ โจทก์มี ชื่ อเป็ น
เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินร่ วมกับ ฉ. เมื่อจาเลยมิได้ต่อสู ้ว่าโจทก์ซ้ื อที่ดิน
โดยไม่ สุ จ ริ ต โจทก์ ย่ อ มได้ รั บ ประโยชน์ จ ากข้อ สั น นิ ษ ฐานของ
กฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๖ ว่ากระทาการ
โดยสุ จริ ต และเมื่อเป็ นการซื้ อขายจึงย่อมมีค่าตอบแทน แม้จาเลยจะได้
กรรมสิ ทธิ์ ส่ วนหนึ่ งของที่ ดินโดยการครอบครองตามมาตรา ๑๓๘๒
โดยคาสั่งศาล แต่ก็เป็ นการได้มาภายหลังที่โจทก์ได้กรรมสิ ทธิ์ ที่ดินโดย
เสี ยค่าตอบแทนและได้จดทะเบียนสิ ทธิ โดยสุ จริ ตแล้ว เมื่อการได้ที่ดิน
ของจาเลยดังกล่าวเป็ นการได้มาทางอื่นนอกจากนิติกรรมและในขณะที่
ได้มาโจทก์จดทะเบียนรับโอนที่ดินจากเจ้าของที่ดินเดิ มแล้ว แต่จาเลย
ยัง มิ ไ ด้จ ดทะเบี ย นการได้ม าต่ อพนัก งานเจ้า หน้า ที่ จาเลยจึ ง ไม่ อาจ
ยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้โจทก์ตาม มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ได้ แม้จาเลยจะ
ครอบครองที่ดินต่อมา ก็ตอ้ งเริ่ มนับระยะเวลาครอบครองใหม่นบั แต่
91

วันที่โจทก์จดทะเบียนรับโอนที่ดิน เมื่อยังไม่ครบ ๑๐ ปี จาเลยจึงไม่ได้


กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินโดยการครอบครองตามมาตรา ๑๓๘๒
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๘๐๑/๒๕๔๔ ฎ.๑๘๓๗ จาเลยครอบครอง
และได้สิทธิ ครอบครองในที่ดินพิพาทอยูก่ ่อน แต่เมื่อ ส. ขอออกโฉนด
ที่ดินจาเลยไม่ได้คดั ค้าน เจ้าพนักงานที่ดินได้ออกโฉนดที่ดินให้แก่ ส.
ที่ดินตามโฉนดที่ดินซึ่ งรวมทั้งที่ ดินพิพาทย่อมตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ
ส. ต้องเริ่ มนับระยะเวลาการครอบครองปรปั กษ์ต้ งั แต่วนั ที่ออกโฉนด
ที่ ดิ น คื อ วัน ที่ ๒๔ กุ ม ภาพัน ธ์ ๒๕๒๔ เป็ นต้น ไป ต่ อ มามี ก ารจด
ทะเบี ย นโอนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ นเป็ นของโจทก์ เ มื่ อ วัน ที่ ๒๐ มิ ถุ นายน
๒๕๓๓ เนื่ องจากโจทก์ซ้ื อที่ดินจากการขายทอดตลาดตามคาสั่งศาล
ซึ่ ง ยัง ไม่ ถึ ง ๑๐ ปี เมื่ อ โจทก์ เ ป็ นบุ ค คลภายนอกได้สิ ท ธิ ม าโดยเสี ย
ค่าตอบแทนและได้จดทะเบี ยนสิ ทธิ โดยสุ จริ ตตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง การครอบครองปรปั กษ์ที่มี
อยูก่ ่อนนั้นจึงสิ้ นไป แม้จาเลยครอบครองต่อมา ก็ตอ้ งเริ่ มนับระยะเวลา
การครอบครองใหม่ต้ งั แต่ปี ๒๕๓๓ จนถึงวันที่โจทก์ท้ งั สองฟ้ องคดีน้ ี
วันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๓๙ ยังไม่ถึง ๑๐ ปี จาเลยจึงไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินพิพาทโดยการครอบครองตามมาตรา ๑๓๘๒
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๑๓๖๖๓-๑๓๖๖๔/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๑ น.
๑๗๒ ขณะโจทก์ที่ ๑ และที่ ๒ จะซื้ อที่ ดินโฉนดเลขที่ ๑๓๓๗ ที่ดิน
แปลงดัง กล่ า วไม่ มี ท างออกสู่ ถ นนสาธารณะ หากจะออกสู่ ถ นน
สาธารณะต้องผ่านที่ดินของผูอ้ ื่น ต่อมาโจทก์ที่ ๑ ตกลงกับเจ้าของที่ดิน
ดังกล่าวว่าหากเจ้าของที่ดินตกลงให้โจทก์ที่ ๑ ทาถนนผ่านที่ดินออกสู่
92

ทางสาธารณะจะยอมให้เจ้าของที่ดินดังกล่าวใช้ถนนที่ โจทก์ที่ ๑ ทา
ออกสู่ ทางสาธารณะด้วย ต่อมาเมื่ อโจทก์ที่ ๑ รั บโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน
แล้วแบ่งแยกที่ดินเป็ นแปลงย่อยให้โจทก์ที่ ๒ ถึงที่ ๔ แม้โจทก์ท้ งั สี่ จะ
ไม่มีภูมิลาเนาหรื อบ้านอยูใ่ นเขตที่ดินพิพาทก็ตาม การที่โจทก์ท้ งั สี่ ใช้
ถนนที่โจทก์ที่ ๑ ทาขึ้นเข้าไปดูแลที่ดินที่ตนเป็ นเจ้าของ ก็ถือว่าโจทก์
ทั้งสี่ ได้ใช้ทางพิพาทเป็ นทางเข้าออกในขณะที่ไปดูแลที่ดินของตนโดย
ความสงบและโดยเปิ ดเผยด้ว ยเจตนาเป็ นเจ้า ของมาตั้ง แต่ ว นั ที่ จ ด
ทะเบียนรับโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ ดิน การที่ โจทก์ที่ ๑ ทาถนนและไม่ห้าม
เจ้าของที่ดินแปลงอื่นใช้ทางพิพาทร่ วมกันได้ จึงไม่เป็ นการใช้ทางโดย
วิสาสะหรื อโดยใช้ทางของผูอ้ ื่นที่ให้ความยินยอม แต่เป็ นลักษณะการ
ตกลงให้ที่ดินในส่ วนของทางพิพาทเป็ นภาระจายอมที่ใช้ซ่ ึ งกันและกัน
เมื่อโจทก์ท้ งั สี่ ใช้ทางพิพาทจนมีระยะเวลาติดต่อกันเป็ นเวลาสิ บปี แล้ว
ย่อมได้ภาระจายอมโดยอายุความตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๑
ทรั พ ยสิ ท ธิ อ ัน เกี่ ย วกับ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ที่ ไ ด้ม าโดยทางอื่ น
นอกจากนิ ติกรรมและยังมิ ได้จดทะเบี ยนนั้น มิ ให้ย กขึ้ นเป็ นข้อต่อสู ้
บุคคลภายนอกผูไ้ ด้สิทธิในอสังหาริ มทรัพย์มาโดยเสี ยค่าตอบแทนและ
โดยสุ จริ ตตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง นั้น จะต้องเป็ นทรั พ ยสิ ท ธิ
ประเภทเดี ย วกัน จึ ง จะยกขึ้ นเป็ นข้ อ ต่ อ สู ้ สิ ทธิ ก ารได้ ม าเกี่ ย วกั บ
อสังหาริ มทรัพย์ได้ การที่จาเลยที่ ๑ อ้างว่าซื้ อที่ ดินมาจากจาเลยที่ ๒
โดยสุ จริ ตและเสี ยค่าตอบแทนที่จะยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้สิทธิ ที่โจทก์ท้ งั สี่
ได้มาซึ่ งภาระจายอมนั้น สิ ทธิ ที่ โจทก์ท้ งั สี่ ได้ม าซึ่ งภาระจายอมมิ ใ ช่
ได้มาซึ่ งกรรมสิ ทธิ์ ในอสังหาริ มทรัพย์ เป็ นสิ ทธิ เกี่ ยวกับทรัพย์สินคน
93

ละประเภทกัน แม้จาเลยที่ ๑ จะได้กรรมสิ ทธิ์ ในอสังหาริ มทรั พย์โดย


เสี ย ค่ า ตอบแทนและโดยสุ จ ริ ตกับ ได้ จ ดทะเบี ย นกรรมสิ ท ธิ์ แล้ ว
ก็ตาม ก็หามีผลต่อทางพิพาทที่ตกเป็ นภาระจายอมแล้วไม่

บุคคลภายนอกทีไ่ ด้ รับความคุ้มครอง
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๒๐๖๘/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๕ น. ๙๒ บุ คคล
ภายนอกตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง หมายถึ งบุคคลใด ๆ
ก็ได้ที่มิใช่ เจ้าของที่ ดินเดิ มซึ่ งได้สิทธิ มาโดยเสี ยค่าตอบแทนและโดย
สุ จริ ตและได้จดทะเบีย นสิ ทธิ โดยสุ จริ ตแล้ว เมื่อ ธนาคาร ก. เป็ นทั้ง
ผูร้ ับจานองที่ดินพิพาทจากเจ้าของที่ดินเดิมและยังเป็ นผูซ้ ้ื อที่ดินพิพาท
จากการขายทอดตลาดโดยเสี ย ค่ า ตอบแทนและโดยสุ จ ริ ต และได้
จดทะเบี ย นสิ ท ธิ โ ดยสุ จ ริ ต แล้ว ธนาคาร ก. จึ ง เป็ นบุ ค คลภายนอก
ย่อมได้รับความคุม้ ครองตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง
เมื่อธนาคาร ก. ซื้ อที่ดินพิพาทจากการขายทอดตลาดของศาล
โดยไม่ ป รากฏว่า ซื้ อมาโดยสุ จริ ต หรื อไม่ อย่า งไร ก็ ย่อมเป็ นไปตาม
ข้อสันนิ ษฐานอันเป็ นคุ ณแก่ผซู ้ ้ื อว่า บุคคลทุกคนกระทาการโดยสุ จริ ต
ตามมาตรา ๖ ถื อว่า ธนาคาร ก. ซื้ อ ที่ ดินพิ พ าทโดยสุ จริ ต และได้จ ด
ทะเบียนสิ ทธิ โดยสุ จริ ตแล้ว ผูร้ ้ องไม่อาจอ้างสิ ทธิ ครอบครองปรปั กษ์
ขึ้นใช้ยนั ธนาคาร ก. ได้ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง แม้เมื่อผูค้ ดั ค้านที่
๑ ได้รับโอนที่ดินพิพาทจากธนาคาร ก. ภายใน ๑๐ ปี นับแต่วนั รับโอน
จากธนาคาร ก. และรั บ โอนโดยไม่ สุ จริ ตก็ ต าม ผู้ร้ อ งซึ่ งเป็ น
ผูค้ รอบครองปรปั กษ์ก็ ไ ม่อาจยกสิ ท ธิ ข องตนขึ้ นใช้ย นั ผูค้ ดั ค้านที่ ๑
94

ผูร้ ับโอนคนต่อมาได้ เพราะสิ ทธิ ของผูค้ รอบครองปรปั กษ์ขาดตอนไป


แล้วตั้ง แต่ ธ นาคาร ก. ผูร้ ั บ โอนทางทะเบี ย นโดยสุ จริ ตตอนแรก แม้
ผูร้ ้ อ งจะยัง คงครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทตลอดมา แต่ ก ารครอบครอง
ในช่ วงหลังที่ ธนาคาร ก. และผูค้ ดั ค้านที่ ๑ รั บโอนกรรมสิ ทธิ์ มา เมื่ อ
นับถึ งวันที่ผูร้ ้ องได้ยื่นคาร้ องขอแสดงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินพิพาทโดยการ
ครอบครองปรปั กษ์ยงั ไม่ครบ ๑๐ ปี ก็จะถือว่ามีการครอบครองปรปั กษ์
ต่อผูค้ ดั ค้านที่ ๑ ครบเวลาได้กรรมสิ ทธิ์ แล้วด้วยหาได้ไม่
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๖๔๑/๒๕๔๘ ฎ.๑๗๙๙ โจทก์รับจานอง
ที่ดินพิพาทไว้โดยสุ จริ ตและเสี ยค่าตอบแทนและได้จดทะเบี ยนสิ ทธิ
โดยสุ จริ ต ย่อมอยู่ในฐานะบุ คคลภายนอกที่ ได้รับความคุ ม้ ครองตาม
ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ผูร้ ้ อ ง
ไม่อาจอ้างการได้มาซึ่ งที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์ข้ ึนยัน
กับโจทก์ได้ โจทก์ยอ่ มมีสิทธิ บงั คับจานองแก่ที่ดินพิพาทได้ ผูร้ ้องไม่มี
สิ ทธิ ร้องขอให้ปล่อยที่ดินพิพาท
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๒๐๗๐/๒๕๔๘ ฎ.๑๐๒๙ การที่ ผู้ร้ อ ง
ขัดทรัพย์ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครองตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๒ ถื อว่าเป็ นการได้มาโดยทาง
อื่นนอกจากนิ ติกรรมตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง แต่โจทก์เป็ นเพียง
เจ้าหนี้ ตามคาพิ พากษาของจาเลยที่ ๑ ซึ่ งมี ชื่อเป็ นผูถ้ ื อกรรมสิ ทธิ์ ใน
โฉนดที่ ดิ น พิ พ าท โจทก์ มิ ใ ช่ ผู ้ไ ด้ สิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น พิ พ าทมาโดยเสี ย
ค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ตและได้จดทะเบี ยนสิ ทธิ โดยสุ จริ ตแล้ว จึง
มิ ใ ช่ บุ ค คลภายนอกที่ ไ ด้รั บ ความคุ ้ม ครองตามบทบัญ ญัติ ดัง กล่ า ว
95

ดัง นั้น แม้ผูร้ ้ อ งจะมิ ไ ด้จ ดทะเบี ย นการได้ม าซึ่ งกรรมสิ ท ธิ์ โดยการ
ครอบครองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก็ยกขึ้นต่อสู ้โจทก์ได้ โจทก์ไม่มีสิทธิ
ยึดที่ดินพิพาทเพื่อชาระหนี้ตามคาพิพากษา
ข้ อสั งเกต เะ้ ำหนี ้ตำมคำพิ พำกษำ แม้ ะวเป็ นบุคคลภำยนอก แต่ ไม่ ใช่
ผู้ ไ ด้ ท รด พย์ เพี ย บแต่ ขอให้ เะ้ ำพนด ก บำนบด บ คด บ คดี ยึ ด ทรด พย์ ไ ั้ ข ำย
ทอดตลำดเอำเบิ น มำชำรวหนี ้เ ท่ ำ นด้ น หำกมี ก ำรขำยทอดตลำดแล้ ั
มีผ้ ูซื้อทรด พย์ ได้ ผู้ซื้อทรด พย์ เป็ นบุคคลภำยนอกผู้ได้ ทรด พย์ มำ ะึ บต้ อบมำ
พิะำรณำมำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคสอบ หรื อมำตรำ ๑๓๓๐ แล้ ัแต่ กรณี

บุคคลภายนอกไม่ สุจริต
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๖๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๓ น.๑๔๑ จาเลยและ
ส. เป็ นผูป้ ลูกสร้างบ้านบนที่ดินพิพาทเพื่อใช้เป็ นที่อยูอ่ าศัยของจาเลย
และบุคคลในครอบครัว เพราะได้รับการยกให้ซ่ ึ งที่ดินพิพาทจาก ม.
น้อ งสาวของจ าเลยเจ้า ของที่ ดิ นพิ พ าท เมื่ อจ าเลยกับ ส. พร้ อ มด้ว ย
ครอบครัวได้ครอบครองที่ดินพิพาทโดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้วย
เจตนาเป็ นเจ้าของติดต่อกันตั้งแต่ได้รับการยกให้เมื่อปี ๒๕๒๖ ตลอด
มาเป็ นเวลาเกิ นกว่า ๑๐ ปี จาเลยย่อมได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดย
การครอบครองปรปักษ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ แล้ว ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๘๒ หาได้บ ัญ ญัติ ว่ า ผู ้ที่ จ ะได้ก รรมสิ ท ธิ์ ในทรั พ ย์สิ น โดยการ
ครอบครองปรปั กษ์จะต้องรู ้วา่ ทรัพย์สินที่ตนครอบครองเป็ นทรัพย์สิน
ของบุ ค คลอื่ นด้วยไม่ หากจาเลยครอบครองที่ ดินพิพาทโดยลักษณะ
เป็ นการครอบครองเพื่อตน แม้จะเข้าใจว่าที่ดินดังกล่าวเป็ นของจาเลย
96

แล้ว แต่ความจริ งยังเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของผูอ้ ื่นอยู่ เมื่อจาเลยกับครอบครัว


ร่ วมกันครอบครองทาประโยชน์ใ นที่ ดินดังกล่ าวโดยความสงบและ
โดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ ไม่มีผใู ้ ดโต้แย้งตลอดมาเป็ นเวลาเกิน
กว่า ๑๐ ปี แล้ว ที่ ดินดัง กล่ า วย่อมตกเป็ นกรรมสิ ท ธิ์ ของจาเลยตาม
บทบัญญัติดงั กล่าวข้างต้น
โจทก์ซ้ื อและรับโอนที่ ดินกับบ้านพิพาทจาก ม. มีราคาสู งถึ ง
๒,๘๐๐,๐๐๐ บาท และโจทก์ก็ทราบจาก ม. แล้วว่า ม. ไม่ได้อยูอ่ าศัยใน
บ้านพิพาทเอง โจทก์ควรที่จะตรวจสอบให้ได้ความแน่ ชดั ว่าญาติของ
ม. เข้าไปอาศัยอยูใ่ นบ้านและที่ดินพิพาทโดยอาศัยสิ ทธิ ใคร โดยการไป
ซักถามจาก พ. หรื อบุ คคลในครอบครั วของ พ. ที่ พกั อาศัยอยู่ในบ้าน
พิพาท แต่ก็ไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้กระทาเช่นนั้นทั้งที่มีโอกาสกระทาได้
โดยง่ า ย กรณี ดัง กล่ า วย่อ มถื อไม่ ไ ด้ว่า โจทก์ไ ด้ซ้ื อและรั บ โอนที่ ดิ น
พิพาทไว้โดยสุ จริ ตและจดทะเบียนสิ ทธิ โดยสุ จริ ตตามนัยแห่ ง ป.พ.พ.
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง จาเลยซึ่ งได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินและบ้านพิพาท
มาโดยการครอบครองปรปั กษ์ จึงย่อมยกสิ ทธิ ข้ ึนต่อสู ้โจทก์ซ่ ึ งเป็ นผูไ้ ด้
สิ ท ธิ ใ นที่ ดินมาโดยไม่ สุจริ ตได้ โจทก์จึงไม่ มีอานาจฟ้ องขับไล่ และ
เรี ยกค่าเสี ยหายจากจาเลย
ค าพิ พ า กษ าฎี ก าที่ ๓ ๙ ๘ ๘/๒ ๕ ๕ ๔ ฎ. ส .ล . ๙ น .๘ ๑
ป. และ บ. เป็ นญาติกนั จึงไม่มีเหตุผลที่ บ. จะขายที่ดินพิพาทให้แก่ ป.
โดยไม่บอกเรื่ องที่มีการครอบครองที่ดินพิพาท ซึ่ ง ป. ก็ยอมรับว่า บ.
พาไปดูที่ดินพิพาท ปรากฏว่ามีบา้ นของผูร้ ้ องทั้งสองปลูกอยู่ ๒ หลัง
และยังมีบา้ นญาติของผูร้ ้องทั้งสองปลูกอยูอ่ ีก ๔ หลัง ทั้งที่ดินพิพาทอยู่
97

ติดถนน ป. ย่อมเห็นและทราบดีวา่ มีคนครอบครองที่ดินพิพาทอยู่ และ


หลังจากซื้ อที่ดินพิพาทเพียง ๑ เดื อน ป. ก็นาที่ดินพิพาทไปจานองแก่
ผูค้ ดั ค้าน อันแสดงว่า ป. ไม่อยูใ่ นฐานะที่จะซื้ อที่ดินพิพาทได้ ประกอบ
กับ ป. และผูค้ ดั ค้านเป็ นเพื่อนกันคบกันมานานแล้วย่อมมีความสนิ ท
สนมกันดี อีกทั้งผูค้ ดั ค้านและ ป. กับทนายความเคยไปเจรจาให้ผรู ้ ้ อง
ทั้งสองออกไปจากที่ดินพิพาท แต่ตกลงกันไม่ได้ ผูค้ ดั ค้านจึงทราบดีวา่
ผูร้ ้องทั้งสองได้ครอบครองที่ดินพิพาทตั้งแต่แรกแล้ว ป. ซื้ อที่ดินพิพาท
เป็ นเงิ น ๓๐๐,๐๐๐ บาท แต่ก ลับ จานองผูค้ ดั ค้า นเป็ นเงิ น ๖๐๐,๐๐๐
บาท ซึ่ งสู ง กว่า ราคาซื้ อขายมากและผูค้ ดั ค้า นก็ เป็ นผูป้ ระกอบธุ รกิ จ
จัดสรรที่ ดินไม่ ไ ด้ท าธุ รกิ จเกี่ ย วกับการเงิ น แม้แต่ ผูค้ ดั ค้านเองยัง นา
ที่ ดิ น พิ พ าทไปจ านองแก่ ส ถาบัน การเงิ น พฤติ ก ารณ์ ข อง ป . และ
ผูค้ ดั ค้านจึงมีพิรุธ ทั้งการซื้ อขายที่ดินพิพาทเป็ นการซื้ อขายระหว่างคน
ใกล้ชิดกันที่ เป็ นญาติ และเพื่อนสนิ ท ส่ อไปในทางช่ วยเหลื อกันให้มี
การโอนทางทะเบียนเป็ นทอด ๆ เพื่อให้การครอบครองปรปั กษ์ของ
ผูร้ ้ องทั้งสองขาดตอน โดยเฉพาะผูค้ ดั ค้านประกอบธุ รกิ จจัดสรรที่ดิน
ย่อมทราบดี และต้องตรวจสอบที่ดินแล้ว ประกอบกับผูค้ ดั ค้านเคยยื่น
ฟ้ องขับไล่ ผูร้ ้ องที่ ๑ กับ พวกออกจากที่ ดินพิพาท แต่ผูค้ ดั ค้านก็ถอน
ฟ้ อง จึงรับฟั งได้ว่าผูค้ ดั ค้านซื้ อที่ดินพิพาทโดยไม่สุจริ ต ผูร้ ้ องทั้งสอง
ย่อมยกเอาการได้มาซึ่ งที่ดินพิพาทที่ยงั มิได้จดทะเบียนขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้
ผูค้ ดั ค้านได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๔๔๒/๒๕๕๔ ฎ. ๒๐๙๑ โจทก์วา่ จ้างให้
บริ ษทั อ. ซึ่งเป็ นบุคคลภายนอกมาทาการประเมินราคาที่ดินพิพาทแทน
98

และยอมรับผลการประเมินตามที่ได้รับแจ้ง ถือเสมือนว่าการดาเนิ นการ


ของบริ ษทั ผูร้ ับจ้างเป็ นการกระทาของโจทก์ เมื่อพนักงานประเมินของ
บริ ษทั อ. ไม่ตรวจสอบระวางที่ดินและเลขที่ดินให้รู้แน่ชดั ว่าที่ดินที่ทา
การประเมินคือที่ดินแปลงใดแน่ และเชื่ อตามที่ ภ. (ผูม้ ีชื่อเป็ นเจ้าของ
ตามโฉนดที่ดินคนเดิมซึ่ งเป็ นผูจ้ านอง) นาชี้ เป็ นเหตุให้โจทก์ไม่ทราบ
ว่าในขณะที่ รับจานอง ขณะที่ผแู ้ ทนโจทก์นาชี้ ทรัพย์ที่ยึด และในการ
ซื้ อทรัพย์พิพาทจากการขายทอดตลาด มีจาเลยครอบครองทรัพย์พิพาท
อยู่ นับว่าโจทก์ประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง อันเป็ นการบ่งชี้ ว่าโจทก์
กระทาการโดยไม่สุจริ ต เมื่อฟั งไม่ได้ว่า ภ. และโจทก์ได้สิทธิ มาโดย
สุ จริ ตและได้จดทะเบียนสิ ทธิ โดยสุ จริ ต จาเลยจึงชอบที่จะยกเอาการ
ได้มาซึ่ งอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์โ ดยการครอบครองปรปั ก ษ์ต ามประมวล
กฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๘๒ ขึ้ น เป็ นข้อ ต่ อ สู ้ โจทก์ ไ ด้
โจทก์ไม่มีสิทธิ ฟ้องขับไล่จาเลยออกจากที่ดินพิพาท
99

บุคคลผู้อยู่ในฐานะอันจะให้ จดทะเบียนสิ ทธิ


ของตนได้ อยู่ก่อนตามมาตรา ๑๓๐๐
บุค คลผูไ้ ด้อสัง หาริ ม ทรั พย์ม าโดยทางนิ ติก รรมที่ ยงั มิ ไ ด้จด
ทะเบี ย น สิ ท ธิ ข องผู ้น้ ัน อาจไม่ บ ริ บู ร ณ์ เ ป็ นทรั พ ยสิ ท ธิ ต ามมาตรา
๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง ส่ ว นบุ ค คลผู ้ไ ด้อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย์ม าโดยทางอื่ น
นอกจากนิ ติ ก รรมที่ ย งั มิ ไ ด้จ ดทะเบี ย น สิ ท ธิ ข องผูน้ ้ ัน บริ บู ร ณ์ แต่
ต้องห้า มมิ ใ ห้ย กขึ้ น เป็ นข้อต่ อสู ้ บุ ค คลภายนอกผูไ้ ด้สิ ท ธิ ม าโดยเสี ย
ค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ต และได้จดทะเบียนสิ ทธิ โดยสุ จริ ตแล้วตาม
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ดังนั้น บุคคลผูไ้ ด้อสังหาริ มทรัพย์มาจึงควร
ดาเนิ นการให้ตนมีชื่อในทะเบียนเพื่อตนจะได้รับความคุ ม้ ครองตาม
กฎหมายอย่างสู งสุ ด ถ้าละเลยไม่ดาเนิ นการให้ตนมีชื่อในทะเบียนจนมี
การจดทะเบียนโอนทรัพย์ไป ก็ตอ้ งรับกรรมในการละเลยของตน แต่ถา้
มี ก ารจดทะเบี ย นโอนทรั พ ย์ไ ปโดยผู ้รั บ โอนไม่ สุ จ ริ ต หรื อ ไม่ เ สี ย
ค่ า ตอบแทน บุ ค คลผูไ้ ด้อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย์ที่ ย งั มิ ไ ด้จ ดทะเบี ย น อาจ
ด าเนิ น การขอให้ เ พิ ก ถอนการจดทะเบี ย นตามมาตรา ๑๓๐๐ และ
ดาเนิ นการให้ตนมีชื่อทางทะเบียนต่อไปได้ เช่น นาย ก. โอนที่ดินตีใช้
หนี้เงินกูใ้ ห้แก่นาย ข. และนัดจะไปจดทะเบียนโอนกันภายหลัง แต่นาย
ก. กลับจดทะเบี ยนยกที่ดินให้แก่ นาย ค. บุ ตรของนาย ก. กรณี เช่ นนี้
นาย ข. สามารถฟ้ องศาลขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนยกให้ระหว่าง
นาย ก. กับนาย ค. ได้ตามมาตรา ๑๓๐๐ และขอให้นาย ก. จดทะเบียน
โอนที่ดินให้แก่นาย ข. เพื่อนาย ข. จะได้มีชื่อในทะเบียนต่อไป
100

บุคคลผูอ้ ยูใ่ นฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิ ทธิ ของตนได้อยูก่ ่อน


ที่มีสิทธิ ขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนตามมาตรา ๑๓๐๐ อาจจะเป็ น
ผูไ้ ด้สิ ท ธิ ใ นอสังหาริ ม ทรั พย์ม าโดยทางนิ ติก รรมตามมาตรา ๑๒๙๙
วรรคหนึ่ ง หรื อโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรค
สอง ก็ได้
ตัวอย่างของบุคคลผูอ้ ยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิ ทธิ ของ
ตนได้อยู่ก่อน ที่ ได้สิ ทธิ ในอสังหาริ มทรั พย์มาโดยทางนิ ติกรรมตาม
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง เช่ น ๑. ผูร้ ั บ โอนที่ ดินตี ใ ช้หนี้ มี สิ ท ธิ ตาม
มาตรา ๑๓๐๐ ๒. เจ้าหนี้ ที่จะได้รับโอนทรัพย์ตามคาพิพากษา แม้จะ
เป็ นคาพิพากษาตามยอม ไม่ว่าจะชาระเงิ นครบถ้วนหรื อไม่ ก็มีสิทธิ
ตามมาตรา ๑๓๐๐ ๓. ผูซ้ ้ื อ (ยังไม่ได้ฟ้องคดี) ที่ชาระเงินให้แก่ผขู ้ ายไป
ครบถ้วนแล้ว มีสิ ทธิ ตามมาตรา ๑๓๐๐ แต่ก รณี ข องผูซ้ ้ื อที่ จะมี สิท ธิ
ตามมาตรา ๑๓๐๐ จะต้องเป็ นผูซ้ ้ื อที่ชาระเงินครบถ้วนแล้วเท่านั้น กรณี
ยังชาระเงินไม่ครบ จะไม่มีสิทธิ ตามมาตรา ๑๓๐๐ ถ้าลูกหนี้ โอนทรัพย์
ไป ผูซ้ ้ื อ อาจใช้ สิ ท ธิ ข อเพิ ก ถอนการฉ้ อ ฉลตามมาตรา ๒๓๗ ตาม
กฎหมายลักษณะหนี้ได้
ตัวอย่างของบุคคลผูอ้ ยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิ ทธิ ของ
ตนได้อยู่ก่ อ น ที่ ไ ด้สิ ท ธิ ใ นอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ม าโดยทางอื่ นนอกจาก
นิติกรรมตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง เช่ น ผูค้ รอบครองปรปั กษ์ หรื อ
ผูร้ ับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม เป็ นต้น
101

ข้ อ ๑๔ คาถาม นายแดงเป็ นเจ้าของที่ดินมีโฉนด ตกลงจะขาย


ที่ดินแปลงดังกล่าวให้แก่นายหนึ่ งราคา ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยนายหนึ่ง
ชาระเงินมัดจาไป ๕๐,๐๐๐ บาท และคู่สัญญานัดไปทาหนังสื อและจด
ทะเบี ย นต่ อ พนัก งานเจ้า หน้ า ที่ ใ นวัน ที่ ๑ มี น าคม ๒๕๕๑ เมื่ อ ถึ ง
กาหนดนายแดงไม่ไปจดทะเบียนโอนที่ ดินให้แก่นายหนึ่ ง ต่อมานาย
แดงตกลงโอนที่ดินแปลงดังกล่ าวตีใช้หนี้ นายสอง เนื่ องจากนายแดง
ค้างชาระค่าก่อสร้ างนายสอง ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยนัดไปทาหนังสื อ
และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ แต่
เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ นายแดงได้จดทะเบียนยกที่ดินให้แก่
นางสาวสามภรรยาน้อยของนายแดง โดยนางสาวสามไม่ทราบว่านาย
แดงทาสัญญาขายที่ดินและตกลงโอนที่ดินตีใช้หนี้ผอู ้ ื่นดังกล่าว
ให้ วิ นิ จ ฉั ย ว่ า ก. นายหนึ่ งมี สิ ท ธิ จ ะขอให้ เ พิ ก ถอนการจด
ทะเบียนการให้ระหว่างนายแดงและนางสาวสามได้หรื อไม่
ข. นายสองมี สิ ท ธิ จ ะขอให้เ พิ ก ถอนการจดทะเบี ย นการให้
ระหว่างนายแดงและนางสาวสามได้หรื อไม่
ข้ อ ๑๔ คาตอบ ก. บุคคลผู้มีสิทธิ ตามสั ญญาจะซื้อจะขายซึ่ ง
ถือว่ าเป็ นบุ คคลผู้อ ยู่ใ นฐานะอันจะให้ จดทะเบียนสิ ทธิ ของตนได้ อ ยู่
ก่อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๐๐ จะต้ องชาระ
เงิ นตามสั ญญาจะซื้ อ จะขายครบถ้ ว นแล้ ว ถ้ า เป็ นเพียงผู้ จ ะซื้ อ ตาม
สั ญญาจะซื้อจะขายทีย่ งั ไม่ ได้ ชาระเงินครบถ้ วนจะเป็ นเพียงบุคคลสิ ทธิ
ระหว่ างนายแดงกับนายหนึ่งเท่ านั้น การที่นายแดงตกลงจะขายที่ดิน
ให้แก่นายหนึ่งราคา ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยนายหนึ่งชาระเงินมัดจาเพียง
102

๕๐,๐๐๐ บาท นายหนึ่ ง ยั ง ไม่ เ ป็ นบุ ค คลผู้ อ ยู่ ใ นฐานะอั น จะให้ จ ด


ทะเบียนสิ ทธิของตนได้ อยู่ก่อนตามมาตรา ๑๓๐๐ นายหนึ่งจึงไม่ มีสิทธิ
ขอให้ เพิกถอนการจดทะเบียนการให้ ระหว่ างนายหนึ่งกับนางสาวสาม
ตามมาตรา ๑๓๐๐ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๐/๒๕๑๖, ที่ ๕๕๕๗/๒๕๔๕)
อย่างไรก็ตาม แม้ นายหนึ่งจะไม่ มีทรั พยสิ ทธิเหนือที่ดินของ
นายแดงตามมาตรา ๑๓๐๐ แต่ สิทธิตามสั ญญาจะซื้อจะขายที่นายหนึ่ง
มีต่อนายแดง ก็ยงั เป็ นบุคคลสิ ทธิทใี่ ช้ บังคับกันได้ ระหว่ างคู่สัญญา ต้ อง
ถือว่ านายแดงเป็ นลูกหนี้ต้องโอนที่ดินให้ แก่ นายหนึ่งเจ้ าหนี้ การที่นาย
แดงได้จดทะเบียนยกที่ดินให้แก่นางสาวสาม เป็ นนิติกรรมอันนายแดง
ลูกหนี้ได้ กระทาลงทั้งรู้ อยู่ว่าจะเป็ นทางให้ นายหนึ่งเจ้ าหนี้เสี ยเปรี ยบ
เมื่ อ สั ญ ญาให้ เ ป็ นการท าให้ โ ดยเสน่ ห า นายหนึ่ ง เจ้ า หนี้ ช อบที่ จ ะ
ขอให้ ศาลเพิกถอนสั ญญาให้ ระหว่ างนายแดงและนางสาวสามได้ ตาม
มาตรา ๒๓๗ วรรคหนึ่ง
ข. การที่นายแดงตกลงโอนที่ดินตีใช้หนี้นายสองนั้น ถือว่ านาย
สองเป็ นบุคคลผู้อยู่ในฐานะอันจะให้ จดทะเบียนสิ ทธิของตนได้ อยู่ก่อน
ตามมาตรา ๑๓๐๐ แล้ว เมื่อนายแดงจดทะเบียนยกที่ดินให้แก่นางสาว
สามโดยไม่ มี ค่ า ตอบแทน เป็ นการโอนอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ ป็ นทาง
เสี ยเปรียบแก่ บุคคลผู้อยู่ในฐานะอันจะให้ จดทะเบียนสิ ทธิของตนได้ อยู่
ก่อน นายสองจึงมีสิทธิจะขอให้ เพิกถอนการจดทะเบียนการให้ ระหว่ าง
นายแดงและนางสาวสามได้ ตามมาตรา ๑๓๐๐ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๐๙/
๒๕๔๔)
ข้ อสั งเกต คาถามข้อนี้ แยกถามสิ ทธิ ของนายหนึ่ งเป็ นข้อ ก. และถาม
103

สิ ทธิ ของนายสองเป็ นข้อ ข. แต่ไม่ได้ถามว่านายหนึ่งและนายสองใครมี


สิ ทธิ ดีกว่ากัน ถ้าถามว่านายหนึ่ งและนายสองใครมีสิทธิ ในที่ดินดี กว่า
กัน คงต้องพิจารณาในเบื้องต้นว่าทั้งนายหนึ่ งและนายสองยังไม่ได้จด
ทะเบียนรับโอนที่ดินมาเช่นเดียวกัน สิ ทธิ ของนายหนึ่งเป็ นเพียงบุคคล
สิ ท ธิ ห รื อ สิ ท ธิ ท างหนี้ ซึ่ งยัง ไม่ เ ป็ นบุ ค คลผูอ้ ยู่ใ นฐานะอัน จะให้ จ ด
ทะเบียนสิ ทธิ ของตนได้อยู่ก่อนตามมาตรา ๑๓๐๐ ส่ วนสิ ทธิ ของนาย
สองเป็ นบุคคลผูอ้ ยูใ่ นฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิ ทธิ ของตนได้อยูก่ ่อน
ตามมาตรา ๑๓๐๐ ซึ่ งเป็ นสิ ทธิ ทางทรัพย์ เมื่อที่ดินเป็ นทรัพย์ นายสอง
จึงน่ าจะมีสิทธิ ในที่ดินดี กว่านายหนึ่ งเพราะนายสองมี สิทธิ ทางทรัพย์
ปั ญหานี้ คงต้องรอฟั งต่อไปว่าหากมีการพิพาทกันในปั ญหานี้ ศาลฎีกา
จะวินิจฉัยอย่างไร
แต่ ถ้า เปลี่ ย นข้อเท็จจริ งโดยตัดนางสาวสามออก เหลื อเพี ย ง
นายแดง นายหนึ่ง และนายสอง แล้วนายสองจดทะเบียนรับโอนที่ดินตี
ใช้หนี้ โดยรู ้ ว่านายแดงทาสัญญาจะขายที่ ดินให้แก่นายหนึ่ งก่ อนแล้ว
เมื่ อนายสองไม่สุจริ ต นายหนึ่ งจึ งขอให้เพิกถอนการจดทะเบี ยนโอน
ที่ ดิ น ตี ใ ช้ห นี้ ได้เ พราะเป็ นการฉ้ อ ฉลตามมาตรา ๒๓๗ วรรคหนึ่ ง
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๕๗๒/๒๕๕๒) ขอให้ดูคาถามในข้อต่อไป
คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๐/๒๕๑๖ จาเลยทาสัญญาจะซื้ อขายที่ ดิน
และบ้านพิพาทจาก ม. แต่ยงั ชาระราคาไม่ครบ จาเลยจึงไม่ใช่ บุคคล
ผูอ้ ยู่ ใ นฐานะอัน จะให้ จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ ข องตนได้ก่ อ นตามมาตรา
๑๓๐๐ คดีของจาเลยต้องด้วยมาตรา ๒๓๗
ข้ อสั งเกต กรณี ผ้ ซู ื ้อะวขอให้ เพิกถอนกำระดทวเบียนตำมมำตรำ ๑๓๐๐
104

หรื อะวขอเพิ กถอนกำรฉ้ อฉลตำมมำตรำ ๒๓๗ นด้น ต้ อบเป็ นนิ ติกรรม


ที่ สมบูรณ์ แลวะดทวเบี ยนแล้ ั ผู้ซื้อะึ บ ะวขอเพิ กถอนโดยอ้ ำบมำตรำ
๑๓๐๐ หรื อมำตรำ ๒๓๗ แต่ ถ้ ำ กำระดทวเบี ย นรวหั่ ำ บผู้ ข ำยกด บ
บุคคลภำยนอกตกเป็ นโมฆว เช่ น เป็ นกำรแสดบเะตนำลับตำมมำตรำ
๑๕๕ ัรรคหนึ่ บ กำรขอให้ เพิ กถอนทวเบี ยนก็สำมำรถอ้ ำบคัำมเป็ น
โมฆวตำมมำตรำ ๑๕๕ ัรรคหนึ่ บ โดยไม่ ต้อบอ้ ำบมำตรำ ๑๓๐๐ หรื อ
มำตรำ ๒๓๗ เช่ น คำพิ พำกษำฎี กำที่ ๒๐๔๑/๒๕๔๗ ฎ.๙๘๔ ะำเลย
ทด้บสอบสมคบกดนะดทวเบียนโอนซื ้อขำยที่ดินโดยไม่ สุะริ ตแลวไม่ มีกำร
ชำรวเบิ น กด น ะริ บ เพื่ อหลี ก เลี่ ย บไม่ ใ ห้ โะทก์ ทด้ บ สอบบด บคด บะ ำเลยที่ ๑
ตำมที่ ตกลบซื ้อขำยกด น กำรแสดบเะตนำขอบะำเลยทด้บสอบะึ บเป็ นกำร
แสดบเะตนำลับโดยสมรู้ กดนเป็ นโมฆวตำมปรวมัลกฎหมำยแพ่ บแลว
พำณิ ชย์ มำตรำ ๑๕๕ ัรรคหนึ่บ แลวผู้มีส่ันได้ เสี ยคนหนึ่บคนใดะวยก
คัำมเสี ยเปล่ ำแห่ บโมฆวกรรมขึน้ กล่ ำัอ้ ำบตำมมำตรำ ๑๗๒ แลวฟ้ อบ
ให้ เพิ ก ถอนเมื่ อใดก็ไ ด้ ฟ้ อบโะทก์ ทด้ บ สอบมิ ใ ช่ ก ำรฟ้ อบเพิ ก ถอนกำร
ฉ้ อฉลตำมมำตรำ ๒๓๗ ไม่ อยู่ในบดบคดบที่ ะวต้ อบฟ้ อบภำยใน ๑ ปี ตำม
มำตรำ ๒๔๐
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๕๕๗/๒๕๔๕ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๙๒ การซื้ อ
ขายอาคารอันเป็ นอสังหาริ มทรัพย์ที่คู่สัญญามีความประสงค์จะทาเป็ น
หนังสื อและจดทะเบี ยนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ถูกต้องตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๔๕๖ นั้น ถ้า ตราบใดที่ ย งั มิ ไ ด้มี ก ารจดทะเบี ย นต่ อพนัก งาน
เจ้าหน้าที่ให้เสร็ จเรี ยบร้อย การได้มาโดยนิติกรรมซึ่ งอสังหาริ มทรัพย์
นั้นย่อมไม่บริ บูรณ์ ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง เว้นแต่จะปรากฏว่า
105

อาคารได้ตกเป็ นส่ วนควบของที่ ดินตามมาตรา ๑๔๔ วรรคสอง เมื่ อ


จาเลยมีสิทธิ ที่จะปลูกสร้างอาคารในที่ดินได้ อาคารที่จาเลยปลูกสร้าง
จึงมิได้ตกเป็ นส่ วนควบของที่ดินตามมาตรา ๑๔๖ ดังนั้น นิ ติกรรมการ
ซื้ อขายระหว่างผูร้ ้องและจาเลยคงมีฐานะเป็ นเพียงสัญญาจะซื้ อขายซึ่ ง
สามารถใช้บงั คับกันต่อไปได้เท่านั้น กรรมสิ ทธิ์ ในอาคารพิพาทจึงยัง
ไม่ ต กเป็ นส่ ว นควบของที่ ดิ น ดัง เช่ น กรณี ก ารซื้ อ ขายเสร็ จ เด็ ด ขาด
ที่คู่สัญญามิได้มีความประสงค์ที่จะทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้า ที่ และแม้จาเลยจะมอบอาคารให้ผูร้ ้ องครอบครอง
ก็ถือว่าเป็ นการครอบครองแทนจาเลย กรรมสิ ทธิ์ ในอาคารยังคงเป็ น
ของจาเลยอยู่ ยังถือไม่ได้วา่ ผูร้ ้ องอยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิ ทธิ
ของตนได้อยู่ก่ อนตามมาตรา ๑๓๐๐ เพราะยัง ชาระราคากันไม่ค รบ
ผูร้ ้ องจึ ง ยัง ไม่ ไ ด้รับ ความคุ ้ม ครองตาม ป.วิ. พ. มาตรา ๒๘๗ ดัง นั้น
โจทก์ ซ่ ึ งเป็ นเจ้า หนี้ ตามค าพิ พ ากษาย่ อ มมี สิ ทธิ น ายึ ด อาคารขาย
ทอดตลาดชาระหนี้ได้ ผูร้ ้องไม่มีสิทธิ ร้องขัดทรัพย์
ข้ อสั งเกต กำรที่ ผ้ ูมีสิทธิ ปลูกสร้ ำบอำคำร ตกลบขำยอำคำรให้ เะ้ ำขอบ
ที่ ดิน โดยคู่สดญญำไม่ ปรวสบค์ ะวะดทวเบี ยน แม้ สด ญญำซื ้อขำยะวตก
เป็ นโมฆว แต่ ผ้ ูซื้อซึ่ บเป็ นเะ้ ำขอบที่ ดิน ก็ได้ กรรมสิ ทธิ์ ในอำคำรตำม
หลดกส่ ันคับ แต่ คดีนีท้ ี่ ผ้ ซู ื ้อไม่ ได้ กรรมสิ ทธิ์ ตำมหลดกส่ ันคับ เพรำว
ผู้ซื้อแลวผู้ขำยตกลบะวะดทวเบี ย นโอนภำยหลดบซึ่ บเป็ นสด ญญำะวซื ้ อ
ะวขำย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๐๙/๒๕๔๔ ฎ.๓๘๙ จาเลยที่ ๑ ตกลงโอน
ที่ ดินช าระหนี้ ค่ า รั บ เหมาก่ อสร้ า งอาคารแก่ โจทก์ แต่ จาเลยที่ ๑ กับ
106

จาเลยที่ ๒ สมคบกันโอนที่ดินไปเสี ยก่อน โดยจาเลยที่ ๒ รับโอนโดย


ไม่สุจริ ตและไม่เสี ยค่าตอบแทน แม้โจทก์ยงั ไม่ได้จดทะเบียนรับโอน
ที่ดินเพียงได้เข้าครอบครอง ก็ถือได้ว่าโจทก์เป็ นบุ คคลผูอ้ ยู่ในฐานะ
อันจะให้จดทะเบี ย นสิ ท ธิ ของตนได้อยู่ก่ อน โจทก์จึง มี สิ ทธิ เรี ย กให้
เพิกถอนการจดทะเบียนโอนที่ดินระหว่างจาเลยที่ ๑ กับจาเลยที่ ๒ ได้

ข้ อ ๑๕ ค าถาม นายหนึ่ งท าสั ญ ญาจะซื้ อ จะขายที่ ดิ น ตาม


น.ส. ๓ จากนายเอกในฐานะผูจ้ ดั การมรดกของนายดาผูต้ ายซึ่ งเป็ น
เจ้าของที่ดิน และได้ชาระราคาครบถ้วนแล้วเพื่อนาเงินไปชาระหนี้ กอง
มรดก นายหนึ่ งและนายเอกไปยื่นคาขอจะทะเบียนสิ ทธิ และนิติกรรม
โอนที่ ดินให้แก่ นายหนึ่ ง ในระหว่างการดาเนิ นการของเจ้าพนักงาน
ที่ดิน นายโททายาทอีกคนหนึ่ งของนายดายื่นคาคัดค้านการโอนที่ดิน
แล้วนายโทฟ้ องนายเอกต่อศาลเพื่อขอแบ่งมรดกของนายดา นายเอกกับ
นายโททาสัญญาประนีประนอมยอมความโอนที่ดินของนายดาดังกล่าว
ให้ น ายโทโดยไม่ มี ค่ า ตอบแทน โดยนายโทรู ้ อ ยู่แ ล้ว ว่า นายเอกท า
สั ญ ญาจะซื้ อ จะขายที่ ดิ น ให้ น ายหนึ่ งไปก่ อ นและได้รั บ ช าระราคา
ครบถ้วนแล้วเพื่อนาเงินไปชาระหนี้กองมรดก ศาลพิพากษาตามสัญญา
ประนี ป ระนอมยอมความ แล้วนายโทไปจดทะเบี ย นโอนที่ ดิน ตาม
คาพิพากษาและสัญญาประนี ประนอมยอมความระหว่างนายเอกและ
นายโท
นายหนึ่ งยังซื้ อที่ดินจากนายตรี อีกแปลงหนึ่ งโดยทาสัญญาจะ
ซื้ อจะขายและจ่ายเงินมัดจากันไว้ ๑๐๐,๐๐๐ บาท จากราคาจะซื้ อจะขาย
107

๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ต่อมานายตรี นาที่ดินแปลงที่ขายให้นายหนึ่ งไปจด


ทะเบียนโอนตีใช้หนี้ ให้แก่นายจัตวา ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยนายจัตวา
รู ้ ว่านายตรี ทาสัญญาจะซื้ อจะขายที่ ดินของตนให้แก่นายหนึ่ งไปก่ อน
แล้ว
ให้วินิจฉัยว่า นายหนึ่ งมีสิทธิ จะดาเนิ นการเพื่อให้ได้ที่ดินทั้ง
สองแปลงมาเป็ นของตนได้หรื อไม่
ข้ อ ๑๕ ค าตอบ การที่ นายเอกท าสัญญาประนี ประนอมยอม
ความโอนที่ดินให้นายโทโดยไม่มีค่าตอบแทน โดยนายโทรู ้ อยู่แล้วว่า
นายเอกทาสัญญาจะซื้ อจะขายที่ดินให้นายหนึ่ งไปก่อนและได้รับชาระ
ราคาครบถ้วนแล้วเพื่อนาเงิ นไปชาระหนี้ กองมรดก แม้นายโทไปจด
ทะเบียนโอนที่ดินตามคาพิพากษาและสัญญาประนีประนอมยอมความ
แต่ นายโทก็ไม่ อยู่ในฐานะอันจะให้ จดทะเบียนสิ ทธิของตนได้ อยู่ก่อน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๐ เพราะการที่นาย
เอกในฐานะผูจ้ ดั การมรดกของนายดาทาสัญญาจะซื้ อจะขายที่ ดินให้
นายหนึ่ งเพื่อนาเงิ นที่ ขายได้ไปชาระหนี้ กองมรดกของนายดาซึ่ งเป็ น
อ านาจของผู้ จั ด การมรดกที่ ก ระท าได้ นายโทซึ่ งเป็ นทายาทจึ งต้ อ ง
ผูกพันต่ อนายหนึ่งในการที่นายเอกกระทาไป นายหนึ่งจึ งอยู่ในฐานะ
อันจะให้ จดทะเบียนสิ ทธิของตนได้ อยู่ก่อน หาใช่ นายโทไม่ การที่นาย
โทอาศัยคาพิพากษาและสัญญาประนี ประนอมยอมความที่ทากับนาย
เอกไปดาเนิ นการจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทเป็ นของนายโท จึงเป็ น
ทางเสี ยเปรี ยบแก่ นายหนึ่งผู้อยู่ในฐานะอันจะให้ จดทะเบียนสิ ทธิของ
ตนได้ อยู่ก่อน นายหนึ่งจึงมีสิทธิฟ้องนายเอกและนายโทขอให้ เพิกถอน
108

นิติกรรมการโอนที่ดินของนายดาได้ ตามมาตรา ๑๓๐๐ (คาพิพากษา


ฎีกาที่ ๑๙๘/๒๕๕๒)
ผู้ซื้อ ตามสั ญญาจะซื้ อจะขายที่ยังชาระเงิ นไม่ ค รบ ไม่ อ ยู่ใ น
ฐานะอันจะให้ จดทะเบียนสิ ทธิของตนได้ อยู่ก่อน มีเพียงบุคคลสิ ทธิที่
จะเรียกร้ องให้ อีกฝ่ ายปฏิบัติตามสั ญญาเท่ านั้น แม้สิทธิ การเป็ นเจ้าหนี้
ของนายหนึ่งตามสัญญาจะซื้ อจะขายที่ดินพิพาทจะเป็ นเพียงบุคคลสิ ทธิ
ไม่ใช่ บุคคลผูอ้ ยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิ ทธิ ของตนได้อยู่ก่อน
แต่การที่นายตรี ผเู ้ ป็ นลูกหนี้ โอนที่ดินให้นายจัตวาเพื่อตีใช้หนี้ โดยนาย
จัตวารู ้ว่านายตรี ได้ทาสัญญาจะขายที่ดินให้นายหนึ่ งและรับชาระราคา
บางส่ วนแล้วนั้น เป็ นการทานิติกรรมที่ทาให้ นายหนึ่งเสี ยเปรี ยบตาม
มาตรา ๒๓๗ แม้การโอนที่ดินตีใช้หนี้ ระหว่างนายตรี และนายจัตวาจะ
ได้มี ก ารจดทะเบี ย นแล้ว แต่ เ มื่ อ นายจั ต วารั บ โอนไว้ โ ดยไม่ สุ จ ริ ต
นายจั ตวาย่ อมไม่ ได้ รับความคุ้มครองตามมาตรา ๑๓๐๐ ซึ่ งห้ ามมิให้
เพิกถอนการจดทะเบียนโอนอสั งหาริ มทรั พย์ เฉพาะกรณีผ้ ูรับโอนเสี ย
ค่ า ตอบแทนและรั บ โอนมาโดยสุ จ ริ ต เท่ า นั้ น นายหนึ่ ง จึ ง มี สิ ท ธิ ข อ
เพิกถอนนิติกรรมการโอนทีด่ ินตีใช้ หนี้ระหว่ างนายตรีและนายจัตวาได้
ตามมาตรา ๒๓๗ (คาพิพากษาฎี กาที่ ๕๕๗๒/๒๕๕๒, ที่ ๖๐๒๖/
๒๕๕๒)
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๑๙๘/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล.๘ น.๑ การที่ จาเลย
ที่ ๑ ในฐานะผูจ้ ดั การมรดกของ ข. ทาสัญญาจะซื้ อจะขายที่ดินแปลง
พิพาทให้ ท. โดยอ้างว่าเพื่อนาเงิ นที่ขายได้ไปชาระหนี้ กองมรดกของ
ข. ซึ่งได้ระบุไว้ชดั แจ้งในคาขอจดทะเบียนสิ ทธิ ดว้ ย ซึ่ งเป็ นอานาจของ
109

ผูจ้ ดั การมรดกที่กระทาได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๒๔ จาเลยที่ ๒ ซึ่ ง


เป็ นทายาทจึงต้องผูกพันต่อ ท. ในการที่จาเลยที่ ๑ กระทาไปดังกล่าว
การที่จาเลยที่ ๑ กลับไปทาสัญญาประนี ประนอมยอมความโอนที่ดิน
พิพาทให้จาเลยที่ ๒ โดยไม่มีค่าตอบแทนและรู ้อยูแ่ ล้วว่าจาเลยที่ ๑ ใน
ฐานะผูจ้ ดั การมรดกของ ข. ได้ทาสัญญาจะซื้ อจะขายที่ดินแปลงพิพาท
ให้ ท. ไปก่ อ นแล้ว และได้รั บ ช าระราคาครบถ้ว นแล้ว ทั้ง ยัง ได้ไ ป
ดาเนินการยืน่ คาขอจะทะเบียนสิ ทธิ และนิ ติกรรมโอนที่ดินพิพาทให้แก่
ท. และอยู่ในระหว่างการดาเนิ นการของเจ้าพนักงานที่ดินเช่ นนี้ ท. จึง
อยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบี ยนสิ ทธิ ของตนได้อยู่ก่ อนตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๐๐ หาใช่ จ าเลยที่ ๒ ไม่ การที่ จ าเลยที่ ๒ อาศัย สั ญ ญา
ประนี ประนอมยอมความที่ทากับจาเลยที่ ๑ ไปดาเนิ นการจดทะเบียน
โอนที่ดินพิพาทเป็ นของจาเลยที่ ๒ จึงเป็ นทางเสี ยเปรี ยบแก่ ท. ผูอ้ ยูใ่ น
ฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิ ทธิ ของตนได้อยูก่ ่อน โจทก์ในฐานะทายาท
และผูจ้ ดั การมรดกของ ท. จึงมีสิทธิ ฟ้องจาเลยทั้งสองขอให้เพิกถอน
นิ ติ ก รรมการโอนที่ ดิ น แปลงพิ พ าทได้ต าม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๐
ประกอบมาตรา ๑๕๙๙ และมาตรา ๑๖๐๐
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๕๕๗๒/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๔ น. ๒๐๗ แม้
สิ ทธิ การเป็ นเจ้าหนี้ ข องโจทก์ตามสัญญาจะซื้ อจะขายที่ ดินพิพาทจะ
เป็ นเพียงบุคคลสิ ทธิ แต่การที่จาเลยที่ ๑ ผูเ้ ป็ นลูกหนี้โอนที่ดินพิพาทให้
จาเลยที่ ๕ เพื่อตีใช้หนี้ ค่าวัสดุ ก่อสร้ างให้จาเลยที่ ๕ ไปโดยจาเลยที่ ๕
รู ้ ว่า จาเลยที่ ๑ ได้ท าสั ญญาจะขายที่ ดินพิ พ าทให้โจทก์และรั บ ช าระ
ราคาบางส่ ว นจากโจทก์แ ล้ว นั้น เป็ นการท านิ ติ ก รรมที่ ท าให้ โจทก์
110

เสี ยเปรี ยบตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๓๗ โจทก์จึงมี สิทธิ ขอเพิกถอนนิ ติ


กรรมการโอนที่ดินพิพาทได้ตามบทบัญญัติดงั กล่าว แม้การโอนที่ดิน
พิ พ าทจะได้มี ก ารจดทะเบี ย นแล้ว แต่ เมื่ อจาเลยที่ ๕ รั บโอนไว้โดย
ไม่ สุ จ ริ ต จ าเลยที่ ๕ ย่ อ มไม่ ไ ด้ รั บ ความคุ ้ม ครองตามบทบัญ ญัติ
มาตรา ๑๓๐๐ ซึ่ งบัญ ญัติ ห้ า มมิ ใ ห้ เ พิ ก ถอนการจดทะเบี ย นโอน
อสังหาริ มทรั พย์เฉพาะกรณี ผูร้ ับโอนเสี ยค่าตอบแทนและรั บโอนมา
โดยสุ จริ ตเท่านั้น
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๐๒๖/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๘ น. ๑๕๗ หลังจาก
โจทก์โอนขายอาคารพาณิ ชย์ของตนให้แก่จาเลยที่ ๒ แล้ว โจทก์ได้ยา้ ย
เข้าไปอยู่ในอาคารพิพาท และจาเลยที่ ๒ รู ้ ว่าโจทก์ทาสัญญาจะซื้ อจะ
ขายที่ ดินและอาคารพิพาทกับจาเลยที่ ๑ ก่ อนที่ จาเลยที่ ๑ จะโอนขาย
ที่ดินและอาคารพิพาทให้แก่ตน จาเลยที่ ๒ รู ้ ถึงความจริ งข้อนี้ อนั เป็ น
ทางให้โจทก์ต้องเสี ย เปรี ย บ โจทก์ซ่ ึ ง เป็ นเจ้า หนี้ จึง มี สิ ท ธิ ที่ จ ะฟ้ อง
ขอให้เพิกถอนนิติกรรมการซื้ อขายที่ดินและอาคารพิพาทระหว่างจาเลย
ทั้ง สองได้ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๒๓๗ แม้
โจทก์จะไม่ใช่บุคคลผูอ้ ยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิ ทธิ ของตนได้
อยูก่ ่อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๐ ก็ตาม

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๐๐


ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๕๐๘๘/๒๕๕๔ ฎ.๑๒๙๑ ศาลจัง หวัด
เชียงใหม่พิพากษาตามยอมเมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๓๘ ให้จาเลยที่
๒ ซึ่ งเป็ นจาเลยคดี ดงั กล่ าวโอนที่ ดินพิพาทให้ผูร้ ้ องซึ่ งเป็ นโจทก์คดี
111

ดังกล่าวเข้าถือกรรมสิ ทธิ์ รวมบางส่ วน ซึ่ งจาเลยที่ ๒ จะจัดการโอนให้


ภายใน ๒ เดือน นับแต่วนั ที่ทาสัญญา หากไม่โอนให้ถือเอาคาพิพากษา
แทนการแสดงเจตนานั้น เป็ นข้อตกลงที่ ใ ห้ คู่ ค วามทั้ง สองฝ่ ายต้อ ง
ดาเนินการโอนกรรมสิ ทธิ์ ทางทะเบียนกัน เมื่อจาเลยที่ ๒ ไม่ปฏิบตั ิตาม
คาพิพากษา ผูร้ ้ องต้องดาเนิ นการบังคับคดี ภายใน ๑๐ ปี ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๗๑ การที่ผรู้ ้องไปดาเนินการเพียงขอออกใบแทนโฉนดที่ดิน
แต่ขอให้รอเรื่ องไว้ก่อนโดยไม่ยอมชาระเงิ นค่าธรรมเนี ยมในการโอน
ที่ ดิ น ตลอดมา จึ ง ยัง ถื อ ไม่ ไ ด้ ว่ า ได้ มี ก ารร้ อ งขอให้ บ ัง คับ คดี ต าม
คาพิพากษาแล้ว เมื่อผูร้ ้ องไม่ได้ดาเนิ นการบังคับคดี แก่ที่ดินพิพาทซึ่ ง
เป็ นทรัพย์สินของลูกหนี้ จนเกิ นกาหนด ๑๐ ปี นับแต่วนั ที่คาพิพากษา
ถึงที่สุด ผูร้ ้องจึงสิ้ นสิ ทธิ ที่จะบังคับคดี เอาแก่ที่ดินพิพาทและไม่มีสิทธิ
เรี ยกให้จาเลยที่ ๒ ปฏิบตั ิตามคาพิพากษาได้อีกต่อไป ผูร้ ้องจึงไม่อยูใ่ น
ฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิ ทธิ ของตนได้อยู่ก่อนตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๐๐ และไม่ ใ ช่ ผูท้ ี่ อาจร้ องขอให้บ งั คับ เหนื อทรั พ ย์สิ นนั้นได้ตาม
กฎหมายตามที่ บ ัญ ญัติ ไ ว้ใ น ป.วิ. พ. มาตรา ๒๘๗ จึ ง ไม่ มี สิ ท ธิ ยื่ น
คาร้องเพื่อขอกันส่ วนเงินที่ได้จากการขายทอดตลาดที่ดินพิพาทได้
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๗๘๘๐/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๗๒ การที่
ศาลมีคาพิพากษาตามยอมให้จาเลยจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้ผรู้ ้อง
แต่ยงั มิได้มีการดาเนิ นการ ระหว่างนั้นโจทก์ท้ งั สองซึ่ งเป็ นเจ้าหนี้ ตาม
คาพิพากษาของจาเลยในอีกคดีนาเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินพิพาท
ถือว่าผูร้ ้ องมีสิทธิ เหนื อที่ดินพิพาทอันจะขอให้จดทะเบียนที่ดินพิพาท
เป็ นของตนได้ก่อนบุคคลอื่นตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๐ แม้จาเลยยัง
112

ไม่ไ ด้จดทะเบี ย นโอนที่ ดินพิ พาทให้แก่ ผูร้ ้ อง โจทก์ท้ งั สองก็ ไม่ อาจ
บังคับคดีให้กระทบกระทัง่ สิ ทธิ ของผูร้ ้องได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๙๗/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๓๖ ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๖ ให้สันนิ ษฐานไว้ก่อนว่า บุคคลทุกคนกระทาการโดยสุ จริ ต
ดังนั้น การที่ โจทก์ท้ งั สองอ้างว่า ผูร้ ้ องและจาเลยสมคบกันทาสัญญา
ประนี ประนอมยอมความขึ้นโดยเจตนาไม่สุจริ ต เพื่อให้ทรัพย์สินพ้น
จากการบังคับคดี และทาให้เจ้าหนี้ เสี ยเปรี ยบ โจทก์จึงต้องมีภาระการ
พิ สู จ น์ เ พื่ อ หั ก ล้ า งข้อ สั น นิ ษ ฐานดัง กล่ า ว เมื่ อ จ าเลยได้ ท าสั ญ ญา
ประนี ป ระนอมยอมความโอนที่ ดินพิพ าททั้งสองแปลงให้ผูร้ ้ องตาม
มูลหนี้ สัญญาจะซื้ อจะขาย และศาลชั้นต้นพิพากษาตามยอมจนคดี ถึง
ที่สุดแล้ว สิ ทธิ ของผูร้ ้องตามคาพิพากษาที่จะเรี ยกร้องให้จาเลยปฏิบตั ิ
ตามคาพิพากษาหรื อไปจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาททั้งสองแปลงให้แก่
ตนย่อมเกิดขึ้นทันทีแม้ผรู ้ ้องจะต้องชาระเงิ นที่เหลื อจานวนหนึ่ งให้แก่
จาเลยตามข้อตกลงในสัญญาประนี ประนอมยอมความด้วยก็ตาม การที่
ผูร้ ้องยังไม่ชาระเงินที่เหลือจานวนดังกล่าวให้แก่จาเลย มีผลเพียงทาให้
ผูร้ ้ องยังไม่อาจจะเรี ยกร้องให้จาเลยชาระหนี้ ตอบแทนเท่านั้น หามีผล
ทาให้สิทธิ ของผูร้ ้องที่จะเรี ยกให้จาเลยปฏิบตั ิตามคาพิพากษาหมดไป
ไม่ ผูร้ ้องจึงอยูใ่ นฐานะที่จะบังคับให้จดทะเบียนสิ ทธิ ของตนเหนื อที่ดิน
พิพาททั้งสองแปลงได้อยูก่ ่อนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๐ โจทก์ท้ งั สอง
หามีสิทธิ ขอให้บงั คับยึดที่ดินพิพาททั้งสองเพื่อนาออกขายทอดตลาด
ชาระหนี้อนั เป็ นการกระทบถึงสิ ทธิของผูร้ ้องตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๗
ได้ไม่
113

การคุ้มครองบุคคลภายนอกตามมาตรา ๑๓๐๓
ข้ อ ๑๖ คาถาม นายเอกลักไม้ราคา ๕๐๐ บาท และลักนาฬิกา
เรื อนละ ๕,๐๐๐ บาท ของนายโท แล้วนายเอกนาไม้ที่ลกั มาแกะสลัก
เป็ นเทวรู ป ไม้ที่ ส วยงามมาก นายตรี ม าเห็ น เทวรู ป ไม้แ ละนาฬิ ก า
ดังกล่ าวแล้วอยากได้ จึ งขอซื้ อเทวรู ปไม้ราคา ๒๐,๐๐๐ บาท นาฬิ กา
๕,๐๐๐ บาท โดยนายตรี ไม่ทราบว่าทรัพย์ดงั กล่าวนายเอกลักมา นายตรี
ชาระเงินแล้วนาเทวรู ปไม้และนาฬิกากลับบ้านไป ต่อมานายโททราบ
เรื่ อง นายโทต้องการเทวรู ปไม้และนาฬิกาคืนมาเป็ นของตน
ให้วินิจฉัยว่า นายโทและนายตรี ใครมีสิทธิ ในเทวรู ปไม้และ
นาฬิกาดีกว่ากัน
ข้ อ ๑๖ คาตอบ การที่นายเอกลักไม้ราคา ๕๐๐ บาทของนายโท
แล้วนายเอกนาไม้ที่ลกั มาแกะสลักเป็ นเทวรู ปไม้ราคา ๒๐,๐๐๐ บาท
นั้น แม้ กฎหมายจะกาหนดให้ บุคคลใดใช้ สัมภาระของบุคคลอืน่ ทาสิ่ งใด
ขึน้ ใหม่ เจ้ าของสั มภาระเป็ นเจ้ าของสิ่ ง นั้นโดยมิต้องคานึงว่ าสั มภาระ
นั้นจะกลับคืนตามเดิมได้ หรื อไม่ โดยต้ องใช้ ค่าแรงงานตามประมวล
กฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๑๗ วรรคหนึ่ ง แต่ ใ นกรณี ที่
ค่ าแรงงานเกินกว่ าค่ าสั มภาระที่ใช้ น้ ันมาก ผู้ทาเป็ นเจ้ าของทรั พย์ ที่ทา
ขึน้ แต่ ต้องใช้ ค่าสั มภาระตามมาตรา ๑๓๑๗ วรรคสอง กรณี น้ ีค่าไม้ของ
นายโทราคา ๕๐๐ บาท ส่ วนค่าแรงงานของนายเอกราคา ๑๙,๕๐๐ บาท
เป็ นกรณีที่ค่าแรงงานเกินกว่ าค่ าสั มภาระที่ใช้ น้ ันมาก นายเอกผู้ทาเป็ น
เจ้ า ของทรั พ ย์ ที่ทาขึ้น แต่ ต้ อ งใช้ ค่ า สั ม ภาระให้ แก่ นายโท เทวรู ปไม้
ดั ง กล่ า วจึ ง เป็ นของนายเอก (๓ คะแนน) เมื่ อ นายเอกเป็ นเจ้ า ของ
114

กรรมสิ ทธิ์ นายเอกย่ อมมีอานาจจาหน่ ายตามมาตรา ๑๓๓๖ การที่นาย


ตรี รับโอนมาจากนายเอกซึ่ งเป็ นเจ้ าของ นายตรี ย่อมได้ กรรมสิ ทธิ์ใน
เทวรู ปไม้ ตามกฎหมาย (๒ คะแนน) แม้ นายโทจะมีสิทธิได้ รับชดใช้ ค่า
สั มภาระตามมาตรา ๑๓๑๗ วรรคสอง แต่ ก็เป็ นเรื่ องที่นายโทต้ องไป
เรี ยกร้ อ งจากนายเอกซึ่ งเป็ นบุ ค คลสิ ทธิ ระหว่ า งนายเอกและนายโท
ไม่ ใช่ มาใช้ สิทธิ ต่อนายตรี นายตรี จึงมี สิทธิ ในเทวรู ปไม้ ดีก ว่ านายโท
(๑ คะแนน)
ส่ ว นนาฬิ ก านั้น แม้ บุ ค คลหลายคนเรี ยกเอาสั ง หาริ ม ทรั พ ย์
เดียวกันโดยอาศัยหลักกรรมสิ ทธิ์ต่างกัน ทรั พย์ สินตกอยู่ในครอบครอง
ของบุคคลใด บุคคลนั้นมีสิทธิยงิ่ กว่ าบุคคลอืน่ ๆ แต่ ต้องได้ ทรั พย์ น้ ันมา
โดยมีค่าตอบแทนและได้ การครอบครองโดยสุ จริ ตตามมาตรา ๑๓๐๓
วรรคหนึ่ ง แต่ บุคคลที่จะได้ รับความคุ้ มครองดังกล่ าวต้ องได้ รับมอบ
การครอบครองมาโดยถู กต้ อง ไม่ มีการแย่ งการครอบครองกันมา เมื่อ
นาฬิ ก าดั ง กล่ า วนายเอกลั ก มาจากนายโทซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ นการแย่ ง
กรรมสิ ทธิ์และสิ ทธิครอบครองของเจ้ าของมา มาตรา ๑๓๐๓ วรรคสอง
ห้ ามมิให้ ใช้ มาตรา ๑๓๐๓ วรรคหนึ่ง บังคับถึงสั งหาริ มทรั พย์ ที่ได้ มา
โดยการกระทาผิด นายตรี จึงไม่ ได้ รับความคุ้มครองตามมาตรา ๑๓๐๓
(๓ คะแนน) และนายตรี ไม่ ใช่ บุคคลผู้ซื้อทรั พย์ สินมาโดยสุ จริ ตในการ
ขายทอดตลาดหรื อในท้ องตลาด หรื อจากพ่ อค้ าซึ่ งขายของชนิ ดนั้ น
ตามมาตรา ๑๓๓๒ แม้ นายตรี จะสุ จริ ตและเสี ยค่ าตอบแทน แต่ นายโท
ซึ่งเป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ ก็มีสิทธิในนาฬิ กาดีกว่านายตรี (๑ คะแนน)
ตัวอย่ างคาตอบที่ ๑ การที่นายเอกลักไม้ราคา ๕๐๐ บาท แล้ว
115

นายเอกนาไม้ที่ลกั มาแกะสลักเป็ นเทวรู ปไม้ เป็ นการที่นายเอกนาไม้ซ่ ึ ง


เป็ นสัมภาระของนายโท มาทาขึ้นใหม่เป็ นเทวรู ปแกะสลัก กฎหมายให้
นายโทเจ้าของไม้ซ่ ึ งเป็ นสัมภาระ เป็ นเจ้าของเทวรู ปนั้น โดยไม่ตอ้ ง
คานึ งว่าสัมภาระนั้นจะกลับ คื นตามเดิ มได้หรื อไม่ แต่ นายโทต้องใช้
ค่าแรงงานแก่นายเอก (การตอบลักษณะนี้เหมือนกับตอบผิด อาจทาให้
อาจารย์ ผ้ ูต รวจข้ อสอบเสี ยความรู้ สึก กับค าตอบ น่ า จะยกเพียงหลัก
กฎหมาย ลองดู ใ นค าตอบที่ ใ ห้ ไ ว้ ) แต่ เ มื่ อ นายตรี ม าเห็ น เทวรู ป ไม้
ดังกล่าวแล้วอยากได้ จึงขอซื้ อเทวรู ปไม้ราคา ๒๐,๐๐๐ บาท จึงทาให้
เทวรู ปมีราคาสู งกว่าสัมภาระเดิมถึง ๑๕,๐๐๐ บาท (ทีถ่ ูก ๑๙,๕๐๐ บาท)
ถือได้ว่าค่าแรงงานนั้นได้สูงเกิ นกว่าค่าสัมภาระที่ใช้น้ นั มาก กฎหมาย
จึงให้นายเอกเป็ นเจ้าของเทวรู ปแกะสลักนั้น แต่ตอ้ งใช้ค่าสัมภาระแก่
นายโท (หักส่ ว นที่ค านวณผิดให้ เพียง ๒ คะแนน) เมื่ อนายโท (ที่ถู ก
นายเอก) เป็ นเจ้าของเทวรู ปไม้แกะสลักนั้น นายโท (ทีถ่ ูก นายเอก) จึงมี
สิ ทธิ ในอันที่ จะโอนขายเทวรู ปไม้แกะสลัก แก่ นายตรี ไป เมื่ อนายตรี
ช าระเงิ น แล้ว น าเทวรู ป ไม้ก ลับ บ้า นไป นายตรี จึ ง ได้ก รรมสิ ท ธิ์ ใน
เทวรู ปไม้แกะสลักนั้น (การตอบผิดคนกรณีนี้น่าจะเข้ าใจหลักกฎหมาย
แต่ สับสนเรื่องชื่อให้ เพียง ๑ คะแนน)
ส่ วนกรณี ที่นายเอกลักนาฬิการาคา ๕,๐๐๐ บาทของนายโทมา
เป็ นการที่นายเอกเอาทรัพย์ไปจากการครอบครองของผูอ้ ื่นไปโดยมี
เจตนาทุจริ ต จึงเป็ นการกระทาซึ่ งผิดกฎหมายอาญาฐานลักทรัพย์ แม้
นาฬิกาจะเป็ นทรัพย์ที่นายเอกได้มาโดยผิดกฎหมาย แต่นายเอกเจตนา
ยึดถือนาฬิกาเพื่อตน จึงได้สิทธิ ครอบครอง แต่เมื่อนาฬิ กามีเจ้าของซึ่ ง
116

คือนายโทถือกรรมสิ ทธิ์ อยู่ สิ ทธิ ครอบครองของนายเอกย่อมไม่อาจใช้


ต่อสู ้นายโทซึ่ งมีกรรมสิ ทธิ์ อนั เป็ นสิ ทธิ ที่ดีกว่าไปได้
เมื่ อนายตรี เห็ นนาฬิ กาดังกล่ าวแล้วอยากได้จึงซื้ อไปในราคา
๕,๐๐๐ บาท โดยนายตรี ไม่ทราบว่านาฬิกาดังกล่าวเป็ นทรัพย์ที่นายเอก
ลัก มา จึ ง ถื อ ได้ ว่ า นายตรี ได้ ก รรมสิ ทธิ์ ในนาฬิ ก านั้ นโดยเสี ยค่ า
ตอบแทนและโดยสุ จริ ต สิ ทธิ ของนายตรี ยอ่ มไม่เสี ยไป แม้นายเอกเป็ น
เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ที่แท้จริ ง ไม่ใช่นายโทผูโ้ อนขายนาฬิกาดังได้วินิจฉัย
มาแล้ว นายตรี ก็ได้กรรมสิ ทธิ์ ในนาฬิกานั้น อันเป็ นหลักยกเว้นในเรื่ อง
ผูร้ ับโอนไม่มีสิทธิ ดีกว่าผูโ้ อน
เมื่อนายโททราบเรื่ องต้องการเทวรู ปไม้ และนาฬิ กาคืน ย่อม
เรี ยกร้องคืนไม่ได้เพราะนายตรี ได้กรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์ท้ งั สองสิ่ งไป ดัง
ได้วินิจฉัยมาแล้ว นายโทชอบเพียงที่จะเรี ยกร้ องค่าสัมภาระอันได้แก่
ราคาค่าไม้ และค่าเสี ยหายเพื่อละเมิดจากนายเอกในการที่นายเอกลักไม้
และนาฬิกาของตนไป
สรุ ป นายตรี มีสิทธิ ในเทวรู ปไม้และนาฬิ กาดี กว่านายโท (ได้
รวม ๓ คะแนน แต่ ประเด็นหลังผิดธงและหลักกฎหมายก็ไม่ มีที่จะให้
คะแนน ดูในภาพรวมแล้ วพอให้ ได้ ๔ คะแนน)
ตั ว อย่ า งค าตอบที่ ๒ กรณี ข องเทวรู ป ไม้แ กะสลัก มี ห ลัก
กฎหมายที่เกี่ ยวข้อคือ ปพพ. (ควรใช้ คาว่ า ประมวลกฎหมายแพ่ งและ
พาณิช ย์ ) มาตรา ๑๓๑๗ ซึ่ ง ได้ว างหลัก กฎหมายไว้ว่า บุ ค คลใดใช้
สัม ภาระของบุ ค คลอื่ นท าสิ่ ง ใดขึ้ นใหม่ ท่ า นว่า เจ้า ของสั มภาระเป็ น
เจ้า ของสิ่ ง นั้นโดยมิ ต้องค านึ ง ว่า สั ม ภาระนั้น จะกลับ คื นตามเดิ ม ได้
117

หรื อไม่ แต่ตอ้ งใช้ค่าแรงงาน แต่ถา้ ค่าแรงงานเกิ นกว่าค่าสัมภาระที่ใช้


นั้นมาก ท่านว่าผูท้ าเป็ นเจ้าของทรัพย์ที่ทาขึ้น แต่ตอ้ งใช้ค่าสัมภาระ
จากหลักกฎหมายมาตรา ๑๓๑๗ วรรแรก (คาว่ า วรรคแรก จะ
ใช้ เ ฉพาะประมวลกฎหมายอาญา กฎหมายอื่นใช้ ว รรคหนึ่ ง เพราะ
ประมวลกฎหมายอาญาใช้ คาว่ า วรรคแรก ลองดูมาตรา ๓๓๕) ทาให้
พิจารณาได้วา่ เมื่อนายเอกลักไม้ของนายโทมาแกะสลักเป็ นเทวรู ปโดย
หลักแล้วเทวรู ปของต้องเป็ นของนายโทซึ่ งเป็ นเจ้าของไม้ แต่เมื่อนาย
ตรี มาเห็ นเทวรู ปแกะสลักมี ความสนใจจึ งตกลงซื้ อจากนายเอกราคา
๒๐,๐๐๐ บาทจึ ง ต้อ งถื อ ว่ า เป็ นกรณี ข องค่ า แรงงานนั้น สู ง กว่ า ค่ า
สัมภาระมาก ตามหลักกฎหมายมาตรา ๑๓๑๗ วรรคสอง ทาให้นายเอก
เป็ นเจ้าของเทวรู ปไม้แกะสลักนั้น แต่ตอ้ งใช้ราคาไม้ให้แก่นายโทใน
ราคา ๕๐๐ บาทตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว (๓ คะแนน)
เมื่ อ นายเอกเป็ นเจ้า ของกรรมสิ ท ธิ์ ในเทวรู ป แกะสลัก จึ ง มี
อานาจขายให้แก่นายตรี ได้ ตามหลักกฎหมายมาตรา ๑๓๓๖ (ไม่ ได้ ตอบ
ว่าซื้อจากเจ้ าของจึงได้ กรรมสิ ทธิ์ให้ เพียง ๑ คะแนน)
กรณี ของนาฬิ ก า เมื่ อนายเอกลัก นาฬิ ก ามาขายให้แก่ นายตรี
นายตรี ไม่ได้รับการคุ ม้ ครองตามมาตรา ๑๓๓๒ ซึ่ งมีหลักกฎหมายว่า
บุ ค คลผู ้ซ้ื อทรั พ ย์ สิ นมาโดยสุ จริ ตในการขายทอดตลาดหรื อใน
ท้องตลาด หรื อจากพ่อค้าซึ่ งขายของชนิดนั้นไม่จาต้องคืนให้แก่เจ้าของ
แท้จริ ง เว้นแต่เจ้าของจะชดใช้ราคาที่ซ้ื อมา เมื่อนายเอกไม่ใช่พ่อค้าขาย
นาฬิ กา และนายตรี มาซื้ อที่ บา้ นของนายเอกซึ่ งไม่ใช่ ทอ้ งตลาดที่ขาย
นาฬิกาและมิใช่การขายทอดตลาด นายตรี จึงไม่ได้รับการคุม้ ครองตาม
118

มาตรา ๑๓๓๒ ดังนั้น เมื่อนายเอกลักนาฬิกาของนายโทขายจึงเป็ นการ


ขายโดยไม่มีสิทธิ นายตรี ถึงแม้จะทาการซื้ อไว้โดยสุ จริ ตก็ไม่มีสิทธิ ใน
นาฬิกานี้ ตามหลักผูร้ ับโอนไม่มีสิทธิ ดีกว่าผูโ้ อน (๑ คะแนน)
เมื่ อ นายโทยัง เป็ นเจ้า ของนาฬิ ก าจึ ง มี อานาจติ ด ตามจากผูท้ ี่
ยึดถือนาฬิกาของตนไว้โดยไม่มีสิทธิ ตามหลักของมาตรา ๑๓๓๖
สรุ ป นายตรี มีสิทธิ ในเทวรู ปไม้แกะสลักดีกว่านายโท นายโท
มีสิทธิ ในนาฬิ กาดี กว่านายตรี (รวมแต่ ละประเด็นได้ ๕ คะแนน ดู ใน
ภาพรวมแล้ ว ประเด็ น แรกได้ ๔ คะแนนจาก ๖ คะแนนไม่ มี ปั ญ หา
ประเด็ นหลัง ถู ก ธง แต่ ไ ม่ ไ ด้ ต อบประเด็ น ส าคั ญ หากพิจ ารณาตาม
ประเด็นได้ เพียง ๑ คะแนนซึ่ งน้ อยเกินไป พอเพิ่มคะแนนให้ ได้ อีก ๑
คะแนน รวม ๖ คะแนน)
ข้ อสั งเกต นดกศึกษำบำบท่ ำนสบสด ยั่ ำตอบถูกธบ แต่ ทำไมไม่ ได้ ควแนน
หรื อได้ น้อย ตดัอย่ ำบคำตอบนีเ้ ป็ นคำตอบที่ น่ำศึกษำถึบข้ อบกพร่ อบใน
กำรเขียนตอบข้ อสอบ แลวนำข้ อบกพร่ อบมำปรด บปรุ บแก้ ไข เพื่ อะวได้
เขียนตอบข้ อสอบให้ ได้ ควแนนดีขึน้
ขอให้ สดบเกตั่ ำหำกคำถำมเรื่ อบกำรคุ้มครอบบุคคลภำยนอกที่
สุ ะริ ตแลวเสี ยค่ ำตอบแทนกรณี ลดกทรด พย์ หรื อยดกยอกทรด พย์ นดกศึ กษำ
ต้ อ บตอบมำตรำ ๑๓๐๓ เป็ นหลด ก หำกค ำถำมไม่ มี เ รื่ อบพ่ อ ค้ ำ หรื อ
ท้ อบตลำด กำรไม่ ตอบมำตรำ ๑๓๓๒ ก็น่ำะวพอได้ แต่ ถ้ำมีเรื่ อบพ่ อค้ ำ
หรื อท้ อบตลำด ก็ต้อบตอบมำตรำ ๑๓๓๒ มำด้ ัย
ตัวอย่ างคาตอบที่ ๓ สิ ทธิ ในนาฬิกา การที่นายเอกลักนาฬิกา
เรื อนละ ๕,๐๐๐ บาทของนายโท เป็ นกรณี ที่ น ายเอกเจตนาแย่ ง
119

กรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินของนายโท โดยตนเองไม่มีสิทธิ ตามกฎหมาย


เมื่อนายเอกโอนขายนาฬิกาเรื อนดังกล่าวให้นายตรี โดยนายตรี ชาระค่า
นาฬิ กาให้นายเอกเป็ นเงิ น ๕,๐๐๐ บาท แม้นายตรี เข้าซื้ อนาฬิ กาโดย
สุ จ ริ ต คื อ ไม่ ท ราบว่ า เป็ นนาฬิ ก าที่ ล ั ก มาจากนายโท แต่ ก็ ไ ม่ เ ข้ า
ข้อยกเว้นใด ๆ ในหลัก กฎหมายผูร้ ั บ โอนไม่ มี สิท ธิ ดีกว่า ผูโ้ อน เมื่ อ
ผูโ้ อนคือนายเอกไม่มีกรรมสิ ทธิ์ ในนาฬิ กา โอนขายนาฬิ กาให้นายโท
นายโทผูร้ ับโอนก็ย่อมไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ในนาฬิ กานั้นเช่ นกัน ตามหลัก
กฎหมายผูร้ ับโอนไม่มีสิทธิ ดีกว่าผูโ้ อน
นายโทจึงมีสิทธิ ในนาฬิกาดีกว่านายตรี (คาว่ า ไม่ เข้ าข้ อยกเว้ น
ใด ๆ ต้ องตอบมาด้ วยว่าหลักกฎหมายทีว่ ่าคืออะไร เมื่อไม่ ได้ ตอบมา แม้
จะตอบหลักเรื่ องผู้รับโอนไม่ มีสิทธิดีกว่ าผู้โอน ก็ถือว่ าเหตุผลยังไม่ ถูก
เพราะไม่ ได้ ตอบมาตรา ๑๓๐๓ และมาตรา ๑๓๓๒ ประเด็นนี้ธงถูก แต่
ไม่ ได้ คะแนน)
สิ ทธิในเทวรู ปไม้ การที่นายเอกลักไม้ราคา ๕๐๐ บาท ของนาย
โท เป็ นกรณี ที่นายเอกเจตนาแย่งกรรมสิ ทธิ์ เหนื อทรัพย์สิน ซึ่ งก็คือไม้
อันเป็ นทรัพย์สินของนายโทโดยตนเองไม่มีสิทธิ ตามกฎหมาย แต่เมื่อ
นายเอกนาไม้ที่ลกั มาแกะสลักเป็ นเทวรู ปไม้ จึงเป็ นกรณี ที่นายเอกนา
ไม้ซ่ ึ งเป็ นสั ม ภาระของนายโทมาท าเทวรู ป ไม้ข้ ึ นใหม่ ตามหลัก
กฎหมายแล้วเจ้าของสัมภาระเป็ นเจ้าของเทวรู ปไม้น้ นั โดยมิตอ้ งคานึ ง
ว่าสัมภาระนั้นจะกลับคืนตามเดิ มได้หรื อไม่ แต่ตอ้ งใช้ค่าแรงงาน แต่
เมื่ อราคาของเทวรู ปไม้แกะสลัก มีราคาถึ ง ๒๐,๐๐๐ บาท ซึ่ งสู ง กว่า
ราคาสัมภาระอยู่มากถึ ง ๑๙,๕๐๐ บาท ถื อได้ว่าค่าแรงงานเกิ นกว่าค่า
120

สั ม ภาระที่ ใ ช้น้ ัน มาก ตามหลัก กฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์แ ล้ว ผูท้ า


ทรั พ ย์ข้ ึ นใหม่ เป็ นเจ้า ของทรั พย์ แต่ ต้องใช้ค่ า สัมภาระ นายเอกผูท้ า
เทวรู ปไม้ข้ ึน จึงเป็ นเจ้าของเทวรู ปไม้น้ นั แต่ตอ้ งใช้ราคาค่าไม้แก่นาย
โท (๓ คะแนน) เมื่อนายเอกเป็ นเจ้าของเทวรู ปไม้แกะสลักแล้ว นายเอก
ย่อมมีสิทธิ ในการโอนเทวรู ปไม้แกะสลักแก่นายตรี บุคคลภายนอก โดย
ไม่ ตอ้ งคานึ ง ว่านายตรี ไ ด้รับ โอนไปโดยสุ จริ ต และเสี ยค่ าตอบแทน
หรื อไม่ (๑ คะแนน)
ดังนั้น การที่นายตรี ซ้ื อเทวรู ปไม้จากนายเอก โดยชาระราคาไป
๒๐,๐๐๐ บาท และนายเอกโอนเทวรู ป ไม้น้ ั น ให้ นายตรี ย่ อ มได้
กรรมสิ ทธิ์ ในเทวรู ปไม้น้ นั (๑ คะแนน)
นายตรี จึงมีสิทธิ ในเทวรู ปไม้ดีกว่านายโท (รวม ๕ คะแนน)

ข้ อ ๑๗ คาถาม นายเขียวขอเช่าสุ นขั จากนายขาว ๗ วัน เพื่อไป


เฝ้ าบ้านเนื่องจากนายเขียวกาลังซ่อมแซมประตูบา้ น เมื่อซ่อมแซมประตู
บ้านเสร็ จนายขามาเยี่ยมนายเขียวที่บา้ น สุ นขั ตัวดังกล่าวเข้ามาเล่นกับ
นายขา นายขาถูกใจสุ นขั มากจึงสอบถามนายเขียว นายเขียวหลอกนาย
ขาว่า เป็ นสุ นัขของตน นายขาจึ งขอซื้ อสุ นัขตัวดังกล่ า วจากนายเขี ย ว
นายเขีย วตกลงขายให้ในราคา ๕๐,๐๐๐ บาท นายข าจึงนาสุ นัขกลับ
บ้านไป หลังจากนายขาเลี้ ยงสุ นขั ไว้ ๑๐ วัน สุ นขั ตัวดังกล่าวคลอดลูก
สุ นขั มาอีก ๑ ตัว ต่อมานายขาวทราบเรื่ องจึงมาขอสุ นัขทั้งสองตัวคื น
จากนายข า นายขาอ้า งว่า ตนสุ จริ ตและเสี ย ค่ าตอบแทน จึ งมีสิ ทธิ ใ น
สุ นขั และลูกสุ นขั
121

ให้วินิจฉัย ว่า นายขาวและนายข าใครมี สิ ทธิ ใ นสุ นัข และลู ก


สุ นขั ดีกว่ากัน
ข้ อ ๑๗ ค าตอบ การที่ น ายข าซื้ อสุ นั ข จากนายเขี ย วราคา
๕๐,๐๐๐ บาทนั้น นายเขี ย วไม่ ใ ช่ เจ้า ของกรรมสิ ท ธิ์ สุ นัข ที่ ข าย นาย
เขี ย วจึ ง ไม่ มี สิ ท ธิ จ าหน่ า ยตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์
มาตรา ๑๓๓๖ แม้ ใ นกรณีที่ บุ ค คลหลายคนเรี ยกเอาสั ง หาริ ม ทรั พ ย์
เดียวกันโดยอาศัยหลักกรรมสิ ทธิ์ต่างกัน ทรั พย์ สินตกอยู่ในครอบครอง
ของบุคคลใด บุคคลนั้นมีสิทธิยิ่งกว่ าบุคคลอื่น ๆ โดยต้ องได้ ทรั พย์ น้ ัน
มาโดยมี ค่ า ตอบแทน และได้ ก ารครอบครองโดยสุ จ ริ ต ตามมาตรา
๑๓๐๓ วรรคหนึ่ ง แต่ มาตรา ๑๓๐๓ วรรคสอง มิให้ ใช้ มาตรา ๑๓๐๓
วรรคหนึ่ง บังคับถึงสั งหาริ มทรั พย์ ที่ได้ มาโดยการกระทาผิด เมื่อนาย
เขี ย วเช่ า สุ นัขจากนายขาว แล้วนายเขี ยวขายสุ นัขให้นายขา เป็ นการ
กระทาความผิดฐานยักยอกทรั พย์ สุ นัขที่ซื้อขายเป็ นสั งหาริ มทรั พ ย์
ที่ได้ มาโดยการกระทาผิด จึงไม่ อาจใช้ มาตรา ๑๓๐๓ วรรคหนึ่ง บังคับ
แก่ กรณีการซื้อสุ นัขของนายขาได้ การที่นายขาซื้ อสุ นัขมาจากบุ คคล
ที่ไม่ ใช่ เจ้ าของ และไม่ ได้ ซื้อจากการขายทอดตลาด หรื อในท้ องตลาด
หรือจากพ่ อค้ าซึ่งขายของชนิดนั้น ตามมาตรา ๑๓๓๒ นายขาจึงไม่ ได้
กรรมสิ ทธิ์ในสุ นัขที่ซื้อมา นายขาวเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ในสุ นัขจึงมีสิทธิ
ดีกว่านายขา (คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๔/๒๔๙๔)
ส่ วนลูกสุ นัขนั้น แม้ ลูกสุ นัขจะเป็ นดอกผลธรรมดาของสุ นัข
ซึ่ ง เจ้ า ของกรรมสิ ทธิ์ ย่ อ มมี สิ ท ธิ ไ ด้ รับ ดอกผลของสุ นัข ตามมาตรา
๑๓๓๖ แต่การที่นายขาซื้ อสุ นขั และเลี้ ยงไว้ ๑๐ วัน เป็ นกรณีที่นายขา
122

ยึดถือทรัพย์สินโดยเจตนาจะยึดถือเพือ่ ตน นายขาจึงมีสิทธิครอบครอง
ตามมาตรา ๑๓๖๗ เมื่อจะต้ องส่ งคืนการครอบครอง มาตรา ๑๓๗๖ ให้
นาหลักเรื่ องลาภมิควรได้ มาใช้ บังคับ กล่ าวคือ บุคคลผู้ได้ รับทรั พย์ สิน
ไว้ โดยสุ จ ริ ต ย่ อ มจะได้ ด อกผลอันเกิด แต่ ทรั พ ย์ สิ นนั้ นตลอดเวลาที่
ยังคงสุ จริ ตอยู่ เมื่อสุ นขั ตัวดังกล่าวคลอดลูกสุ นขั มาอีก ๑ ตัว โดยนาย
ขาเข้าใจว่าตนเป็ นเจ้าของสุ นขั เนื่องจากซื้ อมาเพราะถูกนายเขียวหลอก
ต้ องถือว่ านายขาครอบครองสุ นัขโดยสุ จริ ต ย่ อมจะได้ ดอกผลอันเกิด
แต่ ทรัพย์ สินนั้นตลอดเวลาที่ยังคงสุ จริ ตอยู่ นายขาจึงมีสิทธิในลูกสุ นัข
ซึ่งเป็ นดอกผลดีกว่านายขาว
ข้ อ สั ง เกต ค ำถำมไม่ ไ ด้ ถ ำมั่ ำ นำยขำัมี สิ ท ธิ อ ย่ ำ บไรต่ อ นำยเขี ย ั
นดกศึ กษำไม่ ะำเป็ นต้ อบตอบในเรื่ อบนี ้ แลวข้ อเท็ะะริ บที่ ั่ำ เช่ ำสุ นดขเพื่ อ
ไปเฝ้ ำบ้ ำนเนื่อบะำกนำยเขียักำลดบซ่ อมแซมปรวตูบ้ำน เป็ นข้ อเท็ะะริ บ
ที่ ไม่ คัรมีในคำตอบ เพรำวไม่ ใช่ ข้อเท็ะะริ บที่ ต้อบนำไปปรด บเข้ ำกดบข้ อ
กฎหมำย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๔/๒๔๙๔ เช่าเครื่ องมือในการตัดผมและ
เครื่ องอุปกรณ์ อื่นในร้านตัดผมของเขาไว้ เปิ ดทาการตัดผม คิ ดค่าเช่ า
เป็ นรายเดื อน และชาระค่าเช่ าเรื่ อยมาภายหลังกลับ เอาเครื่ องมื อและ
เครื่ อ งอุ ป กรณ์ เ หล่ า นั้น ไปโอนขายแก่ ผูอ้ ื่ น เสี ย ดัง นี้ ผูร้ ั บ ซื้ อ ไม่ ไ ด้
กรรมสิ ท ธิ์ และไม่ ใ ช่ ก รณี ต ามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์
มาตรา ๑๓๐๓ และไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา ๑๓๓๒ เจ้าของยังคง
มีสิทธิติดตามเอาคืนได้
ข้ อสั งเกต คำพิ พำกษำฎี กำนี ร้ อบศำสตรำะำรย์ ัิริยว นำมศิ ริพบศ์ พดนธุ์
123

เห็ นั่ ำ เป็ นกำรตี ค ัำมมำตรำ ๑๓๐๓ ัรรคสอบ กั้ ำบเกิ นไป ทำให้
โอกำสที่ ะวนำหลดกคุ้มครอบบุคคลภำยนอกตำมมำตรำ ๑๓๐๓ ัรรค
หนึ่ บ มำใช้ ไ ด้ น้อยมำก อด นไม่ ส อดคล้ อบกด บ สด บ คมปด ะะุ บดน หำกออก
ข้ อสอบ กำรตอบตำมคำพิ พำกษำฎีกำน่ ำะวปลอดภดยแลวได้ ควแนนดี
ที่ สุด แต่ ปดญหำนี ้ผ้ ูแต่ บเห็นั่ ำน่ ำะวต้ อบติ ดตำมดูคำพิ พำกษำฎีกำใหม่
ด้ ัยั่ ำ ศำลฎีกำยดบะวเดินตำมแนัเดิ มหรื อไม่ ขอให้ ศึกษำเพิ่ มเติ มะำก
กอบทุนศำสตรำะำรย์ ะิตติ ติ บศภดทิย์ , คาอธิบายประมวลกฎหมายแพ่ ง
และพาณิชย์ เรี ยงมาตรา ว่ าด้ วยทรั พย์ สิน , ัิ ริยว นำมศิ ริพบศ์ พดนธุ์ ,
กดนยำยน ๒๕๔๕, หน้ ำ ๒๒

การคุ้มครองบุคคลภายนอกตามมาตรา ๑๓๒๙
ข้ อ ๑๘ คาถาม เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ เด็กชายเอกอายุ
๑๔ ปี ขายสุ นขั ตัวผูใ้ ห้แก่นายโท และขายสุ นขั ตัวเมียให้แก่นายตรี ราคา
ตัวละ ๕,๐๐๐ บาท เพื่อจะเอาเงินไปซื้ อคอมพิวเตอร์ โดยไม่ได้บอกบิดา
มารดาก่อน ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๑ นายโทขายสุ นขั ตัวผู้
ให้แก่นายสองราคา ๑๐,๐๐๐ บาท แล้วเมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๑
บิดามารดาของเด็กชายเอกทราบเรื่ องการขายสุ นขั จึงเรี ยกสุ นขั คืนจาก
นายโทและนายตรี ทนั ทีโดยยินดีจะคืนเงินให้ นายโทแจ้งว่าได้ขายสุ นขั
ตัวผูใ้ ห้แก่นายสองไปแล้ว ส่ วนนายตรี ยงั ไม่ยอมคืนสุ นขั ตัวเมียให้แล้ว
ในวันรุ่ งขึ้นนายสามมาขอซื้ อสุ นขั ตัวเมียจากนายตรี นายตรี จึงขายสุ นขั
ตัวเมียให้แก่นายสามราคา ๒๐,๐๐๐ บาท โดยส่ งมอบสุ นขั ให้ไป
124

ให้วินิจฉัยว่า บิดามารดาของเด็กชายเอก จะเรี ยกสุ นขั คืนจาก


นายสองและนายสามได้หรื อไม่
ข้ อ ๑๘ ค าตอบ เด็ ก ชายเอกอายุ ๑๔ ปี ยั ง เป็ นผู้ เ ยาว์ ต าม
ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๙ เด็กชายเอกจะทานิ ติ
กรรมใด ๆ ต้ องได้ รับความยินยอมของบิดามารดาซึ่ งเป็ นผู้แทนโดย
ชอบธรรมก่อน การที่เด็กชายเอกขายสุ นขั ให้แก่นายโทและนายตรี โดย
ไม่ได้บอกบิดามารดาก่อน เป็ นนิติกรรมที่ผ้ ูเยาว์ ได้ ทาลงโดยปราศจาก
ความยินยอมจึงตกเป็ นโมฆียะตามมาตรา ๒๑
การที่บิดามารดาของเด็กชายเอกเรี ยกสุ นขั คืนจากนายโทและ
นายตรี เป็ นการแสดงเจตนาบอกล้ างโมฆียะกรรมแก่ อีกฝ่ ายหนึ่ง เมื่อ
บอกล้ า งแล้ ว ให้ ถื อ ว่ า เป็ นโมฆะมาแต่ เ ริ่ ม แรก และให้ ผ้ ู เ ป็ นคู่ ก รณี
กลับ คืนสู่ ฐานะเดิม ถ้ า เป็ นการพ้ นวิสัยจะให้ กลับคืนเช่ นนั้ นได้ ก็ใ ห้
ได้ รับค่ าเสี ยหายชดใช้ ให้ แทนตามมาตรา ๑๗๖ การให้ ค่ ูกรณีกลับคืนสู่
ฐานะเดิ มก็คือ นายโทและนายตรี ต้ องคืนสุ นัขให้ แก่ เด็ ก ชายเอก และ
เด็กชายเอกต้ องคืนเงินให้ แก่นายโทและนายตรี ซึ่งจะต้ องวินิจฉัยต่ อไป
การที่นายโทและนายตรี ขายสุ นขั ไปแล้วนั้น แม้ บุคคลผู้ได้ มา
ซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น โดยมี ค่ า ตอบแทนและโดยสุ จ ริ ต นั้ น ท่ า นว่ า มิ เ สี ย ไป
ถึงแม้ ว่าผู้โอนทรั พย์ สินให้ จะได้ ทรั พย์ สินนั้นมาโดยนิติกรรมอันเป็ น
โมฆียะ และนิติกรรมนั้นได้ ถูกบอกล้ างภายหลัง แต่ ผ้ ูที่จะได้ รับความ
คุ้มครองตามมาตรา ๑๓๒๙ ต้ องได้ ความว่ า ได้ ทรัพย์ สินมาในระหว่ าง
ที่ ยั ง ไม่ มี ก ารบอกล้ า งโมฆี ย ะกรรม ถ้ าได้ มาภายหลั ง บอกล้ า ง
โมฆี ย ะกรรมแล้ ว ย่ อ มไม่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครอง (ค าพิ พ ากษาฎี ก า
125

ที่ ๒๐๓๖/๒๕๑๘)
การที่นายโทขายสุ นขั ตัวผูใ้ ห้แก่นายสองเมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม
๒๕๕๑ และบอกล้างเมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๑ ถือว่ านายสองได้
ทรั พย์ สินมาในระหว่ างที่ยังไม่ มีการบอกล้ างโมฆียะกรรม สิ ทธิของ
นายสองมิเสี ยไป บิดามารดาของเด็กชายเอกจึงเรี ยกสุ นัขคืนจากนาย
สองไม่ ได้
ส่ วนนายตรี ขายสุ นขั ตัวเมียให้แก่นายสามหลังจากบิดามารดา
ของเด็กชายเอก บอกล้างนิ ติกรรมระหว่างเด็กชายเอกและนายตรี ไป
แล้วนั้น ถือว่ านายสามได้ ทรั พย์ สินมาภายหลังบอกล้ างโมฆียะกรรม
แล้ ว นายสามย่ อมไม่ ได้ รับความคุ้มครองตามมาตรา ๑๓๒๙ เด็กชาย
เอกจึงยังเป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ในสุ นัขอยู่ บิดามารดาของเด็กชายเอก
จึ งเรี ยกสุ นัขคื นจากนายสามได้ โดยอาศั ยอานาจแห่ งกรรมสิ ทธิ์ ตาม
มาตรา ๑๓๓๖
ข้ อ สั ง เกต ค ำถำมข้ อ นี ้ไ ม่ ไ ด้ ถ ำมั่ ำ บิ ด ำมำรดำขอบเด็ก ชำยเอกะว
เรี ยกร้ อบค่ ำเสี ยหำยะำกนำยโทได้ เท่ ำใด หรื อะวต้ อบะ่ ำยเบิ นให้ แก่ นำย
สำมเท่ ำใด ะึบไม่ ต้อบตอบมำ
หำกคำถำมข้ อนี ้เป็ นข้ อสอบัิชำกฎหมำยลดกษณวทรด พย์ ขอบ
รวดดบปริ ญญำตรี ปรวเด็นเรื่ อบผู้เยำั์ ท ำนิ ติกรรมโดยไม่ ไ ด้ รดบคัำม
ยินยอม ะึ บเป็ นโมฆียวกรรม แลวเรื่ อบกำรบอกล้ ำบกดบผลขอบกำรบอก
ล้ ำบคบไม่ ต้อบอธิ บำยลวเอี ยดอย่ ำบในธบคำตอบ โดยอำะะวกล่ ำัถึบไั้
เพี ย บสด้ น ๆ แล้ ั ตอบในปรวเด็น เรื่ อบทรด พ ย์ แต่ ถ้ ำ เป็ นข้ อ สอบเนติ
บดณฑิ ต อดยกำรผู้ช่ัย หรื อผู้ช่ัยผู้พิพำกษำ คบต้ อบตอบให้ สมบูรณ์ ทุก
126

ปรวเด็น เพรำวกำรสอบเนติบดณฑิต อดยกำรผู้ช่ัย หรื อผู้ช่ัยผู้พิพำกษำ


ถือั่ ำผู้สอบต้ อบรู้ กฎหมำยทด้บหมดทุกเรื่ อบ ไม่ ได้ ะำกดดัิชำดดบเช่ นรวดดบ
ปริ ญญำตรี
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๐๓๖/๒๕๑๘ ส. ภริ ยาโจทก์ได้ขายที่ ดิน
ให้แก่ ก. กับพวก ไปโดยโจทก์มิได้ให้ความยินยอม โจทก์ฟ้อง ส. และ
ก. กับพวก เป็ นคดีแรก ขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้ อขายเสี ย ปรากฏว่า ก.
กับพวกขายที่พิพาทแก่จาเลยที่ ๑ ไปแล้ว โจทก์จึงขอให้ศาลเรี ยกจาเลย
ที่ ๑ เข้าเป็ นจาเลยร่ วม ในคดีน้ นั ศาลอุทธรณ์พิพากษากลับคาพิพากษา
ศาลชั้นต้นเป็ นว่า นิติกรรมซื้ อขายที่ดินระหว่าง ส. กับ ก. และพวก เป็ น
โมฆะให้เพิ กถอนเสี ย และเพิก ถอนนิ ติกรรมซื้ อขาย ระหว่าง ก. กับ
พวก กับจาเลยที่ ๑ เสี ยด้วย ศาลฎี กาพิพากษายืน ขณะที่คดี แรกอยู่ใน
ระหว่างพิจารณาของศาลฎี กา จาเลยที่ ๑ ได้ขายฝากที่พิพาทแก่จาเลย
ที่ ๒ และที่พิพาทหลุดเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของจาเลยที่ ๒ แล้ว โจทก์จึงฟ้ อง
คดีน้ ีให้ทาลายนิติกรรมการขายฝากระหว่างจาเลยทั้งสองเสี ย ดังนี้ การ
ที่โจทก์ฟ้อง ส. กับพวก ขอให้เพิกถอนนิ ติกรรมอันเป็ นโมฆียะในคดี
แรกนั้น ถื อได้ว่าโจทก์ไ ด้บ อกล้างนิ ติกรรมแล้ว เมื่ อในที่ สุดศาล
พิพ ากษาว่า นิ ติก รรมดัง กล่ า วเป็ นโมฆะ นิ ติกรรมนั้นย่อมเป็ นโมฆะ
มาแต่เริ่ มแรก ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘
วรรคหนึ่ ง (ปั จจุบนั คือมาตรา ๑๗๖) การที่ ก. กับพวก โอนขายที่ดิน
ให้จาเลยที่ ๑ ก็ดีหรื อจาเลยที่ ๑ ขายฝากที่พิพาทให้แก่ จาเลยที่ ๒ ก็ดี
เป็ นอันใช้ยนั โจทก์ไม่ได้ เพราะการขายต่อ ๆ มา จาเลยที่ ๑ ไม่มีอานาจ
ที่จะโอนขายได้ เข้าหลักที่วา่ ผูร้ ับโอนไม่มีอานาจดีกว่าผูโ้ อน เพราะ
127

นิ ติก รรมอันเดิ ม เป็ นโมฆะมาแต่ เริ่ ม แรกเสี ย แล้ว โจทก์ย่อมใช้สิ ท ธิ


ติดตามเอาทรัพ ย์สินตามมาตรา ๑๓๓๖ ได้ กรณี เช่ นนี้ จะนามาตรา
๑๒๙๙ และมาตรา ๑๓๐๐ มาปรับแก่คดี หาได้ไม่ ส่ วนมาตรา ๑๓๒๙
นั้น ต้องได้ความว่า ได้ทรั พย์สินมาในระหว่างที่ ยงั ไม่มีการบอกล้าง
โมฆียะกรรม ถ้าได้มาภายหลังบอกล้างโมฆียะกรรมแล้ว ย่อมไม่ได้รับ
ความคุม้ ครอง

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๒๙


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๕๒๒/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๓ น.๑๒๗ โจทก์เป็ น
เจ้า ของที่ ดิ น แต่ ใ ห้ ผ. มี ชื่ อ ถื อ กรรมสิ ท ธิ์ แทน แม้จ าเลยที่ ๑ จะ
หลอกลวงทากลฉ้อฉลโจทก์และ ผ. จนโจทก์และ ผ. ตกลงทาสัญญา
ซื้ อขายโอนกรรมสิ ทธิ์ ให้จาเลยที่ ๑ อันทาให้นิติกรรมตกเป็ นโมฆียะ
และโจทก์บอกล้างแล้วก็ตาม แต่จาเลยที่ ๒ ซึ่ งเป็ นบุคคลภายนอกรับ
ซื้ อฝากที่ดินพิพาทไว้จากจาเลยที่ ๑ โดยสุ จริ ตและมีค่าตอบแทน การที่
ภายหลังโจทก์ไปขอไถ่ถอนที่ดินพิพาทคืนจากจาเลยที่ ๒ ในขณะที่ยงั
ไม่ ค รบกาหนดที่จาเลยที่ ๑ จะไปไถ่ ถอนคื นจากจาเลยที่ ๒ ได้ตาม
สัญญาและจาเลยที่ ๒ ไม่ยอมให้โจทก์ไถ่ถอน โจทก์ก็ไม่อาจยกเอาเหตุ
กลฉ้อฉลต่อโจทก์และ ผ. อันทาให้นิติกรรมตกเป็ นโมฆียะที่โจทก์ได้
บอกล้างแล้วขึ้นต่อสู ้จาเลยที่ ๒ ซึ่งเป็ นบุคคลภายนอกผูก้ ระทาการโดย
สุ จ ริ ต และได้ที่ ดิ น พิ พ าทมาโดยมี ค่ า ตอบแทนก่ อ นมี ก ารบอกล้า ง
โมฆียะกรรมได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๐ ประกอบมาตรา ๑๓๒๙
ข้ อสั งเกต หำกมอบเผิน ๆ กำรที่ภำยหลดบโะทก์ ไปขอไถ่ ถอนที่ ดินพิพำท
128

คื นะำกะำเลยที่ ๒ นดกศึ กษำอำะคิ ดั่ ำเป็ นกำรให้ สดตยำบดนโดยปริ ยำย


ตำมมำตรำ ๑๘๐ แต่ เรื่ อบนี ้ไม่ ใช่ เพรำวมี กำรบอกล้ ำบก่ อนแล้ ั แลว
ผู้ท ำกลฉ้ อฉลคื อ ะ ำเลยที่ ๑ หำกมี ก ำรให้ สด ต ยำบด น โะทก์ ก็ต้ อ บให้
สด ต ยำบด น แก่ ะ ำเลยที่ ๑ ซึ่ บ เป็ นคู่ ก รณี อี ก ฝ่ ำยหนึ่ บ ซึ่ บ เป็ นบุ ค คลที่ มี
ตดักำหนดได้ แน่ นอนตำมมำตรำ ๑๗๘ ไม่ ใช่ ไปแสดบเะตนำต่ อะำเลยที่
๒ ส ำหรด บ ค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำนี ้ หำกผู้ ออกข้ อสอบต้ อบกำรทดสอบั่ ำ
นดกศึ กษำรู้ ะริ บหรื อไม่ ด้ ัยกำรเพิ่ มข้ อเท็ะะริ บเข้ ำไปั่ ำก่ อนที่ ะวบอก
ล้ ำบ ขณวที่ โะทก์ ไปขอไถ่ ที่ดิน ะำเลยที่ ๑ อยู่กดบะำเลยที่ ๒ ด้ ัย เมื่ อ
ะำเลยทด้บสอบอยู่ด้ัยกดน กำรไปขอไถ่ ที่ดิน ก็ะวเป็ นกำรให้ สดตยำบดนโดย
ปริ ยำยต่ อะำเลยที่ ๑ ตำมมำตรำ ๑๘๐ เมื่อให้ สดตยำบดนนิ ติกรรมที่ เป็ น
โมฆี ยวแล้ ั นิ ติกรรมะวสมบูรณ์ มำตด้บแต่ แรกตำมมำตรำ ๑๗๗ โะทก์
ไม่ อำะบอกล้ ำบนิติกรรมได้ อีก
129

การคุ้มครองบุคคลภายนอกตามมาตรา ๑๓๓๐
ข้ อ ๑๙ ค าถาม นายดานาที่ ดินพร้ อมบ้านไม้เลขที่ ๑๓ ไป
จดทะเบี ยนจานองประกันหนี้ กูย้ ืมเงิ น ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท กับนายแดง
เมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๕ ต่อมาเจ้าพนักงานบังคับคดียึดบ้านเลขที่
๑๓ ดังกล่าวของนายดาเพื่อนาออกขายทอดตลาดชาระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้
ตามคาพิพากษาของนายดาโดยเจ้าพนักงานบังคับคดี ไม่ทราบว่าบ้าน
ดังกล่าวนายดานาไปจดทะเบียนจานองไว้กบั นายแดง ต่อมาเมื่อวันที่
๑๐ มกราคม ๒๕๕๖ เจ้า พนัก งานบัง คับ คดี ไ ด้ข ายทอดตลาดบ้า น
ดัง กล่ า วโดยประกาศขายทอดตลาดแจ้ง ว่า เป็ นการขายปลอดภาระ
ผูกพันใด ๆ และได้รับอนุ ญาตจากศาลแล้ว นายม่วงเป็ นผูซ้ ้ื อบ้านหลัง
ดัง กล่ าวได้ใ นราคา ๕๐๐,๐๐๐ บาท และได้จดทะเบีย นรั บโอนบ้าน
ดัง กล่ า วในวัน เดี ย วกัน ในคื น นั้น นายเมาขับ รถบรรทุ ก น้ า มัน โดย
ประมาทชนบ้านดังกล่าวจนไฟไหม้บา้ นไม้เสี ยหายทั้งหลัง
ให้วนิ ิจฉัยว่า ใครมีสิทธิ ได้รับค่าสิ นไหมทดแทนจากนายเมา
ข้ อ ๑๙ คาตอบ นายดานาที่ดินพร้ อมบ้านไม้เลขที่ ๑๓ ไปจด
ทะเบี ยนจานองกับนายแดง จานองย่ อมครอบไปถึงทรั พย์ ท้ังปวงอัน
ติดพันอยู่กบั ทรัพย์ สินซึ่งจานองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา ๗๑๘ เมื่ อบ้า นดัง กล่ า วมี อยู่ในขณะที่ จดทะเบี ยนจานอง การ
จ านองย่ อ มครอบคลุ ม ไปถึ ง บ้ า นด้ ว ย แม้น ายม่ ว งไม่ ท ราบว่ า บ้า น
ดังกล่าวนายดานาไปจดทะเบียนจานองไว้กบั นายแดง ซึ่งถือว่านายม่ วง
ซื้อบ้ านจากการขายทอดตลาดตามคาสั่ งศาลโดยสุ จริต แต่สิทธิ ของนาย
ม่วงได้มาภายหลังจากที่ นายแดงรับจานองบ้านโดยชอบด้วยกฎหมาย
130

แล้ว และเหตุ ที่จะทาให้ การจานองระงั บสิ้ นไปก็ต่อเมื่อหนี้ที่ประกัน


ระงับสิ้ นไป หรื อมีเหตุตามมาตรา ๗๔๔ เท่ านั้น นายแดงยังคงมีสิทธิ
บังคับจานองเอาแก่บ้านที่นายม่ วงซื้อมาแล้ วได้ ตามมาตรา ๗๐๒ วรรค
สอง เพราะจ านองที่จ ดทะเบี ยนแล้ ว ย่ อ มเป็ นทรั พ ยสิ ทธิ ติด ตามตัว
ทรัพย์ ไป การที่นายม่วงได้กรรมสิ ทธิ์ ในบ้านพิพาทภายหลังจากที่นาย
แดงรับจานองไว้แล้ว แม้ จะได้ มาโดยสุ จริ ตและได้ รับความคุ้ มครอง
ตามมาตรา ๑๓๓๐ ก็มีผลให้ นายม่ วงได้ กรรมสิ ทธิ์ในบ้ านโดยจานอง
ติ ด ไป แต่ หาท าให้ สิ ทธิ จ านองของนายแดงที่ มี อ ยู่ ร ะงั บ ไปไม่
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๕๘๗/๒๕๕๕)
การที่นายเมาขับรถบรรทุกน้ ามันโดยประมาทชนบ้านดังกล่าว
จนไฟไหม้บา้ นไม้เสี ยหายทั้งหลัง แม้ จะเป็ นการกระทาโดยละเมิดต่ อ
นายม่ ว งซึ่ งเป็ นเจ้ า ของกรรมสิ ท ธิ์ ใ นบ้ า นดั งกล่ า ว แต่ เมื่ อบ้ า นเป็ น
ทรั พย์ จานองซึ่ งยังมีผลอยู่ดังที่วินิจฉั ยมาแล้ ว สิ ทธิจานองย่ อมครอบ
ไปถึงสิ ทธิ ที่จะเรี ยกร้ องเอาแก่ ผ้ ูกระทาละเมิดที่ต้องใช้ ค่าเสี ยหายอัน
ควรจะได้ แ ก่ เ จ้ า ของทรั พ ย์ สิ น เพราะเหตุ ท รั พ ย์ สิ น ถู ก ท าลายและ
เสี ยหายด้ วยโดยหลักกฎหมายเรื่ องช่ วงทรั พย์ ตามมาตรา ๒๓๑ นาย
แดงจึ งมีสิทธิได้ รับค่ า สิ นไหมทดแทนจากนายเมาโดยหลักกฎหมาย
ช่ วงทรัพย์ ตามมาตรา ๒๓๑
ข้ อสั งเกต คำพิ พำกษำฎีกำที่ นำมำแต่ บคำถำมตดดสิ นตำมหลดกกฎหมำย
ช่ ับทรด พย์ แต่ เป็ นกรณี ไม่ มีกฎหมำยบดญญดติไั้ โดยตรบ ผู้แต่ บะึ บเพิ่ ม
ข้ อเท็ะะริ บั่ ำนำยเมำทำให้ ทรด พย์ เสี ยหำยเพื่ อให้ นดกศึ กษำตอบมำตรำ
131

๒๓๑ ด้ ัย ถ้ ำมีกำรนำข้ อเท็ะะริ บตำมคำพิ พำกษำฎี กำมำออกข้ อสอบ


นดกศึกษำคัรตอบฎีกำโดยไม่ ะำเป็ นต้ อบอ้ ำบมำตรำ ๒๓๑
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๕๘๗/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล.๑ น.๑๓๐ โจทก์รับ
จานองที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้ าง คือ บ้านซึ่ งตั้งอยูบ่ นที่ดินดังกล่าวตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๗๑๘ จานองย่อมครอบไปถึงทรัพย์ท้ งั ปวงอันติดพันอยู่
กับ ทรั พ ย์สิ น ซึ่ ง จ านอง และเมื่ อ บ้า นพิ พ าทเป็ นโรงเรื อ นซึ่ งมี อ ยู่ใ น
ขณะที่ จดทะเบียนจานอง การจานองย่อมครอบคลุ มไปถึ งบ้านพิพาท
ด้วย แม้จาเลยจะซื้ อบ้านพิพาทได้จากการขายทอดตลาดตามคาสั่งศาล
โดยสุ จริ ต แต่สิทธิ ของจาเลยได้มาภายหลังจากที่โจทก์รับจานองบ้าน
พิพาทโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว และเหตุที่จะทาให้การจานองระงับ
สิ้ นไปก็ ต่ อ เมื่ อ มี เ หตุ ต ามมาตรา ๗๔๔ เท่ า นั้ น การที่ จ าเลย
รื้ อถอนบ้านพิพาทไปไม่ทาให้สิท ธิ ของโจทก์ที่มีอยู่ในทรั พย์จานอง
ระงับสิ้ นไปได้ โจทก์จึงคงมีสิทธิ บงั คับจานองเอาแก่บา้ นพิพาทที่จาเลย
ซื้ อได้ตามมาตรา ๗๔๔ และมาตรา ๗๐๒ วรรคสอง การที่ จาเลยได้
กรรมสิ ทธิ์ ในบ้านพิพาทภายหลังจากที่โจทก์รับจานองไว้แล้ว แม้จะ
ได้มาโดยสุ จริ ตและได้รับความคุม้ ครองตามมาตรา ๑๓๓๐ ก็หาทาให้
สิ ทธิ ข องโจทก์ที่มี อยู่เดิ มเสี ย ไป จาเลยไม่มี สิทธิ ใ นบ้านพิพาทดี กว่า
โจทก์
จาเลยเป็ นแต่ เพีย งผูซ้ ้ื อบ้านพิพ าทได้จากการขายทอดตลาด
ตามค าสั่ ง ศาล มิ ใ ช่ เ ป็ นผูจ้ านองหรื อ คู่ สั ญ ญากับ โจทก์ ผูร้ ั บ จ านอง
จาเลยจึ งไม่ ตอ้ งรั บผิดในฐานะเป็ นผูจ้ านองต่ อโจทก์ การที่ จาเลยรื้ อ
ถอนบ้านพิพาทขายให้บุคคลอื่นไป แม้กระทาการโดยสุ จริ ต ก็ตอ้ งคืน
132

เงิ น ในส่ วนที่ เ กี่ ย วกับ บ้า นพิ พ าทให้ แก่ โ จทก์ และเมื่ อเป็ นหนี้ เ งิ น ที่
จาเลยต้องคืนให้แก่ โจทก์ โจทก์จึงมี สิทธิ เรี ยกดอกเบี้ ยได้ตามมาตรา
๒๒๔ ในอัตราร้ อยละเจ็ดครึ่ งต่อปี นับแต่วนั ที่ร้ื อถอนบ้านพิพาทเป็ น
ต้นไป

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๓๐


ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๗๒๐๙/๒๕๔๗ ฎ.๑๘๘๘ การที่ ส.บิ ด า
จาเลยซึ่งเป็ นเจ้าของที่ดินตามหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ที่จานอง
ไว้แก่โจทก์ นาที่ดินไปขอออกโฉนดที่ดินในขณะที่ยงั มีภาระจานองอยู่
แต่เมื่ อออกโฉนดที่ ดินแล้วกลับไม่มีการจดแจ้งระบุ ไว้ในสารบัญจด
ทะเบี ยนด้านหลังโฉนดว่าที่ดินมี ภาระจานอง สิ ทธิ จานองของโจทก์
ยัง คงมี อ ยู่ ใ นฐานะเป็ นทรั พ ยสิ ท ธิ ไม่ ร ะงับ สิ้ น ไปและครอบคลุ ม
ตลอดไปถึงที่ดินพิพาทด้วย โจทก์ในฐานะผูร้ ับจานองที่ดินตามหนังสื อ
รับรองการทาประโยชน์ของ ส. ซึ่ งที่ดินพิพาทเป็ นที่ดินส่ วนหนึ่ งของ
ที่ดินที่จานองไว้แก่โจทก์ จึงมีสิทธิ ที่จะบังคับจานองเอาแก่ที่ดินพิพาท
ของผูร้ ้ อ งได้ต ามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๗๐๒
วรรคสอง, ๗๑๖, ๗๑๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๗๔๔ การที่ผรู้ ้องได้
กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทมาภายหลังจากที่โจทก์ได้รับจานองโดยชอบ
ด้วยกฎหมาย แม้จะได้มาโดยสุ จริ ตด้วยการซื้ อที่ดินพิพาทจากการขาย
ทอดตลาดของศาล แต่ม าตรา ๑๓๓๐ มิ ได้คุม้ ครองถึ งกับให้ผูซ้ ้ื อได้
สิ ท ธิ โ ดยปลอดจากภาระผูก พัน ใด ๆ จึ ง ไม่ ท าให้ เ สื่ อ มเสี ย ถึ ง สิ ท ธิ
จานองที่มีอยูเ่ ดิมอันตกติดไปกับทรัพย์จานอง ผูร้ ้องจึงไม่อาจร้องขอให้
133

ปล่อยที่ดินพิพาทที่ถูกยึดได้
ข้ อสั งเกต หลดกคุ้มครอบบุคคลภำยนอกตำมปรวมัลกฎหมำยแพ่ บแลว
พำณิ ช ย์ มำตรำ ๑๓๓๐ ะวคุ้ ม ครอบบุ ค คลภำยนอกผู้สุ ะ ริ ตแลวเสี ย
ค่ ำตอบแทนที่ซื้อทรด พย์ สินดดบกล่ ำัะำกกำรขำยทอดตลำดตำมคำสด่ บศำล
ถึบแม้ ภำยหลดบพิสูะน์ ได้ ั่ำทรด พย์ สินนด้นไม่ ใช่ ขอบะำเลยหรื อลูกหนีต้ ำม
คำพิ พำกษำ คดีนีท้ รด พย์ ที่ขำยทอดตลำดเป็ นขอบะำเลยหรื อลูกหนี ต้ ำม
คำพิ พำกษำ ผู้ร้อบะึ บไม่ ได้ รดบคัำมคุ้ มครอบมำตรำ ๑๓๓๐ หรื อกล่ ำั
ให้ บ่ำยขึน้ ก็คือ กำรที่ ะวใช้ หลดกคุ้มครอบบุคคลภำยนอกผู้สุะริ ตแลวเสี ย
ค่ ำตอบแทนได้ นด้น ะวต้ อบเป็ นกรณี ที่บุคคลภำยนอกได้ รดบโอนทรด พย์
มำะำกผู้ที่ไม่ ใช่ เะ้ ำขอบ แล้ ักฎหมำยคุ้มครอบให้ แต่ คดีนีผ้ ้ รู ้ อบซื ้อที่ ดิน
ะำกกำรขำยทอดตลำดตำมคำสด่ บศำล โดยที่ ดินดดบกล่ ำัเป็ นขอบะำเลย
ผู้ร้อบะึ บได้ กรรมสิ ทธิ์ โดยไม่ ต้อบอำศดยหลดกคุ้มครอบบุคคลภำยนอก แต่
กรรมสิ ทธิ์ ใ นที่ ดิ น ที่ ผ้ ู ร้ อบได้ ม ำนด้ น มี โ ะทก์ เ ป็ นผู้ รด บะ ำนอบที่ ะ ด
ทวเบี ยนโดยชอบแล้ ั สิ ทธิ ะำนอบดดบกล่ ำัเป็ นทรด พยสิ ทธิ ย่อมติ ดตำม
ตดัทรด พย์ ไป ะนกั่ ำะวมีเหตุให้ สิทธิ ะำนอบรวบดบไปตำมกฎหมำย เช่ น
ช ำรวหนี ้ไ ถ่ ถ อนะ ำนอบ เป็ นต้ น แม้ ะ วมี ก ำรออกโฉนดที่ ดิ น แทน
น.ส.๓ โดยไม่ มีกำรรวบุถึบสิ ทธิ ะำนอบไั้ หลดบโฉนด ก็ไม่ ใช่ เหตุที่ะว
ทำให้ สิทธิ ะำนอบรวบดบสิ ้นไป สิ ทธิ ะำนอบขอบโะทก์ ะึบยดบมีอยู่โดยชอบ
เมื่อโะทก์ บดบคดบะำนอบ ผู้ร้อบะึ บมำร้ อบขอให้ ปล่ อยที่ ดินไม่ ได้ อย่ ำบไร
ก็ตำม ผู้ร้อบคบมีสิทธิ ฟ้อบกรมที่ ดินเรี ยกค่ ำเสี ยหำยได้ ภำยในอำยุคัำม
เพรำวเป็ นกำรกรวทำโดยปรวมำทเลินเล่ อขอบเะ้ ำพนดกบำนที่ ดิน ซึ่ บเป็ น
กำรกรวทำโดยลวเมิด
134

ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๓๘๔๖/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๑๒ น. ๒๑๐


ธนาคาร ก. ผูซ้ ้ื อที่ดินพิพาทโดยสุ จริ ตในการขายทอดตลาดตามคาสั่ง
ศาล ย่อมได้รับความคุ ม้ ครองสิ ทธิ มิให้เสี ยไป แม้ที่ดินพิพาทมิใช่ของ
จาเลยหรื อลู กหนี้ โดยคาพิพากษา ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๐ โจทก์
ซึ่ งเป็ นผูซ้ ้ื อ ที่ ดิ น พิ พ าทจากธนาคาร ก. อี ก ทอดหนึ่ ง ถื อ ได้ว่า เป็ น
ผู ้สื บสิ ทธิ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ ้ ม ครองสิ ทธิ ที่ มี อ ยู่ ต ามมาตรา ๑๓๓๐
เช่นเดียวกัน แม้มิใช่ผซู ้ ้ื อที่ดินดังกล่าวจากการขายทอดตลาดตามคาสั่ง
ศาลโดยตรงก็ตาม แม้โจทก์ซ้ื อที่ ดินพิพาทโดยทราบมาก่ อนว่าจาเลย
ปลู กบ้านและสิ่ งปลู กสร้ างอื่ นในที่ ดินพิพาทเป็ นเวลาเกิ นกว่า ๒๐ ปี
แล้ว โดยไม่ มี ผูใ้ ดโต้แย้ง คัด ค้า นและจาเลยมี น.ส.๓ เป็ นหลัก ฐาน
จาเลยก็ไม่อาจยกสิ ทธิ ดงั กล่าวขึ้ นใช้ยนั สิ ทธิ ของโจทก์ที่ได้รับความ
คุม้ ครองตามมาตรา ๑๓๓๐ ได้ จึงรับฟังได้วา่ โจทก์มีกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดิน
พิพาทดีกว่าสิ ทธิ ของจาเลย เมื่อโจทก์บอกกล่าวด้วยวาจาไม่จาต้องบอก
กล่ า วเป็ นหนัง สื อให้ จาเลยรื้ อถอนบ้า นและสิ่ ง ปลู ก สร้ า งอื่ นกับ ให้
ออกไปจากที่ดินพิพาทแล้ว จาเลยยังคงเพิกเฉย โจทก์ย่อมมีสิทธิ ฟ้อง
ขับไล่จาเลยออกจากที่ดินพิพาทได้
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๕๙๑/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๒ น. ๖๙ แม้จาเลย
ครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินพิพาทตลอดมาก่อน ป. ซื้ อที่ดินพิพาท
และศาลอุทธรณ์มีคาพิพากษาว่า จาเลยเป็ นเจ้าของที่ดินพิพาทในคดี ที่
ป. เป็ นโจทก์ฟ้องขับไล่จาเลยออกไปจากที่ดินพิพาทตามคดี แพ่งของ
ศาลชั้นต้นก็ตาม แต่เมื่อปรากฏว่าก่อนหน้านั้น ป. นาที่ดินพิพาทไปจด
ทะเบียนจานองแก่ ก. ในปี ๒๕๓๐ และถูก ก. ฟ้ องบังคับจานองที่ดิน
135

พิพาทต่อศาลชั้นต้น ศาลชั้นต้นพิพากษาตามยอมเมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน


๒๕๓๑ แต่ ป. ไม่ปฏิบตั ิตามคาพิพากษาตามยอม ก. จึงนาเจ้าพนักงาน
บัง คับ คดี ยึ ด ที่ ดิ น พิ พ าทออกขายทอดตลาด และโจทก์ เ ป็ นผู ้ซ้ื อ
ทอดตลาดที่ดินพิพาทได้ ก็ตอ้ งถือว่า ก. ยึดสิ ทธิ ครอบครองที่ดินพิพาท
จาก ป. แล้ว หากจาเลยเป็ นเจ้าของมีสิทธิ ครอบครองที่ดินพิพาท จาเลย
ก็ตอ้ งยืน่ คาร้องขอให้ปล่อยที่ดินพิพาทในคดีที่ ก. เป็ นโจทก์ฟ้องบังคับ
จ านองแก่ ป. ก่ อ นเอาที่ ดิ น พิ พ าทออกขายทอดตลาดตามประมวล
กฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ่ง มาตรา ๒๘๘ วรรคหนึ่ ง เมื่ อจ าเลย
ไม่ได้ยื่นคาร้ องขอให้ปล่อยที่ดินพิพาทและศาลมีคาสั่งอนุ ญาตให้ขาย
แล้ว แม้ ป. ไม่ได้เป็ นเจ้าของมีสิทธิ ครอบครองที่ดินพิพาท เจ้าพนักงาน
บัง คับ คดี ย่ อ มมี อ านาจน าที่ ดิ น ออกขายทอดตลาดได้ต ามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๓๐๘ เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดี
นาที่ ดินพิพาทออกขายทอดตลาดและโจทก์เป็ นผูซ้ ้ื อทอดตลาดที่ ดิน
พิ พ าทได้ โจทก์ จึ ง ได้ สิ ท ธิ ค รอบครองในที่ ดิ น พิ พ าทจากการซื้ อ
ทอดตลาด สิ ท ธิ ข องโจทก์ ผู ้ซ้ื อ ที่ ดิ น พิ พ าทโดยสุ จ ริ ตในการขาย
ทอดตลาดตามคาสั่งศาลจึงมิเสี ยไป ถึ งแม้ภายหลังจะพิสูจน์ได้วา่ ที่ดิน
พิพาทนั้นมิใช่ของ ป. ลูกหนี้ตามคาพิพากษาตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๓๐ อันเป็ นข้อยกเว้นหลักกฎหมายที่ว่า "ผูร้ ับ
โอนไม่มีสิทธิ ดีกว่าผูโ้ อน"
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๕๗๔๖/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๕ น.๑๒๕
คาพิพากษาของศาลที่ให้เพิกถอนการขายทอดตลาดที่ดิน น.ส.๓ ก. ที่
เจ้า พนัก งานบัง คับ คดี ข ายให้ แ ก่ ว. ต้อ งถื อ เสมื อ นว่า ไม่ มี ก ารขาย
136

ทอดตลาดและไม่ มี ก ารจดทะเบี ย นสิ ทธิ แ ละนิ ติ ก รรมโอนสิ ทธิ


ครอบครองให้แก่ ว. ทั้ง ว. ไม่ได้รับความคุม้ ครอง เพราะมิใช่กรณี ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๐ ผูร้ ้องซึ่ งเป็ นผูร้ ับจานองที่ดินดังกล่าวในระหว่าง
การพิจารณาคาร้องขอเพิกถอนการขายทอดตลาดจึงไม่อาจอ้างว่าผูร้ ้อง
เป็ นบุคคลภายนอกซึ่ งรับจานองและจดทะเบียนโดยสุ จริ ต และไม่อาจ
อ้างว่าคาพิพากษาที่ ให้เพิกถอนการขายทอดตลาดไม่ผูกพันผูร้ ้ องได้
เมื่อ ว. ไม่มีสิทธิ ครอบครองในที่ดิน จึ งไม่ใช่ เจ้าของที่ดินและไม่อาจ
นามาจดทะเบียนจานองแก่ผรู ้ ้องได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๐๕ ทั้งการจด
ทะเบียนจานองเป็ นกรณี ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๐๒ แต่การเพิกถอนการ
ขายทอดตลาดเป็ นกรณี ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๖ วรรคสอง (เดิม) เป็ น
คนละกรณี ไม่เกี่ยวข้องกัน ผูร้ ้ องจึงไม่ได้รับความคุม้ ครอง จึงไม่มีเหตุ
ที่ผรู ้ ้องจะปฏิเสธไม่ส่งมอบต้นฉบับ น.ส.๓ ก. ตามคาสัง่ ศาลชั้นต้น
ข้ อ สั ง เกต คดี ต ำมค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำที่ ๗๒๐๙/๒๕๔๗ เป็ นกำรขำย
ทอดตลำดโดยชอบ แต่ คดีนีก้ ำรขำยทอดตลำดไม่ ชอบะนศำลเพิ กถอน
กำรขำยทอดตลำด ผู้รดบะำนอบะึบไม่ ได้ รดบคัำมคุ้มครอบ คดีนีเ้ มื่อมีกำร
เพิกถอนกำรขำยทอดตลำดเะ้ ำพนดกบำนบดบคดบคดีต้อบคื นเบินให้ แก่ ผ้ ซู ื ้อ
ทรด พย์ หำกเะ้ ำพนดกบำนบดบคดบคดี ทรำบั่ ำผู้ซื้อทรด พย์ นำทรด พย์ ที่ซื้อไป
ะดทวเบี ยนะำนอบแลวแะ้ บให้ ผ้ ูรดบะำนอบทรำบแลวผู้รดบะำนอบมำขอ
เบิ นคื น แล้ ัเะ้ ำพนดกบำนบดบคดบคดีคืนเบิ นให้ แก่ ผ้ รู ด บะำนอบ ก็คบไม่ ต้อบ
มำฟ้ อบคดีนี้
137

การคุ้มครองบุคคลภายนอกตามมาตรา ๑๓๓๑
ข้ อ ๒๐ คาถาม นางจิ้มลิ้มลักกระเป๋ าถื อของนางสุ ภาวดีได้เงิ น
สด ๖,๐๐๐ บาท และสร้อยข้อมือทองคา ๑ เส้น ราคา ๒,๕๐๐ บาท นาง
จิ้มลิ้มนาเงิ นที่ลกั ไปซื้ อนาฬิ กาข้อมือ ๑ เรื อน ราคา ๕,๐๐๐ บาท และ
ให้เงินที่เหลือ ๑,๐๐๐ บาท แก่นายจาเนี ยรซึ่ งเป็ นคนยากจนนายจาเนี ยร
รับไว้โดยสุ จริ ตและใช้จนหมด วันรุ่ งขึ้นนางจิ้มลิ้มขายนาฬิกาข้อมือใน
ราคา ๔,๐๐๐ บาท และสร้อยข้อมือทองคาในราคา ๒,๐๐๐ บาท ให้แก่
นางสุ รียซ์ ่ ึ งรับซื้ อไว้โดยสุ จริ ต แต่มิได้เป็ นการซื้ อในท้องตลาด สัปดาห์
ต่อมานางสุ รีย ์ให้สร้ อยข้อมื อทองคาเป็ นของขวัญในการเดิ นทางไป
ศึ ก ษาต่อต่ า งประเทศแก่ นางกิ ติภาซึ่ ง เป็ นเพื่ อนสนิ ท หลัง จากนั้น ๑
เดื อน นางสุ ภาวดี ทราบเรื่ องจึงเรี ยกร้ องให้นายจาเนี ยรใช้เงิ น ๑,๐๐๐
บาท คื น และเรี ย กร้ องให้น างสุ รีย ์คื นนาฬิ ก าข้อ มื อ กับ สร้ อ ยข้อ มื อ
ทองค าแก่ ตน หากคื นไม่ ไ ด้ก็ ใ ห้ใ ช้ราคา ๕,๐๐๐ บาท และ ๒,๕๐๐
บาท ตามลาดับแทน
ให้วินิจฉัยว่า นายจาเนี ยรและนางสุ รียจ์ ะต้องรับผิดตามที่นาง
สุ ภาวดี เรี ยกร้ องหรื อไม่ (ข้อสอบเนติ บณ ั ฑิต สมัยที่ ๕๓ ปี การศึกษา
๒๕๔๓)
ข้ อ ๒๐ ค าตอบ แม้นายจาเนี ย รได้เงิ น ๑,๐๐๐ บาท จากนาง
จิ้มลิ้มโดยเสน่หา แต่เมื่อนายจาเนี ยรรับเงินไว้โดยสุ จริ ต สิ ทธิของนาย
จาเนี ยรผู้ได้ เงินตรามาโดยสุ จริ ต มิเสี ยไปตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๓๑ นายจาเนียรจึงไม่ ต้องรั บผิดใช้ เงิน ๑,๐๐๐
บาท คืนแก่ นางสุ ภาวดี
138

ส่ วนนาฬิกาข้อมือนั้น เมื่อนางจิ้มลิ้มซื้ อนาฬิกาข้อมือจากผูข้ าย


แม้ น างจิ้ ม ลิ้ ม จะน าเงิ น ที่ ล ั ก จากนางสุ ภาวดี ไ ปซื้ อมาก็ ต าม แต่
กรรมสิ ทธิ์นาฬิ กาข้ อมือย่ อมโอนไปยังนางจิม้ ลิม้ ผู้ซื้อตามมาตรา ๔๕๘
นาฬิ กาข้ อมือมิใช่ ทรั พย์ สินของนางสุ ภาวดี นางสุ ภาวดีจึงไม่ อาจใช้
สิ ทธิติดตามและเอาคืนตามมาตรา ๑๓๓๖ นางสุ รีย์จึงไม่ ต้องรั บผิดคืน
นาฬิ กาข้ อมือหรือใช้ ราคา ๕,๐๐๐ บาท แก่ นางสุ ภาวดี
สาหรับสร้อยข้อมือทองคานั้น แม้นางจิ้มลิ้มขายให้แก่นางสุ รีย ์
ซึ่ ง รั บ ซื้ อไว้โดยสุ จริ ต แต่ สิ ท ธิ ของนางสุ รีย์ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครอง
เพราะมิ ใ ช่ ก ารซื้ อ ทรั พ ย์ โดยสุ จ ริ ตในท้ องตลาด กรรมสิ ทธิ์ ในสร้ อย
ข้ อมือทองคายังคงเป็ นของนางสุ ภาวดี นางสุ ภาวดีมีสิทธิติดตามและ
เอาคืนซึ่งทรั พย์ สินของตนจากบุคคลผู้ไม่ มีสิทธิจะยึดถือไว้ ตามมาตรา
๑๓๓๖ เมื่อนางสุ รียใ์ ห้สร้ อยข้อมือทองคาแก่นางกิ ติภาไปแล้ว สร้ อย
ข้ อ มื อ ทองค ามิ ไ ด้ อ ยู่ ใ นความยึ ด ถื อ ของนางสุ รี ย์ แ ล้ ว นางสุ ภ าวดี
ก็ไม่ อาจใช้ สิทธิติดตามและเอาคืนสร้ อยข้ อมือทองคาจากนางสุ รีย์ได้
การที่นางสุ รียซ์ ้ื อสร้อยข้อมือทองคาและให้ผอู ้ ื่นไปโดยสุ จริ ต
จึงไม่ เป็ นการกระทาละเมิดต่ อนางสุ ภาวดี นางสุ รีย์จึงไม่ ต้องรั บผิดใช้
ราคาสร้ อยข้ อมือทองคา ๒,๕๐๐ บาท แก่ นางสุ ภาวดี
ข้ อสั งเกต ข้ อนี ค้ ำถำมถำมั่ ำ หำกนำบสุ รีย์คืนสร้ อยข้ อมือทอบคำไม่ ได้ กใ็ ห้
ใช้ รำคำ ธบคำตอบมีเพี ยบั่ ำ นำบสุ รีย์ไม่ ต้อบคื นโดยไม่ ได้ ัินิะฉด ยเรื่ อบใช้
รำคำ ผู้แต่ บะึ บเพิ่มเติมคำตอบส่ ันที่ ั่ำ "กำรที่ นำบสุรีย์ซื้อสร้ อยข้ อมือทอบคำ
แลวให้ ผ้ อู ื่นไปโดยสุะริ ต ะึ บไม่ เป็ นกำรกรวทำลวเมิดต่ อนำบสุภำัดี" เข้ ำมำ
139

การคุ้มครองบุคคลภายนอกตามมาตรา ๑๓๓๒
ข้ อ ๒๑ คาถาม นายเอกเป็ นเจ้าของรถยนต์ซ่ ึ งจอดอยู่ในบ้าน
ของนายเอก คืนหนึ่งนายเอกไม่อยูบ่ า้ น นายโทเข้ามาลักรถยนต์ในบ้าน
นายเอก และได้ลกั คู่มือจดทะเบียนรถยนต์ดงั กล่าวและบัตรประจาตัว
ประชาชนกับทะเบียนบ้านที่นายเอกใส่ ไว้ในตูน้ ิ รภัยไปด้วย นายโทนา
รถยนต์ไปขายให้นายตรี ซ่ ึ งเป็ นพ่อค้าที่ซ้ื อขายรถยนต์โดยมอบคู่มือจด
ทะเบียนรถยนต์และสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนกับสาเนาทะเบียน
บ้านและชุ ดโอนรถยนต์ซ่ ึ งนายโทปลอมลายมือชื่ อนายเอก ต่อมานาย
จัตวามาซื้ อรถยนต์คนั ดังกล่าวจากนายตรี โดยต้องการจะเช่าซื้ อรถยนต์
นายตรี จึงไปติดต่อบริ ษทั ซื่ อตรง จากัด ซึ่ งรับจัดไฟแนนซ์ให้แก่ลูกค้า
ของนายตรี เป็ นประจา บริ ษทั ซื่ อตรง จากัด ตรวจสอบแล้วรับที่จะทา
สัญญาเช่ าซื้ อรถยนต์ก ับ นายจัตวา นายตรี จึง ขายรถยนต์คนั ดังกล่ า ว
ให้แก่บริ ษทั ซื่ อตรง จากัด ราคา ๔๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อให้บริ ษทั ซื่ อตรง
จากัด นาไปให้นายจัตวาเช่าซื้ อ โดยบริ ษทั ซื่ อตรง จากัด สุ จริ ตและเสี ย
ค่าตอบแทน หลังจากบริ ษทั ซื่ อตรง จากัด ทาสัญญาเช่าซื้ อกับนายจัตวา
นายเอกนาเจ้าพนักงานตารวจมายึดรถยนต์คืนจากนายจัตวา และนาย
เอกรับรถยนต์คืนจากเจ้าพนักงานตารวจแล้ว บริ ษทั ซื่ อตรง จากัด และ
นายจัตวาจึงเลิกสัญญาเช่าซื้ อกัน
ให้วินิจฉัยว่า บริ ษทั ซื่ อตรง จากัด มีสิทธิ เรี ยกร้ องต่อนายเอก
หรื อไม่อย่างไร
ข้ อ ๒๑ คาตอบ การที่บริ ษทั ซื่ อตรง จากัด ซื้ อรถยนต์จากนาย
ตรี แม้ จะเป็ นกรณีทบี่ ุคคลหลายคนเรี ยกเอาสั งหาริ มทรั พย์ เดียวกันโดย
140

อาศั ยหลัก กรรมสิ ทธิ์ ต่ า งกัน โดยได้ รั บ มอบการครอบครองมาโดย


สุ จ ริ ต และเสี ยค่ า ตอบแทน แต่ บ ริ ษัทซื่ อ ตรง จ ากัด ก็ไ ม่ ไ ด้ รับ ความ
คุ้มครองให้ ได้ กรรมสิ ทธิ์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา
๑๓๐๓ วรรคหนึ่ ง เพราะรถยนต์ พิ พ าทเป็ นทรั พ ย์ ที่ไ ด้ ม าจากการ
กระทาความผิดตามมาตรา ๑๓๐๓ วรรคสอง
ส าหรั บ การคุ ้ม ครองตามมาตรา ๑๓๓๒ นั้น บริ ษ ทั ซื่ อ ตรง
จากัด ซื้ อรถยนต์จากนายตรี ซึ่งเป็ นพ่ อค้ าที่ซื้อขายรถยนต์ โดยบริ ษัท
ซื่อตรง จากัด สุ จริ ตและเสี ยค่ าตอบแทน บริ ษัทซื่อตรง จากัด ได้ รับ
ความคุ้มครองไม่ ต้องคืนรถยนต์ ให้ แก่ เจ้ าของที่แท้ จริ งเว้ นแต่ เจ้ าของ
จะชดใช้ ราคาที่ซื้อมาตามมาตรา ๑๓๓๒ เมื่อนายเอกได้รับรถยนต์คืน
ไปแล้ว นายเอกต้ องใช้ ราคารถยนต์ ๔๐๐,๐๐๐ บาท แก่ บริ ษัทซื่อตรง
จากัด (คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๙๘/๒๕๕๔)
ข้ อ สั ง เกต ค ำถำมข้ อ นี ้ผ้ ูแ ต่ บ เห็ นั่ ำ ศึ ก ษำต้ อบตอบั่ ำ บริ ษด ท ซื่ อ ตรบ
ะ ำกด ด ไม่ ไ ด้ รด บ คัำมคุ้ ม ครอบตำมมำตรำ ๑๓๐๓ ด้ ั ย แล้ ั ะึ บ ตอบ
มำตรำ ๑๓๓๒ ตำมคำพิ พำกษำฎีกำ เพรำวข้ อเท็ะะริ บเรื่ อบลดกทรด พย์ ก็
ถือั่ ำมีปรวเด็นเรื่ อบไม่ ได้ รดบคัำมคุ้มครอบตำมมำตรำ ๑๓๐๓ แต่ ถ้ำใน
ธบคำตอบมีเพียบมำตรำ ๑๓๓๒ ตำมคำพิพำกษำฎีกำ กำรตอบั่ ำไม่ ได้
รด บคัำมคุ้มครอบตำมมำตรำ ๑๓๐๓ ก็ไม่ ถือั่ ำตอบผิด
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๙๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๖๗ โจทก์ซ้ื อ
รถยนต์จากจาเลยที่ ๑ ในลักษณะเดียวกันมาตลอดเวลาทั้งก่อนและหลัง
คดีน้ ี โจทก์ยอ่ มมีเหตุผลตามสมควรที่จะเชื่ อได้วา่ จาเลยที่ ๑ เป็ นพ่อค้า
ที่ซ้ื อขายรถยนต์โดยถูกต้อง โจทก์ซ้ื อรถยนต์พิพาทจากจาเลยที่ ๑ แล้ว
141

มาให้ผอู ้ ื่นเช่ าซื้ อตามวัตถุ ประสงค์ของโจทก์เหมือนอย่างที่เคยปฏิ บตั ิ


มา โดยจาเลยที่ ๓ และที่ ๔ ซึ่ ง เป็ นเจ้า ของรถยนต์พิ พ าทไม่ อาจสื บ
โต้แย้ง ให้เห็ นว่า การซื้ อครั้ ง นี้ โจทก์ไ ม่สุ จริ ตอย่างไร ย่อมต้องถื อว่า
โจทก์ ก ระท าการโดยสุ จ ริ ต ท าให้ โ จทก์ ไ ด้ รั บ ความคุ ้ม ครองตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๒ เมื่อจาเลยที่ ๓ ได้รับรถยนต์พิพาทคืนไป จาเลย
ที่ ๓ และที่ ๔ จึงต้องร่ วมกันใช้ราคารถยนต์พิพาทแก่โจทก์
ราคารถยนต์พิพาทที่ โจทก์จ่ายแก่ จาเลยที่ ๑ ผูข้ ายไปจริ งคื อ
๓๒๔,๐๐๐ บาท จ าเลยที่ ๓ และที่ ๔ จึ ง ต้อ งรั บ ผิ ด ต่ อ โจทก์ เ พี ย ง
จานวนที่ โจทก์ไ ด้รับ ความเสี ย หายจริ ง เท่ า นั้น โดยอาศัย หลัก การที่
โจทก์ตอ้ งได้รับชดใช้ค่าเสี ยหายไม่เกิ นกว่าความเสี ยหายที่ ได้รับจริ ง
กรณี จึงต้องบังคับใช้กบั ความรับผิดของจาเลยที่ ๑ และที่ ๒ ในฐานะ
ผูข้ ายต่ อโจทก์ซ่ ึ ง เป็ นผูซ้ ้ื อในเหตุ แห่ ง การรอนสิ ท ธิ ที่ รถยนต์พิ พ าท
ถู ก จาเลยที่ ๓ ซึ่ ง เป็ นเจ้า ของที่ แท้จริ ง ยึดคื นไปตาม ป.พ.พ. มาตรา
๔๗๙ ด้วย เนื่ องจากเป็ นความรับผิดในความเสี ยหายอันเดี ยวกัน ศาล
ฎีกามีอานาจพิพากษาให้มีผลถึงจาเลยที่ ๑ และที่ ๒ ซึ่งมิได้ฎีกาได้

ข้ อ ๒๒ คาถาม นายแสงเป็ นเจ้าของรถยนต์บรรทุกไม่มีตวั ถัง


ถูกคนร้ายลักรถนั้นไป คนร้ายนารถไปขายให้แก่นายสี ที่ร้านค้าบริ การ
ซื้ อขายแลกเปลี่ ยนรถยนต์ของนายสี ซ่ ึ งตั้งอยู่ในบริ เวณชุ มนุ มการค้า
นายสี ซ้ื อรถจากคนร้ายโดยเข้าใจว่าคนร้ายเป็ นเจ้าของรถ แล้วนายสี ไป
ว่าจ้างอู่ต่อตัวถังรถ ต่อมาตารวจยึดรถจากนายสี และคืนรถให้นายแสง
142

ไป นายสี ฟ้องเรี ยกรถคืนจากนายแสง อ้างว่านายสี ซ้ื อรถโดยสุ จริ ตให้


ท้องตลาด เมื่อนายแสงไม่ใช้ราคาจะเอารถคืนไปไม่ได้ และถึงอย่างไร
ก็ตามนายแสงจะต้องชดใช้ค่าต่อตัวถังรถ
ให้วินิจฉัยว่านายสี มีสิทธิ เรี ยกรถคืนหรื อให้ใช้ค่าต่อตัวถังรถ
หรื อไม่ (ข้อสอบเนติบณั ฑิต สมัยที่ ๓๖ ปี การศึกษา ๒๕๒๖)
ข้ อ ๒๒ ค าตอบ การที่ น ายสี ซ้ื อ รถยนต์ ที่ ค นร้ า ยน ามาขาย
ให้แก่นายสี ที่ร้านค้าบริ การซื้ อขายแลกเปลี่ยนรถยนต์ของนายสี เอง แม้
ร้ านค้าของนายสี จะตั้ง อยู่ใ นบริ เวณชุ มนุ ม การค้า ก็หาใช่ เป็ นการซื้ อ
รถยนต์ ในท้ องตลาดไม่ เพราะนายสี มิได้ ซื้อจากร้ านค้ าอื่นใดที่อยู่ใน
ชุ มนุ มการค้ า และหาใช่ การซื้อรถยนต์ จากพ่ อค้ าซึ่ งขายของชนิ ดนั้น
เพราะคนร้ ายทีน่ ารถมาขายมิใช่ พ่อค้ า การซื้ อรถยนต์รายนี้ แม้นายสี ซ้ื อ
รถจากคนร้ายโดยเข้าใจว่าคนร้ายเป็ นเจ้าของรถซึ่งถือว่าเป็ นการซื้อโดย
สุ จริต ก็ไม่ เป็ นเหตุให้ นายสี ได้ รับความคุ้มครองอันจะได้ รับชดใช้ ราคา
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๓๒ นายแสงผู้เป็ น
เจ้ าของรถย่ อมมีสิทธิติดตามเอาคืนจากนายสี ผ้ ูไม่ มีสิทธิจะยึดถือไว้ ได้
ตามมาตรา ๑๓๓๖ นายสี จึ ง ไม่ มี สิ ทธิ เ รี ย กรถคื น จากนายแสง
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๘๑/๒๕๑๙ ฎ. ๑๔๐๕)
แต่การที่นายแสงเป็ นเจ้าของเฉพาะตัวรถยนต์บรรทุกโดยไม่มี
ตัว ถัง และนายสี เ ป็ นผู ้ว่ า จ้า งให้ ต่ อ ตัว ถัง ขึ้ น กรณี จึ ง เป็ นการเอา
สั งหาริ มทรั พย์ ของบุคคลหลายคนมารวมเข้ ากันจนเป็ นส่ วนควบหรื อ
แบ่ งแยกไม่ ได้ โดยที่ตวั รถยนต์ของนายแสงถือได้วา่ เป็ นทรัพย์ประธาน
นายแสงซึ่ งเป็ นเจ้ าของทรั พย์ ประธาน จึงเป็ นเจ้ าของทรัพย์ ที่รวมเข้ า
143

กันนั้นแต่ ผ้ ูเดียว แต่ ต้องใช้ ค่าแห่ งทรั พย์ อื่นให้ แก่ เจ้ าของทรั พย์ น้ัน ๆ
ตามมาตรา ๑๓๑๖ วรรคสอง ดังนั้น นายสี จึงมีสิทธิเรียกให้ นายแสงใช้
ค่ าต่ อตัวถังรถได้ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๓๙๕/๒๕๒๕ ฎ. ๙๖๗)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๘๑/๒๕๑๙ แม้ร้านค้าของจาเลยที่ ๓ อยู่
ในชุ มนุ มการค้า แต่การที่จาเลยที่ ๓ ซื้ อรถยนต์พิพาทของโจทก์ที่ให้
จาเลยที่ ๑ เช่ าซื้ อไปจาก ศ. ซึ่ งเอามาขายให้ที่ที่ร้านค้าของจาเลยที่ ๓
นั้น จาเลยที่ ๓ มิได้ซ้ื อจากร้ านค้าใดร้ านค้าหนึ่ งที่ อยู่ในชุ มนุ มการค้า
แต่เป็ นการซื้ อจากบุคคลที่เอามาขายให้ที่ร้านค้าของจาเลยที่ ๓ เอง จึง
ไม่เป็ นการซื้ อในท้องตลาด ดังนั้น จาเลยที่ ๓ จะสุ จริ ตหรื อไม่ ก็ไม่เป็ น
เหตุ ใ ห้ไ ด้รั บ ความคุ ้ม ครองตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์
มาตรา ๑๓๓๒
ค าพิพ ากษาฎี ก าที่ ๑๓๙๕/๒๕๒๕ จ าเลยที่ ๑ เป็ นเจ้า ของ
รถยนต์ บ รรทุ ก ซึ่ งไม่ มี ต ัว ถัง แต่ โ จทก์ เ ป็ นผู ้ว่า จ้า งให้ ต่ อ ตัว ถัง ขึ้ น
ตัวรถยนต์บรรทุกถือได้วา่ เป็ นทรัพย์ประธาน จาเลยที่ ๑ จึงเป็ นเจ้าของ
ทรั พ ย์ที่ รวมเข้า กันนั้นแต่ ผูเ้ ดี ย ว เมื่ อโจทก์ฟ้ องให้จาเลยชดใช้ราคา
รถยนต์บรรทุกทั้งคันอันเป็ นการฟ้ องเรี ยกทรัพย์เป็ นของตนทั้งหมด แต่
ทางพิ จารณาได้ค วามว่า โจทก์ค วรได้แต่ส่ วนแบ่ ง ศาลย่อมมี อานาจ
พิพากษาให้โจทก์ได้รับแต่ส่วนแบ่งคือค่าต่อตัวถังได้
144

ข้ อ ๒๓ คาถาม นายจันฝันเห็นเลข ๖ ตัว นายจันไปเดินซื้ อของ


ที่ตลาดเห็ นสลากกินแบ่งรัฐบาลมีเลข ๖ ตัวตามที่ตนฝัน นายจันจึงซื้ อ
สลากดังกล่าวไว้ แต่เคราะห์ซ้ ากรรมซัดนายจันทาสลากตกหายจึงรี บ
ไปแจ้งความไว้ที่สถานี ตารวจ นายอังคารผูม้ ีอาชี พค้าขายสลากกินแบ่ง
รัฐบาลเก็บสลากดังกล่าวได้ แล้วนาไปขายให้แก่นายพุธซึ่ งซื้ อไว้โดย
สุ จริ ตในราคา ๑๐๐ บาท ต่อมาสลากฉบับดังกล่าวถูกรางวัลที่ ๑ พิเศษ
เป็ นเงิน ๒๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท นายพุธจึงนาสลากกิ นแบ่งรัฐบาลฉบับนี้
ไปรั บ รางวัล ที่ ส านัก งานสลากกิ นแบ่ ง รั ฐ บาล แต่ ป รากฏว่า นายจัน
เจ้าของสลากที่ ซ้ื อไว้ก่อนแล้ว ได้ไปแจ้งความและอายัดไว้ก่อนแล้ว
และวันที่ นายพุ ธ ไปขอรั บ เงิ นรางวัล นั้น นายจันยอมชดใช้เงิ น ๑๐๐
บาท ให้แก่นายพุธตามราคาที่ซ้ื อมา แต่นายพุธไม่ยอมรับ
ให้ วิ นิ จ ฉัย ว่า นายจัน หรื อ นายพุ ธ เป็ นผูม้ ี สิ ท ธิ ไ ด้รั บ รางวัล
๒๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ข้ อ ๒๓ คาตอบ นายจันซื้ อสลากกินแบ่งรัฐบาลไว้ แม้นายจัน
ทาสลากตกหาย แต่ กรรมสิ ทธิ์ในสลากดังกล่าวยังเป็ นของนายจัน
การที่ นายอังคารผูม้ ีอาชี พขายสลากกิ นแบ่งรั ฐบาลเก็บสลาก
ดังกล่าวได้ แม้ นายอังคารไม่ ใช่ เจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ที่จะมีอานาจจาหน่ าย
สลากดังกล่าว แต่นายอังคารนาไปขายให้แก่นายพุธซึ่ งซื้ อไว้โดยสุ จริ ต
ในราคา ๑๐๐ บาท ก็ถือว่ านายพุธเป็ นบุคคลผู้ซื้อทรัพย์ สินมาโดยสุ จริ ต
จากพ่อค้ าซึ่งขายของชนิดนั้น ไม่ จาต้ องคืนให้ แก่เจ้ าของแท้ จริง เว้ นแต่
เจ้ าของจะชดใช้ ราคาที่ซื้อมาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ช ย์
มาตรา ๑๓๓๒
145

แม้ต่อมาสลากฉบับดังกล่าวถูกรางวัลเป็ นเงิน ๒๒,๐๐๐,๐๐๐


บาท แต่เมื่อนายจันยอมชดใช้เงิ น ๑๐๐ บาท ให้แก่นายพุธตามราคาที่
ซื้ อมา นายพุธต้ องคืนสลากกินแบ่ งรั ฐบาลฉบับดังกล่ าวให้ แก่ นายจั น
เพราะมาตรา ๑๓๓๒ ให้ สิทธิแก่ เจ้ าของที่แท้ จริ งที่จะได้ ทรั พย์ สินคืน
ตามราคาที่ ผ้ ู ซื้ อ ได้ ซื้ อ มา นายจั น จึ ง เป็ นผู้ มี สิ ทธิ ไ ด้ รั บ รางวั ล
๒๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท (กองทุนศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย ์, คาอธิบาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เรียงมาตรา ว่ าด้ วยทรัพย์ สิน , วิริยะ
นามศิริพงศ์พนั ธุ์, กันยายน ๒๕๔๕, หน้า ๗๗)

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๓๒


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๙๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๖๗ โจทก์ซ้ื อ
รถยนต์จากจาเลยที่ ๑ ในลักษณะเดียวกันมาตลอดเวลาทั้งก่อนและหลัง
คดีน้ ี โจทก์ยอ่ มมีเหตุผลตามสมควรที่จะเชื่ อได้วา่ จาเลยที่ ๑ เป็ นพ่อค้า
ที่ซ้ื อขายรถยนต์โดยถูกต้อง โจทก์ซ้ื อรถยนต์พิพาทจากจาเลยที่ ๑ แล้ว
มาให้ผอู ้ ื่นเช่ าซื้ อตามวัตถุ ประสงค์ของโจทก์เหมือนอย่างที่เคยปฏิบตั ิ
มา โดยจาเลยที่ ๓ และที่ ๔ ซึ่ ง เป็ นเจ้า ของรถยนต์พิ พ าทไม่ อาจสื บ
โต้แย้ง ให้เห็ นว่า การซื้ อครั้ ง นี้ โจทก์ไ ม่สุ จริ ตอย่างไร ย่อมต้องถื อว่า
โจทก์ ก ระท าการโดยสุ จ ริ ต ท าให้ โ จทก์ ไ ด้ รั บ ความคุ ้ม ครองตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๒ เมื่อจาเลยที่ ๓ ได้รับรถยนต์พิพาทคืนไป จาเลย
ที่ ๓ และที่ ๔ จึงต้องร่ วมกันใช้ราคารถยนต์พิพาทแก่โจทก์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๓๐/๒๕๐๗ ผูเ้ ช่ าซื้ อทรัพย์สินจากพ่อค้า
ซึ่ ง ขายของชนิ ดนั้นโดยสุ จริ ต และได้ช าระเงิ นครบถ้วนตามสั ญญา
146

เช่าซื้ อแล้ว ทรัพย์สินนั้นย่อมตกเป็ นสิ ทธิ แก่ผเู ้ ช่าในทานองเดียวกันกับ


ผูใ้ ห้เช่าได้ขายทรัพย์น้ นั ให้แก่ผเู ้ ช่า จึงถือได้ผเู ้ ช่าซื้ อเป็ นผูซ้ ้ื อทรัพย์สิน
มาโดยสุ จ ริ ตจากพ่อ ค้า ซึ่ ง ขายของชนิ ดนั้น และไม่ จาต้อ งคื น ให้แ ก่
เจ้าของแท้จริ ง เว้นแต่เจ้าของจะชดใช้ราคาที่ซ้ื อมา
ข้ อสั งเกต ถ้ ำยดบชำรวเบินไม่ ครบถ้ ัน ไม่ เป็ นผู้ซื้อทรด พย์ สินมำโดยสุ ะริ ต
ะำกพ่ อค้ ำซึ่ บ ขำยขอบชนิ ดนด้นตำมมำตรำ ๑๓๓๒ (คำพิ พำกษำฎี กำที่
๒๕๐๙/๒๕๑๕)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๔๕/๒๕๑๗ การที่จาเลยที่ ๒ เอารถมา
แลกเปลี่ ยนกับรถคันที่พิพาท โดยตีราคารถและเพิ่มเงินให้เท่ากับราคา
ของรถคันที่พิพาท และได้ส่งมอบรถพร้อมกับเงิ นให้แก่จาเลยที่ ๑ ซึ่ ง
เป็ นเจ้าของร้านบริ การขายรถเก่าไปแล้ว ก็ยอ่ มถื อได้ว่าจาเลยที่ ๒ ได้
ซื้ อรถยนต์คนั ที่พิพาทซึ่ งเป็ นรถยนต์เก่ามาจากในร้านของจาเลยที่ ๑ ซึ่ ง
เป็ นพ่อค้าขายรถยนต์เก่า เมื่อไม่ปรากฏพฤติการณ์อนั จะถือได้วา่ จาเลย
ที่ ๒ ไม่ สุ จริ ตแต่ ประการใด จาเลยที่ ๒ ก็ หาจาต้องคื นรถยนต์ค นั ที่
พิพาทให้แก่โจทก์ผเู ้ ป็ นเจ้าของแท้จริ งไม่
ข้ อสั งเกต คดีนีศ้ ำลฎีกำัินิะฉด ยั่ ำ ะำเลยที่ ๒ ไม่ ต้อบคื นรถให้ แก่ โะทก์
เพรำวโะทก์ ไม่ ได้ เสนอใช้ รำคำที่ะำเลยที่ ๒ ซื ้อมำ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๓๘๓/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๔๔รถยนต์
พิพาทเป็ นรถที่มีผลู้ กั ลอบนาเข้ามาในราชอาณาจักรโดยหลีกเลี่ยงการ
เสี ยค่าภาษีศุลกากร เจ้าพนักงานตารวจย่อมมีอานาจยึดรถยนต์พิพาทมา
ไว้เ ป็ นของกลางเพื่ อ ด าเนิ น คดี ต ามพระราชบัญ ญัติ ศุ ล กากร ไม่ ว่ า
รถยนต์ของกลางจะอยูใ่ นความครอบครองของผูใ้ ด การกระทาของเจ้า
147

พนักงานตารวจประจาศูนย์ป้องกันและปราบปรามการโจรกรรมที่ไป
ยึดรถยนต์ของกลางจากโจทก์จึงเป็ นการปฏิบตั ิหน้าที่ตามกฎหมายโดย
ชอบ ไม่ ถื อ เป็ นการกระท าละเมิ ด ต่ อ โจทก์ กรมต ารวจจ าเลยที่ ๗
หน่วยงานต้นสังกัดของเจ้าพนักงานตารวจดังกล่าวจึงไม่ตอ้ งรับผิดใน
ความเสี ยหายต่อโจทก์ แม้โจทก์จะรั บซื้ อรถยนต์พิพาทมาโดยสุ จริ ต
จากพ่อค้าซึ่ งประกอบธุ รกิจซื้ อขายรถยนต์ แต่เมื่อรถยนต์พิพาทต้องถูก
ยึดไปดาเนินคดีตามพระราชบัญญัติศุลกากร โจทก์ยอ่ มไม่ได้รับความ
คุ ม้ ครอง เพราะไม่ใช่ เป็ นกรณี ที่เจ้าของที่แท้จริ งติ ดตามเอาทรั พย์คืน
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๒
148

สาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ข้ อ ๒๔ คาถาม เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๐ นายแดงนาเรื อบรรทุกที่ใช้
รับจ้างส่ งสิ นค้ามาจอดเกยตื้นอยู่ที่ปากแม่น้ าท่าจี นหน้าที่ดินมี โฉนด
ของนายดา ซึ่ งเป็ นที่ชายตลิ่งที่น้ าท่วมถึงอยูใ่ กล้ตลาดสะดวกที่นายแดง
และภริ ย าจะไปค้าขาย และใช้เรื อบรรทุ กนั้นเป็ นที่ อยู่อาศัย ตลอดมา
ไม่ ไ ด้ย า้ ยไปไหนเลยเป็ นเวลา ๑๒ ปี ในระยะเวลาดัง กล่ า วสายน้ า
เปลี่ยนทางเดินพอขึ้นปี ที่ ๑๓ ชายตลิ่งที่จอดเรื อบรรทุกก็ต้ืนเขินติดต่อ
มาจากที่ดินของนายดาเป็ นเนื้ อที่ ๑๐ ตารางวา นายแดงจึงปลูกบ้านใน
ที่ดินดังกล่ าวอยู่อาศัยแทนเรื อบรรทุกที่ผุพงั แล้ว นายดารู ้ เรื่ องก็ไม่ว่า
กล่าวอะไร ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๔๐ นายดาจะสร้างบ้านในที่ดิน ของนาย
ดา จึงบอกให้นายแดงออกจากที่ดินนั้น นายแดงไม่ยอมออก นายดาจึง
ฟ้ องขับ ไล่ นายแดงให้การต่ อสู ้ ว่า ได้เข้า ครอบครองมาตั้งแต่ปี พ.ศ.
๒๕๒๐ ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินดังกล่าวแล้ว
ให้วินิจฉัยว่า นายดาหรื อนายแดงเป็ นผูม้ ี ก รรมสิ ทธิ์ ในที่ดิน
ส่ วนดังกล่าว (ข้อสอบเนติบณั ฑิต สมัยที่ ๕๖ ปี การศึกษา ๒๕๔๖)
ข้ อ ๒๔ คาตอบ เดิ มที่ดินตามปั ญหาเป็ นที่ชายตลิ่ งซึ่ งน้ าท่วม
ถึง จึงเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่ นดินสาหรั บพลเมืองใช้ ร่วมกัน ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๒) นายแดงมีสิทธิ
นาเรื อบรรทุกไปจอดใช้ เป็ นที่อยู่อาศั ยในที่ชายตลิ่งดังกล่ าวเท่ านั้น แต่
ต่อมาเมื่ อที่ จอดเรื อบรรทุ ก ของนายแดงตื้ นเขิ นกลายเป็ นที่ งอกเชื่ อม
ต่อมาจากที่ดินมีโฉนดของนายดา ที่ดินส่ วนดังกล่ าวย่ อมเป็ นทรัพย์ สิน
ของนายดาตามมาตรา ๑๓๐๘
149

ส่ วนที่ นายแดงอ้างว่าครอบครองที่ ดินส่ วนดังกล่ าวเป็ นเวลา


๒๐ ปี นายแดงได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินดังกล่าวแล้วนั้น ในช่ วงเวลา ๑๒
ปี แรก ที่ดินนั้นยังเป็ นที่สาธารณสมบัติของแผ่ นดินอยู่ แม้ นายแดงจะ
ครอบครองมานานเท่ า ใดก็ ไ ม่ ไ ด้ ก รรมสิ ท ธิ์ แต่ ห ลัง จากที่ ดิ น ส่ ว น
ดังกล่ าวเป็ นที่งอกริ มตลิ่ งและตกเป็ นของนายดาแล้ว นายแดงเพิ่งเข้า
ครอบครองได้เพียง ๘ ปี เท่านั้น นายแดงยังครอบครองไม่ ครบ ๑๐ ปี
ทีด่ ินส่ วนดังกล่าวจึงยังคงเป็ นกรรมสิ ทธิ์ของนายดา (เทียบคาพิพากษา
ฎีกาที่ ๑๒๖/๒๕๐๓ และคาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๙/๒๕๔๓)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๙/๒๕๔๓ เดิ มที่ พิพาทเป็ นที่ชายตลิ่ งที่
น้ าท่วมถึง จึงเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๒) ที่พิพาทเพิ่ง
กลายเป็ นที่งอกหลังจากมีการสร้างถนน ดังนั้น ก่อนหน้าที่พิพาทเป็ นที่
งอก แม้โจทก์จะครอบครองมานานเท่าใดก็ไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ หลังจากที่
พิ พ าทกลายเป็ นที่ ง อกอั น เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของจ าเลยแล้ ว โจทก์
ครอบครองไม่ถึง ๑๐ ปี โจทก์ยอ่ มไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ตามมาตรา ๑๓๘๒

ข้ อ ๒๕ ค าถาม นายหนึ่ ง กู้ยื ม เงิ น จากนายสองมาลงทุ น ท า


โครงการสร้ า งบ้า นจัด สรรขายพร้ อ มที่ ดิ น โดยในโครงการมี ถ นน
คอนกรี ต ๒ สายซึ่ งรอการแบ่งแยกเป็ น ๒ โฉนด แต่ภายหลังนายหนึ่ ง
ไม่ทาถนนตามโครงการ ประชาชนที่ซ้ื อบ้านพร้อมที่ดินเรี ยกร้องให้ทา
ถนนคอนกรี ตตามสัญญา นายหนึ่งทาหนังสื อแสดงความจานงยกที่ดิน
ส่ วนที่ทาเป็ นถนนดังกล่าวให้แก่องค์การบริ หารส่ วนตาบลเพื่อทาเป็ น
150

ทางสาธารณะโดยระบุในหนังสื อแสดงความจานงว่าจะจดทะเบียนยก
ให้เมื่อแบ่งแยกโฉนดเสร็ จแล้ว ขณะเดียวกันก็เปิ ดให้ประชาชนใช้ถนน
ดังกล่าวได้ต้ งั แต่น้ นั มา ต่อมาองค์การบริ หารส่ วนตาบลได้เข้าปรับปรุ ง
เป็ นถนนคอนกรี ตและวางท่อระบายน้ า หลังจากแบ่งแยกโฉนดแล้ว
นายหนึ่ งจดทะเบียนยกที่ดินส่ วนที่เป็ นถนนให้เป็ นทางสาธารณะเพียง
โฉนดเดี ยวเนื่ องจากโครงการประสบภาวะขาดทุน นายสองฟ้ องนาย
หนึ่ งเรี ย กคื น เงิ น กู้ยื ม และน ายึ ด ที่ ดิ น โฉนดที่ น ายหนึ่ งยัง ไม่ ไ ด้จ ด
ทะเบียนยกให้แก่องค์การบริ หารส่ วนตาบลเพื่อขายทอดตลาด นายสาม
ประมูลซื้ อได้จากการขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานบังคับคดี แล้วโอน
ขายต่อให้นายสี่ ซ่ ึ งรับซื้ อไว้โดยสุ จริ ต นายสี่ สร้ างตึกบนที่ดินที่ซ้ื อมา
และล้อมรั้วบริ เวณที่ดินนั้นโดยสุ จริ ต องค์การบริ หารส่ วนตาบลทราบ
เรื่ องจึ งมี หนัง สื อแจ้ง ให้นายสี่ ร้ื อตึ ก และรั้ วออกแล้วส่ ง มอบที่ ดินให้
องค์การบริ หารส่ วนตาบล
ให้วนิ ิจฉัยว่า นายสี่ จะต้องรื้ อตึกและรั้วหรื อไม่ และจะเรี ยกค่า
แห่ งที่ดินที่เพิ่มขึ้ นจากองค์การบริ หารส่ วนตาบลได้หรื อไม่ (ข้อสอบ
คัดเลือกฯ ผูช้ ่วยผูพ้ ิพากษา ข้อ ๕ เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๑)
ข้ อ ๒๕ คาตอบ นายหนึ่งทาหนังสื อแสดงความจานงยกที่ดินที่
ทาเป็ นถนนทั้งสองสายให้เป็ นทางสาธารณะแล้ว จึงตกเป็ นสาธารณ
สมบั ติ ข องแผ่ น ดิ น โดยสมบู ร ณ์ ต ามกฎหมายทั น ที ต ามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๒) โดยไม่ จาต้ องจดทะเบียน
โอนสิ ทธิการให้ ตามมาตรา ๕๒๕
แม้นายสามซื้ อที่ ดินดังกล่ า วจากการขายทอดตลาด แต่ สิทธิ
151

ของบุคคลผู้ซื้อทรั พย์ สินโดยสุ จริ ตในการขายทอดตลาดตามคาสั่ งศาล


ทีจ่ ะมิเสี ยไป ถึงแม้ ภายหลังจะพิสูจน์ ได้ ว่าทรั พย์ สินนั้นมิใช่ ของลูกหนี้
ตามคาพิ พ ากษาตามมาตรา ๑๓๓๐ จะต้ อ งเป็ นทรั พ ย์ สินที่ส ามารถ
นามาขายได้ ตามกฎหมายแล้ วนามาขายทอดตลาด เมื่อเป็ นสาธารณ
สมบัติของแผ่ นดินแล้ วจะโอนแก่ กันมิได้ เว้ นแต่ อาศั ยอานาจแห่ งบท
กฎหมายเฉพาะหรื อ พระราชกฤษฎี ก าตามมาตรา ๑๓๐๕ จึ ง มิ ใ ช่
ทรั พ ย์ สิ นที่ส ามารถนามาขายได้ ต ามกฎหมาย นายสามจึ งไม่ ไ ด้ รั บ
ความคุ้มครองตามมาตรา ๑๓๓๐ นายสี่ รับโอนที่ดินจากนายสาม นายสี่
ย่ อ มไม่ มีสิ ทธิ ดี ก ว่ า นายสามผู้โอน นายสี่ จึงไม่ ไ ด้ ก รรมสิ ทธิ์ ใ นที่ดิ น
พิพาท
แม้นายสี่ สร้ างตึ กในที่ดินและล้อมรั้วโดยสุ จริ ต แต่ การสร้ าง
โรงเรื อ นในที่ ดิ น ของผู้ อื่ น โดยสุ จ ริ ต ที่ เ จ้ า ของที่ ดิ น จะเป็ นเจ้ า ของ
โรงเรื อ นนั้ น ๆ แต่ ต้ อ งใช้ ค่ า แห่ ง ที่ ดิ น เพี ย งที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เพราะสร้ าง
โรงเรื อนตามมาตรา ๑๓๑๐ วรรคหนึ่ ง ต้ องเป็ นการสร้ างโรงเรื อนใน
ทีด่ ินของเอกชน เมื่อที่ดินพิพาทเป็ นที่ดินของรัฐ การสร้ างตึกของนายสี่
จึงไม่ ใช่ การสร้ างโรงเรือนในทีด่ ินของผู้อื่นโดยสุ จริ ตตามมาตรา ๑๓๑๐
วรรคหนึ่ ง นายสี่ จึงไม่ มีสิทธิเรียกค่ าแห่ งที่ดินที่เพิ่มขึ้นเพราะสร้ างตึก
และรั้วนั้นจากทางราชการ นายสี่ ต้องรื้อตึกและรั้วออกไปจากที่ดินและ
จะเรียกค่ าแห่ งที่ดินที่เพิ่มขึน้ เพราะสร้ างตึกและรั้วจากองค์ การบริหาร
ส่ วนตาบลไม่ ได้ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๒/๒๕๓๙, ๑๐๘๙/๒๕๑๕)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๒/๒๕๓๙ จาเลยที่ ๑ อุทิศถนนให้เป็ น
ทางสาธารณประโยชน์ท้ งั หมดถนนทั้งสายจึงตกเป็ นสาธารณสมบัติ
152

ของแผ่นดินโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายทันทีที่จาเลยที่ ๑ ได้แสดงเจตนา
อุทิศให้เป็ นทางสาธารณประโยชน์โดยไม่จาต้องจดทะเบียนโอนสิ ทธิ
การให้ทางโฉนดต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิ ชย์ มาตรา ๕๒๕ แม้ขอ้ ความในตอนท้ายของหนังสื ออุทิศที่ดินให้
เป็ นทางสาธารณประโยชน์ได้ระบุว่าจาเลยที่ ๑ จะไปจดทะเบียนโอน
กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น ดัง กล่ า ว ณ ส านั ก งานที่ ดิ น ต่ อ ไป ก็ ห ามี ผ ลท าให้
กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินที่อุทิศยังไม่โอนไปไม่ เมื่อที่ดินพิพาทเป็ นสาธารณ
สมบัติข องแผ่นดิ น การออกโฉนดส าหรั บ ที่ ดินพิ พาทหลัง จากที่ ดิน
พิพาทตกเป็ นทางสาธารณประโยชน์ จึงเป็ นการมิชอบ ดังนั้น จาเลยที่
๒ ซึ่ งซื้ อที่ ดินพิพาทมาตามโฉนดที่ออกโดยมิ ชอบ แม้จะซื้ อขายจาก
การขายทอดตลาดของศาลตามมาตรา ๑๓๓๐ ก็ตาม จาเลยที่ ๒ ก็ไม่ได้
รับความคุม้ ครองตามมาตรา ๑๓๓๐ จาเลยที่ ๒ จึงไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินพิพาทและไม่มีอานาจโอนที่ดินพิพาทให้แก่จาเลยที่ ๓ จาเลยที่ ๓
ผูร้ ับโอนไว้ยอ่ มไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ เช่นเดียวกันในที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ นที่สา
ธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์มาตรา
๑๓๐๕
153

ข้ อ ๒๖ ค าถาม นายขาวท าหนัง สื อ ยกให้ที่ ดิ น มี ส.ค.๑ ทั้ง


แปลงเนื้ อที่ ๒ ไร่ ให้แก่ทางราชการเพื่อตัดถนนสาธารณะผ่าน โดยมี
เงื่อนไขว่าหากไม่ใช้ประโยชน์ภายใน ๑ ปี ให้ที่ดินกลับมาเป็ นของตน
ตามเดิ ม หลัง จากทางราชการตัดถนนผ่านที่ ดินแล้วปรากฏว่ามี ที่ดิน
เหลื ออยู่นอกแนวเขตถนนประมาณ ๒ งาน ซึ่ งเป็ นที่ดินพิพาท เวลา
ผ่านไปเกิน ๑ ปี แล้ว นายขาวเห็นว่าที่ดินพิพาทมิได้ใช้ประโยชน์ จึงเข้า
ไปครอบครองทาประโยชน์ แล้วนายขาวให้นายเขี ยวเช่ าที่ ดินพิพาท
ปลูกบ้านอยูอ่ าศัย ต่อมานายเขียวไม่ชาระค่าเช่าและไม่ยอมออกไปจาก
ที่ดินพิพาท นายเหลืองมีที่ดินอยูต่ ิดกับที่ดินพิพาทโดยอีกด้านหนึ่งของ
ที่ดินนายเหลืองติดกับซอยสาธารณะแต่เป็ นซอยแคบเข้าออกไม่สะดวก
นายเหลืองจึงขอทาทางเข้าออกผ่านที่ดินพิพาทไปสู่ ถนนสาธารณะ ให้
วินิจฉัยว่า
ก. ที่ดินพิพาทจะกลับตกมาเป็ นของนายขาวอีกหรื อไม่
ข. นายขาวจะฟ้ องขับไล่นายเขียวให้ออกไปจากที่ดินพิพาทได้
หรื อไม่
ค. นายเหลื อ งขอท าทางเข้า ออกผ่า นที่ ดิ น พิ พ าทไปสู่ ถ นน
สาธารณะ นายขาวหรื อนายเขียวจะโต้แย้งขัดขวางได้หรื อไม่ (ข้อสอบ
คัดเลือกฯ ผูช้ ่วยผูพ้ ิพากษา ข้อ ๕ เมื่อวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗)
ข้ อ ๒๖ คาตอบ ก. การยกให้หรื ออุทิศที่ดินให้แก่ทางราชการ
เพื่อตัดถนนสาธารณะผ่านถื อเป็ นการยกที่ ดินให้เป็ นสาธารณสมบัติ
ของแผ่นดิ นที่ พ ลเมื อ งใช้ป ระโยชน์ ร่ วมกัน แม้ มิ ไ ด้ จ ดทะเบี ยนต่ อ
พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ต ามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา
154

๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง ก็มีผลสมบูรณ์ เมื่อได้ แสดงเจตนาถึงผู้รับแล้ ว


การยกให้ที่ดินของนายขาวเป็ นการยกให้ท้ งั แปลงและได้มีการ
ใช้ประโยชน์ทาถนนแล้ว แม้ที่ดินพิพาทจะอยู่นอกแนวเขตถนนและ
มิได้ใช้ประโยชน์มาเป็ นเวลาเกิน ๑ ปี ตามเงื่อนไขที่ยกให้ ที่ดินพิพาท
ก็ตกเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่พลเมืองใช้ ประโยชน์ ร่วมกันแล้ ว
และไม่ สามารถโอนกลับมาเป็ นของนายขาวได้ นอกจากจะอาศัยอานาจ
แห่ งบทกฎหมายเฉพาะหรือพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๑๓๐๕ ดังนั้น
ที่ดินพิพาทจึงไม่ อาจจะกลับตกมาเป็ นของนายขาวอีกได้ (คาพิพากษา
ฎีกาที่ ๕๑๑๒/๒๕๓๘)
ข. เมื่อที่ดินพิพาทตกเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิ นดังกล่าว
แล้ว นายขาวจึงไม่ มีสิทธินาไปให้ นายเขียวเช่ าอยู่อาศัย แม้นายขาวจะ
เข้า ไปครอบครองที่ ดิ นพิ พ าทก่ อน แต่ ต่อมานายขาวได้ส่ ง มอบการ
ครอบครองให้น ายเขี ย วเช่ า ปลู ก บ้า นอยู่อาศัย การครอบครองที่ดิ น
พิพาทจึงเปลี่ยนมาเป็ นของนายเขียว นายขาวหามีสิทธิใด ๆ ในที่ดิน
พิพาทไม่ นายขาวจึงไม่ อาจฟ้องขับไล่นายเขียวออกจากทีด่ ินพิพาทได้
ค. แม้ที่ดินของนายเหลืองด้านหนึ่งจะติดกับซอยสาธารณะ แต่
เนื่ องจากที่ดินของนายเหลื องอีกด้านหนึ่ งติดกับที่ดินพิพาทซึ่ งตกเป็ น
สาธารณสมบัติของแผ่นดิ นที่พลเมื องใช้ประโยชน์ร่วมกัน การที่นาย
เขียวปลูกบ้านอยู่บนที่ดินพิพาท ทาให้ นายเหลืองขาดความสะดวกใน
การใช้ ที่ดินพิพาทเป็ นทางเข้ าออกจากที่ดินของนายเหลืองผ่ านที่ดิน
พิพาทสู่ ถนนสาธารณะ ถือ ได้ ว่านายเหลืองได้ รับความเสี ยหายเป็ น
พิเศษ ดังนั้ น การที่นายเหลืองขอทาทางเข้ าออกผ่ านที่ดินพิพาทไปสู่
155

ถนนสาธารณะ นายขาวหรื อนายเขียวหามีสิทธิโต้ แย้ งขัดขวางได้ ไม่


(คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๘๑/๒๕๓๘)
หมายเหตุ (ของคณะกรรมการสอบ) ธบค ำตอบตำมข้ อ ข. แลว ค.
คณวกรรมกำรมี มติ ั่ำ หำกผู้เข้ ำ สอบตอบั่ ำ "แม้ ที่ดินพิ พ ำทตกเป็ น
สำธำรณสมบดติขอบแผ่ นดินที่ พลเมือบใช้ ปรวโยชน์ ร่ัมกดนแล้ ั ซึ่ บนำย
ขำัไม่ อำะโต้ แย้ บสิ ทธิ กดบทำบรำชกำรได้ กต็ ำม แต่ รำษฎรย่ อมอ้ ำบสิ ทธิ
ยดนกดนเอบได้ " ควรให้ คะแนนไม่ ยงิ่ หย่ อนกว่ าเหตุผลตามธงคาตอบ
ข้ อสั งเกต ปกติ แล้ ักำรสอบคด ดเลื อกฯ ผู้ช่ ัยผู้พิ พ ำกษำะวยึ ดถื อธบ
คำตอบเป็ นสำคดญ เพรำวเป็ นกำรสอบกฎหมำยในภำคปฏิ บดติ หำกตอบ
ผิดธบะวได้ ควแนนน้ อยมำก แต่ กรณี นีท้ ี่ คณวกรรมกำรไม่ เคร่ บครด ดใน
ธบคำตอบ ก็เพรำวั่ ำคำพิพำกษำฎีกำเกี่ ยักดบเรื่ อบกำรส่ บมอบสำธำรณ
สมบด ติ ข อบแผ่ น ดิ น ให้ ผู้ อื่ น ยึ ด ถื อ แทน ศำลฎี ก ำยดบ ัิ นิ ะ ฉด ย ไั้ ห ลำย
แนัทำบ หำกัำบธบคำตอบเป็ นแนัทำบเดี ยัะวไม่ เป็ นธรรมแก่ ผ้ ูเข้ ำ
สอบ แนัทำบล่ ำสุ ดที่ ศำลฎีกำตดดสิ นไั้ คื อ คำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๓๘๙/
๒๕๕๐ ฎ.ส.ล. ๒ น. ๙๖ ที่ ดินพิ พำทเป็ นที่ ดินอยู่ในเขตป่ ำไม้ ถำัระึ บ
เป็ นที่ สำธำรณสมบดติขอบแผ่ นดิ น กำรเข้ ำยึดถือครอบครอบย่ อมไม่ ได้
สิ ทธิ ครอบครอบโดยชอบด้ ัยกฎหมำย ทด้บไม่ อำะอ้ ำบสิ ทธิ ใด ๆ ใช้ ยดน
รด ฐได้ แต่ ในรวหั่ ำบรำษฎรด้ ัยกดน ย่ อมยกกำรยึดถือครอบครอบก่ อน
ขึน้ ยดนผู้อื่นที่ เข้ ำมำรบกันได้ ในขณวเัลำที่ ตนยดบยึดถือครอบครอบอยู่
เท่ ำนด้น ดดบนด้น กำรที่ โะทก์ ให้ ะำเลยเช่ ำที่ ดินพิพำท ะึ บเป็ นกำรกรวทำที่
ไม่ มี สิท ธิ เพรำวเท่ ำกด บ นำที่ ดินขอบรด ฐไปให้ บุค คลอื่ นเช่ ำโดยรด ฐไม่
ยินยอมแลวมีผลเป็ นกำรมอบกำรยึดถือครอบครอบให้ แก่ ะำเลย โะทก์
156

ะึ บไม่ ใช่ ผ้ ยู ึดถือครอบครอบที่ ดินพิพำทอี กต่ อไป ะึ บไม่ มีอำนำะฟ้ อบขดบ


ไล่ ะำเลยผู้ครอบครอบที่ดินพิพำทได้
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๕๑๑๒/๒๕๓๘ จ าเลยที่ ๑ และ ต. สามี
จาเลยที่ ๑ ผูเ้ ป็ นบิดาของจาเลยที่ ๒ และที่ ๓ ได้อุทิศที่ดินบางส่ วนอัน
เป็ นที่ ดิ น ของจ าเลยที่ ๑ และของจ าเลยที่ ๒ และที่ ๓ ที่ มี แ นวเขต
ติดต่อกันให้ใช้ตดั ถนนสายพิพาท ถนนสายพิพาทตลอดสายได้ตกเป็ น
สาธารณสมบัติ ข องแผ่ น ดิ น ประเภททรั พ ย์สิ น ส าหรั บ พลเมื อ งใช้
ร่ วมกัน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๒)
ทันทีที่จาเลยที่ ๑ และ ต.ในฐานะผูแ้ ทนโดยชอบธรรมของจาเลยที่ ๒
และที่ ๓ แสดงเจตนาอุ ทิศให้ แม้ทางราชการตัดถนนสายใหม่ซ่ ึ งอยู่
ใกล้กบั ถนนสายพิพาททาให้ไม่มีประชาชนใช้ถนนเฉพาะส่ วนที่เป็ นที่
พิ พ าทอี ก หรื อแม้ ต.จะได้อุทิ ศ ที่ พิ พ าทให้ตดั ถนนสายพิ พ าทโดยมี
เงื่ อ นไขต่ อ ผูม้ าเจรจาขอให้ อุ ทิ ศ ส่ ว นที่ เ ป็ นที่ พิ พ าทไว้ว่ า หากทาง
ราชการได้ตดั ถนนสายใหม่แล้ว ให้ยกเลิกถนนสายพิพาท ส่ วนที่เป็ นที่
พิพาทเสี ยก็ตาม ก็หาทาให้ถนนสายพิพาทตลอดสายสิ้ นสภาพความ
เป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินไปไม่
ถนนส่ วนที่ เป็ นที่ พิ พ าทตกเป็ นสาธารณสมบัติข องแผ่นดิ น
ประเภททรั พ ย์สิ น ส าหรั บ พลเมื อ งใช้ร่ ว มกัน แล้ว สภาพความเป็ น
สาธารณสมบัติ ข องแผ่ น ดิ น หาได้สู ญ สิ้ น ไปเพราะการไม่ ไ ด้ใ ช้ไ ม่
แม้จาเลยจะได้ครอบครองถนนบริ เวณส่ วนที่เป็ นที่พิพาทเป็ นเวลานาน
เท่าใดก็ตาม ก็ไม่มีสิทธิ ที่จะยึดถื อเอาที่ดินส่ วนที่เป็ นที่พิพาทกลับคืน
มาเป็ นกรรมสิ ท ธิ์ ของจ าเลยได้อี ก ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และ
157

พาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๖ การที่จาเลยร่ วมกันขุดไถทาลายถนนส่ วนที่เป็ น


ที่ พิ พ าท รวมทั้ง การร่ ว มกัน น าเสาคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก และเสาไม้
จานวนหลายต้นไปปั กลงในส่ วนของถนนที่ถูกขุดไถทาลาย และการที่
จาเลยร่ วมกันนาเสาไปปั กติดป้ ายบอกข้อความว่าถนนดังกล่าวเป็ นทาง
ส่ วนบุ คคลที่ จาเลยสงวนสิ ทธิ ย่อมเป็ นการทาให้สาธารณสมบัติของ
แผ่นดินที่อยูใ่ นความครอบครองดูแลรักษาของกรุ งเทพมหานครโจทก์
เสี ยหาย การกระทาของจาเลยจึงเป็ นการกระทาละเมิดต่อโจทก์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๘๑/๒๕๓๘ เมื่อจาเลยยกที่ดินของจาเลย
ทั้งหมดให้แก่ ท างราชการเพื่ อตัดเป็ นถนนสาธารณะย่อมทาให้ที่ดิน
ดัง กล่ า วตกเป็ นที่ ดิน สาธารณประโยชน์ ซ่ ึ งเป็ นสาธารณสมบัติข อง
แผ่นดิ น แม้ทางราชการไม่ได้ใช้ที่ดินทั้งหมดโดยยังคงเหลื อส่ วนของ
ที่ ดิ น พิ พ าทซึ่ งอยู่ติ ด กับ ที่ ดิน ของโจทก์ เ ป็ นที่ ว่า งระหว่า งที่ ดิ น ของ
โจทก์กบั ถนนสาธารณะที่ดินนั้นก็ยงั คงเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
อยู่ และแม้ที่ดินของโจทก์เพิ่งมาติ ดกับที่ดินพิพาทเมื่ อจาเลยยกที่ ดิน
ให้แก่ทางราชการแล้วก็ตาม โจทก์ก็ยอ่ มมีสิทธิ เดินและนารถยนต์ผา่ น
ที่ ดิ น พิ พ าทเข้า ออกจากที่ ดิ น ของโจทก์ ไ ปสู่ ถ นนสาธารณะได้ เมื่ อ
จาเลยนาดินและทรายมาถมกองและปลูกต้นไม้ไว้ในที่ดินพิพาททาให้
โจทก์ใช้ประโยชน์เข้าออกจากที่ดินของโจทก์ไม่สะดวกและนารถเข้า
ออกจากที่ดินของโจทก์ไม่ได้น้ นั ถื อว่าโจทก์ได้รับความเสี ยหายเป็ น
พิเศษมีสิทธิ ฟ้องขับไล่จาเลยได้
158

ข้ อ ๒๗ ค าถาม นายเอกครอบครองที่ ส าธารณสมบัติ ข อง


แผ่นดิ นอันเป็ นทรัพย์สินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันอยู่ ๒ แปลง ที่ดิน
แปลงแรกเป็ นที่ชายตลิ่ง เนื้อที่ ๒๐ ไร่ ซึ่ งเดิมนายเอกครอบครองอยูค่ น
เดี ย ว ต่ อ มานายเอกแบ่ ง ให้ น ายโทอาศัย ปลู ก บ้า นอยู่ เนื้ อ ที่ ๒ ไร่
หลังจาก นายโทปลูก บ้านและครอบครองมาได้ ๖ เดื อน นายเอกไม่
ประสงค์ให้นายโทอาศัยอยูต่ ่อไปได้แจ้งให้นายโทออกจากที่ดินที่อาศัย
นายโทไม่ยอมออก ส่ วนที่ดินแปลงที่สองเป็ นทุ่งเลี้ ยงสัตว์เนื้ อที่ ๑๐๐
ไร่ นายเอกครอบครองคนเดี ยวทั้งหมด ต่อมานายตรี ได้บุกรุ กเข้าไป
ปลูกมะพร้าวเนื้อที่ ๒๐ ไร่
ดังนี้ นายเอกจะฟ้ องขับไล่นายโทและนายตรี ให้ออกจากที่ดิน
ทั้งสองแปลงได้หรื อไม่
ข้ อ ๒๗ คาตอบ ที่สาธารณสมบัติแผ่ นดินประเภททรั พย์ สิน
ส าหรั บ พลเมื อ งใช้ ร่ ว มกั น ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์
มาตรา ๑๓๐๔ (๒) นั้น ผู้ใดหามีกรรมสิ ทธิ์หรือสิ ทธิครอบครองไม่
สาหรั บที่ดินแปลงแรก แม้นายเอกจะได้ครอบครองมาก่ อน
แล้วให้นายโทอาศัยปลูกบ้านอยูใ่ นภายหลัง ก็จะถือว่ านายเอกมอบให้
นายโทครอบครองแทนมิได้ เพราะนายเอกไม่ มีสิทธิที่จะมอบให้ นายโท
ในระหว่ า งนายเอกกั บ นายโทนั้ น เมื่ อ นายโทเป็ นฝ่ ายครอบครอง
ที่ดิ นอยู่ นายเอกย่ อ มไม่ มี อ านาจฟ้ องขั บ ไล่ นายโทออกจากที่ดิ นได้
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๑๙๗/๒๕๒๐, ที่ ๑๘๒/๒๕๕๒)
ส่ วนที่ดินแปลงที่สอง แม้จะเป็ นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิ น
สาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน แต่เมื่อนายเอกครอบครองใช้เป็ นประโยชน์
159

อยู่ก่อนแล้ว นายตรี บุกรุ กเข้ามาแย่งการครอบครองในภายหลังเช่ นนี้


ในระหว่ า งนายเอกกับนายตรี สิ ทธิ ของนายเอกที่มีอ ยู่เหนื อที่ดินนั้ น
ย่ อมดีกว่ า การทีน่ ายตรีบุกรุ กเข้ าไปแย่ งการครอบครองที่ดินซึ่ งนายเอก
ครอบครองอยู่ ก่อ น จึ งเป็ นการรบกวนสิ ทธิ ของนายเอก เพราะหาก
ปล่ อยให้ ผ้ ูบุกรุ กมีสิทธิดีกว่ าผู้ครอบครองอยู่ก่อน ก็จะเป็ นการส่ งเสริม
ให้ ประชาชนใช้ กาลังเข้ าแย่ งชิ งกันอันจะทาให้ เกิดความไม่ สงบสุ ขใน
สั งคมขึน้ นายเอกผู้ครอบครองอยู่ก่อน ย่ อมมีอานาจฟ้องขับไล่ นายตรี
ผู้บุ ก รุ ก ให้ อ อกจากที่ดิ นได้ (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๖๐๘/๒๕๑๓, ที่
๒๒๖๖/๒๕๓๗)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๒/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๒ น. ๘ ที่ดินพิพาท
อยูใ่ นเขตป่ าสงวนแห่งชาติจึงเป็ นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน การเข้า
ยึดถือครอบครองย่อมไม่ชอบด้วยกฎหมาย มีผลให้ผคู ้ รอบครองไม่อาจ
ยกสิ ท ธิ ใ ด ๆ ขึ้ น โต้แย้ง รั ฐ ได้ แต่ ใ นระหว่า งราษฎรด้วยกัน ผูย้ ึ ดถื อ
ครอบครองที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิ นจะหวงกันผูอ้ ื่นได้ก็แต่ขณะที่
ตนยังยึดถื อครอบครองอยู่เท่านั้น การที่โจทก์ท้ งั สองให้จาเลยและ ส.
เช่าที่ดินพิพาท จึงเป็ นการกระทาที่ไม่มีสิทธิ เพราะเท่ากับนาที่ดินของ
รั ฐไปให้บุ คคลอื่ นเช่ าโดยรั ฐไม่ยินยอม มี ผ ลเป็ นการมอบการยึดถื อ
ครอบครองที่ดินพิพาทให้แก่ผอู ้ ื่นแล้ว เมื่อโจทก์ท้ งั สองไม่ใช่ ผยู้ ึดถื อ
ครอบครองที่ ดินพิพาท จึ งไม่มีอานาจฟ้ องขับไล่ จาเลยออกจากที่ ดิน
พิพาทได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๒๖๖/๒๕๓๗ โจทก์เข้าครอบครองและ
ปลู กพื ชไร่ ในที่ พิ พาทอันเป็ นที่ ส าธารณะประชาชนใช้ทาประโยชน์
160

ร่ วมกันอยูก่ ่อน โจทก์ยอ่ มมีสิทธิ ดีกว่าจาเลย เมื่อจาเลยเข้าไปไถพืชไร่ ที่


โจทก์ปลูกไว้ทาให้โจทก์ได้รับความเสี ยหาย โจทก์จึงมีอานาจฟ้ องห้าม
มิให้จาเลยเข้ารบกวนการครอบครองที่พิพาทและเรี ยกค่าเสี ยหายจาก
จาเลยได้
ข้ อสั งเกต เรื่ อบกำรแย่ บหรื อกำรส่ บมอบกำรครอบครอบสำธำรณสมบดติ
ขอบแผ่ นดิ น ซึ่ บ สบันไั้ เพื่ อปรวโยชน์ ร่ัมกด น มี คำพิ พำกษำฎี ก ำ ๔
แนั สอบแนัแรกเป็ นเรื่ อบขอบกำรแย่ บ สอบแนัหลดบเป็ นเรื่ อบกำรส่ บ
มอบ ดดบนี ้
แนวแรกการแย่ ง เห็นั่ ำ ผู้ยึดถือไม่ ได้ สิทธิ ครอบครอบใช้ ยดน
รด ฐหรื อเอกชนไม่ ได้ ทุกกรณี หำกถูกแย่ บกำรยึดถือไป ผู้ถูกแย่ บก็ไม่ มี
สิ ทธิ ค รอบครอบ ะวฟ้ อบเรี ยกคื น เป็ นคดี แพ่ บ หรื อฟ้ อบคดี อำญำฐำน
บุกรุ กไม่ ได้ เช่ น คำพิพำกษำฎีกำที่ ๙๑๓๒/๒๕๔๔
แนวทีส่ องการแย่ง เห็นั่ ำ แม้ ผ้ ยู ึดถือใช้ ยดนรด ฐไม่ ได้ แต่ ผ้ ยู ึดถือ
อ้ ำบสิ ทธิ ครอบครอบใช้ ยดนกด นเอบรวหั่ ำ บเอกชนได้ หำกถูก แย่ บกำร
ครอบครอบไป ผู้ถูกแย่ บฟ้ องเรี ยกคืนการครอบครองจากผู้แย่ งได้ เช่ น
คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๒๖๖/๒๕๓๗ ข้ ำบต้ น
แนวที่ส ามการส่ ง มอบ เห็ นั่ ำ ผู้ยึ ดถื อใช้ ยดนรด ฐไม่ ไ ด้ ถ้ ำส่ บ
มอบกำรครอบครอบให้ แก่ กด น ถื อั่ ำ ผู้ส่ บมอบหมดสิ ทธิ ครอบครอบ
ฟ้ องเรียกคืนไม่ ได้ ตำมคำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๘๒/๒๕๕๒ ข้ ำบต้ น
แนวที่ สี่ ก ารส่ งมอบ เห็ น ั่ ำ แม้ ผ้ ู ยึ ด ถื อ ใช้ ยด น รด ฐไม่ ไ ด้ แต่
รวหั่ ำบเอกชนด้ ัยกดนอ้ ำบสิ ทธิ ยดนกดนเอบได้ กล่ ำัคื อ กรณี ผ้ ูส่บมอบ
กำรครอบครอบให้ แก่ กดน เช่ น มอบให้ ตำมสดญญำเช่ ำ เมื่อผิดสด ญญำเช่ ำก็
161

ฟ้ องเรียกคืนการครอบครองได้ เช่ น คำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๓๘๕/๒๕๔๘


แนักำรตดดสิ นขอบศำลฎีกำทด้บสี่ แนัยดบไม่ เป็ นที่ ยุติ แต่ ขณว
แต่ บหนดบ สื อเล่ ม นี ้ กรณีของการแย่ งการครอบครองคำพิ พำกษำฎี ก ำ
ล่ ำสุ ดเป็ นไปตำมแนัแรก คื อ คำพิ พำกษำฎีกำที่ ๙๑๓๒/๒๕๔๔ แต่
แนัทำบที่ เป็ นที่ ยอมรด บมำกกั่ ำในทำบัิชำกำรกลดบเป็ นแนัที่ สอบ คื อ
ตำมคำพิพำกษำฎีกำที่ ๒๒๖๖/๒๕๓๗ ที่ัินิะฉด ยั่ ำ แม้ ผ้ ยู ึดถือใช้ ยดนรด ฐ
ไม่ ได้ แต่ ผ้ ูยึดถื ออ้ ำบสิ ทธิ ครอบครอบใช้ ยดนกดนเอบรวหั่ ำบเอกชนได้
หำกถูกแย่ บกำรครอบครอบ ผู้ถูกแย่ งฟ้ องเรี ยกคืนการครอบครองจาก
ผู้แย่ งได้
ส่ ันกรณี ข องการส่ งมอบการครอบครองค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำ
ล่ ำสุ ดเป็ นไปตำมแนัที่ สำม คื อตำมคำพิ พำกษำฎีกำที่ ๑๓๘๙/๒๕๕๐
ที่ ัิ นิะ ฉด ย ั่ ำ ผู้ยึ ดถื อ ใช้ ยดน รด ฐไม่ ไ ด้ ถ้ ำ ส่ บมอบกำรครอบครอบที่ ดิ น
สำธำรณสมบด ติ ข อบแผ่ น ดิ น ให้ แก่ กด น ถื อ ั่ ำผู้ ส่ บมอบหมดสิ ทธิ
ครอบครอบ ฟ้ องเรี ยกคืนไม่ ได้ แต่ ถ้ำมี บ้ำนปลูกอยู่บนที่ ดินสำธำรณ
สมบดติขอบแผ่ นดิน ผู้ยึดถือใช้ สอยอยู่ในสถำนวเดียักดบเะ้ ำขอบ หำกให้
เช่ ำบ้ ำน แล้ ัผู้เช่ ำผิดสด ญญำเช่ ำ ผู้ให้ เช่ ำฟ้ อบขดบไล่ ผ้ เู ช่ ำได้ (คำพิพำกษำ
ฎีกำที่ ๑๐๓๗๘/๒๕๕๐ ฎ.ส.ล. ๑๒ น. ๔๒๔)
กรณี ขอบกำรส่ บมอบกำรครอบครอบที่ ดินสำธำรณสมบดติขอบ
แผ่ น ดิ น นด้ น ในกำรสอบคด ด เลื อ กฯ ผู้ ช่ ัยผู้ พิ พ ำกษำ เมื่ อ ัดน ที่ ๒๙
กุ ม ภำพด น ธ์ ๒๕๔๗ คณวกรรมกำรสอบัำบธบค ำตอบั่ ำ เมื่ อ ที่ ดิ น
พิพำทเป็ นสำธำณสมบดติขอบแผ่ นดินแล้ ั นำยขำัะึ บไม่ มีสิทธิ นำไปให้
นำยเขี ยัเช่ ำปลูกบ้ ำนอยู่อำศดย แม้ นำยขำัะวเข้ ำไปครอบครอบที่ ดิน
162

พิพำทก่ อน แต่ ต่อมำนำยขำัได้ ส่บมอบกำรครอบครอบให้ นำยเขียัเช่ ำ


ปลูกบ้ ำนอยู่อำศดย กำรครอบครอบที่ ดินพิพำทะึ บเปลี่ยนมำเป็ นขอบนำย
เขียั นำยขำัหำมีสิทธิ ใด ๆ ในที่ ดินพิ พำทไม่ นำยขำัะึ บไม่ อำะฟ้ อบ
ขด บ ไล่ น ำยเขี ย ัออกะำกที่ ดิ น พิ พ ำทได้ ซึ่ บตรบกด บ แนัที่ ส ำม แต่
คณวกรรมกำรสอบได้ ตด้บเป็ นหมำยเหตุปรวกอบธบคำตอบไั้ ั่ำ หำก
ผู้เข้ ำสอบตอบั่ ำ “แม้ ที่ดินพิ พำทตกเป็ นสำธำรณสมบดติขอบแผ่ นดินที่
พลเมือบใช้ ปรวโยชน์ ร่ัมกดนแล้ ั ซึ่ บนำยขำัไม่ อำะโต้ แย้ บสิ ทธิ กดบทำบ
รำชกำรได้ ก็ตำม แต่ รำษฎรย่ อมอ้ ำบสิ ทธิ ยดนกดนเอบได้ ” ควรให้ คะแนน
ไม่ ยงิ่ หย่ อนกว่ าเหตุผลตามธงคาตอบ ซึ่ บตรบกดบแนัที่ สี่ ดดบนด้น หำกนำ
ปด ญหำนีม้ ำออกข้ อสอบ นดกศึกษำไม่ ต้อบกดบัลเรื่ อบธบคำตอบมำกนดก

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๐๔


คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๗๔/๒๕๕๔ ฎ.๒๒๖๖ พื้นที่พิพาทแม้
เป็ นบริ เวณที่ กลายสภาพเป็ นพื้นน้ าหมดแล้ว แต่เจ้าของที่ ดินยังสงวน
สิ ทธิ ห รื อหวงกั น ไว้ ไม่ ใ ช่ เ ป็ นพื้ น ที่ ที่ ป ระชาชนทั่ ว ไปเข้ า ไปใช้
ประโยชน์ได้ จึงไม่เป็ นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน แต่เป็ นของจาเลย
การที่จาเลยถมหิ นและดินในที่ดินของจาเลย แม้จะเป็ นการกั้นระหว่าง
บ้านโจทก์กบั แม่น้ าเจ้าพระยาจนทาให้โจทก์ออกสู่ แม่น้ าเจ้าพระยาไม่ได้
ก็ ไ ม่ เ ป็ นการละเมิ ด ต่ อ โจทก์ โจทก์ จึ ง ไม่ มี สิ ทธิ ห้ า มจ าเลยและ
ไม่มีสิทธิ เรี ยกค่าเสี ยหายจากจาเลยได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๓๓๙/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๖ น.๑๐๓ สภาพที่
เกิดเหตุเป็ นป่ าชายเลนตามปกติน้ าทะเลท่วมถึง จึงเป็ นสาธารณสมบัติ
163

ของแผ่นดิน ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๔ ซึ่ งจาเลยไม่มีกรรมสิ ทธิ์ หรื อสิ ทธิ
ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย จาเลยจะอ้างการครอบครองที่ เกิ ด
เหตุข้ ึนยันต่อแผ่นดินมิได้ ทั้งปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ป่าชายเลนได้ห้ามและ
เตื อนจาเลยแล้วไม่ใ ห้บุ กรุ ก ป่ าชายเลนโดยการปลู ก ต้นมะพร้ า ว แต่
จาเลยไม่เชื่ อฟั งยังคงบุกรุ กไปเรื่ อย ๆ แสดงถึ งเจตนาของจาเลยที่เข้า
ยึดถือหรื อครอบครองป่ าที่เกิดเหตุเพื่อตนเอง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๓๐๐/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๘ น.๑๓๓ ที่ดินกรม
ชลประทานส่ วนที่จาเลยบุกรุ กตามฟ้ องเป็ นที่ดินซึ่ งกรมชลประทานกัน
ไว้ใ ช้ทาประโยชน์เพื่ อการชลประทานโดยท าเป็ นอ่ า งเก็ บ น้ า ที่ ดิ น
พิพาทจึงตกเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินประเภทที่ใช้เพื่อประโยชน์
ของแผ่นดินโดยเฉพาะตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๔ (๓)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๓๗๘/๒๕๕๐ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๔๒๔ โจทก์
และจาเลยซื้ อขายที่ ดินและบ้านพิพาทโดยส่ งมอบการครอบครองแก่
กัน ซึ่ งที่ดินดังกล่าวอยูบ่ นเกาะล้านอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๔ ที่ดินและบ้านพิพาทจาเลยยึดถือใช้สอยอยู่
ในสถานะเช่นเดียวกับเจ้าของ เมื่อจาเลยขายโอนสิ ทธิ ในที่ดินและบ้าน
พิพาทให้โจทก์โดยทาหนังสื อโอนสิ ทธิ และยังได้ทาหนังสื อสัญญาเช่า
บ้านพิพาทกับโจทก์ จึงเป็ นการยอมรับสิ ทธิ ความเป็ นเจ้าของที่ดินและ
บ้า นพิ พ าทของโจทก์ ซึ่ งหลัง จากนั้น จ าเลยได้อ ยู่ใ นที่ ดิ น และบ้า น
พิพาทโดยอาศัยสิ ทธิ ของโจทก์ตามสัญญาเช่ า จาเลยจึงจะอ้างว่าโจทก์
ไม่ใช่เจ้าของที่ดินและบ้านพิพาทและไม่มีอานาจฟ้ องหาได้ไม่ ดังนั้น
เมื่ อครบกาหนดระยะเวลาเช่ าตามข้อตกลงในสัญญา และโจทก์บอก
164

กล่ าวให้จาเลยออกไป แล้วจาเลยเพิ กเฉย โจทก์จึงมี อานาจฟ้ องและ


เรี ยกค่าเสี ยหายจากจาเลยได้
ข้ อสั งเกต เรื่ อบนีเ้ ป็ นกำรเช่ ำบ้ ำน ไม่ ใช่ กำรเช่ ำที่ ดินสำธำรณสมบดติขอบ
แผ่ นดิน ะึบฟ้ อบขดบไล่ ได้

การโอนทีด่ ินให้ เป็ นสาธารณประโยชน์ ไม่ ต้องทาตามแบบ


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๐๑/๒๕๕๔ ฎ.๒๑๕๓ หลังจากที่ ห. บิดา
โจทก์ถึงแก่ความตาย ท. มารดาโจทก์เป็ นเจ้าของสิ ทธิ ครอบครองที่ดิน
พิพาท ย่อมมีอานาจทาหนังสื ออุทิศที่ดินพิพาทให้แก่จาเลยสาหรับปลูก
สร้ างฉางข้าวเพื่อใช้เป็ นธนาคารข้าวตามโครงการพระราชดาริ ที่ดิน
พิพาทจึงตกเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
ตลอดไปโดยมีผลทันที โจทก์ไม่ใช่เจ้าของที่ดินพิพาทไม่มีสิทธิ นาแบบ
แจ้งการครอบครองที่ดิน (ส.ค.๑) ไปขอออกโฉนดที่ดินสาหรับที่ดิน
พิพาทในภายหลัง ให้เพิกถอนโฉนดที่ดินของโจทก์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๕๔๓/๒๕๕๑ ฎ.๒๓๗๓ โจทก์ที่ ๒ ซื้ อ
ที่ดินพิพาทจากผูอ้ ื่นแล้วยกให้วดั โจทก์ที่ ๑ ขณะที่โจทก์ที่ ๑ ยังไม่เป็ น
นิติบุคคล ต่อมาเมื่อโจทก์ที่ ๑ ได้รับการประกาศตั้งเป็ นวัดเมื่อวันที่ ๑๓
กรกฎาคม ๒๕๑๓ โดยมี โ จทก์ ที่ ๒ ซึ่ งได้ รั บ การแต่ ง ตั้ง ให้ เ ป็ น
เจ้าอาวาส โจทก์ที่ ๒ ก็ได้แสดงเจตนายืนยันว่าได้มีการยกที่ดินพิพาท
ให้แก่ โจทก์ที่ ๑ ตลอดมาโดยมี ก ารท าบันทึ ก ถ้อยค าว่า โจทก์ที่ ๑ มี
ความประสงค์ข อรั บโอนที่ ดินพิ พ าทจากโจทก์ที่ ๒ นับ แต่ วนั ที่ ๑๓
กรกฎาคม ๒๕๑๓ ถือได้วา่ มีเจตนาอุทิศที่ดินพิพาทเพื่อใช้เป็ นที่สร้าง
165

วัด ที่ดินพิพาทย่อมตกเป็ นของแผ่นดินสาหรับใช้เป็ นที่สาหรับสร้างวัด


โจทก์ที่ ๑ ตามเจตนาของผูอ้ ุทิศทันทีโดยไม่จาต้องทาเป็ นหนังสื อและ
จดทะเบียนการยกให้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ช ย์ มาตรา ๕๒๕ เมื่ อ สร้ า งวัด โจทก์ ที่ ๑ เสร็ จ เรี ย บร้ อ ย
กระทรวงศึ กษาธิ การและมหาเถรสมาคมเห็ นชอบให้ต้ งั วัดโจทก์ที่ ๑
และได้ป ระกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษาแล้ว เมื่ อ วัน ที่ ๒๑ กรกฎาคม
๒๕๑๓ ที่ดินพิพาทจึงเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของโจทก์ที่ ๑ โดยสมบูรณ์ต้ งั แต่
บัดนั้น เมื่อที่ดินพิพาทตกเป็ นของโจทก์ที่ ๑ แล้วตามพระราชบัญญัติ
คณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา ๓๔ จะโอนกรรมสิ ท ธิ์ ได้ก็ แ ต่ โ ดย
พระราชบัญญัติเท่านั้น การที่โจทก์ที่ ๒ มอบอานาจให้จาเลยไปรับโอน
ที่ดินพิพาทมาเป็ นของจาเลย จาเลยก็ไม่มีสิทธิ รับโอนที่ดินพิพาทซึ่ ง
เป็ นของโจทก์ที่ ๑ มาเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของตน ซึ่ งมีผลทาให้การโอนที่ดิน
พิพาทจากจาเลยไปยังจาเลยร่ วมที่ ๑ ไม่ชอบด้วยกฎหมายไปด้วย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๓๘๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๕ น.๑๖๐ ว. อุทิศ
ที่ดินของตนโดยมีเจตนาชัดเจนว่าเพื่อตั้งเป็ นโรงเรี ยนปอเนาะ สาหรับ
การสอนหนั ง สื อและให้ ค วามรู ้ เกี่ ยวกั บ ศาส นาอิ ส ลามโดย
เฉพาะเจาะจง แม้ขณะที่ ว. ยกให้เมื่อปี ๒๔๙๔ โรงเรี ยนยังไม่มีสภาพ
เป็ นนิ ติบุคคลเพราะยังไม่มีการจดทะเบียนเป็ นมูลนิ ธิให้ถูกต้องก็ตาม
แต่ต่อมาก็มีกลุ่มบุคคลซึ่ งนาโดย ห. เข้าดาเนิ นการให้สถานที่ดงั กล่าว
เป็ นที่ต้ งั ของโรงเรี ยนแล้ว โดยในช่วงแรกมีชื่อว่าโรงเรี ยนปอเนาะบ้าน
เกาะหมี สมดังเจตนาดั้งเดิ มของ ว. จึงเห็ นได้ว่าเจ้าของที่ดินพิพาทได้
แสดงเจตนาโดยชัดแจ้งที่จะอุทิศที่ดินนี้ เพื่อตั้งเป็ นโรงเรี ยนปอเนาะไว้
166

เป็ นส่ วนกลางในการสอนศาสนาอิสลาม อันมี ผลทาให้ผใู ้ ดจะยึดถื อ


ครอบครองเป็ นเจ้าของที่ดินพิพาทไม่ได้ ที่ดินพิพาทจึงเป็ นที่ซ่ ึ งใช้เพื่อ
สาธารณะประโยชน์ ข องชาวมุ ส ลิ ม โดยทัว่ ไป และตกเป็ นสาธารณ
สมบัติของแผ่นดิ นตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๔ (๒) ทันทีที่ ว. เจ้าของ
ที่ดินเดิมอุทิศให้ โดยไม่จาเป็ นต้องทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ ทั้งโจทก์และจาเลยทั้งสองจึงอ้างสิ ทธิ เป็ นผูย้ ึดถื อ
ครอบครองที่ดินพิพาทเป็ นของตนเองไม่ได้ โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ อง
และจาเลยไม่มีอานาจฟ้ องแย้ง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๐๐๔/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๔ น.๑๐๕ เมื่อโจทก์
ได้บริ จาคที่ดินให้เป็ นถนนสาธารณะ จึงต้องถือว่าที่ดินดังกล่าวตกเป็ น
สาธารณสมบัติ ข องแผ่ น ดิ น ประเภททรั พ ย์สิ น ส าหรั บ พลเมื อ งใช้
ร่ วมกันแล้วตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๔ (๒) และมาตรา ๑๓๐๕ และ
โอนแก่กนั มิได้ เว้นแต่อาศัยอานาจแห่งบทกฎหมายเฉพาะหรื อพระราช
กฤษฎีกา นอกจากนี้ สภาพความเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินไม่อาจ
สู ญสิ้ นไปเพราะการไม่ได้ใช้ตามวัตถุ ประสงค์ที่บริ จาค แม้โจทก์ได้
กลับเข้าครอบครองใช้ประโยชน์ที่ดินพิพาทที่เป็ นสาธารณสมบัติของ
แผ่นดิ นดังกล่าวแล้วนานเพียงใด ก็ไม่ทาให้กรรมสิ ทธิ์ ตกไปเป็ นของ
โจทก์ได้อีก เพราะตามมาตรา ๑๓๐๖ บัญญัติห้ามมิให้ยกอายุความขึ้น
ต่อสู ้กบั แผ่นดินในเรื่ องทรัพย์สินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๓๖๖/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๕ น.๑๘ พ.ทาสัญญา
จะซื้ อจะขายที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ นที่ดินที่ถูกเวนคืนกับนายอาเภอภาษีเจริ ญ
และรั บ เงิ น ค่ า ทดแทนไปครบถ้ว นแล้ว โดยสั ญ ญาจะซื้ อ จะขายมี
167

ข้อความว่า พ.ผูข้ ายตกลงขายที่ดินให้แก่ผซู ้ ้ื อเพื่อจัดสร้างถนน โดยจะ


นาโฉนดไปขอรังวัดแบ่งแยกเป็ นที่ดินสาธารณะและให้ผซู ้ ้ื อมีสิทธิ เข้า
ดูแลสถานที่ได้ทนั ทีนับแต่วนั ทาสัญญา เห็ นได้ชัดเจนว่า พ. มี เจตนา
ขายที่ดินพิพาทเพื่อให้ก่อสร้างถนนสาธารณะโดยยอมให้สร้างได้ทนั ที
ที่ ดิ น พิ พ าทจึ ง ตกเป็ นสาธารณสมบั ติ ข องแผ่ น ดิ น ที่ พ ลเมื อ งใช้
ประโยชน์ร่วมกันทันทีนบั แต่วนั ทาสัญญา แม้ภายหลังจะไม่ได้มีการ
จดทะเบี ย นโอนกัน ก็ ต าม ที่ ดิ น พิ พ าทจึ ง จะโอนให้ แ ก่ ก ัน มิ ไ ด้ต าม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๕ การที่ พ. แบ่งแยกโฉนดที่ดินพิพาทออกเป็ นชื่ อ
ของ พ. แล้วมีการโอนต่อให้ อ. และ อ. นาไปขายฝากให้แก่ น. แล้ว น.
โอนให้แก่โจทก์ ผูร้ ับโอนต่อ ๆ มารวมทั้งโจทก์ก็หาได้กรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินพิพาทของ พ. ไม่
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๘๐๑๔/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๑๒๑ บิ ดา
โจทก์ท้ งั ห้า อุ ทิ ศ ที่ ดินพิ พาทให้ขุดเป็ นสระน้ า ประจาหมู่ บา้ นเพื่อให้
ชาวบ้านใช้ประโยชน์ร่วมกัน ที่ ดินพิพาทจึ งเป็ นสาธารณสมบัติของ
แผ่น ดิ น ประเภททรั พ ย์สิ น ส าหรั บ พลเมื อ งใช้ร่ ว มกัน ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๒) โดยไม่จาต้องมีหลักฐาน
เป็ นหนังสื อ เพียงแต่แสดงเจตนาอุทิศให้ก็ใช้ได้ แม้ต่อมาสระน้ าจะตื้น
เขินจนไม่ได้ใช้ประโยชน์และมีการถมสระน้ าปลูกสร้างร้านค้าชนบท
กับทาสนามเด็กเล่น ที่ดินพิพาทก็ยงั คงเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
อยูต่ ามเดิมโดยหาได้เปลี่ยนสภาพไปเป็ นอย่างอื่นไม่
คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๓๖๓๒/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๗๓ การที่
โจทก์ท้ งั สองและผูถ้ ือกรรมสิ ทธิ์ รวมแสดงเจตนายกที่ดินพิพาทอันเป็ น
168

ที่ดินเอกชนเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ให้แก่ ศาลเจ้าผูร้ ้ องสอดแล้ว แต่ยงั


ไม่ ไ ด้มี ก ารจดทะเบี ย นโอนกรรมสิ ท ธิ์ ให้ แก่ ก ัน การอุ ทิ ศ ที่ ดิ นของ
โจทก์ท้ งั สองและผูถ้ ือกรรมสิ ทธิ์ รวมจึงยังไม่มีผลให้ที่ดินพิพาทตกเป็ น
สมบัติสาหรับผูร้ ้องสอดโดยสิ ทธิ ขาด โจทก์ท้ งั สองและผูถ้ ือกรรมสิ ทธิ์
รวมยังคงเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาท การที่โจทก์ท้ งั สองและ
ผูถ้ ือกรรมสิ ทธิ์ รวมยกที่ดินพิพาทให้ผรู ้ ้องสอดเพื่อใช้เป็ นที่ต้ งั แห่ งใหม่
เพื่อเป็ นสาธารณประโยชน์ของผูร้ ้ องสอด แต่ผูร้ ้ องสอดกลับนาที่ ดิน
พิ พ าทออกให้ บุ ค คลภายนอกและจ าเลยเช่ า โดยให้ จาเลยปลู ก สร้ า ง
โรงเรื อนในที่ดินพิพาท จึงเป็ นการขัดต่อเจตนาของโจทก์ท้ งั สองและ
ผูถ้ ือกรรมสิ ทธิ์ รวม ทั้งจาเลยให้การกล่าวแก้ขอ้ พิพาทโดยอ้างสิ ทธิ การ
เช่ าจากผูร้ ้ องสอดซึ่ งไม่ใช่ เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ จาเลยจึ งไม่อาจยกสิ ทธิ
ที่เกี่ยวกับสัญญาเช่าขึ้นต่อสู ้โจทก์ท้ งั สองผูเ้ ป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ อย่าง
แท้จริ งได้ เมื่อจาเลยเข้าไปปลูกสร้างโรงเรื อนในที่ดินของโจทก์ท้ งั สอง
จึ งเป็ นการละเมิ ดสิ ทธิ ของโจทก์ท้ งั สองในฐานะเจ้าของรวมย่อมใช้
สิ ท ธิ อ ัน เกิ ด แต่ ก รรมสิ ท ธิ์ ครอบไปถึ ง ทรั พ ย์สิ น ทั้ง หมดเพื่ อ ต่ อ สู ้
บุคคลภายนอก หรื อเรี ยกร้ องเอาทรัพย์สินคืนได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๕๙ การที่ โจทก์ท้ งั สองฟ้ องขับไล่ จาเลยจึ งเป็ นการใช้สิทธิ สุจริ ต
แล้ว
ข้ อสั งเกต กำรยกที่ ดินให้ ศำลเะ้ ำในคดีนี้ ศำลฎีกำัินิะฉด ยต่ ำบกดบกำรยก
ที่ ดินให้ ัดดหรื อกำรยกให้ กดบสำธำรณวปรวโยชน์ ทด่ัไป ซึ่ บกำรยกให้ มี
ผลทดนทีแม้ ะวยดบไม่ ใช้ ปรวโยชน์ หรื อยดบไม่ ได้ ะดทวเบียนโอน
169

การยกทีด่ ินให้ เป็ นสาธารณประโยชน์ โดยปริยาย


ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๙๔/๒๕๕๕ ฎ.๔๑๙ จ าเลยที่ ๑ ยอมให้
ประชาชนใช้ทางพิพาทเป็ นถนนซอยสัญจรมากว่า ๔๐ ปี และยอมรับ
สภาพของทางพิพาทว่าเป็ นซอย อีกทั้งจาเลยที่ ๑ ไม่เคยหวงกันการใช้
ทางพิพาท จนมี ความเข้าใจว่าทางพิพาทเป็ นทางสาธารณประโยชน์
หรื อได้ย กให้เ ป็ นทางสาธารณะไปแล้ว เมื่ อ จ าเลยที่ ๑ ประสงค์จ ะ
ก่อสร้างอาคารในที่ดิน จึงตรวจพบว่าจาเลยที่ ๑ ยังมีชื่อในโฉนดที่ดิน
เป็ นเจ้าของทางพิพาท จึงได้เข้ามาหวงกันและแสดงความเป็ นเจ้าของ
ในภายหลัง จนได้มี การให้ช าวบ้านที่นาของมาขายที่ ทางพิพ าทข้าง
อาคารของจาเลยที่ ๑ ทาบันทึกถ้อยคายอมรับสิ ทธิ ของจาเลยที่ ๑ เหนือ
ที่ดินพิพาทในปี ๒๕๔๐ อันเป็ นช่ วงเวลาหลังจากได้ก่ อสร้ างอาคาร
สานักงานหลัง ใหม่แล้ว การแสดงเจตนาหวงกันที่ ดินของจาเลยที่ ๑
เป็ นเวลาหลังจากจาเลยที่ ๑ ได้ยอมให้ประชาชนใช้ทางพิพาทโดยไม่มี
การหวงกันจนจาเลยที่ ๑ เข้าใจว่าได้ดาเนินการยกให้เป็ นทางสาธารณะ
จึ ง ถื อ ได้ว่า จ าเลยที่ ๑ ได้ม อบทางพิ พ าทให้เ ป็ นทางสาธารณะโดย
ปริ ยาย การย้อนกลับมาหวงกันอ้างสิ ทธิ เหนื อทางพิพาทที่ได้กลายเป็ น
ทางสาธารณะไปโดยปริ ยายแล้วไม่มีผลแต่อย่างใด ทางพิพาทจึงเป็ น
ทางสาธารณะ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๐๖๗/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๘ น. ๑๖๑ ในขณะ
ชาวบ้านในหมู่บา้ นช่ วยกันทาทางพิพาทในปี ๒๕๓๕ จาเลยทั้งสอง
รู ้ เ ห็ น ยิ นยอม และหลัง จากท าทางพิ พ าทแล้ว จ าเลยทั้ง สองก็ ไ ด้ใ ช้
ประโยชน์ในทางพิพาทร่ วมกับชาวบ้านในหมู่บา้ นซึ่ งรวมถึงโจทก์ท้ งั สี่
170

ด้วย ในสภาพและลักษณะการใช้งาน ถือได้วา่ จาเลยทั้งสองมีเจตนายก


ทางพิพาทในส่ วนที่อยูใ่ นเขตที่ดินของจาเลยทั้งสองเป็ นทางสาธารณะ
ร่ วมกับทางพิพาทในส่ วนที่อยู่ในเขตที่ดินของ ส. แล้วโดยปริ ยาย โดย
ไม่ตอ้ งมีการทาเป็ นหนังสื อหรื อจดทะเบียนการยกให้ต่อเจ้าหน้าที่ เมื่อ
ทางพิพาทเป็ นทางสาธารณะ จาเลยทั้งสองจึงไม่มีสิทธิ ปิดกั้น
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๗๔๖๑/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๕๗ โฉนด
ที่ดินเลขที่ ๑๒๐ และ ๑๒๑ เป็ นโฉนดที่ดินที่ออกให้ต้ งั แต่รัชสมัยของ
รัชกาลที่ ๕ เมื่อปี ร.ศ.๑๒๕ โดยระบุอาณาเขตของที่ดินทั้งสองแปลง
ว่าด้านทิศใต้จดลากระโดงและตามรู ปแผนที่ในโฉนดที่ดินก็ปรากฏว่า
ด้านทิศใต้ของที่ดินเป็ นลากระโดง แสดงให้เห็นว่าลากระโดงมีมาไม่
น้อยกว่า ๑๐๐ ปี แล้ว โดยไม่ปรากฏหลักฐานว่าเป็ นลากระโดงที่มีอยู่
ตามธรรมชาติ ห รื อ มี ผูใ้ ดขุ ด ให้ เ ป็ นล ากระโดงและขุ ด ตั้ง แต่ เ มื่ อ ใด
ประชาชนในละแวกนั้นได้ใช้ลากระโดงสายนี้ เป็ นเส้นทางสัญจรไปมา
เป็ นเวลานานหลายสิ บปี แล้ว หากจะฟั งว่าลากระโดงสายนี้ เกิดจากการ
ขุดสร้างขึ้นเองของชาวบ้านทั้งสองฝั่งในที่ดินของตนเพื่อประโยชน์ใน
การใช้น้ าและการสัญจรไปมาก็ถือได้วา่ เจ้าของที่ดินแต่เดิ มได้ยกที่ดิน
ส่ วนที่เป็ นลากระโดงพิพาทให้เป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับ
พลเมื อ งใช้ ร่ ว มกั น ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๔ แล้ว โดยปริ ยาย
หาจาต้องแสดงเจตนาอุทิศให้หรื อจดทะเบียนยกให้เป็ นทางสาธารณะ
ต่ อ พนั ก งานเจ้า หน้ า ที่ แ ต่ อ ย่ า งใดไม่ เมื่ อ ฟั ง ว่ า ล ากระโดงพิ พ าท
เป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิ นสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันมาเป็ นเวลา
เนิ่ นนานก่ อนที่ โจทก์ท้ งั สองจะรั บ โอนที่ ดินโฉนดเลขที่ ๑๒๐ และ
171

๑๒๑ จากเจ้าของเดิม แม้ลากระโดงพิพาทจะอยูใ่ นเขตโฉนดที่ดินของ


โจทก์ ท้ งั สอง และโจทก์ ท้ ัง สองได้ก ลับ เข้า หวงกัน หรื อ ประชาชน
ใช้ ป ระโยชน์ จ ากล ากระโดงพิ พ าทน้ อ ยลงจากเดิ ม ก็ ไ ม่ ท าให้
ลากระโดงพิพาทหมดสภาพจากการเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิ น
กลับไปเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของเจ้าของที่ ดินที่ได้กรรมสิ ทธิ์ ในโฉนดที่ดิน
ดังกล่าวอีก โจทก์ท้ งั สองไม่มีสิทธิ ที่จะยึดถื อเอาลากระโดงพิพาทเป็ น
ของโจทก์ท้ งั สอง

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๐๕


คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๐๕๕/๒๕๕๕ ฎ.๘๓๕ พินยั กรรมฉบับที่
จาเลยใช้เป็ นหลักฐานประกอบการยื่นคาร้องขอให้ศาลมีคาสั่งตั้งจาเลย
เป็ นผูจ้ ดั การมรดกของ ม. เป็ นพินยั กรรมปลอม เมื่อ ม. ถึงแก่ความตาย
โดยไม่มีทายาทโดยธรรมหรื อผูร้ ั บพินยั กรรม ที่ดินมรดกโฉนดเลขที่
๑๖๓๓ ของ ม. จึงตกทอดแก่แผ่นดินตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๗๕๓ นับแต่
วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗ ซึ่ งเป็ นวันที่ ม. ถึ งแก่ ความตาย จึงเป็ น
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน จาเลยจดทะเบียนขายให้แก่จาเลยร่ วมที่ ๒
แม้จาเลยร่ วมที่ ๒ รับโอนมาโดยสุ จริ ตและเสี ยค่าตอบแทน จาเลยร่ วม
ที่ ๒ ก็ไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินตามมาตรา ๑๓๐๕ ทั้งจาเลยร่ วมที่ ๒ จะ
ครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินมานานเพียงใดก็ไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ และ
จะยกอายุความขึ้นต่อสู ้กระทรวงการคลังโจทก์ไม่ได้ตามมาตรา ๑๓๐๖
172

กรรมสิ ทธิ์
ข้ อ ๒๘ คาถาม นายเอกเป็ นเจ้าของที่ดินมีโฉนดซึ่ งอยู่ติดกับ
แม่น้ า ๒ แปลงติดกัน แปลงที่หนึ่ งนายเอกปลูกบ้านพักอาศัยอยู่ ส่ วน
แปลงที่สองใช้ปลูกผักสวนครัว โดยด้านหลังของที่ดินทั้งสองแปลงติด
กับที่ดินมีโฉนดแปลงที่สามของนายโท ต่อมาน้ าเซาะที่ดินของนายเอก
พังหมดโดยน้ าท่วมถึงทั้งสองแปลงตลอดเวลาจนถึ งที่ดินแปลงที่สาม
ของนายโท แต่ที่ดินแปลงที่หนึ่ งที่ ปลู กบ้านอยู่นายเอกปลู กบ้านโดย
ตอกเสาเข็มไว้อย่างดี บา้ นจึงยังคงอยู่ได้เหนื อพื้นน้ าและนายเอกยังพัก
อาศัยอยูต่ ่อไป ส่ วนที่ดินแปลงที่สองกลายเป็ นแม่น้ าไป หลังจากนั้นอีก
๓ ปี น้ าเปลี่ ยนทางเดิ นเป็ นเหตุ ให้เกิ ดที่ งอกออกไปจากที่ ดินแปลงที่
สามของนายโทจนเต็มพื้นที่ เดิ มตามโฉนดของนายเอกทั้งสองแปลง
นายเอกจึ งถมดิ นต่อจากที่ ดินแปลงที่ สองที่งอกขึ้ นมาใหม่ออกไปอี ก
๒๐๐ ตารางวาและเข้าไปปลูกผักสวนครัวเป็ นเวลา ๒ ปี
ให้วินิจฉัยว่า ที่ ดินแปลงที่ หนึ่ ง แปลงที่สอง และที่ ดิน ๒๐๐
ตารางวา ที่ถมออกไป เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของนายเอกหรื อนายโทหรื อไม่
ข้ อ ๒๘ คาตอบ แม้นายเอกเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินมีโฉนด
แต่ เมื่อ วัตถุ แห่ งสิ ทธิ คือที่ดิ นแปลงที่สองสู ญสิ้ นไปเพราะถู กน้าเซาะ
ที่ดินแปลงที่สองกลายเป็ นแม่ น้าไป กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินแปลงที่สองของ
นายเอกจึงหมดสิ้ นไป และกลายเป็ นส่ วนหนึ่งของแม่ น้า ดังนั้น ต่อมา
เมื่ อเกิ ดที่ ง อกออกไปจากที่ ดินของนายโทจนเต็ม ตามโฉนดเดิ มของ
ที่ดินแปลงที่สอง การจะได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่งอกต้องเป็ นไปตามกฎหมาย
ว่าด้วยการได้กรรมสิ ทธิ์ ที่ดินที่งอกออกมาจากที่ดินแปลงที่สองนั้น แม้
173

จะเคยเป็ นส่ วนหนึ่งของที่ดินตามโฉนดของนายเอก แต่ เมื่องอกออกมา


จากที่ดิ น ของนายโทจึ ง เป็ นทรั พ ย์ สิ น ของนายโทเจ้ า ของที่ ดิ น ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๘ (คาพิพากษาฎีกาที่
๖๙๖/๒๔๙๘)
ส่ วนที่ดินที่นายเอกถมออกไปจากที่ดินที่งอกออกไปอีก ๒๐๐
ตารางวานั้น ทีง่ อกริมตลิง่ ซึ่งจะเป็ นกรรมสิ ทธิ์ของเจ้ าของที่ดินที่เกิดที่
งอกตามมาตรา ๑๓๐๘ จะต้ องเป็ นที่งอกที่เกิดจากการเปลี่ยนทิศทาง
ของน้าตามธรรมชาติ ไม่ ใช่ งอกจากการถมโดยบุคคล ที่ดินที่นายเอก
ถมออกมา ๒๐๐ ตารางวา จึ ง มิ ใ ช่ ที่ง อกริ ม ตลิ่ง (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่
๙๒๔/๒๕๐๑) แต่ เป็ นสาธารณสมบัติของแผ่ นดิน ตามมาตรา ๑๓๐๔
ทีด่ ิน ๒๐๐ ตารางวาจึงไม่ เป็ นกรรมสิ ทธิ์ของนายเอกและนายโท
สาหรับที่ดินแปลงที่หนึ่ งของนายเอกนั้น นายเอกเป็ นเจ้าของ
กรรมสิ ทธิ์ โดยปลูกบ้านพักอาศัยอยู่ แม้ต่อมาน้ าเซาะที่ดินแปลงที่หนึ่ง
พังหมดโดยน้ าท่วมถึงตลอดเวลาจนถึงที่ดินแปลงที่สามของนายโท แต่
ที่ดินแปลงที่หนึ่ งยังคงมีบา้ นอยูเ่ หนื อพื้นน้ าและนายเอกยังพักอาศัยอยู่
ต่อไป ถือว่านายเอกยังคงสงวนสิ ทธิแห่ งความเป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ใน
ที่ดินพิพาท โดยยังพักอาศั ยอยู่ต่อไป มิได้ ปล่ อยทิง้ ให้ เป็ นที่ชายตลิ่งที่
ประชาชนทั่วไปจะเข้ ามาใช้ ประโยชน์ ร่วมกันได้ ดังนั้น ที่ดินแปลงที่
สองจึ ง มิ ใ ช่ ทางน้ า หรื อ มิ ใ ช่ ที่ ช ายตลิ่ ง อั น เป็ นสาธารณสมบั ติ ข อง
แผ่ นดินตามมาตรา ๑๓๐๔ (๒) ที่ดินแปลงที่หนึ่งจึงยังเป็ นกรรมสิ ทธิ์
ของนายเอก (เทียบคาพิพากษาฎีกาที่ ๒๗๔๔/๒๕๔๖)
ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนีน้ ดกศึกษำต้ อบะดบปรวเด็นให้ ได้ ก่อนั่ ำคัรตอบ
174

๑. ที่ดินแปลบที่สอบที่บอกขึน้ มำใหม่ เป็ นขอบใคร


๒. ที่ดินที่ถมออกมำอีก ๒๐๐ ตำรำบัำ เป็ นขอบใคร
๓. ที่ดินแปลบที่หนึ่บที่บอกขึน้ มำใหม่ เป็ นขอบใคร
ที่ผ้ แู ต่ บะดดลำดดบปรวเด็นตำมนีเ้ พรำวต้ อบกำรัินิะฉด ยหลดกเรื่ อบ
ัดตถุแห่ บสิ ทธิ สูญหำยถูกทำลำยไป ทรด พยสิ ทธิ (กรรมสิ ทธิ์ ) ย่ อมสู ญสิ ้น
ไป แล้ ัะึบะวมำัินิะฉดยข้ อที่ไม่ สูญสิ ้นไป
หำกที่ ดินที่ เกิ ดที่ บ อกมิ ใช่ ที่ดินมี โฉนด แต่ เป็ นที่ ดินที่ มีเพี ย บ
สิ ทธิ ครอบครอบ เช่ น ที่ ดินมี ส.ค.๑ น.ส. ๓ หรื อ น.ส. ๓ ก. เมื่อเกิ ดที่
บอก ที่ บ อกก็มี เพี ย บสิ ท ธิ ค รอบครอบ โดยะวไม่ มี กรรมสิ ท ธิ์ ขอให้ ดู
คำถำมข้ อต่ อไป
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๒๗๔๔/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๔ น.๑๔๖ จาเลย
ปลูกบ้านในที่ดินพิพาทที่เช่าจากโจทก์ ต่อมาที่ดินพิพาทใต้อาคารบ้าน
ที่ จาเลยปลู ก สร้ า งถู ก น้ า กัดเซาะเป็ นเหตุ ใ ห้ตลิ่ ง พัง ทลายลงสู่ แม่ น้ า
ที่ดินพิ พาทกลายสภาพเป็ นที่ ชายตลิ่ ง โดยที่ จาเลยยัง คงท าสัญญาเช่ า
ที่ดินพิพาทกับโจทก์ตลอดมา ซึ่ งโจทก์ก็ยงั คงสงวนสิ ทธิ แห่ งความเป็ น
เจ้าของที่ดินพิพาท โดยเก็บเกี่ยวผลประโยชน์เป็ นค่าเช่าที่ดินพิพาทอยู่
มิได้ปล่อยทิ้งให้เป็ นที่ชายตลิ่งที่ประชาชนทัว่ ไปจะเข้ามาใช้ประโยชน์
ร่ วมกันได้ ดังนั้น ที่ดินพิพาทจึงมิใช่ ที่ชายตลิ่ งอันเป็ นสาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๔ (๒) เมื่อสัญญาเช่าที่ดินพิพาท
สิ้ นสุ ดลงและล่วงเลยเวลาที่โจทก์ผอ่ นผันให้จาเลยอยูใ่ นที่ดินพิพาทได้
จาเลยจึ ง ไม่ มีสิท ธิ ที่ จะอยู่ในที่ ดินพิพ าทของโจทก์อีก ต่อไป โจทก์มี
สิ ทธิฟ้องขับไล่จาเลยได้
175

ข้ อ ๒๙ ค าถาม นายแสงมี ที่ ดิ น มี ห นั ง สื อรั บ รองการท า


ประโยชน์ อ ยู่ติ ด กับ แม่ น้ า เนื้ อ ที่ ๒ ไร่ ต่ อมาที่ ดิน เกิ ดที่ ง อกริ ม ตลิ่ ง
ออกไปจากที่ ดินดังกล่ าว ๑๐๐ ตารางวา นายแสงปลูกบ้านบนที่ดินที่
งอกนี้ และให้ น างสี พ กั อาศัย อยู่ ที่ บ ้า นและที่ ดิ น บนที่ ง อกดัง กล่ า ว
หลังจากนั้นอีก ๓ เดือน นายแสงทะเลาะกับนางสี นายแสงไล่ให้นางสี
ออกจากบ้า นและที่ ดินดังกล่ า ว แต่นางสี ไม่ย อมออกอ้างว่าบ้า นและ
ที่ดินนั้นเป็ นของตน ต่อมาอีก ๑ ปี ๖ เดือน นายแสงฟ้ องขับไล่นางสี
ให้วินิจฉัยว่า นายแสงหรื อนางสี มีสิทธิ ในบ้านและที่ดิน ๑๐๐
ตารางวาที่พิพาทดีกว่ากัน
ข้ อ ๒๙ คาตอบ นายแสงเป็ นเจ้าของที่ดินอยูต่ ิดกับแม่น้ า ต่อมา
ที่ดินเกิดที่งอกริ มตลิ่งออกไปจากที่ดินดังกล่าว ๑๐๐ ตารางวา นายแสง
เจ้ าของทีด่ ินจึงเป็ นเจ้ าของที่งอกริมตลิ่งดังกล่ าวตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๘ แต่เมื่อที่ดินที่เกิ ดที่งอกริ มตลิ่งมีเพียง
หนังสื อรั บ รองการทาประโยชน์ซ่ ึ ง นายแสงมี เพี ย งสิ ทธิ ครอบครอง
เท่านั้น ดังนั้น นายแสงจึงเป็ นเจ้ าของที่มีแต่ เพียงสิ ทธิครอบครองในที่
งอกริ ม ตลิ่ ง นั้ น เช่ นเดี ย วกั บ ที่ ดิ น เดิ ม ของตน โดยนายแสงไม่ ไ ด้
กรรมสิ ทธิ์ในทีง่ อก
การที่ นายแสงให้นางสี พกั อาศัยอยู่ที่บา้ นและที่ดินบนที่งอก
ถือว่ านางสี ยึดถือทรั พย์ สินอยู่ในฐานะเป็ นผู้แทนผู้ครอบครอง การที่
นายแสงไล่ ให้นางสี ออกจากบ้านและที่ ดินดังกล่ าว แต่นางสี ไม่ยอม
ออกอ้า งว่ า บ้า นและที่ ดิ น นั้น เป็ นของตน เป็ นกรณี ที่ น างสี เ ปลี่ ย น
ลักษณะแห่ งการยึดถือด้ วยการบอกกล่ าวไปยังผู้ครอบครองว่ าไม่ เจตนา
176

จะยึ ด ถื อ ทรั พ ย์ สิ นแทนผู้ ค รอบครองต่ อ ไปตามมาตรา ๑๓๘๑ ต้ อ ง


ถือว่านางสี แย่งการครอบครองทีด่ ินจากนายแสงแล้ว
ที่ดินที่เป็ นที่งอก ๑๐๐ ตารางวาดังกล่ าวนายแสงมี เพียงสิ ทธิ
ครอบครองดังที่วินิจฉัยมาแล้ว เมื่อนายแสงผู้ครอบครองที่ดินถูกแย่ ง
การครอบครองโดยมิชอบด้ วยกฎหมาย นายแสงมีสิทธิจะได้ คืนซึ่งการ
ครอบครองทีด่ ินโดยต้ องฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครองภายในปี
หนึ่งนับแต่ เวลาถูกแย่ งการครอบครองที่ดินตามมาตรา ๑๓๗๕ การที่
นายแสงฟ้ องขับไล่นางสี หลังจากถูกแย่งการครอบครอง ๑ ปี ๖ เดือน
นายแสงจึงหมดสิ ทธิฟ้องเรียกคืนทีด่ ิน ๑๐๐ ตารางวาทีพ่ พิ าทแล้ว
บ้ านเป็ นส่ วนซึ่ งโดยสภาพแห่ งทรั พย์ และโดยจารี ตประเพณี
แห่ งท้ องถิ่นเป็ นสาระสาคัญในความเป็ นอยู่ของทรั พย์ น้ ัน และไม่ อาจ
แยกจากกันได้ นอกจากจะทาลาย ทาให้ บุบสลายหรื อทาให้ ทรั พย์ น้ ั น
เปลี่ยนแปลงรู ปทรงหรื อสภาพไป บ้ านจึงเป็ นส่ วนควบของที่ดิน เมื่อ
นายแสงหมดสิ ท ธิ ฟ้ องเอาคื นซึ่ ง การครอบครองที่ ดินอันเป็ นทรั พ ย์
ประธานแล้ว บ้ า นซึ่ งเป็ นส่ ว นควบ จึงตกเป็ นของนางสี ไปด้ วยตาม
มาตรา ๑๔๔ วรรคสอง นายแสงจึ ง หมดสิ ท ธิ ฟ้ องเรี ย กคื น เช่ นกั น
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๙/๒๕๑๔)
นางสี จึงมีสิทธิในบ้ านและที่ดิน ๑๐๐ ตารางวาที่พิพาทดีกว่ า
นายแสง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๙/๒๕๑๔ ก่ อนตาย ส. ทาพินัย กรรมยก
ที่ดินเรื อนและห้องแถวนั้นให้จาเลยกับบุตร จาเลยร้องขอเป็ นผูจ้ ดั การ
มรดกของ ส. ไม่มีผใู ้ ดคัดค้าน จาเลยก็ครอบครองทรัพย์สินเหล่านั้นมา
177

โดยถือว่าเป็ นทรัพย์ที่จาเลยรับมรดกจาก ส. และขอหนังสื อรับรองการ


ทาประโยชน์ใ นที่ ดิ นดัง กล่ า ว ดัง นี้ จะถื อ ว่า จ าเลยครอบครองแทน
โจทก์ดว้ ยหาได้ไม่ เมื่อจาเลยครอบครองมาเป็ นเวลาถึ ง ๕ ปี กว่าแล้ว
โจทก์ย่อมหมดสิ ท ธิ ฟ้ องเอาคื นซึ่ งการครอบครองที่ ดิน นั้นและเมื่ อ
โจทก์หมดสิ ทธิ ฟ้องเอาคืนซึ่ งการครอบครองที่ดินพิพาทอันเป็ นทรัพย์
ประธานเสี ย แล้ว เรื อนกับห้องแถวหากปลู กอยู่ในที่ ดินนั้นตลอดจน
ค่าเช่ าห้องแถวอันเป็ นทรัพย์ส่วนควบและดอกผลของที่ดิน จึงตกเป็ น
ของจาเลยไปด้วย โจทก์ยอ่ มหมดสิ ทธิ ฟ้องเรี ยกคืนเช่นกัน

ข้ อ ๓๐ คาถาม นายหนึ่งเป็ นเจ้าของเก้าอี้นวดไฟฟ้ าเครื่ องหนึ่ง


เมื่อเก้าอี้นวดไฟฟ้ าดังกล่าวเสี ย นายหนึ่งจึงลากเก้าอี้นวดไฟฟ้ าดังกล่าว
ไปทิ้งที่จุดทิ้งขยะของหมู่บา้ น นายสองซึ่ งเป็ นช่างไฟฟ้ าเก็บเก้าอี้นวด
ไฟฟ้ าดังกล่าวมา และตรวจพบว่ามอเตอร์ ของเก้าอี้นวดไฟฟ้ าเสี ย นาย
สองนามอเตอร์ ของนายสามมาใส่ เก้าอี้นวดไฟฟ้ าจนสามารถใช้งานได้
นายสองจึงขายเก้าอี้นวดไฟฟ้ าดังกล่าวให้แก่นายสี่ ราคา ๑๐,๐๐๐ บาท
ต่อมานายหนึ่ งและนายสามทราบเรื่ อง นายหนึ่ งและนายสามจึงเรี ยก
เก้าอี้นวดไฟฟ้ าและมอเตอร์ คืนจากนายสี่
ให้วินิจฉัยว่า นายหนึ่ ง นายสาม และนายสี่ ใครมีสิทธิ ในเก้าอี้
นวดไฟฟ้ าและมอเตอร์ ดีกว่ากัน
ข้ อ ๓๐ คาตอบ นายหนึ่ งลากเก้าอี้นวดไฟฟ้ าไปทิ้งที่จุดทิ้งขยะ
ของหมู่บา้ น เป็ นกรณีที่เจ้ าของสั งหาริ มทรั พย์ เลิกครอบครองทรั พย์
ด้ วยเจตนาสละกรรมสิ ทธิ์ เก้ าอีน้ วดไฟฟ้าจึงเป็ นสั งหาริมทรัพย์ ซึ่งไม่
178

มีเจ้ าของ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา๑๓๑๙ นาย


หนึ่งจึงไม่ มีกรรมสิ ทธิ์ในเก้าอีน้ วดไฟฟ้ าแล้ว
การที่ นายสองเก็บเก้าอี้ นวดไฟฟ้ าดังกล่ าวมา นายสองจึงได้
กรรมสิ ทธิ์แห่ งสั งหาริ มทรั พย์ อันไม่ มีเจ้ าของโดยเข้ าถือเอาตามมาตรา
๑๓๑๘ นายสองจึงเป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์เก้าอีน้ วดไฟฟ้ า
การที่ นายสองนามอเตอร์ ข องนายสามมาใส่ เก้า อี้ นวดไฟฟ้ า
ดังกล่ า วจนสามารถใช้ง านได้ เป็ นการเอาสั งหาริ มทรั พ ย์ ของบุ คคล
หลายคนมารวมเข้ ากันจนเป็ นส่ วนควบและแบ่ งแยกไม่ ได้ เก้ าอี้นวด
ไฟฟ้าถือได้ ว่าเป็ นทรั พย์ ประธาน นายสองเจ้ าของทรั พย์ ประธานจึง
เป็ นเจ้ าของทรั พย์ ที่รวมเข้ ากันแต่ ผ้ ูเดียว แต่ ต้องใช้ ค่าแห่ งทรั พย์ อื่น ๆ
ให้ แก่เจ้ าของทรัพย์น้ ัน ๆ ตามมาตรา ๑๓๑๖
เมื่อนายสองเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ เก้าอี้นวดไฟฟ้ าซึ่ งมีมอเตอร์
รวมอยูด่ ว้ ยดังที่วนิ ิจฉัยมาแล้ว นายสองซึ่งเป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ย่อมมี
สิ ทธิจาหน่ ายเก้ าอีน้ วดไฟฟ้าพร้ อมมอเตอร์ ดังกล่ าวให้ แก่ นายสี่ ได้ ตาม
มาตรา ๑๓๓๖ แม้ นายสองต้ องใช้ ค่าแห่ งมอเตอร์ ให้ แก่ นายสามเจ้ าของ
มอเตอร์ ตามมาตรา ๑๓๑๖ ก็เป็ นเรื่ องที่นายสามต้ องไปเรี ยกร้ องจาก
นายสองตามกฎหมายลักษณะหนี้เอาเอง ไม่ อาจมาเรี ยกร้ องจากนายสี่
ได้ นายสี่ จึงได้ กรรมสิ ทธิ์ในเก้าอีน้ วดไฟฟ้ าพร้ อมมอเตอร์ ดังกล่าวอย่ าง
สมบูรณ์
ข้ อสั งเกต ข้ อเท็ะะริ บะำกคำถำมบำบส่ ัน เช่ น นำยสอบเป็ นช่ ำบไฟฟ้ ำ
ไม่ ใช่ ข้อเท็ะะริ บที่ ต้อบนำมำปรด บเข้ ำกดบข้ อกฎหมำย นดกศึ กษำไม่ ต้อบ
ตอบมำั่ ำนำยสอบมีอำชี พอวไร แลวกำรที่ นำยสอบเอำมอเตอร์ ขอบนำย
179

สำมมำใส่ เก้ ำอีน้ ัดไฟฟ้ ำ นดกศึกษำไม่ ต้อบตอบั่ ำเป็ นกำรลดกทรด พย์ ขอบ
นำยสำม เพรำวไม่ เป็ นปรวเด็นที่ะวต้ อบตอบ
คำถำมข้ อนีห้ ำกเปลี่ยนข้ อเท็ะะริ บเป็ นั่ ำ นำยหนึ่บนำเก้ ำอี ้นัด
ไฟฟ้ ำไปให้ นำยสอบซ่ อมที่ ร้ำนรด บ ซ่ อมเก้ ำ อี ้นัดไฟฟ้ ำ นำยสอบเอำ
มอเตอร์ ขอบนำยสำมมำใส่ แล้ ัขำยเก้ ำ อี ้นัดไฟฟ้ ำให้ นำยสี่ ผละว
เปลี่ ย นไปเป็ นั่ ำ นำยหนึ่ บ เป็ นเะ้ ำ ขอบเก้ ำ อี ้น ัดไฟฟ้ ำแลวมอเตอร์
เพรำวเป็ นเะ้ ำขอบทรด พย์ ปรวธำน แต่ ต้อบใช้ ค่ำมอเตอร์ แก่ นำยสำม แม้่
นำยสี่ ซื้อเก้ ำอี ้นัดไฟฟ้ ำะำกนำยสอบโดยสุ ะริ ต ร้ ำนค้ ำขอบนำยสอบ
เป็ นเพียบร้ ำนรด บซ่ อมเก้ ำอีน้ ัดไฟฟ้ ำ นำยสอบไม่ ใช่ พ่อค้ ำขำยเก้ ำอี น้ ัด
ไฟฟ้ ำ ะึ บไม่ ใช่ กำรซื ้อทรด พย์ ะำกพ่ อค้ ำที่ ขำยขอบชนิ ดนด้น นำยสี่ ไม่ ได้
รด บ คัำมคุ้ มครอบตำมมำตรำ ๑๓๓๒ แลวนำยสี่ ก็ ไ ม่ ไ ด้ รด บคัำม
คุ้มครอบตำมมำตรำ ๑๓๐๓ ด้ ัย เพรำวนำยสอบรด บเก้ ำอี น้ ัดไฟฟ้ ำะำก
นำยหนึ่บไั้ ซ่อม แม้ ะวได้ ปรวโยชน์ ะำกค่ ำซ่ อม แต่ กเ็ ป็ นปรวโยชน์ ตำม
สด ญญำรด บะ้ ำบซ่ อม ไม่ ได้ ปรวโยชน์ ะำกกำรใช้ ทรด พย์ นำยสอบเพี ยบแต่
ยึดถือทรด พย์ ไั้ แทนนำยหนึ่ บโดยนำยสอบไม่ ได้ ยึดถือเพื่อตน นำยสอบ
ะึ บไม่ มีสิทธิ ครอบครอบเก้ ำอี ้นัดไฟฟ้ ำ เมื่อไม่ มีสิทธิ ครอบครอบแล้ ั
เอำไป ก็เป็ นคัำมผิดฐำนลดกทรด พย์ เก้ ำอี น้ ัดไฟฟ้ ำะึ บเป็ นทรด พย์ ที่นำย
สอบได้ มำโดยกำรกรวทำคัำมผิด นำยสี่ ะึบไม่ ได้ รดบคัำมคุ้มครอบตำม
มำตรำ ๑๓๐๓ ด้ ัย
ขอให้ นดกศึ ก ษำลอบคิ ดั่ ำข้ อเท็ะะริ บตำมคำถำม หำกเปลี่ ย น
ข้ อเท็ะะริ บไปบ้ ำบ แล้ ัผละวเปลี่ ยนไปอย่ ำบไร นดกศึ กษำะวได้ คำถำม
แลวคำตอบลอบทำเพิ่มขึน้
180

ข้ อ ๓๑ ค าถาม เมื่ อ วัน ที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๐ นายด าเข้า


ครอบครองที่ดิน ๒ แปลง แปลงแรกเป็ นที่ดินมือเปล่าของนายแดงซึ่ ง
ละทิ้งเพื่อย้ายไปอยู่จงั หวัดอื่ นกับภรรยาเมื่ อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐
และแปลงหลังเป็ นที่ดินมีโฉนดของนายขาวซึ่ งละทิ้งเพื่อย้ายไปอยูก่ บั
บุตรที่จงั หวัดอื่นเมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ เช่นเดียวกัน ที่ดินทั้งสอง
แปลงดังกล่ า วที่ นายดาครอบครองมี ต้นมะม่วงขึ้ นอยู่ใ นที่ ดิน ต่อมา
วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๐ นายแดงและนายขาวกลับมาดูที่ดินเห็นนาย
ดาครอบครองที่ดินที่ตนเคยครอบครองมีผลมะม่วงมากมาย นายแดง
และนายขาวจึงเข้าไปเก็บผลมะม่วงในที่ดินที่ตนเคยครอบครอง นายดา
มาเห็นจึงบอกให้นายแดงและนายขาวคืนมะม่วงให้แก่นายดา นายแดง
และนายขาวไม่ยอม
ให้วนิ ิจฉัยว่า ใครมีสิทธิ ในผลมะม่วงที่เก็บมาจากที่ดินทั้งสอง
แปลงดีกว่ากัน
ข้ อ ๓๑ ค าตอบ การที่ นายแดงละทิ้ ง ที่ ดิ นแปลงแรกซึ่ ง เป็ น
ที่ดินมือเปล่าเมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ เป็ นกรณีที่ผ้ ูครอบครองสละ
เจตนาครอบครองหรื อไม่ ยึดถือทรั พย์ สินต่ อไปตามประมวลกฎหมาย
แพ่ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๗๗ วรรคหนึ่ ง นายแดงย่ อมหมดสิ ทธิ
ครอบครองในทีด่ ินแปลงแรกทันที
ต่อมาเมื่อวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๐ นายดาเข้าครอบครองที่ดิน
แปลงแรก ต้ องถือว่ านายดาเข้ ายึดถือทรัพย์ สินโดยเจตนาจะยึดถือเพื่อ
ตน นายด าจึ ง ได้ สิ ท ธิ ค รอบครองที่ ดิ น แปลงแรกทั น ที ต ามมาตรา
๑๓๖๗ แม้ค รอบครองมาเพี ย ง ๖ เดื อ น แต่ ต้อ งถื อว่า นายด ามี สิ ท ธิ
181

ครอบครองตั้งแต่เข้ายึดถือทรัพย์สินดังที่วินิจฉัยมาแล้ว เมื่อนายดาเป็ น
ผู้มีสิทธิ ครอบครองที่ดินอย่ างเป็ นเจ้ าของซึ่ งเป็ นทรั พย์ ประธานและ
เป็ นเจ้ า ของต้ น มะม่ ว งซึ่ ง เป็ นไม้ ยืน ต้ น ที่เ ป็ นส่ วนควบตามมาตรา
๑๔๔, ๑๔๕ นายดาย่ อมมีสิทธิได้ ดอกผลจากต้ นมะม่ วงตามมาตรา
๑๓๓๖ ผลมะม่ วงที่เก็บออกมาแล้ ว ย่ อมเป็ นดอกผลธรรมดาของต้ น
มะม่ วงตามมาตรา ๑๔๘ วรรคสอง นายดาจึงมีสิทธิในผลมะม่ วงจาก
ทีด่ ินแปลงแรกดีกว่านายแดง (๕ คะแนน)
นายขาวเป็ นเจ้าของที่ดินมีโฉนด นายขาวมีกรรมสิ ทธิ์ในที่ดิน
จะสิ้ นกรรมสิ ทธิ์ไปต่ อเมื่อโอนหรื อบุคคลอื่นได้ กรรมสิ ทธิ์ไปโดยการ
ครอบครองปรปั กษ์ ตามมาตรา ๑๓๘๒ แม้ จะเลิกครอบครองที่ดินก็ไม่
ทาให้ กรรมสิ ทธิ์ของนายขาวหมดไป เมื่อนายดาครอบครองที่ดินแปลง
หลังเพียง ๖ เดือนหลังจากนายขาวละทิ้งไป นายดายังไม่ ได้ กรรมสิ ทธิ์
โดยการครอบครองปรปั ก ษ์ ตามมาตรา ๑๓๘๒ นายด ายั ง ไม่ มี
กรรมสิ ท ธิ์ แม้ จ ะครอบครองก็มี เ พีย งสิ ท ธิ ค รอบครองตามมาตรา
๑๓๖๗ ซึ่ งไม่ อาจใช้ ต่อสู้ เจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ซึ่งเป็ นสิ ทธิที่ดีกว่ าได้ ตาม
มาตรา ๑๓๗๕ เมื่อนายขาวยังเป็ นเจ้ าของที่ดินแปลงหลัง นายขาวจึง
ยังเป็ นเจ้ าของต้ นมะม่ วงซึ่ งเป็ นส่ วนควบของที่ดิน ตามมาตรา ๑๔๔,
๑๔๕ และนายขาวเป็ นเจ้ าของย่ อมเป็ นผู้มีสิทธิได้ รับดอกผล แม้ นายดา
จะอ้ างว่ าผู้มีสิทธิครอบครองมีสิทธิได้ รับดอกผลในกรณีสุจริ ต แต่ นาย
ขาวเก็บ ผลมะม่ ว งของตนโดยชอบแล้ ว นายด าจึ งไม่ ใช่ ผ้ ู สุ จริ ต ที่จ ะ
ได้ รับดอกผล นายขาวจึงมีสิทธิในผลมะม่ วงจากที่ดินแปลงหลังดีกว่ า
นายดา (๕ คะแนน)
182

ตัวอย่ างคาตอบที่ ๑ กรณี ที่ดินแปลงแรกของนายแดงซึ่ งเป็ น


ที่ดินมือเปล่า เมื่อนายแดงละทิ้งที่ดินเพื่อย้ายไปอยู่จงั หวัดอื่นจึงถื อว่า
นายแดงสละเจตนาครอบครองแล้ว (ไม่ ไ ด้ ต อบว่ า สิ ทธิ ค รอบครอง
สิ้นสุ ดลงทันที) เมื่อนายดาเข้าครอบครองโดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตน จึง
ได้ซ่ ึ ง สิ ท ธิ ค รอบครองทันที ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์
มาตรา ๑๓๖๗ เมื่อในที่ดินมีตน้ มะม่วง (ไม่ ได้ ตอบว่าเป็ นไม้ ยนื ต้ น) ต้น
มะม่วงจึงเป็ นส่ วนควบกับที่ดิน เมื่อนายดาได้สิทธิ ครอบครองแล้วจึงมี
สิ ท ธิ ที่ จ ะได้ต้น มะม่ ว งดัง กล่ า วด้ว ย เมื่ อ มะม่ ว งออกผล ผลมะม่ ว ง
จึงเป็ นดอกผลธรรมดาที่เจ้าของที่ดินมีสิทธิจะได้รับ นายดาจึงมีสิทธิ ใน
มะม่วงดีกว่านายแดงแม้นายดาจะครอบครองที่ดินยังไม่ถึงหนึ่งปี ก็ตาม
กรณี ที่ดินแปลงที่สองซึ่งเป็ นที่ดินมีโฉนด แม้นายขาวจะละทิ้ง
ที่ดินไปแล้วก็ตาม แต่กรรมสิ ทธิ์ ยงั เป็ นของนายขาวอยู่ (ไม่ ได้ ตอบว่ าจะ
สิ้ นสิ ทธิได้ ด้วยการโอนหรื อถูกครอบครองปรปั กษ์ ) ต้นมะม่วงซึ่ งเป็ น
ส่ ว นควบของที่ ดิ น จึ ง เป็ นของนายขาวเจ้า ของที่ ดิ น ด้ว ยรวมทั้ง ผล
มะม่วงซึ่ งเป็ นดอกผลด้วย เมื่อนายดายังครอบครองที่ดินไม่ครบสิ บปี
จึ ง ไม่ ไ ด้ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น ดัง กล่ า ว เมื่ อ นายขาวเป็ นเจ้า ของที่ ดิ น
รวมทั้งผลมะม่วงดังกล่าวแล้วจึงมีสิทธิ ติดตามเอาคืนผลมะม่วงจากนาย
ดาได้เพราะตนมีสิทธิ ดีกว่าตามมาตรา ๑๓๓๖
สรุ ป ผลมะม่วงในที่ดินแปลงแรกนายดามีสิทธิ ดีกว่านายแดง
ส่ วนแปลงที่สองนายขาวมีสิทธิ ดีกว่านายดา (ให้ รวม ๗ คะแนน)
ตัว อย่ า งค าตอบที่ ๒ นายดาครอบครองที่ ดินแปลงแรกเป็ น
ที่ดินมือเปล่าของนายแดง ซึ่ งละทิ้งเพื่อย้ายไปอยูจ่ งั หวัดอื่นเมื่อวันที่ ๑
183

มกราคม ๒๕๕๐ แสดงว่านายแดงผูค้ รอบครองที่ดินเดิมได้สละเจตนา


ครอบครองที่ ดิน การครอบครองที่ ดินย่อมสิ้ นสุ ด ลง (ไม่ ไ ด้ ต อบว่ า
สิ้ นสุ ดทันที) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๗๗
เมื่อนายดาได้เข้าครอบครองที่ดินแปลงนี้ นายดาจึงมีสิทธิ ครอบครอง
โดยเจตนายึดถือเพื่อตน นายดาจึงได้สิทธิครอบครองตามมาตรา ๑๓๖๗
(ลาดับในการตอบยังไม่ ค่อยดี ควรตอบว่ า เข้ ายึดถือ โดยมีเจตนายึดถือ
เพือ่ ตน จึงได้ สิทธิครอบครอง)
ต้นมะม่วงเป็ นไม้ยืนต้น จึงเป็ นส่ วนควบกับที่ ดินตามมาตรา
๑๔๕ เมื่อนายดาเป็ นผูม้ ีสิทธิ ครอบครองในที่ดิน นายดาจึงเป็ นเจ้าของ
ต้นมะม่วง และเมื่อมะม่วงออกผลผลมะม่วงซึ่ งถือเป็ นดอกผล (ควรใช้
ค าว่ า ดอกผลธรรมดา) ของต้ น มะม่ ว ง ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่ เ กิ ด ขึ้ นตาม
ธรรมชาติของมะม่วงตามมาตรา ๑๔๘ นายดาจึงเป็ นเจ้าของผลมะม่วง
เพราะผลมะม่ ว งออกผลในระหว่ า งที่ น ายด าเป็ นเจ้า ของ คื อ เดื อ น
มิถุนายน (มะม่ วงออกผลเมื่อไหร่ คงไม่ เป็ นประเด็น ไม่ ควรตอบ แต่ ไม่
ผิด จึ งไม่ ตัด คะแนน การตอบข้ อสอบควรตอบเฉพาะสิ่ งที่ต้องตอบ
เท่ า นั้ น ) ซึ่ งออกผลหลัง จากที่ นายแดงผูค้ รอบครองเดิ ม สละเจตนา
ครอบครองแล้ว นายแดงจึงต้องคืนผลมะม่วงให้นายดา ดังนั้น นายดา
จึงมีสิทธิ ในผลมะม่วง ดีกว่านายแดง
ส่ วนที่ ดินมี โฉนดของนายขาวซึ่ งละทิ้งเพื่อย้ายไปอยู่กบั บุตร
เมื่อวันที่ ๑ ม.ค. ๕๐ และนายดาเข้าครอบครองที่ดินมีโฉนดถือว่าเป็ น
ที่ดินมี กรรมสิ ทธิ์ การครอบครองเพื่อให้ได้กรรมสิ ทธิ์ จึ งต้องเป็ นไป
ตาม ม. (มาตรา) ๑๓๘๒ เมื่อนายดาครอบครองที่ดินนายขาว ยังไม่ครบ
184

๑๐ ปี กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินจึงเป็ นของนายขาว เมื่อนายขาวเป็ นเจ้าของ


ที่ดิน ต้นมะม่วงซึ่ งเป็ นไม้ยืนต้นและเป็ นส่ วนควบกับที่ดิน จึงเป็ นของ
นายขาว และเมื่อต้นมะม่วงมีผล ผลมะม่วงซึ่ งเป็ นดอกผล (ธรรมดา)
ของต้นมะม่วง จึงเป็ นของนายขาว ถึ งแม้ว่าดาจะครอบครองที่ดินใน
ระหว่างที่มะม่วงออกผล ก็ไม่ทาให้นายดาได้กรรมสิ ทธิ์ ในผลมะม่วง
นายขาวซึ่ งเป็ นเจ้าของที่ ดินมีสิทธิ ใช้สอย และจาหน่ ายทรัพย์สินของ
ตนและได้ซ่ ึ งดอกผลแห่ งทรัพย์สินนั้น กับทั้งมีสิทธิ ติดตามและเอาคืน
ซึ่ งทรั พ ย์สิ น ของตนจากนายด าผู ้ไ ม่ มี สิ ท ธิ จ ะยึ ด ถื อ ไว้ต ามมาตรา
๑๓๓๖ นายขาวจึงไม่ตอ้ งคืนมะม่วงให้นายดา ดังนั้น นายขาวมีสิทธิ ใน
ผลมะม่วงดีกว่านายดา (ให้ รวม ๘ คะแนน)
ตัวอย่ างคาตอบที่ ๓ เมื่อวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๐ นายดาเข้า
ครอบครองที่ดิน ๒ แปลง แปลงแรกเป็ นที่ดินมือเปล่าของนายแดงซึ่ ง
ละทิ้ ง เพื่อย้ายไปอยู่จงั หวัดอื่ นกับ ภรรยา (จะย้ า ยด้ ว ยเหตุ ผลใดก็ไ ม่
จาเป็ นต้ องมีในคาตอบ แต่ ถ้าไปเยี่ยมภรรยา ต้ องมีในคาตอบ เพราะจะ
เป็ นเรื่ อ งมี เ หตุ ขั ด ข้ องชั่ ว คราว) เมื่ อ วัน ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐
ข้อเท็จจริ งปรากฏว่านายแดงได้ละทิ้งที่ดินมือเปล่าของตนไป เพื่อย้าย
ไปอยูจ่ งั หวัดอื่นกับภรรยา ต้องถือว่านายแดงได้สละเจตนาครอบครอง
ที่ดินดังกล่าวแล้ว สิ ทธิ ครอบครองในที่ดินของนายแดงนั้นย่อมหมดไป
(ทันที) เมื่ อนายดาเข้ามาครอบครองแทน จึงถื อได้ว่า นายดาได้ยึดถื อ
ที่ดินแปลงนี้ โดยเจตนายึดถื อเพื่อตน นายดาจึงได้สิทธิ ครอบครองใน
ที่ดินแปลงแรกนี้ และเมื่อเป็ นที่ดินมือเปล่า สิ ทธิ ในที่ดินนี้ ของนายแดง
แม้จะไม่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของนายดา แต่ก็ไม่มีบุคคลใดมีสิทธิ ในที่ดิน
185

แปลงนี้เหนือกว่านายดาไปได้
ที่ดินแปลงหลังเป็ นที่ดินมีโฉนดของนายขาวซึ่ งละทิ้งเพื่อย้าย
ไปอยู่ก ับ บุ ต รที่ จงั หวัดอื่ น เมื่ อ วัน ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ ข้อ เท็จจริ ง
ปรากฏว่า ที่ดินแปลงหลังนี้ นายขาวเป็ นเจ้าของซึ่ งถือกรรมสิ ทธิ์ อยู่ แต่
แม้เป็ นผูถ้ ือกรรมสิ ทธิ์ เมื่อนายขาวได้ละทิ้งที่ดินเพื่อย้ายไปอยูก่ บั บุตร
ที่ จงั หวัดอื่ น จึ งต้องถื อว่า นายขาวได้ส ละเจตนาครอบครองในที่ ดิน
แปลงหลังนี้ สิ ทธิ ครอบครองของนายขาวในที่ดินแปลงหลังนี้ ยอ่ มหมด
ไป เมื่อนายดาเข้ามาครอบครองแทน จึงถื อได้ว่านายดาได้ยึดถื อที่ดิน
แปลงนี้ โดยเจตนายึดถือเพื่อตน นายดาจึงได้สิทธิ ครอบครองในที่ดิน
แปลงหลังนี้
แต่เมื่ อเป็ นที่ ดินที่ มี กรรมสิ ทธ์ โดยนายขาวเป็ นเจ้าของผูถ้ ื อ
กรรมสิ ทธิ์ อยู่ ทั้งนายดาพึ่งเข้าครอบครองเพียง ๒ วัน นับจากนายขาว
ย้ายออกไป จนนายขาวกลับมา แม้นายดาจะเข้าครอบครองที่ดิน โดย
สงบและเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ แต่นายดาย่อมไม่ได้กรรมสิ ทธิ์
จากการครอบครองปรปั ก ษ์ เพราะกฎหมายก าหนดให้ บุ ค คลต้อ ง
ครอบครองทรัพย์สินของผูอ้ ื่นไว้โดยความสงบและเปิ ดเผยด้วยเจตนา
เป็ นเจ้าของสิ บปี สาหรับอสังหาริ มทรัพย์จึงจะได้กรรมสิ ทธิ์ กรรมสิ ทธิ์
ในที่ดินจึงยังเป็ นของนายขาว นายขาวมีสิทธิที่จะติดตามเอาคืนซึ่ งที่ดิน
แปลงนี้ของตนได้ นายขาวจึงย่อมมีสิทธิ ในที่ดินดีกว่านายดา
ที่ ดินทั้ง สองแปลงดัง กล่ า วที่ นายดาครอบครองมี ตน้ มะม่ วง
ขึ้นอยู่ในที่ดิน เมื่ อต้นมะม่วงเป็ นไม้ยืนต้น ทั้งติดอยู่กบั ที่ ดินเป็ นการ
ถาวร ต้นมะม่วงจึงเป็ นส่ วนควบของที่ดิน ผูม้ ีสิทธิ ในที่ดินย่อมมีสิทธิ
186

ในต้นมะม่วง และย่อมมีสิทธิ ในอันที่ จะนาดอกผลของต้นมะม่วงซึ่ ง


เป็ นดอกผลธรรมดาไปใช้สอย
เมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๐ นายแดงและนายขาวกลับมาดู
ที่ ดิ น เห็ น นายด าครอบครองที่ ดิ น ที่ ต นเคยครอบครองมี ผ ลมะม่ ว ง
มากมาย นายแดงและนายขาวจึงเข้าไปเก็บผลมะม่วงในที่ดินที่ตนเคย
ครอบครอง จึงเป็ นกรณี ที่นายแดงเข้าไปเก็บผลมะม่วงในที่ดินซึ่ งนาย
ดามีสิทธิ ครอบครอบอยูด่ งั ได้วินิจฉัยมาแล้ว ทั้งนายแดงไม่สามารถมี
สิ ทธิ ใด ๆ มาอ้างเหนื อที่ดินแปลงเดิ มอีก เพราะเป็ นที่ดินมือเปล่า นาย
แดงมิ ได้มีกรรมสิ ทธิ์ อี กกรณี เป็ นการที่ นายขาวเข้าเก็บผลมะม่วงใน
ที่ ดิ น ที่ ต นเองมี ก รรมสิ ท ธิ์ มิ ใ ช่ ที่ ดิ น ของนายด า แม้น ายด ามี สิ ท ธิ
ครอบครองในที่ ดิ น ของนายขาวแล้ว แต่ ย่อ มใช้ ต่ อ สู ้ น ายขาวซึ่ งมี
กรรมสิ ทธิ์ อนั เป็ นสิ ทธิ ซ่ ึ งดีกว่าสิ ทธิ ครอบครองไม่ได้
เมื่อนายดามาเห็นจึงบอกให้นายแดงและนายขาวคืนมะม่วงไว้
ให้น ายดา นายขาวผูเ้ ป็ นเจ้า ของกรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ นแปลงหลัง ย่อ ม
สามารถอ้างสิ ทธิ ความเป็ นเจ้าของในการที่จะติดตามเอาที่ดิน (ไม่ ได้
ถามเรื่ อ งที่ดิ น ไม่ ค วรตอบ แต่ ต อบมาไม่ ไ ด้ ตัด คะแนน) รวมทั้ง ต้น
มะม่ ว ง ซึ่ งเป็ นส่ ว นควบของที่ ดิ น และผลมะม่ ว งซึ่ งเป็ นดอกผล
ธรรมดาของต้นมะม่วงนั้นได้ นายดาจึ งไม่มีสิทธิ ในที่ ดิน ต้นมะม่วง
และผลมะม่วงดีไปกว่านายขาว
ส่ วนกรณี นายแดงนั้น นายดาผูม้ ีสิทธิ ครอบครองในที่ดินย่อมมี
สิ ทธิ ในที่ดิน ต้นมะม่วง และดอกผลดี กว่านายแดงผูซ้ ่ ึ งไม่มีสิทธิ ใด ๆ
ในที่ดินนี้ดงั ได้วนิ ิจฉัยมาแล้ว
187

นายขาวมีสิทธิ ในผลมะม่วงที่เก็บจากที่ดินแปลงหลังดีกว่านาย
ดา
นายดามีสิทธิ ในผลมะม่วงที่เก็บมาจากที่ดินแปลงแรกดีกว่า
นายแดง (ลาดับในการตอบวกวนไม่ เป็ นลาดับเท่าทีค่ วร ให้ ๗ คะแนน)
ตัวอย่า งค าตอบที่ ๔ ในกรณี ข องที่ ดินแปลงแรกที่ เป็ นที่ ดิน
ของนายแดงนั้ นเป็ นที่ ดิ น มื อ เปล่ า จึ ง มี แ ต่ สิ ทธิ ค รอบครองหามี
กรรมสิ ทธิ์ ไม่ เมื่อนายแดงได้สละเจตนาครอบครองที่ดินดังกล่าวย้าย
ไปอยู่ที่อื่น สิ ทธิ ครอบครองที่ดินมือเปล่ าจึงหมดลง (ทันที) ตามหลัก
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๗๗ วรรคหนึ่ง เมื่อนาย
ดาเข้ามายึดถือที่ดินแปลงนี้ เพื่อตนนายดาจึงมีสิทธิ ครอบครองในที่ดิน
มือเปล่าแปลงนี้ตามหลักกฎหมายมาตรา ๑๓๖๗
เมื่ อต้นมะม่วง (เป็ นไม้ ยืนต้ น) ถื อว่า เป็ นส่ วนควบของที่ ดิน
ตามหลักกฎหมายมาตรา ๑๔๕ นายดาจึงเป็ นเจ้าของต้นมะม่วงด้วย ผล
มะม่วงซึ่ งถือเป็ นดอกผลธรรมดาของต้นมะม่วงจึงย่อมเป็ นของนายดา
ด้วย เมื่ อนายแดงมาเก็บเอาไป นายดาจึ งมี สิทธิ ติดตามเอาคื นได้ตาม
มาตรา ๑๓๓๖
ในกรณี ที่ดินแปลงที่สองซึ่ งเป็ นที่ดินของนายขาวเป็ นที่ดินมี
โฉนดจึงเป็ นที่ดินซึ่ งมีกรรมสิ ทธิ์ ได้ แม้ต่อมานายขาวจะย้ายไปอยูท่ ี่อื่น
แต่วา่ กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินยังเป็ นของนายขาวอยู่ (ไม่ ได้ ตอบว่ ากรรมสิ ทธิ์
จะหมดไปด้ วยการโอนหรื อสิ้ นสิ ทธิโดยถูกครอบครองปรปั กษ์ ) ถึงแม้
นายด าจะเข้า ครอบครองที่ ดิ นแปลงนี้ แ ต่ ย งั ไม่ ส ามารถอ้า งอายุก าร
ครอบครองปรปั กษ์ตามมาตรา ๑๓๘๒ ขึ้นยันนายขาวได้ เนื่ องจากยัง
188

ไม่ครบกาหนดอายุการครอบครองปรปั กษ์ ๑๐ ปี และนายดาจะอ้างว่า


ตนมี สิ ท ธิ ค รอบครองที่ ดินตามมาตรา ๑๓๖๗ ขึ้ น ยันนายขาวไม่ ไ ด้
เช่ นกัน เพราะนายขาวเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินแปลงนี้ เมื่อที่ดิน
เป็ นกรรมสิ ท ธิ์ ของนายขาวต้นมะม่ วงที่ เป็ นส่ วนควบของที่ ดินตาม
มาตรา ๑๔๕ ก็ย่อมเป็ นของนายขาวด้วย เมื่อนายดาเก็บเอาผลมะม่วง
ไปโดยไม่มีสิทธิ นายขาวจึงมีสิทธิ ติดตามเอาคืนจากนายดาได้ (ที่ถูกคือ
นายขาวเก็บผลมะม่ วง)
สรุ ป นายดามีสิทธิ ในผลมะม่วงดีกว่านายแดง
นายขาวมีสิทธิ ในผลมะม่วงดีกว่านายดา (ให้ ๗ คะแนน)
ตัวอย่ างคาตอบที่ ๕ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์มาตรา
๑๔๕ วรรคหนึ่ง ไม้ยนื ต้นเป็ นส่ วนควบกับที่ดินที่ไม้น้ นั ขึ้นอยู่
กรณี ที่ดินมือเปล่า การที่นายแดงละทิ้งที่ดินแปลงดังกล่าวย้าย
ไปอยูก่ บั ภรรยา เมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ ถือได้วา่ นายแดงมีเจตนา
สละการครอบครองไม่ยึดถื อที่ดินแปลงดังกล่าว การครอบครองของ
นายแดงย่อมสุ ดสิ้ นลง (ทันที) ตามมาตรา ๑๓๗๗ วรรคหนึ่ ง เมื่อวันที่
๓ มกราคม ๒๕๕๐ นายดาเข้าครอบครองที่ดินแปลงดังกล่าวถื อได้ว่า
นายด ายึด ถื อ ทรั พ ย์สิ น โดยมี เ จตนายึด ถื อ เพื่ อ ตนนายด าได้ซ่ ึ งสิ ท ธิ
ครอบครองในที่ดินตามมาตรา ๑๓๖๗
ที่ดินแปลงดังกล่าวมีตน้ มะม่วงขึ้นอยู่ ต้นมะม่วงถือเป็ นไม้ยืน
ต้น ย่อมเป็ นส่ วนควบกับ ที่ ดิ นมื อ เปล่ า ตามมาตรา ๑๔๕ วรรคหนึ่ ง
ดังนั้น นายดาย่อมมี สิทธิ ครอบครองในต้นมะม่วงด้วย ต่อมาวันที่ ๓
มิ ย . ๒๕๕๐ นายแดงกลับ มาดู ที่ ดินที่ ตนเคยครอบครองพฤติ ก ารณ์
189

ดังกล่าวถือไม่ได้วา่ เป็ นการกลับเข้าครอบครองที่ดินแต่อย่างใด เมื่อต้น


มะม่วงเป็ นส่ วนควบกับที่ดินที่นายแดงสละการครอบครอง ผลมะม่วง
ซึ่ งเป็ นดอกผลธรรมดาของต้นมะม่วงตามมาตรา ๑๔๘ ย่อมเป็ นส่ วน
ควบกับที่ดินมือเปล่าด้วย (ผลมะม่ วงหากยังไม่ ได้ เก็บ ยังเป็ นส่ วนควบ
เพราะเป็ นส่ วนประกอบของต้ นมะม่ วง จะถือเอาดอกผลแยกจากทรัพย์
ประธานเมื่ อ เก็ บ ออกมาจากต้ นแล้ ว ) เมื่ อ นายแดงได้ ส ละการ
ครอบครองโดยเจตนาแล้วนายแดงย่อมไม่มีสิทธิ ในที่ดินตลอดถึ งผล
มะม่วงด้วย แม้นายแดงกลับมาดูที่ดินดังกล่าวเมื่อวันที่ ๓ มิย. ๒๕๕๐
ซึ่ ง เป็ นระยะเวลาไม่ เกิ น ๑ ปี ก็ ต ามกรณี ดัง กล่ า วไม่ อยู่ภายใต้บ งั คับ
มาตรา ๑๓๗๕ เพราะไม่ใช่เรื่ องการแย่งการครอบครองแต่อย่างใด เมื่อ
นายดาเป็ นผูม้ ีสิทธิ ครอบครองในที่ดินตลอดถึงต้นมะม่วง นายดาย่อมมี
สิ ทธิ ในผลมะม่วงซึ่ งเป็ นดอกผลธรรมดานั้นด้วย นายดามีสิทธิ ในผล
มะม่วงดีกว่านายแดง
ส่ วนที่ ดินมี โฉนด นายขาวเป็ นผูม้ ี กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินแม้นาย
ขาวละทิ้งย้ายไปอยูก่ บั บุตรนายขาวยังเป็ นผูม้ ีกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินนั้นอยู่
(ต้ องตอบว่ า การสิ้ นกรรมสิ ทธิ์ต้องโอนไปหรื อถูกครอบครองปรปั กษ์
เมื่อไม่ มีเหตุ ดังกล่ าวนายขาวก็ยังมีกรรมสิ ทธิ์ในที่ดิน) ต้นมะม่วงซึ่ ง
เป็ น (ไม้ ยืนต้ น ย่ อมเป็ น) ส่ วนควบของที่ ดินย่อมเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ
นายขาวด้วยตามมาตรา ๑๔๔ ประกอบมาตรา ๑๔๕ ผลมะม่วงซึ่ งเป็ น
ดอกผลธรรมดาย่อมเป็ นส่ วนควบกับที่ดินเช่ นกัน (การตอบว่ าดอกผล
เป็ นส่ วนควบหรื อไม่ ไม่ จาเป็ นต้ องตอบ เพราะถ้ าตอบต้ องตอบอีกว่ า
เมื่อเก็บออกมาเป็ นการเข้ าถือเอาแยกจากทรัพย์ ประธาน) นายขาวย่อม
190

มีกรรมสิ ทธิ์ ในผลมะม่วงและมีสิทธิ ที่จะได้ซ่ ึ งดอกผลแห่ งทรั พย์สิน


นั้นตามมาตรา ๑๓๓๖ เมื่ อนายดาครอบครองที่ดินมี โฉนดยังไม่ครบ
๑๐ ปี นายดายังไม่ ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินตลอดจนต้นมะม่ วงและผล
มะม่วงตามมาตรา ๑๓๘๒ และมาตรา ๑๔๕ นายขาวจึงมีสิทธิ ในผล
มะม่วงดีกว่านายดา
ด้วยเหตุ ผลดังกล่ าวข้างต้น ที่ดินมื อเปล่ านายดามี สิทธิ ในผล
มะม่ วงดี กว่า นายแดง ส่ วนที่ ดินมี โฉนดนายขาวมี สิท ธิ ในผลมะม่วง
ดีกว่านายดา (ให้ ๘ คะแนน)

ข้ อ ๓๒ คาถาม นาย ก. เช่ าที่ดินของนาย ข. ปลูกต้นสัก โดย


นาย ก. รดน้ าและดูแลต้นสักตลอดมา เมื่อต้นสักโตได้ขนาดตัดขายได้
ต้นละ ๑๐,๐๐๐ บาท นาย ข. แอบเข้าไปตัดต้นสักที่นาย ก. ปลูกจานวน
๒ ต้น โดยนาย ข. เลื่ อยไม้สักต้นแรกเป็ นไม้สักแปรรู ป ๑๐ แผ่นซึ่ งมี
ราคา ๑๕,๐๐๐ บาท และนาย ข. ได้นาไม้สักต้นที่สองมาแกะสลักเป็ น
เทวรู ปไม้สักที่ สวยงามมาก แล้วขายเทวรู ปไม้สักให้แก่ นาย ค. ราคา
๑๐๐,๐๐๐ บาท โดยนาย ค. ทราบว่าเทวรู ปดังกล่าวนาย ข. ใช้ไม้สักที่
นาย ก. เป็ นผูป้ ลูกโดยอาศัยสิ ทธิ ตามสัญญาเช่าแล้วนาย ข. แอบตัดมา
ให้วนิ ิจฉัยว่า ใครมีสิทธิ ในไม้สักแปรรู ปและเทวรู ปไม้สัก
ดีกว่ากัน
ข้ อ ๓๒ คาตอบ การที่นาย ก. เช่ าที่ดินของนาย ข. ปลูกต้นสัก
แม้ ต้นสั กจะเป็ นไม้ ยืนต้ น แต่ เป็ นทรั พย์ ซึ่งติดกับที่ดินซึ่ งนาย ก. ผู้มี
191

สิ ทธิในที่ดินตามสั ญญาเช่ าใช้ สิทธิ ปลูกไว้ ไม่ ถือว่ าเป็ นส่ วนควบของ
ทีด่ ินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๔๖ ต้ นสั กจึงเป็ น
กรรมสิ ท ธิ์ ข องนาย ก. ผู้ เช่ าที่ ดิ น (เที ย บค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๗๑๙๓/
๒๕๔๗) ไม่ ใช่ ของนาย ข. เจ้ าของทีด่ ิน
การที่นาย ข. เลื่ อยไม้สักต้นแรกเป็ นไม้สักแปรรู ป ๑๐ แผ่น
เป็ นการใช้ ไม้ สักซึ่งเป็ นสั มภาระของบุคคลอืน่ ทาไม้ สักแปรรู ป ๑๐ แผ่ น
ขึน้ ใหม่ นาย ก. เจ้ าของไม้ สักซึ่ งเป็ นสั มภาระเป็ นเจ้ าของไม้ สักแปรรู ป
๑๐ แผ่นทีท่ าขึน้ ใหม่ โดยมิต้องคานึงว่ าสั มภาระนั้นจะกลับคืนตามเดิม
ได้ หรือไม่ แต่ ต้องใช้ ค่าแรงงานตามมาตรา ๑๓๑๗ วรรคหนึ่ง เมื่อราคา
ไม้สักต้นละ ๑๐,๐๐๐ บาท ราคาไม้สักแปรรู ป ๑๐ แผ่นราคา ๑๕,๐๐๐
บาท ราคาแรงงานไม่ เกินกว่ าสั มภาระที่ใช้ มาก นาย ก. จึงเป็ นเจ้ าของ
กรรมสิ ทธิ์ไม้ สักแปรรู ป ๑๐ แผ่ น โดยต้ องชาระค่ าแรงงานให้ แก่ นาย ข.
จานวน ๕,๐๐๐ บาท
การที่นาย ข. ได้นาไม้สักต้นที่สองมาแกะสลักเป็ นเทวรู ปไม้
สักราคา ๑๐๐,๐๐๐ บาท เป็ นการใช้ สัมภาระของบุคคลอื่นทาสิ่ งใดขึ้น
ใหม่ โดยค่ าแรงงานเกินกว่ าสั มภาระทีใ่ ช้ น้ ันมาก ผู้ทาเป็ นเจ้ าของทรั พย์
ที่ทาขึน้ แต่ ต้องใช้ ค่าสั มภาระตามมาตรา ๑๓๑๗ วรรคสอง นาย ข. จึง
เป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์เทวรู ปไม้ สัก แต่ นาย ข. ต้ องใช้ ค่าไม้ สักให้ แก่ นาย
ก. ๑๐,๐๐๐ บาท เมื่อนาย ข. เป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์เทวรู ปไม้ สัก นาย ข.
จึงมีสิทธิจาหน่ ายทรัพย์ ของตนได้ ตามมาตรา ๑๓๓๖ แม้นาย ค. ทราบ
ว่าเทวรู ปดังกล่าวนาย ข. ใช้ไม้สักที่ นาย ก. เป็ นผูป้ ลู กโดยอาศัยสิ ทธิ
ตามสัญญาเช่ า แล้วนาย ข. แอบตัดมา แต่ นาย ค. ซื้อเทวรู ปไม้ สักจาก
192

นาย ข. ซึ่ ง เป็ นเจ้ า ของกรรมสิ ท ธิ์ ก็ ไ ม่ ต้ อ งพิ จ ารณาหลั ก คุ้ ม ครอง
บุคคลภายนอกผู้สุจริ ตและเสี ยค่ าตอบแทน นาย ค. ย่ อมได้ กรรมสิ ทธิ์
เมื่อได้ ทาสั ญญาซื้อขายกันตามมาตรา ๔๕๘
ข้ อสั งเกต หำกเพิ่มข้ อเท็ะะริ บั่ ำ ข. เป็ นพ่ อค้ ำขำยไม้ แปรรู ป ขำยไม้ สดก
แปรรู ปให้ แก่ บ. แม้ บ. ะวซื ้อะำก ข. ที่ ไม่ ใช่ เะ้ ำขอบทรด พย์ แต่ ถ้ำซื ้อะำก
พ่ อค้ ำที่ขำยขอบชนิดนด้นโดยสุะริ ต บ. ะวได้ รดบคัำมคุ้มครอบตำมมำตรำ
๑๓๓๒
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๑๙๓/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๙๖ การที่ผถู้ ือ
ประทานบัตรเหมืองแร่ ปลูกต้นยางพาราลงในที่ดินซึ่ งอยู่ในเขตเหมือง
แร่ ซ่ ึ งเป็ นป่ าสงวนแห่ งชาติ เป็ นการใช้สิทธิ ในฐานะผูถ้ ือประทานบัตร
ตาม พ.ร.บ. เหมืองแร่ ฯ มาตรา ๗๓ ไม่ทาให้ตน้ ยางพาราที่ปลูกไว้เป็ น
ส่ ว นควบของที่ ดิ น ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๖ ยางพารายัง คงเป็ น
ทรัพย์สินของโจทก์ผถู ้ ื อประทานบัตร การที่จาเลยกรี ดเอาน้ ายางพารา
จากต้นยางพาราของโจทก์ไปจึงเป็ นความผิดฐานลักทรัพย์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๒๙๙/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๙ น.๑๗๘ เมื่อที่ดิน
พิพ าทอยู่ในเขตที่ ดินจาเลย ต้นมะม่ วงและต้นยูค าลิ ปตัส ซึ่ ง เป็ นไม้
ยืนต้นที่ ปลู กอยู่ในที่ ดินพิพาทย่อมเป็ นส่ วนควบของที่ ดินจาเลยตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๕ และคู ค ลองในที่ ดิ น พิ พ าทก็ เ ป็ นทรั พ ย์อ ัน
ประกอบเป็ นอันเดี ยวกับที่ดินจาเลยตามมาตรา ๑๓๙ การที่โจทก์ฟ้อง
อ้างว่าจาเลยตัดฟันต้นไม้ที่โจทก์ปลูกและถมคูคลองที่โจทก์ขุดในที่ดิน
พิพาทดังกล่าว จึงไม่เป็ นการละเมิดต่อโจทก์
193

ข้ อ ๓๓ คาถาม นายหนึ่ งสร้ างบ้านบนที่ดินมีโฉนดของนาย


สองโดยอาศัยสิ ทธิ ตามสัญญาเช่าที่ดินเป็ นเวลา ๑๐ ปี ซึ่ งนายหนึ่งยอม
ให้บา้ นตกเป็ นของนายสองทันทีเมื่อครบกาหนดตามสัญญาเช่าและรับ
ว่าจะไม่ร้ื อถอนบ้านออกไปจากที่ดินที่เช่ าโดยไม่มีเงื่ อนไขอย่างใด ๆ
เมื่ อครบก าหนดตามสัญญาเช่ า นายสองไม่ ยอมให้นายหนึ่ งเช่ าที่ ดิน
ต่อไปและได้บอกกล่าวแก่นายหนึ่งก่อนแล้ว นายสองขายที่ดินดังกล่าว
ให้แก่นายสามโดยจดทะเบียนโอนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว แต่มิได้
ระบุ เรื่ องบ้านไว้ในสัญญา นายสามแจ้งให้นายหนึ่ งออกจากบ้าน ให้
วินิจฉัยว่า
ก. นายหนึ่งหรื อนายสามมีกรรมสิ ทธิ์ ในบ้านพิพาท
ข. นายหนึ่ ง มี สิ ท ธิ เ รี ย กเงิ นค่ า ก่ อสร้ า งบ้า นคื นจากนายสอง
หรื อไม่
ข้ อ ๓๓ คาตอบ นายหนึ่ งสร้ างบ้านบนที่ดินมีโฉนดของนาย
สองโดยอาศัยสิ ทธิตามสัญญาเช่าที่ดิน นายหนึ่งเป็ นผู้มีสิทธิตามสั ญญา
เช่ าที่ดินได้ สร้ างไว้ บ้ านไม่ เป็ นส่ วนควบของที่ดิน บ้ านจึงไม่ ตกเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ของนายสองเจ้ าของที่ดิน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิ ชย์ มาตรา ๑๔๖
ตามสัญญาเช่ านายหนึ่ งยอมให้บา้ นตกเป็ นของนายสองทันที
เมื่อครบกาหนดตามสัญญาเช่าและรับว่าจะไม่ร้ื อถอนบ้านออกไปจาก
ที่ดินที่เช่ าโดยไม่มีเงื่ อนไขอย่างใด ๆ บ้ านที่นายหนึ่งสร้ างไว้ ย่อมตก
เป็ นส่ วนควบของที่ดินของนายสองเมื่อครบกาหนดตามสั ญญาโดยไม่
ต้ องทาเป็ นหนังสื อจดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ นายสองจึงเป็ น
194

เจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ในบ้ านที่นายหนึ่งปลูกไว้ เมื่อครบกาหนดตามสั ญญา


(คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๑๑-๑๗๑๒/๒๕๔๖)
นายสองขายที่ดินดังกล่าวให้แก่นายสามโดยจดทะเบียนโอน
ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว แม้จะไม่ได้ระบุถึงการขายบ้านในสัญญา แต่
บ้ านทีป่ ลูกอยู่บนทีด่ ินในลักษณะตรึงตราถาวรนับได้ ว่าเป็ นส่ วนซึ่ งโดย
สภาพเป็ นสาระสาคัญในความเป็ นอยู่ของทรั พย์ น้ ั น และไม่ อาจแยก
จากกั น ได้ นอกจากจะท าลาย ท าให้ บุ บ สลาย หรื อ ท าให้ ท รั พ ย์ น้ ั น
เปลี่ยนแปลงรู ปทรงหรื อสภาพไป บ้ านจึงเป็ นส่ วนควบของที่ดิน นาย
สามผู้ซื้อที่ดินย่ อมมีกรรมสิ ทธิ์ ในบ้ านซึ่ งเป็ นส่ วนควบนั้ นด้ วย ตาม
มาตรา ๑๔๔ (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๘๐๒/๒๕๔๔) นายสามซึ่ ง เป็ น
เจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ จึงมีสิทธิในบ้ านดีกว่านายหนึ่ง
ข. ตามสั ญญาเช่ า นายหนึ่ ง ยอมให้บ ้า นตกเป็ นของนายสอง
ทันทีเมื่อครบกาหนดตามสัญญาเช่ าและรับที่จะไม่ร้ื อถอนบ้านออกไป
จากที่ดินที่เช่ าโดยไม่มีเงื่ อนไขอย่างใด ๆ ดังนั้น เมื่อครบกาหนดตาม
สัญญาเช่า นายสองไม่ยอมให้นายหนึ่ งเช่าที่ดินต่อไปและได้บอกกล่าว
แก่นายหนึ่ งก่อนแล้ว เมื่อสั ญญาเช่ าที่ดินไม่ มีข้อตกลงให้ นายสองผู้ให้
เช่ าต้ องใช้ ราคาบ้ านที่ปลูกสร้ างบนที่ดินให้ แก่ นายหนึ่งผู้เช่ า นายหนึ่ง
จึงไม่ อาจเรี ยกร้ องให้ นายสองใช้ ราคาบ้ านที่ปลูกสร้ างบนที่ดินดังกล่ าว
ได้ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๑๑-๑๗๑๒/๒๕๔๖)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๑๑-๑๗๑๒/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๖ แม้
การที่จาเลยที่ ๑ ปลูกสร้างอาคารตึกแถว ตลาดสด ถนนและลานจอดรถ
ลงบนที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๙๒๒ ของโจทก์โดยอาศัยสิ ทธิ ตามสัญญาเช่า
195

ที่ดินและโดยความยินยอมของโจทก์ สิ่ งปลูกสร้างเหล่านี้ จะไม่ถือเป็ น


ส่ วนควบของที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๙๒๒ ไม่ตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของโจทก์
แต่ตามข้อความในสัญญาเช่า จาเลยผูเ้ ช่าที่ดินได้แสดงเจตนาสละสิ ทธิ
ของตน โดยยอมรั บที่จะไม่ร้ื อถอนสิ่ งปลู กสร้ างเหล่านั้นออกไปจาก
ที่ดินที่เช่ าโดยไม่มีเงื่ อนไขอย่างใด ๆ ดังนั้น เมื่อโจทก์ไม่ประสงค์จะ
ให้จาเลยที่ ๑ เช่ า ที่ ดิ นต่ อไปและได้บ อกกล่ า วแก่ จาเลยทั้ง สองแล้ว
จาเลยที่ ๑ จึ ง ไม่ มี สิ ท ธิ ค รอบครองใช้ป ระโยชน์ ใ นที่ ดิ น ของโจทก์
ต่อไป ไม่อาจถื อได้ว่าโจทก์ใช้สิทธิ โดยไม่สุจริ ต อาคารตึกแถว ตลาด
ถนนและลานจอดรถที่จาเลยที่ ๑ ได้ปลูกสร้างไว้ย่อมตกเป็ นส่ วนควบ
ของที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๙๒๒ หลังจากสัญญาเช่าสิ้ นสุ ดลง และตกเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ ของโจทก์ซ่ ึ งเป็ นเจ้าของที่ดินดังกล่าว เมื่อสัญญาเช่าที่ดินไม่
มีขอ้ ตกลงให้โจทก์ผใู ้ ห้เช่าต้องใช้ราคาหรื อค่าทดแทนสิ่ งปลูกสร้างบน
ที่ดินให้แก่จาเลยที่ ๑ ผูเ้ ช่า ในกรณี ที่จาเลยที่ ๑ ไม่อาจรื้ อถอนสิ่ งปลูก
สร้างบนที่ดินออกไปได้ จาเลยที่ ๑ จึงไม่อาจเรี ยกร้องให้โจทก์ใช้ราคา
หรื อค่าทดแทนสิ่ งปลูกสร้างบนที่ดินของโจทก์ให้แก่จาเลยที่ ๑ ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๐๒/๒๕๔๔ ฎ.๔๔๒ บ้านที่ ป ลู กอยู่บ น
ที่ ดิ น ในลัก ษณะตรึ ง ตราถาวรนับ ได้ว่า เป็ นส่ ว นซึ่ งโดยสภาพเป็ น
สาระสาคัญในความเป็ นอยู่ของทรั พย์น้ นั และไม่อาจแยกจากกันได้
นอกจากจะทาลาย ทาให้บุ บสลาย หรื อทาให้ทรั พย์น้ ันเปลี่ ยนแปลง
รู ปทรงหรื อสภาพไป บ้านจึ ง เป็ นส่ วนควบของที่ ดินผูซ้ ้ื อที่ ดินย่อมมี
กรรมสิ ทธิ์ ในบ้านซึ่ งเป็ นส่ วนควบนั้นด้วย ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๔๔
196

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๐๘


คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๕๓๗/๒๕๕๕ ฎ.๕๖๙ ที่ดินพิ พาทเป็ น
ที่ดินอยู่ถนนฝั่ งตรงข้ามกับหลักเขตที่ ๕๙๗๕๕ และ ๘๐๑๖ ซึ่ งเป็ น
คลองมิใช่เป็ นที่งอกมาติดต่อเป็ นแปลงเดียวกับที่ดินเดิมโดยไม่มีอะไร
คัน่ ที่ดินพิพาทจึงไม่เป็ นที่งอกริ มตลิ่ งของที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๖๙๓๕
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๘ แต่เป็ นที่ชายตลิ่ง
อัน เป็ นสาธารณสมบัติ ข องแผ่นดิ นตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และ
พาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๒) จึงเป็ นที่ดินของรัฐ
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๗๗๙/๒๕๕๕ ฎ.๖๔๗ จ าเลยที่ ๑ เป็ น
เจ้าของที่ดินโฉนดเลขที่ ๘๘๙๕ ต่อมามี การก่อสร้ างท่าเทียบเรื อและ
เขื่อนหิ นยื่นไปในทะเลและอยู่ใกล้กบั พื้นที่พิพาท ทาให้มีผลกระทบ
กับ การเคลื่ อ นย้า ยของตะกอนทรายชายฝั่ ง ทะเลท าให้ ส ะสมตัว ใน
บริ เวณที่ดินพิพาทกลายเป็ นหาดสันทรายซึ่งมีดินถมปิ ดทับบนทรายจน
กลายเป็ นพื้นดิน แม้จะมีส่วนมาจากท่าเทียบเรื อและเขื่อนหิ นที่มีผูอ้ ื่น
สร้ างขึ้น แต่จาเลยที่ ๑ ไม่มีส่วนเกี่ ยวข้องกับการสร้างท่าเทียบเรื อและ
เขื่อนหิ น การสะสมตัวของตะกอนเกิดขึ้นเองจากกระแสน้ าทะเล มิได้เกิ ด
จากฝี มื อมนุ ษย์และก่ อให้เกิ ดที่ ดินงอกต่อไปจากที่ ดินของจาเลยที่ ๑
ที่ดินพิพาทจึงเป็ นที่งอกจากที่ดินมีโฉนดของจาเลยที่ ๑ ไม่ใช่สาธารณ
สมบัติ ข องแผ่น ดิ น จ าเลยที่ ๑ ย่อมเป็ นเจ้า ของที่ ง อกตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๘
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๘๙/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๒๖ ที่งอกริ ม
ตลิ่ ง หมายถึ ง ที่ ดินที่ ง อกไปจากตลิ่ งตามธรรมชาติ ซ่ ึ ง เกิ ดจากการที่
197

สายน้ าพัดพาดินจากที่อื่นมาทับถมกันริ มตลิ่งจนเกิดที่งอกขึ้น มิใช่งอก


จากที่ อื่นเข้ามาหาตลิ่ ง ลักษณะของที่ดินพิพาทซึ่ งอยู่ต่ ากว่าที่ดินของ
จาเลยร่ วม ๓ ถึง ๕ เมตร ไม่มีลกั ษณะเป็ นที่งอกซึ่ งเกิดจากการที่สายน้ า
พัดพาดิ น จากที่ อื่ นมาทับ ถมกันริ ม ตลิ่ ง จนเป็ นที่ ง อก ที่ ดิน พิ พ าทจึ ง
ไม่ใช่ ที่งอกออกไปจากริ มตลิ่ งของที่ ดินจาเลยร่ วมตามธรรมชาติ แต่
เป็ นท้องทางน้ าที่ต้ืนเขินเพราะกระแสน้ าในแม่น้ าเปลี่ยนทางเดิน และ
ยังฟังได้วา่ ที่ดินพิพาทซึ่ งอยูต่ ิดแม่น้ าในฤดูน้ าปี ปกติน้ ายังท่วมถึงทุกปี
จึงเป็ นที่ชายตลิ่ งซึ่ งเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินประเภททรัพย์สิน
พลเมื อ งใช้ ร่ ว มกัน ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๔ (๒) แม้จ าเลยจะ
ครอบครองใช้ป ระโยชน์ ใ นที่ ดิ นพิ พ าทซึ่ งเป็ นสาธารณสมบัติ ข อง
แผ่นดิ นสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน แต่จะอ้างสิ ทธิ ดงั กล่าวขึ้นยันโจทก์
ซึ่ งเป็ นเจ้าหน้าที่ของรัฐมีหน้าที่ดูแลรักษาที่ดินสาธารณประโยชน์ซ่ ึ ง
เป็ นสาธารณสมบัติข องแผ่นดิ นไม่ ได้ตามมาตรา ๑๓๐๖ จาเลยต้อง
รื้ อถอนอาคารและสิ่ งปลูกสร้างออกไปจากที่ดินพิพาท
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๓๔๕/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๒๗ ส. โอน
ขายที่ ดินอันเป็ นที่ ดินแปลงเดิ มที่ เกิ ดที่ ง อกให้แก่ บริ ษทั บ. ตั้ง แต่ ย งั
ไม่ได้รับโฉนดของที่ งอกที่ ขอออกไว้ โดยขณะที่ โอนที่ ดินแปลงเดิ ม
ที่งอกริ มตลิ่งเริ่ มเกิดมีข้ ึนแล้ว การเกิดมีที่งอกขึ้นมาในที่ดินย่อมจะต้อง
เป็ นไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๘ เมื่อที่ดินแปลงที่เกิดที่งอกได้โอนให้
บริ ษ ทั บ. ไปแล้ว ด้ว ยความสมัค รใจของ ส. ที่ ดิน ส่ ว นที่ เ ป็ นที่ ง อก
ย่อมตกติดไปเป็ นของผูซ้ ้ื อโดยผลของมาตรา ๑๓๐๘ ส. จึงพ้นจากการ
เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินทั้งหมดที่เคยมีอยู่ท้ งั ที่ดินแปลงเดิมที่เกิ ดมี
198

ที่งอกและที่ดินส่ วนที่เป็ นที่งอกไปจนหมดสิ้ น แม้ว่า ส. จะได้ขอออก


โฉนดที่ดินส่ วนที่เป็ นที่งอกค้างไว้ แล้วต่อมาได้มีการออกโฉนดสาเร็ จ
บริ บูรณ์ เป็ นชื่ อของ ส. ก็ไม่ทาให้ ส. ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินส่ วนที่เป็ น
ที่งอกนั้นไป และไม่มีอานาจที่ จะขายที่ ดินส่ วนที่ เป็ นที่ งอกให้โจทก์
โจทก์ซ่ ึ งเป็ นผูร้ ับโอนไม่มีสิทธิ ดีไปกว่า ส. ผูโ้ อน

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๑๐


ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๘๓๐๕/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๖ น. ๒๒๖ การ
พิ จารณาว่า บุ ค คลใดสร้ า งโรงเรื อนในที่ ดินของบุ ค คลอื่ นโดยสุ จริ ต
หรื อไม่น้ นั จะต้องพิจารณาในขณะที่ปลูกโรงเรื อน หากขณะปลูกสร้าง
โรงเรื อนไม่ทราบว่าที่ดินเป็ นของบุคคลอื่น ก็ถือได้ว่าเป็ นการกระทา
โดยสุ จริ ต แม้ภายหลังจึงทราบว่าเป็ นที่ดินของบุคคลอื่น ก็หาทาให้การ
กระทาที่สุจริ ตแต่แรกกลับกลายเป็ นไม่สุจริ ตไปแต่อย่างใด เมื่อกรณี
เข้า เงื่ อ นไขตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๑๐ แล้ว จะต้อ งพิ จารณาว่า การ
กระท าของจ าเลยท าให้ ที่ ดิ น ของโจทก์ มี ค่ า เพิ่ ม ขึ้ น เพี ย งใด โจทก์
ประมาทเลิ น เล่ อ หรื อ ไม่ ซึ่ งมิ ไ ด้มี ป ระเด็ น ในคดี น้ ี คู่ ค วามจึ ง มิ ไ ด้
สื บพยานไว้ จึ งไม่สามารถวินิจฉัยได้ ที่ ศาลอุ ทธรณ์ พิพากษายกฟ้ อง
โดยให้โจทก์กบั จาเลยไปว่ากล่าวกันใหม่จึงชอบแล้ว
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๓๗๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๕ น.๖๔ ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๑๐ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา่ “บุคคลใดสร้างโรงเรื อนใน
ที่ดินของผูอ้ ื่นโดยสุ จริ ตไซร้ ท่านว่าเจ้าของที่ดินเป็ นเจ้าของโรงเรื อน
นั้น ๆ แต่ต้องใช้ค่ าแห่ งที่ ดินเพี ย งที่ เพิ่ม ขึ้ นเพราะสร้ า งโรงเรื อนนั้น
199

ให้แก่ผสู ้ ร้ าง” คาว่า “สุ จริ ต” ตามบทบัญญัติแห่ งกฎหมายดังกล่าวนั้น


หมายความว่า ผูป้ ลูกสร้ างได้สร้ างโรงเรื อนลงในที่ดินโดยไม่ทราบว่า
ที่ ดินเป็ นของผูใ้ ด แต่ เข้า ใจว่า เป็ นที่ ดินของตนโดยเชื่ อว่า ตนมี สิ ท ธิ
สร้ า งโรงเรื อนในที่ ดิ นนั้น ได้โ ดยชอบ เมื่ อจาเลยสร้ า งบ้า นในที่ ดิ น
พิพาทโดย ว. อนุญาตให้สร้างได้จึงเป็ นการสร้างโดยอาศัยสิ ทธิ ของ ว.
ซึ่ งเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ดินแปลงใหญ่ ทั้งจาเลยก็รู้อยูแ่ ล้วว่า
โจทก์เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ดินดังกล่าวด้วยอีกคนหนึ่ ง การที่
จาเลยปลูกสร้างบ้านในที่ดินพิพาทโดยมีสิทธิ เพราะได้รับอนุญาตจาก
ว. ซึ่ งเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมคนหนึ่ งก็ตาม ก็เป็ นเพียงทาให้บา้ น
ของจาเลยไม่กลายเป็ นส่ วนควบของที่ดินเท่านั้น แต่ไม่อาจรับฟั งได้วา่
จาเลยสร้ างบ้านในที่ดินพิพาทของโจทก์โดยสุ จริ ตตามมาตรา ๑๓๑๐
วรรคหนึ่ง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๕๒๖/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๒๗๔ คาว่า
"สุ จริ ต" ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๑๐ นั้น มีความหมายว่าผูป้ ลูกสร้างได้
ปลู ก สร้ า งโรงเรื อนลงในที่ ดิน โดยไม่ ท ราบว่า ที่ ดินเป็ นของผูใ้ ดแต่
เข้าใจว่าเป็ นที่ดินของตนเองและเชื่ อว่าตนมีสิทธิ ปลูกสร้างโรงเรื อนใน
ที่ดินนั้นโดยชอบ เมื่อจาเลยได้ปลูกบ้านในที่ดินพิพาทโดยอาศัยสิ ทธิ
ของ ส. โดยทราบอยู่ว่าที่ ดินพิพาทเป็ นของ ส. และได้ขออนุ ญาต ส.
ปลู กบ้าน จึ งไม่อาจรั บฟั งได้ว่าจาเลยได้ปลู กบ้านในที่ ดินพิพาทโดย
สุ จริ ต แม้จาเลยจะต่อเติมบ้านในภายหลังอีก โดย ส. และโจทก์ไม่ห้าม
ปรามขัดขวาง ก็จะบังคับให้โจทก์ซ่ ึ งเป็ นทายาทของ ส. รับเอาบ้านแล้ว
ใช้ราคาที่ดินที่เพิ่มขึ้นไม่ได้ การที่จาเลยปลูกสร้ างบ้านในที่ดินพิพาท
200

โดยอาศัย สิ ทธิ ข อง ส. นั้น มิ ไ ด้ท าให้โรงเรื อนตกเป็ นส่ วนควบของ


ที่ ดินพิ พ าทเป็ นกรรมสิ ท ธิ์ ของ ส. และโจทก์แต่ อย่า งใดตามมาตรา
๑๔๖
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๕๒๓/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๕ น. ๑๑๘ การที่
โจทก์เรี ยกร้องค่าก่อสร้างรั้วและสิ่ งปลูกสร้างในที่ดินที่ตกลงจะซื้ อจาก
จาเลยแต่จาเลยไม่สามารถโอนที่ดินให้ตามสัญญาจะซื้ อจะขายได้ โดย
จาเลยมิได้เป็ นฝ่ ายผิดสัญญานั้น เป็ นกรณี ไม่มีบทกฎหมายใดที่จะยกมา
ปรั บแก่คดี ได้ และบทบัญญัติแห่ งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา ๑๓๑๐ และมาตรา ๑๓๑๔ เรื่ องการก่อสร้างใด ๆ ซึ่ งติดกับที่ดิน
ในที่ดินของผูอ้ ื่นโดยสุ จริ ต ให้เจ้าของที่ดินเป็ นเจ้าของสิ่ งก่อสร้างนั้น
ถือได้วา่ เป็ นบทกฎหมายใกล้เคียงอย่างยิ่งต่อกรณี ที่โจทก์เรี ยกร้อง ศาล
ย่อมนาบทบัญญัติดงั กล่าวมาปรับแก่คดี ตามมาตรา ๔ วรรคสอง และ
ให้จาเลยชดใช้เงินค่าก่อสร้างและสิ่ งปลูกสร้างซึ่ งตกเป็ นของจาเลยแก่
โจทก์ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๖๘๕-๓๖๘๖/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๙ น.๑๑๑ เดิม
ที่ ดินของโจทก์และของจาเลยที่ ๔ และที่ ๕ ต่ างเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ
บริ ษทั ด. ต่อมาบริ ษทั ด.ได้ปลูกสร้างอาคารพาณิ ชย์ จานวน ๑๑ คูหา
ด้านหลังอาคารมีกาแพงรั้วคอนกรี ตเสริ มเหล็กสู งประมาณ ๒ เมตร กั้น
ยาวตลอดทั้ง ๑๑ คู ห า จ าเลยที่ ๔ ซื้ อ อาคารพาณิ ช ย์เ มื่ อ ปี ๒๕๒๕
จาเลยที่ ๕ ซื้ อ อาคารพาณิ ช ย์เ มื่ อปี ๒๕๓๖ หลัง จากซื้ ออาคารแล้ว
จาเลยที่ ๔ และที่ ๕ ได้ต่อเติมรั้วคอนกรี ตเดิมซึ่ งอยูน่ อกโฉนดที่ดินที่
ซื้ อมาให้สูงขึ้นและมุงหลังคาเป็ นส่ วนหนึ่งของตัวอาคาร ส่ วนโจทก์ซ้ื อ
201

ที่ดินมาเมื่อปี ๒๕๓๗ ซึ่ งมี เนื้ อที่ ค รอบคลุ ม รั้ วคอนกรี ตทั้ง หมด ใน
กรณี ร้ ัวคอนกรี ตที่ได้มีการก่อสร้างไว้แล้วเดิม ไม่มีบทกฎหมายมาตรา
ใดที่จะยกขึ้ นมาปรับแก่ คดี ได้โดยตรง ในการวินิจฉัยคดี จึงต้องอาศัย
เทียบบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิง่ ตามมาตรา ๔ แห่ ง ป.พ.พ. และบท
กฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งที่จะปรับกับข้อเท็จจริ งในคดี น้ ี คือ ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๑๐ ประกอบมาตรา ๑๓๑๔ ซึ่ งบัญญัติให้โจทก์เจ้าของที่ดิน
เป็ นเจ้าของสิ่ งก่อสร้ างคือรั้วคอนกรี ต โจทก์จึงเป็ นเจ้าของรั้วคอนกรี ต
เดิ ม ส่ ว นรั้ วคอนกรี ต ที่ ต่ อ เติ ม ให้ สู ง ขึ้ น และสิ่ ง ปลู ก สร้ า งด้า นหลัง
อาคารพาณิ ชย์ของจาเลยที่ ๔ และที่ ๕ ที่ต่อเติมขึ้นภายหลัง ไม่ใช่ การ
สร้ างโรงเรื อนรุ กล้ าเข้า ไปในที่ ดินของผูอ้ ื่ น หรื อสร้ างโรงเรื อนหรื อ
สิ่ งก่ อสร้ างอื่ นในที่ดินของผูอ้ ื่ น แม้จาเลยที่ ๔ และที่ ๕ จะกระทาไป
โดยสุ จริ ต จาเลยที่ ๔ และที่ ๕ ก็ไม่มีสิทธิ ใช้ที่ดินของโจทก์ได้ ไม่ตอ้ ง
ด้วย ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๑๒ และมาตรา ๑๓๑๐ ประกอบมาตรา ๑๓๑๔
จาเลยที่ ๔ และที่ ๕ จึงต้องรื้ อออกไป

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๑๓


ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๖๗๒๒/๒๕๕๔ ฎ.๗๘๘ จ าเลยได้ม อบ
อานาจให้ ส. เป็ นตัวแทนนาช่างรังวัดของสานักงานที่ดินไปรังวัดพื้นที่
สร้างอาคารก่อนลงมือสร้าง ต่อมาเจ้าหน้าที่รังวัดจัดทาแผนที่แสดงรู ป
ที่ ดิ น และหลัก เขตเป็ นหลัก ฐาน แต่ ไ ม่ ป รากฏว่า จ าเลยได้ใ ช้ส าเนา
แผนที่ ฉบับดังกล่าวประกอบการพิจารณาเพื่อกาหนดพื้นที่ที่จะสร้ าง
อาคาร อี ก ทั้ง ส. ซึ่ ง เป็ นผูใ้ หญ่ บ ้า นในขณะนั้น เป็ นผูร้ ะวัง แนวเขต
202

ลารางพระยาพายเรื อซึ่ งเป็ นลารางสาธารณประโยชน์ เมื่ อ ศ. นาช่ าง


รังวัดของสานักงานที่ดินไปรังวัดที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๕๙๔๕ ซึ่ งมีพ้ืนที่
ครอบคลุ ม ที่ ดิ น พิ พ าทเพื่ อ แบ่ ง แยก ย่อ มทราบอยู่ ก่ อ นแล้ว ว่า ที่ ดิ น
พิพาทเป็ นส่ วนหนึ่งของที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๕๙๔๕ จาเลยซึ่ งเป็ นตัวการ
ย่อมทราบข้อเท็จจริ งเช่นเดียวกับที่ ส. ซึ่ งเป็ นตัวแทนทราบ การที่จาเลย
สร้ างอาคารที่ทาการรุ กล้ าเข้าไปในที่ ดินพิพาทจึงเป็ นการกระทาโดย
ไม่สุจริ ต

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๓๖


คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๘๘๗๕/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๙ น.๑๒๐ การที่
โจทก์ ฟ้ องเรี ย กเอาเงิ น ของโจทก์ คื น จากจ าเลยเนื่ อ งจาก ม. ปลอม
ลายมือชื่อถอนเงินจากบัญชีลูกค้าของโจทก์แล้วฝากเข้าบัญชี ของจาเลย
จึงเป็ นการฟ้ องเพื่อติดตามเอาทรัพย์ของโจทก์คืนจากบุคคลผูไ้ ม่มีสิทธิ
จะยึดถือไว้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๖ ซึ่ งไม่มีอายุความ มิใช่เป็ นการ
ฟ้ องเรี ยกค่าเสี ยหายอันเกิดแต่มูลละเมิดตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๔๘ ฟ้ อง
โจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๙๓๙/๒๕๔๕ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๘๔ จาเลยเปิ ด
บัญชี เงินฝากออมทรัพย์ไว้กบั ธนาคารโจทก์ นิ ติสัมพันธ์ระหว่างโจทก์
และจาเลยจึงเป็ นเรื่ องสัญญาฝากทรัพย์ การที่พนักงานของโจทก์บนั ทึก
รายการรับฝากเงิ นเข้าบัญชี ของจาเลยซ้ ากัน ๒ ครั้ง ทาให้ยอดเงิ นใน
บัญชี ของจาเลยมีจานวนเกินไปจากความเป็ นจริ ง ๓๕,๕๐๕ บาท และ
จาเลยเบิ กถอนเงิ นจานวนดังกล่าวไปโดยอาศัยความผิดพลาดในการ
203

ปฏิบตั ิหน้าที่ของพนักงานโจทก์ เงินจานวนดังกล่าวเป็ นทรัพย์สินของ


โจทก์ เมื่อจาเลยได้เงิ นนั้นไปโดยไม่ชอบ โจทก์ย่อมมีสิทธิ ติดตามเอา
เงิ น จ านวนนั้น คื น จากจ าเลยผูซ้ ่ ึ งไม่ มี สิ ท ธิ จ ะยึ ด ถื อ ไว้ต าม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๓๖ ซึ่ งไม่มีกาหนดอายุความ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๖๐/๒๕๔๘ ฎ.๘๕๒ โจทก์เป็ นเจ้าของ
ดิน เมื่อจาเลยขุดเอาดินไปโดยไม่มีสิทธิ โจทก์ยอ่ มฟ้ องบังคับให้จาเลย
นาดินที่ขดุ ไปนั้นคืนมาหรื อขอให้จาเลยชดใช้ราคาได้ เมื่อโจทก์ฟ้องว่า
จาเลยขุดดิ นของโจทก์ไปขายให้แก่ บุคคลอื่ นแล้ว โจทก์จึงชอบที่ จะ
ฟ้ องขอให้บงั คับจาเลยใช้ราคาดินดังกล่าวแก่โจทก์ได้ เป็ นการใช้สิทธิ
ติ ด ตามเอาทรั พ ย์คื น ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๖ มิ ใ ช่ ฟ้ องเรี ยก
ค่าเสี ยหายอันเกิดแต่มูลละเมิด จึงไม่อยูใ่ นบังคับมาตรา ๔๔๘
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๕๒๔-๓๕๒๕/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๑๐ น.๔๔
โจทก์ ท้ งั สี่ ใ นฐานะเจ้า ของกรรมสิ ท ธิ์ รวมในที่ ดิน ฟ้ องขอให้ บ งั คับ
จาเลยรื้ อถอนชายคาที่ รุกล้ าที่ ดินของโจทก์ท้ งั สี่ จึงเป็ นเรื่ องที่ เจ้าของ
ทรัพย์สินใช้สิทธิ ขดั ขวางมิให้ผอู ้ ื่นสอดเข้าเกี่ ยวข้องกับทรัพย์สินของ
โจทก์ โ ดยมิ ช อบด้ว ยกฎหมายตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๖ ซึ่ งไม่ มี
กาหนดอายุความ เว้นแต่ผทู ้ ี่ยึดถื อจะได้กรรมสิ ทธิ์ โดยการครอบครอง
ปรปั กษ์ และจะนาบทบัญญัติเรื่ องฟ้ องขอให้ปลดเปลื้องการรบกวนการ
ครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๔ มาใช้บงั คับไม่ได้ เพราะตาม
มาตราดัง กล่ าวเป็ นบทบัญญัติเรื่ องสิ ท ธิ ครอบครอง แต่ โจทก์ท้ งั สี่ มี
กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินที่ ชายคาหรื อกันสาดของจาเลยได้รุกล้ าเข้าไป คดี
โจทก์ไม่ขาดอายุความ
204

คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๑๘๑๔/๒๕๔๕ ฎ.ส.ล.๖ น.๘ จาเลยที่ ๑


ผูเ้ ช่ าซื้ อรถยนต์จากโจทก์นาวิทยุ เครื่ องเล่นเทป เครื่ องเล่นซี ดี ลาโพง
และอุปกรณ์เครื่ องเสี ยงมาสู่ รถที่เช่าซื้ อเพื่อประโยชน์ของจาเลยที่ ๑ เอง
หาใช่ เ พื่ อประโยชน์ แ ก่ ก ารจัดการดู แลใช้ส อยหรื อรั ก ษารถอัน เป็ น
ทรั พย์ประธานไม่ ทรั พย์ดงั กล่ าวจึ ง มิ ใ ช่ อุป กรณ์ อันจะตกติ ดไปกับ
ทรัพย์ประธานตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๗ วรรคท้าย ส่ วนข้อสัญญาที่
กาหนดว่า "...หากผูเ้ ช่าซื้ อนาสิ่ งของเข้ามาดัดแปลง ต่อเติมหรื อตั้งอยู่
ในตัวทรัพย์สินที่เช่ าซื้ อ สิ่ งนั้นจะตกเป็ นส่ วนหนึ่ งของทรัพย์สินที่เช่ า
ซื้ อและเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของเจ้าของทันที..." นั้น ก็เป็ นแบบฟอร์ มที่โจทก์
จัดท าขึ้ นเพี ย งฝ่ ายเดี ย วและเป็ นข้อความที่ ม าจากปั ญหาที่ มกั เกิ ดข้อ
พิพาทระหว่างโจทก์กบั ผูเ้ ช่ าซื้ อรายอื่ นที่ ผูเ้ ช่ าซื้ อมักนาสิ่ งของเข้ามา
ดัดแปลง ต่อเติมหรื อติดกับทรัพย์ที่เช่ าซื้ อ และเมื่อต้องการเอาสิ่ งของ
ดังกล่าวคืน ก็จะทาการรื้ อไปอันทาให้ทรัพย์ที่เช่าซื้ อของโจทก์เสี ยหาย
แต่กรณี ที่จาเลยที่ ๑ นาทรัพย์ดงั กล่าวมาสู่ ตวั รถ ย่อมไม่ถึงขนาดที่จะ
ก่อให้เกิดความเสี ยหายหากจะต้องรื้ อออกไป จึงไม่อยูใ่ นขอบเขตแห่ ง
สัญญาดังกล่าว โจทก์หาอาจจะยกข้อสัญญาที่ปรากฏมาเป็ นเหตุไม่คืน
วิทยุ เครื่ องเล่นเทป เครื่ องเล่นซี ดี ลาโพงและอุปกรณ์เครื่ องเสี ยงให้แก่
จาเลยที่ ๑ หาได้ไม่
205

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๓๗


คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๑๘๓/๒๕๕๑ ฎ.๒๓๒๓ ที่ดินของโจทก์
อยู่ติดกับทางพิพาทซึ่ งเป็ นทางสาธารณประโยชน์ โจทก์ชอบที่จะใช้
สอยทางพิพาทได้ การที่จาเลยเข้ายึดถือครอบครองโดยทาการไถทาง
แล้วปลูกต้นสักในเส้นทางดังกล่าว ย่อมเป็ นการรบกวนสิ ทธิ ของโจทก์
ในการใช้เส้ นทางสาธารณประโยชน์ อันถื อได้ว่า โจทก์ได้รับ ความ
เสี ยหายเป็ นพิเศษตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๔๒๑
และ ๑๓๓๗ โดยไม่ จ าต้อ งค านึ ง ว่ า โจทก์ มี เ ส้ น ทางอื่ น ออกสู่ ท าง
สาธารณะหรื อไม่ ทั้งไม่ตอ้ งคานึ งว่าประชาชนเลิ กใช้เส้นทางดังกล่าว
แล้ว เพราะตราบใดที่ ยงั ไม่มีการประกาศยกเลิ กโดยทางการ ก็ ยงั คง
สภาพเป็ นทางสาธารณประโยชน์ อ ยู่ การกระท าของจาเลยเป็ นการ
โต้แย้งสิ ทธิ ของโจทก์ โจทก์จึงมีอานาจฟ้ องจาเลยได้
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๘๗๗/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๓ น.๘๗ โจทก์ท า
สัญญาเช่ าที่ ดินจากเทศบาลเมืองโพธารามเพื่อใช้เป็ นสถานที่จอดรถ
สาหรับกิจการโรงแรมของโจทก์ ส่ วนจาเลยทั้งสามเป็ นเจ้าของตึกแถว
ซึ่ งปลูกอยูใ่ นที่ดินข้างเคียง ได้ติดตั้งหลังคากันสาดรุ กล้ าเข้ามาในที่ดิน
ที่โจทก์เช่า โจทก์ไม่สามารถใช้หรื อได้รับประโยชน์จากที่ดินดังกล่าว
ได้โดยสะดวก ทาให้โจทก์ได้รับความเสี ยหายหรื อเดือดร้อนเกินที่ควร
คิดหรื อคาดหมายในการใช้ที่ดิน แม้โจทก์จะเป็ นเพียงผูเ้ ช่าที่ดิน แต่การ
เช่าดังกล่าวก็เพื่อประโยชน์ในกิ จการโรงแรมของโจทก์ เมื่อโจทก์เป็ น
เจ้าของโรงแรมอันเป็ นอสังหาริ มทรัพย์ได้รับความเดื อดร้ อนราคาญ
เป็ นพิเศษจากการกระทาของจาเลยทั้งสาม จึงย่อมมีอานาจฟ้ องให้ขจัด
206

ความเดื อดร้ อนนั้นได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๒๑ และมาตรา ๑๓๓๗


แม้วา่ จาเลยทั้งสามจะติดตั้งหลังคาตึกแถวก่อนที่โจทก์จะทาสัญญาเช่ า
ที่ ดิน ก็หาเป็ นเหตุ ใ ห้โจทก์ต้องเสี ยสิ ท ธิ ดงั กล่ า วไปไม่ โจทก์มีสิท ธิ
ปฏิ บตั ิการเพื่อยังความเสี ยหายหรื อความเดื อดร้ อนให้สิ้นไป โดยฟ้ อง
จาเลยทั้งสามให้ร้ื อถอนหลังคาที่ต่อเติมออกจากตึกแถวซึ่ งกีดขวางการ
ใช้ประโยชน์จากที่ดินที่โจทก์เช่าได้
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๘๐๒๗/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๑๙๗ ที่ ดิน
ของโจทก์มิได้ติดกับถนนมาแต่เดิม เนื่ องจากมีที่ดินพิพาทอันเป็ นที่ดิน
สาธารณะคัน่ อยู่ และจ าเลยอยู่ ใ นที่ ดิ น พิ พ าทมาก่ อ นที่ โ จทก์ จ ะได้
กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินของตน โจทก์จะอ้างว่าได้รับความเสี ยหายเป็ นพิเศษ
เนื่องจากจาเลยครอบครองที่ดินพิพาทกีดขวางทางออกสู่ ถนนหาได้ไม่
กรณี ไ ม่ ต้องด้วย ป.พ.พ. มาตรา ๔๒๑ และมาตรา ๑๓๓๗ ในอัน ที่
โจทก์จะขอให้จาเลยรื้ อถอนสิ่ งก่อสร้างและต้นมะพร้ าวออกจากที่ดิน
พิพาทได้ โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ อง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๖๗๑-๙๖๗๕/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๓๐๒
เมื่อจาเลยใช้สิทธิ ของตนปลูกบ้านในที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิ นปิ ด
หน้ า ที่ ดิ น ของโจทก์ เ ป็ นเหตุ ใ ห้ โ จทก์ ไ ม่ ส ามารถจะใช้ ห รื อ ได้รั บ
ประโยชน์จากที่ สาธารณสมบัติของแผ่นดิ นนั้นได้โดยสะดวก ทาให้
โจทก์ได้รับความเสี ยหายหรื อเดือดร้อนเกินที่ควรคิดหรื อคาดหมายใน
การใช้ที่ดินของโจทก์ ถือได้วา่ โจทก์ได้รับความเสี ยหายเป็ นพิเศษ กรณี
ต้องบทบัญญัติแห่ง ป.พ.พ. มาตรา ๔๒๑ และ ๑๓๓๗ การที่จาเลยปลูก
บ้านอยู่ก่อน ก็ไม่เป็ นเหตุให้โจทก์ผมู ้ าทีหลังต้องเสี ยสิ ทธิ ดงั กล่าวไม่
207

โจทก์จึงมี สิทธิ ปฏิ บตั ิการเพื่อยังความเสี ยหายหรื อความเดื อดร้ อนให้


สิ้ นไปโดยฟ้ องจาเลยให้ร้ื อถอนสิ่ งปลูกสร้ างที่ จาเลยปลู กสร้ างอยู่ใน
ที่ดินของกรมชลประทานอันเป็ นการกี ดขวางทางที่โจทก์เข้าออกเพื่อ
ใช้ประโยชน์ในคลองมหาสวัสดิ์อนั เป็ นทางสาธารณะได้

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๓๙


คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๓๒๘/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล.๔ น.๑๔๓ ที่ดินของ
โจทก์ท้ งั สี่ และจาเลยมีลกั ษณะเป็ นสวน ไม่มีคลองสาธารณประโยชน์
ผ่านที่ดิน โจทก์ท้ งั สี่ และจาเลยนาน้ าจากคลองบางสี ทอง ซึ่ งอยูห่ ่ างจาก
ที่ดินของโจทก์ท้ งั สี่ และจาเลยประมาณ ๕๐ เมตร มาใช้รดน้ าต้นไม้ใน
สวน โดยใช้ตน้ ตาลที่ทะลวงไส้ออกเป็ นท่อส่ งน้ าฝังไว้ใต้พ้ืนดินติดต่อ
กับที่ดินของบุคคลอื่นที่อยูร่ ิ มคลองบางสี ทอง เพื่อชักน้ าเข้ามาใช้ต่อกัน
เป็ นทอด ๆ จึ ง เป็ นท่ อ ส่ ง น้ า ที่ ท าขึ้ น เองเพื่ อ เป็ นการเอื้ อ เฟื้ อเผื่ อ แผ่
ช่วยเหลื อกันของชาวสวน แม้จะนานเพียงใดก็ไม่ทาให้ท่อส่ งน้ าที่วาง
ไว้ใต้ดินของใครเป็ นท่อส่ งน้ าสาธารณประโยชน์ไปได้ และน้ าที่ไหล
เข้ามาในที่ดินของจาเลยไปยังที่ดินของโจทก์ท้ งั สี่ ผา่ นท่อส่ งน้ าดังกล่าว
ไม่ใช่ เป็ นน้ าที่ ไหลตามธรรมดาจากที่ดินสู งมายังที่ดินต่ าตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๓๙ ที่จะให้สิทธิ เจ้าของที่ดินซึ่ งอยูส่ ู งกว่าจะกันน้ าเอาไว้ได้
เพียงที่จาเป็ นแก่ที่ดินของตนและไม่ใช่เป็ นทางน้ าผ่านที่ดินตามมาตรา
๑๓๕๕ ที่เจ้าของที่ดินที่มีทางน้ าผ่านไม่มีสิทธิ จะชักเอาน้ าไว้เกินกว่าที่
จาเป็ นแก่ประโยชน์ของตนตามควรให้เป็ นเหตุเสื่ อมเสี ยแก่ที่ดินแปลง
อื่นซึ่ งอยูต่ ามทางน้ านั้น และหลังจากมีการทาถนนสาธารณประโยชน์
208

ทาให้ทบั ท่อส่ งน้ าไปในที่ดินของจาเลยเสี ยหาย ทาให้ไม่มีน้ าเข้าไปใน


ที่ดินของจาเลยแล้ว จาเลยต้องไปขอซื้ อน้ าจากที่ดินแปลงของ บ. เพื่อ
ประโยชน์ในที่ดินของจาเลย โดยจาเลยเสี ยค่าใช้จ่ายเพียงลาพัง และปิ ด
ท่อส่ งน้ าในที่ดินของตนเองไม่ให้ส่งน้ าไปยังที่ดินของโจทก์ท้ งั สี่ ตาม
เงื่อนไขที่ บ. ให้จาเลยใช้น้ าต่อจาก บ. คนเดียว การกระทาของจาเลยไม่
เป็ นการละเมิดต่อโจทก์ท้ งั สี่ โจทก์ท้ งั สี่ ไม่อาจขอให้บงั คับจาเลยรื้ อสิ่ ง
ปิ ดกั้นทางน้ าออกไปได้
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๖๔๐๖/๒๕๕๐ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๑๒๑ โฉนด
ที่ ดินระบุ ว่า ที่ ดินของโจทก์และจาเลยทั้งสองทุ กด้า นติ ดต่อกับที่ ดิน
แปลงอื่น ไม่ปรากฏว่ามีลารางสาธารณะติดที่ดินของโจทก์หรื อจาเลย
ทั้งสองแต่อย่างใด จึ งฟั งไม่ได้ว่าลารางร่ องเหมื องหรื อร่ องน้ าพิพาท
เป็ นลารางสาธารณะ แต่เป็ นร่ องน้ าในที่ดินของจาเลยทั้งสอง
ที่ ดินของโจทก์เป็ นที่ ดินสู ง ส่ วนที่ ดินของจาเลยทั้งสองเป็ น
ที่ดินต่า การที่โจทก์ระบายน้ าฝนตามธรรมชาติจากที่ดินของโจทก์ผา่ น
ที่ ดินของจาเลยทั้งสองไปสู่ ลาน้ าเสี ย ว จึ งเป็ นกรณี ที่ จาเลยทั้ง สองมี
หน้าที่ตอ้ งยอมรับตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๙ วรรคหนึ่ ง และ ๑๓๔๐
วรรคหนึ่ ง ดัง นี้ ไม่ ว่า โจทก์และประชาชนจะใช้ร่องน้ าในที่ ดินของ
จาเลยทั้งสองเป็ นเวลานานเพียงใด ก็หาทาให้ร่องน้ าในที่ดินของจาเลย
ทั้งสองกลายเป็ นลารางสาธารณะหรื อตกเป็ นภาระจายอมไม่ แต่การที่
จาเลยทั้งสองไถดินกลบลารางร่ องน้ าพิพาท เป็ นเหตุให้น้ าท่วมขังที่ดิน
ของโจทก์ ทาให้โจทก์ได้รับความเสี ยหาย โจทก์ยอ่ มมีสิทธิ ฟ้องขอให้
บังคับจาเลยทั้งสองทาที่พิพาทให้เป็ นลารางระบายน้ าตามเดิมได้
209

การปลูกสร้ างโรงเรื อนรุ กลา้


ข้ อ ๓๔ คาถาม นายเดชเป็ นเจ้าของที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๒๓๔
ส่ ว นนายวัน เป็ นเจ้ า ของที่ ดิ น โฉนดเลขที่ ๑๒๓๕ ซึ่ งมี เ ขตที่ ดิ น
ติ ดต่ อกัน นายวันสร้ า งบ้า นสองหลัง แท็ง ก์เก็บ น้ า และรั้ วบ้า น โดย
เข้าใจว่าบ้านทั้งสองหลังและสิ่ งปลูกสร้างดังกล่าวสร้างอยูใ่ นเขตที่ดิน
ของตน เมื่อนายวันสร้างบ้านหลังแรกแท็งก์เก็บน้ าและรั้วบ้านเสร็ จกับ
สร้ างบ้านหลังที่สองจนถึ งขั้นทาคานชั้นบนเสร็ จแล้ว นายเดชกับนาย
วันได้ร่วมกันทาการรังวัดสอบเขตที่ดิน ปรากฏว่าชายคาบ้านหลังแรก
แท็งก์เก็บน้ าและรั้วบ้านบางส่ วนรุ กล้ าเข้าไปในที่ดินของนายเดช ส่ วน
บ้า นหลัง ที่ สองสร้ า งอยู่ใ นที่ ดินของนายเดชทั้ง หลัง นายเดชจึ ง ห้า ม
ไม่ให้นายวันก่อสร้างต่อไป แต่นายวันยังขืนก่อสร้างจนแล้วเสร็ จ นาย
เดชต้องการให้นายวันรื้ อถอนบ้านทั้งสองหลังและสิ่ งปลูกสร้างอื่นที่รุก
ล้ าเข้าไปในที่ดินของตน
ให้วินิจฉัยว่า นายวันต้องรื้ อถอนบ้านและสิ่ งปลูกสร้ างตามที่
นายเดชต้องการ หรื อไม่ เพียงใด (ข้อสอบเนติบ ณ ั ฑิ ต สมัยที่ ๕๕ ปี
การศึกษา ๒๕๔๕)
ข้ อ ๓๔ คาตอบ นายวันสร้ างบ้านหลังแรกมีชายคาบ้านรุ กล้ า
เข้าไปในที่ดินของนายเดช โดยเข้า ใจว่า สร้ างอยู่ใ นเขตที่ ดินของตน
ชายคาเป็ นส่ วนหนึ่งของบ้ าน ซึ่งเป็ นการสร้ างโรงเรือนโดยเข้ าใจว่ าตน
มีสิทธิที่จะสร้ างได้ จึงเป็ นการสร้ า งโรงเรื อนรุ กล้า เข้ าไปในที่ดินของ
นายเดชโดยสุ จริ ต นายวันจึงเป็ นเจ้ าของบ้ านหลังแรกและไม่ ต้องรื้อ
ถอนชายคาส่ วนทีร่ ุ กลา้ ของบ้ านหลังนี้ แต่ นายวันต้ องเสี ยเงินให้ แก่ นาย
210

เดชซึ่งเป็ นเจ้ าของทีด่ ินเป็ นค่ าเช่ าทีด่ ินนั้น และนายเดชต้ องจดทะเบียน
สิ ทธิเป็ นภาระจายอมแก่ นายวันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา ๑๓๑๒ วรรคหนึ่ง
ส่ วนแท็งก์เก็บน้ าและรั้วบ้านมิใช่ โรงเรือนตามความหมายของ
มาตรา ๑๓๑๒ และไม่ ถือว่ าเป็ นส่ วนหนึ่งส่ วนใดของโรงเรือน แม้ นาย
วันจะสร้ างโดยสุ จริตก็ไม่ ได้ รับความคุ้มครองตามมาตรา ๑๓๑๒ วรรค
หนึ่ ง นายวันจึ งต้ องรื้ อถอนแท็งก์ เก็บน้าและรั้ วบ้ านส่ วนที่รุกล้าออก
จากทีด่ ินของนายเดช (คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๕๑-๙๕๒/๒๕๔๒, ๑๕๑๑/
๒๕๔๒)
สาหรับบ้านหลังที่สอง แม้ขณะลงมือก่อสร้างนายวันจะกระทา
โดยสุ จริ ตก็ตาม แต่เมื่อนายวันก่อสร้ างไปถึ งขั้นทาคานชั้นบนแล้วจึ ง
ทราบว่า บ้า นได้ส ร้ า งอยู่ใ นที่ ดินของนายเดช แต่ นายวันยัง ขื นสร้ า ง
ต่อไปจนเสร็ จ ถือได้ ว่านายวันสร้ างบ้ านหลังที่สองในที่ดินของนายเดช
โดยไม่ สุจริ ตตามมาตรา ๑๓๑๑ เพราะกรณีการปลูกสร้ างโรงเรื อนใน
ที่ดิ นของผู้ อื่นซึ่ งจะถื อว่ าเป็ นการสร้ า งโดยสุ จริ ตตามมาตรา ๑๓๑๐
จะต้ องเป็ นการกระทาโดยสุ จริ ตตั้งแต่ ลงมือก่ อสร้ างจนกระทั่งสร้ าง
เสร็จสมบูรณ์ ดังนี้ เมื่อนายเดชต้ องการให้ รื้อถอนบ้ านดังกล่ าว นายวัน
จึงต้ องรื้อถอนออกไป (คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๓๑๓/๒๕๓๗)
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๙๕๑-๙๕๒/๒๕๔๒ ตาม ป.พ.พ.มาตรา
๑๓๑๒ ได้ร ะบุ ไ ว้ชัด แจ้ง ว่ า สร้ า งโรงเรื อ นย่อ มหมายถึ ง สร้ า งบ้า น
สาหรับอยูอ่ าศัยเท่านั้น ดังนั้น โรงรถ ท่อน้ าประปา ปั๊ มน้ าและแท็งก์น้ า
จึงมิ ใช่ โรงเรื อนตามความหมายของบทบัญญัติมาตรานี้ และไม่ถือว่า
211

เป็ นส่ วนหนึ่ งส่ วนใดของโรงเรื อนด้วย แม้จาเลยจะสร้างหรื อทารุ กล้ า


เข้า ไปในที่ ดิน โจทก์จ าเลยโดยสุ จริ ต ก็ ไ ม่ ไ ด้รับ ความคุ ้ม ครองตาม
มาตรา ๑๓๑๒ ดังกล่าว จาเลยต้องรื้ อถอนออกจากที่ดินของโจทก์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๕๑๑/๒๕๔๒ เมื่ อรั้ วบ้านที่ รุกล้ านั้นมิ ใช่
การรุ กล้ าของโรงเรื อนหรื อส่ วนหนึ่งส่ วนใดของโรงเรื อนอันจะปรับใช้
มาตรา ๑๓๑๒ ได้ จาเลยจึงต้องรื้ อรั้วบ้านที่รุกล้ า
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๓๑๓/๒๕๓๗ จาเลยสร้ างบ้านจนถึ งขั้น
ทาคานชั้นบนเสร็ จแล้วจึงทราบว่าบ้านได้ก่อสร้างอยูใ่ นที่ดินของโจทก์
แต่จาเลยยังขืนสร้ างต่อไปจนเสร็ จ ถื อได้ว่าจาเลยได้ก่อสร้ างบ้านใน
ที่ ดินของโจทก์โดยไม่สุ จริ ตตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์
มาตรา ๑๓๑๑

ข้ อ ๓๕ คาถาม อังคารเป็ นเจ้าของที่ดินมีโฉนดหนึ่งแปลงมีตึก


ปลู ก อยู่ห นึ่ ง หลัง ทางด้า นทิ ศ ตะวันออก ต่ อมาอัง คารแบ่ ง แยกที่ ดิ น
ออกเป็ นสองแปลง แปลงหนึ่ งอยู่ทางทิศตะวันออก อีกแปลงหนึ่ งอยู่
ทางทิศตะวันตก เมื่ อแบ่งแล้วกันสาดของตึ กที่ ป ลู กไว้ในที่ ดินแปลง
ตะวันออกล้ าเข้าไปในที่ดินแปลงตะวันตก ต่อมาอังคารขายที่ดินแปลง
ตะวันออกพร้อมตึกให้เสาร์ เสาร์ ซ้ื อแล้วให้คนเช่ าตึกอยู่อาศัย ผูเ้ ช่ าได้
นาเครื่ องทาความเย็นไปติดตั้งไว้ที่ตึกโดยส่ วนหนึ่ งของเครื่ องทาความ
เย็นยื่นออกนอกตึ กล้ าไปในระดับเท่ากับกันสาด หลังจากนั้นอี กสาม
เดือน อังคารขายที่ดินแปลงตะวันตกให้พุธ หลังจากซื้ อแล้วพุธจึงตรวจ
พบว่ากันสาดของตึกที่ปลูกอยูใ่ นที่ดินของเสาร์ และเครื่ องทาความเย็น
212

ดังกล่ าวรุ กล้ าเข้าไปในที่ดินแปลงที่พุธซื้ อ ดังนี้ พุธจะฟ้ องขอให้ศาล


บังคับเสาร์ ในเรื่ องกันสาดและเครื่ องทาความเย็นที่รุกล้ าเข้าไปในที่ดิน
ของพุ ธ หรื อใช้สิ ท ธิ เรี ยกร้ องเอาจากเสาร์ ไ ด้อย่า งไรบ้า งหรื อไม่ ใ ห้
อธิบาย
ข้ อ ๓๕ คาตอบ กันสาดเป็ นส่ วนประกอบของตัวตึก จึงเป็ น
ส่ วนหนึ่ งของโรงเรื อ น ตึ ก และกันสาดมี ม าแต่ ค รั้ งยัง ไม่ไ ด้แบ่ง แยก
ที่ดินออกเป็ นสองแปลง การรุ กล้าของกันสาดมิไ ด้ เกิดจากเสาร์ เป็ น
ผู้สร้ าง กรณีไม่ อยู่ในบังคับของมาตรา ๑๓๑๒ แห่ งประมวลกฎหมาย
แพ่ง และพาณิ ชย์ และไม่ มี บทกฎหมายที่จะยกมาปรั บ แก่ ค ดีไ ด้ เป็ น
ช่ องว่ า งแห่ งกฎหมายจึ งต้ อ งนาประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิช ย์
มาตรา ๔ มาใช้ คือต้ องวินิจฉัยตามจารี ตประเพณีแห่ งท้ องถิ่น ถ้ าไม่ มี
จารี ต ประเพณี เ ช่ นว่ า นั้ น ให้ วิ นิ จ ฉั ย คดี อ าศั ย เที ย บบทกฎหมายที่
ใกล้ เคียงอย่ างยิ่ง สาหรั บกรณีนี้ไม่ มีจารีตประเพณีแห่ งท้ องถิ่นที่จะยก
มาปรั บ ได้ ฉะนั้น จึงต้ อ งอาศั ยเทียบบทกฎหมายที่ใกล้ เคี ยงอย่ า งยิ่ง
และบทกฎหมายที่ใกล้ เคียงอย่ างยิ่งสาหรั บ กรณีนี้ คือ มาตรา ๑๓๑๒
วรรคหนึ่ ง คื อ เสาร์ มี สิ ท ธิ ใ ช้ ส่ วนแห่ ง แดนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น ของพุ ธ
เฉพาะที่กันสาดรุ กลา้ เข้ าไปนั้นได้ พุธไม่ มีอานาจฟ้องขอให้ เสาร์ รื้อกัน
สาด แต่ มีสิทธิจะเรียกเงินเป็ นค่ าทีเ่ สาร์ ใช้ ส่วนแห่ งแดนกรรมสิ ทธิ์ที่ดิน
ของพุธต่ อไป ตลอดจนการที่จะดาเนินการจดทะเบียนสิ ทธิเป็ นภาระ
จายอม
ส่ วนเครื่ องทาความเย็นซึ่ งผูเ้ ช่ าตึกของเสาร์ เป็ นผูต้ ิ ดตั้ง ไม่ ใช่
เป็ นการสร้ างโรงเรื อนรุ กล้า เข้ าไปในที่ดินของผู้ อื่น และเสาร์ ไม่ ได้ มี
213

ส่ วนเกี่ยวข้ องในการติดตั้งนี้ด้วย อีกทั้งผู้เช่ าตึกไม่ ใช่ บริ วารของเสาร์


พุธจะฟ้องให้ เสาร์ ย้ายเครื่ องทาความเย็นของผู้อื่นไม่ ได้ (คาพิพากษา
ฎีกาที่ ๑๘๔๘/๒๕๑๒, ที่ ๑๕๑๑/๒๕๔๒)
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๑๘๔๘/๒๕๑๒ (ประชุ ม ใหญ่ ) ประมวล
กฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๑๒ เป็ นบทบัญญัติเรื่ องผูไ้ ม่ มี
สิ ทธิ ในที่ดินสร้างโรงเรื อนรุ กล้ าเข้าไปในที่ดินของผูอ้ ื่น โจทก์และสามี
จาเลยต่างซื้ อที่ดินจากเจ้าของเดิ มซึ่ งตัดแบ่งขายเป็ นแปลง ๆ จาเลยรับ
มรดกสามี โจทก์จาเลยจึ ง มี ที่ ดินติ ดต่ อกัน โจทก์ซ้ื อที่ ดินของโจทก์
ภายหลังสามีจาเลยซื้ อที่ดินของจาเลย โดยที่ดินของโจทก์อยูใ่ นสภาพที่
มีกนั สาดตึกของจาเลยรุ กล้ าที่ดินของโจทก์อยู่ก่อน ดังนี้ โจทก์จึงมิใช่
เป็ นผูส้ ร้างตึกพร้อมทั้งกันสาดที่พิพาท หากแต่เจ้าของที่ดินเป็ นผูส้ ร้าง
ในที่ดินของตนเองในขณะยังไม่ได้แบ่งออกเป็ นสองแปลง ซึ่ งเจ้าของ
ที่ดินมีสิทธิ สร้ างได้โดยชอบด้วยกฎหมาย แล้วต่อมาเจ้าของที่ดินนั้น
แบ่งที่ดินออกเป็ นสองแปลง จึงทาให้กนั สาดของโรงเรื อนที่สร้างไว้ใน
ที่ดินแปลงหนึ่งรุ กล้ าเข้าไปในที่ดินที่แบ่งแยกอีกแปลงหนึ่ ง กรณี จึงไม่
อยู่ใ นบัง คับ แห่ ง ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๑๒
เพราะการรุ กล้ ามิได้เกิดจากจาเลยเป็ นผูส้ ร้าง
มาตรา ๑๓๑๒ เป็ นบทยกเว้น เรื่ อ งส่ ว นควบและแดนแห่ ง
กรรมสิ ทธิ์ โดยบุคคลผูส้ ร้างโรงเรื อนรุ กล้ าเข้าไปในที่ดินของผูอ้ ื่นโดย
สุ จริ ต มี สิ ท ธิ ใ ช้ที่ ดินของผูอ้ ื่ นในส่ วนที่ รุก ล้ า นั้นได้ แต่ ต้องเสี ย เงิ น
ให้แก่เจ้าของที่ดินเป็ นค่าใช้ที่ดิน และจดทะเบียนสิ ทธิ เป็ นภารจายอม
ตามมาตรา ๑๓๑๒ วรรคหนึ่ ง ผูส้ ร้ างโรงเรื อนรุ กล้ าโดยสุ จริ ตย่อมมี
214

สิ ท ธิ ใ นที่ ดินที่ ถู ก รุ ก ล้ า นั้น ได้ โดยเจ้า ของที่ ดินที่ ถู ก รุ ก ล้ า ไม่ มี สิ ท ธิ


บังคับให้ร้ื อ จาเลยมิ ได้เป็ นผูส้ ร้ างตึ กพร้ อมกันสาดที่ พิพาท หากแต่
เจ้าของที่ดินเป็ นผูส้ ร้างในที่ดินของตนเองโดยชอบด้วยกฎหมาย เพราะ
ขณะสร้ างยังมิได้แบ่งแยกที่ดินออกเป็ นสองแปลง ดังนั้น ถ้าจะบังคับ
ให้ร้ื อ ก็มีผลเท่ากับจาเลยเป็ นผูส้ ร้างตามมาตรา ๑๓๑๒ วรรคสอง ย่อม
ไม่เป็ นธรรม เพราะแม้จาเลยเป็ นผูส้ ร้างรุ กล้ าเอง ถ้าโดยสุ จริ ต กฎหมาย
ยังยอมให้จาเลยมี สิทธิ ใช้ที่ดินส่ วนที่ รุกล้ าได้ แล้วไฉนถ้าจาเลยมิ ได้
เป็ นผูส้ ร้ า งรุ ก ล้ า เอง แต่ ก ารที่ ส ร้ า งนั้น เป็ นการสร้ า งโดยชอบด้ว ย
กฎหมายซึ่ งยิ่งกว่าเป็ นการสร้างโดยสุ จริ ตเสี ยอีก แล้วกลับจะถูกบังคับ
ให้ร้ื อถอนเพราะไม่มีสิทธิ จะใช้ กรณี ดงั กล่าวไม่มีบทกฎหมายที่จะยก
มาปรั บคดี ได้ เมื่ อเป็ นช่ องว่างแห่ งกฎหมาย ดังนี้ จึ งต้องนาประมวล
กฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๔ มาใช้ ส าหรั บ กรณี น้ ี ไ ม่ มี จารี ต
ประเพณี แ ห่ ง ท้อ งถิ่ น ที่ จ ะยกมาปรั บ คดี ไ ด้ จึ ง ต้อ งอาศัย เที ย บบท
กฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง บทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งก็คือมาตรา
๑๓๑๒ วรรคหนึ่ ง คื อ จาเลยมี สิ ทธิ ใช้ส่วนแห่ งแดนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิน
ของโจทก์ เ ฉพาะที่ ก ันสุ ดรุ ก ล้ า เข้า ไปนั้น ได้ โจทก์ ไ ม่ มี อ านาจฟ้ อง
ขอให้จาเลยรื้ อ แต่มีสิทธิ ที่จะเรี ยกเงิ นเป็ นค่าที่จาเลยใช้ส่วนแห่ งแดน
กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น ของโจทก์ ต่ อ ไป ตลอดจนการที่ จ ะด าเนิ น การจด
ทะเบียนสิ ทธิเป็ นภาระจายอม
เครื่ องทาความเย็นซึ่ งผูเ้ ช่ าตึกจาเลยเป็ นผูต้ ิดตั้ง ไม่ใช่ เป็ นการ
สร้ า งโรงเรื อนรุ ก ล้ า เข้า ไปในที่ ดินของผูอ้ ื่ น และจาเลยไม่ ไ ด้มี ส่ วน
215

เกี่ ยวข้องในการติดตั้งนี้ ดว้ ย อีกทั้งผูเ้ ช่ าตึกของจาเลยไม่ใช่บริ วารของ


จาเลยในกรณี เช่ นนี้ โจทก์จึงฟ้ องจาเลยให้ยา้ ยเครื่ องทาความเย็นของ
ผูอ้ ื่นไม่ได้
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๕๑๑/๒๕๔๒ เดิ ม ที่ ดิ น โฉนดเลขที่
๙๔๐๖๘ ของโจทก์และโฉนดเลขที่ ๙๔๐๑๒ พร้ อมสิ่ งปลูกสร้ างของ
จาเลย เป็ นที่ ดินแปลงเดี ย วกันซึ่ ง โจทก์ซ้ื อ มาจาก น. โดยมี สิ่ ง ปลู ก
สร้างอยูใ่ นที่ดินมาก่อนแล้ว ต่อมาโจทก์นาที่ดินโฉนดเลขที่ ๙๔๐๑๒
ไปจดทะเบียนจานองและมีการ บังคับจานอง ซึ่ ง ต.เป็ นผูป้ ระมูลได้
จากนั้น ต.ขายที่ดินดังกล่าวพร้ อมสิ่ งปลูกสร้างให้แก่จาเลย ปรากฏว่า
สิ่ งปลูกสร้าง บางส่ วนคือส่ วนหนึ่งของบ้านเลขที่ ๑๗ และรั้วบ้านรุ กล้ า
ที่ดินโฉนดเลขที่ ๙๔๐๖๘ ของโจทก์ กรณี จึงไม่เข้าประมวลกฎหมาย
แพ่ง และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๑๒ เพราะการรุ กล้ ามิ ได้ เกิ ดจากจาเลย
สร้ า งขึ้ น เมื่ อไม่ มีบ ทกฎหมายที่ จะยกมาปรั บคดี ได้จึง ต้องนามาตรา
๑๓๑๒ ซึ่งเป็ นบทกฎหมายใกล้เคียงอย่างยิง่ มาปรับตามมาตรา ๔ วรรค
สอง แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ดังนั้น โจทก์จึงไม่มีอานาจ
ฟ้ องจาเลยให้ร้ื อส่ วนของบ้านเลขที่ ๑๗ ที่รุกล้ า แต่มีสิทธิ เรี ยกเงินเป็ น
ค่ า ใช้ ส่ วนแดนกรรมสิ ทธิ์ และด าเนิ น การจดทะเบี ย นสิ ทธิ เ ป็ น
ภารจายอม
เมื่ อรั้ วบ้า นที่ รุก ล้ า นั้นมิ ใ ช่ ก ารรุ ก ล้ า ของโรงเรื อนหรื อส่ ว น
หนึ่ ง ส่ วนใดของโรงเรื อนอันจะปรั บ ใช้ม าตรา ๑๓๑๒ ได้ จาเลยจึ ง
ต้อง รื้ อรั้วบ้านที่รุกล้ า
216

ข้ อ ๓๖ คาถาม นายรวยมีที่ดินมีโฉนด ๒ แปลงที่อยูต่ ิดกันเนื้ อ


ที่แปลงละ ๒ ไร่ นายรวยปลูกบ้าน ๒ หลังบนที่ดินดังกล่าว โดยบ้าน
หลัง แรกส่ ว นใหญ่ อ ยู่บ นที่ ดิ น แปลงที่ ๒ โดยส่ ว นน้อ ยอยู่บ นที่ ดิ น
แปลงที่ ๑ เป็ นเนื้อที่ ๒๐ ตารางวา บ้านหลังที่สองปลูกบนที่ดินแปลงที่
๒ ต่อมานายรวยแบ่งที่ดินแปลงที่ ๒ ออกเป็ น ๒ แปลง เนื้ อที่แปลงละ
๑ ไร่ ที่ ดินแปลงที่ ๒ คงเหลื อเนื้ อที่ ๑ ไร่ และที่ ดินแปลงที่ ๓ ที่แยก
ออกไปมีเนื้อที่ ๑ ไร่ โดยบ้านหลังที่ ๒ ส่ วนใหญ่อยูบ่ นที่ดินแปลงที่ ๒
ส่ วนน้อยอยู่บนที่ ดินแปลงที่ ๓ เป็ นเนื้ อที่ ๒๐ ตารางวา นายรวยเป็ น
หนี้ นายมัง่ คัง่ แล้วไม่ ช าระ นายมัง่ คัง่ ฟ้ องศาลและดาเนิ นการจนเจ้า
พนักงานบังคับคดียึดที่ดินแปลงที่ ๑ ขายทอดตลาดตามคาสั่งศาลโดย
นายมัง่ คัง่ เป็ นผูซ้ ้ื อที่ดินแปลงที่ ๑ ได้ และจดทะเบียนโอนที่ดินมาเป็ น
ของตนแล้ว และนายรวยจดทะเบียนโอนขายที่ดินแปลงที่ ๓ ให้แก่นาย
อุดม ต่อมานายมัง่ คัง่ และนายอุดมทราบว่าบ้านหลังแรกของนายรวยรุ ก
ล้ าที่ดินแปลงที่ ๑ และบ้านหลังที่สองของนายรวยรุ กล้ าที่ดินแปลงที่ ๓
แปลงละ ๒๐ ตารางวา
ให้วนิ ิจฉัยว่า นายมัง่ คัง่ และนายอุดมจะให้นายรวยรื้ อบ้านส่ วน
ที่รุกล้ าออกไปได้หรื อไม่อย่างไร
ข้ อ ๓๖ ค าตอบ ขณะนายรวยปลู ก บ้า นหลังแรกลงบนที่ ดิ น
แปลงที่ ๑ และบนที่ดินแปลงที่ ๒ ของนายรวยที่อยูต่ ิดกันนั้น นายรวย
เป็ นเจ้ าของที่ดินทั้งสองแปลง นายรวยย่ อมมี สิทธิที่จะปลูกสร้ างได้ ใน
ฐานะเป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ซึ่งมีสิทธิใช้ สอยตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๓๖ จึงมิใช่ เป็ นการปลูกโรงเรื อนรุ กลา้ เข้ าไปใน
217

ที่ดินของผู้อื่นโดยสุ จริ ตตามมาตรา ๑๓๑๒ ต่อมาที่ ดินแปลงที่ ๑ ถูก


บัง คับ คดี น าออกขายทอดตลาด นายมั่ง คั่ง เป็ นผูซ้ ้ื อ ได้จ ากการขาย
ทอดตลาด แม้ นายมั่งคั่งจะรู้ หรื อไม่ ร้ ู ว่ามีบ้านหลังแรกปลูกสร้ างอยู่บน
ที่ดินแปลงที่ ๑ แต่ ที่ดินแปลงที่ ๑ ก็เป็ นของนายรวยซึ่ งเป็ นลูกหนี้ตาม
คาพิพากษา จึงถือว่ านายมั่งคั่ งซื้อที่ดินแปลงที่ ๑ มาโดยสุ จริ ต สิ ทธิ
ของนายมั่งคั่งทีไ่ ด้ ทดี่ ินพิพาทจากการขายทอดตลาดย่ อมไม่ เสี ยไปตาม
มาตรา ๑๓๓๐ นายมั่งคั่งจึงมีกรรมสิ ทธิ์ในที่ดินแปลงที่ ๑ และหลังจาก
นายมัง่ คัง่ ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินแปลงที่ ๑ มาจากการขายทอดตลาดแล้ว
นายมั่งคั่งซึ่ งมีกรรมสิ ทธิ์ในที่ดินแปลงที่ ๑ ไม่ ได้ ก่อให้ เกิดสิ ทธิเหนือ
พืน้ ดินเป็ นคุณแก่ นายรวยโดยยอมให้ นายรวยเป็ นเจ้ าของบ้ านหลังแรก
บนที่ดินของนายมั่งคั่งต่ อไป และนายมั่งคั่งในฐานะเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์
ทีด่ ินแปลงที่ ๑ ย่ อมมีแดนแห่ งกรรมสิ ทธิ์และมีสิทธิใช้ สอย ตลอดจนมี
สิ ทธิ ติดตามและเอาคื นซึ่ งทรั พย์ สินของตนจากบุ คคลผู้ ไม่ มีสิทธิ จ ะ
ยึดถือไว้ และมีสิทธิขัดขวางมิให้ ผ้ อู นื่ สอดเข้ าเกี่ยวข้ องกับทรัพย์ สินนั้น
โดยมิชอบด้ วยกฎหมายตามมาตรา ๑๓๓๕ และมาตรา ๑๓๓๖ เมื่อนาย
มัง่ คัง่ ไม่ประสงค์จะให้บา้ นหลังแรกอยูบ่ นที่ดินของนายมัง่ คัง่ อีกต่อไป
นายมั่งคั่งจึงมีสิทธิขอให้ นายรวยรื้อถอนบ้ านหลังแรกส่ วนที่รุกลา้ ออก
จากที่ดินแปลงที่ ๑ ได้ มิใช่ เป็ นการใช้ สิทธิไม่ สุจริ ต และกรณีมิใช่ ไม่ มี
บทกฎหมายที่จะยกขึ้นปรั บแก่ คดีอันจะต้ องอาศัยเพียงบทกฎหมายที่
ใกล้ เ คี ย งอย่ า งยิ่ ง มาวิ นิ จ ฉั ย คดี ต ามมาตรา ๔ (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่
๙๗๘๕/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๘ น. ๒๐๘, ที่ ๗๙๖/๒๕๕๒) นายมั่งคั่งจึง
มีสิทธิขอให้ นายรวยรื้ อบ้ านหลังแรกส่ วนที่รุกล้าเข้ ามาในที่ดินแปลง
218

ที่ ๑ ออกไปได้
การที่นายรวยปลูกบ้านหลังที่สองบนที่ดินแปลงที่ ๒ ซึ่ งเดิ ม
เป็ นของนายรวยแล้วต่อมามีการแบ่งแยกที่ดินนั้น ทาให้บางส่ วนของ
บ้านหลังที่สองของนายรวยรุ กล้ าเข้าไปในที่ดินแปลงที่ ๓ ที่แบ่งแยก
ออกจากที่ดินแปลงที่ ๒ ซึ่ งต่อมามีการโอนขายที่ดินแปลงที่ ๓ ให้แก่
นายอุดม เป็ นกรณีไม่ มีบทกฎหมายปรั บแก่ คดีได้ โดยตรง จึงต้ องอาศัย
เทียบบทกฎหมายที่ใกล้ เคียงอย่ างยิ่งตามมาตรา ๔ และบทกฎหมายที่
ใกล้ เคียงอย่ างยิ่งที่จะปรั บกับข้ อเท็จจริ งนี้ได้ คือ กรณีที่บุคคลใดสร้ าง
โรงเรื อนรุ กลา้ เข้ าไปในที่ดินของผู้อื่นโดยสุ จริ ต บุคคลนั้นเป็ นเจ้ าของ
โรงเรือนที่สร้ างขึน้ แต่ ต้องเสี ยเงินให้ แก่ เจ้ าของที่ดินเป็ นค่ าใช้ ที่ดินนั้น
และจดทะเบียนสิ ทธิเป็ นภาระจายอมตามมาตรา ๑๓๑๒ เมื่อกรณีถือได้
ว่ าการรุ กลา้ ดังกล่ าวเป็ นไปโดยสุ จริต นายรวยจึงเป็ นเจ้ าของบ้ านหลังที่
สองส่ วนที่รุกล้าตามมาตรา ๑๓๑๒ วรรคหนึ่ ง นายอุ ดมจึ งไม่ มีสิทธิ
ขอให้ นายรวยรื้อถอนบ้ านหลังทีส่ องออกจากทีด่ ินแปลงที่ ๓ คงมีเพียง
สิ ทธิเรี ยกร้ องให้ นายรวยใช้ ค่าที่ดินส่ วนที่นายรวยปลูกสร้ างบ้ านรุ กลา้
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๑/๒๕๕๑, ที่ ๖๕๙๓/๒๕๕๐)
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๙๗๘๕/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๘ น. ๒๐๘
บ้านเลขที่ ๖/๑ ตั้งอยู่บนที่ ดินซึ่ งเป็ นของเจ้าของคนเดี ยวกันคือจาเลย
ต่ อมาเมื่ อมี ก ารแบ่ ง แยกขายที่ ดิน เฉพาะโฉนดเลขที่ ๑๓๗๔๒ จึ ง มี
โรงเรื อนบางส่ วนรุ กล้ าเข้าไปในที่ดินของโจทก์ผซู ้ ้ื อ การที่จาเลยปลูก
สร้ า งบ้า นลงบนที่ ดิ น พิ พ าทและบนที่ ดิ น ของจ าเลยอี ก แปลงที่ อ ยู่
ติดต่อกัน โดยจาเลยเป็ นเจ้าของที่ดินทั้งสองแปลง จาเลยจึงมีสิทธิ ปลูก
219

สร้ างได้ในฐานะเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ซึ่ งมิใช่การปลูกโรงเรื อนรุ กล้ าเข้า


ไปในที่ดินของผูอ้ ื่นโดยสุ จริ ตตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๑๒ เมื่ อต่อมา
ที่ดินพิพาทถูกบังคับคดีนาออกขายทอดตลาด กรณี ยอ่ มต้องด้วยมาตรา
๑๓๓๐ โจทก์ผซู ้ ้ื อที่ดินได้จากการขายทอดตลาดอันเป็ นที่ดินของจาเลย
ซึ่ งเป็ นลูกหนี้ตามคาพิพากษาจึงถือว่าโจทก์ซ้ื อที่ดินพิพาทมาโดยสุ จริ ต
ส่ วนบ้านและสิ่ งปลูกสร้ างที่อยูบ่ นที่ดินพิพาทจะมีหรื อไม่ หรื อโจทก์
จะรู ้ หรื อ ไม่ ว่า มี บ ้า นและสิ่ ง ปลู ก สร้ า งอยู่บ นที่ ดิน พิ พ าท ก็ ไ ม่ ท าให้
โจทก์มิใช่ ผซู ้ ้ื อโดยสุ จริ ต กรณี หาจาต้องให้ผเู ้ ข้าประมูลซื้ อทรัพย์จาก
การขายทอดตลาดต้อ งตรวจสอบว่ า ที่ ดิ น พิ พ าทที่ ถู ก น าออกขาย
ทอดตลาดมี ส ภาพหรื อภาระอย่า งไร เมื่ อโจทก์เ ป็ นผูซ้ ้ื อทรั พ ย์ที่ ดิ น
พิพาทจากการขายทอดตลาดโดยสุ จริ ต สิ ทธิ ของโจทก์ที่ได้ที่ดินจาก
การขายทอดตลาดย่อมไม่เสี ยไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๐ โจทก์มี
กรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น พิ พ าท และเมื่ อโจทก์ ก็ ไ ม่ แ สดงให้ ป รากฏว่า ได้
ก่อให้เกิ ดสิ ทธิ เหนื อพื้นที่ ดินเป็ นคุ ณแก่ จาเลย โดยยอมให้จาเลยเป็ น
เจ้าของบ้านบนที่ดินของโจทก์ต่อไป โจทก์ในฐานะเจ้าของกรรมสิ ทธิ์
ผูไ้ ม่ประสงค์จะให้จาเลยปลูกบ้านและสิ่ งปลูกสร้ างอยู่บนที่ดินโจทก์
อีกต่อไป แต่จาเลยเพิกเฉย จึงเป็ นการละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ในฐานะ
เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ จึงมีสิทธิ ขอบังคับให้จาเลยรื้ อถอนบ้านและสิ่ งปลูก
สร้างออกไปจากที่ดินของโจทก์ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๙๖/๒๕๕๒ ฎ.๗๐ ขณะจาเลยปลูกสร้าง
บ้านลงบนที่ดินพิพาทและบนที่ดินของจาเลยอีกแปลงหนึ่ งที่อยู่ติดกัน
นั้น จาเลยเป็ นเจ้าของที่ ดินทั้ง สองแปลง จาเลยย่อมมี สิท ธิ ที่ จะปลู ก
220

สร้างได้ในฐานะเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ จึงมิใช่เป็ นการปลูกโรงเรื อนรุ ก


ล้ า เข้า ไปในที่ ดินของผูอ้ ื่ นโดยสุ จริ ตตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๑๒ ต่ อ มาที่ ดิ น พิ พ าทถู ก บัง คับ คดี น าออกขาย
ทอดตลาด โจทก์ เ ป็ นผูซ้ ้ื อ ได้จ ากการขายทอดตลาด แม้โ จทก์ จ ะรู ้
หรื อไม่รู้ว่ามีบา้ นและสิ่ งปลู กสร้ างอยู่ในที่ดินพิพาท แต่ที่ดินพิพาทก็
เป็ นของจาเลยซึ่ ง เป็ นลู ก หนี้ ตามคาพิ พากษา จึ ง ถื อว่า โจทก์ซ้ื อที่ ดิน
พิ พ าทมาโดยสุ จ ริ ต สิ ท ธิ ข องโจทก์ ที่ ไ ด้ ที่ ดิ น พิ พ าทจากการขาย
ทอดตลาดย่อมไม่เสี ยไปตามมาตรา ๑๓๓๐ โจทก์จึงมี ก รรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินพิพาท และหลังจากโจทก์ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทมาจากการ
ขายทอดตลาดแล้ว โจทก์ซ่ ึ งมีกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทไม่ได้ก่อให้เกิด
สิ ทธิ เหนื อพื้นดิ นเป็ นคุ ณแก่ จาเลย โดยยอมให้จาเลยเป็ นเจ้าของบ้าน
และสิ่ ง ปลู ก สร้ า งบนที่ ดิ น ของโจทก์ ต่ อ ไป และโจทก์ ใ นฐานะมี
กรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดินพิ พ าท ย่อมมี แดนแห่ ง กรรมสิ ท ธิ์ และมี สิ ท ธิ ตาม
มาตรา ๑๓๓๕ และมาตรา ๑๓๓๖ เมื่อโจทก์ไม่ประสงค์จะให้จาเลย
ปลู กบ้านและสิ่ งปลู ก สร้ างอยู่บนที่ ดินของโจทก์อีก ต่อไป และบอก
กล่าวให้จาเลยรื้ อถอนออกจากที่ดินพิพาทแล้วจาเลยเพิกเฉย จึงเป็ นการ
ละเมิ ดทาให้โจทก์ไม่อาจใช้ประโยชน์ในที่ ดินพิพาทได้ โจทก์ย่อมมี
อานาจขอให้บงั คับจาเลยรื้ อถอนบ้านและสิ่ งปลูกสร้างออกไปจากที่ดิน
พิพาทของโจทก์ได้ มิใช่เป็ นการใช้สิทธิ ไม่สุจริ ต และกรณี มิใช่ไม่มีบท
กฎหมายที่ จ ะยกขึ้ น ปรั บ แก่ ค ดี อ ัน จะต้อ งอาศัย เพี ย งบทกฎหมายที่
ใกล้เคียงอย่างยิง่ มาวินิจฉัยคดีตามมาตรา ๔
ข้ อสั งเกต คำพิ พำกษำฎี กำนี ้ไม่ ไ ด้ กลดบบรรทด ดฐำนตำมฎี กำที่ ๓๘๑/
221

๒๕๕๑, ที่ ๖๕๙๓/๒๕๕๐ แต่ ที่ผลแตกต่ ำบกดนเป็ นเพรำวข้ อเท็ะะริ บ


ตำมฎีกำที่ ๗๙๖/๒๕๕๒ ที่ ดินเป็ นสอบแปลบอยู่แล้ ั แลวเะ้ ำขอบที่ ดิน
ปลู ก บ้ ำ นคร่ อมที่ ดิ น ทด้ บ สอบแปลบ แต่ ข้ อ เท็ะ ะริ บตำมฎี ก ำที่ ๓๘๑/
๒๕๕๑, ที่ ๖๕๙๓/๒๕๕๐ เะ้ ำ ขอบที่ ดิ น ปลู ก บ้ ำ นบนที่ ดิ น แปลบ
เดี ย ักด น แล้ ัมี ก ำรแบ่ บ แยกเป็ นสอบแปลบ แลวคดี ต ำมฎี ก ำที่ ๗๙๖/
๒๕๕๒ สิ ทธิ ขอบโะทก์ ที่ได้ ที่ดินะำกกำรขำยทอดตลำดย่ อมไม่ เสี ยไป
ตำมมำตรำ ๑๓๓๐ ซึ่ บต่ ำบะำกคดี ตำมคำพิพำกษำฎีกำที่ ๓๘๑/๒๕๕๑,
ที่ ๖๕๙๓/๒๕๕๐ ที่ รดบโอนที่ ดินกดนตำมนิ ติกรรมสด ญญำทด่ัไป ไม่ ใช่
กำรขำยทอดตลำดตำมคำสด่บศำล
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๑/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล.๒ น.๓๙ การที่จาเลย
ปลูกบ้านในที่ดินซึ่ งเดิมเป็ นของจาเลยแล้วต่อมามีการแบ่งแยกที่ดินนั้น
ทาให้บางส่ วนของบ้านจาเลยรุ กล้ าเข้าไปในที่ดินพิพาทที่แบ่งแยกออก
จากที่ดินดังกล่าวซึ่ งต่อมามีการโอนขายให้แก่โจทก์ เป็ นกรณี ไม่มีบท
กฎหมายปรั บ แก่ ค ดี ไ ด้ โ ดยตรง จึ ง ต้อ งอาศัย เที ย บบทกฎหมายที่
ใกล้เคี ย งอย่างยิ่งตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔ และบทกฎหมายที่ใ กล้เคีย ง
อย่างยิง่ ที่จะปรับกับข้อเท็จจริ งนี้ได้คือ ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๑๒ เมื่อกรณี
ถื อได้ว่าการรุ กล้ าดังกล่าวเป็ นไปโดยสุ จริ ต จาเลยจึงเป็ นเจ้าของบ้าน
ส่ วนที่รุกล้ าตามมาตรา ๑๓๑๒ วรรคหนึ่ง โจทก์ไม่มีสิทธิ ฟ้องบังคับให้
จาเลยรื้ อถอน คงมีเพียงสิ ทธิ เรี ยกร้ องให้จาเลยใช้ค่าที่ดินส่ วนที่จาเลย
ปลูกสร้างบ้านรุ กล้ า
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๕๙๓/๒๕๕๐ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๑๓๗ จาเลย
ปลูกสร้างบ้านในที่ดินของ ล. เจ้าของที่ดินโดย ล. ยินยอม ย่อมเป็ นการ
222

ปลูกสร้างโดยสุ จริ ต บ้านดังกล่าวเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของจาเลย หลังจาก ล.


ถึงแก่ความตายมีการแบ่งแยกที่ดินดังกล่าวปรากฏว่าบ้านของจาเลยอยู่
ในที่ดินที่ตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของจาเลย แต่โครงหลังคาบ้านซึ่ งติดอยูก่ บั
บ้านเป็ นส่ วนหนึ่ งของบ้านล้ าเข้าไปในที่ดินส่ วนที่ ตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์
ของโจทก์ อันเป็ นกรณี ที่เทียบเคียงได้กบั การปลูกโรงเรื อนรุ กล้ าที่ดิน
ของผูอ้ ื่ นโดยสุ จริ ตตามบทกฎหมายดังกล่ าว ถื อได้ว่า ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๑๒ วรรคหนึ่ง เป็ นบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิง่ เมื่อกรณี ดงั กล่าว
ไม่มีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับแก่คดีและไม่ปรากฏว่ามีจารี ตประเพณี
แห่ งท้องถิ่ น จึงต้องอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งดังกล่าว
ตามมาตรา ๔ วรรคสอง เมื่อใช้มาตรา ๑๓๑๒ วรรคหนึ่ ง ประกอบ
มาตรา ๔ วรรคสอง มาปรั บ แก่ ค ดี แ ล้ว ที่ ดินของโจทก์ส่ วนที่ โครง
หลัง คาบ้า นของจ าเลยรุ ก ล้ า เข้า ไปจึ ง เป็ นภาระจ ายอมที่ ต้อ งไปจด
ทะเบียนสิ ทธิ ดงั กล่าวตามบทบังคับของมาตรา ๑๓๑๒ วรรคหนึ่ง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๗๙๙/๒๕๕๒ ฎ. ๗๖๑ กันสาดด้านหน้า
และด้านหลังตึกแถวของจาเลยรุ กล้ าที่ดินของโจทก์ โดยบริ ษทั ท. ซึ่ ง
เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ เดิมได้ก่อสร้างและแบ่งขายพร้อมที่ดิน จาเลยกับ
พวกซื้ อตึกแถวที่มีกนั สาดที่สร้างขึ้นพร้อมอาคารดังกล่าวอยูแ่ ล้ว ต่อมา
โจทก์ซ้ื อที่ดินในสภาพที่มีกนั สาดด้านหน้าและด้านหลังตึกแถวของ
จาเลยรุ กล้ าที่ดินของโจทก์จากบริ ษทั ท. อีก เมื่อจาเลยมิได้เป็ นผูส้ ร้าง
ตึกแถวพร้อมกันสาด หากแต่เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินเดิมเป็ นผูส้ ร้างใน
ที่ดินของตนเองโดยชอบด้วยกฎหมาย ซึ่ งไม่มีกฎหมายที่จะยกมาปรับ
คดี ได้ จึ ง ต้องนาประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๔ มาใช้
223

บัง คับ โดยอาศัย เที ย บบทกฎหมายที่ ใ กล้เ คี ย งอย่ า งยิ่ ง ได้แ ก่ ม าตรา
๑๓๑๒ วรรคหนึ่ ง จาเลยจึงมีสิทธิ ใช้ส่วนแห่ งแดนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินของ
โจทก์ที่อยูใ่ ต้แนวกันสาดที่รุดล้ าเข้าไปนั้นได้ โดยถือว่ากันสาดที่รุกล้ า
นั้น เป็ นมาโดยสุ จ ริ ต แต่ จาเลยต้องเสี ย ค่ า ใช้ที่ ดิน นั้น แก่ โ จทก์ โดย
โจทก์ตอ้ งจดทะเบียนสิ ทธิ ภาระจายอมให้จาเลย โจทก์จึงไม่มีอานาจ
ฟ้ องจาเลยรื้ อกันสาดอันเป็ นสิ่ งปลู กสร้ างออกไปจากที่ ดินของโจทก์
จนกว่าจาเลยจะไม่ใช้ค่าใช้ที่ดินนั้น

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๑๒


คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๕๖๐/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๔ น.๑๔๑ การสร้าง
โรงเรื อนรุ กล้ าเข้าไปในที่ดินของบุคคลอื่นโดยสุ จริ ตหรื อไม่น้ นั ต้องดู
จากขณะที่ก่อสร้างว่าผูก้ ่อสร้ างรู ้หรื อไม่วา่ ที่ดินตรงนั้นเป็ นของบุคคล
อื่ น ถ้ารู ้ ก็ ถือว่าก่ อสร้ า งโดยไม่ สุจริ ต แต่ ถ้าในขณะที่ ก่ อสร้ างไม่รู้ว่า
ที่ ดิ น ตรงนั้น เป็ นของบุ ค คลอื่ น เข้า ใจว่า เป็ นที่ ดิ น ของตน จึ ง สร้ า ง
โรงเรื อนลงไป ครั้นภายหลังจึงรู ้ ความจริ ง ก็ถือว่าเป็ นการก่อสร้ างรุ ก
ล้ าโดยสุ จริ ต เมื่อข้อเท็จจริ งฟั งได้ว่าขณะจาเลยก่อสร้างโรงเรื อนรุ กล้ า
เข้าไปในที่ดินของโจทก์น้ นั ทั้งโจทก์และจาเลยต่างก็ไม่รู้ว่าโรงเรื อน
ดังกล่าวรุ กล้ าเข้าไปในที่ดินของโจทก์ ต่างฝ่ ายเพิ่งมาทราบในภายหลัง
แม้ว่ า จ าเลยไม่ ไ ด้รั ง วัด สอบเขตก่ อ นที่ จ ะก่ อ สร้ า ง แต่ ข ณะจ าเลย
ก่ อสร้ างโจทก์ก็ รู้เห็ นมิ ไ ด้โต้แย้งแต่อย่างใด กรณี จึง ไม่ อาจถื อได้ว่า
จาเลยกระทาโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงอันจะเป็ นการทาโดยไม่
สุ จริ ตได้ ต้องฟั ง ว่าจาเลยก่ อสร้ า งโรงเรื อนรุ ก ล้ า เข้า ไปในที่ ดินของ
224

โจทก์โดยสุ จริ ต แต่เมื่อโจทก์มิได้มีคาขอให้จาเลยชดใช้ค่าใช้ที่ดิน ศาล


จึงพิพากษาให้จาเลยชาระเงินเป็ นค่าชดใช้ที่ดินแก่โจทก์ไม่ได้ เพราะจะ
เกินไปกว่าที่ปรากฏในคาฟ้ องตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๔๗


ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๓๓๘๒/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๘ น.๖๘ สภาพ
ต้นไม้มี ล ัก ษณะถู ก ตัดเฉพาะกิ่ ง ส่ วนล าต้นยัง คงอยู่ จึ ง เชื่ อว่าจาเลย
ทั้งสามเพียงแต่ตดั เฉพาะกิ่งไม้ซ่ ึ งยืน่ ล้ าเข้าไปในที่ดินของจาเลยที่ ๑ จน
เป็ นอุปสรรคในการก่อสร้างบ้าน แม้ไม่ปรากฏข้อเท็จจริ งว่า จาเลยที่ ๑
ได้บอกโจทก์ให้ตดั ภายในเวลาอันสมควรแล้วแต่โจทก์ไม่ตดั ก็ตาม ก็
เป็ นเพียงจาเลยที่ ๑ มิได้ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขแห่ ง ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๗
เท่านั้น แต่การที่โจทก์ปล่อยให้กิ่งไม้รุกล้ าเข้ามาในที่ดินของจาเลยที่ ๑
ย่อมเป็ นการละเมิดสิ ทธิ เหนื อพื้นดินของจาเลยที่ ๑ ตามมาตรา ๑๓๓๕
ประกอบมาตรา ๔๒๐ ซึ่ งหากจาเลยที่ ๑ บอกโจทก์ให้ตดั ภายในเวลา
อันสมควรแล้ว แต่โจทก์ไม่ตดั กิ่ งไม้ออก จาเลยที่ ๑ ย่อมมีสิทธิ ตดั กิ่ ง
ไม้เอาเสี ย ได้เช่ นกัน อันเป็ นการป้ องกันกรรมสิ ทธิ์ ในทรั พ ย์สินของ
จาเลยที่ ๑ ด้วย เมื่อไม่ปรากฏว่าเป็ นการตัดกิ่งไม้จนโจทก์ได้รับความ
เสี ยหายเกินสมควรแก่เหตุ จึงไม่กาหนดค่าเสี ยหายให้
225

ทางจาเป็ น
ข้ อ ๓๗ คาถาม นาย ก. เป็ นเจ้าของที่ดินแปลงที่ ๑ ซึ่ งติดทาง
สาธารณะด้านหนึ่ งอยู่แล้ว แต่นาย ก. ใช้สิทธิ เดิ นผ่านที่ดินแปลงที่ ๒
ซึ่ งเป็ นของนาย ข. ผ่านออกสู่ ทางสาธารณะอีกด้านหนึ่ ง โดยสงบโดย
เปิ ดเผยมาตั้งแต่ปี ๒๕๓๕ ที่ดินอีกส่ วนหนึ่ งของนาย ก. แปลงดังกล่าว
ติดกับที่ดินแปลงที่ ๓ ของนาย ค. ซึ่งนาย ค. ใช้สิทธิเดินผ่านที่ดินแปลง
ที่ ๔ ของนาย ง. ผ่านออกสู่ ทางสาธารณะอีกด้านหนึ่ งอย่างทางจาเป็ น
ตั้งแต่ปี ๒๕๓๕ เพราะที่ดินของนาย ค. ไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะ
โดยนาย ง. ยินยอม ต่อมาปี ๒๕๔๙ นาย ค. ขายที่ดินแปลงที่ ๓ ให้แก่
นาย ก. นาย ก. รับซื้ อไว้โดยทราบว่า นาย ค. เดิ นผ่านที่ดินแปลงที่ ๔
ของนาย ง. อย่างทางจาเป็ น และในปี เดียวกันนาย ข. ขายที่ดินแปลงที่
๒ ให้แก่นาย จ. ตามราคาตลาดโดยนาย จ. ไม่ทราบว่าที่ดินแปลงที่ ๒
ถูกนาย ก. เจ้าของที่ดินแปลงที่ ๑ เดินผ่านตั้งแต่ปี ๒๕๓๕ หลังจากจด
ทะเบียนโอนที่ดินทั้งสองแปลงแล้วนาย ก. มีปากเสี ยงกับนาย จ. และ
นาย ง. นาย จ. และนาย ง. จึงปิ ดทางไม่ให้นาย ก. เดินผ่านที่ดินแปลงที่
๒ และแปลงที่ ๔ ออกสู่ ทางสาธารณะ
ให้วินิจฉัย ว่า นาย ก. มี สิ ท ธิ ใ ช้ท างเดิ นผ่า นที่ ดินแปลงที่ ๒
ของนาย จ. และที่ดินแปลงที่ ๔ ของนาย ง. หรื อไม่ อย่างไร
226

ข้ อ ๓๗ คาตอบ นาย ก. เป็ นเจ้าของที่ดินแปลงที่ ๑ เดิ นผ่าน


ที่ดินแปลงที่ ๒ ซึ่ งเป็ นของนาย ข. อย่างทางภาระจายอมโดยเปิ ดเผย
ตั้งแต่ปี ๒๕๓๕ ถึงปี ๒๕๔๙ เป็ นการใช้ ทางภาระจายอมโดยสงบ โดย
เปิ ดเผยติดต่ อกันเป็ นเวลาเกิน ๑๐ ปี แล้ ว เมื่อไม่ ได้ ความว่ าเคยมีการขอ
อนุ ญ าตหรื อ มี ก ารให้ ค่ า ตอบแทนแก่ น าย ข. เพื่ อ ใช้ ทางพิพ าทเป็ น
ทางเดิ น ทั้งพฤติการณ์ ไม่ ปรากฏว่ านาย ก. ใช้ ทางพิพ าทโดยการถือ
วิสาสะ แสดงว่ามีการใช้ ทางพิพาทอย่างประสงค์ จะให้ ได้ สิทธิทางภาระ
จายอม โดยมิได้ อาศัยสิ ทธิของผู้ใด จึงนับได้ ว่ามีลักษณะเป็ นการใช้ ทาง
ที่เป็ นปรปั กษ์ ต่อนาย ข. เจ้ าของที่ดินแปลงที่ ๒ นาย ก. ย่ อมได้ สิทธิ
ในทางพิพาทเป็ นทางภาระจายอมโดยอายุความตามประมวลกฎหมาย
แ พ่ ง แ ล ะ พ า ณิ ช ย์ ม า ต ร า ๑ ๔ ๐ ๑ ป ร ะ ก อ บ ม า ต ร า ๑ ๓ ๘ ๒
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๖๔/๒๕๔๘)
การที่ น าย ก. เจ้ า ของที่ ดิ น แปลงที่ ๑ ได้ ท างภาระจ ายอม
ดังกล่ าวมาโดยอายุความ ภาระจายอมดังกล่ าวบริ บูรณ์ เป็ นทรั พยสิ ทธิ
ด้ วยอานาจแห่ งกฎหมายและจะติดไปกับตัวทรัพย์ แม้นาย ข. ขายที่ดิน
แปลงที่ ๒ ให้แก่นาย จ. โดยนาย จ. ไม่ทราบว่าที่ดินแปลงที่ ๒ ถูกนาย
ก. เจ้าเดินผ่านตั้งแต่ปี ๒๕๓๕ ถึง ๒๕๔๙ แต่นาย จ. หาอาจอ้ างว่ าตน
ได้ กรรมสิ ทธิ์ ใ นที่ดิ นที่เป็ นภารยทรั พย์ โดยเสี ยค่ า ตอบแทนและโดย
สุ จริต จึงมีสิทธิดีกว่านาย ก. ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ได้ ไม่ เพราะ
สิ ทธิ ที่จะได้ รับความคุ้ ม ครองตามความหมายในบทบั ญญัติดั งกล่ า ว
ต้ องเป็ นสิ ทธิในประเภทเดียวกัน แต่ ภาระจายอมเป็ นสิ ทธิในประเภท
รอนสิ ทธิ ส่ วนกรรมสิ ทธิ์เป็ นสิ ทธิในประเภทได้ สิทธิ เป็ นสิ ทธิคนละ
227

ประเภทกั น นาย จ. ไม่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองตามมาตรา ๑๒๙๙


วรรคสอง นาย ก. จึ ง มี สิ ท ธิ ใ ช้ ทางเดิ น ผ่ า นที่ ดิ น แปลงที่ ๒ ของ
นาย จ. ได้ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๒๖๒/๒๕๔๘)
นาย ค. ใช้สิทธิ เดินผ่านที่ดินแปลงที่ ๔ ของนาย ง. ผ่านออกสู่
ทางสาธารณะอย่างทางจาเป็ นตั้งแต่ปี ๒๕๓๕ ถึงปี ๒๕๔๙ นั้น เป็ น
การใช้ทางจาเป็ นผ่านที่ดินของนาย ง. เนื่ องจากที่ดินของนาย ค. มีที่ดิน
แปลงอื่นล้อมอยูจ่ นไม่มีทางออกถึงทางสาธารณะได้ตามมาตรา ๑๓๔๙
วรรคหนึ่ง แม้ นาย ค. จะใช้ ทางมาเป็ นเวลาเกิน ๑๐ ปี แต่ นาย ค. ก็ไม่ ได้
ภาระจายอมโดยอายุค วาม เพราะการใช้ ทางของนาย ค. โดยนาย ง.
ยินยอม ไม่ ใช่ การใช้ ทางอย่ างปรปักษ์ (เทียบคาพิพากษาฎีกาที่ ๔๐๐๐/
๒๕๔๘) ต่ อมาปี ๒๕๔๙ นาย ค. ขายที่ ดินแปลงที่ ๓ ให้แก่ นาย ก.
แม้เดิมนาย ค. จะมีสิทธิ ใช้ทางในที่ดินของนาย ง. ในฐานะทางจาเป็ น
ก็ตาม แต่ ก็มิได้ หมายความว่ านาย ก. ผู้รับโอนที่ดินจะได้ สิทธิ ในทาง
จาเป็ นนั้นด้ วยอย่ างภาระจายอม เพราะทางจาเป็ นมิใช่ ทรัพยสิ ทธิที่ติด
กับ ที่ดิ นที่จ ะโอนไปพร้ อมกับ ที่ดินด้ ว ย โดยทางจาเป็ นเป็ นข้ อจากัด
กรรมสิ ทธิ์ตามกฎหมายที่เป็ นการจากัดและลิดรอนอานาจกรรมสิ ทธิ์
ที่ดินของบุคคลอื่น จึงต้ องแปลความโดยเคร่ งครั ด เมื่อที่ดินที่นาย ก.
รั บโอนมาจากนาย ค. มีทางออกสู่ ทางสาธารณะโดยผ่ านที่ดินอีกแปลง
หนึ่ งของนาย ก. ซึ่ งอยู่ติดกัน จึงถือไม่ ได้ ว่าที่ดินที่นาย ก. รั บโอนมา
จากนาย ค. มีทดี่ ินแปลงอืน่ ล้ อมอยู่จนไม่ มีทางออกถึงทางสาธารณะได้
ตามมาตรา ๑๓๔๙ วรรคหนึ่ ง นาย ก. จึงไม่ มีสิทธิใช้ ทางเดินผ่ านที่ดิน
แปลงที่ ๔ ของนาย ง. เป็ นทางจ าเป็ น (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๕๖๗๒/
228

๒๕๔๖ (ประชุมใหญ่))
ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนี ้นดกศึ กษำอำะะวหลบไปตอบคำพิ พำกษำฎี กำที่
๕๑๐๓/๒๕๔๗ ทำบะำเป็ นมิได้ กำหนดเบื่อนไขั่ ำผู้เป็ นเะ้ ำขอบที่ ดินที่
ถูกล้ อมะวต้ อบได้ ที่ดินมำโดยสุะริ ต แม้ ะวฟด บได้ ั่ำโะทก์ ซื้อที่ ดินมำโดย
รู้ อยู่แล้ ัั่ ำมีที่ดินแปลบอื่ นล้ อมอยู่ะนไม่ มีทำบออกสู่ ทำบสำธำรณวได้
ก็ต ำม ก็ไ ม่ ท ำให้ สิ ท ธิ ข อบโะทก์ ที่ ะ วผ่ ำ นที่ ดิ น ที่ ล้ อ มอยู่อ อกสู่ ทำบ
สำธำรณวหมดไป ซึ่ บข้ อเท็ะะริ บแลวคำัินิะฉดยแตกต่ ำบกดน
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๖๔/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๔ น.๑๗ โจทก์ที่ ๑ ใช้
ทางพิพาทเป็ นทางเข้าออกสู่ ทางสาธารณประโยชน์โดยใช้ทางตั้งแต่
ที่ดินของโจทก์ที่ ๑ เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ม. และ ก. จนกระทัง่ ต่อมาที่ดิน
ตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของโจทก์ที่ ๑ เป็ นการใช้ทางพิพาทสื บเนื่องต่อกันมา
ด้วยความสงบโดยเปิ ดเผย โดยเจตนาใช้ทางพิพาทเป็ นทางเข้าออกเกิน
กว่า ๑๐ ปี เมื่ อ คดี ไ ม่ ไ ด้ค วามว่ า เคยมี ก ารขออนุ ญ าตหรื อ มี ก ารให้
ค่ า ตอบแทนแก่ จ าเลยทั้ง หกเพื่ อ ใช้ ท างพิ พ าทเป็ นทางเข้า ออกทั้ง
พฤติการณ์ ไม่อาจถื อได้ว่าโจทก์ที่ ๑ ใช้ทางพิพาทโดยการถื อวิสาสะ
แสดงว่ามีการใช้ทางพิพาทอย่างประสงค์จะให้ได้สิทธิ ทางภาระจายอม
โดยมิได้อาศัยสิ ทธิ ของผูใ้ ด จึงนับได้วา่ มีลกั ษณะเป็ นการใช้สิทธิ ที่เป็ น
ปรปั กษ์ต่อจาเลยทั้งหกผูเ้ ป็ นเจ้าของทางพิพาท โจทก์ที่ ๑ ย่อมได้สิทธิ
ในทางพิพ าทเป็ นทางภาระจายอมโดยอายุค วามตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๔๐๑ ประกอบด้วยมาตรา ๑๓๘๒
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๒๖๒/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๕ น.๑๕๕ คดี ก่อน
ศาลฎี กาพิพากษาว่าทางพิพาทตกเป็ นภาระจายอมแก่ที่ดินโฉนดเลขที่
229

๑๕๗๖๔ โดยอายุความอันเป็ นทรัพยสิ ทธิ ที่ติดไปกับตัวทรัพย์ กรณี หา


ใช่ เป็ นภาระจายอมโดยนิ ติกรรมซึ่ งยังมิ ได้จดทะเบี ยนอันเป็ นบุ คคล
สิ ทธิ ไม่ จาเลยทั้งสองหาอาจอ้างว่าจาเลยทั้งสองได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินที่
เป็ นภารยทรัพย์โดยเสี ยค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ต จึงมีสิทธิ ดีกว่าโจทก์
ตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ได้ไม่ เพราะสิ ทธิ ตามความหมาย
ในบทบัญญัติดงั กล่าวต้องเป็ นสิ ทธิ ในประเภทเดียวกัน แต่ภาระจายอม
เป็ นสิ ท ธิ ใ นประเภทรอนสิ ท ธิ ส่ วนกรรมสิ ท ธิ์ เป็ นสิ ท ธิ ใ นประเภท
ได้สิทธิ เป็ นสิ ทธิ คนละประเภทกัน ทั้งโจทก์และจาเลยทั้งสองเป็ นผูส้ ื บ
สิ ทธิ จากคู่ความในคดี ก่อน คาพิพากษาศาลฎีกาคดี ก่อนจึงมีผลผูกพัน
โจทก์และจาเลยทั้งสอง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๐๐๐/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๖ น.๑๘๑ การใช้ทาง
ที่จะเป็ นทางภาระจายอมโดยอายุความนั้น โจทก์ตอ้ งได้ใช้ทางพิพาท
ในลัก ษณะปรปั ก ษ์ต่ อเจ้า ของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ต าม ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๘๒ เมื่อโจทก์ได้ใช้ทางพิพาทเข้าออกสู่ ทางสาธารณะโดยได้รับ
ความยินยอมจาก พ. เจ้าของเดิม การที่โจทก์เอาหิ นกรวดมาทาถนนบน
ทางพิพ าทเท่า กับ เป็ นการถื อวิสาสะที่ อาศัย ความเกี่ ย วพันในฐานะที่
จาเลยจะเข้ามาเป็ นเครื อญาติของโจทก์เป็ นสาคัญ จึงถือไม่ได้วา่ โจทก์
ใช้ทางพิพาทในลักษณะปรปั กษ์ต่อจาเลยตามมาตรา ๑๓๘๒ แม้โจทก์
จะใช้ทางพิพาทผ่านที่ดินของจาเลยมากว่า ๑๐ ปี ทางพิพาทก็หาตกเป็ น
ทางภาระจายอมตามมาตรา ๑๔๐๑ ไม่
คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๕๖๗๒/๒๕๔๖ (ประชุ มใหญ่) ฎ.ส.ล.๑๑
น.๔๙ แม้เดิ มผูเ้ ป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินโฉนดที่โจทก์รับโอนมา
230

จะมีสิทธิใช้ทางพิพาทในที่ดินของจาเลยในฐานะทางจาเป็ นก็ตาม แต่ก็


มิได้หมายความว่าโจทก์ผรู ้ ับโอนที่ดินจะได้สิทธิ ในทางพิพาทนั้นด้วย
อย่างภาระจายอม เพราะทางจาเป็ นมิใช่ สิทธิ ที่ติดกับที่ดินที่จะโอนไป
พร้อมกับที่ดินด้วย ทั้งเป็ นการจากัดและลิดรอนอานาจกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน
ของบุคคลอื่นจึงต้องแปลความโดยเคร่ งครัด เมื่อที่ดินที่โจทก์รับโอน
มามีทางออกสู่ ทางสาธารณะโดยผ่านที่ดินอีกแปลงหนึ่ งของโจทก์ซ่ ึ ง
อยูต่ ิดกัน แม้ส่วนที่ดินที่ติดกันกว้างเพียง ๑.๑๖ เมตร และทางเดินออก
สู่ ท างสาธารณะกว้า งเพี ย ง ๑.๓๕ เมตร ไม่ ส ามารถใช้ร ถยนต์เ ป็ น
ยานพาหนะเพื่ อ ผ่ า นเข้า ออกได้ก็ เ ป็ นเรื่ อ งความสะดวกของโจทก์
เท่านั้น หาใช่วา่ โจทก์ไม่มีทางออกไปสู่ ทางสาธารณะไม่ โจทก์จึงไม่มี
สิ ทธิขอเปิ ดทางพิพาทในที่ดินของจาเลยเป็ นทางจาเป็ น

ข้ อ ๓๘ ค าถาม นายรวยท าสั ญญาเป็ นหนัง สื อ ให้นายหนึ่ ง


เจ้าของที่ดินซึ่ งติ ดกับที่ ดินแปลงที่ หนึ่ งของนายรวยใช้เป็ นทางออกสู่
ถนนสาธารณะเนื่ องจากที่ดินของนายหนึ่ งแปลงดังกล่าวมีทางออกอื่น
แต่ ไ กลมากกว่า จะถึ ง ทางสาธารณะ โดยนายรวยได้ค่ า ตอบแทนมา
๑๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่ งสัญญาระบุวา่ สามารถใช้ทางได้ตลอดไป
นายรวยซื้ อ ที่ ดิ น แปลงที่ ส องมาจากนายโลภ โดยท าเป็ น
หนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ โดยนายรวยทราบว่านาย
โลภทาสัญญาเป็ นหนังสื อให้นายสองเจ้าของที่ดินซึ่ งติดกับที่ดินแปลง
ที่สองใช้ที่ดินแปลงที่สองเป็ นทางออกสู่ ถนนสาธารณะ เนื่ องจากเดิ ม
นายสองเคยเดิ นผ่า นล าห้วยหนองแสงเพื่ อออกสู่ ถ นนสาธารณะซึ่ ง
231

ขนานกับลาห้วยหนองแสง แต่ต่อมาได้มีการถมถนนสาธารณะสู งขึ้น


จนสู งระดับศีรษะ ทาให้นายสองใช้ลาห้วยหนองแสงเป็ นทางเข้าออก
ได้ลาบาก เนื่ องจากตามปกติลาห้วยหนองแสงซึ่ งลึกประมาณ ๑ เมตร
มีสภาพแห้งไม่มีน้ า เวลาฝนตกจึ งจะมีน้ าขัง แต่เป็ นเวลาไม่นานก็จะ
แห้งอีก ไม่อาจใช้สัญจรไปมาตามปกติได้ นายสองจึงขอเดินผ่านที่ดิน
แปลงที่สองไปที่นาของตน เนื่องจากที่ดินด้านอื่นของนายสองถูกที่ดิน
แปลงอื่ น ปิ ดล้อ มไม่ อ าจออกสู่ ท างสาธารณะได้ โดยนายสองจ่ า ย
ค่าตอบแทนเดือนละ ๑๐๐ บาท
บริ ษทั สาม จากัด จัดสรรที่ดินซึ่ งติดกับที่ดินแปลงที่สามของ
นายรวย แต่ที่ดินของบริ ษทั สาม จากัด ไม่มีทางออก ต้องผ่านที่ดินของ
นายรวยและนายเฮงจึงจะออกสู่ ทางสาธารณะได้ บริ ษทั สาม จากัด จึง
ตกลงกับนายรวยและนายเฮงเพื่อขอใช้ที่ดินของนายรวยและนายเฮง
เป็ นทางออกสู่ ถนนสาธารณะ นายรวยและนายเฮงยอมยกที่ ดินส่ วน
ของตนเป็ นถนนสาธารณะ เพราะนายรวยและนายเฮงจะสมัครเป็ น
สมาชิ กสภาเทศบาล จะได้มีฐานคะแนนเสี ยงจากชาวบ้ าน ทั้งที่ ที่ดิน
ของนายรวยแปลงที่สามติดจานองอยูก่ บั ธนาคารไทย จากัด (มหาชน)
โดยมีขอ้ ตกลงว่า ผูจ้ านองจะให้สิทธิ หรื อทรัพยสิ ทธิ ไม่วา่ ด้วยประการ
ใด ๆ แก่ผอู ้ ื่นในทรัพย์สินที่จานอง เป็ นที่เสื่ อมเสี ยต่อสิ ทธิ ของผูจ้ านอง
เองในทรั พ ย์สิ น ที่ จานอง ผูจ้ านองต้อ งได้รั บ ความยิ นยอมจากผูร้ ั บ
จานองเป็ นลายลักษณ์อกั ษร นายเฮงได้จดทะเบียนยกที่ดินส่ วนของตน
ให้เป็ นทางสาธารณะแล้ว แต่นายรวยไปสานักงานที่ ดินหลัง ๑๖.๓๐
นาฬิกา เจ้าพนักงานที่ดินไม่รับจดทะเบียนให้ นายรวยจึงทาหนังสื อยก
232

ที่ดินให้เป็ นทางสาธารณะยื่นไว้ที่สานักงานที่ดิน โดยระบุวา่ ยกให้เป็ น


ทางสาธารณะอีก ๓ วันจะมาจดทะเบียนโอนให้
ต่อมาหลังวันเลือกตั้งนายรวยไม่ได้รับเลือกตั้งเป็ นสมาชิ กสภา
เทศบาล นายรวยโกรธชาวบ้านทุ กคน จึ งจะไม่ให้นายหนึ่ ง นายสอง
และชาวบ้า นที่ ซ้ื อบ้า นจากบริ ษ ทั สาม จากัด ผ่านที่ ดินทั้งสามแปลง
โดยอ้างว่าสัญญาทุกเรื่ องไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ และ
ที่ดินแปลงที่ สามไม่มีนายอาเภอหรื อนายกเทศมนตรี แสดงเจตนารั บ
การให้ และผูร้ ับจานองมิได้ยนิ ยอม
ให้วนิ ิจฉัยว่า ข้ออ้างของนายรวยฟังขึ้นหรื อไม่
ข้ อ ๓๘ ค าตอบ นายรวยท าสั ญญาเป็ นหนัง สื อให้นายหนึ่ ง
เจ้าของที่ดินซึ่ งติดกับที่ดินแปลงที่หนึ่งใช้เป็ นทางออกสู่ ถนนสาธารณะ
เป็ นการให้ สิทธิแก่ ที่ดินของนายหนึ่งเหนือ ที่ดินของนายรวยอันเป็ น
เหตุให้ ที่ดินของนายรวยต้ องยอมรั บกรรมบางอย่ าง เพื่อประโยชน์ แก่
ที่ดินของนายหนึ่ง ทางพิพาทจึงตกเป็ นภาระจายอมเพื่อประโยชน์ แก่
ทีด่ ินของนายหนึ่ง ข้อตกลงดังกล่าวจึงเป็ นการก่อตั้งภาระจายอม ถือว่ า
นายหนึ่งได้ มาโดยนิติกรรมซึ่งทรั พยสิ ทธิอันเกี่ยวกับอสั งหาริมทรัพย์
แม้ มิได้ จดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ ก็เป็ นเพียงทาให้ การได้ มาซึ่ง
ภาระจายอมนั้น ไม่ บริ บูรณ์ เป็ นทรั พยสิ ทธิตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง แต่ ไม่ ได้ ทาให้ ข้อตกลงดังกล่ าว
เป็ นโมฆะหรื อ เสี ยเปล่ า แต่ อ ย่ า งใด ยัง คงบริ บู รณ์ เ ป็ นบุ ค คลสิ ท ธิ ใ ช้
บังคับกันได้ ระหว่ างคู่ กรณี (คาพิ พากษาฎี กาที่ ๒๕๓๙/๒๕๔๙, ที่
๓๓๓๓/๒๕๔๙) นายรวยต้ องยอมให้ นายหนึ่งใช้ ทางต่ อไป ข้ ออ้ างของ
233

นายรวยต่ อนายหนึ่งฟังไม่ ขนึ้


แม้เดิ มนายสองเคยเดิ นผ่านลาห้วยหนองแสงเพื่อออกสู่ ถนน
สาธารณะ แต่ต่อมาได้มีการถมถนนสาธารณะสู งขึ้นจนสู งระดับศีรษะ
ทาให้นายสองใช้ลาห้วยหนองแสงเป็ นทางเข้าออกได้ลาบาก ไม่อาจใช้
สัญจรไปมาตามปกติได้ ส่ วนที่ดินด้านอื่นถูกที่ดินแปลงอื่นปิ ดล้อมไม่
อาจออกสู่ ทางสาธารณะได้ จึงเป็ นกรณีที่ดินของนายสองมี ทางออกได้
แต่ มีที่ชันอันระดับที่ดินกับทางสาธารณะสู งกว่ ากันมากขวางอยู่ตาม
มาตรา ๑๓๔๙ วรรคสอง จึ งต้ อ งบัง คับ ตามความในมาตรา ๑๓๔๙
วรรคหนึ่ง โดยถือว่ าที่ดินของนายสองมีที่ดินแปลงอื่นล้ อมอยู่จนไม่ มี
ทางออกถึ งทางสาธารณะ นายสองย่ อมมี สิทธิผ่า นที่ดิ นแปลงที่สอง
เข้ าออกสู่ ทางสาธารณะได้ ทางพิพาทจึงเป็ นทางจาเป็ น (คาพิพากษา
ฎีกาที่ ๒๘๖๑/๒๕๔๙) เมื่อเป็ นทางจาเป็ น นายสองมีสิทธิใช้ ทางได้ โดย
อ านาจของกฎหมายตามมาตรา ๑๓๔๙ วรรคหนึ่ ง โดยไม่ ต้ อ งจด
ทะเบียน (คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๗๔/๒๕๔๙, ที่ ๓๘๙๒/๒๕๔๙) ทาง
จาเป็ นเป็ นข้ อจากัดกรรมสิ ทธิ์แห่ งเจ้ าของอสั งหาริมทรัพย์ ซึ่งกฎหมาย
กาหนดไว้ไม่ จาต้ องจดทะเบียน หากจะถอนหรือแก้ ให้ หย่ อนลงโดยนิติ
กรรมต้ องทาเป็ นหนังสื อ และจดทะเบี ยนต่ อพนักงานเจ้ า หน้ า ที่ ตาม
มาตรา ๑๓๓๘ แม้นายโลภขายที่ดินให้แก่นายรวย ก็ไม่ ทาให้ ทางจาเป็ น
เปลี่ยนแปลงหรื อระงับสิ้ นไป เมื่อที่ดินของนายสองยังถู กปิ ดล้อมอยู่
นายรวยจึงต้ องยอมให้ นายสองใช้ ทางต่ อไป ข้ ออ้างของนายรวยต่ อนาย
สองฟังไม่ ขนึ้
แม้น ายรวยจะท าหนัง สื อ ยกที่ ดิ น แปลงที่ ส ามให้ เ ป็ นทาง
234

สาธารณะยื่นไว้ที่สานักงานที่ดิน โดยระบุว่ายกให้เป็ นทางสาธารณะ


อีก ๓ วันจะมาจดทะเบียนโอนให้ แต่ การยกให้ เป็ นทางสาธารณะจะตก
เป็ นสาธารณสมบัติของแผ่ นดินโดยสมบูรณ์ ตามกฎหมายทันทีที่นาย
รวยได้ แ สดงเจตนา โดยไม่ จ าต้ อ งจดทะเบี ย นโอนสิ ท ธิ ก ารให้ ต่ อ
พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ตามมาตรา ๕๒๕ อี ก ทั้งการยกที่ดิ นให้ เป็ นทาง
สาธารณะไม่ ต้องมีนายอาเภอหรือนายกเทศมนตรีในท้องทีแ่ สดงเจตนา
รับ แม้ที่ดินของนายรวยแปลงที่สามติดจานองอยูก่ บั ธนาคารไทย จากัด
(มหาชน) โดยมี ขอ้ ตกลงว่า ผูจ้ านองจะให้สิทธิ หรื อทรั พยสิ ทธิ ไม่ว่า
ด้วยประการใด ๆ แก่ผอู ้ ื่นในทรัพย์สินที่จานอง เป็ นที่เสื่ อมเสี ยต่อสิ ทธิ
ของผูจ้ านองเองในทรัพย์สินที่จานอง ผูจ้ านองต้องได้รับความยินยอม
จากผูร้ ับจานองเป็ นลายลักษณ์อกั ษรนั้น เป็ นเรื่ องระหว่ างผู้จานองกับ
ผู้รับจานอง การที่ธนาคารผู้รับจานองมิได้ ให้ ความยินยอมจึ งไม่ มีผล
บังคับให้ การยกทางพิพาทเป็ นทางสาธารณะเสี ยเปล่ า (คาพิพากษาฎีกา
ที่ ๔๓๗๗/๒๕๔๙) เมื่อที่ดินแปลงที่สามตกเป็ นสาธารณสมบัติของ
แผ่ นดิ นแล้ ว นายรวยไม่ มี สิ ทธิ ปิดทางดั งกล่ าว ข้ ออ้ า งของนายรวย
ทุกข้ อฟังไม่ ขนึ้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๕๓๙/๒๕๔๙ ฎ.๖๙๖ ประมวลกฎหมาย
แพ่ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง ก าหนดให้ก ารได้ม าซึ่ ง
ทรัพยสิ ทธิ ที่มิได้ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ไม่อาจใช้ยนั และไม่อาจบังคับบุคคลภายนอกที่มิได้เป็ นคู่สัญญาเท่านั้น
มิได้เป็ นการกาหนดให้นิติกรรมนั้นในส่ วนที่ เป็ นบุ คคลสิ ทธิ ตกเป็ น
โมฆะเสี ยเปล่าไป นิ ติกรรมดังกล่าวจึงยังคงมีผลผูกพันบังคับกันได้ใน
235

ระหว่างคู่ สั ญญา ดัง นั้น แม้จะได้ความว่าข้อตกลงเรื่ องภาระจายอม


ระหว่างโจทก์กบั จาเลยเป็ นข้อตกลงที่มิได้จดทะเบียนไว้กบั พนักงาน
เจ้าหน้าที่ แต่ก็ใช้บงั คับกันได้ในระหว่างโจทก์กบั จาเลย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๘๖๑/๒๕๔๙ ฎ.ส.ล.๓ น.๑๓๖ แม้แต่เดิ ม
โจทก์ ใ ช้ ล าห้ ว ยหนองแสงที่ อ ยู่ ท างด้ า นทิ ศ ตะวัน ตกของที่ ดิ น
โจทก์จาเลย เข้าออกสู่ ถนนสาธารณะซึ่ งอยู่ทางด้านทิ ศใต้ แต่เมื่ อใน
ภายหลังได้มีการราดยางและยกระดับถนนสาธารณะสู งขึ้นจนสู งระดับ
ศี ร ษะ ท าให้ โ จทก์ ใ ช้ล าห้ ว ยหนองแสงเป็ นทางเข้า ออกได้ล าบาก
เนื่ องจากตามปกติลาห้วยหนองแสงซึ่ งลึ กประมาณ ๑ เมตร มีสภาพ
แห้งไม่มีน้ า เวลาฝนตกจึ งจะมี น้ าขัง แต่เป็ นเวลาไม่นานก็จะแห้งอี ก
ไม่อาจใช้สัญจรไปมาตามปกติได้ ลาห้วยหนองแสงจึงไม่มีสภาพเป็ น
ทางสาธารณะ เมื่อพิจารณาสภาพของลาห้วยหนองแสงในปั จจุบนั ซึ่ ง
อยูต่ ่าและลึกไม่สะดวกที่โจทก์จะใช้เป็ นทางเข้าออกสู่ ถนนสาธารณะที่
มีระดับสู งกว่ามากเช่นนี้ จึงเป็ นกรณี ที่ดินโจทก์มีทางออกได้ แต่มีที่ชนั
อันระดับที่ดินกับทางสาธารณะสู งกว่ากันมากขวางอยู่ตามบทบัญญัติ
แห่ ง ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙ วรรคสอง และต้องบังคับตามความใน
มาตรา ๑๓๔๙ วรรคหนึ่ ง โดยถือว่าที่ดินโจทก์มีที่ดินแปลงอื่นล้อมอยู่
จนไม่มีทางออกถึ งทางสาธารณะ โจทก์ย่อมมีสิทธิ ผ่านทางพิพาทใน
ที่ ดิ น จ าเลยซึ่ งเป็ นทางที่ จ าเลยจะเสี ย หายน้ อ ยที่ สุ ด เข้า ออกสู่ ท าง
สาธารณะได้ ทางพิพาทจึงเป็ นทางจาเป็ น
คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๓๗๗๔/๒๕๔๙ ฎ.๑๓๔๒ ที่ ดินโจทก์ท้ งั
สองแปลงมี ที่ดินของจาเลยและบุ คคลอื่ นล้อมอยู่จนไม่มีทางออกถึ ง
236

ทางสาธารณะได้ โจทก์จึงมีสิทธิ ใช้ทางจาเป็ นผ่านที่ดินซึ่ งล้อมอยูไ่ ปสู่


ทางสาธารณะได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๔๙
วรรคหนึ่ ง เนื่ องจากที่ดินของโจทก์ท้ งั สองแปลงที่ถูกปิ ดล้อมทิศเหนื อ
ติ ด ถนนคอนกรี ตซึ่ งอยู่ บ นที่ ดิ น ของจ าเลย และมี ร้ ั วคอนกรี ตสู ง
ประมาณ ๑.๕ เมตร กั้นตลอดแนว การเปิ ดทางจาเป็ นผ่า นที่ ดินของ
จาเลยดังกล่ าวย่อมเหมาะสมที่ สุด เพราะเพียงแต่ทุบรั้วคอนกรี ตออก
เท่านั้น ก็จะมีทางออกสู่ ทางสาธารณะได้สะดวกที่สุด หากจะเปิ ดทาง
จาเป็ นด้านที่ติดที่ดินของ ส. ก็ไม่สามารถกระทาได้เนื่ องจากหนังสื อ
ข้อตกลงเรื่ องภาระจายอมระหว่างจาเลยและ น. กับ ส. กาหนดไว้ว่า
ทางภาระจายอมที่ จาเลยและ น. ยินยอมให้ ส. ใช้ผ่า นนั้นให้ใ ช้เป็ น
ทางผ่า นเข้า ที่ ดินของ ส. เท่ า นั้น ด้า นทิ ศ ตะวันออกที่ ติดคลองเปรม
ประชากร มี ชาวบ้านชุ มชนแออัดปลูกบ้านอยู่อาศัยบนที่ ดินของกรม
ชลประทานตามแนวคลองติ ดรั้ วคอนกรี ตของโจทก์ ทาให้โจทก์ไ ม่
สามารถใช้ทางออกสู่ ทางสาธารณะตามแนวคลองได้ โจทก์จึงมีสิทธิ ใช้
ทางจาเป็ นผ่านที่ดินของจาเลยได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๔๙ วรรคสาม
กาหนดว่า ที่และวิธีทาทางผ่านนั้นต้องเลือกให้พอควรแก่ความจาเป็ น
ของผูม้ ีสิทธิ จะผ่าน กับทั้งให้คานึ งถึงที่ดินที่ลอ้ มอยูใ่ ห้เสี ยหายแต่นอ้ ย
ที่ สุ ด เท่ า ที่ จะเป็ นไปได้ ถ้า จาเป็ น ผูม้ ี สิ ท ธิ จะผ่า นจะสร้ า งถนนเป็ น
ทางผ่านก็ได้ การที่ศาลอุ ทธรณ์ ให้จาเลยเปิ ดทางจาเป็ นให้โจทก์ผ่าน
ที่ ดิ น ของจาเลยกว้า ง ๖ เมตร จึ ง เกิ น ความจาเป็ นที่ โจทก์จ ะต้อ งใช้
เพราะโจทก์ฟ้องขอเปิ ดทางจาเป็ นเพื่อให้โจทก์ใช้ทางเข้าออกสู่ ถนน
237

สาธารณะเท่านั้น ศาลฎีกาให้จาเลยเปิ ดทางจาเป็ นกว้าง ๓.๕๐ เมตร


ในกรณี ท างจ าเป็ น โจทก์ มี สิ ท ธิ ใ ช้ ท างได้โ ดยอ านาจของ
กฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๔๙ โดยไม่
ต้องจดทะเบียน จาเลยจะฟ้ องแย้งให้โจทก์เสี ยค่าธรรมเนี ยม ค่าภาษี กับ
ค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียนทางจาเป็ นหาได้ไม่
ข้ อสั ง เกต ข้ อ ะำกด ดกรรมสิ ท ธิ์ เป็ นสิ ท ธิ ที่ มี ตำมกฎหมำย มิ ไ ด้ อยู่ใ น
บดบ คด บ ขอบมำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคหนึ่ บ หรื อมำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคสอบ
เพรำวข้ อะำกดดกรรมสิ ทธิ์ เป็ นไปโดยผลขอบกฎหมำย แลวเมื่ อถื อั่ ำ
ปรวชำชนต้ อ บรู้ กฎหมำย ก็ต้ อ บถื อ ั่ ำ ปรวชำชนต้ อ บรู้ ถึ บ ข้ อ ะ ำกด ด
กรรมสิ ทธิ์ ด้ัยเช่ นเดี ยักดน ดดบนด้น ข้ อะำกดดกรรมสิ ทธิ์ เช่ น ทำบะำเป็ น
ไม่ ะำต้ อบะดทวเบียนก็มีผลบดบคดบได้ ตำมมำตรำ ๑๓๓๘ ัรรคหนึ่บ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๓๗๗/๒๕๔๙ ฎ.๑๗๖๗ ช. ยกทางพิพาท
ให้เป็ นทางสาธารณะแล้ว แม้จะระบุ ว่า ช. จะมาจดทะเบี ยนให้เสร็ จ
ภายใน ๓ วัน แต่เป็ นการยกให้เป็ นทางสาธารณะจึงตกเป็ นสาธารณ
สมบัติของแผ่นดินโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายทันทีที่ ช. ได้แสดงเจตนา
โดยไม่จาต้องจดทะเบี ยนโอนสิ ทธิ การให้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๕๒๕ อีก ทั้งการยกที่ดินให้
เป็ นทางสาธารณะไม่ต้องมี นายอาเภอหรื อนายกเทศมนตรี ในท้องที่
แสดงเจตนารับ
ทางพิพาทติดจานองอยูโ่ ดยสัญญาจานองระบุวา่ ผูจ้ านองจะให้
สิ ท ธิ ห รื อ ทรั พ ยสิ ท ธิ ไ ม่ ว่ า ด้ว ยประการใด ๆ แก่ ผู ้อื่ น ในทรั พ ย์สิ น
ที่จานอง เป็ นที่เสื่ อมเสี ยต่อสิ ทธิ ของผูจ้ านองเองในทรัพย์สินที่จานอง
238

ผูจ้ านองต้องได้รับความยินยอมจากผูร้ ับจานองเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร


นั้น เป็ นเรื่ อ งระหว่า งผูจ้ านองกับ ผูร้ ั บ จ านอง ทั้ง ในหนัง สื อสั ญ ญา
จานองก็ระบุไว้วา่ ถ้าผูจ้ านองประพฤติผิดหรื อไม่ประพฤติตามสัญญา
ที่กาหนดไว้ขอ้ หนึ่ งข้อใดหรื อทั้งหมด ผูร้ ับจานองมีสิทธิ จะเรี ยกให้ผู ้
จานองชาระหนี้ และบังคับจานองได้ทนั ที เท่านั้น การที่ ธนาคารผูร้ ั บ
จานองมิ ได้ให้ความยินยอมจึงไม่มีผลบังคับให้การยกทางพิพาทเป็ น
ทางสาธารณะเสี ยเปล่า
ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนีน้ ำคำพิพำกษำฎีกำเพียบบำบส่ ันมำออกข้ อสอบ
แต่ คำพิพำกษำฎีกำนีม้ ีข้อเท็ะะริ บแลวข้ อกฎหมำยที่ น่ำสนใะหลำยเรื่ อบ
นดกศึกษำคัรอ่ ำนฎีกำเต็มเพื่อะวได้ เข้ ำใะปด ญหำที่เกิดขึน้ ทด้บหมดในคดี

ข้ อ ๓๙ คาถาม นายสมโชคเป็ นเจ้าของที่ ดินโฉนดเลขที่ ๑๐


ด้านทิศตะวันตกติดถนนสาธารณะ ส่ วนด้านทิศตะวันออกติดกับที่ดิน
โฉนดเลขที่ ๑๑ ของนายทองดีซ่ ึ งเป็ นที่ดินที่มีที่ดินแปลงอื่นล้อมอยูจ่ น
ไม่มีทางออกถึงทางสาธารณะ โดยที่ดินของนายทองดีดา้ นทิศใต้ติดกับ
ที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๒ ของนายมี และที่ดินของนายมีทางด้านทิศใต้ติด
กับถนนสาธารณะ ซึ่ งนายทองดีมีสิทธิ เดินผ่านที่ดินของนายมีออกไปสู่
ถนนสาธารณะในฐานะทางจาเป็ นได้ ต่อมานายสมโชคได้ซ้ื อที่ดินของ
นายทองดี และจะใช้ทางที่ นายทองดี เคยเดิ นผ่า นที่ ดินของนายมี ออก
ไปสู่ ถนนสาธารณะ แต่นายมี ปิดทางไม่ย อมให้นายสมโชคเดิ นผ่า น
และนายมียงั อ้างว่าต้นมะม่วงอายุ ๒ ปี ซึ่ งขึ้นอยูใ่ นที่ดินที่นายสมโชค
239

ซื้ อจากนายทองดีเป็ นของนายมีเพราะต้นมะม่วงงอกจากเมล็ดมะม่วงที่


ตกมาจากต้นมะม่วงในที่ดินของนายมี
ให้ วิ นิ จ ฉั ย ว่ า นายสมโชคจะฟ้ องบัง คับ นายมี ใ ห้ เ ปิ ดทาง
ดัง กล่ า วเป็ นทางจาเป็ นได้หรื อไม่ และใครเป็ นผูม้ ี ก รรมสิ ท ธิ์ ในต้น
มะม่วง (ข้อสอบเนติบณั ฑิต สมัยที่ ๕๗ ปี การศึกษา ๒๕๔๗)
ข้ อ ๓๙ คาตอบ การที่นายสมโชคซื้ อที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๑ มา
จากนายทองดี น้ นั แม้เดิ มนายทองดี เจ้าของที่ ดินโฉนดเลขที่ ๑๑ จะมี
สิ ท ธิ ใ ช้ ท างเดิ น ในที่ ดิ น โฉนดเลขที่ ๑๒ ของนายมี ใ นฐานะทาง
จาเป็ นได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๔๙ ก็ตาม
แต่ นายสมโชคผู้รับโอนที่ดินดังกล่ าวหาได้ สิทธิ ในทางเดินนั้ นมาด้ วย
อย่ า งภาระจ ายอมไม่ เพราะทางจ าเป็ นมิ ใ ช่ สิ ท ธิ ที่ติ ด กับ ที่ดิ น ที่จ ะ
โอนไปพร้ อมกับที่ดินด้ วย ทางจาเป็ นเป็ นข้ อจากัดกรรมสิ ทธิ์ที่เกิดขึ้น
และมี อ ยู่ ต ามความจ าเป็ น เมื่ อที่ ดินโฉนดเลขที่ ๑๑ ซึ่ งนายสมโชค
ซื้ อมามี ท างออกสู่ ถ นนสาธารณะโดยผ่า นที่ ดินโฉนดเลขที่ ๑๐ ของ
นายสมโชคซึ่ ง อยู่ติ ดกันได้อยู่แล้ว นายสมโชคจึ งไม่ มีค วามจ าเป็ น
ทีจ่ ะต้ องใช้ ทางเดินผ่านทีด่ ินโฉนดเลขที่ ๑๒ ของนายมีที่นายทองดีเคย
ใช้ ต่อไปอีก (คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๑๑-๘๑๒/๒๕๔๐, ที่ ๕๖๗๒/๒๕๔๖
ประชุมใหญ่) ดังนั้น นายสมโชคจึงฟ้องบังคับให้ นายมีเปิ ดทางดังกล่ าว
เป็ นทางจาเป็ นไม่ ได้
ส่ วนกรณี ตน้ มะม่วงตามปกติ จะมีอายุยืนกว่า ๓ ปี จึงเป็ นไม้
ยืนต้ น แม้ตน้ มะม่วงที่ข้ ึนอยู่ในที่ดินของนายสมโชคซึ่ งซื้ อมาจากนาย
ทองดี จะมี อายุเพีย ง ๒ ปี ก็ถือว่ าเป็ นไม้ ยืนต้ น เพราะดู ที่ประเภทไม้
240

ถึงแม้ตน้ มะม่วงนั้นจะงอกจากเมล็ดมะม่วงที่ตกมาจากต้นมะม่วงของ
นายมี ก็ตาม แต่ ต้นมะม่ วงเป็ นส่ วนควบของที่ดินแปลงที่นายสมโชค
ซื้อมาตามมาตรา ๑๔๕ วรรคหนึ่ ง เมื่ อนายสมโชคเป็ นเจ้ า ของที่ดิ น
แปลงนี้ จึ งเป็ นผู้ มี ก รรมสิ ท ธิ์ ใ นต้ นมะม่ ว งดั ง กล่ า วด้ ว ยตามมาตรา
๑๔๔ วรรคสอง

ข้ อ ๔๐ คาถาม นายแดงเป็ นเจ้าของที่ดินมีหนังสื อรับรองการ


ท าประโยชน์ ด้า นหน้า ติ ด ถนนสาธารณะ นายแดงได้แ บ่ ง ขายที่ ดิ น
ดังกล่ าวด้านหลัง ๓ งาน ให้แก่ นายขาวปลู กบ้านอยู่ โดยนายแดงทา
สัญญากับนายขาวว่าจะเปิ ดทางกว้าง ๒.๕ เมตร ให้นายขาวเดิ นออก
ทางสาธารณะได้ หลัง จากนายขาวซื้ อที่ ดินได้ ๑ ปี นายแดงได้ปลู ก
สร้ างตึ กแถวปิ ดกั้นด้า นหน้าท าให้นายขาวไม่ สามารถออกไปสู่ ท าง
สาธารณะได้ นายแดงกับนายขาวจึงตกลงยกเลิกสัญญาเดิมข้างต้น โดย
นายขาวได้ไ ปขออาศัย ใช้ท างเดิ น ในที่ ดิน ของนายดาออกไปสู่ ท าง
สาธารณะ ต่อมาอีก ๑๐ ปี หลังจากนั้นนายดาไม่อนุ ญาตให้นายขาวใช้
ทางเดินในที่ดินของตนอีกต่อไป นายขาวจึงไปขอให้นายแดงเปิ ดทางที่
เคยใช้อยูเ่ ดิม แต่นายแดงไม่ยนิ ยอมอ้างว่าสัญญาเดิมยกเลิกไปแล้ว และ
คดี ข าดอายุค วามเกิ น ๑๐ ปี แล้ว นายขาวมี สิ ท ธิ ใ ห้นายแดงเปิ ดทาง
หรื อไม่
ข้ อ ๔๐ คาตอบ ที่ดินของนายขาวแบ่งแยกหรื อแบ่งโอนมาจาก
ที่ดินของนายแดง แม้นายขาวไปขออาศัยใช้ทางเดินในที่ดินของนายดา
ออกไปสู่ ท างสาธารณะ แต่ ต่ อ มานายด าไม่ อ นุ ญ าตให้ น ายขาวใช้
241

ทางเดินในที่ดินของนายดาอีกต่อไป นายขาวไม่ มีสิทธิใช้ ทางดังกล่ าว


โดยชอบด้ วยกฎหมาย จึงเป็ นกรณีทมี่ ีการแบ่ งแยกทีด่ ินเป็ นเหตุให้ ที่ดิน
ของนายขาวไม่ มี ทางออกไปสู่ ทางสาธารณะ นายขาวจึ งมีสิทธิ ผ่า น
ที่ดินของนายแดงที่แบ่ งแยกหรื อแบ่ งโอนกันมาออกไปสู่ ทางสาธารณะ
ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๕๐ (คาพิพากษา
ฎีกาที่ ๒๙๐/๒๕๓๖)
การที่นายแดงและนายขาวตกลงด้วยวาจายกเลิกสัญญาที่นาย
แดงยินยอมให้นายขาวใช้ทางผ่าน เป็ นการตกลงยกเลิกข้ อจากัดสิ ทธิ
แห่ งเจ้ าของอสั งหาริ มทรั พย์ โดยไม่ ได้ ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียน
กับพนักงานเจ้ าหน้ าที่ จึ งไม่ มีผลผูกพันระหว่ างนายแดงกับนายขาว
ตามมาตรา ๑๓๓๘ วรรคสอง (คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๑๗๖/๒๕๓๕)
สิ ทธิ ของนายขาวเกิด ขึ้นโดยผลของกฎหมายคื อนายขาวมี
สิ ทธิผ่านทีด่ ินของนายแดงตลอดเวลาเพราะเป็ นทางจาเป็ น เมื่อใดนาย
แดงปิ ดทางจนนายขาวไม่มี ท างออกไปสู่ ทางสาธารณะได้ นายขาว
ย่อมจะมีสิทธิฟ้องบังคับให้ นายแดงเปิ ดทางจาเป็ นเมื่อใดก็ได้ กรณีไม่ มี
อายุ ค วามฟ้ องร้ อ ง (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๖๔/๒๕๒๒ และ ๔๑๗๖/
๒๕๓๕)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๙๐/๒๕๓๖ เดิมที่ดินโจทก์และจาเลยเป็ น
ที่ดินแปลงเดี ยวกัน เมื่อมีการแบ่งแยกทาให้ที่ดินโจทก์ไม่มีทางออกสู่
ทางสาธารณะ แม้ป รากฏว่า ที่ ดิ น โจทก์ ด้า นทิ ศ ตะวัน ออกจะติ ด กับ
บริ เวณที่ดินซึ่ งเจ้าของที่ดินข้างเคี ยงได้แบ่งแยกไว้เป็ นทางสาธารณะ
แต่ บริ เวณดังกล่ า วโจทก์และบุ ค คลทัว่ ไปไม่ สามารถเดิ นได้เพราะมี
242

ตึ กแถวและสิ่ ง ปลู กสร้ างอย่า งอื่ นปิ ดกั้นอยู่ก่ อนแล้ว ที่ ดินโจทก์จึง มี
ที่ดินแปลงอื่นล้อมอยูจ่ นไม่มีทางออกถึงทางสาธารณะตามสภาพที่เป็ น
จริ ง โจทก์มีอานาจฟ้ องเรี ยกร้ องเอาทางเดิ นผ่านที่ดินของจาเลยไปสู่
ทางสาธารณะได้โดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าทดแทนตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๕๐
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๑๗๖/๒๕๓๕ เดิมที่ดิน น.ส.๓ เลขที่ ๔๐๒
เป็ นของจาเลย ต่อมาโจทก์ได้ซ้ื อที่ดินดังกล่าวบางส่ วนเนื้อที่ ๓ งาน ซึ่ ง
อยู่ดา้ นหลังก่อนแบ่งแยกหรื อแบ่งโอน จาเลยได้ทาสัญญากับโจทก์ว่า
จะเปิ ดทางเดินกว้าง ๒.๕ เมตร ให้โจทก์เดิ นออกสู่ ทางสาธารณะแต่
ต่อมาจาเลยล้อมรั้วปิ ดกั้นในที่ดินของจาเลยทาให้โจทก์ไม่สามารถออก
สู่ ทางสาธารณะได้ ที่ ดินของโจทก์ที่แบ่งแยกจากที่ ดิน น.ส.๓ เลขที่
๔๐๒ อยู่ในที่ลอ้ ม จึงมีสิทธิ ผ่านที่ดินของจาเลยที่แบ่งแยกที่แบ่งหรื อ
แบ่งโอนไปสู่ ทางสาธารณะได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา ๑๓๕๐ การยกเลิ กสัญญาที่ จาเลยยินยอมให้โจทก์ใช้ทางผ่า น
กว้าง ๒.๕ เมตร เป็ นข้อจากัดสิ ทธิ แห่ งเจ้าของอสังหาริ มทรัพย์ตอ้ งทา
นิ ติกรรมเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนกับพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา
๑๓๓๘ วรรคสอง เพียงแต่ตกลงยกเลิกกันด้วยปากเปล่าไม่มีผลผูกพัน
สิ ทธิ ของโจทก์ที่จะเดิ นผ่านในที่ดินของจาเลยเกิ ดขึ้ นโดยผล
ของกฎหมาย โจทก์ยอ่ มจะฟ้ องให้จาเลยเปิ ดทางได้โดยไม่มีอายุความ
243

ข้ อ ๔๑ คาถาม นายหนึ่ งเช่ าที่ดินแปลงหนึ่ งซึ่ งเป็ นกรรมสิ ทธิ์


รวมของนายสอง นายสาม และนายสี่ เพื่อปลูกบ้าน ที่ดินดังกล่าวเป็ น
สี่ เหลี่ ยมด้านทิศเหนื อและทิศใต้ติ ดที่ดินของนายห้าและนายหก ด้าน
ทิศตะวันออกติดกับที่ดินซึ่ งเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของนายสี่ ด้านทิศตะวันตก
ติดกับที่ดินของนายเจ็ด ที่ดินทั้งสี่ แปลงที่ปิดล้อมที่ดินกรรมสิ ทธิ์ รวม
ดังกล่าวติดทางสาธารณะทั้งสี่ แปลง เมื่อนายหนึ่ งปลูกบ้าน นายสองก็
ปลูกบ้านในที่ดินดังกล่าวด้วย แล้วนายหนึ่งและนายสองใช้รถยนต์และ
เดิ นผ่านที่ดินของนายสี่ ออกสู่ ทางสาธารณะเรื่ อยมา ต่อมานายสี่ ปลู ก
บ้านในที่ดินของตนโดยเว้นทางเข้าออกด้านที่ติดกับที่ดินที่นายหนึ่ งเช่า
และที่ดินที่นายสองปลูกบ้านเพียง ๑ เมตร เป็ นเหตุให้นายหนึ่งและนาย
สองไม่สามารถนารถยนต์ผา่ นเข้าออกได้ แต่ยงั คงเดินเข้าออกได้
ให้ วิ นิ จ ฉั ย ว่ า ๑. นายหนึ่ งและนายสองจะฟ้ องนายเจ็ ด
ขอเปิ ดทางจาเป็ นเพื่อใช้รถยนต์เข้าออกสู่ ทางสาธารณะได้หรื อไม่
๒. นายสามเห็ น ว่ า นายสี่ ป ลู ก บ้า นปิ ดทางรถยนต์ เ ข้า ออก
สาหรับที่ดินกรรมสิ ทธิ์ รวมและเกรงว่าจะมีปัญหากันภายหน้า นายสาม
จึงทาสัญญาจะขายที่ ดินกรรมสิ ทธิ์ รวมเฉพาะส่ วนของตนให้แก่ นาย
หนึ่ งเป็ นหนังสื อ แต่นายสี่ ไม่ยอมให้ขายอ้างว่านายสามไม่ได้รับความ
ยินยอมจากนายสี่ ก่อน นายสี่ ไม่ยอมมอบโฉนดที่ดินให้นายสามไปจด
ทะเบียนโอนที่ดินได้หรื อไม่
๓. นายหนึ่ งเดินทางเข้าออกไม่สะดวก นายหนึ่ งจึงไม่ชาระค่า
เช่าเป็ นเวลา ๒ เดือน นายสองโดยได้รับความยินยอมจากนายสามและ
นายสี่ จึงบอกเลิ กสัญญาเช่ ากับนายหนึ่ งและฟ้ องขับไล่นายหนึ่ งแล้ว
244

คดีฟ้องขับไล่อยูร่ ะหว่างพิจารณาของศาล นายหนึ่ งต้องการอยูใ่ นที่ดิน


ต่อไป และนายสี่ ตอ้ งการให้ที่ดินดังกล่ าวมี รายได้ค่าเช่ า นายสี่ จึงทา
สัญญาเช่ากับนายหนึ่ ง โดยนายสองและนายสามคัดค้านการทาสัญญา
เช่า สัญญาเช่าระหว่างนายหนึ่งและนายสี่ มีผลบังคับได้หรื อไม่
ข้ อ ๔๑ คาตอบ ๑. ในเรื่องทางจาเป็ น กฎหมายบัญญัติไว้ เพื่อ
ประโยชน์ แก่ เจ้ าของที่ดินที่ถูกปิ ดล้ อมโดยเฉพาะ ทั้งนี้ ตามประมวล
กฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๔๙ วรรคหนึ่ ง ดัง นั้น เจ้ า ของ
ที่ดินเท่ านั้นที่จะมีสิทธิฟ้องขอให้ เปิ ดทางจาเป็ นได้ นายหนึ่ งเป็ นเพียง
ผูป้ ลูกบ้านอยูใ่ นที่ดินเท่านั้น แม้ จะฟั งได้ ว่าที่ดินดังกล่ าวถูกที่ดินแปลง
อื่นปิ ดล้ อม นายหนึ่งก็ไม่ มีสิทธิฟ้องขอให้ เปิ ดทางจาเป็ น (คาพิพากษา
ฎีกาที่ ๕๗๔๐/๒๕๕๑)
นายสอง นายสาม และนายสี่ เป็ นเจ้าของรวมในที่ ดินโดยไม่
ปรากฏว่าแบ่งแยกการครอบครองเป็ นส่ วนสัดว่าผูใ้ ดเป็ นเจ้าของที่ดิน
ส่ วนใด ความเป็ นเจ้ าของของแต่ ละคนจึงครอบที่ดินทั้งแปลง ดังนั้น
เจ้ าของรวมคนใดคนหนึ่งจึงอาจใช้ สิทธิในฐานะเป็ นเจ้ าของรวมครอบ
ที่ดินทั้งแปลงเพื่อต่ อสู้ บุคคลภายนอกได้ ตามมาตรา ๑๓๕๙ การที่นาย
สองใช้สิทธิ ฟ้องนายเจ็ดขอให้เปิ ดทางจาเป็ น จึงเป็ นการใช้ สิทธิแทน
เจ้ าของรวมอื่นซึ่ งรวมถึงนายสี่ ด้วย กล่าวคือ หากนายสองมีสิทธิฟ้อง
ขอให้ น ายเจ็ ด เปิ ดทางจ าเป็ นได้ ทางดั ง กล่ า วย่ อ มได้ ป ระโยชน์ แ ก่
เจ้ า ของรวมทุ ก คน แต่ น ายสี่ เ ป็ นเจ้า ของที่ ดิ น ซึ่ งด้า นหนึ่ งติ ด ทาง
สาธารณะอี ก ด้า นหนึ่ ง ติ ดกับที่ ดินกรรมสิ ทธิ์ รวม นายสี่ จึงไม่ มีสิทธิ
ขอให้ นายเจ็ด เปิ ดทางจาเป็ นสาหรั บที่ดิ นกรรมสิ ทธิ์รวม เพราะจาก
245

ที่ดินกรรมสิ ทธิ์ รวมแปลงดังกล่ าวสามารถเข้ าออกสู่ ทางสาธารณะได้


โดยผ่ านที่ดินของนายสี่ เอง การที่นายสี่ ปลูกสร้ างอาคารในที่ดินของ
นายสี่ โดยเว้นทางเข้าออกด้านที่ติดกับที่ดินกรรมสิ ทธิ์ รวม ๑ เมตร เป็ น
เหตุ ให้นายสองไม่สามารถนารถยนต์ผ่านเข้าออกได้แต่ยงั คงเดิ นเข้า
ออกได้น้ นั เป็ นเพียงทาให้ ความสะดวกของนายสองในการเข้ าออกสู่
ทางสาธารณะลดลงเท่ า นั้ น ถื อ ไม่ ไ ด้ ว่ า ที่ ดิ น กรรมสิ ท ธิ์ ร วมไม่ มี
ทางเข้ าออกสู่ ทางสาธารณะ นายสองจึงไม่ มีสิทธิขอให้ นายเจ็ดเปิ ดทาง
จาเป็ น (คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๗๔๐/๒๕๕๑)
๒. แม้ ตัวทรั พย์ สินที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์รวมนั้น จะจาหน่ ายหรื อ
ก่ อให้ เกิดภาระติดพันได้ ก็แต่ ด้วยความยินยอมแห่ งเจ้ าของรวมทุกคน
ตามมาตรา ๑๓๖๑ วรรคสอง แต่ ก็หมายถึงจาหน่ ายหรือก่ อให้ เกิดภาระ
ติ ด พั น แก่ ตั ว ทรั พ ย์ สิ น ที่ เ ป็ นกรรมสิ ท ธิ์ ร วมทั้ ง หมด หากเป็ นการ
จาหน่ ายหรือก่อให้ เกิดภาระติดพันแก่ตัวทรัพย์สินที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์รวม
เฉพาะส่ วนของเจ้ าของรวม เจ้ าของรวมคนหนึ่ง ๆ จะจาหน่ ายส่ วนของ
ตน หรื อ จ านอง หรื อ ก่ อ ให้ เ กิด ภาระติ ด พันก็ไ ด้ ตามมาตรา ๑๓๖๑
วรรคหนึ่ง การที่นายสามจะทาสัญญาจะขายที่ดินกรรมสิ ทธิ์ รวมเฉพาะ
ส่ วนของตนให้แก่นายหนึ่ง จึงมิใช่ เป็ นการจาหน่ ายหรือก่ อให้ เกิดภาระ
ติดพันแก่ ตัวทรั พย์ สินที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์รวมทั้งหมดตามมาตรา ๑๓๖๑
วรรคสอง แต่ เป็ นสิ ทธิที่นายสามจะจาหน่ ายเฉพาะส่ วนของตนได้ ตาม
มาตรา ๑๓๖๑ วรรคหนึ่ง โดยไม่ ต้องได้ รับความยินยอมจากนายสี่ ก่อน
และไม่ เป็ นกรณีที่เจ้ าของรวมคนหนึ่ง ๆ มีสิทธิใช้ ทรั พย์ สินได้ แต่ การ
ใช้ น้ันต้ องไม่ ขัดต่ อสิ ทธิแห่ งเจ้ าของรวมคนอื่น ๆ ตามมาตรา ๑๓๖๐
246

วรรคหนึ่ ง การที่นายสามจาหน่ายกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทเฉพาะส่ วน


ของตนแก่ น ายหนึ่ ง เพื่ อ ให้ น ายหนึ่ ง มี สิ ท ธิ ใ ช้ ที่ ดิ น พิ พ าทในฐานะ
เจ้าของรวม จึงเป็ นสิ ทธิของเจ้ าของรวมคนหนึ่ง ๆ ที่จะกระทาได้ ทั้ง
มาตรา ๖ ก็บญั ญัติให้ สันนิษฐานไว้ ก่อนว่ า บุคคลทุกคนกระทาการโดย
สุ จริ ต นายสี่ หามีสิทธิ ขัดขวางการจาหน่ ายกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาท
เฉพาะส่ วนของนายสามไม่ นายสี่ ไม่ ยอมมอบโฉนดที่ดินให้ นายสามไป
จดทะเบียนโอนทีด่ ินไม่ ได้ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๕๔/๒๕๕๑)
๓. การจัดการทรั พย์ สินตามธรรมดาเพื่อรั กษาทรั พย์ สิน ตาม
มาตรา ๑๓๕๘ วรรคสอง เจ้ าของรวมคนใดคนหนึ่งมีสิทธิจัดการได้
เสมอโดยไม่ ต้องได้ รับความยินยอมจากเจ้ า ของรวมคนอื่นก่ อน เมื่ อ
นายสองบอกเลิ กสัญญาเช่ ากับนายหนึ่ งและฟ้ องขับไล่ นายหนึ่ งแล้ว
การที่นายสี่ ทาสัญญาเช่ากับนายหนึ่ ง โดยนายสองและนายสามคัดค้าน
การทาสัญญาเช่ า ย่ อมเป็ นการก่ อให้ เกิดภาระติดพันในที่ดินพิพาทซึ่ ง
ต้ องได้ รับความยินยอมจากเจ้ าของรวมด้ วยตามมาตรา ๑๓๖๑ วรรค
สอง เมื่อนายสองและนายสามคัดค้านการทาสัญญาเช่า สั ญญาเช่ าจึงไม่
สมบู รณ์ และถื อว่ า เป็ นการใช้ สิทธิ ขัดต่ อสิ ทธิ แห่ งเจ้ าของรวมคนอื่น
ตามมาตรา ๑๓๖๐ วรรคหนึ่ง สั ญญาเช่ าระหว่ างนายหนึ่งและนายสี่ จึง
ไม่ มีผลบังคับนายสองและนายสามเจ้ าของรวมที่คัดค้ านการทาสั ญญา
เช่ า (คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๙/๒๕๕๑)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๗๔๐/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๕ น. ๑๗๙ ในเรื่ อง
ทางจาเป็ น กฎหมายบัญญัติไว้เพื่อประโยชน์แก่ เจ้าของที่ ดินที่ ถูกปิ ด
ล้อมโดยเฉพาะ ทั้ง นี้ ต าม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙ วรรคหนึ่ ง ดัง นั้น
247

เจ้าของที่ดินเท่านั้นที่จะมีสิทธิ ฟ้องขอให้เปิ ดทางจาเป็ นได้ โจทก์ที่ ๑


ถึ ง ที่ ๓ เป็ นเพี ย งผู ้ป ลู ก บ้า นอยู่ ใ นที่ ดิ น ตามหนัง สื อ รั บ รองการท า
ประโยชน์ (น.ส. ๓ ก.) เลขที่ ๔๓๙ เท่านั้น แม้จะฟั งได้วา่ ที่ดินดังกล่าว
ถู ก ที่ ดิ นแปลงอื่ น ปิ ดล้อม โจทก์ ที่ ๑ ถึ ง ที่ ๓ ก็ ไ ม่ มี สิ ท ธิ ฟ้ องขอให้
เปิ ดทางจาเป็ น
โจทก์ที่ ๔ ถึงที่ ๕ ส. น. และ ม. เป็ นเจ้าของรวมในที่ดินตาม
หนัง สื อ รั บ รองการท าประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) เลขที่ ๔๓๙ โดยมิ ไ ด้
แบ่ง แยกการครอบครองเป็ นส่ วนสัดว่าผูใ้ ดเป็ นเจ้า ของที่ ดินส่ วนใด
ความเป็ นเจ้าของของแต่ละคนจึงครอบที่ดินทั้งแปลง ดังนั้น เจ้าของ
รวมคนใดคนหนึ่งจึงอาจใช้สิทธิในฐานะเป็ นเจ้าของรวมครอบที่ดินทั้ง
แปลงเพื่ อ ต่ อสู ้ บุ ค คลภายนอกได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๙ การที่
โจทก์ที่ ๔ และที่ ๕ ใช้สิทธิ ฟ้องจาเลยขอให้เปิ ดทางจาเป็ นจึงเป็ นการ
ใช้สิทธิ แทนเจ้าของรวมอื่นซึ่ งรวมถึ ง ส. ด้วย กล่าวคือ หากโจทก์ที่ ๔
และที่ ๕ มีสิทธิ ฟ้องขอให้จาเลยเปิ ดทางจาเป็ นได้ ทางดังกล่าวย่อมได้
ประโยชน์ แ ก่ เ จ้า ของรวมทุ ก คน แต่ ส. เป็ นเจ้า ของที่ ดิ น โฉนดที่
๒๕๒๘ ซึ่ ง ด้านหนึ่ งติ ดถนนสาธารณะอี ก ด้า นหนึ่ ง ติ ดกับ ที่ ดินตาม
หนังสื อรับรองการทาประโยชน์ (น.ส. ๓ ก.) เลขที่ ๔๓๙ ส. จึ งไม่มี
สิ ทธิ ขอให้จาเลยเปิ ดทางจาเป็ นสาหรับที่ดินตามหนังสื อรับรองการทา
ประโยชน์ (น.ส. ๓ ก.) เลขที่ ๔๓๙ เพราะจากที่ ดิ น แปลงดัง กล่ า ว
สามารถเข้าออกสู่ ทางสาธารณะได้โดยผ่านที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๕๒๘
ของ ส. เอง การที่ ส. ปลูกสร้างอาคารในที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๕๒๘ โดย
เว้นทางเข้าออกด้านที่ติดกับที่ดินของจาเลยไว้เพียงประมาณ ๑ เมตร
248

เป็ นเหตุให้โจทก์ที่ ๔ และที่ ๕ ไม่สามารถนารถยนต์ผ่านเข้าออกได้


แต่ยงั คงเดินเข้าออกได้น้ นั เป็ นเพียงทาให้ความสะดวกของโจทก์ที่ ๔
และที่ ๕ ในการเข้าออกสู่ ทางสาธารณะลดลงเท่านั้น ถือไม่ได้วา่ ที่ดิน
ตามหนัง สื อรั บ รองการท าประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) เลขที่ ๔๓๙ ไม่ มี
ทางเข้าออกสู่ ท างสาธารณะ โจทก์ที่ ๔ และที่ ๕ จึ ง ไม่ มี สิท ธิ ขอให้
จาเลยเปิ ดทางจาเป็ น
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๕๔/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๖๐ โจทก์ได้
ขายที่ ดินโฉนดเลขที่ ๘๓๖๓๑ แก่ บ ริ ษ ทั ม. โจทก์มี หนัง สื อแจ้ง ให้
จาเลยที่ ๑ ส่ งมอบโฉนดที่ดินพิพาทแก่โจทก์เพื่อนาไปจดทะเบียนโอน
กรรมสิ ทธิ์ ที่ดินพิพาทเฉพาะส่ วนของโจทก์แก่บริ ษทั ดังกล่าว แต่จาเลย
ที่ ๑ เพิกเฉย ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๑ วรรคหนึ่ ง บัญญัติว่า "เจ้าของรวม
คนหนึ่ ง ๆ จะจาหน่ายส่ วนของตน หรื อจานอง หรื อก่อให้เกิดภาระติด
พัน ก็ ไ ด้" และความในวรรคสองบัญ ญัติว่า "แต่ ต ัว ทรั พ ย์สิ น นั้น จะ
จาหน่ าย จานา จานอง หรื อก่ อให้เกิ ดภาระติ ดพันได้ ก็ แต่ด้วยความ
ยินยอมแห่งเจ้าของรวมทุกคน" การที่โจทก์จาหน่ายกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดิน
พิพาทเฉพาะส่ วนของโจทก์แก่บริ ษทั ม. มิใช่เป็ นการก่อให้เกิดภาระติด
พันแก่ ตวั ทรั พย์สิน ย่อมเป็ นสิ ทธิ ข องโจทก์ที่ สามารถกระทาได้ตาม
มาตรา ๑๓๖๑ วรรคหนึ่ ง โดยไม่ตอ้ งได้รับความยินยอมจากจาเลยทั้ง
สอง
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๐ วรรคหนึ่ ง บัญญัติว่า "เจ้าของรวมคน
หนึ่ ง ๆ มี สิ ท ธิ ใ ช้ท รั พ ย์สิ น ได้ แต่ ก ารใช้น้ ันต้องไม่ ข ดั ต่ อ สิ ท ธิ แ ห่ ง
เจ้า ของรวมคนอื่ น ๆ" การที่ โจทก์จาหน่ ายกรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินพิ พาท
249

เฉพาะส่ วนของโจทก์แก่บริ ษทั ม. เพื่อให้บริ ษทั ดังกล่าวมีสิทธิ ใช้ที่ดิน


พิพาทในฐานะเจ้าของรวม จึงเป็ นสิ ทธิ ของเจ้าของรวมคนหนึ่ง ๆ ที่จะ
กระทาได้ ทั้ง ป.พ.พ. มาตรา ๖ ก็บญั ญัติให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า บุคคล
ทุกคนกระทาการโดยสุ จริ ต จาเลยที่ ๑ หามีสิทธิ ขดั ขวางการจาหน่ าย
กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทเฉพาะส่ วนของโจทก์ไม่
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๗๙/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล.๔ น.๑ การจัด การ
ทรัพย์สินตามธรรมดาเพื่อรักษาทรัพย์สินตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๘
วรรคสอง เจ้าของรวมคนใดคนหนึ่ งมีสิทธิ จดั การได้เสมอโดยไม่ตอ้ ง
ได้รับความยินยอมจากเจ้าของรวมคนอื่นก่อน แต่การที่ ส. เจ้าของรวม
คนหนึ่ ง ให้ จ าเลยเช่ า ตึ ก แถวพิ พ าทโดยท าสั ญญาเช่ า หลัง จากโจทก์
เจ้าของรวมอีกคนกาลังฟ้ องขับไล่จาเลยผูเ้ ช่าออกไปจากที่เช่า ย่อมเป็ น
การก่อให้เกิดภาระติดพันตึกแถวพิพาท ซึ่ งต้องได้รับความยินยอมจาก
โจทก์เจ้าของรวมด้วยตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๑ วรรคสอง เมื่อโจทก์
ผูเ้ ป็ นเจ้าของรวมในตึกแถวพิพาทมิได้รู้เห็นยินยอมด้วย สัญญาเช่ าจึง
ไม่สมบูรณ์ และถือว่าเป็ นการใช้สิทธิ ขดั ต่อสิ ทธิ แห่ งเจ้าของรวมคนอื่น
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๐ วรรคหนึ่ ง สั ญญาเช่ า ระหว่า งจาเลยกับ
ส. เจ้าของรวมจึงไม่ผกู พันโจทก์ โจทก์จึงมีสิทธิ ฟ้องขับไล่จาเลยได้

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๔๙


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๓๖๔/๒๕๕๓ ฎ. ๑๕๗ โจทก์เคยใช้ทาง
พิพาทเป็ นทางเข้าออกจากที่ดินของโจทก์สู่ทางสาธารณะ และในขณะ
ยื่นฟ้ อง ผูเ้ ช่ า ที่ ดินของโจทก์ท าสวนผลไม้ซ่ ึ งเป็ นผูค้ รอบครองที่ ดิน
250

แทนโจทก์ มี ค วามจ าเป็ นที่ จ ะต้อ งใช้ ท างพิ พ าทเป็ นทางเข้ า ออก
เช่นเดียวกัน โจทก์จึงมีสิทธิ ฟ้องขอให้จาเลยเปิ ดทางจาเป็ นในที่ดินของ
จาเลย
ข้ อสั งเกต ฎีกำนีเ้ ะ้ ำขอบที่ดินเป็ นโะทก์ ฟ้อบโดยมีผ้ เู ช่ ำเป็ นผู้ใช้ ทำบแทน
โะทก์ มีอำนำะฟ้ อบ แม้ สิทธิ ในทำบะำเป็ นมำตรำ ๑๓๔๙ ให้ เะ้ ำขอบที่ ดิน
มีสิทธิ ใช้ ทำบะำเป็ น เะ้ ำขอบที่ ดินก็ให้ คนอื่ นใช้ สิทธิ ในทำบะำเป็ นแทน
ได้ แต่ ถ้ำเะ้ ำขอบที่ ดินไม่ ได้ เป็ นโะทก์ ฟ้ อบ โดยมีผ้ เู ช่ ำหรื อผู้อำศดยสิ ทธิ
ในที่ ดินเป็ นโะทก์ ฟ้อบคดี ศำลฎีกำัินิะฉด ยั่ ำผู้เช่ ำหรื อผู้อำศดยสิ ทธิ ใน
ที่ดินไม่ มีอำนำะฟ้ อบ (คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๗๔๐/๒๕๕๑)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๙๐๐/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๑๕๐ อ. ฟ้ อง
จาเลยขอให้เ ปิ ดทางจาเป็ น เป็ นเรื่ องเฉพาะตัว ไม่ มี ผ ลผูก พัน โจทก์
ทั้งสาม แต่ อ. เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินที่แบ่งแยกมาจากที่ดินโฉนด
เลขที่ ๓๑๙ แปลงใหญ่ และมีที่ดินแปลงอื่นล้อมอยูจ่ นไม่มีทางออกถึ ง
ทางสาธารณะได้เช่นเดียวกับที่ดินโจทก์ท้ งั สาม เมื่อ อ. ผ่านที่ดินจาเลย
ซึ่ งล้อมอยู่ออกไปสู่ ทางสาธารณะและถนนได้ การที่ ที่ดินของโจทก์
ทั้ง สามแบ่ ง แยกจากที่ ดิ น โฉนดเลขที่ ๓๑๙ ซึ่ งเป็ นแปลงใหญ่ น้ ัน
ปรากฏว่าที่ดินที่แบ่งทุกแปลงมีทางออกผ่านที่ดินของจาเลยออกสู่ ทาง
สาธารณะเป็ นทางจาเป็ นอยู่แล้ว ดังนั้น โจทก์ท้ งั สามย่อมมี สิทธิ ผ่าน
ที่ดินของจาเลยซึ่ งเป็ นทางจาเป็ นได้เช่ นเดี ยวกับ อ. เพราะจาเลยไม่มี
สิ ทธิ ปิ ดกั้ น ทางจ าเป็ นได้ อี ก ต่ อ ไป ถื อ ได้ ว่ า ที่ ดิ น โจทก์ ท้ ั ง สาม
มี ท างออกถึ ง ทางสาธารณะได้ โจทก์ ท้ งั สามจึ ง ไม่ มี สิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ ง
ให้จาเลยเปิ ดทางพิพาทในที่ดินจาเลยเป็ นทางจาเป็ นได้อีก
251

คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๓๒๕/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๘ น.๑๘๐ การฟ้ อง


ขอให้เปิ ดทางจาเป็ นโจทก์จะฟ้ องได้ต่อเมื่อที่ดินของโจทก์มีที่ดินแปลง
อื่นล้อมอยูจ่ นไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะตามบทบัญญัติแห่ ง ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๔๙ แต่หากเป็ นกรณี แบ่งแยกที่ดินแปลงเดียวกัน ทาให้ที่ดิน
ที่ แบ่ งแยกนั้นแปลงใดไม่มี ทางออกสู่ ท างสาธารณะซึ่ ง หมายถึ ง ทาง
สาธารณะที่ มีอยู่ในขณะแบ่งแยกนั้นแล้ว ก็จะเป็ นไปตามบทบัญญัติ
แห่ ง ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๐ เมื่อปรากฏว่า การแบ่งแยกที่ดินพิพาทกับ
ที่ ดิ น ของโจทก์ อ อกจากที่ ดิ น โฉนดเลขที่ ๑๒๗๕ กระท ากัน ในปี
๒๕๓๑ ก่อนมีถนนพุทธมณฑลสาย ๑ ในปี ๒๕๔๑ กรณี จึงไม่อาจนา
บทบัญญัติแห่ง ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๐ มาบังคับได้
ทางจากที่ดินของโจทก์ออกสู่ ท างสาธารณะทั้ง ๓ ทาง เป็ น
เส้ น ทางที่ ต้อ งผ่ า นที่ ดิ น ของบุ ค คลอื่ น และไม่ ป รากฏว่ า เป็ นทาง
สาธารณะ อี ก ทั้งไม่ ใช่ ท างที่ เป็ นภารยทรั พ ย์ของที่ ดินของโจทก์ ซึ่ ง
เจ้า ของอาจจะอนุ ญาตให้ โจทก์ใ ช้ท างดัง กล่ า วหรื อไม่ ก็ ไ ด้ และแม้
เจ้าของที่ดินนั้นจะยินยอมให้โจทก์ผา่ นที่ดินของตนได้ก็ไม่ใช่สิทธิ ตาม
กฎหมาย ประกอบกับมีระยะทางจากที่ดินของโจทก์ไปสู่ ทางสาธารณะ
ไกลไม่สะดวก จึ งฟั งได้ว่า ที่ ดินของโจทก์ถูกล้อมรอบด้วยที่ดินของ
ผูอ้ ื่ นจนไม่ อาจออกสู่ ท างสาธารณะได้ โจทก์จึง มี อานาจฟ้ องขอให้
เปิ ดทางพิพ าทเป็ นทางจาเป็ นได้ แต่ การที่ จะเปิ ดทางจาเป็ นนั้น ต้อง
เลือกให้พอสมควรแก่ความจาเป็ นของโจทก์โดยคานึ งถึงประโยชน์การ
ใช้สอยที่ดินพิพาทให้เสี ยหายน้อยที่สุด
252

คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๙๙๗/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๕ น. ๘๗ ที่ดินที่ ล.


ยกให้จ าเลยที่ ๑ เป็ นที่ ดิ นที่ อ ยู่บ ริ เ วณกลางที่ ดิ น ของ ล. ไม่ ติด ทาง
สาธารณประโยชน์ แต่ เ พื่ อ ให้ จ าเลยที่ ๑ มี ท างเข้ า ออกสู่ ทาง
สาธารณประโยชน์ ไ ด้ ล. จึ ง ยกที่ ดิ น ทางด้า นทิ ศ ใต้ที่ เ ชื่ อ มติ ด ทาง
สาธารณะให้จาเลยที่ ๑ แสดงว่า ล. ประสงค์จะให้ ใ ช้เป็ นทางออก
ร่ ว มกัน การที่ ที่ ดิ น ของโจทก์ มี ที่ ดิ น ของบุ ค คลอื่ น ล้อ มอยู่ จ นไม่ มี
ทางออกสู่ ท างสาธารณประโยชน์ และโจทก์ข อทางจาเป็ นผ่า นที่ ดิน
จาเลยที่ ๑ จึงเป็ นการขอผ่านที่ดินส่ วนที่ใช้เป็ นทางเข้าออกอยูแ่ ล้ว ซึ่ ง
เป็ นเส้นทางที่เหมาะสมและสะดวก ทั้งก่ อความเสี ยหายให้แก่ ที่ดินที่
ล้อมอยูน่ อ้ ยที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้
ภาระจายอมหรื อทางจาเป็ นเป็ นทรัพยสิ ทธิ ที่ติดกับตัวทรั พย์
สามารถใช้ยนั กับบุคคลภายนอกโดยทัว่ ไปได้ โจทก์จึงฟ้ องบังคับจาเลย
ที่ ๑ ซึ่ งเป็ นเจ้าของที่ดินกับจาเลยที่ ๓ ซึ่ งเป็ นผูเ้ ช่าที่ดินจากจาเลยที่ ๑
และกระทาละเมิดโดยปิ ดทางจาเป็ นของโจทก์ได้ แต่จาเลยที่ ๔ ไม่ได้
ความว่า กระท าการปิ ดกั้น ทางของโจทก์ ใ นนามส่ ว นตัวเกิ นอ านาจ
หน้า ที่ ห รื อ กระท าการโดยขัด กับ ระเบี ย บหรื อ นอกขอบอ านาจของ
จาเลยที่ ๓ การกระทาของจาเลยที่ ๔ จึงเป็ นการกระทาในนามจาเลยที่
๓ โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ องจาเลยที่ ๔ ให้เปิ ดทางภาระจายอมหรื อทาง
จาเป็ นได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๘๙๑/๒๕๕๑ ฎ.๑๓๒๕ โจทก์เคยเสนอ
หลักฐานเท็จว่ามีทางสาธารณะผ่านที่ดินของจาเลยทั้งสอง เพราะโจทก์
ต้องการขายที่ดินของโจทก์ แต่ขายไม่ได้เพราะไม่มีทางออก เมื่อทาง
253

ราชการตรวจสอบแล้วไม่เป็ นความจริ งดังโจทก์อา้ ง โจทก์จึงฟ้ องคดี น้ ี


เมื่ อที่ ดินของโจทก์ถูกที่ ดินแปลงอื่นปิ ดล้อมอยู่จนไม่มีทางเข้าออกสู่
ทางสาธารณะ โจทก์ย่อมมีสิทธิ ขอให้เจ้าของที่ดินแปลงที่ปิดล้อมอยู่
นั้น เปิ ดทาง เพื่ อ ให้ โ จทก์ เ ข้า ออกสู่ ท างสาธารณะได้ต ามประมวล
กฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๔๙ อันเป็ นการใช้สิ ทธิ ตามที่
กฎหมายกาหนด จึงมิใช่การใช้สิทธิ โดยไม่สุจริ ต
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๑๐๓/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๘ น.๑๔๓ การขอ
ผ่านทางที่ดินซึ่ งล้อมอยูอ่ อกสู่ ทางสาธารณะนั้น ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙
วรรคหนึ่ ง บัญญัติให้มุ่งพิจารณาถึ งสภาพของที่ดินนั้น จะต้องถูกที่ดิน
แปลงอื่นล้อมจนไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะเป็ นสาคัญ เจ้าของที่ดิน
แปลงนั้นจึ งมี สิทธิ จะผ่านที่ ดินซึ่ งล้อมอยู่ออกไปสู่ ทางสาธารณะได้
โดยมิได้กาหนดเงื่ อนไขว่าผูเ้ ป็ นเจ้าของที่ดินที่ถูกล้อมจะต้องได้ที่ดิน
มาโดยสุ จริ ต แม้จ ะฟั ง ได้ว่า โจทก์ซ้ื อที่ ดิน มาโดยรู ้ อยู่แล้วว่า มี ที่ ดิ น
แปลงอื่ นล้อมอยู่จนไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะได้ก็ตาม ก็ไม่ทาให้
สิ ทธิ ของโจทก์ที่จะผ่านที่ดินที่ลอ้ มอยูอ่ อกสู่ ทางสาธารณะหมดไป
กฎหมายมิ ได้บญ ั ญัติว่าเจ้า ของที่ ดินที่ ถูก ที่ดินแปลงอื่นล้อม
จะต้องขอผ่านที่ดินที่ลอ้ มอยู่ซ่ ึ งอยู่ใกล้ทางสาธารณะมากที่สุดเท่านั้น
เพียงแต่การที่จะผ่านที่ดินที่ลอ้ มนั้น ที่และวิธีทาทางผ่านต้องเลื อกให้
พอสมควรแก่ความจาเป็ นของผูม้ ีสิทธิ จะผ่านกับทั้งให้คานึ งถึ งที่ดินที่
ล้อมอยูใ่ ห้เสี ยหายแต่น้อยที่สุดที่จะเป็ นได้ ถ้าจาเป็ นจะสร้างถนนเป็ น
ทางผ่านก็ได้ ที่ดินของจาเลยมีเนื้ อที่เพียง ๕ ตารางวา มีรูปลักษณะเป็ น
สามเหลี่ ยมชายธงซึ่ งใช้ประโยชน์เพียงเป็ นทางเข้าหมู่บา้ น และเชื่ อม
254

กับที่ดินอีก ๒ แปลงของจาเลยที่มีสภาพเป็ นถนนเพื่อให้ผอู ้ ยู่อาศัยใน


หมู่บา้ นออกสู่ ทางสาธารณะ โจทก์จึงไม่จาต้องทาทางผ่านให้เกิดความ
เสี ยหายแก่ที่ดินจาเลย และจาเลยก็มิได้รับความเสี ยหายในการที่โจทก์
จะใช้เป็ นทางเข้า ออกสู่ ทางสาธารณะเพราะมี ส ภาพเป็ นทางอยู่แล้ว
ที่ดินของจาเลยที่โจทก์ขอผ่านเป็ นทางจาเป็ นจึงเป็ นทางที่สะดวกที่สุด
และก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่จาเลยน้อยที่สุด ต่างกับอีกด้านหนึ่ งที่ดิน
ที่ลอ้ มไม่มีสภาพเป็ นทาง มีหญ้าและต้นไม้ปกคลุมกับต้องผ่านที่ดินอีก
หลายแปลง ทั้งจะต้องปรับปรุ งเพื่อให้มีสภาพเป็ นทางอีกด้วย
แม้ท างจาเป็ นจะเป็ นถนนซึ่ งเป็ นสาธารณู ป โภคที่ ผูจ้ ดั สรร
ที่ ดินได้จดั ให้มี ข้ ึ นและตกอยู่ใ นภาระจายอมเพื่ อ ประโยชน์ แก่ ที่ ดิ น
จัดสรรซึ่ งกฎหมายห้ามผูจ้ ดั สรรที่ดินทานิติกรรมกับบุคคลใดก่อให้เกิด
ภาระแก่ที่ดินนั้นก็ตาม แต่เมื่อถนนดังกล่าวตกอยูภ่ ายใต้สิทธิ เรี ยกร้องที่
โจทก์จะขอเปิ ดทางจาเป็ นได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙ วรรคหนึ่ง ซึ่ ง
เป็ นไปโดยผลของกฎหมาย มิ ใช่ เป็ นเรื่ องที่ผจู้ ดั สรรที่ดินทานิ ติกรรม
แต่อย่างใด จึงไม่ขดั ต่อกฎหมาย
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๗๓๒๒/๒๕๕๐ ฎ.ส.ล. ๙ น. ๒๒๗ แม้
ที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๑๓๐๑ ของโจทก์ทางด้านทิศตะวันออกจะติดแม่น้ า
บางปะกง แต่ก็ ไ ด้ค วามว่าปั จจุ บ นั แม่ น้ าบางปะกงไม่ไ ด้ใ ช้เป็ นทาง
สัญจร คงมีแต่เรื อหาปลา ไม่มีเรื อโดยสารโดยกิจการเรื อโดยสารได้เลิก
มาหลายสิ บปี แล้ว เมื่อโจทก์ซ้ื อที่ดินแปลงดังกล่าวแล้วก็ได้ใช้เส้นทาง
พิพาทออกสู่ ทางสาธารณะซึ่ งเส้ นทางพิพาทมีความกว้างประมาณ ๓
เมตร ดังนี้ กรณี ที่ดินโจทก์จึงต้องตามบทบัญญัติ ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙
255

วรรคสอง คือ ที่ดินโจทก์มีทางออกสู่ ทางสาธารณะได้ แต่ตอ้ งข้ามสระ


บึง ทะเล หรื อสภาพยากลาบากในทานองเดียวกัน โจทก์จึงมีสิทธิ ฟ้อง
เพื่อขอเปิ ดทางจาเป็ นผ่านที่ดินจาเลยทั้งสามออกสู่ ทางสาธารณะได้
เมื่อที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๑๓๐๑ ที่โจทก์ถือกรรมสิ ทธิ์ อยูแ่ บ่งแยก
ออกมาจากโฉนดที่ดินเลขที่ ๑๖๓๘ ของจาเลยที่ ๑ และที่ ๒ เป็ นเหตุ
ให้ที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๑๓๐๑ ไม่มีทางบนบกออกสู่ ทางสาธารณะได้
โจทก์ก็ ย่อมมี สิ ท ธิ ใ ช้ท างพิ พ าทออกสู่ ท างสาธารณะได้เช่ นกันตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๐
สิ ท ธิ ใ นทางจาเป็ นย่อมเกิ ดขึ้ นโดยอานาจของกฎหมายตาม
สภาพความเป็ นจริ งของที่ดินในปั จจุบนั ข้ออ้างของฝ่ ายจาเลยทั้งสาม
ที่ว่าโจทก์สมัครใจซื้ อที่ดินซึ่ งไม่มีทางออกสู่ ถนนสาธารณะทาให้ซ้ื อ
ในราคาถูกกว่าปกติ ส่ อเจตนาว่าจะไม่ใช้ทางพิพาทเป็ นทางออกสู่ ทาง
สาธารณะนั้น มิ ได้ทาให้สิทธิ ในทางจาเป็ นของโจทก์ระงับสิ้ นไปแต่
อย่างใด
ข้ อสั งเกต คดี นีศ้ ำลฎีกำฟด บข้ อเท็ะะริ บั่ ำปด ะะุบดนแม่ นำ้ บำบปวกบไม่ ได้
ใช้ เป็ นทำบสด ญะร ะึ บถือั่ ำที่ ดินที่ ติดแม่ นำ้ บำบปวกบเป็ นที่ ดินที่ ถูกปิ ด
ล้ อ ม แต่ ค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำต่ อ ไป ศำลฎี ก ำฟด บ ข้ อ เท็ ะ ะริ บั่ ำ แม่ น้ำ
เะ้ ำพรวยำซึ่ บปด ะะุบดน ยดบมีกำรใช้ สดญะรตำมปกติ ะึ บเป็ นทำบสำธำรณว
ซึ่ บถื อั่ ำ เป็ นกำรัิ นิะฉด ย ตำมข้ อเท็ะะริ บที่ ป รำกฏในคดี แต่ ล วเรื่ อบที่
แตกต่ ำบกดน หำกคำถำมหลอกั่ ำที่ดินติดแม่ นำ้ บำบปวกบซึ่ บปด ะะุบดนยดบมี
กำรใช้ สดญะรตำมปกติ ก็ต้อบถือั่ ำเป็ นที่ดินทีมีทำบออกสู่ทำบสำธำรณว
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๑๙๓๕/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๑๐ น.๑ ที่ ดินของ
256

โจทก์ที่ ๖ ถึงที่ ๑๓ ทั้ง ๔ แปลงอยู่ติดแม่น้ าเจ้าพระยาซึ่ งปั จจุบนั ยังมี


การใช้สัญจรตามปกติ จึงเป็ นทางสาธารณะ ที่ดินของโจทก์ดงั กล่าวจึง
ไม่เป็ นที่ดินที่มีที่ดินแปลงอื่นล้อมอยูจ่ นไม่มีทางออกถึงทางสาธารณะ
ได้ ตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๓๔๙ วรรคหนึ่ง
บ้านบางหลังของฝ่ ายโจทก์เป็ นบ้านยกพื้น อยูส่ ู งกว่าระดับน้ า
ในแม่น้ าประมาณ ๗๐ เซนติเมตร แสดงให้เห็นว่า ระดับน้ าในแม่น้ ากับ
ริ มตลิ่งย่อมจะน้อยกว่า ๗๐ เซนติเมตร กรณี ไม่ถือว่าเป็ นที่ชนั อันระดับ
ที่ ดินกับ ทางสาธารณะอยู่สู ง กว่า กันมากตามความหมายของมาตรา
๑๓๔๙ วรรคสอง
เมื่ อ ที่ ดิ น ของโจทก์ ที่ ๖ ถึ ง ที่ ๑๓ ทั้ง ๔ แปลงอยู่ ติ ด ทาง
สาธารณะ แม้ฝ่ ายโจทก์ ไ ม่ ไ ด้ใ ช้ ท างสาธารณะนี้ สั ญ จรไปมาเป็ น
เวลานานแล้ว ก็ไม่ทาให้โจทก์ท้ งั สิ บสามมีสิทธิ ที่จะใช้ทางพิพาทใน
ที่ดินของจาเลยทั้งเจ็ดโดยอ้างว่าเป็ นทางจาเป็ นได้ ที่ดินของโจทก์ที่ ๑
ถึงที่ ๕ และโจทก์ที่ ๘ ถึงที่ ๑๓ แปลงอื่ น ซึ่ งไม่ได้ติดทางสาธารณะ
โดยตรงนั้น เป็ นที่ ดิ นแบ่ ง แยกมาจากที่ ดินที่ ติด ทางสาธารณะ หาก
โจทก์ที่ ๑ ถึ งที่ ๕ และโจทก์ที่ ๘ ถึ งที่ ๑๓ จะเรี ยกร้ องเอาทาง ก็ตอ้ ง
เรี ยกร้องเอาจากที่ดินแปลงเดิมที่ได้แบ่งแยกหรื อแบ่งโอนกัน ไม่อาจที่
จะเรี ยกร้องขอใช้ทางพิพาทได้
ข้ อสั งเกต คำพิพำกษำฎีกำนีน้ ่ ำะวกลดบหลดกตำมคำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๐๐-
๘๐๑/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๑ น.๑๙๑ ซึ่ บัินิะฉด ยั่ ำ คลอบบำบไผ่ น้อยบริ เัณ
พิ พำท แม้ ใช้ เรื อสด ญะรเข้ ำออกได้ แต่ ก็ขำดคัำมสวดักที่ ะวใช้ สอย
เป็ นทำบสำธำรณวได้ ต ำมปกติ ะึ บ ยด บ ไม่ พ อที่ ะ วถื อ ได้ ั่ ำ เป็ นทำบ
257

สำธำรณวตำมคัำมหมำยขอบ ป.พ.พ. มำตรำ ๑๓๔๙ โะทก์ ะึบมีคัำม


ะำเป็ นที่ะวต้ อบผ่ ำนที่ดินขอบะำเลยซึ่ บล้ อมอยู่ไปสู่ ทำบสำธำรณวโดยใช้
ทำบเดินพิพำทผ่ ำนเข้ ำออกเป็ นทำบะำเป็ นได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๖๘/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๓ น.๙๔ แม้คลอง
มหาชัยจะมีเขื่อนกั้นอยูบ่ ริ เวณปากคลอง แต่มิได้ปิดกั้นตลอดเวลาเป็ น
การปิ ดกั้น เพื่ อ ป้ องกัน น้ าทะเลหนุ น คลองมหาชัย ยัง เป็ นคลองที่
ประชาชนใช้ใ นการสัญจรไปมาอยู่ในปั จจุ บนั จึ งเป็ นทางสาธารณะ
ตามความหมายของ ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙ การที่ปัจจุบนั ประชาชน
ส่ วนใหญ่ มิ ไ ด้ใ ช้เป็ นทางสั ญ จรทางน้ า เนื่ องจากไม่ ส ะดวกเท่ า การ
สัญจรทางบก หาได้ทาให้คลองมหาชัยสิ้ นสภาพการเป็ นทางสาธารณะ
ไปไม่ เมื่ อ ที่ ดิ น ของโจทก์ ท้ ัง สองอยู่ ติ ด คลองมหาชัย ซึ่ งเป็ นทาง
สาธารณะอยูแ่ ล้ว โจทก์ท้ งั สองจึงไม่มีสิทธิ เรี ยกให้จาเลยเปิ ดทางพิพาท
เป็ นทางจาเป็ นได้

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๕๐


คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๔๕/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล.๑ น.๑๙ โจทก์และ
จาเลยทั้งสองเป็ นผูถ้ ื อกรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ดินพิพาท เมื่อแบ่งแยกเป็ น
ที่ ดิ น ๓ แปลง ที่ ดิ น โจทก์ อ ยู่ ด้ า นในสุ ด และไม่ มี ท างออกสู่ ถ นน
สาธารณะ โจทก์จึงมีสิทธิ เรี ยกร้องขอผ่านที่ดินของจาเลยทั้งสองที่แบ่ง
ออกไปโดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าทดแทนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๐ แม้ที่ดิน
ที่ โ จทก์ แ ละจ าเลยทั้ง สองเป็ นเจ้า ของกรรมสิ ท ธิ์ รวมมิ ไ ด้ติ ด ทาง
สาธารณะ และหลังจากโจทก์ฟ้องคดีน้ ีแล้ว จาเลยที่ ๒ จะโอนขายที่ดิน
258

ส่ วนของตนให้แก่ บุคคลภายนอกไปแล้วก็ตาม เนื่ องจากในเรื่ องทาง


จาเป็ นนั้น กฎหมายมุ่งประสงค์จะบังคับแก่ที่ดินแปลงที่ลอ้ มเป็ นสาคัญ
สาหรับที่และวิธีทาทางผ่านนั้นต้องเลือกให้พอแก่ความจาเป็ นของผูม้ ี
สิ ทธิ จะผ่าน กับทั้งให้คานึ งถึ งที่ ดินที่ ล้อมอยู่ให้เสี ยหายแต่น้อยที่ สุด
ที่จะเป็ นได้ ถ้าจาเป็ นผูม้ ีสิทธิ จะผ่านจะสร้างถนนเป็ นทางผ่านก็ได้ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙ วรรคสาม ดังนั้น ทางจาเป็ นจึงไม่จาเป็ นต้องเป็ น
ทางที่ มีอยู่เดิ มก่ อนแบ่งแยก แม้โจทก์มิได้นาสื บให้เห็ นว่าทางพิพาท
พอควรแก่ความจาเป็ นอย่างไร ทาให้เกิ ดความเสี ยหายแก่เจ้าของที่ดิน
ที่ล้อมอยู่น้อยที่ สุดและเป็ นทางผ่านเข้าออกในระยะสั้นที่ สุดหรื อไม่
ก็ ต าม เพื่ อ มิ ใ ห้ ค ดี ล่ า ช้ า และคู่ ค วามไม่ ต้อ งพิ พ าทกัน อี ก ศาลฎี ก า
เห็นสมควรกาหนดให้ตามความจาเป็ นและเหมาะสม
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๙/๒๕๕๒ ฎ.๕ ประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๕๐ กาหนดให้เจ้าของที่ดินแบ่งแยกหรื อแบ่ง
โอนกันเป็ นเหตุให้แปลงหนึ่ งไม่มีทางออกไปสู่ ทางสาธารณะ มีสิทธิ
เรี ยกร้องเอาทางเดินผ่านที่ดินที่ลอ้ มอยูไ่ ปสู่ ทางสาธารณะได้เฉพาะบน
ที่ดินแปลงที่ได้แบ่งแยกหรื อแบ่งโอนกันเท่านั้น กฎหมายหาได้กาหนด
ถึงการสิ้ นสิ ทธิ เรี ยกร้องเอาทางเดินผ่านไว้ แม้โจทก์ไม่ได้ใช้ทางพิพาท
ตั้ง แต่ มี ก ารแบ่ ง แยกที่ ดิ น กัน โดยโจทก์ ใ ช้ ที่ ดิ น ของบุ ค คลอื่ น เป็ น
ทางออกสู่ ทางสาธารณะ ก็ไม่ ทาให้สิท ธิ เรี ยกร้ องของโจทก์ที่ จะเอา
ทางเดินผ่านที่ดินของจาเลยตามมาตรา ๑๓๕๐ หมดไป โจทก์จึงมีสิทธิ
เรี ยกร้องเอาทางจาเป็ นจากที่ดินของจาเลยได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๔๐๘/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๕ น. ๘๔ บทบัญญัติ
259

แห่ ง ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๐ จะนามาใช้บงั คับได้ตอ้ งเป็ นกรณี ที่ที่ดิน


แปลงเดิมมีทางออกสู่ ทางสาธารณะอยูแ่ ล้ว ครั้นเมื่อแบ่งแยกหรื อแบ่ง
โอนกันเป็ นเหตุให้แปลงหนึ่ งไม่มีทางออกไปสู่ ทางสาธารณะ เจ้าของ
ที่ดินแปลงนั้นมี สิทธิ เรี ยกร้ องเอาทางเดิ นตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙
ได้โดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าทดแทน
คดีน้ ีเดิมที่ดินของโจทก์เป็ นส่ วนหนึ่งของที่ดินที่ถูกที่ดินแปลง
อื่นล้อมอยู่จนไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะได้ ต้องอาศัยที่ดินของผูอ้ ื่น
เดิ นผ่านเพื่อออกไปสู่ ทางสาธารณะ การที่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะ
โดยผ่านที่ดินของผูอ้ ื่นได้เพราะเขายินยอม มิใช่เป็ นสิ ทธิ ตามกฎหมาย
ต้อ งถื อ ว่ า ไม่ มี ท างออกสู่ ท างสาธารณะ กรณี ข องโจทก์ จึ ง ไม่ เ ข้า
หลัก เกณฑ์ต ามมาตรา ๑๓๕๐ แต่ เ ป็ นกรณี ที่ ที่ ดิ นของโจทก์ มี ที่ ดิ น
แปลงอื่ นล้อมอยู่จนไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะ โจทก์สามารถที่ จะ
ผ่านที่ดินซึ่ งล้อมอยูไ่ ปสู่ ทางสาธารณะได้ตามมาตรา ๑๓๔๙
ที่ดินของโจทก์มีทางออกสู่ ทางสาธารณะได้หลายทาง คือ ทาง
แรกโจทก์สามารถผ่านที่ดินของ ส. ผูซ้ ่ ึ งขายที่ ดินให้แก่ โจทก์แล้วไป
ออกทางที่ ดินของ ด. โดย ส. และ ด. มิ ได้หวงห้า ม ทางที่ สองโจทก์
สามารถออกทางที่ดินของ ป. และทางที่สาม คือ ทางพิพาทนั้น โจทก์
เพิ่ งมาใช้ในภายหลัง ดัง นั้น เมื่ อโจทก์มีท างออกสู่ ทางสาธารณะได้
หลายทางโดยผ่านทางที่ดินของ ส. ด. และ ป. ซึ่ งบุคคลดังกล่ าวมิได้
หวงห้า มโจทก์แต่ อย่า งใด การที่ โจทก์จะขอเปิ ดทางพิ พ าทเป็ นทาง
จาเป็ นเพื่อความสะดวกของโจทก์ แต่ทาให้จาเลยที่ ๑ ต้องเดือดร้ อน
และเสี ยหาย และถ้าหากให้จาเลยที่ ๑ เปิ ดทางพิพาทเป็ นทางจาเป็ นจะ
260

ทาให้จาเลยที่ ๑ ต้องรื้ อบริ เวณหลังบ้านด้านทิศตะวันออก อันจะทาให้


จาเลยที่ ๑ ได้รั บ ความเสี ย หายและเดื อดร้ อ นเป็ นอย่า งมาก และไม่
เป็ นไปตามเจตนารมณ์ ข อง ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙ วรรคสาม การ
กระทาของโจทก์จึงเป็ นการใช้สิทธิ โดยไม่สุจริ ต
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๒๒๙/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๒ น. ๖๒ การอ้าง
สิ ทธิ ที่จะผ่า นที่ ดินของบุ ค คลอื่ นตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๐ ที่ ดินที่
แบ่งแยกออกมานั้นจะต้องไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะโดยทางอื่นได้
แม้ว่าที่ ดินโฉนดเลขที่ ๑๒๒๕๓ แบ่ งแยกหรื อแบ่ งโอนมาจากที่ ดิน
แปลงใหญ่โฉนดเลขที่ ๘๑ ท าให้ที่ดินแปลงนี้ ถู กที่ ดินที่ แบ่ง แยกใน
คราวเดียวกันปิ ดล้อมไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะได้ก็ตาม แต่ในเวลา
นั้น ฉ. ซึ่ งเป็ นเจ้าของผูไ้ ด้รับที่ดินจากการแบ่งแยกยังเป็ นเจ้าของที่ดิน
อี ก แปลงหนึ่ งซึ่ งอยู่ ติ ด กับ ที่ ดิ น แปลงที่ ไ ด้รั บ การแบ่ ง แยกทางทิ ศ
ตะวันตกเฉี ยงใต้ คือที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๗๔๑๙ (ก่อนการแบ่งแยกตาม
คาพิ พ ากษาศาลฎี ก า) และที่ ดิ น โฉนดเลขที่ ๑๗๔๑๙ เดิ ม นั้นมี ท าง
พิ พ าทกว้า งประมาณ ๑๐ เมตร เป็ นทางออกสู่ ท างสาธารณะ ซึ่ ง ฉ.
สามารถใช้ ท างพิ พ าทในที่ ดิ น แปลงดั ง กล่ า วเป็ นทางออกสู่ ท าง
สาธารณะของที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๒๒๕๓ ได้ จึ งถื อได้ว่าที่ ดินโฉนด
เลขที่ ๑๒๒๕๓ ที่ แบ่งแยกออกมานั้นมี ทางออกสู่ ทางสาธารณะโดย
ทางอื่ น ได้อ ยู่แ ล้ว สิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ งเอาทางจ าเป็ นบนที่ ดิ น แปลงที่ ไ ด้
แบ่งแยกมาในคราวเดี ยวกันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๐ ย่อมหมดไป
ตั้งแต่น้ นั แล้ว แม้ต่อมาที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๗๔๑๙ เดิ มจะถูกบังคับให้
แบ่งแยกและบังคับให้โอนขายแก่ จาเลยตามคาพิพากษาของศาลฎี กา
261

ทาให้ที่ดินตามโฉนดเลขที่ ๑๒๒๕๓ ไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะอีก


ครั้ง โจทก์ผเู ้ ป็ นเจ้าของที่ดินตามโฉนดเลขที่ ๑๒๒๕๓ ก็จะกลับไปใช้
สิ ทธิ เรี ยกร้องเอาทางจาเป็ นบนที่ดินแปลงที่แบ่งแยกมาด้วยกันในครั้ง
ก่อนตามมาตรา ๑๓๕๐ อีกไม่ได้ คงมีสิทธิ ที่จะผ่านที่ดินแปลงใดแปลง
หนึ่ ง ซึ่ ง ล้อมอยู่ไปสู่ ทางสาธารณะได้ในฐานะทางจาเป็ นตามมาตรา
๑๓๔๙ เท่านั้น เมื่อโจทก์นาสื บฟั งได้วา่ การใช้ทางพิพาทบนที่ดินตาม
โฉนดเลขที่ ๗๙๐๖๐ ของจาเลยออกสู่ ทางสาธารณะซึ่ งโจทก์เคยใช้ผา่ น
มาก่อนมีระยะทางเพียง ๕๐ เมตร แต่หากใช้เส้นทางอื่นผ่านที่ดินแปลง
ที่แบ่งแยกมาด้วยกันในครั้ งก่ อนเพื่อออกทางถนนราชมรรคาต้องใช้
ระยะทางถึ ง ๑๐๐ เมตรเศษ ซึ่ ง ไกลกว่า กันถึ ง หนึ่ ง เท่ า ตัว เช่ นนี้ ท าง
พิพาทย่อมสะดวกและเหมาะสมที่จะเป็ นทางจาเป็ นแก่ที่ดินโฉนดเลขที่
๑๒๒๕๓ ของโจทก์กว่าทางอื่น โจทก์จึงมีสิทธิ ขอให้เปิ ดทางพิพาทใน
ที่ดินโฉนดเลขที่ ๗๙๐๖๐ ของจาเลยเป็ นทางจาเป็ นเพื่อประโยชน์แก่
ที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๒๒๕๓ ของโจทก์ได้
การที่ศาลอุทธรณ์ภาค ๗ กาหนดให้จาเลยเปิ ดทางกว้าง ๒.๕๐
เมตร นั้น ก็เพื่อที่จะให้โจทก์ได้ใช้รถยนต์ซ่ ึ งเป็ นสิ่ งจาเป็ นในปั จจุบนั
แล่นเข้าออกได้โดยสะดวก การที่จาเลยจะขอให้เปิ ดทางให้โจทก์กว้าง
เพียง ๒ เมตร ย่อมทาให้รถยนต์ผ่านเข้าออกได้ไม่สะดวกรวดเร็ วซึ่ ง
เป็ นการไม่เหมาะสมแก่ สภาพการณ์ และความเจริ ญของบ้านเมืองใน
ปั จจุบนั ที่ตอ้ งการความรวดเร็ ว การกาหนดให้จาเลยเปิ ดทางพิพาทซึ่ ง
เป็ นทางจาเป็ นมีขนาดกว้าง ๒.๕๐ เมตร เพื่อให้รถยนต์ผา่ นเข้าออกได้
จึงน่าจะเหมาะสมแล้ว
262

คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๐๒/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล. ๑ น.๑๕๕ ที่ดินของ


โจทก์แบ่งแยกออกมาจากที่ดินจาเลย ที่ดินโจทก์มีที่ดินบุคคลอื่นล้อม
อยู่ทุกด้าน แม้จะมีทางเดิ นออกสู่ ทางสาธารณะได้ก็ตาม แต่โจทก์ตอ้ ง
ผ่านที่ดินบุคคลอื่น อีกทั้งมีระยะทางไกลและรถยนต์ผ่านไม่ได้ ถื อว่า
ที่ดินโจทก์ถูกที่ดินแปลงอื่นล้อมอยูจ่ นไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะ ทั้ง
สภาพบ้านเมืองปั จจุบนั ใช้รถยนต์เป็ นพาหนะจานวนมาก ทางที่ใช้เข้า
ออกสู่ ที่ดินไม่ ใช่ เป็ นทางเดิ นสถานเดี ยว แต่ ตอ้ งให้รถยนต์ผ่า นด้วย
โจทก์ซ้ื อที่ดินจากจาเลยประสงค์ใช้เป็ นที่ปลูกบ้านและใช้ปลูกพืชผัก
ต้องใช้รถยนต์กระบะผ่านเข้าออกสู่ ที่ดิน ทางพิพาทเป็ นทางที่ใกล้และ
สะดวกแก่การเดินทางออกสู่ ทางสาธารณะพอแก่ความจาเป็ น และเมื่อ
ที่ ดินโจทก์แบ่ งแยกมาจากที่ ดินจาเลย โจทก์มี สิท ธิ ใ ช้ท างจาเป็ นใน
ที่ดินจาเลยได้โดยไม่ตอ้ งใช้ค่าทดแทนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๐
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๓๒/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๕๒ เดิ มที่ดิน
ของโจทก์ ท้ งั สี่ แ ละโจทก์ร่ วมกับ ของจาเลยเป็ นที่ ดิ นแปลงเดี ย วกัน
ต่อมามีการแบ่งแยกที่ดินออกเป็ นแปลงย่อยโดยที่ดินของจาเลยติดถนน
สาธารณประโยชน์ ส่ วนที่ดินของโจทก์ท้ งั สี่ และโจทก์ร่วมอยูด่ า้ นหลัง
ที่ดินของจาเลยจึ งไม่ติดถนนสาธารณประโยชน์ ด้านทิ ศตะวันออกที่
ติดกับคลองนั้น ก็ปรากฏว่าหากจะเดิ นไปยังคลองดังกล่าวจะต้องเดิ น
ผ่านใต้ถุนบ้านของบุคคลอื่นซึ่ งปลูกขวางอยู่ ส่ วนทางด้านทิศใต้ที่อยู่
ติ ด กั บ ถนนคอนกรี ตกว้า ง ๘ เมตร ก็ เ ป็ นถนนของ ท. มิ ใ ช่ ท าง
สาธารณะ และ ท. ก็หวงกันมิให้บุคคลทัว่ ไปได้ใช้ถนนดังกล่าว โดย
การกั้ นรั้ วลวดหนาม และใช้ ท่ อ ปู น ซี เ มนต์ ม าวางขวางไว้ เมื่ อ
263

ข้อเท็จจริ งฟั งได้ว่า ขณะซื้ อที่ ดินผูซ้ ้ื อทุ กคนรวมทั้งมารดาของจาเลย


ต่างตกลงกันว่าจะเปิ ดทางกว้า ง ๓ เมตร ทางด้านทิศใต้ของที่ดินทุ ก
แปลงเพื่อใช้เป็ นทางออกสู่ ทางสาธารณะ โจทก์ท้ งั สี่ และโจทก์ร่วมจึงมี
สิ ทธิ ผ่านที่ดินของจาเลยซึ่ งล้อมอยู่ไปสู่ ทางสาธารณะได้ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๕๐

การวางท่อนา้ สายไฟฟ้า
คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๕๒
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๗๗๕/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๑๒๓ การ
วางท่อน้ า สายไฟฟ้ า ท่อประปา สายโทรศัพท์ หรื อสิ่ งอื่นซึ่ งคล้ายกัน
ในที่ ดินติ ดต่ อ หาใช่ เป็ นเรื่ องทางจาเป็ นตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙
และ ๑๓๕๐ ไม่ แต่เป็ นเรื่ องที่เจ้าของที่ดินจาต้องยอมให้เจ้าของที่ดิน
ติดต่อวางท่อน้ า ท่อระบายน้ า สายไฟฟ้ า หรื อสิ่ งอื่นซึ่ งคล้ายกันผ่าน
ที่ ดินของตนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๒ การใช้สิ ท ธิ วางท่ อน้ า ท่ อ
ระบายน้ า ฯลฯ ในที่ ดินของผูอ้ ื่น ผูท้ ี่ จะวางท่อน้ า ท่อระบายน้ า ฯลฯ
จะต้องยอมจ่ายค่าทดแทนตามสมควรให้แก่เจ้าของที่ดินเสี ยก่อน หากผู ้
ที่ จะวางท่อน้ า ท่ อระบายน้ า ฯลฯ ไม่จ่ายค่าทดแทนตามสมควรแล้ว
เจ้าของที่ ดินย่อมมีสิทธิ ที่จะปฏิ เสธไม่ยอมให้วางท่อน้ า ท่อระบายน้ า
ฯลฯ ในที่ ดิน ของตนได้ จึ ง เป็ นหน้า ที่ ข องโจทก์ ซ่ ึ ง เป็ นผูว้ างท่ อน้ า
สายไฟฟ้ า ฯลฯ ที่จะต้องบอกกล่าวเสนอจานวนค่าทดแทนให้แก่จาเลย
ซึ่ ง เป็ นเจ้า ของที่ ดินทราบก่ อน มิ ฉ ะนั้นโจทก์ไ ม่ มี อานาจฟ้ องขอให้
บังคับจาเลยยอมให้โจทก์วางท่อน้ า สายไฟฟ้ า ฯลฯ ในที่ดินของจาเลย
264

เมื่อทางพิจารณาไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้เสนอค่าทดแทนแก่จาเลย โจทก์
จึ ง ไม่ มี อ านาจฟ้ องขอให้ บ ัง คับ จ าเลยยิ น ยอมให้ โ จทก์ ว างท่ อ น้ า
สายไฟฟ้ า ฯลฯ ในที่ดินของจาเลยได้
โจทก์มีสิทธิ ใช้ทางเดินและทางรถยนต์ในที่ดินเป็ นทางจาเป็ น
ด้วยอานาจแห่ งกฎหมาย แม้มีการโอนที่ดินแปลงดังกล่าวไปเป็ นของ
ผูอ้ ื่น โจทก์ก็ยงั คงมีสิทธิ ใช้ทางจาเป็ นในที่ดินดังกล่าวอยูน่ นั่ เอง จึงไม่
จาเป็ นต้องกาหนดให้จาเลยไปจดทะเบียนสิ ทธิ ทางจาเป็ น

กรรมสิ ทธิ์รวม
คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๕๖
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๐๕/๒๕๕๔ ฎ.๑๔๓๑ ก่อนโจทก์อยู่กิน
ฉันสามีภริ ยากับจาเลย โจทก์ประกอบอาชี พมีรายได้เป็ นของตนเองมา
ก่อน ต่อมาเมื่ออยูก่ ินกับจาเลยซึ่ งประกอบอาชี พรับเหมาก่อสร้างโจทก์
จึงลาออกจากงานและมาทางานกับจาเลย โดยหลังจากจาเลยแยกทาง
กับ ภริ ย าเดิ ม โจทก์ ม าอยู่กิ น กับ จาเลยโดยไปเช่ า ห้ องพัก อยู่ด้ว ยกัน
ขณะที่มาอยูก่ ินกันจาเลยมีเพียงรถยนต์ ๑ คัน ระยะเริ่ มต้นการประกอบ
อาชี พมีรายได้ไม่พอจ่าย แสดงว่าระยะเริ่ มต้นที่โจทก์กบั จาเลยอยู่กิน
ฉันสามีภริ ยากันจาเลยไม่มีทรั พย์สินอื่ น หลังจากทามาหากิ นร่ วมกับ
โจทก์ได้ระยะหนึ่ งจึงมีเงินพอซื้ อที่ดินแปลงหนึ่ ง ต่อมาขายที่ดินแปลง
ดังกล่ าวแล้วนาเงิ นที่ ได้มาสมทบกับเงิ นที่ ได้จากการประกอบอาชี พ
รับเหมาก่อสร้ างมาซื้ อที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๓๖๗๔ และ ๑๓๖๗๕ ในปี
๒๕๔๕ และปลู กสร้ า งบ้านเลขที่ ๒๔๘/๓๒ บนที่ ดินทั้ง สองแปลง
265

หลังจากอยูก่ ินฉันสามีภริ ยากับโจทก์ถึง ๖ ปี ถือว่าโจทก์จาเลยร่ วมกัน


สร้างฐานะจนมีความเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึน มีเงินสามารถซื้ อที่ดินและปลูกบ้าน
ได้ แม้จาเลยจะอ้า งว่า โจทก์ท างานให้แก่ จาเลยฐานะเสมี ย น รั บ เงิ น
ค่ า จ้า งจากจาเลยเป็ นรายวัน ไม่ ไ ด้ช่ วยของานหรื อหางานกับ บุ ค คล
ภายนอกจึงไม่ได้ร่วมกับจาเลยประกอบกิ จการรับเหมาก่อสร้ างก็ตาม
แต่พฤติการณ์ดงั กล่าวก็เป็ นเรื่ องที่โจทก์จาเลยแบ่งหน้าที่กนั ทาระหว่าง
โจทก์และจาเลยเองเพื่อประกอบกิจการของบุคคลทั้งสองแล้ว ที่ดินทั้ง
สองแปลงและบ้านดังกล่าวจึงเป็ นทรัพย์ที่โจทก์จาเลยต่างมีส่วนทามา
หาได้ร่วมกัน โจทก์จึงมี สิทธิ ขอแบ่งกรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินทั้งสองแปลง
และบ้านจากจาเลยได้ครึ่ งหนึ่ง

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๕๗


ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๖๐๓๔/๒๕๕๑ ฎ.๑๕๑๔ ผูเ้ ป็ นเจ้า ของ
รวมกันในที่ดินจะมีส่วนเท่ากันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา ๑๓๕๗ ต้องเป็ นกรณี ที่ยงั ไม่ได้มีการแบ่งแยกการครอบครอง
เป็ นสัดส่ วน ถ้า แบ่ง แยกการครอบครองออกเป็ นสัดส่ วนแล้ว ก็ ตอ้ ง
แบ่งกรรมสิ ทธิ์ รวมไปตามที่มีการครอบครองซึ่ งอาจไม่เท่ากันก็ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๓๗๖/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๖๘ แม้โจทก์
จาเลย และ ย. ซึ่ งเป็ นบิ ดาของจาเลย จะได้รับการสันนิ ษฐานไว้ก่อน
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๗ ว่าผูเ้ ป็ นเจ้าของรวมกันมีส่วนเท่ากันก็ตาม
แต่ ข ้อสั นนิ ษ ฐานของกฎหมายดัง กล่ า วไม่ ใ ช่ ข ้อสั นนิ ษ ฐานเด็ ดขาด
โจทก์สามารถนาสื บหักล้างเปลี่ ย นแปลงได้ เมื่ อพฤติ การณ์ แสดงให้
266

เห็ นชัดแจ้ง ว่า ที่ ดินและบ้านพิพ าทเป็ นของโจทก์และจาเลย โดย ย.


เพียงแต่มีชื่อร่ วมในโฉนดที่ดินพิพาท เพื่อการเสนอธนาคารขออนุ มตั ิกู้
เงิ น ย.จึงหาได้มีส่วนเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมแต่อย่างใดไม่ โจทก์มี
สิ ทธิ ฟ้องขอแบ่งที่ดินและบ้านพิพาทซึ่ งเป็ นสิ นสมรสกึ่งหนึ่ง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๗๑-๑๑๗๒/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๓ น.๕๔ ที่ดิน
แปลงพิพาทจาเลยถือกรรมสิ ทธิ์ ร่วมกับผูอ้ ื่น เมื่อเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวม
ยังไม่ได้ตกลงแบ่งกันเป็ นส่ วนสัดว่าที่ดินส่ วนไหนเป็ นของใครให้เป็ น
ที่แน่ นอน จึงต้องถื อว่าผูเ้ ป็ นเจ้าของรวมมีส่วนเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์
ในที่ดินพิพาทร่ วมกันทุกส่ วน การที่จาเลยปลูกบ้านและครอบครองทา
ประโยชน์ในที่ดินพิพาท จึงเป็ นการจัดการทรัพย์สินแทนเจ้าของรวม
คนอื่นด้วย ถื อว่าจาเลยครอบครองที่ พิพาทแทนเจ้าของรวมคนอื่นอยู่
จาเลยไม่อาจอ้างว่าเป็ นการครอบครองโดยปรปั กษ์ ดังนั้น ถึงแม้จาเลย
จะครอบครองที่พิพาทนานเกิน ๑๐ ปี แล้ว จาเลยก็ไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินพิพาท
ค าพิพ ากษาฎี ก าที่ ๑๕๙๓-๑๕๙๔/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๔ น.๙๔
ทรัพย์สินพิพาทได้มาระหว่างโจทก์กบั จาเลยที่ ๑ อยู่กินฉันสามีภริ ยา
ต้องถื อว่าเป็ นทรั พย์ที่ทามาหาได้ร่วมกันโดยไม่อาจแยกได้ว่าฝ่ ายใด
ประกอบอาชี พมีรายได้มากน้อยแตกต่างกันอย่างไร การที่จาเลยที่ ๑ มี
รายได้ม ากก็ เนื่ องจากโจทก์ท าหน้า ที่ เป็ นแม่ บ ้า นดู แล โจทก์จึง เป็ น
เจ้าของรวมทรัพย์สินพิพาทด้วยและสันนิ ษฐานไว้ก่อนว่าเจ้าของรวมมี
ส่ วนเท่ากันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๗
267

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๕๘


คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๕๗/๒๕๕๓ ฎ. ๖๓ โจทก์ท้ งั สี่ กบั จาเลย
เป็ นเจ้าของที่ดินพิพาทร่ วมกัน จาเลยทาสัญญาเช่าที่ดินพิพาทกับโจทก์
ทั้ง สี่ โดยมี ก าหนดระยะเวลา เมื่ อครบก าหนดระยะเวลาการเช่ า แล้ว
สัญญาเช่ าย่อมสิ้ นสุ ดลง คู่สัญญาจาต้องให้อีกฝ่ ายกลับคืนสู่ ฐานะดังที่
เป็ นอยู่เดิ มตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๓๙๑ วรรค
หนึ่ ง กล่าวคือ โจทก์ท้ งั สี่ และจาเลยซึ่ งเป็ นเจ้าของรวมต่างก็มีสิทธิ เท่า
เทียมกันในการที่จะครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินทั้งแปลงจนกว่าจะ
แบ่งแยกกรรมสิ ทธิ์ รวมตามกฎหมาย การที่จาเลยยังคงครอบครองทา
ประโยชน์ที่ดินดังกล่าวแต่เพียงผูเ้ ดียวย่อมขัดต่อสิ ทธิ ของเจ้าของรวม
คนอื่น ทาให้โจทก์ท้ งั สี่ ได้รับความเสี ยหายต้องขาดประโยชน์อนั ควร
ได้รับจากที่ดินดังกล่าว จาเลยจึงต้องรับผิดชดใช้ค่าเสี ยหายแก่โจทก์ท้ งั
สี่ เป็ นค่าใช้ทรัพย์ตลอดเวลาที่จาเลยยังคงครอบครองทาประโยชน์ใน
ที่ดินดังกล่าวตามควรค่าแห่งการใช้น้ นั ตามมาตรา ๓๙๑ วรรคสาม
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๑๘๔/๒๕๔๖ ฎ.๑๓๔๒ โจทก์ จาเลยที่ ๒
และ ธ. ซื้ อที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๑๐๓ มา โดยทากาแพงพิพาทเป็ นรั้วยาว
ตล อด แน วเ ขต เ ฉพ าะ ทา งด้ า นทิ ศต ะ วั น ต ก เพื่ อปิ ดกั้ นมิ ใ ห้
บุคคลภายนอกเข้ามายุง่ เกี่ยว ต่อมาเมื่อมีการแบ่งที่ดินออกเป็ น ๔ แปลง
โดยโจทก์ จาเลยที่ ๒ และ ธ. เป็ นเจ้าของคนละ ๑ แปลง แล้วโจทก์
จาเลยที่ ๒ และ ธ. ยังถื อกรรมสิ ท ธิ์ รวมในที่ ดินแปลงที่ แบ่ งแยกคื อ
โฉนดเลขที่ ๑๑๗๙๑๓ ซึ่งอยูต่ ิดกับแนวกาแพงพิพาท โดยมิได้มีการรื้ อ
ถอนก าแพงพิพ าท เพราะประสงค์จะใช้ที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๑๗๙๑๓
268

เป็ นทางเข้าออกสู่ ทางสาธารณะ เพื่อประโยชน์สาหรับที่ดินของโจทก์


จาเลยที่ ๒ และ ธ. ซึ่ ง ธ. ได้จดทะเบียนให้ส่วนของ ธ. แก่จาเลยที่ ๑ ใน
เวลาต่ อ มาเท่ า นั้น แม้ต่ อ มาโจทก์ จ ะเป็ นเจ้า ของที่ ดิ น โฉนดเลขที่
๑๙๓๘๙๙ ซึ่ งไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะ แต่การที่ โจทก์ขอให้เปิ ด
แนวกาแพงพิพาทบริ เวณด้านหน้าของที่ดินดังกล่าวเพื่อใช้ประโยชน์
สาหรับที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๙๓๘๙๙ ด้วย จึงเป็ นการเปลี่ยนแปลงวัตถุที่
ประสงค์ซ่ ึ งเจ้าของรวมทุกคนต้องเห็นชอบตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๕๘ วรรคสุ ดท้า ย มิ ไ ด้เป็ นการใช้สิ ทธิ ตาม
มาตรา ๑๓๖๐ วรรคหนึ่ ง เมื่ อ จ าเลยทั้ง สองซึ่ งเป็ นเจ้า ของรวมไม่
ยินยอมให้ที่ดินแปลงอื่นของโจทก์มาใช้ประโยชน์ด้วย โจทก์จึงไม่มี
สิ ทธิ ขอให้เปิ ดแนวกาแพงพิพาท

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๕๙


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๖/๒๕๕๓ ฎ. ๕๙๑ ข้อตกลงท้ายทะเบียน
การหย่าระหว่างจาเลยกับ ว. ที่ยกบ้านพิพาทให้แก่ผรู ้ ้ องและบุตรของ
จาเลยและ ว. อีก ๓ คน เป็ นผูร้ ับประโยชน์ จึงเป็ นสัญญาแบ่งทรัพย์สิน
ระหว่ า งสามี ภ ริ ย าตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา
๑๕๓๒ และสัญญาเพื่อประโยชน์ แก่บุคคลภายนอกตามมาตรา ๓๗๔
การที่ผรู ้ ้ องเข้าถื อเอาประโยชน์ตามข้อตกลงดังกล่าวจึงเป็ นการได้มา
โดยนิ ติก รรมซึ่ งอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ แม้จ ะมิ ไ ด้ท าเป็ นหนัง สื อ และจด
ทะเบี ยนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ทาให้การได้มาไม่บริ บู รณ์ ตามมาตรา
๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง แต่บา้ นพิพาทตั้งอยู่บนที่สาธารณประโยชน์และผู้
269

ร้องได้เข้าครอบครองบ้านพิพาทแล้ว ถือได้ว่าผูร้ ้ องเป็ นบุคคลผูอ้ ยู่ใน


ฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิ ทธิ ของตนได้อยูก่ ่อนตามมาตรา ๑๓๐๐ แม้
จาเลยยังคงอาศัยอยูใ่ นบ้านพิพาท แต่จาเลยเป็ นมารดาของผูร้ ้อง จึงอยู่
อาศัยกับบุตรของตนได้ มิได้ทาให้สิทธิ ของผูร้ ้ องสิ้ นไป การยื่นคาร้อง
ขัดทรัพย์ในกรณี น้ ี จึงถือได้วา่ เป็ นกรณี ที่ผรู ้ ้ องซึ่ งเป็ นเจ้าของรวมคน
หนึ่ ง ใช้สิ ท ธิ อนั เกิ ดแต่ ก รรมสิ ท ธิ์ ครอบไปถึ ง ทรั พ ย์สิ นทั้ง หมดตาม
มาตรา ๑๓๕๙ ผูร้ ้ องจึ ง ร้ องขอให้เพิ กถอนการยึดได้ โจทก์ใ นฐานะ
เจ้าหนี้ ตามคาพิพากษาจะบังคับคดี ให้กระทบถึ งสิ ทธิ ของผูร้ ้ องไม่ได้
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๒๘๗
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๔๙/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๔ น.๕๙ การที่จาเลย
ซึ่ งเป็ นเจ้าของรวมคนหนึ่ งในที่ดิน ให้การต่อสู ้คดีวา่ ทางพิพาทไม่เป็ น
ทางจาเป็ นแก่ที่ดินของโจทก์ท้ งั เจ็ด เป็ นกรณี ที่จาเลยซึ่ งเป็ นเจ้าของรวม
คนหนึ่งใช้สิทธิ อนั เกิดแต่กรรมสิ ทธิ์ ครอบไปถึงทรัพย์สินทั้งหมด เพื่อ
ต่อสู ้โจทก์ท้ งั เจ็ดซึ่ งเป็ นบุคคลภายนอกและเป็ นการยกข้อต่อสู ้แทน จ.
ซึ่ งเป็ นเจ้าของรวมในที่ ดินอีกคนหนึ่ ง ผลแห่ งคดี ที่จาเลยเจ้าของรวม
คนเดียวถูกฟ้ อง ย่อมต้องผูกพัน จ. ซึ่ งเป็ นเจ้าของรวมอีกคนหนึ่ ง โจทก์
ทั้งเจ็ดไม่จาต้องฟ้ อง จ. ด้วย แต่สามารถฟ้ องจาเลยแต่ผเู ้ ดียวได้

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๖๐


คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๐๐๙/๒๕๕๒ ฎ. ๒๒๒๒ ส. เป็ นเจ้าของ
รวมในที่ ดิ น ที่ เ ช่ า และการให้ เ ช่ า ที่ ดิ น เป็ นการจัด การตามธรรมดา
เกี่ยวกับทรัพย์สินนั้นเพื่อให้เกิดประโยชน์ตามสภาพปกติของทรัพย์สิน
270

ซึ่ งเจ้าของรวมคนหนึ่ งมีสิทธิ จดั การได้เสมอ แต่ตอ้ งไม่ขดั ต่อสิ ทธิ แห่ ง
เจ้า ของรวมคนอื่ น ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา
๑๓๕๘ วรรคสอง และ ๑๓๖๐ วรรคหนึ่ ง การที่ จาเลยท าสั ญญาเช่ า
ฉบับใหม่กบั ส. ซึ่ งเป็ นเจ้าของรวมในที่ดินที่จาเลยเช่ า โดยเสี ยค่าเช่ า
เพียงเดือนละ ๒,๕๐๐ บาท น้อยกว่าเดิมที่เคยเสี ยค่าเช่าเดือนละ ๓,๐๐๐
บาท ย่อมทาให้เจ้า ของรวมคนอื่ นซึ่ งได้มอบหมายให้โจทก์เป็ นผูท้ า
สัญญาเช่ากับจาเลยได้รับความเสี ยหาย ส. จึงไม่มีอานาจที่จะทาสัญญา
เช่ ากับจาเลย สัญญาเช่ าที่ดินจึ งไม่ผูกพันโจทก์ซ่ ึ งเป็ นเจ้าของรวมคน
หนึ่ ง เมื่อโจทก์บอกเลิ กสัญญาเช่ ากับจาเลยแล้ว จาเลยยังอยู่ในที่ดินที่
เช่ าจึ งเป็ นการอยู่โดยละเมิ ด โจทก์มีอานาจฟ้ องขับไล่ จาเลยออกจาก
ที่ดินที่เช่าได้
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๑๖๖๙/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๖๓ ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๖๐ วรรคหนึ่ ง บัญญัติว่า "เจ้าของรวมคนหนึ่ ง ๆ มีสิทธิ ใช้
ทรัพย์สินได้ แต่การใช้น้ นั ต้องไม่ขดั ต่อสิ ทธิ แห่ งเจ้าของรวมคนอื่น ๆ"
ดังนั้น เมื่อที่ดินกรรมสิ ทธิ์ รวมระหว่างโจทก์กบั จาเลยที่ ๑ ถึงที่ ๔ ยัง
ไม่ มี ก ารแบ่ ง แยกการครอบครองออกเป็ นส่ วนสั ด การใช้ท รั พ ย์สิ น
กรรมสิ ทธิ์ รวมของจาเลยที่ ๑ จึ ง ต้องเป็ นการใช้ที่ ไม่ขดั ต่อสิ ทธิ แห่ ง
เจ้าของรวมคนอื่น ๆ ที่จาเลยที่ ๑ ปลูกสร้างอาคาร โดยเลือกบริ เวณติด
ถนนสุ ขุมวิท โดยไม่ได้รับความยินยอมของเจ้าของรวมคนอื่น จึงไม่มี
สิ ทธิ ที่จะทาได้ โจทก์มีสิทธิ ฟ้องขอให้ร้ื อถอนสิ่ งปลูกสร้างของจาเลย
ที่ ๑ ออกจากที่ดินพิพาทได้
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๔๙๒๐/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๕๘ โจทก์
271

จาเลย และ ร. เป็ นเจ้าของรวมในที่ดิน แต่ละคนย่อมมีสิทธิ ใช้สอยที่ดิน


ดังกล่าวได้แต่ตอ้ งไม่ขดั สิ ทธิ แห่งเจ้าของรวมคนอื่น ๆ และเจ้าของรวม
คนหนึ่งจะจาหน่ายที่ดินดังกล่าวเฉพาะส่ วนของตนก็ได้ การที่จาเลยนา
โฉนดที่ดินไปให้บุคคลอื่นยึดถือไว้เป็ นประกันการชาระหนี้ เงินกู้ ย่อม
ขัดต่อสิ ทธิ ของโจทก์ จาเลยต้องส่ งมอบโฉนดที่ ดินดังกล่าวแก่ โจทก์
หากโฉนดที่ดินอยูใ่ นความครอบครองของบุคคลอื่น จาเลยย่อมต้องมี
หน้าที่ดาเนิ นการนาโฉนดที่ดินมาเพื่อมอบแก่ โจทก์จนได้ กรณี ไม่ใช่
สภาพแห่ งหนี้ ไม่เปิ ดช่องให้บงั คับชาระหนี้ ได้ และการโอนกรรมสิ ทธิ์
เฉพาะส่ วนของโจทก์ให้แก่ ร. ไม่ใช่กรณี ที่โจทก์จะสามารถขอให้ศาล
สั่งให้ถือเอาคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของจาเลย โดยโจทก์ไม่
ต้องขอให้จาเลยส่ งมอบโฉนดแก่ โจทก์ได้ เนื่ องจาก ป.พ.พ. มาตรา
๒๑๓ วรรคสองนั้น ศาลจะสั่งให้ถือเอาตามคาพิพากษาแทนการแสดง
เจตนาของลู ก หนี้ ได้ ก็ เ ฉพาะกรณี ที่ ว ตั ถุ แ ห่ ง หนี้ เป็ นอัน ให้ ก ระท า
นิติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โจทก์ฟ้องขอให้บงั คับจาเลยส่ งมอบ
โฉนดที่ดิน ศาลจึงไม่อาจสั่งให้ถือเอาคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนา
ของจาเลยได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๕๐/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๕ น.๑๒ ที่ดินพิพาท
เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของที่ ดิ น ตามโฉนดที่ ดิ น มี จ าเลยที่ ๑ พ. และ ก. ถื อ
กรรมสิ ท ธิ์ ร่ วมกัน ซึ่ งตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๘ ให้สันนิ ษ ฐานว่า
เจ้าของรวมมีสิทธิ จดั การทรัพย์สินรวมกัน และเจ้าของรวมคนอื่น ๆ มี
สิ ทธิ ใช้ทรั พย์สินได้ แต่การใช้น้ นั ต้องไม่ขดั ต่อสิ ทธิ แห่ งเจ้าของรวม
คนอื่น ๆ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๐ ตราบใดที่ ยงั ไม่ มีก ารแบ่ งแยก
272

ที่ ดิ น กัน เป็ นส่ ว นสั ด การที่ ผู ้มี ชื่ อ ถื อ กรรมสิ ท ธิ์ คนหนึ่ งคนใดเข้า
ครอบครองส่ วนหนึ่งส่ วนใดของที่ดิน ก็ตอ้ งถือว่าครอบครองที่ดินส่ วน
นั้น ๆ ในฐานะเจ้าของรวมคนหนึ่ งเท่านั้น หาก่ อให้เริ่ มเกิ ดสิ ทธิ ที่จะ
อ้างว่าตนครอบครองทรัพย์สินของผูอ้ ื่นไว้ดว้ ยเจตนาเป็ นเจ้าของเสี ยแต่
คนเดี ยวไม่ ดังนั้น การที่ จาเลยที่ ๑ และจาเลยที่ ๒ ถึ งที่ ๕ ผูส้ ื บสิ ทธิ
จาก พ. ได้เข้าครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินพิพาท หาทาให้จาเลยทั้ง
ห้าได้ก รรมสิ ทธิ์ ทางปรปั กษ์ไม่ เว้นเสี ยแต่จะได้เปลี่ ยนลักษณะแห่ ง
การยึดถื อโดยบอกกล่ าวไปยัง ก. เจ้าของรวมว่า ไม่มีเจตนาจะยึดถื อ
ทรัพย์แทน ก. อีกต่อไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๑ เมื่อจาเลยทั้งห้ามิได้
บอกกล่ า ว จึ ง ไม่ มี ผ ลเปลี่ ย นแปลงฐานะยึ ด ถื อ แทน ก. ผู ้มี สิ ทธิ
ครอบครองได้และไม่อาจถือได้วา่ มีการแย่งการครอบครอง
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๓๒๙๔/๒๕๔๕ ฎ.ส.ล.๘ น.๓๐ การที่
เจ้าของรวมคนหนึ่ งใช้สิทธิ ขดั ต่อสิ ทธิ ของเจ้าของรวมคนอื่น เจ้าของ
รวมคนอื่น ๆ ย่อมมีสิทธิ ที่จะฟ้ องร้ องบังคับคดี ได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๖๐ วรรคหนึ่ง

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๖๑


คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๖๕๘/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๙ น. ๑๔๙ จาเลยที่
๒ จดทะเบียนสมรสกับจาเลยที่ ๑ ต่อมาเมื่ อจาเลยที่ ๒ ได้โจทก์เป็ น
ภริ ย าอี ก คนหนึ่ ง จ าเลยที่ ๒ พาโจทก์ไ ปพัก อาศัย อยู่ภ ายในบริ เวณ
โรงงานย่ า นสะพานเหลื อ ง แขวงหั ว ล าโพง เขตปทุ ม วัน กรุ ง เทพ
มหานคร แต่เนื่ องจากมีเหตุทะเลาะวิวาทกันกับจาเลยที่ ๑ ซึ่ งพักอาศัย
273

อยูบ่ ริ เวณดังกล่าวเช่นเดียวกัน จาเลยที่ ๒ จึงพาโจทก์ไปพักอาศัยอยู่ที่


บ้า นอี ก หลัง หนึ่ ง ในซอยวัด ไผ่สิ ง โต แขวงคลองเตย เขตคลองเตย
กรุ งเทพมหานคร จาเลยที่ ๒ กับพวกได้ก่อตั้งบริ ษทั ล. ขึ้นมา บริ ษทั
ดัง กล่ า วได้ใ ช้ บ ้า นเช่ า ที่ โ จทก์ ก ับ จ าเลยที่ ๒ พัก อาศัย อยู่ เ ป็ นที่ ต้ ัง
สานักงานใหญ่ โจทก์มีส่วนช่วยเหลื อจาเลยที่ ๒ ในกิ จการค้าขายของ
บริ ษทั ล. ตลอดมา พฤติกรรมที่จาเลยที่ ๒ ตั้งบริ ษทั ล. ในลักษณะเป็ น
กิ จการในครอบครั ว โดยจาเลยที่ ๒ อยู่กินฉันสามี ภริ ยากับโจทก์ใ น
บริ เ วณที่ ต้ ัง ของบริ ษ ัท ดัง กล่ า วมาตั้ง แต่ เ ริ่ ม ก่ อ ตั้ง บริ ษ ัท จนมี บุ ต ร
ด้ว ยกันถึ ง แปดคนและโจทก์ไ ด้ร่ วมช่ ว ยเหลื อ กิ จ การของบริ ษ ัท ล.
ตลอดมา เมื่ อ ที่ ดิน พิ พ าททั้ง สี่ แ ปลงได้ม าจากรายได้ใ นกิ จการของ
บริ ษทั ล. แม้โจทก์เป็ นภริ ย านอกสมรส ก็ตอ้ งถื อว่าที่ ดินพิพาททั้ง สี่
แปลงเป็ นทรั พย์ที่ทามาหาได้ร่วมกัน การที่ จาเลยที่ ๒ มีชื่อเป็ นผูถ้ ื อ
กรรมสิ ทธิ์ ในโฉนดแต่เพียงผูเ้ ดี ยว ก็เป็ นการกระทาแทนโจทก์เท่านั้น
ดังนี้ โจทก์จึงเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ดินพิพาททั้งสี่ แปลง
เมื่อที่ดินพิพาททั้งสี่ แปลงที่จาเลยที่ ๒ ได้มาเป็ นทรัพย์สินซึ่ ง
เป็ นกรรมสิ ทธิ์ รวมระหว่างจาเลยที่ ๒ กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิ ในที่ดิน
พิพาททั้งสี่ แปลงครึ่ งหนึ่ง ส่ วนอีกครึ่ งหนึ่งเป็ นของจาเลยที่ ๒ และเป็ น
สิ นสมรสระหว่า งจาเลยที่ ๑ กับจาเลยที่ ๒ การที่จาเลยที่ ๒ ซึ่ งเป็ น
เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมทานิติกรรมโอนที่ดินพิพาททั้งหมดแก่จาเลยที่ ๑
โดยโจทก์เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ อีกคนหนึ่ งมิได้รู้เห็นยินยอม นิ ติกรรมการ
โอนที่ดินดังกล่าวย่อมไม่มีผลผูกพันกรรมสิ ทธิ์ รวมในส่ วนของโจทก์
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๑ วรรคสอง โจทก์
274

มี สิ ท ธิ ฟ้ องขอให้ เ พิ ก ถอนนิ ติ ก รรมการโอนที่ ดิ น พิ พ าททั้ง สี่ แ ปลง


ระหว่างจาเลยที่ ๑ กับจาเลยที่ ๒ เฉพาะส่ วนที่โจทก์มีส่วนเป็ นเจ้าของ
อยูค่ รึ่ งหนึ่งได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๕๖๑/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๒๓ ที่ดินและ
บ้านพิพาทเป็ นสิ นสมรสระหว่างโจทก์กบั จาเลยที่ ๑ แม้จาเลยที่ ๒ จะ
ทาสัญญาดังกล่าวกับจาเลยที่ ๑ โดยสุ จริ ตและเสี ยค่าตอบแทน สัญญา
ดังกล่ าวก็ไม่มีผลผูกพันกรรมสิ ทธิ์ ส่ วนของโจทก์ตามมาตรา ๑๓๖๑
วรรคสอง แต่ยงั คงมี ผ ลผูกพันกรรมสิ ทธิ์ ในส่ วนของจาเลยที่ ๑ ตาม
มาตรา ๑๓๖๑ วรรคหนึ่ ง โจทก์จึงฟ้ องขอให้เพิกถอนสัญญาซื้ อขาย
ที่ ดิ น และบ้า นพิ พ าทระหว่ า งจ าเลยทั้ง สองในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ
กรรมสิ ทธิ์ ของโจทก์ได้
ข้ อสั งเกต คดีนีไ้ ม่ มีปรวเด็นั่ ำ กำรที่ โะทก์ ปล่ อยให้ ะำเลยที่ ๑ มีชื่อใน
โฉนดที่ดินเพียบผู้เดียั เป็ นกำรเชิ ดให้ ผ้ อู ื่ นเข้ ำใะผิดะำเลยที่ ๑ มีอำนำะ
ะด ดกำรทรด พ ย์ สิ นเพี ย บผู้เดี ย ั โะทก์ ต้อบยอมรด บ กำรทำนิ ติก รรมขอบ
ะ ำเลยที่ ๑ ตำมหลด ก เรื่ อบตด ั แทนเชิ ด ดด บ นด้ น หำกมี ก ำรยกปรวเด็น
ดดบกล่ ำัขึน้ มำ น่ ำคิดั่ ำผลขอบคดีนีะ้ วเปลี่ยนไปหรื อไม่

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๖๓


คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๔๑๔/๒๕๕๕ ฎ.๘๑๓ โจทก์และจาเลยตก
ลงให้ที่ดินพิพาทเป็ นทางเข้าออกเนื่องจากจาเลยมีที่ดินอีกแปลงหนึ่งซึ่ ง
ต้อ งใช้ ที่ ดิ น พิ พ าทเป็ นทางเข้า ออก และโจทก์ ฟ้ องคดี แ พ่ ง เพราะ
ประสงค์จะนาที่ดินที่ ต้ งั โรงงานจดทะเบี ยนจานองเป็ นประกันหนี้ ต่อ
275

ธนาคาร แต่ธนาคารไม่รับจานองเนื่ องจากไม่มีทางเข้าออก อันเป็ นการ


ยอมรับว่าโจทก์และจาเลยมีเจตนาให้ที่ดินพิพาทเป็ นทางเข้าออกที่ใช้
ร่ วมกัน การที่โจทก์และจาเลยมีขอ้ ตกลงตามสัญญาจะซื้ อจะขายที่ดิน
ว่ า ให้ ที่ ดิ น พิ พ าทเป็ นทางเข้ า ออกที่ ใ ช้ ร่ วมกั น และยัง ไม่ มี ก าร
ตกลงเปลี่ยนแปลง โจทก์ในฐานะเจ้าของรวมจึงไม่มีสิทธิ เรี ยกให้แบ่ง
ทรั พ ย์ไ ด้ เนื่ องจากมี นิติก รรมขัด อยู่ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และ
พาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๓ วรรคหนึ่ง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๓๗/๒๕๕๐ ฎ.ส.ล.๑๐ การฟ้ องขอแบ่ง
ทรั พย์ที่มีกรรมสิ ทธิ์ รวมอยู่ด้วยตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๓ ไม่มีอายุ
ความ ตามมาตรา ๑๓๖๓ วรรคสอง เป็ นเรื่ องผูม้ ี กรรมสิ ทธิ์ รวมจะทา
นิ ติกรรมห้ามแบ่งกรรมสิ ทธิ์ รวมได้คราวละไม่เกิ นสิ บปี มิใช่ เป็ นอายุ
ความ
โจทก์ ฮ. และจาเลยที่ ๑ ได้ตกลงรั ง วัดที่ ดินมื อเปล่ า ยังไม่ มี
หลักฐานหนังสื อสาคัญเพื่อแบ่งกรรมสิ ทธิ์ รวมไว้ โจทก์ได้ที่ดินเป็ นที่
พิพาท โจทก์ได้เข้าครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินเป็ นสัดส่ วนตลอด
มา การแบ่ ง แยกเจ้า ของรวมจึ ง ไม่ อ าจจดทะเบี ย นแบ่ ง แยกต่ อ เจ้า
พนักงานที่ดินได้ ถื อว่าโจทก์ยึดถื อที่ดินส่ วนที่เข้าครอบครองเพื่อตน
โจทก์ยอ่ มได้สิทธิ ครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗ แม้ต่อมาทาง
ราชการจะออกหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) และโฉนด
ที่ดินมีชื่อโจทก์ จาเลยที่ ๑ และ ฮ. ถือกรรมสิ ทธิ์ รวมโดยไม่ได้ระบุวา่ มี
ส่ วนคนละเท่าใด และตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๗ ให้สันนิ ษ ฐานว่า
ผู ้เ ป็ นเจ้า ของรวมกัน มี ส่ ว นเท่ า กัน ก็ เ ป็ นเพี ย งข้อ สั น นิ ษ ฐานของ
276

กฎหมายในกรณี ที่ไม่ปรากฏชัดว่าเจ้าของรวมแต่ละคนมี ส่วนเท่าใด


โจทก์ย่อมมีกรรมสิ ทธิ์ ตามสัดส่ วนที่ ครอบครอง จาเลยที่ ๑ จะอ้างว่า
เจ้าของรวมยังคงมีส่วนเท่ากันหาได้ไม่
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๖๗๘๑/๒๕๔๕ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๒๓๑ ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๓ เจ้า ของรวมคนหนึ่ ง ๆ มี สิ ท ธิ เ รี ย กให้ แ บ่ ง
ทรัพย์สินได้ แต่จะเรี ยกให้แบ่งในเวลาไม่เป็ นโอกาสอันควรไม่ได้ ทั้งนี้
เพื่อป้ องกันมิให้การแบ่งทรัพย์สินในเวลานั้นจะทาให้เกิดความเสี ยหาย
แก่ เจ้าของรวมคนอื่ น การที่ โจทก์และจาเลยถื อกรรมสิ ทธิ์ ร่ วมกันใน
ที่ดินพิพาท โดย หจก. อ. ที่ มีโจทก์และจาเลยเป็ นหุ ้นส่ วนและได้เลิ ก
กิ จการไปแล้วเปิ ดดาเนิ นกิ จการอยู่ใ นอาคารบนที่ ดิน ทั้ง โจทก์และ
จาเลยมีปัญหากันถึ งขนาดจาเลยฟ้ องโจทก์เป็ นคดี อาญา โจทก์จึงมิได้
เข้ า ไปในที่ ดิ น และอาคารพิ พ าทอี ก แม้ จ ะปรากฏว่ า จ าเลยเป็ น
ผูค้ รอบครองที่ ดิน และอาคารพิ พ าท แต่ ก็ เป็ นไปเพื่ อประโยชน์ ข อง
จาเลยฝ่ ายเดียว มิใช่เพื่อผลประโยชน์ของเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมคนอื่น
ด้วย ดังนั้น การที่โจทก์ฟ้องแบ่งกรรมสิ ทธิ์ รวมดังกล่าวจะฟั งว่าโจทก์
ฟ้ องขอแบ่งในเวลาที่ไม่เป็ นโอกาสอันควรไม่ได้

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๖๔


คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๕๓๕๒/๒๕๕๒ ฎ. ๑๒๗๙ ก. ย. และ อ.
ร่ วมกันยื่นคาร้องขอแบ่งกรรมสิ ทธิ์ รวมต่อเจ้าพนักงานที่ดินมีขอ้ ความ
ระบุวา่ ให้รังวัดแบ่งกรรมสิ ทธิ์ รวม ๑ แปลง ทางด้านทิศตะวันออก เนื้ อ
ที่ ๑๒ ไร่ เป็ นของ ก. ส่ วนแปลงคงเหลือเป็ นของ ย. และ อ. ผูย้ ื่นคาขอ
277

ต่างลงลายมื อชื่ อไว้ในบันทึ กดังกล่ าวต่อหน้าพยานและเจ้าพนักงาน


ที่ดิน ดังนี้ แม้จะยังไม่มีการรังวัดแบ่งกรรมสิ ทธิ์ รวมเพราะเจ้าพนักงาน
ที่ดินยกเลิ ก คาขอไปเมื่ อปี ๒๕๑๖ เนื่ องจากผูข้ อไม่ ม าติ ดต่ อ แต่ ไ ม่
ปรากฏว่า ก. ย. และ อ. แสดงเจตนาจะยกเลิ ก การไม่ไปติดต่ออาจเป็ น
เพราะแบ่ ง การครอบครองเป็ นส่ ว นสั ด กัน แล้ว จึ ง ต้อ งถื อ ว่า บัน ทึ ก
ดัง กล่ า วเป็ นข้อ ตกลงแบ่ ง กรรมสิ ท ธิ์ รวมระหว่ า งเจ้า ของรวมตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๔ วรรคหนึ่ง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๔๕๑/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๔ น.๒๑๔ เมื่อผูร้ ้อง
และจ าเลยได้ ต กลงแบ่ ง แยกการครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทซึ่ งเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ รวมของจาเลยกับผูร้ ้ องก่ อนมี การบังคับคดี แล้ว ข้อตกลง
ดังกล่าวย่อมผูกพันจาเลยและผูร้ ้ องตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๔ โจทก์
ซึ่ ง เป็ นเพีย งเจ้า หนี้ ส ามัญจึ งมี สิท ธิ บงั คับ คดี ได้เท่ า ที่ จาเลยมี สิ ทธิ ใ น
ที่ดินพิพาทเท่านั้น ไม่มีสิทธิ เอาที่ดินส่ วนของผูร้ ้องมาขายทอดตลาดได้
ถื อได้ว่า ผูร้ ้ อ งซึ่ ง เป็ นบุ ค คลภายนอกมี สิ ท ธิ อื่ น ๆ อัน อาจร้ องขอให้
บังคับเหนื อที่ดินนั้นได้ตามกฎหมาย ซึ่ งการบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของ
ลู ก หนี้ ตามค าพิ พ ากษานั้น ย่อมไม่ ก ระทบกระทัง่ ถึ ง สิ ท ธิ ข องผูร้ ้ อ ง
ผูร้ ้ องย่อมมี สิ ทธิ ขอให้ก ันที่ ดินส่ วนที่ ผูร้ ้ องครอบครองก่ อนนาที่ ดิน
พิพาททั้งแปลงออกขายทอดตลาดได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๗
คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๓๘๑๙/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๑๐ น.๙ ทรั พย์สิ น
ส่ วนที่เป็ นสิ นสมรสอันเป็ นกรรมสิ ทธิ์ รวมระหว่างโจทก์และจาเลยมี
เพียงตึกแถว ๒ หลัง การจะให้ขายทอดตลาดที่ดินทั้งแปลงพร้ อมสิ่ ง
ปลู กสร้ างทั้งหมด ซึ่ งมีบา้ นพักอันเป็ นสิ นส่ วนตัวของจาเลยอยู่อีก ๑
278

หลัง ย่อมเป็ นการไม่ชอบ เพราะทรัพย์สินส่ วนใหญ่เป็ นสิ นส่ วนตัวของ


จาเลย ไม่ใช่ กรรมสิ ทธิ์ รวม แต่หากจะให้ขายทอดตลาดเฉพาะตึกแถว
๒ หลัง ที่เป็ นสิ นสมรสแล้วนาเงินมาแบ่งกัน ก็คาดหมายได้วา่ จะไม่มีผู ้
ซื้ อ หรื อถึ งขายได้ก็จะได้ราคาที่ไม่เหมาะสม เพราะผูซ้ ้ื อไม่มีสิทธิ ใน
ที่ดิน จึงเห็นควรแบ่งทรัพย์โดยให้ตึกแถว ๒ หลัง ที่เป็ นสิ นสมรส เป็ น
กรรมสิ ทธิ์ ของจาเลยซึ่ งเป็ นเจ้าของที่ดิน และนาค่าแห่ งที่ดินที่เพิ่มขึ้น
ถือเป็ นสิ นสมรสอันจะต้องนามาแบ่งให้แก่โจทก์ตามส่ วนตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๑๐ ประกอบมาตรา ๑๓๖๔
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๙๕๒/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๖ น.๑๖๓ โจทก์และ
จาเลยทาสัญญาตกลงซื้ อขายที่ดิน โดยให้โจทก์เข้าถื อกรรมสิ ทธิ์ รวม
เป็ นจานวนเนื้ อที่ แน่ นอนคื อ ๑๐๐ ตารางวา เมื่ อโจทก์และจาเลยขอ
รั งวัดแบ่งกรรมสิ ทธิ์ โดยแยกที่ ดินส่ วนของตนเองออกมา ปรากฏว่า
ที่ดินพิพาททั้งแปลงขาดหายไป ๓๐ ตารางวา จาเลยจะเอาเนื้อที่ที่อา้ งว่า
ขาดหายไปมาหักจากเนื้ อที่ ดินพิพ าททั้งแปลง แล้วแบ่งแยกที่ ดินให้
โจทก์ตามส่ วนในโฉนดหาได้ไ ม่ โจทก์จึง มี ก รรมสิ ท ธิ์ รวมในที่ ดิ น
พิพาทจานวน ๑๐๐ ตารางวา ตามที่ซ้ื อขายจริ ง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๗๘๑/๒๕๔๕ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๒๓๑ การที่
ศาลล่างทั้งสองพิพากษาให้จาเลยเอาที่ดินพร้ อมสิ่ งปลูกสร้ างที่พิพาท
ออกขายทอดตลาด เอาเงิ นที่ขายได้แบ่งให้โจทก์ครึ่ งหนึ่ งในทันทีน้ นั
ไม่ถูกต้อง เพราะ ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๔ ได้บญั ญัติกาหนดวิธีการแบ่ง
ทรั พย์สินของเจ้าของรวมไว้เป็ นขั้นตอนแล้ว ศาลฎี กามี อานาจแก้ไข
โดยให้จาเลยแบ่งที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้างให้แก่โจทก์ครึ่ งหนึ่ ง โดยให้
279

โจทก์จาเลยแบ่งทรัพย์สินกันเองก่อน เมื่อไม่สามารถแบ่งได้ให้ประมูล
ราคาระหว่างกันเอง ถ้าตกลงกันไม่ได้ให้นาทรัพย์สินดังกล่าวออกขาย
ทอดตลาด ได้เงินสุ ทธิ เท่าใดให้แบ่งกันคนละครึ่ ง
280

สิ ทธิครอบครอง
ข้ อ ๔๒ คาถาม นายเอกบุกรุ กเข้าครอบครองและทาประโยชน์
ในที่ ดิ น ผู ้อื่ น อย่ า งเปิ ดเผยและโดยสงบสามแปลง ดัง นี้ เมื่ อ เดื อ น
มกราคม ๒๕๓๘ ครอบครองที่ดินแปลงแรกซึ่ งเป็ นที่ดินมีโฉนดของ
นายหนึ่ง เดือนมกราคม ๒๕๔๘ เข้าครอบครองที่ดินแปลงที่ ๒ ซึ่ งเป็ น
ที่ดินมี น.ส. ๓ ของนายสอง และเดือนมกราคม ๒๕๕๑ เข้าครอบครอง
ที่ ดิ น แปลงที่ ๓ ซึ่ งเป็ นที่ ดิ น มี น.ส. ๓ ของนายสาม ต่ อ มาวัน ที่ ๑
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ นายหนึ่งและนายสองได้บุกรุ กเข้าไปแย่งที่ดินคืน
จากนายเอกโดยพลการ และนายสี่ ได้บุกรุ กเข้าไปแย่งที่ ดินแปลงที่ ๓
มาจากนายเอก ต่อมาวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๑ นายเอกฟ้ องคดี ต่อศาล
เพื่อเรี ยกที่ดินคืนจากนายหนึ่ง นายสอง และนายสี่
ให้วนิ ิจฉัยว่า นายเอกจะเรี ยกที่ดินทั้งสามแปลงคืนได้หรื อไม่
ข้ อ ๔๒ ค าตอบ กรณี ที่ ดิ น แปลงแรก นายเอกบุ ก รุ กเข้า
ครอบครองและทาประโยชน์ในที่ ดินมีโฉนดของนายหนึ่ งเมื่อเดื อน
มกราคม ๒๕๓๘ จนถึ ง วัน ที่ ๑ กุ ม ภาพัน ธ์ ๒๕๕๑ เป็ นการเข้ า
ครอบครองอสั งหาริ มทรั พย์ ของผู้อื่นไว้ โดยความสงบและโดยเปิ ดเผย
ด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของติดต่ อกันเป็ นเวลาสิ บปี ขึ้ นไป นายเอกย่ อมได้
กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินแปลงแรกของนายหนึ่งโดยการครอบครองปรปั กษ์
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๒ เมื่อนายเอกได้
กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินดังกล่ าวโดยผลของกฎหมาย กรรมสิ ทธิ์ของนายเอก
ดังกล่ าวย่ อมบริ บูรณ์ เป็ นทรั พยสิ ทธิตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ซึ่ ง
สามารถใช้ อ้างต่ อบุคคลทัว่ ไปได้ ทนั ที เมื่อนายเอกได้ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดิน
281

แปลงแรกแล้ ว กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินแปลงแรกของนายเอกจะหมดไปก็


ด้ วยการโอนไปหรื อเสี ยสิ ทธิไปโดยผลของกฎหมาย แม้ต่อมาวันที่ ๑
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ นายหนึ่งบุกรุ กเข้าไปแย่งที่ดินคืนจากนายเอกโดย
พลการจนนายเอกไม่ได้ครอบครองที่ดิน แต่ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินแปลง
แรกก็ยังคงเป็ นของนายเอก การที่นายเอกฟ้ องคดีต่อศาลเพื่อเรี ยกที่ดิน
คืนจากนายหนึ่ งเมื่อวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๑ นายหนึ่งยังครอบครอง
ที่ดินไม่ ครบสิ บปี นายหนึ่งยังไม่ ได้ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินแปลงแรกโดย
การครอบครองปรปั กษ์ นายเอกซึ่ งเป็ นเจ้ า ของที่ดิ นแปลงแรก จึ งมี
อานาจฟ้องเรี ยกที่ดินคืนจากนายหนึ่งได้ โดยอาศั ยความเป็ นเจ้ าของ
กรรมสิ ทธิ์ตามมาตรา ๑๓๓๖
กรณี ที่ ดิ น แปลงที่ ๒ นายเอกบุ ก รุ ก เข้า ครอบครองและท า
ประโยชน์ในที่ดินซึ่งเป็ นที่ดินมี น.ส. ๓ ของนายสองเมื่อเดือนมกราคม
๒๕๔๘ ถือว่ านายเอกเข้ ายึดถื อที่ดินโดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตน นาย
เอกย่อมได้ สิทธิครอบครองตามมาตรา ๑๓๖๗ ซึ่งสิ ทธิครอบครองเป็ น
ทรัพยสิ ทธิ ใช้ ยนั ได้ ต่อบุคคลทัว่ ไปทุกคน เมื่อทีด่ ินแปลงที่ ๒ เป็ นที่ดิน
มี น.ส. ๓ นายสองมีเพียงสิ ทธิครอบครองในที่ดินเท่ านั้น นายสองหามี
กรรมสิ ทธิ์ในทีด่ ินไม่ เมื่อนายเอกแย่ งการครอบครองที่ดินจากนายสอง
โดยมิชอบด้ วยกฎหมาย นายสองมีสิทธิฟ้องเรียกคืนซึ่งการครอบครอง
ได้ ภายในหนึ่ งปี นั บ แต่ วันถู กแย่ งการครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๕
เมื่อนายสองไม่ ได้ ฟ้องเรี ยกคืนที่ดินภายในหนึ่งปี นายสองย่ อมหมด
สิ ทธิในที่ดินดังกล่ าว ต่อมาการที่นายสองบุกรุ กเข้าไปแย่งที่ดินคืนจาก
นายเอกเมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ จึงเป็ นกรณีที่นายสองแย่ งการ
282

ครอบครองที่ดินจากนายเอกโดยมิชอบด้ วยกฎหมาย นายเอกย่ อมมี


สิ ทธิฟ้องเรียกคืนซึ่งการครอบครองจากนายสองได้ ภายในหนึ่งปี นับแต่
วันถูกแย่ งการครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๕ เมื่อนั บจากวันที่ถูกแย่ ง
เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ ถึงวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๑ ซึ่งเป็ นวันที่
นายเอกฟ้องคดีต่อศาลเพื่อเรี ยกที่ดินคืนจากนายสองยังไม่ เกินหนึ่งปี
นายเอกจึงเรียกทีด่ ินแปลงที่ ๒ คืนจากนายสองได้
กรณี ที่ดินแปลงที่ ๓ การที่นายเอกบุกรุ กเข้าครอบครองและทา
ประโยชน์ในที่ดินมี น.ส. ๓ ของนายสามเมื่อเดื อนมกราคม ๒๕๕๑
ถือว่านายเอกเข้ ายึดถือที่ดินโดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตน นายเอกย่ อมได้
สิ ทธิครอบครองตามมาตรา ๑๓๖๗ แม้ นายเอกจะแย่ งการครอบครอง
ที่ดินจากนายสามโดยมิชอบด้ วยกฎหมาย นายสามมีสิทธิฟ้องเรียกคืน
ซึ่งการครอบครองได้ ภายในหนึ่งปี นับแต่ วนั ถูกแย่ งการครอบครองตาม
มาตรา ๑๓๗๕ แต่ สิทธิครอบครองของนายเอกก็ได้ รับความคุ้มครอง
ตามกฎหมายแล้ ว หากมีผ้ ูอื่นมาแย่ งการครอบครองที่ดินจากนายเอก
โดยมิ ช อบด้ วยกฎหมาย นายเอกก็ มี สิ ทธิ ฟ้ องเรี ย กคื น ซึ่ ง การ
ครอบครองได้ ภายในหนึ่งปี นับแต่ วันถูกแย่ งการครอบครองตามมาตรา
๑๓๗๕ การที่ นายสี่ บุ ก รุ ก เข้า ไปแย่ง ที่ ดินมาจากนายเอกเมื่ อวันที่ ๑
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ นับถึงวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๑ ซึ่ งเป็ นวันที่นายเอก
ฟ้ องคดี ต่อศาลเพื่อเรี ยกที่ดินคืนจากนายสี่ ยังไม่ เกินหนึ่งปี นายเอกจึง
มีอานาจฟ้องเรียกทีด่ ินแปลงที่ ๓ คืนจากนายสี่ ได้
ข้ อสั งเกต กำรได้ สิ ท ธิ ค รอบครอบอำะมี มูล เหตุ ะำกกำรกรวทำที่ ผิ ด
กฎหมำยได้ เช่ น สิ ท ธิ ค รอบครอบคดี นี้ เห็ น ได้ ั่ ำ นำยเอกได้ สิ ท ธิ
283

ครอบครอบโดยกำรทำผิดกฎหมำยอำญำคื อเป็ นคัำมผิดฐำนบุกรุ ก แต่


เมื่ อ นำยเอกเข้ ำ ครอบครอบได้ สิ ท ธิ ค รอบครอบตำมกฎหมำยแล้ ั
กฎหมำยก็ค้ ุมครอบสิ ทธิ ครอบครอบขอบนำยเอก ซึ่ บกฎหมำยขอบบำบ
ปรวเทศไม่ ยอมรด บั่ ำครอบครอบเป็ นสิ ทธิ โดยถื อั่ ำครอบครอบเป็ น
เพี ย บเหตุก ำรณ์ ตำมคัำมะริ บ แต่ บ้ ำ นเรำกฎหมำยรวบุ ไ ั้ ชด ด เะนั่ ำ
ครอบครอบเป็ นทรด พยสิ ทธิ ปรวเภทหนึ่ บ ะึ บต้ อบถือั่ ำครอบครอบเป็ น
สิ ทธิ ครอบครอบซึ่ บมีกฎหมำยรด บรอบสิ ทธิ ไั้
ตัวอย่างคาตอบที่ ๑ กรณี ที่ดินแปลงแรก เป็ นที่ดินมีโฉนดของ
นายหนึ่ ง การที่ นายเอกบุ กรุ ก เข้าครอบครองและทาประโยชน์ อย่า ง
เปิ ดเผยเมื่อเดือนมกราคม ๒๕๓๘ เป็ นการครอบครองอสังหาริ มทรัพย์
อันมีกรรมสิ ทธิ์ ของผูอ้ ื่นโดยความสงบ และโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ น
เจ้าของตาม ปพพ. มาตรา ๑๓๖๗,๑๓๗๐ เมื่อได้ครอบครองติดต่อกัน
นับถึ งเดื อนมกราคม ๒๕๕๑ เป็ นเวลากว่าสิ บปี แล้ว ที่ ดินแปลงนี้ จึง
เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของนายเอกแล้วตาม ปพพ. มาตรา ๑๓๘๒ การที่นาย
หนึ่ ง ได้บุ ก รุ ก เข้า ไปแย่ง ที่ ดินคื นจากนายเอกโดยพลการเมื่ อวันที่ ๑
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ นั้น นายหนึ่งไม่ใช่เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ อีกต่อไปจึงไม่
อาจจะใช้สิ ท ธิ ต าม ปพพ.มาตรา ๑๓๓๖ ที่ จ ะติ ด ตามเอาคื น ที่ ดิ น
ดัง กล่ า วจากนายเอกได้แ ต่ อ ย่า งใด และแม้ก ารได้ม าซึ่ งกรรมสิ ท ธิ์
ดัง กล่ า วนายเอกจะยัง ไม่ ไ ด้จดทะเบี ย นต่ อพนัก งานเจ้า หน้า ที่ ก็ ตาม
(ขาดข้ อกฎหมายทีว่ ่ า นายเอกได้ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินโดยการครอบครอง
ปรปั กษ์ เป็ นการได้ มาโดยผลของกฎหมาย บริ บูรณ์ เป็ นทรั พยสิ ทธิใช้
ยันได้ กับบุคคลทั่วไปได้ ทันที) แต่ตาม ปพพ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง
284

ก็เพียงแต่หา้ มมิได้ยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้บุคคลภายนอกผูไ้ ด้สิทธิ มาโดยเสี ย


ค่ า ตอบแทนและโดยสุ จ ริ ต และได้จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ โ ดยสุ จ ริ ต แล้ว
เท่านั้น มิได้หา้ มยกขึ้นต่อสู ้เจ้าของเดิมแต่อย่างใด การที่นายเอกฟ้ องคดี
ต่อศาลเพื่อเรี ยกที่ดินคืนจากนายหนึ่ งเมื่อวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๑ เป็ น
กรณี เจ้า ของกรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดินใช้สิ ทธิ ติดตามเอาคื นจากผูไ้ ม่ มีสิท ธิ
ยึดถือไว้ตาม ปพพ. มาตรา ๑๓๓๖ ดังนั้น นายเอกจึงเรี ยกคืนที่ดินแปลง
แรกจากนายหนึ่งได้ (ให้ ๓ คะแนน จาก ๔ คะแนน)
กรณี ที่ ดินแปลงที่สอง เป็ นที่ ดินมี น.ส.๓ ของนายสอง นาย
สองมี เพี ย งสิ ท ธิ ค รอบครองในที่ ดินแปลงนี้ การที่ นายเอกบุ ก รุ ก เข้า
ครอบครองและทาประโยชน์อย่างเปิ ดเผยเมื่ อเดื อนมกราคม ๒๕๔๘
เป็ นการเข้าครอบครองโดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตน แม้จะเป็ นการมิชอบ
ด้วยกฎหมาย แต่นายเอกก็ได้ซ่ ึ งสิ ทธิ ครอบครองในที่ดินดังกล่าวตาม
ปพพ. มาตรา ๑๓๖๗ (ขาดข้ อ วิ นิ จ ฉั ย ที่ ว่ า สิ ท ธิ ค รอบครองเป็ น
ทรั พ ยสิ ท ธิ ใช้ ยั น ได้ ต่ อ บุ ค คลทั่ ว ไปทุ ก คน) ส่ ว นนายสองผูม้ ี สิ ท ธิ
ครอบครองคนเดิมเมื่อถูกนายเอกแย่งการครอบครองที่ดินแปลงนี้ โดยมิ
ชอบด้วยกฎหมาย ก็มีสิทธิ จะได้คืนซึ่ งการครอบครองได้ตาม ปพพ.
มาตรา ๑๓๗๕ วรรคแรก แต่ ต้อ งฟ้ องคดี ต่ อ ศาลเพื่ อ เอาคื น การ
ครอบครองนั้นภายในหนึ่ ง ปี นับ แต่ เวลาถู ก แย่ง การครอบครองตาม
ปพพ.มาตรา ๑๓๗๕ วรรคสอง เมื่อนายสองมิได้ฟ้องเพื่อเอาคืนที่ดิน
ภายในกาหนดดังกล่าวจึงหมดสิ ทธิ ฟ้องเอาคืนอีกต่อไป และนายเอกก็
เป็ นผูม้ ีสิทธิ ครอบครองที่ดินดังกล่าวโดยชอบด้วยกฎหมายและมีสิทธิ
ดี กว่านายสอง การที่นายสองได้บุกรุ กเข้าไปแย่งที่ดินคืนจากนายเอก
285

โดยพลการเมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ เป็ นการกระทาโดยไม่มีสิทธิ


ดีกว่านายเอกและโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย นายเอกจึงมีสิทธิ ได้คืนซึ่ ง
การครอบครองที่ ดินแปลงนี้ ตาม ปพพ. ๑๓๗๕ วรรคแรก การที่นาย
เอกฟ้ องคดี ต่อศาลเพื่ อเรี ยกคื นที่ ดินจากนายสองเมื่ อวันที่ ๑ มีนาคม
๒๕๕๑ เป็ นการฟ้ องเอาคื นภายกาหนดหนึ่ งปี นับแต่เวลาถู กแย่งการ
ครอบครองตาม ปพพ. มาตรา ๑๓๗๕ วรรคสอง ดังนั้น นายเอกจึ งมี
สิ ทธิเรี ยกคืนที่ดินแปลงที่สองได้ (๓ คะแนน)
กรณี ที่ดินแปลงที่ ๓ เป็ นที่ดินมี น.ส.๓ ของนายสาม นายสาม
มี เ พี ย งสิ ทธิ ค รอบครองในที่ ดิ น แปลงนี้ การที่ น ายเอกบุ ก รุ กเข้ า
ครอบครองและทาประโยชน์อย่างเปิ ดเผยเมื่อเดื อนมกราคม ๒๕๕๑
เป็ นการเข้าครอบครองโดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตน แม้จะเป็ นการมิชอบ
ด้วยกฎหมาย แต่นายเอกก็ได้ซ่ ึ งสิ ทธิ ครอบครองในที่ดินดังกล่าวตาม
ปพพ. มาตรา ๑๓๖๗ โดยทัน ที การที่ น ายสี่ บุ ก รุ ก เข้า ไปแย่ ง การ
ครอบครองที่ ดินแปลงนี้ จากนายเอกเมื่ อวันที่ ๑ กุ มภาพันธ์ ๒๕๕๑
เป็ นการกระทาโดยมิชอบด้วยกฎหมายและไม่มีสิทธิ ดีกว่านายเอก นาย
เอกจึงมีสิทธิ ได้คืนซึ่ งการครอบครองที่ ดินแปลงนี้ ตาม ปพพ. ๑๓๗๕
วรรคแรก การที่นายเอกฟ้ องคดี ต่อศาลเพื่อเรี ยกคืนที่ดินจากนายสี่ เมื่อ
วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๑ เป็ นการฟ้ องเอาคื นภายกาหนดหนึ่ งปี นับแต่
เวลาถูกแย่งการครอบครองตาม ปพพ. มาตรา ๑๓๗๕ วรรคสอง ดังนั้น
นายเอกจึงมีสิทธิ เรี ยกคืนที่ดินแปลงที่สามได้ (๓ คะแนน) ได้ รวม ๙
คะแนน (ประเด็นนี้นักศึกษาบางท่ านอาจเข้ าใจผิดว่ าต้ องครอบครอง
ครบ ๑ ปี จึงจะมีสิทธิครอบครอง ซึ่งไม่ ใช่ เพราะการครอบครอง เมื่อมี
286

การยึดถื อ ทรั พย์ และยึด ถือ เพื่อ ตน ก็ไ ด้ สิ ทธิ ครอบครองทันที หากมี
สิ ทธิครอบครองแล้ว มีคนอืน่ มาแย่งการครอบครองก็มีสิทธิฟ้องเอาคืน
การครอบครองภายใน ๑ ปี เว้ น แต่ ผ้ ู แ ย่ ง มี สิ ท ธิ ดี ก ว่ า ตามมาตรา
๑๓๗๕)
ตั ว อย่ า งค าตอบที่ ๒ นายเอกบุ ก รุ ก เข้า ครอบครองและท า
ประโยชน์ในที่ดินผูอ้ ื่นอย่างเปิ ดเผยสามแปลง จึงเป็ นกรณี ที่นายเอกเข้า
ยึดถือทรัพย์สินเพื่อตน นายเอกเข้าครอบครองที่ดินแปลงแรกเมื่อเดือน
มกราคม ๒๕๓๘ โดยเป็ นที่ดินมี โฉนดของนายหนึ่ ง จึงเป็ นการเข้า
ยึดถืออสังหาริ มทรัพย์ของผูอ้ ื่น (ขาดโดยสงบ โดยเปิ ดเผย เป็ นเวลา ๑๐
ปี ) และมีเจตนาเป็ นเจ้าของ จึงเป็ นการครอบครองปรปักษ์
นายเอกเข้าครอบครองที่ดินที่มี นส.๓ ของนายสองเมื่อเดือน
มกราคม ๒๕๔๘ และเข้าครอบครองที่ ดินแปลงที่ ๓ ซึ่ งมี นส.๓ ของ
นายสาม เป็ นการเข้าแย่งการครอบครองที่ดินมือเปล่าจากนายสองและ
นายสาม นายเอกจึงได้สิทธิ ครอบครองในที่ดินทั้งสองแปลงนั้นแล้ว
ต่อมาเมื่ อวันที่ ๑ กุม ภาพันธ์ ๒๕๕๑ นายหนึ่ งและนายสอง
(น่ าจะแยกตอบทีละประเด็น) ได้บุกรุ กเข้าไปแย่งที่ดินคืนจากนายเอก
โดยพลการ สาหรับนายหนึ่งแม้เป็ นการติดตามเอาทรัพย์สินของตนคืน
แต่เป็ นการติดตามเอาคืนหลังจากที่นายเอกเข้าครอบครองปรปั กษ์ได้
๑๓ ปี แล้ว นายหนึ่ ง จึ ง ไม่ มี สิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น นั้น เพราะนายเอกย่อ มได้
กรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น นั้น เมื่ อ ได้ค รอบครองโดยเจตนาเป็ นเจ้า ของมา
มากกว่า ๑๐ ปี และสาหรับนายสองเป็ นการเข้าแย่งคืนการครอบครอง
แต่นายเอกได้เข้าแย่งครอบครองมาก่อน ๓ ปี นายสองจึงหมดสิ ทธิ ใน
287

การแย่งคืนการครอบครองนั้น เนื่องจากนายเอกมีสิทธิ ดีกว่าแล้ว เพราะ


นายสองไม่ได้แย่งคืนการครอบครองภายใน ๑ ปี นับแต่ที่นายเอกเข้า
แย่งครอบครองที่ดินมือเปล่านั้น
ในวันที่ ๑ กุ มภาพันธ์ ๒๕๕๑ นายสี่ ได้เข้าบุ กรุ กเข้าไปแย่ง
ที่ดินมาจากนายเอก เป็ นการเข้าแย่งการครอบครองในอสังหาริ มทรัพย์
ที่นายเอกมีสิทธิ (ขาดส่ วนสาคัญคือ สิ ทธิครอบครอง)
ต่อมาวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๑ นายเอกฟ้ องคดีต่อศาลเพื่อเรี ยก
ที่ ดิ น คื น จากนายหนึ่ ง นายสอง และนายสี่ ย่อ มสามารถกระท าได้
เพราะนายเอกมี กรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดินของนายหนึ่ ง จากการครอบครอง
ปรปั กษ์เกิ นกว่า ๑๐ ปี และมีสิทธิ ครอบครองเหนื อที่ดินนายสองจาก
การแสดงเจตนายึดถือเพื่อตน โดยนายสองได้หมดสิ ทธิ ครอบครองใน
ที่ดินนั้นแล้วตั้งแต่นายเอกเข้าแย่งครอบครองล่วงไป ๑ ปี ส่ วนการฟ้ อง
ที่ ดิ นคื นจากนายสี่ นายเอกก็ ย่อ มท าได้ เพราะนายสี่ ไ ม่ มี สิ ท ธิ ใ ด ๆ
เหนื อที่ดินทั้งสามแปลงเลย (ที่ตอบว่ า นายสี่ ไม่ มีสิทธิใด ๆ เหนือที่ดิน
ทั้งสามแปลงเลย ส่ วนนีผ้ ดิ เพราะนายสี่ มีสิทธิครอบครอง แม้ จะได้ การ
ครอบครองโดยไม่ ช อบด้ ว ยกฎหมาย อาจถู ก ฟ้ องเรี ย กคื น การ
ครอบครองได้ แต่ ก็ต้องถือว่ านายสี่ มีสิทธิครอบครอง ที่ถูกควรตอบว่ า
นายเอกมีสิทธิเรี ยกคืนการครอบครองจากนายสี่ เพราะนายเอกถูกนาย
สี่ แย่งการครอบครองโดยไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย)
สรุ ป นายเอกฟ้ องเรี ยกคืนที่ดินทั้งสามแปลงได้ (ให้ ในภาพรวม
ที่ ๕ คะแนน การเขียนตอบต้ องแยกประเด็นให้ ชัดเจน ลองดูคาตอบ
แรก แยกแยะชัดเจนเป็ นประเด็น ๆ)
288

ตัวอย่างคาตอบที่ ๓ ในกรณี ตามปั ญหาแยกพิจารณาได้ดงั นี้


กรณี เอกฟ้ องเรี ยกที่ดินคืนจากหนึ่ง เอกเข้าแย่งการครอบครอง
ที่ ดิ น จากหนึ่ งเป็ นที่ ดิ น มี โ ฉนดซึ่ งเป็ นอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ โดยสงบ
เปิ ดเผย (ขาดด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของ) ตั้งแต่มกราคม ๒๕๓๘ ถึงวันที่
เอกยื่นคาฟ้ อง (ที่ถูกต้ องนั บถึงวันถู กแย่ ง) เป็ นเวลาติดต่อกันเกิ นกว่า
สิ บ ปี เอกย่ อ มได้ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น ของหนึ่ งโดยการครอบครอง
ปรปั กษ์ตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๓๘๒ (ขาดข้ อกฎหมายที่ว่า นายเอกได้
กรรมสิ ทธิ์ในทีด่ ินโดยการครอบครองปรปักษ์ เป็ นการได้ มาโดยผลของ
กฎหมาย บริ บูรณ์ เป็ นทรั พยสิ ทธิใช้ ยันได้ กับบุคคลทั่วไปได้ ทันที) การ
ที่หนึ่ งบุกรุ กเข้าแย่งการครอบครองคืนนับถึ งวันที่เอกยื่นฟ้ องเป็ นเวลา
ยังไม่ถึงสิ บปี เอกจึงมีสิทธิ ฟ้องเรี ยกที่ดินคืนจากหนึ่ งได้ (ให้ ๓ คะแนน
จาก ๔ คะแนน)
กรณี เ อกฟ้ องเรี ย กที่ ดิ น คื น จากสอง เอกบุ ก รุ ก เข้า แย่ ง การ
ครอบครองจากสองซึ่ งเป็ นที่ ดินประเภท น.ส.๓ ซึ่ ง เป็ นที่ ดินที่ มี แต่
สิ ทธิ ครอบครองตั้งแต่มกราคม ๒๕๔๘ สองจะต้องฟ้ องคดีเพื่อเอาคืน
ซึ่ งการครอบครองภายในก าหนดหนึ่ งปี นั บ แต่ ว ัน ที่ ถู ก แย่ ง การ
ครอบครอง เมื่ อไม่ ปรากฏว่า สองได้ฟ้ องเรี ย กคื นซึ่ งการครอบครอง
ย่อมหมดสิ ทธิ ที่จะฟ้ องแย่งการครอบครอง (ขาดข้ อกฎหมายที่ว่า เมื่อ
เอกยึดถือที่ดินโดยเจตนายึดถือเพื่อตน จึงได้ สิทธิครอบครองซึ่ งเป็ น
ทรัพยสิ ทธิใช้ ยนั ได้ กบั ทุกคน) การครอบครองย่อมอยูก่ บั เอก การที่สอง
บุกรุ กเข้าแย่งการครอบครองเมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ และเอก
ฟ้ องเรี ยกคืนในวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๑ ซึ่ งเป็ นการฟ้ องเรี ยกคืนซึ่ งการ
289

ครอบครองภายในกาหนด ๑ ปี เอกย่อมมีสิทธิ ฟ้องเรี ยกการครอบครอง


คืนได้ (๓ คะแนน)
กรณี เอกฟ้ องเรี ยกที่ดินคืนจากสี่ เอกแย่งการครอบครองที่ดิน
จากสามซึ่ งเป็ นที่ ดิ น ประเภท น.ส.๓ เมื่ อ มกราคม ๒๕๕๑ ที่ ดิ น
ดั ง กล่ า วเป็ นที่ ดิ น ที่ มี สิ ทธิ ค รอบครองเท่ า นั้ น เมื่ อ เอกแย่ ง การ
ครอบครองจากสามแล้วย่อมเป็ นผูม้ ีสิทธิ ครอบครอง การที่สี่บุกรุ กเข้า
แย่งการครอบครอง เอกย่อมมีอานาจฟ้ องสี่ ผไู ้ ม่มีสิทธิ ได้ท้ งั ได้ยื่นฟ้ อง
เมื่อวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๑ ยังไม่เกิน ๑ ปี นับแต่ถูกแย่งการครอบครอง
เอกจึงมีอานาจฟ้ องสี่ ได้ (๓ คะแนน) รวมแต่ ละประเด็นได้ ๙ คะแนน
แต่ ดูในภาพรวมแล้ วให้ เพียง ๘ คะแนน

ข้ อ ๔๓ คาถาม นายเอกให้นายโทดูแลที่ดินมี น.ส.๓ รวม ๒


แปลง ตั้งแต่ปี ๒๕๔๐ นายโทเข้าทากินและดูแลที่ดินดังกล่าวแทนนาย
โทเที่ยวบอกชาวบ้านว่าที่ดินดังกล่าวเป็ นของนายโท ต่อมานายโทลง
เล่นการเมืองท้องถิ่นเสี ยเงินไปมาก นายโทจึงบอกขายที่ดินแปลงแรก
นายตรี เข้าใจว่านายโทเป็ นเจ้าของที่ดิน นายตรี จึงซื้ อที่ ดินจากนายโท
ราคา ๒๐๐,๐๐๐ บาท โดยท าสั ญ ญาเป็ นหนัง สื อ และส่ ง มอบที่ ดิ น
กันเองเมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ และในวันดังกล่าวนายจัตวาเห็นว่า
นายโทไม่ได้สนใจที่ ดินแปลงหลัง นายจัตวาจึ งเข้าทากิ นและล้อมรั้ ว
ที่ ดินแปลงหลังโดยนายโทไม่ ทราบ ต่ อมาวันที่ ๑ สิ งหาคม ๒๕๕๑
นายเอกมาดูที่ดินของตนเพื่อจะนาไปใช้ประโยชน์ นายเอกพบนายตรี
และนายจัตวาในที่ ดินดัง กล่ าว นายตรี และนายจัตวาบอกนายเอกว่า
290

ที่ดินที่นายตรี และนายจัตวาครอบครองเป็ นของตน นายเอกจึงฟ้ องขับ


ไล่นายตรี และนายจัตวาเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑
ให้วินิจฉัยว่า นายเอก กับนายตรี และจัตวา ใครมีสิทธิ ในที่ดิน
ดีกว่ากัน
ข้ อ ๔๓ ค าตอบ การที่นายเอกให้นายโทดูแลที่ดินแทน นาย
เอกจึ ง มี สิ ท ธิ ค รอบครองที่ ดิ น โดยมี ผู้อื่ น ยึด ถื อ ไว้ใ ห้ ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๘ การที่ นายโทเข้าทากิ นและ
ดูแลที่ดินดังกล่าวแทนโดยเที่ยวบอกชาวบ้านว่าที่ดินดังกล่าวเป็ นของ
นายโท ไม่ เป็ นการเปลี่ยนลัก ษณะแห่ งการยึด ถือ ตามมาตรา ๑๓๘๑
นายโทจึงเป็ นผู้ยดึ ถือทีด่ ินแทนนายเอกตลอดมา
การที่นายโทขายที่ ดินแปลงแรกให้แก่นายตรี น้ นั เมื่อนายโท
เป็ นเพียงผู้ยึดถือแทน นายโทจึงไม่ มีสิทธินาที่ดินไปขายให้ แก่ นายตรี
แม้ นายตรีจะซื้อที่ดินจากนายโทโดยทาสั ญญาเป็ นหนังสื อและส่ งมอบ
ที่ดินกันเอง แต่ นายตรี ก็ไม่ ได้ สิทธิครอบครอง เพราะนายตรี ผ้ ูรับโอน
ย่ อมไม่ มีสิทธิดีกว่ านายโทผู้โอน (คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๓๙๓/๒๕๕๐)
แม้นายตรี บอกนายเอกว่าที่ดินที่นายตรี ครอบครองเป็ นของตนเมื่อวันที่
๑ สิ งหาคม ๒๕๕๑ จะเป็ นการบอกกล่ าวเปลี่ยนเจตนาแห่ งการยึดถือ
ตามมาตรา ๑๓๘๑ แต่ นายเอกฟ้ องขับไล่ นายตรี เมื่ อวันที่ ๑ ตุ ล าคม
๒๕๕๑ เป็ นการฟ้องเรียกคืนการครอบครองภายใน ๑ ปี นับแต่ ถูกแย่ ง
การครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๕ นายเอกมีสิทธิในที่ดินดีกว่ านายตรี
(๕ คะแนน)
ส่ วนการที่นายจัตวาเข้าทากิ นและล้อมรั้วที่ดินแปลงหลังเมื่ อ
291

วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ นั้น ถือว่ านายจัตวาเข้ าแย่ งการครอบครอง


ของนายเอกตั้งแต่ วันดังกล่ าว แม้ นายเอกจะทราบภายหลั ง นายเอกก็
ต้ องฟ้ องเรี ยกคื นการครอบครองภายใน ๑ ปี นั บ แต่ วันที่ถู ก แย่ งการ
ครอบครอง โดยไม่ ค านึ ง ถึ ง ว่ า ผู้ ค รอบครองจะทราบว่ า ถู ก แย่ ง การ
ครอบครองหรื อ ไม่ กล่ า วคื อ ต้ อ งฟ้ องภายใน ๑ ปี นั บ จากวัน ที่ ๑
มกราคม ๒๕๕๐ แต่นายเอกฟ้ องขับไล่ นายจัตวาเมื่ อวันที่ ๑ ตุลาคม
๒๕๕๑ เป็ นการฟ้องเรียกคืนการครอบครองเกิน ๑ ปี นับจากวันถูกแย่ ง
การครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๕ นายเอกจึงไม่ มีอานาจฟ้องขับไล่
นายจั ต วาแล้ ว นายจั ต วาจึ ง มี สิ ท ธิ ใ นที่ดิ น แปลงหลัง ดี ก ว่ า นายเอก
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๑๒/๒๕๕๐) (๕ คะแนน)
ข้ อสั งเกต ธบคำตอบะวไม่ มีเรื่ อบ แม้ การซื้ อขายเป็ นโมฆะ แต่ การส่ ง
มอบการครอบครองบังคับได้ เพรำวปรวเด็นเรื่ อบส่ บมอบคดีนีใ้ ช้ ไม่ ได้
แลวกรณี นีผ้ ้ ขู ำยไม่ มีชื่อในเอกสำรสิ ทธิ ผู้แต่ บะึ บไม่ ใส่ เรื่ อบดดบกล่ ำัไั้
ในคำตอบ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๓๙๓/๒๕๕๐ ฎ.ส.ล. ๑๐ น. ๑๖๐ ที่ดิน
พิพาทเป็ นส่ วนหนึ่ งของที่ดินตามหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ของ
โจทก์ และ พ. เป็ นผูค้ รอบครองที่ ดินพิ พาทแทนโจทก์ พ. ย่อมไม่ มี
สิ ทธิ นาที่ดินพิพาทไปขายให้แก่ จาเลย แม้จาเลยจะรับโอนมาโดยเสี ย
ค่าตอบแทนและเป็ นผูค้ รอบครองที่ดินพิพาทก็ตาม จาเลยก็ไม่มีสิทธิ
ครอบครองในที่ ดินพิ พ าท เนื่ องจากจาเลยซึ่ ง เป็ นผูร้ ั บ โอนย่อมไม่ มี
สิ ทธิ ดีกว่า พ. ผูโ้ อนที่ดินพิพาทให้แก่จาเลย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๑๒/๒๕๕๐ ฎ. ๑๗๑๔ ที่พิพาทเดิมเป็ นที่
292

ป่ า แต่ ต่ อ มาได้ถู ก ถอนสภาพ ที่ พิ พ าทจึ ง เป็ นสาธารณสมบัติ ข อง


แผ่นดิ น ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๑)
ผูค้ รอบครองที่พิพาทโดยมีเจตนายึดถือเพื่อตน ย่อมมีสิทธิ ครอบครอง
ในที่ดินได้
การฟ้ องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครองตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๗๕ วรรคสอง ผูค้ รอบครองจะต้องฟ้ องคดี
ภายใน ๑ ปี นับ แต่ เวลาที่ ถู ก แย่ง การครอบครองโดยไม่ ค านึ ง ถึ ง ว่า
ผูค้ รอบครองจะทราบว่าถูกแย่งการครอบครองหรื อไม่ และไม่คานึ งถึง
ว่า ผูค้ รอบครองได้โต้แ ย้ง ผูแ้ ย่ง การครอบครองหรื อ ได้ร้ องเรี ย นต่ อ
พนักงานฝ่ ายปกครองว่าถูกแย่งการครอบครองหรื อไม่ จาเลยเริ่ มเข้ามา
ปลูกบ้านบนที่พิพาทตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ การที่โจทก์ฟ้องคดีเมื่อวันที่
๑๙ กุ ม ภาพันธ์ ๒๕๔๐ จึ ง เป็ นการฟ้ องคดี เกิ นกว่า ๑ ปี นับ แต่ วนั ที่
จาเลยเข้าครอบครองที่ พิพาท โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ องเพื่อเอาคื นการ
ครอบครองที่พิพาทจากจาเลย
ตัวอย่างคาตอบที่ ๑ กรณี ตามปั ญหาแม้นายโทจะเข้าทากินและ
ดู แ ลที่ ดิ น ดัง กล่ า วมาตั้ง แต่ พ.ศ.2540 แต่ ก ารเข้า ครอบครองที่ ดิ น
ดังกล่าวของนายโทก็เป็ นการครอบครองที่ดินแทนนายเอก แม้นายโท
จะเที่ ยวบอกชาวบ้านว่าที่ ดินดังกล่ าวเป็ นของนายโท กรณี ก็มิใช่ เป็ น
การบอกกล่าวเปลี่ ยนแปลงลักษณะแห่ งการยึดถื อไปยังนายเอกว่านาย
โทจะยึ ด ถื อ ที่ ดิ น ดัง กล่ า วเพื่ อ ตน ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และ
พาณิ ช ย์ม าตรา 1381 ดัง นั้นไม่ ว่า นายโทจะครอบครองนานเท่ า ใดก็
ไม่ได้ไปซึ่ งสิ ทธิ ครอบครอง
293

กรณี ที่ดินแปลงแรก การที่นายตรี เข้าทาสัญญาซื้ อขายที่ดินกับ


นายโท แม้การซื้ อขายจะตกเป็ นโมฆะเนื่ องจากมิได้ทาเป็ นหนังสื อและ
จดทะเบี ยนต่ อพนักงานเจ้า หน้า ที่ ตามมาตรา 456 แต่เนื่ องจากที่ ดิน
ดัง กล่ า วมิ ใ ช่ ที่ ดิ น มี โ ฉนดเป็ นเพี ย งที่ ดิ น มี น.ส.3 ซึ่ งมี เ พี ย งสิ ท ธิ
ครอบครองการที่นายโทสละการครอบครองและส่ งมอบที่ดินดังกล่าว
ให้ แ ก่ น ายตรี กรณี จึ ง บริ บู ร ณ์ เ ป็ นการโอนการครอบครองโดยมี
ค่าตอบแทน แต่อย่างไรก็ตาม เมื่ อนายโทไม่มีสิ ทธิ ค รอบครองที่ ดิน
ดังกล่าว นายตรี ผรู ้ ับโอนจึงไม่มีสิทธิ ดีกว่านายโทผูโ้ อน จึงต้องถื อว่า
นายตรี ครอบครองที่ดินดังกล่าวแทนนายเอก เมื่อนายตรี มิได้บอกกล่าว
เปลี่ ย นแปลงลักษณะแห่ งการยึดถื อไปยังนายเอกว่านายตรี จะยึดถื อ
ที่ดินดังกล่าวเพื่อตน กรณี จึงไม่เป็ นการแย่งการครอบครอง นายตรี ไม่
อาจยกข้อต่อสู ้ตามมาตรา 1375 มายันนายเอกได้ ดังนั้น นายเอกจึ งมี
สิ ทธิ ในที่ดินแปลงนี้ ดีกว่านายตรี (ไม่ ได้ กล่ าวถึงการเปลี่ยนเจตนาแห่ ง
การยึดถือ และนายเอกฟ้องคืนภายใน ๑ ปี นับแต่ วันเปลี่ยนเจตนาแห่ ง
การยึดถือให้ เพียง ๓ คะแนน)
กรณี ที่ ดินแปลงที่ สอง การที่ นายจัตวาเข้าท ากิ นและล้อมรั้ ว
ที่ดินแปลงหลังนี้ โดยเห็นว่านายโทมิได้สนใจ เป็ นกรณี ที่นายจัตวาเข้า
ครอบครองที่ดินดังกล่าวโดยเจตนายึดถือเพื่อตน แม้วา่ นายจัตวาจะคิด
ว่าที่ดินเป็ นของนายโทโดยมิได้รู้ขอ้ เท็จจริ งว่าแท้จริ งแล้วที่ดินดังกล่าว
เป็ นของนายเอก กรณี ก็ตอ้ งถื อว่าเป็ นการแย่งการครอบครองที่ดินของ
ผู ้อื่ น แล้ว เมื่ อ นายจัต วาเข้า ครอบครองที่ ดิ น ดัง กล่ า วตั้ง แต่ ว นั ที่ 1
มกราคม 2550 จึ ง ต้อ งนั บ ระยะเวลาแย่ ง การครอบครองตั้ง แต่ ว ัน
294

ดัง กล่ า วซึ่ งเป็ นวัน ที่ มี ก ารแย่ ง การครอบครอง หาใช่ นับ แต่ ว นั ที่ 1
สิ งหาคม 2551 ซึ่ งเป็ นวันที่นายเอกรู ้ ถึงการแย่งการครอบครอง การที่
นายเอกมาฟ้ องคดีเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2551 จึงเป็ นระยะเวลาเกิ นกว่า 1
ปี นับ แต่ เวลาที่ นายเอกถู กแย่ง การครอบครองแล้วตามมาตรา 1375
ดัง นั้ น นายจัต วาจึ ง มี สิ ทธิ ใ นที่ ดิ น แปลงหลัง นี้ ดี ก ว่ า นายเอก (๕
คะแนน) รวมได้ ๘ คะแนน
ตัวอย่ างคาตอบที่ ๒ ตามปพพ.มาตรา 1381 วางหลักว่า บุคคล
ซึ่ งยึดถือทรัพย์ไว้แทนผูค้ รอบครอง จะเปลี่ยนลักษณะการยึดถือได้ก็แต่
โดยบอกกล่าวไปยังผูค้ รอบครองว่าไม่มีเจตนาจะยึดถือทรัพย์สินแทน
ผูค้ รอบครองต่อไป การโอนสิ ทธิ ครอบครองย่อมกระทาได้โดยการที่
ผูค้ รอบครองแสดงเจตนาสละเจตนาครอบครองและส่ งมอบทรัพย์สิน
ที่ครอบครองตามมาตรา 1377 ,1378 และตามมาตรา 1375 วรรคสอง
วางหลักว่า การฟ้ องคดี เพื่อเอาคื นซึ่ งการครอบครองนั้น ท่านว่าต้อง
ฟ้ องภายในปี หนึ่ งนับแต่เวลาถู กแย่งการครอบครอง (การตอบโดยยก
หลักกฎหมาย ควรย่ อหน้ าทุกหลักกฎหมาย เมื่อมีการอ้ างหลักกฎหมาย
หลายหลักกฎหมาย)
การที่นายโทซึ่ งเข้ายึดถือที่ดินไว้แทนนายเอกบอกชาวบ้านว่า
ที่ ดิ นดัง กล่ า วเป็ นของตนเองนั้น ไม่ ถื อเป็ นการเปลี่ ย นลัก ษณะการ
ยึดถือ เพราะมิใช่การแสดงเจตนาเปลี่ยนลักษณะการยึดถือต่อนายเอกผู ้
ครอบครอง นายโทจึงเป็ นเพียงผูย้ ึดถือที่ดินไว้แทนนายเอก การที่นาย
โทขายที่ ดินแปลงแรกให้แก่ นายตรี โดยทาสัญญาเป็ นหนังสื อและส่ ง
มอบที่ดินกันเองนั้น เมื่ อนายโทเป็ นเพียงผูย้ ึดถื อที่ดินไว้แทนนายเอก
295

มิใช่ผมู ้ ีสิทธิ ครอบครอง (ไม่ มีข้อความว่ า ผู้รับโอนไม่ มีสิทธิดีกว่ าผู้โอน


เสี ยคะแนนส่ ว นนี้ไป) นายตรี จึง ไม่ ได้สิท ธิ ค รอบครองโดยการสละ
เจตนาครอบครองและส่ งมอบทรัพย์สินที่ครอบครอง ตามปพพ.มาตรา
1377 ,1378 การที่ นายตรี อยู่ในที่ ดินดังกล่ าวจึ งเป็ นการอยู่โดยอาศัย
สิ ทธิ ของนายโท อันเป็ นการยึดถือที่ดินไว้แทนนายเอก การที่นายตรี
บอกนายเอกว่าที่ดินที่ นายตรี ครอบครองเป็ นของตน จึ งเป็ นการบอก
เปลี่ ยนลักษณะการยึดถื อแทน อันเป็ นการแย่งการครอบครอง การที่
นายเอกฟ้ องขับ ไล่ น ายตรี จึ ง เป็ นการฟ้ องคดี เ พื่ อ เอาคื น ซึ่ งการ
ครอบครอง เมื่อนายตรี บอกเปลี่ยนลักษณะการยึดถือแทน อันเป็ นการ
แย่งการครอบครองในวันที่ 1 สิ งหาคม 2551 และนายเอกฟ้ องขับไล่ใน
วัน ที่ 1 ตุ ล าคม 2551 จึ ง เป็ นการฟ้ องเพื่ อ เอาคื น ซึ่ งการครอบครอง
ภายในปี หนึ่ ง นับ แต่ เวลาที่ ถู ก แย่ง การครอบครอง ตามปพพ.มาตรา
1375 นายเอกจึงมีสิทธิ ในที่ดินดีกว่านายตรี (๔ คะแนน)
การที่นายจัตวาเข้าทากินและล้อมรั้วที่ดินแปลงหลังเมื่อวันที่ 1
มกราคม 2550 เป็ นการแย่งการครอบครองที่ดินของนายโท เมื่อนายโท
ฟ้ องขับไล่อนั เป็ นการฟ้ องคดี เพื่อเอาคืนซึ่ งการครอบครองเมื่อวันที่ 1
ตุลาคม 2551 จึงเป็ นการฟ้ องคดี เมื่อพ้นระยะเวลาหนึ่ งปี นับแต่เวลาที่
ถู ก แย่ง การครอบครอง แม้ว่า นายโทจะเพิ่ง รู ้ ว่า ถู ก นายจัตวาแย่งการ
ครอบครองเมื่อวันที่ 1 สิ งหาคม 2551 ก็ตาม เพราะการฟ้ องคดี เพื่อเอา
คืนซึ่ งการครอบครองนั้นต้องฟ้ องคดี ภายในปี หนึ่ งนับแต่วนั ที่ถูกแย่ง
การครอบครอง มิใช่ นบั แต่วนั ที่รู้ว่าถูกแย่งการครอบครอง ตามมาตรา
1375 นายจัตวาจึงมีสิทธิ ในที่ดินดี กว่านายเอก (๕ คะแนน) รวมได้ ๙
296

คะแนน
ตัวอย่ างคาตอบที่ ๓ การที่นายโทเข้าทากินและดูแลที่ดินแทน
นายเอกเป็ นการครอบครองแทน แม้นายโทจะบอกชาวบ้านว่า ที่ ดิน
ดัง กล่ า วเป็ นของตนก็ ไ ม่ ถื อว่า เป็ นการแย่ง การครอบครองโดยการ
เปลี่ยนลักษณะการยึดถื อ เพราะนายโทไม่ได้บอกกล่าวไปยังนายเอก
เจ้าของที่ดินว่าไม่มีเจตนาจะยึดถื อที่ดินแทนนายเอกต่อไป และแม้ว่า
จะครอบครองมาเกิ น 1 ปี นายโทก็ ไ ม่ ไ ด้สิ ท ธิ ค รอบครองในที่ ดิ น
ดังกล่าวจึงเป็ นเพียงผูค้ รอบครองแทนนายเอกเท่านั้น
การซื้ อขายที่ ดิน นส.3 แปลงแรก ระหว่างนายโทกับนายตรี
โดยทาเป็ นหนังสื อและส่ งมอบกันเองแม้จะตกเป็ นโมฆะเพราะไม่ได้
ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบี ยนต่อพนัก งานเจ้า หน้าที่ แต่เมื่ อนายโท
ผูข้ ายได้ส่งมอบที่ดินให้นายตรี เข้าครอบครองแล้วนายตรี ก็ยอ่ มได้สิทธิ
ครอบครองในที่ ดินนั้น อย่างไรก็ตาม การซื้ อขายที่ ดินมื อเปล่ าจากผู้
ครอบครองแทน ผูซ้ ้ื อได้สิทธิ เพียงเป็ นผูค้ รอบครองแทนเจ้าของเท่านั้น
แม้วา่ จะซื้ อมาโดยสุ จริ ตเพราะเข้าใจว่านายโทเป็ นเจ้าของก็ตาม ดังนั้น
นายเอกในฐานะเจ้าของที่ดินจึงมีสิทธิ ดีกว่านายตรี และมีสิทธิ ฟ้องขับ
ไล่นายตรี ออกจากที่ดินแปลงแรกได้ (ไม่ มีเรื่ องเปลี่ยนเจตนาแห่ งการ
ยึดถือเมื่อใดให้ เพียง ๓ คะแนน)
การที่ น ายจัต วาเข้า ท ากิ นและล้อมรั้ วที่ ดิ นแปลงหลัง เมื่ อ 1
มกราคม 2550 เป็ นการแย่งการครอบครองโดยมิชอบด้วยกฎหมายนาย
เอกเจ้าของที่ดินมีสิทธิฟ้องเรี ยกคืนซึ่งการครอบครองภายใน 1 ปี นับแต่
เวลาที่ ถู กแย่งการครอบครอง เมื่ อนายเอกมาฟ้ องขับไล่ นายจัตวาใน
297

วันที่ 1 ตุลาคม 2551 ซึ่ งพ้นกาหนดเวลาเรี ยกคื นแล้ว นายเอกจึ งไม่มี


สิ ทธิ ฟ้องขับไล่นายจัตวาออกจากที่ดินดังกล่าวโดยไม่ตอ้ งคานึ งว่านาย
เอกจะถูกแย่งครอบครองตั้งแต่เมื่อใด ดังนั้นนายจัตวาจึงมีสิทธิ ในที่ดิน
แปลงหลังดีกว่านายเอก (ไม่ ได้ ระบุชัดเจนว่ า ๑ ปี นับจากวันแย่ ง ไม่ ใช่
วันรู้ ให้ เพียง ๓ คะแนน) รวมได้ ๖ คะแนน
ตัวอย่ างคาตอบที่ ๔ กรณี ตามปั ญหา การที่นายเอกให้นายโท
ดูแลที่ดินที่มี น.ส.๓ รวม ๒ แปลงและนายโทได้ทากิ นและดูแลที่ดิน
แทนนายเอก แม้นายโทจะเที่ยวบอกชาวบ้านว่าที่ดินดังกล่าวเป็ นของ
ตนก็ เป็ นการครอบครองที่ ดินแทนนายเอก เมื่อนายโทผูค้ รอบครอง
ที่ดินแทนนาที่ดินแปลงแรกไปขายให้นายตรี โดยทาสัญญาเป็ นหนังสื อ
และส่ ง มอบที่ ดินกันเองเมื่ อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ นายตรี ก็ไม่ไ ด้
สิ ทธิ ค รอบครองในที่ ดิน เพราะนายโทไม่ใช่ เจ้าของที่ ดินเป็ นเพียงผู ้
ครอบครองแทนเท่านั้น ดังนั้นนายเอกในฐานะเจ้าของที่ดินจึงมีสิทธิ ใน
ที่ ดินแปลงแรกดี กว่า นายตรี (ไม่ มีเรื่ อ งเปลี่ยนเจตนาแห่ งการยึด ถือ
เมื่อใด ให้ เพียง ๓ คะแนน)
การที่เมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ นายจัตวาได้เข้าทากิ นและ
ล้อมรั้วที่ดินแปลงหลังโดยนายโทไม่ทราบ เป็ นการแย่งการครอบครอง
ที่ดินจากนายโทผูค้ รอบครองที่ดินแทนนายเอก ซึ่ งนายเอกต้องฟ้ องเอา
คืนซึ่ งการครอบครองภายในหนึ่ งปี นับแต่ถูกแย่งการครอบครอง เมื่ อ
นายเอกฟ้ องขับไล่นายจัตวา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2551 ซึ่ งเป็ นเวลาเกิ น
หนึ่งปี นับแต่ถูกแย่งการครอบครองแล้ว ดังนั้น นายจัตวามีสิทธิ ในที่ดิน
แปลงหลังดีกว่านายเอก (ไม่ ได้ ระบุชัดเจนว่ า ๑ ปี นับจากวันแย่ ง ไม่ ใช่
298

วันรู้ ให้ เพียง ๓ คะแนน) รวมได้ ๖ คะแนน


ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนีห้ ำกเปลี่ยนข้ อเท็ะะริ บเป็ น ผู้ครอบครอบซื ้อที่ ดิน
ะำกผู้ไ ม่ มี สิ ท ธิ ใ นที่ ดินเลย ธบค ำตอบะวเปลี่ ย นไปะำกกำรซื ้ อะำกผู้
ยึดถือแทน ขอให้ ดูคำถำมข้ อต่ อไป

ข้ อ ๔๔ คาถาม ปี ๒๕๓๘ นายฉลาดซื้ อที่ดินพิพาทที่มีหนังสื อ


รับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) มีชื่อนายชลอเป็ นเจ้าของ มาจาก
บุ ค คลอื่ นซึ่ ง ไม่ มี สิ ท ธิ ใ ด ๆ ในที่ ดินพิ พ าท แล้วนายฉลาดเข้า ยึดถื อ
ครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินพิพาทอย่างเป็ นเจ้าของตลอดมา โดย
นายชลอไม่ ทราบเรื่ องที่ นายฉลาดเข้า ยึดถื อครอบครองที่ดินของตน
ต่อมาปี ๒๕๔๒ นายชลอทราบว่านายฉลาดเข้าไปยึดถื อครอบครอง
ที่ดินพิพาท
ให้วินิจฉัยว่า ก. นายชลอมี สิ ทธิ ฟ้ องคดี เพื่ อเอาคื นซึ่ งการ
ครอบครองจากนายฉลาดหรื อไม่
ข. หากนายชลอทาสัญญาขายที่ดินพิพาทให้นายสงวนโดยทา
สัญญาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่และนายสงวน
รั บโอนไว้โดยสุ จริ ต นายฉลาดจะยกการครอบครองขึ้ นเป็ นข้อต่อสู ้
นายสงวนได้หรื อไม่ (ข้อสอบคัดเลื อกฯ ผูช้ ่ วยผูพ้ ิพากษา ข้อ ๕ เมื่อ
วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๔๓)
ข้ อ ๔๔ คาตอบ ก. การที่นายฉลาดซื้ อที่ดินพิพาทมาจากบุคคล
อื่ นซึ่ งไม่ มีสิท ธิ ใด ๆ ในที่ ดินแล้วนายฉลาดเข้ายึดถื อครอบครองท า
ประโยชน์ในที่ดินพิพาทอย่างเป็ นเจ้าของตลอดมา ต้ องถือว่ านายฉลาด
299

ยึ ด ถื อ ทรั พ ย์ สิ น โดยเจตนาจะยึ ด ถื อ เพื่ อ ตน นายฉลาดจึ ง ได้ สิ ท ธิ


ครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๖๗
เพราะการเข้ า ยึด ถื อ ดั งกล่ า วเป็ นการโต้ แย้ งสิ ทธิ ข องนายชลอผู้ เป็ น
เจ้ าของซึ่งถือว่าเป็ นการแย่งการครอบครองทีด่ ินพิพาทตั้งแต่ ปี ๒๕๓๘
แล้ ว โดยไม่ จาเป็ นที่ผ้ ูเป็ นเจ้ าของที่ดินจะต้ องทราบว่ าตนถูกแย่ งการ
ครอบครอง เมื่อนายฉลาดแย่งครอบครองที่ดินพิพาทจากนายชลอเมื่อปี
๒๕๓๘ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้ นายชลอผู้ครอบครองมีสิทธิจะ
ได้ คืนซึ่งการครอบครอง แต่ การฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่ งการครอบครอง
นั้น ต้ องฟ้องภายในปี หนึ่งนับแต่ เวลาถูกแย่ งการครอบครองตามมาตรา
๑๓๗๕ การที่ น ายชลอฟ้ องคดี เ พื่ อ เอาคื น ซึ่ งการครอบครองในปี
๒๕๔๒ เป็ นการฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่ งการครอบครองเกินหนึ่งปี นับ
แต่ เวลาถูกแย่ งการครอบครอง นายชลอจึงหมดสิ ทธิฟ้องคดีเพื่อเอาคืน
ซึ่ งการครอบครองจากนายฉลาดตามมาตรา ๑๓๗๕ วรรคสอง (ค า
พิพากษาฎีกาที่ ๑๐๒๑/๒๕๓๘)
ข. การที่ น ายฉลาดได้สิ ท ธิ ค รอบครองมาโดยการแย่ ง การ
ครอบครอง เป็ นการได้ มาซึ่ งอสั งหาริ มทรั พย์ โดยทางอื่นนอกจากนิติ
กรรม เมื่อยังมิได้จดทะเบี ยน จะยกขึ้นเป็ นข้ อต่ อสู้ นายสงวนซึ่ งเป็ น
บุคคลภายนอกผู้ได้ สิทธิมาโดยเสี ยค่ าตอบแทนและโดยสุ จริ ตและได้ จด
ทะเบี ยนสิ ทธิ โดยสุ จ ริ ต แล้ ว ไม่ ไ ด้ ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง (ค า
พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ ๔๒๗/๒๕๓๘) ดัง นั้ น นายฉลาดจึ ง ยกการ
ครอบครองขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ นายสงวนไม่ ได้
ข้ อสั งเกต คำพิ พำกษำฎี กำที่ ๔๒๗/๒๕๓๘, ที่ ๒๕๑๒/๒๕๔๙ ที่
300

ตด ด สิ นั่ ำ สิ ทธิ ขอบผู้ ได้ ที่ ดิ น มี น.ส. ๓ มำโดยกำรส่ บมอบกำร


ครอบครอบ เป็ นกำรได้ ม ำโดยทำบอื่ นนอกะำกนิ ติกรรมที่ ยดบมิ ได้ ะด
ทวเบียนนด้น มิให้ ยกขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ บุคคลภำยนอกผู้ได้ สิทธิ มำโดยเสี ย
ค่ ำตอบแทนแลวโดยสุ ะริ ต แลวได้ ะดทวเบียนสิ ทธิ โดยสุ ะริ ตแล้ ัตำม
มำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคสอบ ถูก กลด บ โดยค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำที่ ๑๔๗๓๗/
๒๕๕๑ ที่ตดดสิ นั่ ำ ผู้ซื้อซึ่ บะดทวเบียนรด บโอนที่ดินมี น.ส. ๓ ะำกผู้ขำย
ที่ ดินซึ่ บขำยโดยกำรส่ บมอบที่ ดินให้ ผ้ อู ื่ นไปแล้ ั เมื่อผู้ะดทวเบียนโอน
ไม่ มีสิทธิ ครอบครอบ ผู้รดบโอนก็ไม่ มีสิทธิ ดีกั่ ำผู้โอน หำกข้ อเท็ะะริ บ
ตำมฎีกำนี อ้ อกข้ อสอบผู้ช่ัยผู้พิพำกษำหรื อข้ อสอบเนติบดณฑิต ผู้สอบ
คบต้ อบตอบตำมคำพิ พำกษำฎีกำที่ ๑๔๗๓๗/๒๕๕๑ ซึ่ บเป็ นฎีกำใหม่
อย่ ำ บไรก็ตำม ฎี ก ำนี ้ไ ม่ ใ ช่ ฎีก ำปรวชุ ม ใหญ่ ปด ญ หำนี ้คบต้ อบติ ดตำม
ต่ อไปั่ ำศำลฎีกำะวคบแนันีไ้ ั้ ได้ นำนเพียบใด
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๗๓๗/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๒ น. ๒๘๕ แม้
ในหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) จะมี ชื่อ อ. เป็ นผูถ้ ื อ
สิ ทธิ ครอบครอง แต่การที่ อ. ขายที่ดินพิพาทให้แก่ ล. และได้มอบการ
ครอบครองให้แก่ ล. ถือเป็ นการสละการครอบครองที่ดินพิพาทให้แก่
ล. ตั้งแต่ปี ๒๕๓๐ แล้ว อ. จึงหมดสิ ทธิ ครอบครองในที่ดินพิพาทตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๘ และเมื่อ ล. ขายและมอบการครอบครองที่ดิน
พิพ าทให้แก่ จาเลยที่ ๑ แล้ว จาเลยที่ ๑ เข้า ไปไถและถมดิ นในที่ ดิน
พิ พ าทตั้ง แต่ ปี ๒๕๓๖ จึ ง เป็ นการเข้า ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทโดยมี
เจตนาที่จะยึดถื อเพื่อตน จาเลยที่ ๑ จึง มีสิทธิ ครอบครองที่ดินพิพาท
ตามมาตรา ๑๓๖๗ ดังนั้น เมื่อ อ. หมดสิ ทธิ ครอบครองที่ดินพิพาทแล้ว
301

จึ ง ไม่ มี สิ ท ธิ ที่ จ ะขายฝากที่ ดิน ดัง กล่ า วให้ แ ก่ โจทก์ แม้ก ารขายฝาก
ระหว่า งโจทก์ก ับ อ. จะท าเป็ นหนัง สื อและจดทะเบี ย นต่ อพนัก งาน
เจ้าหน้าที่ ก็ไม่ทาให้โจทก์ได้สิทธิ ครอบครองที่ดินดังกล่าวแต่อย่างใด

ข้ อ ๔๕ คาถาม นายเอกเป็ นเจ้าของบ้านเลขที่ ๑ ที่ปลูกอยูบ่ นที่


ราชพัสดุ ซ่ ึ งเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของกระทรวงการคลังโดยอาศัยสัญญาเช่ า
ที่ดิน ต่อมาเดือนมกราคม ๒๕๔๔ การค้าไม่ดีนายเอกไม่มีเงิน นายเอก
จึงขายบ้านดังกล่าวพร้อมที่ดินให้แก่นายโทราคา ๕๐๐,๐๐๐ บาท ชาระ
เงิ นเรี ยบร้ อยแล้วโดยทาหนังสื อสัญญากันเอง และนายเอกได้ขอเช่ า
บ้า นจากนายโทเดื อ นละ ๒๐,๐๐๐ บาท โดยท าสั ญ ญาเช่ า ไว้เ ป็ น
หนังสื อ นายเอกชาระค่าเช่าเรื่ อยมา ต่อมาการค้าแย่ลงอีก นายเอกจึงไม่
จ่ายค่าเช่าให้แก่นายโทตั้งแต่เดือนมกราคม ๒๕๔๘ เมื่อนายโทไปทวง
นายเอกก็ผดั ผ่อนโดยอ้างว่าไม่มีเงินจ่ายจนค้างค่าเช่ าเป็ นเวลา ๕ เดือน
ต่อมาวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘ ขณะที่นายโทไปทวงค่าเช่า นายเอกอ้าง
ว่าบ้านเลขที่ ๑ เป็ นของตนจะไม่จ่ายค่าเช่าแล้ว นายโทก็เพียรพยายาม
ไปทวงค่าเช่าจากนายเอก แต่ก็ได้รับคาตอบเช่นเดิมว่าไม่จ่ายเพราะบ้าน
เป็ นของนายเอก นายโทจึงฟ้ องศาลเมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๙
ให้วินิจฉัยว่า นายโทจะฟ้ องขอให้ขบั ไล่นายเอกและให้นาย
เอกส่ งมอบการครอบครองบ้านพร้อมที่ดินให้ตนได้หรื อไม่
ข้ อ ๔๕ คาตอบ นายเอกขายบ้า นพร้ อมที่ดินให้นายโทราคา
๕๐๐,๐๐๐ บาท ช าระเงิ นเรี ยบร้ อยแล้วโดยทาหนังสื อสั ญญากันเอง
เป็ นสั ญญาซื้อขายอสั งหาริ มทรั พย์ เมื่อไม่ ได้ จดทะเบียนต่ อพนักงาน
302

เจ้ าหน้ าที่ จึงตกเป็ นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์มาตรา


๔๕๖ วรรคหนึ่ง แต่บา้ นดังกล่าวปลูกสร้างอยูบ่ นที่ดินราชพัสดุ ซึ่ งเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ ของกระทรวงการคลัง นายเอกจึงเป็ นเพียงผู้ครอบครองบ้ าน
พร้ อมที่ดินเท่ านั้น เมื่อนายเอกทาสัญญาขายบ้านพร้อมที่ดินให้แก่นาย
โท โดยรับค่าตอบแทนและทาสัญญาเช่ าบ้านจากนายโท จึงฟั งได้ ว่า
นายเอกสละการครอบครองที่ ดิ น และบ้ า นดั ง กล่ า วโดยโอนการ
ครอบครองให้ แก่ นายโทไปแล้ ว ตามมาตรา ๑๓๗๗ และมาตรา ๑๓๗๘
ทั้งการที่นายเอกยอมรับสิ ทธิ ของนายโทโดยทาสัญญาเช่ากับนายโทไว้
นั้น เป็ นการแสดงให้ เห็นว่ านายเอกยึดถือบ้ านพร้ อมที่ดินแทนนายโท
นายโทจึงเป็ นผู้มีสิทธิครอบครองบ้ านพร้ อมที่ดินโดยมีนายเอกยึดถือ
ไว้ให้ ตามมาตรา ๑๓๖๘ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๐๒/๒๕๔๘)
เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘ ขณะที่นายโทไปทวงค่าเช่า นาย
เอกอ้ า งว่ า บ้ า นเลขที่ ๑ เป็ นของตน เป็ นการบอกกล่ าวไปยั ง
ผู้ครอบครองว่ าไม่ เจตนาจะยึดถือทรั พย์ สินแทนผู้ครอบครองอีกต่ อไป
ถือว่ านายเอกเปลี่ยนลักษณะแห่ งการยึดถือแล้ ว ตามมาตรา ๑๓๘๑ ถือ
ว่านายเอกได้ แย่งการครอบครองจากนายโทในวันดังกล่ าวแล้ ว เมื่อนาย
โทมีเพียงสิ ทธิครอบครองบ้ านพร้ อมที่ดิน นายโทจึงต้ องฟ้องเรี ยกเอา
คืนซึ่งการครอบครองภายในหนึ่งปี ตามมาตรา ๑๓๗๕ นายโทฟ้ องศาล
เมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ซึ่ งเกิ น ๑ ปี ตามมาตรา ๑๓๗๕ แล้ว
นายโทจึงไม่ มีอานาจฟ้องขอให้ ขับไล่นายเอกและให้ นายเอกส่ งมอบการ
ครอบครองบ้ านพร้ อมทีด่ ินให้ ตน
ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนีผ้ ้ แู ต่ บนำคำพิพำกษำฎีกำที่ ๔๐๒/๒๕๔๘ มำแต่ บ
303

เป็ นคำถำม โดยเพิ่มเติมข้ อเท็ะะริ บเรื่ อบแย่ บกำรครอบครอบขึน้ มำ ซึ่ บผล


ะวตรบกดนข้ ำมกดบคำพิ พำกษำฎีกำ เพรำวข้ อเท็ะะริ บเพิ่ มขึน้ มำ แต่ กำร
ัิ นิะฉด ยก็ต้อบัิ นิะฉด ยตำมคำพิ พำกษำฎี กำมำก่ อน แล้ ัะึ บัิ นิะฉด ยตำม
ข้ อเท็ะะริ บที่เพิ่มขึน้ มำ หำกใครอ่ ำนคำพิพำกษำฎีกำแบบท่ อบะำเพื่อไป
สอบโดยไม่ ัิเครำวห์ ให้ ดี ถ้ ำเะอคำถำมแบบนี ค้ บต้ อบอ่ ำนหนดบสื อกดน
ใหม่
หำกนำยโทเรี ยกค่ ำเช่ ำตด้บแต่ เดือนมกรำคมถึบเดือนพฤษภำคม
๒๕๔๘ มำด้ ัย นำยเอกต้ อบะ่ ำ ยค่ ำ เช่ ำ ช่ ับเัลำนี ้ เพรำวนำยโทยดบมี
สิ ท ธิ ค รอบครอบ ก็ ยด บ ให้ เช่ ำได้ แ ลวมี สิ ท ธิ เ รี ยกค่ ำเช่ ำ ส่ ันค่ ำ เช่ ำ
หลดบะำกหมดสิ ทธิ เรี ยกคื นกำรครอบครอบไปแล้ ั คื อค่ ำเช่ ำตด้บแต่ ัดนที่
๑ มิถุนำยน ๒๕๔๙ คบเรี ยกค่ ำเช่ ำไม่ ได้ แล้ ั เพรำวหมดสิ ทธิ เรี ยกคื น
กำรครอบครอบไปแล้ ั ก็เรี ยกค่ ำเช่ ำไม่ ได้ แต่ ค่ำเช่ ำตด้บแต่ ัดนที่ แย่ บกำร
ครอบครอบะนครบ ๑ ปี ะวเรี ยกได้ หรื อไม่ ขณวนี ย้ ดบไม่ มีคำพิ พำกษำ
ฎีกำตดดสิ นไั้ แต่ ผ้ ูแต่ บเห็นั่ ำไม่ น่ำะวเรี ยกได้ เพรำวสิ ทธิ ครอบครอบ
ขอบผู้ถูกแย่ บกำรครอบครอบหมดไปทดนที ที่ถูกแย่ บ เพรำวเมื่ อถูกแย่ บ
แล้ ัก็ไม่ ได้ ยึดถือทรด พย์ ซึ่ บขำดอบค์ ปรวกอบขอบสิ ทธิ ครอบครอบใน
เรื่ อบกำรยึดถือทรด พย์ ะึ บหมดสิ ทธิ ครอบครอบแล้ ั เพี ยบแต่ มีสิทธิ ฟ้อบ
เรี ยกคื นกำรครอบครอบภำยใน ๑ ปี เท่ ำนด้น เมื่อไม่ ได้ ฟ้อบเรี ยกคื นกำร
ครอบครอบ ะึบไม่ มีสิทธิ ฟ้อบเรี ยกค่ ำเช่ ำด้ ัย ปด ญหำนีค้ บต้ อบรอฟด บั่ ำถ้ ำ
มีคดีเกิดขึน้ ศำลฎีกำะวตดดสิ นอย่ ำบไร
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๐๒/๒๕๔๘ ฎ.๑๙๖ หนังสื อสัญญาซื้ อขาย
ที่ ดิ น แ ล ะ บ้ า น ร ะ ห ว่ า ง โ จ ท ก์ กั บ จ า เ ล ย เ ป็ น สั ญ ญ า ซื้ อ ข า ย
304

อสังหาริ มทรัพย์ เมื่อไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ จึงตกเป็ น


โมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์มาตรา ๔๕๖ วรรคหนึ่ ง
แต่บา้ นดังกล่าวปลูกสร้ างอยู่บนที่ ดินราชพัสดุ ซึ่ งเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ
กระทรวงการคลัง ฉะนั้น จาเลยจึงเป็ นเพียงผูค้ รอบครองที่ดินและบ้าน
ที่ปลู กสร้ างอยู่เท่านั้น เมื่ อจาเลยทาสัญญาขายที่ ดินและบ้านดังกล่ าว
ให้แก่โจทก์ และส่ งมอบการครอบครองที่ดินและบ้านให้แก่โจทก์โดย
รับค่าตอบแทนจากโจทก์ไป จึงฟังได้วา่ จาเลยสละการครอบครองที่ดิน
และบ้า นดัง กล่ า วโดยโอนการครอบครองให้ แ ก่ โ จทก์ ไ ปแล้ว ตาม
มาตรา ๑๓๗๗ และมาตรา ๑๓๗๘ ทั้งจาเลยยังยอมรับสิ ทธิ ของโจทก์
โดยท าสั ญ ญาเช่ า กับ โจทก์ ไ ว้ เป็ นการแสดงให้ เ ห็ น ว่า จ าเลยยึ ด ถื อ
ครอบครองที่ดินและบ้านแทนโจทก์ เมื่อจาเลยผิดสัญญาเช่าและโจทก์
ไม่ประสงค์จะให้จาเลยอยูใ่ นที่ดินและบ้านอีกต่อไป โจทก์จึงมีอานาจ
ฟ้ องขับไล่จาเลย
ข้ อสั งเกต แม้ สดญญำซื ้อขำยะวเป็ นโมฆว กรรมสิ ทธิ์ ในทรด พย์ สินไม่ ตก
เป็ นขอบโะทก์ แต่ สิทธิ ครอบครอบไม่ มีกฎหมำยกำหนดแบบไั้ เป็ น
เรื่ อบที่ บุ ค คลผู้ ยึ ด ถื อ ทรด พย์ สิ นแลวยึ ด ถื อ เพื่ อ ตน ย่ อมได้ สิ ทธิ
ครอบครอบตำมมำตรำ ๑๓๖๗ ซึ่ บศำลฎี กำได้ ตดดสิ นไั้ ชดดเะนั่ ำเป็ น
กรณี ที่โะทก์ มีสิทธิ ครอบครอบ โดยมีะำเลยเป็ นผู้ยึดถือแทน
305

ข้ อ ๔๖ ค าถาม นายนิ ติมี ที่ดินซึ่ ง ยัง ไม่ มี น.ส. ๓ แปลงหนึ่ ง


นายนิ ติได้ให้นายเกิ ดอาศัยอยู่ในที่ดินดังกล่าว ต่อมานายเกิ ดได้ไปขอ
ออก น.ส. ๓ สาหรับที่ดินแปลงนี้ นายนิ ติทราบเรื่ องจึงไปคัดค้านต่อ
นายอาเภอ เมื่อนายเกิ ดไปอาเภอนายอาเภอได้แจ้งการคัดค้านของนาย
นิ ติให้นายเกิ ดทราบและยังไม่ดาเนิ นการออก น.ส. ๓ ให้ โดยให้ไป
ฟ้ องให้ศาลชี้ขาดเสี ยก่อน แต่นายเกิดมิได้ฟ้องนายนิ ติอย่างใด คงอาศัย
อยูใ่ นที่ดินนั้นมาอีก ๑ ปี เศษ แล้วก็ไปขอออก น.ส. ๓ อีกครั้งหนึ่ ง ครั้ง
นี้นายนิติมิได้คดั ค้าน ทางอาเภอจึงออก น.ส. ๓ ให้ เมื่อได้ น.ส. ๓ แล้ว
นายเกิ ดได้ขายที่ดินนั้นให้นายใหม่โดยจดทะเบียนการซื้ อขายถูกต้อง
นายใหม่รับโอนที่ ดินมาเพียง ๖ เดื อน นายนิ ติก็ฟ้องเรี ยกที่ ดินนั้นคื น
จากนายใหม่ นายใหม่ต่อสู ้วา่ ตนซื้ อจากนายเกิดผูเ้ ป็ นเจ้าของที่ดินโดย
ถูกต้อง ตนจึงเป็ นเจ้าของที่ดินนั้น
ให้ วินิ จฉัย ว่า ข้อ ต่ อสู ้ ข องนายใหม่ รั บ ฟั ง ได้หรื อไม่ เพี ย งใด
(ข้อสอบเนติบณั ฑิต สมัยที่ ๓๙ ปี การศึกษา ๒๕๒๙)
ข้ อ ๔๖ คาตอบ นายนิ ติให้นายเกิ ดอาศัยอยู่ในที่ดิน ต้ องถือว่ า
นายนิติมีสิทธิครอบครองโดยนายเกิดยึดถือไว้ ให้ ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๘ นายเกิดจึงเป็ นเพียงผู้ยึดถือที่ดินนั้ น
แทนนายนิติ
นายเกิดจะได้ สิทธิครอบครองเป็ นเจ้ าของที่ดิน ก็โดยการบอก
กล่าวเปลีย่ นลักษณะแห่ งการยึดถือไปยังนายนิติตามมาตรา ๑๓๘๑ การ
ที่ น ายเกิ ด ขอออก น.ส. ๓ ส าหรั บ ที่ ดิ น แปลงนี้ แล้ว นายนิ ติ ไ ด้ไ ป
คัดค้านต่อนายอาเภอซึ่ งได้แจ้งให้นายเกิ ดทราบแล้วก็ตาม หาใช่ เป็ น
306

การบอกกล่ า วเปลี่ย นลัก ษณะแห่ งการยึด ถื อ ตามมาตรา ๑๓๘๑ ไม่


เพราะเป็ นการที่นายนิติบอกกล่ าวการคัดค้ านต่ อนายเกิด มิใช่ นายเกิด
บอกกล่ าวเปลี่ยนลักษณะแห่ งการยึดถือไปยังนายนิติ (คาพิพากษาฎีกา
ที่ ๑๐๕๔/๒๕๑๙) ดังนั้น แม้นายเกิ ดจะครอบครองที่ ดินนั้นต่อมาช้า
นานเพี ย งใด หรื อไปขอออก น.ส. ๓ ใหม่ ก็มิ ใ ช่ เ ป็ นการบอกกล่ า ว
เปลี่ยนลักษณะแห่ งการยึดถื อ ต้ องถือว่ านายเกิดยึดถือที่ดิ นนั้นแทน
นายนิติตลอดมา เมื่อนายเกิดขายที่ดินนั้นให้นายใหม่ แม้จะจดทะเบียน
การซื้ อขายถูกต้อง นายใหม่ ก็คงได้ สิทธิในที่ดินนั้นเพียงเท่ าที่นายเกิดมี
อยู่เท่ านั้น คือในฐานะผู้ยึดถือที่ดินไว้ แทนนายนิติ เพราะผู้รับโอนย่ อม
ไม่ มีสิทธิดีกว่ าผู้โอน (คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๘๓/๒๕๐๗) ดังนั้น ข้อต่อสู ้
ของนายใหม่ฟังไม่ข้ ึน นายนิติฟ้องเรี ยกที่ดินคืนได้
ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนี ้ เป็ นกรณี ผ้ ยู ึดถือแทนไปขอออกโฉนดหรื อ น.ส.
๓ ผู้ยึดถือแทนไม่ ได้ เปลี่ยนลดกษณวแห่ บกำรยึดถือ โดยบอกกล่ ำัไปยดบ
ผู้ครอบครอบั่ ำไม่ เะตนำะวยึดถือทรด พย์ สินแทนผู้ครอบครอบต่ อไป
แต่ ถ้ำกรณี ผ้ ูมีสิทธิ ครอบครอบไปขอออกโฉนดหรื อ น.ส. ๓
แล้ ัผู้ยึดถือแทนไปคดดค้ ำน ถือั่ ำ ผู้ยึดถือแทนเปลี่ยนลดกษณวแห่ บกำร
ยึดถือแล้ ั (คำพิพำกษำฎีกำที่ ๕๖๐๗/๒๕๔๕, ที่ ๑๒๔๘๗/๒๕๔๗)
ขอให้ เปรี ยบเทียบแลวพิะำรณำข้ อแตกต่ ำบให้ ดี
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๖๐๗/๒๕๔๕ ฎ.ส.ล.๙ น.๑๗๘ บ. บิดา
โจทก์ได้แบ่งที่ดินให้ ว. มารดาจาเลยเข้าอยูอ่ าศัย และการที่ ว. ได้ยื่นคา
คัดค้านต่อเจ้าพนักงานที่ดินภายหลังจาก บ. ได้ขอรังวัดที่ดินเพื่อออก
โฉนด ว่า ที่ ดินพิพาทไม่ใช่ ที่ดินของ บ. ผูข้ อออกโฉนด แต่เป็ นที่ ดิน
307

ของ ว. ได้ครอบครองมาเป็ นเวลากว่า ๓๐ ปี แล้ว การคัดค้านของ ว.


เป็ นการโต้แย้งสิ ทธิ ซ่ ึ งถื อว่า บ. ได้ทราบแล้ว พฤติ การณ์ ของ ว. เป็ น
การเปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือว่าไม่มีเจตนาจะยึดถือที่พิพาทแทน บ.
ต่อไปอีก และ ว. ได้ถือสิ ทธิ ครอบครองที่พิพาทเพื่อตนเองตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๘๑ ต่อมา บ. ได้ถึงแก่กรรม โจทก์ได้ขอเป็ นผูจ้ ดั การมรดก
และได้เข้าสวมสิ ทธิ การดาเนิ นการขอออกโฉนดที่ ดิน ว. กับพวกได้
คัด ค้า นการออกโฉนดที่ ดิ น แสดงให้ เ ห็ น ว่า ว. ซึ่ งในขณะนั้น เป็ น
ผูค้ รอบครองที่พิพาทตลอดมายืนยันว่าตนเองมีกรรมสิ ทธิ์ ในที่พิพาท
และในการที่ ว. ถอนค าคัดค้า น ก็ เนื่ องจากเจ้า พนักงานที่ ดินแจ้ง ให้
ทราบว่า ได้มี ป ระกาศส านัก งานที่ ดิ น หากไม่ ถ อนค าคัด ค้า นจะถู ก
ฟ้ องร้อง เมื่อ ว. ยังครอบครองที่พิพาทอยูแ่ ละได้คดั ค้านการรังวัดที่ดิน
เพื่อออกโฉนดของโจทก์ต่อไปอีกจึงเป็ นการโต้แย้งสิ ทธิ และเป็ นการที่
ว. เปลี่ ยนลักษณะแห่ งการยึดถื อเป็ นของตนตั้งแต่ได้ยื่นคาร้องคัดค้าน
แล้ว หลังจากนั้นปี ๒๕๓๑ ว. ยกที่พิพาทให้จาเลยและจาเลยได้ร้อง
คัดค้านการออกโฉนดที่ดินของโจทก์ การที่โจทก์นาคดีมาฟ้ องเรี ยกคืน
การครอบครองที่ พิ พ าทเกิ น กว่า ๑ ปี นับ แต่ ว นั ที่ โ จทก์ ถู ก แย่ง การ
ครอบครอง โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ องตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๕ วรรค
สอง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๔๘๗/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๒๘๐ ที่ดิน
ของจาเลยและที่ดินของมารดาและยายจาเลยตั้งอยู่ในละแวกเดี ยวกัน
เป็ นแปลงใหญ่ จาเลยทราบดีวา่ ท.ยายจาเลยขายฝากที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ น
ที่ดินส่ วนหนึ่ งของที่ดินแปลงใหญ่และเป็ นที่ดินที่จาเลยได้ครอบครอง
308

ท ากิ นอยู่ด้วยไว้แก่ โ จทก์ แต่ จาเลยคงท ากิ นอยู่ใ นที่ ดินพิ พ าทต่ อมา
ภายหลังจาเลยทราบด้วยว่า ท.ไม่ไถ่คืน กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทจึงตก
เป็ นของโจทก์ จาเลยก็ยงั ทากินอยู่ในที่ดินพิพาทตลอดมา จึงต้องถือว่า
จาเลยครอบครองที่ ดินพิ พ าทแทนโจทก์ ตราบใดที่ จาเลยมิ ไ ด้แสดง
เจตนาเปลี่ ย นแปลงการยึดถื อ โดยบอกกล่ า วต่ อโจทก์ว่า จาเลยไม่ มี
เจตนาจะยึด ถื อ ที่ ดิ น พิ พ าทแทนโจทก์ อี ก ต่ อ ไป ดัง ที่ บ ญ
ั ญัติ ไ ว้ต าม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๑ ฐานะการครอบครองที่ดินพิพาทของจาเลยก็คง
มีตามเดิม ไม่อาจจะถือได้วา่ จาเลยครอบครองเพื่อตนอันจะเป็ นเหตุให้
จาเลยได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์ จนเมื่อ
โจทก์ น าเจ้า พนัก งานที่ ดิ น ไปรั ง วัด สอบเขตที่ ดิ น พิ พ าทและจ าเลย
คัดค้านการรังวัด อ้างว่าเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทเมื่อวันที่
๑๙ กั น ยายน ๒๕๓๗ จึ ง จะพอถื อ ได้ ว่ า จ าเลยได้ แ สดงเจตนา
เปลี่ยนแปลงการยึดถือที่ดินพิพาทนั้นแล้ว แต่เมื่อคานวณถึ งวันฟ้ องยัง
ไม่ครบ ๑๐ ปี จาเลยจึงยังไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินพิพาทตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๘๒
309

ข้ อ ๔๗ คาถาม นายรุ่ งเป็ นเจ้าของที่นาซึ่ งมีหนังสื อรับรองการ


ทาประโยชน์ (น.ส. ๓) หนึ่งแปลง เมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ นายรุ่ ง
กูเ้ งิ นนายเรื องหนึ่ งแสนบาทและมอบที่ นาดังกล่าวพร้ อม น.ส. ๓ ให้
นายเรื องยึดถือไว้เป็ นประกันเงินกูแ้ ละทากินต่างดอกเบี้ย สัญญากูร้ ะบุ
ไว้วา่ ถ้าไม่นาเงิ นไปชาระหนี้ และไถ่ถอนที่นาคืนภายในหนึ่ งปี ก็ให้ที่
นาหลุ ดเป็ นสิ ทธิ แก่นายเรื อง เมื่อครบกาหนดหนึ่ งปี นายรุ่ งมิได้นาเงิ น
ไปชาระหนี้ แต่กลับไปแจ้งแก่ พนักงานเจ้าหน้าที่ ว่า น.ส. ๓ ของตน
หายไปขอให้ออกใบแทนให้ พนักงานเจ้าหน้าที่หลงเชื่อจึงออกใบแทน
ให้ ต่อมาวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ นายรุ่ งนาใบแทน น.ส. ๓ ดังกล่าว
ไปจดทะเบี ยนโอนขายที่ นาแปลงนี้ ให้แก่ นายโรจน์เป็ นเงิ นสองแสน
บาท โดยนายโรจน์เข้าใจว่าที่นายังเป็ นของนายรุ่ งอยูท่ ้ งั ได้ชาระเงินแก่
นายรุ่ งครบถ้วนและจดทะเบียนโดยสุ จริ ตแล้ว
ให้วนิ ิจฉัยว่า นายเรื องหรื อนายโรจน์มีสิทธิ ในที่นาพิพาท
ดีกว่ากัน
ข้ อ ๔๗ คาตอบ ที่นาพิพาทเป็ นที่ดินมีหนังสื อรับรองการทา
ประโยชน์ (น.ส. ๓) จึงเป็ นที่ดินที่เจ้ าของมีแต่ เพียงสิ ทธิครอบครอง
การที่นายรุ่ งกูเ้ งินนายเรื องและมอบที่นาดังกล่าวพร้อม น.ส. ๓ ให้นาย
เรื องยึดถื อไว้เป็ นประกันเงิ นกู้และท ากิ นต่า งดอกเบี้ ย นายรุ่ งมีสิ ทธิ
ครอบครองที่ น าอย่ า งเป็ นเจ้ า ของโดยมี น ายเรื อ งยึ ด ถื อ ไว้ ใ ห้ ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๘
ในสัญญากูร้ ะบุไว้วา่ ถ้าไม่นาเงินไปชาระหนี้ และไถ่ถอนที่นา
คืนภายในหนึ่งปี ก็ให้ที่นาหลุดเป็ นสิ ทธิ แก่นายเรื องนั้น เป็ นข้ อความที่
310

แสดงการสละเจตนาครอบครองไว้ ล่ว งหน้ า ถ้ า นายรุ่ ง ไม่ ช าระหนี้


ภายในเวลาที่กาหนด ฉะนั้น เมื่อครบกาหนดหนึ่ งปี นายรุ่ งมิได้นาเงิ น
ไปชาระหนี้ ให้แก่ นายเรื อง ต้ องถือว่ านายรุ่ งผู้ครอบครองสละเจตนา
ครอบครอง สิ ท ธิ ค รอบครองของนายรุ่ ง ย่ อ มสุ ด สิ้ น ลงตามมาตรา
๑๓๗๗ วรรคหนึ่ง การที่นายเรื องยึดถือที่นาไว้ทากินหลังจากนั้น ต้ อง
ถือว่ านายเรื องยึดถือที่นาเพื่อตนอย่ างเป็ นเจ้ าของ นายเรื องจึงมีสิทธิ
ครอบครองทีน่ าอย่างเป็ นเจ้ าของตามมาตรา ๑๓๖๗
นายรุ่ งไม่ใช่ ผมู ้ ี สิทธิ ครอบครองที่ นาที่ซ้ื อขาย เพราะที่นาตก
เป็ นของนายเรื องดังที่วนิ ิจฉัยมาแล้ว แม้นายรุ่ งจดทะเบียนโอนขายที่นา
แปลงนี้ ให้แก่นายโรจน์ แต่ เมื่อนายรุ่ งหมดสิ ทธิ ครอบครองที่ดินแล้ ว
จึงไม่ มีสิทธิขายทีด่ ินให้ แก่ นายโรจน์ แม้ การซื้อขายระหว่ างนายรุ่ งและ
นายโรจน์ จะทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่โดย
นายโรจน์ สุจริต ก็ไม่ ทาให้ นายโรจน์ ได้ สิทธิครอบครองในที่ดินดังกล่ าว
แต่ อย่ างใด เพราะผู้รับโอนย่ อมไม่ มีสิทธิดีกว่ าผู้โอน (เทียบคาพิพากษา
ฎีกาที่ ๑๔๗๓๗/๒๕๕๑) นายเรื องจึงมีสิทธิในที่นาพิพาทดีกว่ านาย
โรจน์
ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนี ห้ ำกเปลี่ยนข้ อเท็ะะริ บเป็ นกำรกู้เบินโดยสด ญญำกู้
ไม่ ได้ รวบุข้อคัำมสลวเะตนำครอบครอบไั้ ล่ับหน้ ำ ผลคดี ะวเปลี่ ยน
เป็ นนำยโระน์ มีสิทธิ ในที่ นำ เมื่อซื ้อที่ ดินะำกผู้มีสิทธิ ครอบครอบ ผู้ซื้อ
ย่ อมได้ สิ ท ธิ ค รอบครอบ โดยไม่ ต้อบัิ นิะฉด ย เรื่ อบผู้รดบโอนไม่ มี สิ ทธิ
ดีกั่ ำผู้โอน เพรำวนำยเรื อบยดบเป็ นผู้ยึดถือแทนต่ อไป แม้ ะวครบกำหนด
ชำรวเบิ นกู้แล้ ัไม่ ชำรว เนื่ อบะำกไม่ มีกำรบอกกล่ ำัเปลี่ ยนเะตนำแห่ บ
311

กำรยึดถือตำมมำตรำ ๑๓๘๑ ขอให้ ดูคำถำมนีเ้ ปรี ยบเที ยบกดบคำถำมข้ อ


๔๖ แลวคำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๐๙๓/๒๕๕๑ ั่ ำข้ อเท็ะะริ บต่ ำบกดนเล็กน้ อย
แต่ ผลตำมกฎหมำยตรบกดนข้ ำมกดน
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๗๓๗/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๒ น. ๒๘๕ แม้
ในหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) จะมี ชื่อ อ. เป็ นผูถ้ ื อ
สิ ทธิ ครอบครอง แต่การที่ อ. ขายที่ดินพิพาทให้แก่ ล. และได้มอบการ
ครอบครองให้แก่ ล. ถือเป็ นการสละการครอบครองที่ดินพิพาทให้แก่
ล. ตั้งแต่ปี ๒๕๓๐ แล้ว อ. จึงหมดสิ ทธิ ครอบครองในที่ดินพิพาทตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๘ และเมื่อ ล. ขายและมอบการครอบครองที่ดิน
พิพ าทให้แก่ จาเลยที่ ๑ แล้ว จาเลยที่ ๑ เข้า ไปไถและถมดิ นในที่ ดิน
พิ พ าทตั้ง แต่ ปี ๒๕๓๖ จึ ง เป็ นการเข้า ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทโดยมี
เจตนาที่จะยึดถื อเพื่อตน จาเลยที่ ๑ จึง มีสิทธิ ครอบครองที่ดินพิพาท
ตามมาตรา ๑๓๖๗ ดังนั้น เมื่อ อ. หมดสิ ทธิ ครอบครองที่ดินพิพาทแล้ว
จึ ง ไม่ มี สิ ท ธิ ที่ จ ะขายฝากที่ ดิน ดัง กล่ า วให้ แ ก่ โจทก์ แม้ก ารขายฝาก
ระหว่างโจทก์ กับ อ. จะท าเป็ นหนังสื อและจดทะเบี ย นต่อพนัก งาน
เจ้าหน้าที่ ก็ไม่ทาให้โจทก์ได้สิทธิ ครอบครองในที่ดินดังกล่าวแต่อย่าง
ใด

ข้ อ ๔๘ คาถาม นายหนึ่งนาที่ดินแปลงแรกที่มี น.ส. ๓ ขายฝาก


ให้แก่นายสองโดยทาสัญญากันเองในราคา ๒๐๐,๐๐๐ บาท โดยนาย
หนึ่ งส่ งมอบที่ ดินดังกล่ าวให้แก่ นายสองไป เมื่ อครบกาหนดไถ่ นาย
หนึ่งไม่นาเงินไปชาระนายสองก็ทากินในที่ดินต่อไป ต่อมานายสองนา
312

ที่ดินดังกล่าวไปขายให้แก่นายสามโดยส่ งมอบการครอบครองให้นาย
สามไปและชาระเงิ นครบถ้วนแล้ว โดยนายสามเข้าใจว่านายสองเป็ น
เจ้าของที่ครอบครองที่ดิน
นายหนึ่ ง น าที่ ดินแปลงหลัง ที่ มี น.ส.๓ จดทะเบี ย นขายฝาก
ให้แก่นายสี่ ๔๐๐,๐๐๐ บาท โดยกาหนดสิ นไถ่ ๔๑๐,๐๐๐ บาท ภายใน
๑ ปี นายสี่ ยินยอมให้นายหนึ่ งทากิ นในที่ดินต่อไปได้ เมื่อครบกาหนด
ไถ่ นายหนึ่ งไม่ได้ไถ่ที่ดินแปลงหลังเพราะคิดว่าอย่างไรเสี ยตนก็ยงั ทา
กินในที่ดินอยู่
หลัง ครบกาหนดไถ่ เกิ น ๑ ปี แล้ว นายหนึ่ ง ถู ก สลากกิ นแบ่ ง
รัฐบาล ต้องการที่ดินคืนจึงเสนอจ่ายเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยทั้งหมดให้แก่
นายสามและเรี ยกที่ดินแปลงแรกคืนจากนายสาม และจะจ่ายเงินสิ นไถ่
ให้แก่นายสี่ นายสามไม่ยอมคืนที่ดิน และนายสี่ ไม่ยอมให้ไถ่และฟ้ อง
ขับไล่นายหนึ่ง
ให้วินิจฉัยว่า ๑. นายหนึ่ งฟ้ องเรี ยกที่ดินแปลงแรกคืนจากนาย
สามได้หรื อไม่
๒. นายสี่ ฟ้ องขับ ไล่ น ายหนึ่ งออกจากที่ ดิ น แปลงหลัง ได้
หรื อไม่
ข้ อ ๔๘ คาตอบ ๑. สัญญาขายฝากที่ดินแปลงแรกระหว่างนาย
หนึ่ งและนายสองไม่ ได้ จดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ สั ญญาขาย
ฝากดั งกล่ า วจึ งตกเป็ นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์
มาตรา ๔๙๑ ประกอบมาตรา ๔๕๖ ถือเสมือนว่ ามิได้ มีนิติกรรมการ
ขายฝากเกิดขึน้ เลย เมื่อสัญญาขายฝากนี้ เป็ นโมฆะแล้ว นายสองจะอ้ าง
313

สิ ทธิการได้ มาโดยการครอบครองโดยนิติกรรมการขายฝากนั้นไม่ ได้


และจะอ้ างว่ าผู้ขายฝากสละการครอบครองให้ ก็ไม่ ได้ เพราะการขาย
ฝากมิใช่ ว่าผู้ขายฝากสละเจตนาครอบครองโดยเด็ดขาดให้ แก่ ผ้ ูซื้อฝาก
แต่ ผ้ ขู ายฝากมอบทีด่ ินโดยมีเงื่อนไขว่ าวันหลังจะเอาคืน ฉะนั้น แม้นาย
สองครอบครองที่ดินพิพาทหลังจากครบกาหนดไถ่ก็ตาม แต่ ก็เป็ นการ
ครอบครองโดยอาศัยอานาจของนายหนึ่งเท่ านั้น ต้ องถือว่ านายหนึ่งมี
สิ ทธิครอบครองโดยนายสองยึดถือที่ดินแปลงแรกไว้ ให้ นายสามซึ่ ง
เป็ นผู้ รับ โอนที่ดิ นแปลงแรกจากนายสองผู้ ยึดถื อ แทนย่ อ มไม่ มี สิ ทธิ
ดีกว่ านายสองผู้โอน ไม่ ว่านายสามจะรั บโอนโดยสุ จริ ตหรื อไม่ ก็ตาม
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๐๙๓/๒๕๕๑) นายหนึ่งจึงฟ้องเรี ยกที่ดินแปลง
แรกคืนจากนายสามได้
๒. นายหนึ่งนาที่ดินแปลงหลังจดทะเบียนขายฝากให้แก่นายสี่
แล้วนายหนึ่งไม่ได้ไถ่คืนภายในกาหนด สิ ทธิครองครองในที่ดินพิพาท
จึงตกเป็ นของสี่ แม้นายหนึ่งครอบครองที่ดินแปลงหลังเนื่องจากนายสี่
ยิ น ยอมให้ น ายหนึ่ งท ากิ น ต่ อ มาเป็ นเวลานานเพี ย งใด ก็ เ ป็ นการ
ครอบครองแทนและโดยอาศั ย สิ ท ธิ ข องนายสี่ นายหนึ่ ง หาได้ สิ ท ธิ
ครอบครองในที่ ดิ น พิ พ าทไม่ เมื่ อ นายหนึ่ ง ไม่ ไ ด้ บ อกกล่ า วเปลี่ย น
ลักษณะแห่ งการยึดถือไปยังนายสี่ ว่านายหนึ่งไม่ เจตนาจะยึดถือที่ดิน
แปลงหลังแทนตามมาตรา ๑๓๘๑ แม้จะยึดถือที่ดินแปลงหลังเมื่ อพ้น
กาหนดไถ่ จนเกิ น ๑ ปี นายหนึ่งก็ไม่ ได้ สิทธิครอบครอง (คาพิพากษา
ฎี ก าที่ ๓๓๑๕/๒๕๕๒) เมื่ อ นายสี่ เป็ นผู้ มี สิ ทธิ ค รอบครองต้ อ งการ
ทีด่ ินคืนจากนายหนึ่งผู้ยดึ ถือแทน นายสี่ จึงฟ้องขับไล่ นายหนึ่งออกจาก
314

ทีด่ ินแปลงหลังได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๐๙๓/๒๕๕๑ ฎ. ๒๒๖๐ โจทก์ร่วมทั้งสอง
กับจาเลยทาสัญญาขายฝากที่พิพาทโดยไม่ได้จดทะเบี ยนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่ ตกเป็ นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา
๔๙๑ ประกอบมาตรา ๔๕๖ ถื อเสมื อนว่ามิ ได้มีนิติกรรมการขายฝาก
เกิ ด ขึ้ นเลย โจทก์ ร่ วมทั้ ง สองย่ อ มจะอ้ า งสิ ทธิ ก ารได้ ม าซึ่ งการ
ครอบครองโดยนิ ติกรรมการขายฝากนั้นไม่ได้ เพราะการขายฝากมิใช่
ว่าผูข้ ายฝากสละเจตนาครอบครองโดยเด็ดขาดให้แก่ผซู ้ ้ื อฝาก แต่ผขู ้ าย
ฝากมอบที่ดินโดยมีเงื่อนไขว่าวันหลังจะเอาคืน การที่โจทก์ร่วมทั้งสอง
ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทหลัง จากครบก าหนดการไถ่ ถ อน เป็ นการ
ครอบครองโดยอาศัยอานาจของจาเลยเพื่อทาการตัดไม้โกงกางไปเป็ น
ประโยชน์ เ ท่ า นั้น โจทก์ ร่ วมทั้ง สองจึ ง ไม่ ไ ด้สิ ท ธิ ค รอบครองที่ ดิ น
พิพาท
ข้ อสั งเกต เมื่ อกำรทำสด ญญำขำยฝำกไม่ เป็ นกำรโอนสิ ทธิ ครอบครอบ
ตำมมำตรำ ๑๓๗๘ ะำเลยะึ บเป็ นผู้มีสิทธิ ครอบครอบโดยโะทก์ ร่ัมเป็ น
ผู้ยึ ดถื อแทนตำมมำตรำ ๑๓๖๘ หำกโะทก์ ร่ัมต้ อบกำรเป็ นผู้มี สิ ทธิ
ครอบครอบ โะทก์ ร่ัมต้ อบเปลี่ ยนลดกษณวแห่ บกำรยึดถือด้ ัยกำรบอก
กล่ ำัไปยดบะำเลยตำมมำตรำ ๑๓๘๑ เมื่อะำเลยได้ รดบคำบอกกล่ ำัแล้ ั
ไม่ ฟ้อบคดี ภำยใน ๑ ปี ก็ะวหมดสิ ทธิ ฟ้อบเรี ยกคื นซึ่ บกำรครอบครอบ
ตำมมำตรำ ๑๓๗๕
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๓๑๕/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๔ น. ๑๒๙ ค. บิดา
โจทก์จดทะเบี ย นขายฝากที่ ดินตามหนัง สื อรั บรองการท าประโยชน์
315

(น.ส. ๓) เลขที่ ๑๓๙ ซึ่ งรวมที่ดินพิพาทด้วยแก่ บ. ภริ ยาจาเลยแล้วไม่


ไถ่ คื น ภายในก าหนด สิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น พิ พ าทจึ ง ตกเป็ นของ บ. แม้ ค.
ครอบครองที่ดินพิพาทต่อมาเป็ นเวลานานเพียงใดก็เป็ นการครอบครอง
แทนและโดยอาศัยสิ ทธิของ บ. หาได้สิทธิ ครอบครองในที่ดินพิพาทไม่
และหลังจาก ค. ถึ งแก่ ความตาย โจทก์ได้เข้าครอบครองที่ ดินพิพาท
ต่อมาโดยสงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ เมื่อศาลชั้นต้นมี
คาสั่งตั้งโจทก์เป็ นผูจ้ ดั การมรดกของ ค. แล้ว โจทก์ในฐานะผูจ้ ดั การ
มรดกของ ค. จึ งไปไถ่ถอนจานองจากธนาคาร และโอนใส่ ชื่อโจทก์
เป็ นเจ้าของผูค้ รอบครอง การครอบครองและรับโอนที่ดินพิพาท เป็ น
การสื บสิ ทธิ ของ ค. โจทก์ยอ่ มไม่มีสิทธิ ดีกว่า ค. ทั้งไม่ปรากฏว่าโจทก์
ได้ บ อกกล่ า วเปลี่ ย นลั ก ษณะแห่ ง การยึ ด ถื อ ไปยัง บ. หรื อจ าเลย
ผูค้ รอบครองว่าโจทก์ไม่เจตนาจะยึดถื อที่ดินพิพาทแทนตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๘๑ แต่อย่างใด แม้โจทก์จะยึดถือครอบครองที่ดินพิพาทเป็ น
เวลานานเพียงใดก็ไม่ได้สิทธิ ครอบครอง

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๖๗


คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๑๘๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๙ น.๙๑ โจทก์ท้ งั ห้า
เป็ นฝ่ ายครอบครองโดยปลูกบ้านอาศัยอยูใ่ นที่ดินที่มี น.ส.๓ สิ ทธิ ตาม
กฎหมายของโจทก์ท้ งั ห้าซึ่ งมีอยู่เหนื อที่ ดินก็คือสิ ทธิ ครอบครองตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗ ตราบใดที่โจทก์ท้ งั ห้ายังยึดถื อที่ดินโดยเจตนา
จะยึดถื อเพื่อตนอยู่ โจทก์ท้ งั ห้าย่อมได้ไปซึ่ งสิ ทธิ ครอบครอง โดยไม่
จาต้องขอให้ ศ าลสั่ ง แสดงสิ ท ธิ เ พราะไม่ มี ก ฎหมายใดบัญ ญัติใ ห้ท า
316

เช่ นนั้น หากโจทก์ท้ งั ห้า ถู ก รบกวนหรื อถู ก แย่ง การครอบครองโดย


มิชอบด้วยกฎหมายก็มีสิทธิ ที่จะฟ้ องขอให้ปลดเปลื้องการรบกวนหรื อ
ฟ้ องเรี ยกคืนการครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๔ และ ๑๓๗๕ ได้ การที่
จาเลยมีชื่ อเป็ นเจ้า ของใน น.ส.๓ ส าหรั บ ที่ ดินก็ ดี เคยยื่นฟ้ องขับ ไล่
โจทก์ที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔ ออกจากที่ ดินก็ดี หรื อเคยยื่นเรื่ องของรั งวัด
เพื่อออกโฉนด สาหรับที่ดินก็ดีน้ นั ไม่ได้ทาให้สิทธิ ในการครอบครอง
ที่ ดิ น ของโจทก์ ท้ งั ห้ า ต้อ งถู ก กระทบกระเทื อ น เพราะมิ ไ ด้เ ป็ นการ
รบกวนการยึดถือหรื อแย่งการยึดถือที่ดินไปจากโจทก์ท้ งั ห้าแต่อย่างใด
ดังนั้น การกระทาของจาเลยตามที่โจทก์ท้ งั ห้าฟ้ องจึงไม่ใช่ การโต้แย้ง
สิ ทธิ ของโจทก์ท้ งั ห้าตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๕ อันจะทาให้โจทก์ท้ งั ห้า
มีอานาจฟ้ อง
ค าพิพ ากษาฎี ก าที่ ๔๙๙๓/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๖ น.๑๖๘ ที่ ดิ น
พิพาทซึ่ งเป็ นของรั ฐนั้น ราษฎรไม่อาจยกสิ ทธิ ใด ๆ ขึ้ นยันรั ฐได้ แต่
ระหว่างราษฎรด้วยกันเอง แต่ละฝ่ ายอาจยกสิ ทธิ ครอบครองขึ้นยันกัน
ได้ หากฝ่ ายใดยึด ถื อ ที่ ดิ น พิ พ าทไว้โ ดยเจตนาจะยึด ถื อ เพื่ อ ตนตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗ ฝ่ ายนั้นย่อมมี สิท ธิ ที่จะขัดขวางไม่ใ ห้อีก ฝ่ าย
หนึ่ ง หรื อ บุ ค คลภายนอกเข้า มารบกวนการครอบครองของตนตาม
มาตรา ๑๓๗๔ ได้ ซึ่ ง การยึดถื อที่จะได้สิ ท ธิ ค รอบครองตามมาตรา
๑๓๖๗ นั้น จะต้องเป็ นการเข้าไปยึดถื อครอบครองตามความเป็ นจริ ง
คือมีการอยู่อาศัยทาประโยชน์บนที่ดินที่ครอบครองพร้ อมแสดงอาณา
เขตแห่งการยึดถือครอบครองต่อบุคคลภายนอกอย่างชัดเจน หากจะให้
317

ผูอ้ ื่นยึดถื อแทน ผูย้ ึดถื อแทนก็ตอ้ งยึดถือครอบครองทรัพย์สินนั้นตาม


ความเป็ นจริ งด้วยเช่นเดียวกัน
การที่ โจทก์มี ภูมิ ล าเนาอยู่ก รุ ง เทพมหานคร ได้เดิ นทางไปดู
ที่ดินพิพาทเพียงปี ละ ๒ ถึง ๓ ครั้ง ส่ วน ธ. ผูร้ ับมอบอานาจโจทก์เข้า
ไปดูสามเดื อนบ้าง หกเดื อนบ้าง ในลักษณะไปกลับในวันเดี ยวกัน จึง
ถือไม่ได้วา่ ธ. ผูร้ ับมอบอานาจโจทก์ดูแลในลักษณะยึดถือครอบครอง
ที่ดินพิพาท โจทก์จึงไม่ใช่ผยู ้ ดึ ถือครอบครองที่ดินพิพาทไว้เพื่อตนตาม
ความเป็ นจริ ง ลาพังเพียงโจทก์ซ้ื อที่ดินพิพาทจากผูซ้ ่ ึ งอ้างว่ามีสิทธิ ทา
กิ น ไม่ ท าให้โจทก์ไ ด้สิ ท ธิ ค รอบครองตามกฎหมายแต่ อย่า งใด เมื่ อ
โจทก์ไม่มีสิทธิ ครอบครองเหนือที่ดินพิพาท โจทก์ยอ่ มไม่มีอานาจฟ้ อง
ขับไล่จาเลยและจาเลยร่ วมออกจากที่ดินพิพาท
คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๐/๒๕๔๕ ฎ.ส.ล.๑ น.๖๔ หลักฐานการเสี ย
ภาษี บ ารุ ง ท้อ งที่ ย งั ไม่ พ อฟั ง ว่ า ผู ้เ สี ย ภาษี เ ป็ นเจ้า ของหรื อ ผู ้มี สิ ท ธิ
ครอบครองที่ดินเสมอไป การเป็ นเจ้าของหรื อผูม้ ีสิทธิ ครอบครองที่ดิน
ต้อ งดู จ ากข้อ เท็ จ จริ งที่ ป รากฏ หากผู้เ สี ย ภาษี มิ ไ ด้ค รอบครองท า
ประโยชน์ในที่ ดินตามความเป็ นจริ งแล้ว ก็ไม่อาจมี สิทธิ ครอบครอง
ที่ดินได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๔๗๓/๒๕๕๓ (ประชุ มใหญ่) ฎ.ส.ล.๑๒
น.๑๕๙ การที่จาเลยที่ ๑ ขายที่ ดินให้แก่ ป. และมอบการครอบครอง
ที่ดินพิพาทให้โดยมิได้กลับเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับที่ดินอีก แสดงว่าจาเลยที่
๑ สละเจตนาครอบครองไม่ ยึดถื อที่ ดินพิ พ าทอี ก ต่ อไปตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๗๗ วรรคหนึ่ ง แล้ว แม้ ป. จะได้ซ้ื อ ที่ ดิ น และยึ ด ถื อ ท า
318

ประโยชน์ เ พื่ อ ตนในระยะเวลาห้ า มโอน ป. ไม่ ไ ด้สิ ท ธิ ค รอบครอง


เนื่ องจากถูกจากัดสิ ทธิ โดยบทบัญญัติแห่ ง ป. ที่ดิน มาตรา ๕๘ ทวิ แต่
เมื่ อ ป. และโจทก์ซ่ ึ งอยู่กิ นฉันสามี ภริ ย าได้ร่วมกันครอบครองที่ ดิน
ตลอดมาจนเลยเวลาห้ามโอนแล้ว ก็ยงั ครอบครองที่ดินอยู่ จึงถื อได้ว่า
ป. และโจทก์ยอ่ มได้สิทธิ ครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗ นับแต่
วันพ้นกาหนดระยะเวลาห้ามโอน จาเลยที่ ๑ จึงไม่มีสิทธิ ครอบครองใน
ที่ดินพิพาทและไม่อาจนาที่ดินพิพาทไปแบ่งแยกโอนให้แก่จาเลยที่ ๒
ถึ งที่ ๙ ได้ จาเลยที่ ๒ ถึ งที่ ๑๐ จึ งไม่มีสิทธิ เข้าไปในที่ ดินของโจทก์
และจาเลยที่ ๙ ไม่อาจนาที่ดินพิพาทบางส่ วนไปจดทะเบียนจานอง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๑๗/๒๕๕๑ ฎ. ๙๘๑ โจทก์เข้าไปทาสวน
ล าไยในที่ ดิ น พิ พ าทโดยอาศั ย สิ ทธิ ข อง น. โจทก์ จึ ง ไม่ มี สิ ทธิ
ครอบครองที่ดินพิพาท ส่ วนจาเลยที่ ๑ ซื้ อที่ดินพิพาทมาจาก น. และจด
ทะเบียนในหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) ต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่แล้ว ทั้ง น. ได้ส่งมอบการครอบครองที่ดินพิพาทให้แก่จาเลย
ที่ ๑ และจาเลยที่ ๑ ได้เข้ายึดถือครอบครองที่ดินพิพาทเพื่อตนเองแล้ว
โดยจ้า งให้ ค นดายหญ้า ปี ละ ๒ ครั้ ง จ าเลยที่ ๑ จึ ง เป็ นผู้มี สิ ทธิ
ครอบครองที่ดินพิพาท
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๑๔๒๘/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๒ น.๘๘ การที่
จาเลยรับฝากอาวุธปื น เหล็กพานท้ายปื น และด้ามปื นของกลางไว้จาก
ภ. เพื่อทาความสะอาด ถือได้วา่ จาเลยยึดถืออาวุธปื นไว้แทน ภ. เท่านั้น
ไม่ได้มีเจตนายึดถือเพื่อตนอันจะฟั งว่าจาเลยมีอาวุธปื นของกลางไว้ใน
ครอบครองตามความหมายแห่ ง พ.ร.บ. อาวุธปื นฯ มาตรา ๔ (๖) จาเลย
319

จึงไม่มีความผิดต่อ พ.ร.บ. อาวุธปื นฯ


ข้ อสั งเกต ผู้ ที่ ะวมี สิ ทธิ ครอบครอบตำมมำตรำ ๑๓๖๗ ต้ อบมี
อบค์ ปรวกอบคื อ ๑. มีกำรยึดถือ ๒. เะตนำยึดถือเพื่ อตน แนัคัำมคิ ด
ในเรื่ อบสิ ทธิ ครอบครอบมีมำตด้บแต่ สมดยโรมดน เดิ มผู้มีสิทธิ ครอบครอบ
ต้ อบ ๑ ยึดถือ ๒ เะตนำยึดถือเพื่อตนแบบเป็ นเะ้ ำขอบเท่ ำนด้น ดดบนด้น ตำม
คัำมคิ ดดด้บเดิมผู้รดบะำนำ แม้ ะวยึดถือทรด พย์ แต่ ก็ไม่ มีสิทธิ ครอบครอบ
ต่ อมำคัำมคิ ดเรื่ อบขอบสิ ทธิ ครอบครอบตำมข้ อ ๒ เะตนำยึดถือเพื่อตน
แบบเป็ นเะ้ ำขอบ เริ่ มะวผ่ อนคลำยลบโดยถือั่ ำผู้ทรบบุริมสิ ทธิ เช่ น ผู้รดบ
ะำนำก็เป็ นผู้ยึดถือโดยมีเะตนำยึดถือเพื่อตน ผู้รดบะำนำที่ ยึดถือทรด พย์ ไั้
ะึ บมี สิ ท ธิ ค รอบครอบในยุค ดดบ กล่ ำ ั ส่ ันผู้เช่ ำ หรื อผู้ยื ม แม้ ะวยึ ดถื อ
ทรด พย์ แต่ ก็ยดบไม่ มีสิทธิ ครอบครอบในยุคดดบกล่ ำั แลวต่ อมำก็ได้ มีกำร
ผ่ อนคลำยเรื่ อบกำรยึ ดถื อเพื่ อตนขยำยออกไปอี ก โดยให้ รัมถึ บผู้ที่มี
สิ ทธิ ใช้ ปรวโยชน์ ะำกทรด พย์ เช่ น ผู้เช่ ำ ผู้ยืม เป็ นผู้ยึดถื อโดยมี เะตนำ
เพื่ อตนที่ มีสิทธิ ครอบครอบได้ ซึ่ บกฎหมำยเรื่ อบสิ ทธิ ครอบครอบตำม
ปรวมัลกฎหมำยแพ่ บแลวพำณิ ชย์ ขอบเรำใช้ คำั่ ำ ยึดถื อเพื่ อตน ก็ใช้
หลดกนี ้ ก็คือยึ ดถื อเพื่ อตน ๒ ลดกษณวคื อ ๒.๑ ยึ ดถื อเพื่ อตนแบบเป็ น
เะ้ ำขอบ ๒.๒ ยึดถื อเพื่ อตนเพื่ อะวใช้ ปรวโยชน์ ะำกทรด พย์ ตำมสด ญญำ
เช่ น ผู้เช่ ำ ยึดถือเพื่อตนที่ะวได้ ใช้ ทรด พย์ ตำมสดญญำเช่ ำ
หำกยึดถือทรด พย์ แต่ ไม่ มีสิทธิ ใช้ ปรวโยชน์ เช่ น ผู้รดบฝำกที่ ไม่ มี
สิ ทธิ ใช้ ทรด พย์ แม้ ะวได้ ค่ำฝำก ก็ไม่ มีสิทธิ ครอบครอบ (อธิ บำยปรวมัล
กฎหมำยแพ่ บแลวพำณิ ชย์ กฎหมำยลดกษณวทรด พย์ ศำสตรำะำรย์ ม.ร.ั.
เสนีย์ ปรำโมช ๒๕๕๑ น.๔๗๒ ถึบ ๔๗๕)
320

คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๔๓๒/๒๕๔๕ ฎ.ส.ล.๘ น.๙๘ ที่ดินพิพาท


มี ส ภาพเป็ นที่ ดินที่ มีก ารปลู กต้นยูค าลิ ปตัสไว้เท่า นั้น ไม่มี ตน้ ไม้อื่น
หรื อสิ่ งปลูกสร้ างอยูใ่ นที่ดินพิพาท ดังนั้น จึงไม่มีความจาเป็ นอันใดที่
จาเลยและบริ วารจะต้องอยู่ครอบครองตลอดเวลา เมื่อทาการปลูกต้น
ยูคาลิ ปตัสเสร็ จแล้วก็ไม่จาเป็ นต้องมาเฝ้ าดู แล โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
เวลาที่ผแู ้ ทนโจทก์นาเจ้าพนักงานบังคับคดีไปที่ที่ดินพิพาทเพื่อบังคับ
คดี ตามรายงานที่เจ้าพนักงานบังคับคดีไม่พบจาเลยหรื อบุคคลใดอยูใ่ น
ที่ ดิ น พิ พ าท เจ้า พนัก งานบัง คับ คดี ค วรจะต้อ งสอบถามจ าเลย หรื อ
กระท าการอย่า งใด ๆ เพื่ อ ให้ไ ด้ข ้อเท็ จจริ ง ที่ ถู ก ต้องแน่ นอน การที่
เจ้า พนัก งานบัง คับ คดี รับ ฟั ง ค าแถลงของผูแ้ ทนโจทก์ ซึ่ ง แถลงตาม
ข้อ เท็ จ จริ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ชั่ว ขณะต่ อ หน้า แล้ว ด่ ว นชี้ ขาดว่ า ทรั พ ย์ที่ ต้อ ง
จัดการตามค าพิ พ ากษานั้นไม่มี ผูใ้ ดอยู่อาศัย จึ ง มอบการครอบครอง
ทรัพย์น้ นั ให้แก่โจทก์ในทันที ไม่ตอ้ งด้วยเจตนารมณ์ ของกฎหมาย ที่
มุ่งจะให้คาพิพากษาหรื อคาสั่งของศาลมีผลบังคับเด็ดขาดให้เสร็ จสิ้ น
ไป และตามรายงานเจ้าพนักงานบังคับคดีที่ไปยึดทรัพย์จาเลยเพื่อบังคับ
ชาระหนี้ ตามคาพิพากษาได้บนั ทึ กว่า "จาเลยได้แถลงต่อเจ้าพนักงาน
บังคับด้วยว่าตนยังไม่ได้ออกไปจากที่ดินพิพาท โดยปลูกต้นยูคาลิปตัส
ในที่ดินพิ พาท" อันแสดงให้เห็ นได้อย่างชัดแจ้งว่า ตลอดเวลาจาเลย
และบริ วารมิ ไ ด้ย า้ ยออกไปจากที่ ดินพิ พ าทนี้ เลย การที่ เจ้า พนัก งาน
บังคับคดีทาบันทึกมอบการครอบครองที่ดินพิพาทแก่โจทก์ จึงเป็ นการ
มีคาสั่งโดยผิดหลงในข้อเท็จจริ ง คดี จึงต้องฟั งว่าจาเลยและบริ วารยัง
มิได้ขนย้ายออกไปจากที่ดินพิพาทตามคาพิพากษา ตราบใดที่จาเลยและ
321

บริ วารยังอยูบ่ นที่ดินของโจทก์ ยังมิได้ปฏิ บตั ิตามคาบังคับ โจทก์ย่อม


ขอบังคับคดี ได้ภายในเวลาที่ กฎหมายกาหนด แม้โจทก์จะเคยร้ องขอ
บังคับคดีมาแล้วไม่เป็ นผลก็ขอให้บงั คับคดีใหม่ได้
ข้ อ สั ง เกต กำรยึ ด ถื อ ทรด พ ย์ ต ำมมำตรำ ๑๓๖๗ ไม่ ะ ำเป็ นต้ อบยึ ด ถื อ
ตลอดเัลำ หำกมีพฤติกำรณ์ ที่คนทด่ัไปมอบั่ ำเป็ นกำรยึดถือ เช่ น ในคดี
นี ้ปลูก ต้ นไม้ เสร็ ะแล้ ัไม่ ต้อบเฝ้ ำตลอดเัลำ ก็ยดบถื อั่ ำยึ ดถื อที่ ดินอยู่
ะำเลยะึ บยดบมีสิทธิ ครอบครอบ หรื อกรณี ผ้ คู รอบครอบบ้ ำนออกะำกบ้ ำน
โดยใส่ กุญแะบ้ ำนไั้ ก็ถือั่ ำมีกำรยึดถือบ้ ำน แลวยึ ดถือทุกสิ่ บทุกอย่ ำบ
ภำยในบ้ ำนด้ ัย ะึบมีสิทธิ ครอบครอบบ้ ำนแลวขอบในบ้ ำน
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๖๓๘๐/๒๕๕๐ ฎ.ส.ล. ๙ น. ๑๘๗ ที่ ดิ น
พิพาทมีขอ้ กาหนดห้ามโอนภายใน ๑๐ ปี ตาม ป.ที่ดินฯ มาตรา ๕๘ ทวิ
นับแต่วนั ที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๒๑ ส. ขายที่ ดินและบ้านพิพาทโดยส่ ง
มอบการครอบครองให้ พ. ในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๒๖ ยังอยู่ภายใน
กาหนดเวลาห้ามโอนตามกฎหมาย แม้ในระหว่างนั้น พ. จะยังไม่ได้
สิ ทธิ ครอบครอง เนื่องจากถูกจากัดโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าว
มีผลทาให้การโอนที่ดินพิพาทตกเป็ นโมฆะ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๐
ถื อ ว่า พ.ครอบครองที่ ดิ น และบ้า นพิ พ าทแทน ส. แต่ เ มื่ อ พ. ยัง คง
ครอบครองที่ดินและบ้านพิพาทตลอดมาจนล่วงเลยระยะเวลาห้ามโอน
แล้วเป็ นเวลานานประมาณ ๖ ปี โดย พ. ถึ ง แก่ ความตายเมื่ อกลางปี
๒๕๓๗ และจาเลยที่ ๒ เป็ นผูเ้ สี ยภาษีบารุ งท้องที่สาหรับที่ดินพิพาท
ตลอดมา และ ส. ถึ ง แก่ ค วามตายเมื่ อวันที่ ๒๕ พฤศจิก ายน ๒๕๓๐
ก่อนครบกาหนดเวลาห้ามโอน แต่โจทก์เพิ่งยื่นคาร้ องขอเป็ นผูจ้ ดั การ
322

มรดกของ ส. เพื่อกล่ าวอ้างสิ ทธิ ในที่ดินและบ้านพิพาทในปี ๒๕๓๗


โดยก่อนหน้าที่ พ. จะถึ งแก่ความตายนั้น โจทก์และทายาทของ ส. ไม่
เคยเข้าไปยุ่งเกี่ ยวอ้างสิ ทธิ ครอบครองที่ดินและบ้านพิพาทแต่ประการ
ใด จึงเป็ นกรณี ที่ พ. ไม่อาจทราบได้วา่ ตนยึดถือที่ดินและบ้านพิพาทไว้
แทนผูใ้ ด อันจะต้องบอกกล่าวเปลี่ยนลักษณะแห่ งการยึดถือไปยังผูน้ ้ นั
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๑ พฤติ การณ์ แห่ งคดี แสดงให้เห็ นว่าโจทก์
และทายาทของ ส. สละเจตนาครอบครองที่ดินและบ้านพิพาทแล้ว การ
ครอบครองที่ดินและบ้านพิพาทของ พ. จึงเป็ นการยึดถือโดยเจตนาจะ
ยึดถือเพื่อตน พ. ย่อมได้ซ่ ึ งสิ ทธิ ครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗
ข้ อสั งเกต คดี นีั้ ินิะฉด ยแตกต่ ำบะำกคำพิ พำกษำฎีกำที่ ๘๘๔๐/๒๕๔๙
ฎ.ส.ล.๑๒ น. ๑๓๖ ซึ่ บัินิะฉด ยั่ ำ หลดบะำกบิ ดำะำเลยขำยแลวมอบกำร
ครอบครอบที่ ดินพิพำทะนพ้ นกำหนดรวยวเัลำห้ ำมโอนแล้ ั บิดำขอบ
ะำเลยไม่ เคยเข้ ำไปยุ่บเกี่ยักดบที่ ดินพิพำทอี กเลย ข้ อเท็ะะริ บะึ บรด บฟด บได้
ั่ ำ บิดำะำเลยสลวเะตนำครอบครอบไม่ ยึดถือที่ ดินพิ พำทอี กต่ อไปตำม
ป.พ.พ. มำตรำ ๑๓๗๗ ัรรคแรกแล้ ั แม้ โะทก์ ไ ด้ ซื้ อแลวยึ ดถื อทำ
ปรวโยชน์ เพื่อตนในรวยวเัลำห้ ำมโอน โะทก์ ะวไม่ ได้ สิทธิ ครอบครอบ
เนื่อบะำกถูกะำกดดสิ ทธิ โดยบทบดญญดติ แห่ บ ป.ที่ ดินฯ มำตรำ ๓๑ แต่ เมื่อ
โะทก์ ไ ด้ ครอบครอบมำะนเลยเัลำห้ ำมโอนแล้ ั โะทก์ ย่อมได้ สิ ทธิ
ครอบครอบตำม ป.พ.พ. มำตรำ ๑๓๖๗ นดบแต่ ัดนพ้ นกำหนดรวยวเัลำ
ห้ ำมโอน แลวกรณี ดดบกล่ ำัโะทก์ มิได้ ครอบครอบแทนบิดำะำเลยหรื อ
ะ ำเลยซึ่ บ เป็ นทำยำท ะ ำเลยะึ บ ไม่ อ ำะอ้ ำ บสิ ท ธิ ต ำม ป.พ.พ. มำตรำ
๑๓๘๑ มำใช้ บดบคดบแก่ โะทก์ ได้
323

คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๙/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๑ น.๖๕ แม้ในระหว่าง


ระยะเวลาห้ามโอน ๑๐ ปี โจทก์ซ่ ึ งเข้าครอบครองที่ดินพิพาทที่ซ้ื อมาจะ
ไม่ได้สิทธิ ครอบครองเนื่ องจากต้องห้ามโดยบทบัญญัติแห่ ง ป. ที่ดินฯ
มาตรา ๕๘ ทวิ ก็ตาม แต่เมื่อโจทก์ครอบครองที่ดินตลอดมาหลังจาก
เกิ นระยะเวลา ๑๐ ปี ดังกล่ าว โดยโจทก์ปลู กบ้านพร้ อมขอเลขที่ บา้ น
จากทางราชการ ย่อมแสดงให้เห็นว่าโจทก์อยูใ่ นที่ดินพิพาทโดยเจตนา
จะยึดถือเพื่อตนตลอดมา จาเลยไม่เคยเข้าไปยุง่ เกี่ยวแย่งการครอบครอง
แต่ อย่า งใด ทั้ง การที่ จาเลยเสนอราคาเพื่ อขอซื้ อที่ ดินพิ พ าทคื น ก็ ยิ่ง
แสดงให้เห็ นว่า จาเลยยอมรั บ ถึ งสิ ท ธิ ค รอบครองในที่ ดินพิ พ าทของ
โจทก์ โจทก์ย่อมได้ซ่ ึ ง สิ ท ธิ ค รอบครองในที่ ดินพิ พ าท เพราะโจทก์
เจตนาจะยึดถือเพื่อตนแล้วตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗
ข้ อสั งเกต คดีนีเ้ กินรวยวเัลำห้ ำมโอนแล้ ั ะึ บถือั่ ำโะทก์ ยึดถือเพื่อตน
มีสิทธิ ครอบครอบแล้ ั ต่ ำบกดบคำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๗๖๕/๒๕๔๘ ซึ่ บะว
ถือั่ ำยึดถือแทน
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๖๕/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๓ น.๑๐๑ ที่ดินพิพาท
เป็ นที่ดินจัดสรรของสหกรณ์นิคมสวรรคโลก จากัด จาเลยที่ ๒ การทา
สัญญาซื้ อขายที่ ดินพิพ าทดัง กล่ าวจึ งอยู่ภายใต้บงั คับข้อก าหนดห้า ม
โอนตาม พ.ร.บ. จัดที่ดินเพื่อการครองชี พ พ.ศ. ๒๕๑๑ มาตรา ๑๒
วรรคหนึ่ ง ที่บญั ญัติว่า "ภายในห้าปี นับแต่วนั ที่ ได้รับโฉนดที่ดินหรื อ
หนังสื อรับรองการทาประโยชน์ในที่ดิน ผูไ้ ด้มาซึ่ งกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดิน
จะโอนที่ ดินนั้นไปยังผูอ้ ื่ นไม่ ได้ นอกจากการตกทอดโดยทางมรดก
หรื อโอนไปยังสหกรณ์ ที่ตนเป็ นสมาชิ กอยู่ แล้วแต่กรณี " ดังนั้น เมื่ อ
324

โจทก์กบั จาเลยที่ ๑ ทาสัญญาซื้ อขายที่ดินพิพาทภายในกาหนดเวลาห้า


ปี นับแต่วนั ที่จาเลยที่ ๑ ได้รับหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓
ก.) จึงมีวตั ถุประสงค์เป็ นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย สัญญาซื้ อ
ขายที่ ดินพิพาทดังกล่ าวจึงตกเป็ นโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๐ แม้
โจทก์ จ ะเข้ า ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทแล้ ว ก็ ถื อ ว่ า เป็ นเพี ย งการ
ครอบครองที่ดินพิพาทไว้แทนจาเลยที่ ๑ เจ้าของที่ดินพิพาท จาเลยที่ ๑
ย่อมมีสิทธิ นาที่ดินดังกล่าวไปจดทะเบียนจานองไว้แก่ จาเลยที่ ๒ ได้
โจทก์จึงไม่อาจฟ้ องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนจานองที่ดินพิพาท
ระหว่างจาเลยทั้งสอง
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๗๖๗๒/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๙ น.๑๒๔ ก. ยก
ที่ ดินพิพาทให้จาเลย จาเลยจึ งได้สิทธิ ครอบครองที่ ดินพิพาท ส่ วนที่
จาเลยมิ ได้คดั ค้านในกรณี ที่โจทก์แจ้งการครอบครองที่ ดิน ส.ค.๑ ก็ดี
หรื อขอรังวัดออกโฉนดที่ดินทั้งแปลงรวมเอาที่ดินส่ วนที่พิพาทกันนี้ ไป
ด้วยก็ดี อาจเป็ นไปได้วา่ จาเลยไม่ทราบเรื่ องหรื อไม่เข้าใจ เพราะโจทก์
เป็ นผูค้ รอบครองที่ ดินส่ วนใหญ่ และเป็ นผูไ้ ปดาเนิ นการเอง โดยไม่
บอกกล่าวให้จาเลยทราบ ถึงกระนั้นจาเลยก็ยงั คงครอบครองที่ดินส่ วน
ที่ พิ พ าทมาตลอดจนถึ ง ปั จ จุ บ ัน การที่ โ จทก์ ไ ปขอออกโฉนดที่ ดิ น
โดยรวมเอาที่ ดินพิพ าทเข้าไปด้วยนั้น หาเป็ นเหตุ ใ ห้สิ ทธิ ของจาเลย
เหนือที่ดินส่ วนที่พิพาทที่มีอยูแ่ ล้วโดยสมบูรณ์เสี ยไปไม่
ที่ จาเลยฟ้ องแย้ง ขอให้บ งั คับ โจทก์ดาเนิ น การเปลี่ ย นแปลง
กรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น ให้ จ าเลยเข้า ชื่ อ ถื อ กรรมสิ ท ธิ์ ร่ ว มกับ โจทก์ น้ ัน
โจทก์ไม่มีหน้าที่ ทางนิ ติกรรมในอันที่ จะต้องปฏิ บตั ิ ต่อจาเลย แต่เมื่ อ
325

ข้อเท็จจริ งฟังได้วา่ ที่ดินเฉพาะส่ วนที่พิพาทคือส่ วนที่ขีดเส้นสี เขียวตาม


แผนที่พิพาทเป็ นของจาเลย การที่โจทก์นาเจ้าพนักงานที่ดินรังวัดออก
โฉนดรวมเอาที่ดินส่ วนที่พิพาทกันนี้เข้าไปด้วย จึงเป็ นการไม่ชอบ ศาล
ฎีกามีอานาจเพิกถอนโฉนดที่ดินเฉพาะส่ วนที่ทบั ที่ดินส่ วนที่พิพาทกัน
นี้เสี ยได้ตาม ป. ที่ดินฯ มาตรา ๖๑ และเมื่อเป็ นการออกโฉนดที่ดินโดย
ไม่ชอบแล้ว จาเลยจะขอให้ใส่ ชื่อจาเลยถื อกรรมสิ ทธิ์ ร่ วมกับโจทก์ใน
โฉนดที่ ดินที่ ออกโดยไม่ช อบหาได้ไ ม่ เป็ นหน้าที่ ของจาเลยที่ จะไป
ดาเนินการออกโฉนดที่ดินเองตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดไว้ใน
ป. ที่ดินฯ

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๖๘


คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๗๗๖/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๐ น. ๑๙๕ ขณะทา
สัญญาขายที่ดินตามหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) จาเลย
ที่ ๓ ถึ ง ที่ ๖ เป็ นผู ้เ ยาว์แ ละยัง ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภ าวะ การท านิ ติ ก รรม
ดังกล่าวจึงไม่มีผลผูกพันจาเลยที่ ๓ ถึงที่ ๖ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๗๔
แม้โจทก์จะเข้าครอบครองท าประโยชน์ใ นที่ ดินตั้งแต่ ทาสั ญญาโดย
สงบเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของมาโดยตลอด ก็เป็ นเพียงการเข้ายึดถือ
ที่ดินแทนจาเลยที่ ๓ ถึงที่ ๖ เท่านั้น ทั้งการที่โจทก์แจ้งให้จาเลยที่ ๓ ถึง
ที่ ๖ ไปจดทะเบียนโอนสิ ทธิ ในที่ดินเมื่อบรรลุนิติภาวะและจาเลยที่ ๓
ถึงที่ ๖ มิได้โต้แย้งคัดค้าน ก็หาใช่ เป็ นการแจ้งเปลี่ยนลักษณะแห่ งการ
ยึดถื อที่ดิน หรื อถื อว่าจาเลยที่ ๓ ถึงที่ ๖ สละสิ ทธิ ครอบครองในที่ดิน
แต่ประการใดไม่
326

ข้ อสั งเกต กำรที่ โะทก์ แะ้ บ ให้ ไ ปะดทวเบี ย นโอน เป็ นกำรยอมรด บั่ ำ
โะทก์ ครอบครอบแทนะำเลยที่ ๓ ถึบที่ ๖ แต่ ถ้ำเปลี่ยนข้ อเท็ะะริ บเป็ นั่ ำ
ะำเลยที่ ๓ ถึ บ ที่ ๖ บอกให้ โะทก์ ออกะำกที่ พิ พ ำท โะทก์ บอกั่ ำเป็ น
ที่ดินขอบโะทก์ ะวถือั่ ำเป็ นกำรเปลี่ยนเะตนำแห่ บกำรยึดถือแล้ ั

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๗๓


คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๔๘๕/๒๕๕๓ ฎ. ๕๑๐ โจทก์ท้ งั ห้ามีชื่อ
เป็ นผู ้ถื อ กรรมสิ ทธิ์ ในโฉนดที่ ดิ น โจทก์ ท้ ั ง ห้ า ย่ อ มเป็ นผู ้ไ ด้ รั บ
ประโยชน์จากข้อสันนิ ษฐานของกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๗๓ มิ ใช่ ว่าจาเลยที่ ๑ เป็ นผูค้ รอบครองแล้ว
จาเลยที่ ๑ จะได้รั บ ประโยชน์ จากข้อ สั น นิ ษ ฐานของกฎหมายตาม
มาตรา ๑๓๖๙ และ ๑๓๗๐ ภาระการพิสูจน์ในประเด็นข้อนี้ จึงตกอยูแ่ ก่
จาเลยที่ ๑

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๗๔


คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๖๙๖/๒๕๕๒ ฎ. ๒๓๐๑ การฟ้ องคดี เพื่อ
ปลดเปลื้ องการรบกวนการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๗๔ โจทก์ ผู ้ค รอบครองที่ ดิ น พิ พ าทจะต้อ งถู ก
รบกวนโดยการแย่งการครอบครองที่ดินพิพาทจากฝ่ ายจาเลย การที่ฝ่าย
จาเลยเพียงแต่ไปขอออกโฉนดที่ดินพิพาท ยังไม่อาจถื อได้ว่าเป็ นการ
รบกวนการครอบครองที่ดินพิพาทของโจทก์ ที่โจทก์จะต้องฟ้ องขอให้
เพิกถอนโฉนดที่ดินภายใน ๑ ปี นับแต่วนั ออกโฉนดที่ดิน
327

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๗๕


ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๒๒๙๓/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๕ น. ๑๐๕
พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมฯ มาตรา ๓๙ บัญญัติวา่
ที่ดินที่บุคคลได้รับสิ ทธิ โดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทาการ
แบ่งแยก หรื อโอนสิ ทธิ ในที่ดินนั้นไปยังผูอ้ ื่ นมิ ได้ เว้นแต่เป็ นการตก
ทอดทางมรดกแก่ ท ายาทโดยธรรมหรื อโอนไปยัง สถาบันเกษตรกร
ฯลฯ ตามบทบัญ ญัติ ดัง กล่ า วเห็ น ได้ว่า แม้จ ะมี ก ารซื้ อ ขายที่ พิ พ าท
ระหว่างโจทก์กบั จาเลยกันจริ ง นิ ติกรรมระหว่างโจทก์กบั จาเลยก็เป็ น
การต้อ งห้ า มชั ด แจ้ง โดยกฎหมายย่ อ มตกเป็ นโมฆะตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๕๐
ในเขตปฏิ รูปที่ดิน บุคคลที่มิได้รับจัดสรรจากคณะกรรมการ
ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมไม่มีสิทธิ แย่งการครอบครองจากผูท้ ี่ได้รับ
การจัดสรร เพราะหากผูไ้ ด้รับการจัดสรรละทิ้งการครอบครองไป การ
ครอบครองจะตกมาเป็ นของสานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
อีกครั้ง ซึ่ งสานักงานการปฏิ รูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมมีอานาจหน้าที่ที่
จะจัดสรรให้เกษตรกรที่เหมาะสมต่อไป และพระราชบัญญัติการปฏิรูป
ที่ ดิ น เพื่ อ เกษตรกรรมฯ มาตรา ๓๗ บัญ ญัติ ห้ า มมิ ใ ห้ ย กอายุ ค วาม
ครอบครองขึ้ นเป็ นข้ อ ต่ อ สู ้ ก ั บ ส านั ก งานการปฏิ รู ปที่ ดิ น เพื่ อ
เกษตรกรรมในเรื่ องที่ดินหรื ออสังหาริ มทรัพย์ที่สานักงานการปฏิ รูป
ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มาตามพระราชบัญญัติดงั กล่าว
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๑๗๙ - ๓๑๘๑/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๙ น. ๓๖
โจทก์ท้ งั สองยกที่ ดินพิพาทให้จาเลยทั้งสามเพื่อใช้สร้ างวัด จาเลยทั้ง
328

สามมิ ไ ด้ได้ที่ ดินพิ พ าทมาโดยการซื้ อขาย จาเลยทั้ง สามครอบครอง


ที่ดินพิพาทแทนโจทก์ท้ งั สองเพื่อรอการส่ งมอบให้แก่วดั เมื่อวัดนั้นได้
จัดตั้งขึ้นโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว กรณี ยงั ถือไม่ได้วา่ การครอบครอง
ที่ดินพิพาทของจาเลยทั้งสามเป็ นการแย่งการครอบครองของโจทก์ท้ งั
สอง เพราะไม่ได้ความว่าจาเลยทั้งสามได้เปลี่ยนลักษณะแห่ งการยึดถือ
โดยบอกกล่าวไปยังโจทก์ท้ งั สองแต่ประการใด ดังนั้น แม้จาเลยทั้งสาม
จะครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทนานเท่ า ใด จ าเลยทั้ง สามก็ ไ ม่ ไ ด้ สิ ท ธิ
ครอบครองหรื อกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาท การฟ้ องคดีของโจทก์ท้ งั สอง
จึ ง มิ ใ ช่ ก รณี ก ารฟ้ องคดี เ พื่ อ เอาคื น ซึ่ งการครอบครองตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๗๕ วรรคสอง เมื่อจนถึงปั จจุบนั
วัด ม. หรื อสานักสงฆ์ ม. มิได้เป็ นวัดตามกฎหมาย กรณี จึงยังไม่มีวดั ซึ่ ง
เป็ นนิ ติ บุ ค คลที่ จะถื อกรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดินพิ พ าทตามเจตนารมณ์ ข อง
โจทก์ท้ งั สอง เมื่อโจทก์ท้ งั สองทวงถามที่ดินพิพาทคืน จาเลยทั้งสามจึง
ต้องคืนที่ดินให้แก่โจทก์ท้ งั สอง
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๔๑๗๗/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๔ น. ๑๖๐
พระราชบัญญัติค ณะสงฆ์ฯ มิ ไ ด้บ ญ ั ญัติว่า ที่ ดินที่ จะเป็ นที่ ธ รณี ส งฆ์
จะต้องเป็ นที่ ดินมี โฉนดเท่านั้น ดังนั้น ที่ ดินมี เพียงสิ ทธิ ครอบครองก็
สามารถเป็ นที่ ธ รณี สงฆ์ ไ ด้ เมื่ อ มี ก ารยกให้ ที่ ดิ น ที่ มี เ พี ย งสิ ทธิ
ครอบครองให้แก่วดั ที่ดินดังกล่าวก็ตกเป็ นที่ธรณี สงฆ์ แม้ต่อมาผูแ้ ทน
ของวัดซึ่ งเป็ นเจ้าของที่ ธรณี สงฆ์ไม่ทราบว่าที่ ดินดังกล่ าวเป็ นที่ ธรณี
สงฆ์ ก็หาทาให้ที่ดินดังกล่าวหลุดพ้นจากการเป็ นที่ธรณี สงฆ์แต่อย่างใด
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๔๒๒/๒๕๕๑ ฎ. ๙๓๐ จาเลยล้อมรั้วไม้ไผ่
329

ที่ ดิ น พิ พ าทซึ่ งเป็ นของโจทก์ โจทก์ แ จ้ง ให้ จ าเลยระงับ การกระท า


ดังกล่าวแต่จาเลยยังคงทาการล้อมรั้วจนแล้วเสร็ จ เป็ นการแสดงเจตนา
แย่งการครอบครองที่ดินพิพาทนับตั้งแต่วนั ที่มีการล้อมรั้วไม้ไผ่
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๗๕ วรรคสอง
เป็ นบทบังคับเรื่ องกาหนดเวลาสาหรับฟ้ อง ไม่ใช่เรื่ องอายุความ จึงไม่
อาจนาเรื่ องอายุความสะดุดหยุดลงมาใช้บงั คับได้
โจทก์ฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่ งการครอบครองที่ดินพิพาทเกิน ๑ ปี
นับ แต่ เวลาถู ก แย่ง การครอบครอง โจทก์ย่อมขาดสิ ท ธิ ฟ้ องร้ องตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๗๕ วรรคสอง โจทก์จึง
ไม่มีอานาจฟ้ องบังคับให้จาเลยรื้ อถอนรั้วออกไปจากที่ ดินพิพาทและ
เรี ยกค่าเสี ยหายจากจาเลย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๖๕๖/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๗ น. ๗๘ เดิมจาเลย
เป็ นผู ้มี สิ ทธิ ค รอบครองในที่ ดิ น พิ พ าท ต่ อ มาจ าเลยสละเจตนา
ครอบครองที่ดินพิ พาทให้แก่ โจทก์ แต่จาเลยได้ขออาศัยอยู่ในบ้านที่
ปลู ก อยู่ก่ อนในที่ ดิ นพิ พ าทต่ อไป โจทก์ ต กลงยิน ยอมโดยไม่ ไ ด้คิ ด
ค่าตอบแทน ต่อมาโจทก์ยื่นค าขอออกโฉนดที่ ดินที่ พิพ าทตามค าขอ
รังวัดออกโฉนดที่ดิน จาเลยได้ไปยื่นคาขอคัดค้านการออกโฉนดที่ดิน
ดัง นี้ เป็ นการโต้แย้ง คัดค้า นสิ ท ธิ ครอบครองของโจทก์ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๗๕ แล้ ว โจทก์ ก็ จ ะต้ อ งฟ้ องคดี เ พื่ อ เอาคื น ซึ่ งการ
ครอบครองภายใน ๑ ปี นั บ แต่ เ วลาถู ก รบกวนการครอบครอง
สานักงานที่ดินจังหวัดตราดเพิ่งมีหนังสื อแจ้งเรื่ องที่จาเลยคัดค้านการ
ขอออกโฉนดที่ดินให้โจทก์ทราบเมื่อ ๑๗ มีนาคม ๒๕๓๕ จึงต้องถือ
330

ว่ า โจทก์ ท ราบเรื่ อ งที่ จ าเลยไปคัด ค้า นการขอออกโฉนดที่ ดิ น เมื่ อ


หนังสื อดังกล่ าวไปถึ งโจทก์ โจทก์ทราบเรื่ องดังกล่ าวหลังจากโจทก์
ฟ้ องคดี น้ ี แล้ ว จึ ง ไม่ เ กิ น ระยะเวลา ๑ ปี นั บ แต่ เ วลาถู ก แย่ ง การ
ครอบครอง
ข้ อสั งเกต คำพิ พำกษำฎี กำนี ้เป็ นกรณี ผู้มีสิท ธิ ค รอบครอบไปขอออก
โฉนด แล้ ัผู้ยึดถื อแทนไปคดดค้ ำน ถือั่ ำ ผู้ยึดถือแทนเปลี่ ยนลดกษณว
แห่ บกำรยึ ด ถื อ เมื่ อ หนด บ สื อ แะ้ บ ขอบเะ้ ำ พนด ก บำนที่ ดิ น ไปถึ บ ผู้มี สิ ท ธิ
ครอบครอบ
แต่ ถ้ำเป็ นกรณี ผ้ ูยึดถื อแทนไปขอออกโฉนดนด้น ผู้ยึดถือแทน
บอกกล่ ำัเปลี่ยนลดกษณวแห่ บกำรยึดถือไปยดบเะ้ ำพนดกบำนที่ ดิน ไม่ อำะ
ถือั่ ำผู้ยึดถื อแทนเปลี่ ยนลดกษณวแห่ บกำรยึดถือ เพรำวมิได้ บอกกล่ ำั
ผู้ครอบครอบั่ ำไม่ เะตนำะวยึ ดถื อทรด พย์ สิ นแทนผู้ครอบครอบต่ อไป
ขอให้ เปรี ยบเที ยบแลวพิ ะำรณำะำกคำพิ พำกษำฎีกำที่ ๑๐๕๔/๒๕๑๙
ะำเลยทด้บสอบทำสดญญำเช่ ำที่พิพำทบำบส่ ันขอบโะทก์ ได้ ๑ เดือน ๔ ัดน
แล้ ัะำเลยที่ ๑ ไปแะ้ บกำรครอบครอบั่ ำที่พิพำทเป็ นขอบตน ต่ อมำอี ก ๑
เดื อน ๘ ัดน ะำเลยที่ ๑ ยื่นคำขอรด บรอบกำรทำปรวโยชน์ ที่พิพำท กำร
ยื่นคำขอต่ อนำยอำเภอเพียบเท่ ำนี ้ แม้ โะทก์ ทรำบแลวคดดค้ ำน ก็ถือไม่ ได้
ั่ ำะำเลยที่ ๑ ได้ บอกกล่ ำัไปยดบโะทก์ แล้ ัั่ ำะำเลยที่ ๑ ไม่ เะตนำะว
ยึ ด ถื อ ที่ พิ พ ำทแทนโะทก์ ใ นฐำนวผู้ เช่ ำต่ อ ไป ะ ำเลยหำได้ เ ปลี่ ย น
ลดกษณวแห่ บกำรยึดถือเพื่อตนตำม ป.พ.พ. มำตรำ ๑๓๘๑ ไม่
331

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๗๗


คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๘๙/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๒ น. ๖๕ จาเลยทา
สั ญญาเช่ า ที่ ดิ นกับ โจทก์ จ าเลยหาได้ยึดถื อที่ ดิ นที่ เ ช่ า โดยเจตนาจะ
ยึดถื อเพื่ อตนไม่ จาเลยไม่ได้สิท ธิ ครอบครองตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๗ แม้ว่าก่ อนทาสัญญาเช่ า ที่ ดิน จาเลย
อาจจะยึดถื อที่ดินโดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตนมาก่อนก็ตาม โดยผลของ
สั ญ ญาเช่ า ที่ ดิ น ต้อ งถื อ ว่า จาเลยสละเจตนาครอบครองที่ ดิ นเพื่ อ ตน
ต่อไปตามมาตรา ๑๓๗๗
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๓๓๐๐/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๔ น. ๑๒๒ บิ ดา
โจทก์ขายที่ดินพิพาทให้บิดาจาเลยไปแล้ว และขณะมีการทาสัญญาซื้ อ
ขายนั้นที่ ดินของบิ ดาโจทก์มีเพียงสิ ทธิ ครอบครอง แม้สัญญาซื้ อขาย
ดังกล่าวจะไม่ได้ทาต่อเจ้าพนักงานที่ดินก็ตาม แต่บิดาโจทก์ได้ส่งมอบ
การครอบครองที่ดินพิพาทให้แก่บิดาจาเลยแล้ว สิ ทธิ ครอบครองจึงตก
แก่บิดาจาเลย บิดาจาเลยมีสิทธิ ครอบครองในที่ดินพิพาทโดยสมบูรณ์
เมื่ อบิ ดาจาเลยถึ งแก่ ความตาย จาเลยในฐานะทายาทโดยธรรมย่อมมี
สิ ทธิ รับมรดกที่ดินพิพาทมาเป็ นสิ ทธิ ครอบครองของจาเลย จาเลยจึง
เป็ นเจ้าของผูม้ ีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาท

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๗๘


ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๒๑๕๖/๒๕๕๕ ฎ.๓๒๗ จ าเลยเข้ า
ครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินพิพาทโดยอาศัยสิ ทธิ ของตนที่ได้รับ
การยกให้จาก ร. มิใช่ครอบครองที่ดินพิพาทแทนทายาทอื่น อันแสดง
332

ว่า ร. ได้ย กที่ ดินพิ พ าทให้แก่ จาเลยครอบครองแล้วโดยโจทก์ไ ม่ ไ ด้


เกี่ ยวข้อง ซึ่ งขณะที่ ร. แสดงเจตนายกที่ดินพิพาทนั้น ที่ดินพิพาทเป็ น
ที่ดินที่มีเอกสารสิ ทธิ เป็ น น.ส.๓ ผูม้ ีชื่อในเอกสารสิ ทธิ จึงมีเพียงสิ ทธิ
ครอบครอง การที่ ร. ส่ งมอบที่ ดินพิพาทให้แก่จาเลยโดยมิ ได้ทาเป็ น
หนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ แม้ไม่ชอบด้วยประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๕๒๕ ประกอบมาตรา ๔๕๖ วรรค
หนึ่ ง แต่ที่ ดินพิ พ าทมี แต่ สิท ธิ ครอบครอง จึ ง ถื อได้ว่า ร. สละเจตนา
ครอบครองไม่ ยึดถื อ ที่ ดินพิ พ าทต่ อ ไป เมื่ อจาเลยเข้า ครอบครองท า
ประโยชน์ในที่ดินพิพาทแล้ว จาเลยย่อมได้สิทธิ ครอบครองตามมาตรา
๑๓๗๗ และ ๑๓๗๘ เป็ นการได้สิทธิครอบครองตามกฎหมาย การออก
โฉนดที่ ดินพิพาทจัดทาโดยทางราชการออกให้แก่ ร. ซึ่ งเป็ นผูม้ ีสิทธิ
ครอบครอง น.ส. ๓ ฉบับเดิม แม้ความจริ ง ร. ไม่มีสิทธิ ครอบครองใน
ที่ดินพิ พ าทแล้วขณะออกโฉนด ก็ หาทาให้สิ ท ธิ ค รอบครองในที่ ดิน
พิพาทของจาเลยเสี ยไปไม่ ที่ดินพิพาทจึงมิใช่ ทรัพย์มรดกของ ร. ที่จะ
ตกทอดแก่ทายาทอีกต่อไป
ข้ อสั งเกต หำกเป็ นที่ ดินมีโฉนดตด้บแต่ ร. ยกให้ ผละวเปลี่ ยนไป โดยะว
ถือั่ ำะำเลยเริ่ มนดบกำรครอบครอบปรปด กษ์ ได้ ตด้บแต่ เริ่ มกำรครอบครอบ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๐๗๑/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๔๔ จาเลยซื้ อ
ที่ดินพิพาทมาตั้งแต่ที่ดินพิพาทยังเป็ นหนังสื อรับรองการทาประโยชน์
และจาเลยได้เข้าครอบครองที่ดินพิพาทตลอดมา โดย ส. มารดาโจทก์
ผูข้ ายซึ่ งเป็ นผูค้ รอบครองทาประโยชน์ในที่ดินพิพาทมีเจตนาสละการ
ครอบครองที่ ดินพิพาทให้แก่ จาเลยเป็ นผูค้ รอบครองตั้งแต่ก่อนที่ ดิน
333

พิพาทจะเปลี่ ยนเป็ นโฉนดที่ดินแล้ว แม้การซื้ อขายที่ดินพิพาทจะมิได้


ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่อนั จะทาให้ตกเป็ น
โมฆะก็ ต าม แต่ เ มื่ อ ที่ ดิ น พิ พ าทเป็ นที่ ดิ น มี ห นั ง สื อ รั บ รองการท า
ประโยชน์ยอ่ มโอนการครอบครองและส่ งมอบทรัพย์สินที่ครอบครอง
จาเลยจึงเป็ นผูม้ ีสิทธิ ครอบครองที่ดินพิพาท โจทก์ฟ้องขับไล่ไม่ได้ เมื่อ
ส. ได้สละเจตนาครอบครองที่ดินพิพาทและโอนการครอบครองโดยส่ ง
มอบที่ ดินพิพาทแก่จาเลย และจาเลยได้เข้าครอบครองตั้งแต่วนั ที่ ซ้ื อ
ขายแล้ว จาเลยย่อมได้สิ ทธิ ค รอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๗,
๑๓๗๘ การครอบครองที่ ดินพิพาทของ ส. หรื อโจทก์ซ่ ึ งเป็ นทายาท
ย่อมสิ้ นสุ ดลง ส. หรื อโจทก์ไม่ใช่ เจ้าของที่ดินพิพาทอีกต่อไป การที่มี
การไปขอออกโฉนดที่ดินพิพาทแล้วใส่ ชื่อ ส. เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ จึง
เป็ นการออกโฉนดที่คลาดเคลื่อนกับความเป็ นจริ ง และอาจถูกเพิกถอน
ได้โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ผูม้ ีอานาจตาม ป. ที่ดิน มาตรา ๖๑ และไม่
เป็ นเหตุให้สิทธิ ของจาเลยเหนื อที่ดินพิพาทที่มีอยูแ่ ล้วโดยสมบูรณ์เสี ย
ไป และเมื่ อโฉนดที่ ดิ นพิ พ าทออกโดยมิ ช อบ จาเลยจะขอให้ใ ส่ ชื่ อ
จาเลยถือกรรมสิ ทธิ์ ในโฉนดที่ดินที่ออกโดยไม่ชอบไม่ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๐๗/๒๕๕๒ ฎ.๔๑ จาเลยแสดงเจตนายก
ที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ นที่ดินที่มีหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ตีใช้หนี้ และ
ส่ งมอบที่ดินพิพาทแก่โจทก์โดยมิได้ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ ย่อมไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา ๕๒๕ ประกอบด้วยมาตรา ๔๕๖ วรรคหนึ่ ง แต่ที่ดินพิพาทมีแต่
สิ ทธิ ครอบครองจึงถือได้วา่ จาเลยสละเจตนาครอบครองไม่ยึดถื อที่ดิน
334

พิพาทต่อไป เมื่อโจทก์เข้าครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินพิพาทแล้ว
โจทก์ยอ่ มได้สิทธิ ครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๗ และ ๑๓๗๘ อันเป็ น
การได้สิทธิ ครอบครองด้วยการครอบครองตามกฎหมาย มิใช่ได้มาตาม
สัญญายกให้ โจทก์จึงไม่มีสิทธิ ที่จะฟ้ องบังคับให้จาเลยไปจดทะเบียน
โอนที่ดินพิพาทเป็ นชื่อโจทก์
ข้ อสั งเกต คำพิ พำกษำฎี กำนี ศ้ ำลฎีกำฟด บข้ อเท็ะะริ บั่ ำคดี นีม้ ีกำรตกลบ
โอนที่ ดิ น ตี ใ ช้ หนี ้กด น ที่ ศ ำลฎี ก ำัิ นิ ะฉด ย ั่ ำ โะทก์ ไ ม่ มี สิ ท ธิ ที่ ะวฟ้ อบ
บดบคดบให้ ะำเลยไปะดทวเบี ยนโอนที่ ดินพิ พำทเป็ นชื่ อโะทก์ น่ ำะวมำ
ะำกเหตุผลที่ ั่ำ คู่ ก รณี ตกลบโอนที่ ดินตี ใ ช้ หนี ้โดยไม่ ป รวสบค์ ะวะด
ทวเบียนโอนกดน ะึ บบดบคดบ ให้ ะดทวเบียนไม่ ได้ ซึ่ บข้ อเท็ะะริ บในคดี ไม่
ปรำกฏั่ ำคู่กรณี มีเะตนำะวไปะดทวเบียนกดนหรื อไม่ แต่ ถ้ำคู่กรณี ตกลบ
โอนที่ ดิ น ตี ใ ช้ หนี ้โ ดยมี เ ะตนำะวไปะดทวเบี ย นกด น ก็บด บ คด บ ให้ ะด
ทวเบียนได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๐๙๙/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๘ น.๒๑๒ การที่เจ้า
พนักงานบังคับคดี ได้รังวัดยึด ที่ดินเกิ นกว่าเนื้ อที่ดินที่ ระบุในหนังสื อ
รับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓) ที่โจทก์นายึดเช่ นนี้ ที่ดินส่ วนที่เกิ น
จาก น.ส.๓ จึ งไม่อยู่ในการบังคับคดี เมื่อผูซ้ ้ื อทรั พย์ซ้ื อที่ดินจากการ
ขายทอดตลาดตาม น.ส.๓ ที่ประกาศขายทอดตลาดระบุเนื้ อที่ไว้ชดั เจน
ว่ามีเนื้อที่ ๕ ไร่ ๑๐ ตารางวา ผูซ้ ้ื อทรัพย์ยอ่ มได้ที่ดินมีเนื้อที่ตาม น.ส.๓
ดังกล่าว ผูซ้ ้ื อทรัพย์จะอ้างเอาเนื้ อที่ของที่ดินตามที่เจ้าพนักงานบังคับ
คดีรังวัดยึดไว้ที่เกินกว่าเนื้ อที่ใน น.ส.๓ หาได้ไม่ และเมื่อพิจารณาตาม
แผนที่วิวาทปรากฏว่าที่ดินพิพาทอยู่ทางทิศใต้ของที่ดิน น.ส.๓ ที่ผซู ้ ้ื อ
335

ทรัพย์ซ้ื อได้จากการขายทอดตลาด โดยเปรี ยบเทียบความยาวด้านทิ ศ


ตะวันตกตาม น.ส.๓ ระบุวา่ ยาว ๒ เส้น แต่ตามประกาศขายทอดตลาด
ของเจ้าพนักงานบังคับคดี ระบุว่าทิศตะวันตกยาว ๓ เส้น เจ้าพนักงาน
บังคับคดีจึงรังวัดเกินไป ๑ เส้น คิดคานวณแล้วรังวัดเกินไป ๒๐ วาหรื อ
๔๐ เมตร ซึ่ งเกินไปจานวนมากเช่นนี้ ที่ดินด้านทิศใต้ส่วนที่เกินไปกว่า
ที่ดินตาม น.ส.๓ จึงอยูน่ อกเขตที่ดินตาม น.ส.๓ ที่ผซู ้ ้ื อทรัพย์ซ้ื อได้จาก
การขายทอดตลาด ที่ ดิ น พิ พ าทเป็ นที่ ดิ น มื อ เปล่ า การซื้ อ ขายย่ อ ม
สมบูรณ์ ด้วยการส่ งมอบ เมื่ อผูร้ ้ องรั บมอบการครอบครองจากจาเลย
ผูร้ ้ องจึงมีสิทธิ ครอบครอง แม้ผรู ้ ้ องกับสามีจะซื้ อที่ดินและบ้านพิพาท
ภายหลังจากเจ้าพนักงานบังคับคดีทาการยึดทรัพย์ของจาเลยลูกหนี้ ตาม
คาพิพากษา แต่ที่ดินที่โจทก์นายึดเป็ นที่ดินตาม น.ส.๓ เนื้ อที่ประมาณ
๕ ไร่ ๑๐ ตารางวา เท่ า นั้น ที่ ดิ นที่ อ ยู่นอกเขตย่อมไม่ อ ยู่ภายใต้ก าร
บังคับคดี
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๗๔๐/๒๕๕๕ ฎ.๑๐๑๑ โจทก์และจาเลย
ทั้งสองทาสัญญาซื้ อขายสิ ทธิ ครอบครองที่ดินพิพาทกัน โดยมีการชาระ
เงินในวันทาสัญญา ๗๓๐,๐๐๐ บาท ส่ วนที่เหลื อ ๗๗๐,๐๐๐ บาท ตก
ลงให้ผ่อนชาระในอีก ๕ เดือนเศษ เพราะที่ดินพิพาทไม่มีเอกสารสิ ทธิ
ใด ๆ มีเพียงสิ ทธิ ครอบครองโดยการยึดถื อเท่านั้น จึงสามารถโอนการ
ครอบครองแก่ ก ันได้ด้วยวิธีส่ งมอบที่ ดินที่ ค รอบครองตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๗๘ และไม่ตอ้ งมีการจดทะเบียน
โอนกันอีก เมื่ อโจทก์ได้ทาการส่ งมอบการครอบครองที่ดินพิพาทให้
จาเลยทั้งสองแล้ว จึ งเป็ นการปฏิ บตั ิการชาระหนี้ ตามสัญญาครบถ้วน
336

จาเลยทั้งสองย่อมมีหน้าที่ชาระราคาส่ วนที่เหลือให้แก่โจทก์ เมื่อจาเลย


ทั้งสองไม่ชาระแทนที่โจทก์จะฟ้ องบังคับให้จาเลยทั้งสองชาระเงินตาม
สัญญา โจทก์ก ลับฟ้ องขับ ไล่ จาเลยทั้ง สองเป็ นคดี น้ ี และจาเลยที่ ๒
ฟ้ องแย้งขอให้โจทก์คืนเงิ นค่าที่ดินที่รับไว้จานวน ๗๓๐,๐๐๐ บาท จึง
ถื อได้ว่าคู่สัญญาต่างสมัครใจเลิ กสัญญาซื้ อขายสิ ทธิ ครอบครองที่ดิน
พิพาทต่อกัน คู่สัญญาแต่ละฝ่ ายจาต้องให้อีกฝ่ ายกลับคื นสู่ ฐานะดังที่
เป็ นอยู่เดิ มตามมาตรา ๓๙๑ วรรคหนึ่ ง โดยโจทก์ตอ้ งคื นเงิ นจานวน
๗๓๐,๐๐๐ บาท ที่รับไว้แก่จาเลยทั้งสอง
ข้ อ สั ง เกต ตำมค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำอื่ น ๆ ที่ ดิ น มื อ เปล่ ำมด ก ะวเป็ น
ที่ป่ำสบันหรื อที่ดินที่ห้ำมโอนตำมกฎหมำย สดญญำะึ บตกเป็ นโมฆว แต่
คดี นีไ้ ม่ ปรำกฏั่ ำเป็ นที่ ป่ำสบัน แลวเป็ นที่ ดินที่ ไม่ อำะะดทวเบี ยนได้
ศำลฎี กำะึ บไม่ ัินิะฉด ยั่ ำสด ญญำเป็ นโมฆวแลวบดบคดบให้ เมื่ อมี กำรเลิ ก
สดญญำ

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๐


ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๘๔๘๖/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๒๓ ที่ ดิ น
พิพ าทซึ่ ง บริ ษ ทั ซ. ได้รับ ประทานบัตรเหมื องแร่ เป็ นที่ ดินของรั ฐที่
รกร้างว่างเปล่าซึ่ งไม่เคยมีผใู ้ ดได้รับสิ ทธิ ในที่ดินตามกฎหมายมาก่อน
ตาม พ.ร.บ.แร่ ฯ มาตรา ๗๓ (๓) ที่กาหนดมิให้ถือว่าการใช้ที่ดินของ
ผูถ้ ื อประทานบัตรในเขตเหมื องแร่ เป็ นการได้มาซึ่ งสิ ท ธิ ครอบครอง
คงมีผลให้บริ ษทั ซ. ไม่อาจอ้างสิ ทธิ ครอบครองที่ดินพิพาทยันต่อรัฐได้
เท่านั้น แต่สาหรับราษฎรด้วยกัน บริ ษทั ซ. ย่อมมีสิทธิ ปลดเปลื้องการ
337

รบกวนการครอบครองจากผูส้ อดเข้าเกี่ ยวข้องโดยมิชอบด้วยกฎหมาย


ได้จ นกว่า จะสละเจตนาครอบครองหรื อ ไม่ ยึ ด ถื อครอบครองที่ ดิ น
พิพาทโดยรื้ อถอนสิ่ งปลูกสร้ างออกไป การครอบครองที่ดินพิพาทจึง
สิ้ นสุ ดลง ในระหว่างที่บริ ษทั ซ. ยังคงยึดถือครอบครองอยู่ จึงอาจโอน
ไปซึ่ งการครองครองที่ ดินพิพาทให้แก่ ผอู ้ ื่ นได้ซ่ ึ งตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๘๐ การโอนไปซึ่ งการครอบครองย่อ มมี ผ ล แม้ผูโ้ อนยัง ยึ ด ถื อ
ทรัพย์สินอยู่ ถ้าผูโ้ อนแสดงเจตนาว่าต่อไปจะยึดถือทรัพย์สินแทนผูร้ ับ
โอน การที่บริ ษทั ซ. ตกลงทาสัญญาเช่าที่ดินพิพาทจากสุ ขาภิบาลหงาว
(โจทก์) หลัง จากประทานบัตรท าเหมื องแร่ สิ้ นอายุล ง ย่อมถื อได้ว่า
บริ ษทั ซ. ได้โอนการครอบครองที่ดินพิพาทโดยสละเจตนาครอบครอง
ให้แก่โจทก์และยึดถือที่ดินพิพาทในฐานะผูเ้ ช่าต่อไป โจทก์จึงได้สิทธิ
ครอบครองที่ดินพิพาทโดยการให้บริ ษทั ซ. ยึดถือครอบครองไว้แทน
ต่อมาเมื่ อบริ ษทั ฟ. ซื้ อโรงงานแต่งแร่ และเข้าครอบครองที่ ดินพิพาท
บริ ษทั ดังกล่าวก็ได้ทาสัญญาเช่ าที่ดินพิพาทจากโจทก์ต่อไป จาเลยเพิ่ง
เข้าครอบครองที่ดินพิพาทหลังจากซื้ อโรงงานแต่งแร่ ต่อมาจากบริ ษทั
ฟ. จาเลยย่อมไม่มีสิทธิ ในที่ดินพิพาทดีกว่าโจทก์ซ่ ึ งยึดถื อครอบครอง
ที่ดินอยูก่ ่อน
หลังจากจาเลยซื้ อโรงงานแต่งแร่ จากบริ ษทั ฟ. แล้ว จาเลยได้
เข้าครอบครองที่ดินพิพาทซึ่ งอยูใ่ นระหว่างกาหนดเวลาตามสัญญาเช่ า
ที่ดินที่บริ ษทั ฟ. ทาไว้กบั โจทก์ หลังจากนั้นบริ ษทั ฟ. ยังคงชาระค่าเช่า
ให้แก่ โจทก์ต่อมา การครอบครองที่ ดิ นพิ พ าทของจาเลยจึ ง เป็ นการ
อาศัยสิ ทธิ ของบริ ษทั ฟ. ถื อได้ว่าจาเลยครอบครองที่ ดินพิพ าทแทน
338

โจทก์ด้วย จาเลยจะอ้างว่าครอบครองที่ ดินพิพาทเป็ นของตนได้ก็แต่


โดยการบอกกล่าวเปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือครอบครองไปยังโจทก์
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๑ แต่ตามคาให้การของจาเลยไม่ได้ให้การว่า
ได้มีการบอกกล่าวเปลี่ ยนลักษณะแห่ งการยึดถื อไปจากโจทก์แต่อย่าง
ใด จึงไม่มีประเด็นให้วนิ ิจฉัยในเรื่ องการบอกกล่าวเปลี่ยนลักษณะแห่ ง
การยึดถือตามมาตรา ๑๓๘๑
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๑๔๐/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๑๐ น. ๒๒ โจทก์ท้ งั
สองซื้ อที่ ดินพิพ าทจาก อ. โดยมอบให้ อ. ครอบครองแทน แม้ที่ดิน
พิพาทเป็ นที่ดินมือเปล่าซึ่ งตาม พ.ร.บ. ให้ใช้ ป. ที่ ดินฯ มาตรา ๙ จะ
โอนที่ดินมือเปล่าให้แก่กนั มิได้ก็ตาม แต่ที่ดินมือเปล่านั้นเจ้าของมีสิทธิ
ครอบครอง และตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๘ บัญญัติว่า การโอนไปซึ่ ง
การครอบครองนั้น ย่อมทาได้โดยส่ งมอบทรั พย์สินที่ครอบครอง ซึ่ ง
มาตรา ๑๓๘๐ วรรคหนึ่ ง ก็ได้บญั ญัติรับรองด้วยว่า การโอนไปซึ่ งการ
ครอบครองย่อมเป็ นผลแม้ผโู ้ อนยังยึดถื อทรัพย์สินอยู่ ถ้าผูโ้ อนแสดง
เจตนาต่อไปว่าจะยึดถื อทรัพย์น้ นั แทนผูร้ ับโอน เมื่อจาเลยทั้งสองมิได้
ฎี ก าโต้ แ ย้ ง ในประเด็ น ว่ า โจทก์ ท้ ั งสองมิ ไ ด้ ม อบหมายให้ อ.
ครอบครองแทน โจทก์ท้ งั สองจึงได้สิทธิ ครอบครองที่ดินพิพาทจาก อ.
โดยการโอนและส่ ง มอบการครอบครองที่ ดินพิพ าทกันตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๗๘ และมาตรา ๑๓๘๐ วรรคหนึ่ง
339

ครอบครองปรปักษ์
ข้ อ ๔๙ ค าถาม นายลิ ง และนายไก่ เป็ นเพื่ อ นกัน จึ ง ซื้ อที่ ดิ น
ติดกันตามโฉนดที่ดินคนละแปลง แปลงละ ๒ ไร่ ๑๐๐ ตารางวา รวม
เนื้ อที่ที่ดิน ๒ แปลง ๔ ไร่ ๒๐๐ ตารางวา แต่เจ้าของเดิ มล้อมรั้วไว้ใน
ที่ดินแปลงของนายลิ ง ๒ ไร่ ๒๐๐ ตารางวา และล้อมรั้ วไว้ใ นที่ ดิน
แปลงของนายไก่เพียง ๒ ไร่ นายลิงและนายไก่ครอบครองที่ดินตามที่
เจ้าของเดิมล้อมรั้วอย่างเป็ นเจ้าของตลอดมาเป็ นเวลา ๑๒ ปี ต่อมาเมื่อ
วันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๐ นายไก่ ต้องการขายที่ ดิน นายไก่ จึง เรี ย ก
เจ้าหน้าที่มารังวัดที่ดิน ทั้งคู่จึงทราบว่านายลิงครอบครองที่ดินส่ วนของ
นายไก่ ๑๐๐ ตารางวา ทั้ง นายลิ ง และนายไก่ ต่า งฝ่ ายต่ า งชี้ ตามแนว
โฉนดที่แท้จริ งของตน และลงลายมือชื่อรับรองแนวเขตในบันทึกการ
รังวัดไว้ โดยนายลิงไม่ได้โต้แย้งว่าที่ดิน ๑๐๐ ตารางวาเป็ นของตน ทั้ง
ยังยอมรั บว่าที่ดิน ๑๐๐ ตารางวา ไม่ได้อยู่ในเขตที่ดินตามโฉนดของ
นายลิง แต่อยูใ่ นโฉนดที่ดินของนายไก่ ซึ่ งต่อมานายไก่ทาเป็ นหนังสื อ
และจดทะเบียนขายที่ดินตามโฉนดทั้งแปลงให้แก่นายเป็ ด โดยนายเป็ ด
สุ จริ ตและเสี ยค่าตอบแทน
ให้วนิ ิจฉัยว่า นายลิงและนายเป็ ดมีสิทธิ ในที่ดินเพียงใด
ข้ อ ๔๙ คาตอบ นายลิงครอบครองที่ดินตามที่ลอ้ มรั้วไว้ ๒ ไร่
๒๐๐ ตารางวา ทั้งที่ที่ดินตามโฉนดมีเนื้ อที่ เพียง ๒ ไร่ ๑๐๐ ตารางวา
เป็ นเวลา ๑๒ ปี ถือว่ านายลิงได้ ครอบครองที่ดินซึ่งเป็ นทรัพย์ สินของ
ผู้อนื่ แม้ จะไม่ ทราบว่ าเป็ นที่ดินของผู้อื่นก็ตาม หากแต่ นายลิงได้ ยึดถือ
ครอบครองด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของอย่างแท้จริงแล้ว ก็ไม่ จาเป็ นที่นายลิง
340

จะต้ องรู้ มาก่ อนว่ าทีด่ ินนั้นเป็ นของผู้อนื่ แล้ วแย่ งการครอบครองมาเป็ น
เวลา ๑๐ ปี จึงจะได้ กรรมสิ ทธิ์ นายลิงได้ ครอบครองอสั งหาริ มทรั พย์
ของนายไก่ โดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้ ว ยเจตนาเป็ นเจ้ า ของ
ติดต่ อกันเป็ นเวลา ๑๐ ปี นายลิงย่ อมได้ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดิน ๑๐๐ ตาราง
วา ตามโฉนดทีด่ ินของนายไก่โดยการครอบครองปรปักษ์ ตามประมวล
กฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๘๒ (เที ย บค าพิ พ ากษาฎี ก าที่
๕๕๙๖/๒๕๕๒)
ต่ อ มาเจ้ า หน้ า ที่ ม ารั ง วั ด ที่ ดิ น ทั้ งคู่ จึ ง ทราบว่ า นายลิ ง
ครอบครองที่ดินส่ วนของนายไก่ ๑๐๐ ตารางวา ทั้งนายลิ งและนายไก่
ต่างฝ่ ายต่างชี้ ตามแนวโฉนดที่แท้จริ งของตน และลงลายมือชื่ อรับรอง
แนวเขตในบันทึ ก การรั ง วัดไว้ โดยนายลิ งไม่ได้โต้แย้ง ว่าที่ ดิน ๑๐๐
ตารางวาเป็ นของตน ทั้งยังยอมรั บว่าที่ดิน ๑๐๐ ตารางวา ไม่ได้อยู่ใน
เขตที่ดินตามโฉนดของนายลิง แต่อยูใ่ นโฉนดที่ดินของนายไก่ จึงถือได้
ว่ านายลิงได้ สละเจตนาครอบครองที่ดินพิพาทแล้ ว แม้นายลิ งจะเคย
ครอบครองที่ดินจนได้กรรมสิ ทธิ์ ตามมาตรา ๑๓๘๒ แล้วก็ตาม แต่ ก็ถือ
ว่ านายลิงได้ สละกรรมสิ ทธิ์ที่ได้ มาให้ แก่ นายไก่ การครอบครองที่มีมา
ก่ อ นย่ อ มสิ้ นสุ ด ลงตามมาตรา ๑๓๗๗ (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๗๓๘๒/
๒๕๔๘, ที่ ๑๖๔๖/๒๕๕๑) นายไก่ จึงมีกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินของตน
ตามเดิม เมื่อนายไก่ เป็ นเจ้ าของที่ดินย่ อมมีอานาจจาหน่ ายตามมาตรา
๑๓๓๖ การที่ น ายไก่ ไ ด้ ข ายที่ ดิ น ให้ แ ก่ น ายเป็ ด นายเป็ ดย่ อ มได้
กรรมสิ ทธิ์ในทีด่ ินตามโฉนดทีด่ ินทีไ่ ด้ รับโอนมาทั้งแปลง
ข้ อสั งเกต คำถำมข้ อนี ้ ข้ อเท็ะะริ บที่ ั่ำ นำยไก่ ท ำเป็ นหนดบสื อแลวะด
341

ทวเบียนขำยที่ ดินตำมโฉนดทด้บแปลบให้ แก่ นำยเป็ ด โดยนำยเป็ ดสุ ะริ ต


แลวเสี ย ค่ ำ ตอบแทน เป็ นกำรแต่ บ ข้ อเท็ะะริ บเพื่ อหลอกให้ นดก ศึ ก ษำ
คิดั่ ำถำมมำตรำ ๑๒๙๙ ัรรคสอบ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๕๙๖/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๘ น. ๑๒๕ การที่
ผูร้ ้ องทั้งห้าได้ครอบครองที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ นทรัพย์สินของผูอ้ ื่น แม้จะ
เข้า ใจผิด ว่า เป็ นที่ ดิ น ของตนเองก็ ต าม หากแต่ ผูร้ ้ องทั้ง ห้ า ได้ยึ ด ถื อ
ครอบครองด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของอย่างแท้จริ งแล้ว ก็ไม่จาเป็ นที่ผรู ้ ้ อง
จะต้องรู ้มาก่อนว่าที่ดินนั้นเป็ นของผูอ้ ื่นแล้วแย่งการครอบครองมาเป็ น
เวลา ๑๐ ปี จึ ง จะได้ก รรมสิ ท ธิ์ แม้ผูร้ ้ องทั้ง ห้า เข้า ครอบครองที่ ดิ น
พิพาทของผูค้ ดั ค้านทั้งสามโดยเข้าใจผิดว่าเป็ นของผูร้ ้องทั้งห้าเอง ก็ถือ
ได้ว่าเป็ นการเข้ายึดถื อครอบครองทรั พย์สินของผูอ้ ื่ นด้วยเจตนาเป็ น
เจ้า ของตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๒ แล้ว
หากผูร้ ้ องทั้งห้าเข้าครอบครองโดยสงบ เปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ
ติดต่อกันมาเกิน ๑๐ ปี ผูร้ ้องทั้งห้าย่อมได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทตาม
กฎหมาย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๓๘๒/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๒๒๔ จาเลย
เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ ดินซึ่ งอยู่ติดกับที่ ดินของ ก. จาเลยได้
ครอบครองที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งของที่ดิน ก. อย่างเป็ นเจ้าของ
มากว่า ๑๐ ปี ต่อมาจาเลยและเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมรังวัดเพื่อแบ่งแยก
กรรมสิ ทธิ์ จึ งทราบว่าที่ ดินพิ พาทที่ จาเลยครอบครองอยู่เป็ นของ ก.
หลังจากนั้นจาเลยจึงนาเจ้าหน้าที่ที่ดินไปรังวัดใหม่ ซึ่ ง ก. ไประวังแนว
เขตด้วย ต่างฝ่ ายต่างชี้ตามแนวโฉนดที่แท้จริ งของตน และลงลายมือชื่ อ
342

รับรองแนวเขตในบันทึ กการรังวัดไว้ โดยจาเลยไม่ได้โต้แย้งว่าที่ ดิน


พิพาทเป็ นของตนเองโดยการครอบครองปรปั กษ์อีกทั้งยังยอมรั บว่า
ที่ดินพิพาทไม่ได้อยูใ่ นเขตที่ดินตามโฉนดของตน แต่อยูใ่ นโฉนดที่ดิน
ของ ก. ซึ่ งต่อมา ก. ยกให้แก่โจทก์และโจทก์ร่วมทั้งสี่ จึงถือได้วา่ จาเลย
ได้ ส ละเจตนาครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทแล้ ว และแม้จ าเลยจะเคย
ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทมาก่ อ นเป็ นเวลาเกิ น ๑๐ ปี ที่ จ าเลยอาจได้
กรรมสิ ทธิ์ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ แล้วก็ตาม ก็ถือว่าจาเลยได้สละ
กรรมสิ ทธิ์ ที่ได้มาให้แก่ ก. และการครอบครองที่มีมาก่อนย่อมสิ้ นสุ ด
ลงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๗
ข้ อสั งเกต คำพิพำกษำฎีกำนีถ้ ้ ำไม่ ได้ อ่ำนคำัินิะฉด ยมำก่ อน ก็อำะะวคิ ด
ไปได้ ั่ำ เมื่ อได้ กรรมสิ ทธิ์ มำแล้ ั ตดัทรด พย์ คือที่ ดินยดบอยู่ ะำเลยก็ยดบมี
กรรมสิ ทธิ์ หรื ออำะคิ ดไปได้ ั่ำะำเลยโอนกำรครอบครอบคื นให้ แก่ ก.
ตำมมำตรำ ๑๓๘๕ ก. ครอบครอบต่ อ มำ ก. ได้ ก รรมสิ ท ธิ์ โ ดยกำร
ครอบครอบปรปด กษ์ เมื่ อนดกศึ กษำอ่ ำนคำพิ พำกษำฎี กำแล้ ัต้ อบะำไป
ตอบข้ อสอบด้ ัยั่ ำ ะำเลยได้ สลวกรรมสิ ทธิ์ ที่ได้ มำให้ แก่ ก. แลวกำร
ครอบครอบที่มีมำก่ อนย่ อมสิ ้นสุดลบตำมมำตรำ ๑๓๗๗

ข้ อ ๕๐ คาถาม นายดาเป็ นเจ้าของที่ดินมีโฉนดแปลงที่ ๒ ซึ่ ง


ติ ดกับ ที่ ดินมี โฉนดแปลงที่ ๑ ทางด้า นซ้า ย และติ ดกับ ที่ ดินมี โฉนด
แปลงที่ ๓ ทางด้านขวา นายดาทาสัญญาเช่าที่ดินแปลงที่ ๑ เป็ นหนังสื อ
กับนายหนึ่ งและนายสองซึ่ งเป็ นเจ้าของรวม หลังจากทาสัญญาเช่านาย
หนึ่งมาทวงค่าเช่า นายดาไม่จ่ายและบอกว่าเป็ นของตนเองไม่จ่ายค่าเช่า
343

แล้ว และในวันเดียวกันนายดาปลูกบ้านในที่ดินแปลงที่ ๓ ของนายสาม


เพื่ออยูอ่ าศัย นายดาอยู่อาศัยในบ้านและที่ดิน ๓ แปลงดังกล่าวได้ ๖ ปี
นายดาจดทะเบีย นโอนที่ดินแปลงที่ ๒ ให้นายแดงซึ่ งเป็ นบุ ตร และ
มอบการครอบครองที่ ดินแปลงที่ ๑ และบ้า นพร้ อมที่ ดิน แปลงที่ ๓
ให้แก่นายแดง นายแดงอยู่ในที่ดินและบ้านดังกล่าวต่อมาอีก ๕ ปี นาย
สามมอบอานาจให้นายสี่ มาดู ที่ดินและพบว่านายแดงปลู กบ้านอยู่ใน
ที่ดินดังกล่าว นายสี่ จึงเจรจาขอให้นายแดงซื้ อที่ดินแปลงที่ ๓ จากนาย
สาม จนนายสามตกลงยอมจะซื้ อที่ดินแปลงที่ ๓ จากนายสาม แต่ขอ
ปรึ กษากับครอบครัวก่อน
ให้วินิจฉัยว่า นายแดงมีสิทธิ ในที่ดินแปลงที่ ๑ และแปลงที่ ๓
หรื อไม่เพียงใด
ข้ อ ๕๐ ค าตอบ นายดาเช่ า ที่ ดินแปลงที่ ๑ จากนายหนึ่ งและ
นายสอง การที่นายดาครอบครองที่ดิน ถือว่ านายหนึ่งและนายสองได้
สิ ทธิครอบครองโดยนายดายึดถือไว้ ให้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๘
นายหนึ่งและนายสองเป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์รวมในที่ดิน แปลง
ที่ ๑ นายหนึ่งและนายสองคนใดคนหนึ่ งย่ อมมีสิทธิ จัดการดูแลที่ดิน
แปลงที่ ๑ ทั้งหมด การที่นายหนึ่ งมาทวงค่าเช่ า นายดาไม่จ่ายและบอก
ว่าเป็ นของตนเองไม่จ่ายค่าเช่าแล้ว แม้จะไม่ได้บอกกล่าวนายสองด้วย
แต่ เป็ นการบอกกล่ าวที่สมบูรณ์ แล้ ว ถือได้ ว่านายดาซึ่ งยึดถือทรัพย์ สิน
อยู่ในฐานะเป็ นผู้แทนผู้ครอบครอง เปลี่ยนลักษณะแห่ งการยึดถือโดย
บอกกล่ า วไปยั ง ผู้ ค รอบครองว่ า ไม่ เ จตนาจะยึ ด ถื อ ทรั พ ย์ สิ น แทน
344

ผู้ ค รอบครองแล้ ว ตามมาตรา ๑๓๘๑ โดยไม่ จ าต้ องบอกกล่ า วไปยัง


เจ้ าของกรรมสิ ทธิ์รวมทุกคน (คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๖๙/๒๕๕๔)
การที่นายดาครอบครองที่ดินแปลงที่ ๑ และปลูกบ้านในที่ดิน
แปลงที่ ๓ โดยใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ดั ง กล่ า วได้ ๖ ปี ถื อ ว่ า นายด า
ครอบครองทรั พย์ สินของผู้อื่นไว้ โดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้ ว ย
เจตนาเป็ นเจ้ าของเป็ นเวลา ๖ ปี นายดามอบการครอบครองที่ดิ นแปลง
ที่ ๑ และบ้านพร้ อมที่ดินแปลงที่ ๓ ให้แก่นายแดง เป็ นกรณีโอนการ
ครอบครองแก่ กัน ผู้รับโอนจะนับเวลาซึ่ งผู้โอนครอบครองอยู่ก่อนนั้น
รวมเข้ ากับเวลาครอบครองของตนก็ได้ ตามมาตรา ๑๓๘๕ เมื่อนายแดง
ครอบครองที่ ดิ น และบ้า นดัง กล่ า วต่ อ มาอี ก ๕ ปี รวมกับ ที่ น ายด า
ครอบครอง ๖ ปี ถือว่ านายแดงได้ ครอบครองที่ดินแปลงที่ ๑ และแปลง
ที่ ๓ เป็ นเวลาเกิน ๑๐ ปี นายแดงจึงได้ กรรมสิ ทธิ์ที่ดินแปลงที่ ๑ และ
แปลงที่ ๓ โดยการครอบครองปรปั ก ษ์ ตามมาตรา ๑๓๘๒ (เที ยบค า
พิพากษาฎีกาที่ ๑๐๓๑/๒๕๕๔)
นายสามมอบอานาจให้นายสี่ มาดูที่ดินและพบว่านายแดงปลูก
บ้านอยูใ่ นที่ดินดังกล่าว นายสี่ จึงเจรจาขอให้นายแดงซื้ อที่ดินแปลงที่ ๓
จากนายสาม จนนายสามตกลงยอมจะซื้ อที่ดินแปลงที่ ๓ จากนายสาม
แม้ จ ะเป็ นการยอมรั บ ในกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิ น ของนายสาม แต่ ก็เ ป็ นการ
ยอมรั บ หลังจากที่ น ายแดงได้ ก รรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ดิ น แปลงที่ ๓ โดยการ
ครอบครองปรปั ก ษ์ ดั ง ที่ วิ นิ จ ฉั ย มาแล้ ว จึ ง ไม่ มี ผ ลเปลี่ ย นแปลง
กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินแปลงที่ ๓ ซึ่ งนายแดงได้ รับโดยผลของกฎหมายแต่
อย่างใด (คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๖๘/๒๕๕๔)
345

คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๖๙/๒๕๕๔ ฎ.๑๕๐๕ โจทก์กบั บ. เป็ น


เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ดินพิพาท โจทก์และ บ. คนใดคนหนึ่ งย่อมมี
สิ ทธิจดั การดูแลที่ดินพิพาททั้งหมด การที่จาเลยบอกกล่าวแสดงเจตนา
เปลี่ยนการยึดถือที่ดินพิพาทไปยังโจทก์ ก็ยอ่ มมีผลเป็ นการบอกกล่าวที่
สมบู รณ์ ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๑ แล้ว
โดยไม่จาต้องบอกกล่าวไปยังเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมทุกคน
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๓๑/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๕ น.๓๘ โจทก์เป็ น
เจ้าของที่ดินตามหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ที่ดินตามแบบแจ้งการ
ครอบครองที่ดิน (ส.ค.๑) และที่ดินมีหลักฐานตามแบบเสี ยภาษีบารุ ง
ท้องที่ (ภ.บ.ท.๕) โดยบิดามารดาของเจ้าของที่ดินและชาวบ้านใช้ทาง
พิพาทซึ่ งผ่านที่ดินตามหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ของจาเลยเป็ น
ทางออกสู่ ส าธารณะเพื่ อเข้า สู่ ตวั เมื องเชี ย งใหม่ต้ งั แต่ ปี ๒๔๙๘ เมื่ อ
โจทก์ซ้ื อที่ดินแล้วโจทก์ทาถนนขึ้นมาผ่านที่พิพาทเข้าไปในที่ดินของ
โจทก์ จาเลยก็ไม่หา้ มปรามกลับปล่อยให้โจทก์ใช้ทางต่อไปเป็ นเวลาถึง
๘ ปี เศษ แม้โจทก์จะซื้ อที่ดินตามหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ที่ดิน
ตามแบบแจ้งการครอบครองที่ ดิน (ส.ค.๑) และที่ดินมีหลักฐานตาม
แบบเสี ยภาษีบารุ งท้องที่ (ภ.บ.ท.๕) ต่อจากเจ้าของเดิมนับถึงวันฟ้ องจะ
ยังไม่ครบ ๑๐ ปี แต่เมื่อเจ้าของเดิ มได้ใช้ทางพิพาทโดยเจตนาให้เป็ น
ทางเข้า ออกประจ ามาตั้ง แต่ ต้น โจทก์จึ ง สามารถนับ ระยะเวลาการ
ครอบครองต่อจากเจ้าของเดิ มได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๕ ที่ดินตาม
หนังสื อรั บ รองการท าประโยชน์ของจาเลยจึ งตกเป็ นภาระจายอมแก่
ที่ดินทั้งสามแปลงของโจทก์
346

ข้ อสั งเกต กำรแย่ บที่ ดินมือเปล่ ำ ถ้ ำผู้ครอบครอบไม่ ฟ้อบเรี ยกคื นภำยใน


๑ ปี ย่ อมหมดสิ ทธิ เรี ยกคืนกำรครอบครอบตำมมำตรำ ๑๓๗๕ แต่ ถ้ำถูก
รบกันกำรครอบครอบโดยเดิ นผ่ ำนเพื่อะวเอำภำรวะำยอมดดบเช่ นคดี นี้
ต้ อบเดิน ๑๐ ปี ะึบะวได้ ภำรวะำยอม
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๖๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๙ น.๑๖๔ การแสดง
เจตนาเป็ นเจ้า ของที่ จ ะท าให้ ผู ้ค รอบครองได้ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น ที่
ครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ นั้น ต้องเป็ นการแสดงเจตนา
เป็ นเจ้าของตลอดระยะสิ บปี ที่ ได้ครอบครองติ ดต่อกัน เมื่อครบสิ บปี
แล้วผูค้ รอบครองย่อมได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินที่ครอบครองไปโดยผลของ
กฎหมาย เมื่ อผูร้ ั บมอบอานาจโจทก์ไปพบว่ามี บา้ นจาเลยปลู กอยู่บน
ที่ดินซึ่ งเป็ นระยะเวลาหลังจากที่โจทก์ซ้ื อที่ดินพิพาทมาแล้วถึง ๒๒ ปี
จึงมี การเจรจาที่ จะให้จาเลยรั บซื้ อที่ ดินพาท ดังนั้น แม้จะฟั งว่าการที่
จาเลยตกลงจะซื้ อที่ ดินพิพาทเป็ นการยอมรั บในกรรมสิ ทธิ์ ที่ ดินของ
โจทก์ แต่ก็เป็ นการยอมรับหลังจากที่จาเลยได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาท
โดยการครอบครองปรปั กษ์แล้ว จึงไม่มีผลเปลี่ ยนแปลงกรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินพิพาทที่จาเลยได้รับโดยผลของกฎหมายแต่อย่างใด เมื่อจาเลยได้
กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์แล้ว โจทก์ไม่มี
อานาจฟ้ องขับไล่จาเลย
ข้ อสั งเกต คดี นีั้ ินิะฉด ยต่ ำบะำกกรณี ครอบครอบปรปด กษ์ ที่ดิน ข้ ำบเคี ยบ
ะนได้ กรรมสิ ทธิ์ แต่ เมื่อรด บัดดแล้ ัยอมชี ้เขตตำมแนัเขตในโฉนดที่ ดิน
ซึ่ บคดี นด้นศำลฎีกำถือั่ ำ ผู้ครอบครอบปรปด กษ์ สลวกำรครอบครอบ ทำ
ให้ กำรครอบครอบสิ ้ น สุ ด ลบ (ค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำที่ ๗๓๘๒/๒๕๔๘)
347

เหตุผลคบเป็ นเพรำวคดี นด้น เมื่ อรด บ ัดด แล้ ัยอมชี ้เขตตำมแนัเขตใน


โฉนดที่ ดิน ก็ถือั่ ำยอมมอบกำรครอบครอบคื นเะ้ ำขอบเดิ ม แต่ คดี ตำม
ฎี ก ำนี ้ผ้ ู ค รอบครอบปรปด ก ษ์ ยดบ ต้ อบกำรที่ ดิ น อยู่ เพี ย บแต่ ยดบ ตกลบกด น
ไม่ ได้ ะึบไม่ ถือั่ ำสลวกำรครอบครอบ

ข้ อ ๕๑ ค าถาม เมื่ อ วัน ที่ ๑ มกราคม ๒๕๔๐ นายทองเป็ น


เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินมีโฉนด ขายที่ดินให้แก่นายเพชรโดยทาหนังสื อ
สัญญากันเองและส่ งมอบที่ดินให้นายเพชร นายเพชรเข้าครอบครองทา
นาในที่ดินแปลงดังกล่ าวติ ดต่อกันมาจนถึ งวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๕
นายเพชรหยุดทานาเพราะถูกจาคุกข้อหาเสพยาบ้า ๖ เดือน และเข้าทา
นาตามปกติ หลัง จากพ้นโทษและครอบครองท านาในที่ ดินดัง กล่ า ว
จนถึ ง วันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๐ นายทองขายที่ ดินให้แก่ นายพลอย
โดยนายทองหลอกนายพลอยว่านายเพชรอาศัยที่ดินดังกล่าวทานา นาย
พลอยหลงเชื่ อจึงจดทะเบียนซื้ อที่ดินดังกล่าวมา ต่อมานายพลอยทราบ
ว่านายเพชรครอบครองที่ดินมาก่อน จึงฟ้ องขับไล่นายเพชร
ให้วนิ ิจฉัยว่า นายพลอยมีอานาจฟ้ องขับไล่นายเพชรได้หรื อไม่
ข้ อ ๕๑ คาตอบ แม้นายทองขายที่ ดินมีโฉนดให้แก่ นายเพชร
โดยทาหนังสื อสัญญากันเอง เป็ นการซื้อขายอสั งหาริมทรัพย์ ที่มิได้ ทา
เป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ จึงตกเป็ นโมฆะตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๔๕๖ วรรคหนึ่ง แต่นายทอง
ส่ งมอบที่ดินให้นายเพชรเข้าครอบครองทานา นายเพชรยึดถือที่ดินโดย
เจตนาจะยึด ถื อ เพื่อ ตน นายเพชรจึ งได้ สิ ทธิ ค รอบครองตามมาตรา
348

๑๓๖๗
นายเพชรเข้าครอบครองทานาในที่ดินแปลงดังกล่าวติดต่อกัน
มาจนถึงวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๕ นายเพชรหยุดทานาเพราะถูกจาคุก
ข้อหาเสพยาบ้า ๖ เดื อน ถือว่ านายเพชรผู้ค รอบครองขาดการยึดถื อ
ทรั พย์ สินโดยไม่ สมัครใจและได้ การครอบครองกลับคืนมาภายใน ๑ ปี
นับแต่ วันขาดการยึดถือ การครอบครองจึงไม่ สะดุดหยุดลงตามมาตรา
๑๓๘๔ นายเพชรจึ งนับ ระยะเวลาครอบครองติดต่ อกันได้ ต ลอดมา
เมื่ อ นายเพชรเข้า ท านาตามปกติ ห ลัง จากพ้น โทษและได้
ครอบครองทานาในที่ดินดังกล่าวจนถึงวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๐ เป็ น
การครอบครองอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ข องผู้ อื่ นไว้ โดยความสงบและโดย
เปิ ดเผยด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของติดต่ อกันเป็ นเวลาสิ บปี นายเพชรจึงได้
กรรมสิ ทธิ์ที่ดินแปลงดังกล่ าวโดยการครอบครองปรปั กษ์ ตามมาตรา
๑๓๘๒
นายเพชรได้ ก รรมสิ ทธิ์ โดยการครอบครองปรปั ก ษ์ แ ล้ ว
กรรมสิ ทธิ์ ของนายทองย่อมหมดลง นายทองไม่ มีอานาจจาหน่ ายที่ดิน
แปลงดังกล่ าวอีกต่ อไปตามมาตรา ๑๓๓๖ แต่การได้กรรมสิ ทธิ์ ที่ ดิน
โดยการครอบครองปรปั กษ์ ข องนายเพชร เป็ นการได้ มาซึ่ ง
อสั งหาริมทรัพย์โดยทางอืน่ นอกจากนิติกรรมทีย่ งั มิได้ จดทะเบียน ห้ าม
มิให้ ยกขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ บุคคลภายนอกผู้ได้ สิทธิมาโดยเสี ยค่ าตอบแทน
และโดยสุ จริต และได้ จดทะเบียนสิ ทธิโดยสุ จริ ตแล้ วตามมาตรา ๑๒๙๙
วรรคสอง เมื่อนายทองขายที่ ดินให้แก่ นายพลอย โดยนายทองหลอก
นายพลอยว่านายเพชรอาศัยที่ดินดังกล่าวทานา นายพลอยหลงเชื่ อจึงจด
349

ทะเบียนซื้ อที่ดิน เป็ นการซื้อทีด่ ินโดยสุ จริ ต นายพลอยจึงมีอานาจฟ้อง


ขับไล่นายเพชรได้

ข้ อ ๕๒ คาถาม นายทองเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ที่ ดินมี โฉนด


เอาที่ดินไปจดทะเบียนจานองเป็ นประกันเงินกูไ้ ว้กบั เจ้าหนี้ ต่อมานาย
ทองขายที่ดินนั้นให้แก่นายเพชร โดยทาหนังสื อสัญญากันเองและส่ ง
มอบที่ ดินให้นายเพชร นายเพชรเข้าครอบครองทานาในที่ ดินแปลง
ดังกล่ าวติ ดต่อกันมาได้ ๖ ปี ในปี ที่ ๗ ถึ ง ปี ที่ ๙ นายเพชรหยุดทานา
เพราะฝนแล้งขาดน้ าทานาไม่ได้ และเข้าทานาตามปกติในปี ที่ ๑๐ และ
ปี ที่ ๑๑ ในปี ที่ ๑๑ นายทองถึงแก่กรรม ในปี นั้นนายพลอยบุตรนายทอง
ในฐานะทายาทน าเงิ น ส่ ว นตัว ไปช าระหนี้ ไถ่ ถ อนจ านองแล้ ว จด
ทะเบี ย นรั บ มรดกลงชื่ อ นายพลอยถื อ กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น ต่ อ มาในปี
เดี ยวกันนี้ นายพลอยทราบว่านายเพชรครอบครองที่ดินมาก่อนจึงฟ้ อง
ขับไล่นายเพชร อ้างว่าการครอบครองที่ดินของนายเพชรขาดตอนมิได้
ติ ดต่อกันเป็ นเวลาถึ ง ๑๐ ปี เพราะนายเพชรหยุดทานาเสี ย ๓ ปี นาย
เพชรไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ที่ ดินโดยการครอบครอง และถึ งอย่างไรก็ตาม
นายพลอยได้ก รรมสิ ท ธิ์ ที่ ดินมาโดยเสี ย ค่า ตอบแทน คื อชาระหนี้ ไ ถ่
ถอนจานองและโดยสุ จริ ตไม่ รู้ว่า นายเพชรครอบครองที่ ดินมาก่ อน
และจดทะเบียนโดยสุ จริ ตแล้ว ดังนี้ ให้วินิจฉัยว่า นายพลอยมีอานาจ
ฟ้ องขับ ไล่ น ายเพชรได้ห รื อ ไม่ (ข้อ สอบเนติ บ ัณ ฑิ ต สมัย ที่ ๓๗ ปี
การศึกษา ๒๕๒๗)
350

ข้ อ ๕๒ คาตอบ แม้สัญญาซื้ อขายที่ทากันเองระหว่างนายทอง


กับนายเพชรจะเป็ นโมฆะก็ตาม แต่ได้มีการส่ งมอบที่ดินให้นายเพชร
ครอบครอง นายเพชรจึงเข้าครอบครองที่ดินโดยเจตนาเป็ นเจ้าของ การ
ที่ นายเพชรเข้า ครอบครองทานาติ ดต่ อกันมาได้ ๖ ปี แล้วหยุดทานา
เพราะฝนแล้งขาดน้ า ทานาไม่ได้ในปี ที่ ๗ ถึงปี ที่ ๙ และกลับเข้าทานา
ต่อไปตามปกติในปี ที่ ๑๐ และปี ที่ ๑๑ การหยุดทานา ๓ ปี จะถือว่านาย
เพชรสละเจตนาครอบครองไม่ ยึ ด ถื อ ที่ ดิ น อั น เป็ นเหตุ ใ ห้ ก าร
ครอบครองสุ ดสิ้ นลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ช ย์ มาตรา
๑๓๗๗ วรรคหนึ่ ง ไม่ได้ แต่ตอ้ งถื อว่าการที่ฝนแล้งขาดน้ าอันเป็ นเหตุ
ให้หยุดการทานา เป็ นเหตุอนั มีสภาพชัว่ คราวมิให้นายเพชรเข้าทานาได้
ตามปกติ กรณี ตอ้ งตามมาตรา ๑๓๗๗ วรรคสอง การครอบครองของ
นายเพชรหาสิ้ นสุ ดลงไม่ และตามมาตรา ๑๓๗๑ ได้สันนิ ษฐานว่าการ
ครอบครองทรัพย์สินเดียวกันสองคราว ให้สันนิ ษฐานว่าได้ครอบครอง
ติ ด ต่ อ กัน ต้อ งถื อ ว่ า นายเพชรครอบครองติ ด ต่ อ กัน มาตลอด (ค า
พิพากษาฎีกาที่ ๖๐๗/๒๕๐๖ (ประชุ มใหญ่)) เมื่อการครอบครองของ
นายเพชรติ ดต่ อกันมาเป็ นเวลากว่า ๑๐ ปี นายเพชรจึ ง ได้กรรมสิ ท ธิ์
ที่ดินโดยการครอบครองตามมาตรา ๑๓๘๒
ส่ วนที่ นายพลอยได้กรรมสิ ทธิ์ ที่ ดินโดยการรับมรดกซึ่ งมิ ใช่
การได้ม าโดยนิ ติกรรม และการชาระหนี้ ไ ถ่ ถอนจานองก็เป็ นหน้า ที่
และความรั บผิดชอบของทายาท มิ ใ ช่ เป็ นเรื่ องเสี ยค่ า ตอบแทน นาย
พลอยจึงมิใช่บุคคลภายนอกผูไ้ ด้กรรมสิ ทธิ์ มาโดยเสี ยค่าตอบแทนตาม
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง แม้นายพลอยจะสุ จริ ตก็ไม่มีสิทธิ ดีกว่านาย
351

เพชรผูไ้ ด้ก รรมสิ ทธิ์ ที่ ดินโดยการครอบครอง ดังนั้น นายพลอยไม่ มี


อานาจฟ้ องขับไล่นายเพชร (คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๐๙ ถึง ๔๑๒/๒๕๐๗,
๑๐๖๙ ถึง ๑๐๗๐/๒๕๒๒)
ข้ อ สั ง เกต ธบค ำตอบข้ อ นี ้ป รวเด็ น ตำมมำตรำ ๑๓๗๗ ัรรคสอบ
ศำสตรำะำรย์ บดญญดติ สุ ชีัว เห็นั่ ำ กรณี ที่ดินมีโฉนดหำกผู้ครอบครอบ
ขำดกำรยึดถือโดยไม่ สมดครใะ กำระวนดบรวยวเัลำครอบครอบติดต่ อได้
นด้น ผู้ครอบครอบะวต้ อบได้ คืนมำภำยในเัลำหนึ่บปี ตำมมำตรำ ๑๓๘๔
หำกได้ คืนมำหลดบะำกพ้ นหนึ่ บปี ต้ อบเริ่ มต้ นนดบใหม่ ไม่ อำะนำมำตรำ
๑๓๗๗ ัรรคสอบ มำนดบเัลำกำรครอบครอบติ ดต่ อได้ เพรำวมำตรำ
๑๓๗๗ ัรรคสอบ เป็ นเรื่ อบขอบสิ ทธิ ครอบครอบแลวใช้ เฉพำวกด บสิ ทธิ
ครอบครอบเท่ ำนด้น แต่ กำรครอบครอบปรปด กษ์ มีมำตรำ ๑๓๘๔ บดญญดติ
ไั้ เป็ นพิเศษแล้ ั รวยวเัลำขำดกำรยึดถือก็ต้อบไม่ เกินหนึ่บปี มิฉวนด้น
ะวถือั่ ำครอบครอบติดต่ อกดนไม่ ได้ (คำอธิ บำยกฎหมำยลดกษณวทรด พย์
อนุส รณ์ บำนพรวรำชทำนเพลิ บศพ ศำสตรำะำรย์ บดญญดติ สุ ชีัว พ.ศ.
๒๕๔๐ หน้ ำ ๒๖๕)
ในปรวเด็นนี ผ้ ้ ูแต่ บเห็นั่ ำ คัำมเห็นขอบศำสตรำะำรย์ บดญญดติ
น่ ำะวมีเหตุผลดีกั่ ำธบคำตอบ เพรำวธบคำตอบที่ อ้ำบคำพิ พำกษำฎีกำที่
๖๐๗/๒๕๐๖ ปรวชุ มใหญ่ แต่ ข้อเท็ะะริ บตำมคำพิ พำกษำฎีกำที่ อ้ำบไม่
ตรบกดบคำถำมข้ อนี ้ เพรำวตำมคำพิ พำกษำฎี กำดดบกล่ ำัเป็ นที่ ดินไม่ มี
โฉนด แต่ ตำมคำถำมเป็ นที่ ดินมีโฉนด ธบคำตอบดดบกล่ ำัคบถือั่ ำเป็ น
ธบคำตอบสำหรด บตรัะข้ อสอบสมดยดดบกล่ ำัเท่ ำนด้น ไม่ น่ำะวนำมำเป็ น
บรรทดดฐำนในกำรสอบครด้ บอื่ นได้ เพรำวข้ อเท็ะะริ บตำมคำถำมแลวคำ
352

พิ พ ำกษำฎี ก ำที่ อ้ ำ บแตกต่ ำ บกด น หำกมี ก ำรน ำข้ อ เท็ะ ะริ บที่ ั่ ำ มี ก ำร
ครอบครอบปรปด กษ์ ที่ดินมี โฉนดแล้ ัขำดกำรยึดถือเกิ นหนึ่ บปี มำออก
ข้ อ สอบอี ก ผู้ แ ต่ บเห็ น ั่ ำ นด ก ศึ ก ษำน่ ำะวตอบตำมคัำมเห็ น ขอบ
ศำสตรำะำรย์ บดญญดติั่ำไม่ อำะนดบรวยวเัลำกำรครอบครอบติดต่ อกดนได้
ตำมมำตรำ ๑๓๘๔ ซึ่ บคบต้ อบรอดูั่ำหำกมีกำรครอบครอบปรปด กษ์ ที่ดิน
มีโฉนดแล้ ัขำดกำรยึดถือเกินหนึ่บปี ศำลฎีกำะวพิ พำกษำคดีอย่ ำบไร
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๐๗/๒๕๐๖ (ประชุ มใหญ่) ที่พิพาทเนื้ อที่
๑๒ ไร่ เศษ ไม่มีโฉนด เดิ มเป็ นของมารดาจาเลย มารดาจาเลยได้ยกที่
พิ พ าทตี ใ ช้ห นี้ เ งิ น กู้ใ ห้โ จทก์ใ น พ.ศ.๒๔๙๔ โจทก์จึ ง จ้า งคนถางที่
พิพาทจนเตียนหมด แล้วใน พ.ศ.๒๔๙๕ และ ๒๔๙๖ โจทก์ก็ทานา
และปลู กถัว่ ในที่พิพาท โดยทานา ๒ ไร่ ปลูกถัว่ ๒ ไร่ นอกนั้นเป็ นที่
ดอนน้ าไม่ถึงปลู กอะไรไม่ได้ ดังนี้ ถื อได้ว่าเป็ นการยึดถื อโดยเจตนา
เป็ นเจ้าของ โจทก์ย่อมได้สิทธิ ครอบครองที่ พิพาทหมดทั้งแปลงตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๗ ในปี ต่อ ๆ มาจนถึ ง
พ.ศ.๒๕๐๑ โจทก์และผูด้ ูแลที่พิพาทแทนโจทก์ได้ปล่อยที่พิพาทว่างไว้
เนื่ อ งจากขาดน้ า ท าผลประโยชน์ ไ ม่ ไ ด้ จะถื อ ว่ า โจทก์ ส ละเจตนา
ครอบครองหรื อไม่ยึดถือที่พิพาทตามมาตรา ๑๓๗๗ วรรคหนึ่ง หาได้
ไม่ ต้องถือว่ามีเหตุชวั่ คราวมาขัดขวางมิให้โจทก์เข้ายึดถือทาประโยชน์
อันเข้า ข้อยกเว้นตามมาตรา ๑๓๗๗ วรรคสอง การครอบครองของ
โจทก์จึงไม่สุดสิ้ นลง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๖๙ - ๑๐๗๐/๒๕๒๒ โจทก์ได้กรรมสิ ทธิ์
ที่ ดิ น มาโดยการรั บ มรดกต้อ งรั บ ไปทั้ง สิ ท ธิ ห น้า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด
353

ต่ า ง ๆ โจทก์ จึ ง ไม่ ใ ช่ บุ ค คลภายนอกผู ้ไ ด้ ก รรมสิ ทธิ์ มาโดยเสี ย


ค่ า ตอบแทนตามที่ บ ัญ ญัติ ไ ว้ใ นประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์
มาตรา ๑๒๙๙ จ าเลยจึ ง ยกกรรมสิ ท ธิ์ ในที่ พิ พ าทอัน ได้ม าโดยการ
ครอบครองปรปั กษ์ข้ ึนต่อสู ้โจทก์ได้ แม้จาเลยจะยังมิได้จดทะเบียนการ
ได้มาก็ตาม

ข้ อ ๕๓ คาถาม นายเกิดทาสัญญาขายที่ดินมีโฉนดให้แก่นายดี
โดยมีการชาระราคาบางส่ วนแล้ว เงินส่ วนที่เหลือตกลงจะชาระภายใน
๑ ปี แล้วจะไปโอนที่ดินกัน นายเกิดมอบที่ดินให้นายดีครอบครอง นาย
ดีได้เข้าไปปลูกบ้านอยูแ่ ละต่อมาได้ชาระราคาที่ดินให้นายเกิดครบถ้วน
แล้ว แต่ยงั ไม่มีการจดทะเบียนโอนที่ดิน หลังจากนั้นนายเกิดตาย นายกู้
ทายาทผูร้ ั บมรดกของนายเกิ ดได้มีหนังสื อแจ้งให้นายดี ออกจากที่ดิน
อ้า งว่านายดี ผิดสั ญญาไม่ ช าระเงิ นราคาที่ ดินส่ วนที่ เหลื อ นายดี ไ ด้มี
หนังสื อแจ้งให้นายกูท้ ราบว่าได้ชาระเงินครบถ้วนแล้วที่ดินนั้นจึงเป็ น
ของตน แต่นายกู้ก็มิได้ดาเนิ นการอย่างใด นายดี ครอบครองที่ดินนั้น
ต่อมาอีก ๑๑ ปี นายกูไ้ ด้ยกที่ดินนั้นให้นายก่อโดยจดทะเบียนโอนกัน
ถูกต้อง นายก่ อฟ้ องขับไล่ นายดี ออกจากที่ ดินนั้น นายดี ต่อสู ้ ว่าตนได้
กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินโดยการครอบครอง เมื่อนายก่อรับโอนที่ดินจากนาย
กูโ้ ดยไม่เสี ยค่าตอบแทนจึงไม่มีสิทธิ ดีกว่าตน
ให้ วินิ จฉัย ว่า ข้อ ต่ อ สู ้ ข องนายดี ฟั ง ขึ้ น หรื อไม่ (ข้อ สอบเนติ
บัณฑิต สมัยที่ ๔๕ ปี การศึกษา ๒๕๓๕)
354

ข้ อ ๕๓ คาตอบ การที่นายเกิดขายที่ดินมีโฉนดให้นายดีโดยมี
การชาระราคาบางส่ วน และนัดโอนกันเมื่อชาระราคาภายใน ๑ ปี เป็ น
สั ญญาจะซื้อขาย เพราะคู่กรณีเจตนาจะไปจดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์
กันภายหลัง แม้นายเกิดจะมอบที่ดินให้นายดีครอบครอง แต่ ก็ถือไม่ ได้
ว่ าผู้จะขายมีเจตนาสละการครอบครองที่ดินให้ แก่ ผ้ ูจะซื้อ ต้ องถือว่ า
นายเกิ ด ยั ง มี สิ ท ธิ ค รอบครองโดยนายดี ยึ ด ถื อ ไว้ ใ ห้ ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๘ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๗๖/
๒๕๓๒) แต่เมื่อนายเกิ ดตายและนายกู้ทายาทผูร้ ั บมรดกของนายเกิ ด
แจ้งให้นายดีออกจากที่ดิน การที่นายดีมีหนังสื อแจ้งให้นายกูท้ ราบว่า
ได้ชาระราคาครบถ้วนที่ดินนั้นจึงเป็ นของตน เป็ นกรณีที่บุคคลผู้ยึดถือ
ทรัพย์ สินอยู่ในฐานะเป็ นผู้แทนผู้ครอบครอง บอกกล่ าวเปลี่ยนลักษณะ
แห่ งการยึดถือไปยังผู้ครอบครองว่ าไม่ เจตนาจะยึดถือทรั พย์ สินแทนผู้
ครอบครองต่ อไปตามมาตรา ๑๓๘๑ นับแต่ น้ ันถือได้ ว่านายดีได้ ยึดถือ
ที่ดิ นโดยเจตนาจะยึด ถื อ เพื่อ ตนอย่ า งเป็ นเจ้ า ของ นายดี จึ ง ได้ สิ ท ธิ
ครอบครองตามมาตรา ๑๓๖๗ เมื่อนายดีครอบครองที่ดินต่อมาอีก ๑๑
ปี เป็ นการครอบครองอสั งหาริ มทรั พย์ ของผู้อื่นไว้ โดยความสงบและ
โดยเปิ ดเผยด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของ ติดต่ อกันเป็ นเวลาสิ บปี นายดีย่อม
ได้ กรรมสิ ทธิ์ทดี่ ินโดยการครอบครองปรปักษ์ ตามมาตรา ๑๓๘๒
นายดีได้กรรมสิ ทธิ์ โดยการครอบครองปรปั กษ์แล้ว กรรมสิ ทธิ์
ของนายกูย้ ่อมหมดลง นายกู้ไม่ มีอานาจยกที่ดินแปลงดังกล่ าวให้ ผ้ ูอื่น
อี ก ต่ อ ไปตามมาตรา ๑๓๓๖ แม้ ก ารได้ ก รรมสิ ทธิ์ ที่ ดิ น โดยการ
ครอบครองปรปักษ์ของนายดี เป็ นการได้ มาซึ่งอสั งหาริมทรัพย์ โดยทาง
355

อื่นนอกจากนิติกรรมที่ยังมิได้ จดทะเบียน แต่ ก็ห้ามมิให้ ยกขึ้นเป็ นข้ อ


ต่ อสู้ บุคคลภายนอกผู้ได้ สิทธิมาโดยเสี ยค่ าตอบแทนและโดยสุ จริ ต และ
ได้ จดทะเบียนสิ ทธิโดยสุ จริตแล้ วเท่ านั้น แต่นายกูไ้ ด้ยกที่ดินนั้นให้นาย
ก่อ นายก่ อจึงเป็ นผู้รับโอนที่ดินโดยมิได้ เสี ยค่ าตอบแทน นายดีจึงยก
การได้ มาซึ่ งกรรมสิ ทธิ์โดยการครอบครองปรปั กษ์ ขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ นาย
ก่ อผู้รับโอนที่ดินโดยมิได้ เสี ยค่ าตอบแทนได้ ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรค
สอง ข้ อต่ อสู้ ของนายดีฟังขึน้
ข้ อสั งเกต คำถำมมีข้อเท็ะะริ บั่ ำ นำยดี ได้ มีหนดบสื อแะ้ บให้ นำยกู้ ทรำบ
ั่ ำได้ ชำรวเบินครบถ้ ันแล้ ัที่ดินนด้นะึบเป็ นขอบตน ให้ นำยกู้ะดดกำรโอน
ที่ ดินให้ ตนด้ ัย ค ำั่ ำ ให้ นำยกู้ ะดดกำรโอนที่ ดินให้ ตนด้ ัย อำะะวมี
ข้ อโต้ แย้ บได้ ั่ำยดบเป็ นกำรยึดถือแทนอยู่เพื่อรอกำระดทวเบียนโอนที่ ดิน
ผู้แต่ บะึ บตดดคำั่ ำ ให้ นำยกู้ะดดกำรโอนที่ ดินให้ ตนด้ ัย ออกะำกคำถำม
เพื่อไม่ ให้ เกิดข้ อโต้ แย้ บ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๗๖/๒๕๓๒ ในการทาสัญญาจะซื้ อขายที่
พิพ าท ผูร้ ้ องกับผูข้ ายตกลงกันไว้ว่า ให้ผูร้ ้ องช าระค่า ที่ พิ พ าทส่ วนที่
เหลือภายใน ๑ ปี แล้วจึงจะโอนกรรมสิ ทธิ์ กนั เมื่อผูร้ ้องไม่ได้ชาระค่าที่
พิพาทส่ วนที่เหลือ แม้ผขู ้ ายจะมอบที่พิพาทให้ผรู้ ้องเข้าครอบครองแล้ว
ก็ถือไม่ได้วา่ ผูข้ ายมีเจตนาสละการครอบครองที่พิพาทให้ผรู ้ ้องซึ่ งเป็ น
เพียงผูจ้ ะซื้ อ การที่ ผูร้ ้ องเข้าครอบครองที่ พิพาทก็โดยอาศัยสิ ทธิ ของ
ผูข้ ายตามสัญญาจะซื้ อขายเป็ นการยึดถือแทนผูข้ าย มิใช่ยึดถือในฐานะ
เป็ นเจ้าของ ผูร้ ้องครอบครองที่พิพาทเกินกว่า ๑๐ ปี ก็ไม่ได้กรรมสิ ทธิ์
ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๒
356

ข้ อ ๕๔ คาถาม นายสามารถเข้าปลูกบ้านและทาประโยชน์ใน
ที่ดินพิพาทซึ่ งอยูต่ ิดคลองชลประทานมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยเข้าใจ
ว่าเป็ นที่ดินซึ่ งสงวนไว้เพื่อประโยชน์ในการสร้างถนนสาธารณะเลียบ
คลองดังกล่าวและรับรองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ ยวข้องว่าหากทาง
ราชการต้องการใช้ที่ดินพิพาทเมื่อใดนายสามารถจะออกไปทันที ต่อมา
พ.ศ. ๒๕๓๙ นายสมชายดาเนินการรังวัดสอบเขตที่ดินมีโฉนดของตน
กลับปรากฏว่าที่ดินพิพาทเป็ นส่ วนหนึ่ งของที่ดินของนายสมชาย นาย
สมชายจึงแจ้งให้นายสามารถออกไปจากที่ดินพิพาท แต่นายสามารถไม่
ยอมออกไปโดยอ้ า งว่ า ตนได้ ก รรมสิ ทธิ์ ในที่ ดิ น พิ พ าทโดยการ
ครอบครองปรปั ก ษ์ต ามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา
๑๓๘๒ แล้ว
ดัง นี้ ข้อ ต่ อ สู ้ ข องนายสามารถฟั ง ขึ้ น หรื อ ไม่ (ข้อ สอบเนติ
บัณฑิต สมัยที่ ๕๐ ปี การศึกษา ๒๕๔๐)
ข้ อ ๕๔ ค าตอบ การได้ ก รรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ ดิ น มี โ ฉนดซึ่ ง เป็ น
อสั งหาริมทรัพย์โดยการครอบครองปรปักษ์ ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๒ นั้น นอกจากต้ องมีการครอบครองที่ดิน
ของผู้อื่นไว้ โดยความสงบและโดยเปิ ดเผยติดต่ อกันเป็ นเวลา ๑๐ ปี แล้ ว
ยังต้ องเป็ นการครอบครองด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของอีกด้ วย การที่นาย
สามารถรั บ รองต่อพนัก งานเจ้า หน้าที่ ที่ เกี่ ย วข้องว่าหากทางราชการ
ต้องการใช้ที่ดินพิพาทเมื่อใด นายสามารถจะออกไปทันที แสดงว่ า นาย
สามารถมิได้ ครอบครองทีด่ ินพิพาทด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของมาตั้งแต่ แรก
แต่ เป็ นเพียงการครอบครองชั่วคราวในระหว่างทีท่ างราชการยังไม่ ได้ ใช้
357

ประโยชน์ เพราะเข้ าใจว่ าที่ดินพิพาทเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่ นดิน


เท่ านั้น แม้นายสามารถครอบครองที่ดินพิพาทโดยความสงบและโดย
เปิ ดเผยติดต่อกันนานกว่า ๑๐ ปี นายสามารถก็ไม่ ได้ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดิน
พิพาทโดยการครอบครองปรปักษ์ ตามมาตรา ๑๓๘๒ ข้ อต่ อสู้ ของนาย
สามารถฟังไม่ ขึน้ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๙๘-๑๒๙๙/๒๕๓๑, ๑๙๕๙-
๑๙๖๔/๒๕๓๓ และ ๕๓๕๒/๒๕๓๙)
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๑๙๕๙-๑๙๖๔/๒๕๓๓ จาเลยกับ พวกเข้า
ครอบครองที่ พิ พ าทโดยเข้า ใจว่า เป็ นของกองทัพ บก และรั บ ว่า หาก
กองทัพบกจะเอาคืน จาเลยกับพวกก็จะคืนให้ การครอบครองที่พิพาท
ของจ าเลยกับ พวกจึ ง มี ล ัก ษณะเป็ นการครอบครองชั่ว คราว มิ ไ ด้
ครอบครองด้ว ยเจตนาเป็ นเจ้า ของ แม้จ ะครอบครองที่ ดิ น พิ พ าท
ติดต่อกันเป็ นเวลาเกินกว่า ๑๐ ปี ก็หาได้กรรมสิ ทธิ์ โดยการครอบครอง
ปรปั กษ์ไม่

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๑


คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๖๙/๒๕๕๔ ฎ.๑๕๐๕ โจทก์กบั บ. เป็ น
เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ดินพิพาท โจทก์และ บ. คนใดคนหนึ่ งย่อมมี
สิ ทธิ จดั การดูแลที่ดินพิพาททั้งหมด การที่จาเลยบอกกล่าวแสดงเจตนา
เปลี่ยนการยึดถือที่ดินพิพาทไปยังโจทก์ ก็ยอ่ มมีผลเป็ นการบอกกล่าวที่
สมบู รณ์ ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๑ แล้ว
โดยไม่จาต้องบอกกล่าวไปยังเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมทุกคน
358

หมายเหตุ (โดยท่ ำนอำะำรย์ สมชด ย ฑี ฆำอุตมำกร) บทบดญญดติในเรื่ อบ


กรรมสิ ทธิ์ รัม บดญญดติให้ เะ้ ำขอบรัมคนหนึ่ บมีอำนำะทำสิ่ บใดสิ่ บหนึ่ บ
ในทำบะดดกำรตำมธรรมดำได้ แลวอำะท ำกำรเพื่ อรด ก ษำทรด พ ย์ สิ นได้
เสมอตำมปรวมัลกฎหมำยแพ่ บแลวพำณิ ชย์ มำตรำ ๑๓๕๘ ทด้บเะ้ ำขอบ
รัมคนหนึ่ บ ๆ อำะใช้ สิ ท ธิ อด น เกิ ด แต่ ก รรมสิ ท ธิ์ ค รอบไปถึ บ ทรด พ ย์
ทด้บหมดเพื่อต่ อสู้กดบบุคคลภำยนอกตำมมำตรำ ๑๓๕๙ ได้ ด้ัย กำรบอก
กล่ ำัเปลี่ยนลดกษณวแห่ บกำรยึดถือ ตำมมำตรำ ๑๓๘๑ ะึ บไม่ ต้อบบอก
กล่ ำัไปยดบ เะ้ ำ ขอบรัมหรื อผู้มีสิ ท ธิ ค รอบครอบทุ ก คน แต่ ก รณี ข อบ
ทรด พย์ มรดก มำตรำ ๑๗๔๕ บดญญดติให้ ทำยำทมีสิทธิ แลวหน้ ำที่ เกี่ยักดบ
ทรด พ ย์ ม รดกร่ ัมกด น ะนกั่ ำ ะวได้ แบ่ บ มรดกกด นเสร็ ะแล้ ั แลวให้ ใช้
มำตรำ ๑๓๕๖ ถึบมำตรำ ๑๓๖๖ บดบคดบเพี ยบเท่ ำที่ ไม่ ขดดกดบบทบดญญดติ
แห่ บบรรพ ๖ เมื่อมรดกยดบแบ่ บกดนไม่ เสร็ ะ สิ ทธิ แลวหน้ ำที่ อดนเกี่ ยักดบ
ทรด พย์ มรดกย่ อมเป็ นขอบทำยำทแต่ ลวคนโดยเฉพำว ทำยำทคนหนึ่บไม่
อำะใช้ สิทธิ เกี่ยักดบทรด พย์ มรดกในส่ ันที่ เป็ นขอบทำยำทอี กคนหนึ่บได้
ทด้ บไม่ อำะนำมำตรำ ๑๓๕๘ แลวมำตรำ ๑๓๕๙ มำใช้ บดบคด บได้ ด้ั ย
เพรำวถือั่ ำขดดกดบบทบดญญดติแห่ บบรรพ ๖ มีผลให้ กำรบอกกล่ ำัเปลี่ยน
ลดกษณวแห่ บกำรยึดถือตำมมำตรำ ๑๓๘๑ ะวต้ อบบอกกล่ ำัไปยดบทำยำท
ทุกคน ทด้บนี ้ ตำมคำพิพำกษำฎีกำที่ ๘๒๘๖/๒๕๔๔ ะึบมิได้ ขดด แย้ บกดน
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๒๗๕๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๓ น.๙๔ บัน ทึ ก
ข้อตกลงที่จาเลยยินยอมที่จะรื้ อถอนสิ่ งปลูกสร้างออกไปเป็ นการแสดง
ว่า ตั้งแต่วนั ที่ ๒๕ สิ งหาคม ๒๕๓๒ จาเลยยอมรับว่าได้ปลูกสร้างครัว
และคอกวัวล้ าเข้าไปในที่ดินพิพาทและจะรื้ อออก จึงเป็ นการยอมรั บ
359

สิ ทธิ ความเป็ นเจ้าของว่า ส. เป็ นเจ้าของมีกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาท และ


จาเลยเป็ นเพียงผูค้ รอบครองแทนโดยอาศัยสิ ทธิ ของ ส. สถานภาพการ
เป็ นผูอ้ าศัยสิ ทธิ ของเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ เช่นนั้นคงมีติดตัวจาเลยอยูต่ ลอด
มาโดยที่ ส. ไม่จาต้องฟ้ องขับไล่ จาเลยก่อนที่จะขายที่ ดินให้แก่โจทก์
จ าเลยแจ้ง แก่ บุ ค คลทั่ว ไปว่ า ที่ ดิ น เป็ นของจ าเลยโดยไม่ ป รากฏว่ า
หลังจากโจทก์ซ้ื อที่ดินแล้ว จาเลยได้แสดงเจตนาต่อโจทก์เพื่อแย่งการ
ครอบครองที่ดินพิพาท ลาพังแต่การครอบครองรุ กล้ าที่ดินพิพาทโดย
ไม่ร้ื อถอนสิ่ งปลู กสร้ างออกขณะที่ โจทก์ซ้ื อที่ ดินจาก ส. ย่อมไม่เป็ น
การเปลี่ ยนแปลงลักษณะแห่ งการยึดถื อเป็ นการครองครองยึดถื อเพื่อ
ตนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๑ จาเลยไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินพิพาท
โดยการครอบครองปรปักษ์
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๕๖๙๗/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๖ น. ๑๕๓ ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๑ บุคคลใดยึดถือทรัพย์สินอยู่ในฐานะเป็ นผูแ้ ทน
ผูค้ รอบครอง บุ คคลนั้นจะเปลี่ ยนลักษณะแห่ งการยึดถื อได้ก็แต่โดย
บอกกล่ า วไปยัง ผูค้ รอบครองว่า ไม่ มี เ จตนาจะยึด ถื อ ทรั พ ย์สิ น แทน
ผูค้ รอบครองต่ อ ไป และมาตรา ๑๓๗๕ วรรคสอง การฟ้ องคดี เพื่ อ
เอาคืนซึ่ งการครอบครองต้องฟ้ องภายใน ๑ ปี นับแต่เวลาถู กแย่งการ
ครอบครอง เมื่ อข้อเท็จ จริ ง ฟั ง ได้ว่า จาเลยทั้ง สองครอบครองที่ ดิ น
พิ พ าทแทนโจทก์ ในกรณี เ ช่ น นี้ จะถื อ ว่ า จ าเลยทั้ง สองได้ แ ย่ ง การ
ครอบครองก็ต่อเมื่อได้เปลี่ ยนลักษณะแห่ งการยึดถือโดยบอกกล่าวไป
ยังโจทก์ผคู ้ รอบครองว่า ตนไม่มีเจตนาจะยึดถือที่ดินพิพาทแทนโจทก์
ต่อไป ดังนั้น การที่ก่อนปี ๒๕๓๙ ระหว่างแนวเขตที่ดินพิพาทมีการ
360

ปลู ก ต้น ยูค าลิ ป ตัส และฝ่ ายโจทก์ บ อกฝ่ ายจ าเลยให้ ร้ื อถอนต้น ยูค า
ลิ ปตัสกับ รั้ วลวดหนามออก ไม่ ใช่ ก ารบอกกล่ าวเปลี่ ยนลักษณะการ
ยึดถื อไปยังโจทก์ จึงไม่เป็ นการแย่งการครอบครอง แต่เมื่ อประมาณ
กลางเดือนมกราคม ๒๕๔๑ จาเลยทั้งสองได้ทารั้วลวดหนามอ้างว่าทา
ขึ้ นทดแทนรั้ วเดิ มซึ่ ง ทรุ ดโทรมไปแล้ว และโจทก์เห็ นว่ารั้ วดัง กล่ า ว
สร้ างรุ กล้ าเข้ามาในที่ดินของโจทก์ จึงมีการเจรจากับจาเลยทั้งสองให้
รื้ อรั้ วออกไป แต่จาเลยทั้งสองไม่ยินยอม ต่อมาโจทก์ไปร้ องทุ กข์ต่อ
พนัก งานสอบสวน ถื อ ได้ว่า จาเลยทั้ง สองได้บ อกกล่ า วไปยัง โจทก์
ตั้งแต่ประมาณกลางเดื อนมกราคม ๒๕๔๑ แล้วว่าได้เปลี่ ยนลักษณะ
แห่งการยึดถือจากการยึดถือครอบครองที่ดินพิพาทแทนโจทก์ เป็ นการ
ยึดถื อครอบครองเพื่ อตนเองซึ่ ง เข้า ลัก ษณะแย่ง การครอบครอง เมื่ อ
โจทก์ได้ฟ้องคดี น้ ี เพื่ อเอาคื น ซึ่ ง การครอบครองที่ ดินพิพ าทเมื่ อวันที่
๑๒ มกราคม ๒๕๔๒ จึงเป็ นการฟ้ องภายใน ๑ ปี นับแต่เวลาถูกแย่ง
การครอบครองแล้ว จาเลยทั้งสองจึงไม่มีสิทธิ ครอบครองที่ดินพิพาท
ของโจทก์และต้องรับผิดชาระค่าเสี ยหายให้แก่โจทก์
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๖๒๒๖/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๐ น. ๑๔๐ การ
ครอบครองที่ดินพิพาทของจาเลยเป็ นการครอบครองแทนโจทก์ การที่
โจทก์ได้บอกกล่าวเลิ กสัญญาเช่ าให้จาเลยออกไปจากที่ดินพิพาทแล้ว
จาเลยไม่ยอมออกไป ไม่อาจถือว่าการกระทาของจาเลยดังกล่าวเป็ นการ
บอกกล่าวเปลี่ยนลักษณะการครอบครองที่ดินพิพาทเป็ นยึดถือเพื่อตน
ไปยังโจทก์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๑ แล้วได้ และจาเลยก็ไม่อาจยก
เอาเรื่ องการครอบครองของตนหลังจากนั้นขึ้นอ้างว่าเป็ นการแย่งสิ ทธิ
361

ครอบครองที่ดินพิพาทของโจทก์ได้ดว้ ย ที่ดินพิพาทจึงเป็ นของโจทก์


คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๗๒๑/๒๕๕๐ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๑๙๘ พ. ปลูก
บ้านอยูใ่ นที่ดินพิพาทโดยขออาศัยสิ ทธิ ของ ส. จาเลยอยูใ่ นที่ดินพิพาท
สื บต่อจาก พ. จึงตกอยู่ในฐานะเป็ นผูอ้ าศัยเช่นเดียวกับ พ. แม้โจทก์จะ
มิได้ห้ามปรามขณะจาเลยปลูกบ้านหลังใหม่แทนบ้านหลังเดิมของ พ.
ก็หาทาให้ฐานะของจาเลยที่ เป็ นเพียงผูอ้ าศัยเปลี่ ยนแปลงไปไม่ เมื่ อ
ไม่ปรากฏว่าจาเลยได้เปลี่ยนลักษณะแห่ งการยึดถือตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๘๑ จาเลยจึงไม่อาจอ้างว่าจาเลยครอบครองที่ ดินอย่างเป็ นเจ้าของ
และไม่อาจอ้างการครอบครองปรปั กษ์ข้ ึนยันโจทก์ได้
คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๔๘๕๖-๔๘๕๗/๒๕๔๘ ฎ.๑๓๓๖ ผูร้ ้ อง
รับรองความเป็ นเจ้าของที่ ดินพิพาทของผูค้ ดั ค้านมาโดยตลอด ไม่ได้
ครอบครองโดยแย่ ง กรรมสิ ทธิ์ แม้ เ มื่ อ ปี ๒๕๔๑ ถึ ง ปี ๒๕๔๒
ผูค้ ดั ค้านรังวัดที่ดิน ผูร้ ้องไม่ยอมลงชื่ อรับรองเขตเจ้าของที่ดินข้างเคียง
แต่ก็ยงั ไม่พอฟั งว่าผูร้ ้องแสดงเจตนาต่อผูค้ ดั ค้าน เปลี่ยนการยึดถือเพื่อ
ตน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๑
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๒๗๖๐/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๓ น.๑๗๕ การที่
จาเลยและมารดาครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ นทรัพย์
มรดกมานานกว่า ๓๐ ปี นับตั้งแต่ ป. เจ้ามรดกยังมีชีวิตอยู่ และเมื่อ ล.
เข้าเป็ นผูจ้ ดั การมรดกของ ป. จาเลยก็ยงั เป็ นฝ่ ายครอบครองที่ พิพาท
ตลอดมานั้น ถื อได้ว่า จาเลยครอบครองแทนทายาทของ ป. ทุ ก คน
เพราะยังไม่มีการแบ่งแยกที่ ดินพิพาทแก่ทายาทโดยชัดเจน แต่เมื่อ ล.
ดาเนิ น การขอแบ่ ง แยกโฉนดที่ ดิ นพิ พ าทเพื่ อ แบ่ ง แก่ ท ายาทของ ป.
362

มารดาจาเลยซึ่ ง เป็ นทายาทคนหนึ่ ง ของ ป. ปฏิ เสธไม่ ยอมรั บที่ ดินที่


แบ่งแยกให้โดยยืนยันต่อทายาทอื่ น ๆ ว่า ที่ ดินพิพ าทเป็ นกรรมสิ ท ธิ์
ของตนแล้ว จะไม่ ยินยอมยกให้ใ คร จึ ง เป็ นการแสดงเจตนาเปลี่ ย น
ลักษณะแห่ งการยึดถื อโดยชัดเจนว่าที่ดินพิพาทเป็ นของตนแล้ว และ
เมื่อภายหลังจาก ก. รับโอนที่พิพาทจาก ล. ผูจ้ ดั การมรดกแล้ว ก.ไม่เคย
เข้าครอบครองทาประโยชน์ในที่ ดินพิพาทแต่อย่างใด กลับปล่ อยให้
จาเลยเป็ นฝ่ ายครอบครองตลอดมา เมื่อจาเลยครอบครองที่ดินพิพาท
โดยสงบและเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของนับจนถึ งวันที่โจทก์ท้ งั สอง
ได้รั บ โอนที่ ดิ น พิ พ าทจาก ก. เกิ นกว่า ๑๐ ปี ที่ ดิ น พิ พ าทจึ ง ตกเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ ของจาเลยตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒
การที่ โจทก์ท้ งั สองซื้ อที่ ดินพิพาทมาจาก ก. โดยรู ้ ดีว่าจาเลย
ครอบครองทาประโยชน์ในที่ ดินดังกล่ าวมาก่ อนแล้ว จึ งถื อไม่ได้ว่า
โจทก์ท้ งั สองเป็ นบุ ค คลภายนอกผูส้ ุ จริ ตอันจะมี สิ ท ธิ ใ นที่ ดินพิ พ าท
ดี ก ว่า จาเลยตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง การรั บโอนที่ ดิน
พิพาทของโจทก์ เป็ นการทาให้จาเลยผูอ้ ยู่ในฐานะอันจะจดทะเบี ย น
สิ ทธิ ได้อยูก่ ่อนเสี ยเปรี ยบ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๓๑/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล. ๒ น.๑๑๑ ขณะมี
ชีวติ อยู่ ห. เพียงแต่มีความประสงค์จะยกที่ดินพิพาทให้แก่จาเลยเท่านั้น
แต่ยงั ไม่ได้มีการยกให้จริ ง ดังนั้น เมื่อ ห. ถึงแก่กรรมที่ดินพิพาทจึงย่อม
เป็ นทรัพย์มรดกของ ห. ตกได้แก่บรรดาทายาทของ ห. ซึ่ งรวมถึงโจทก์
และจาเลยด้วย การที่จาเลยเป็ นผูค้ รอบครองที่ดินพิพาทต่อมาภายหลัง
จากที่ ห. ถึงแก่กรรมแล้ว จึงเป็ นการครอบครองที่ดินพิพาทแทนทายาท
363

ของ ห. คนอื่น ๆ ด้วย จาเลยเพิ่งจะมาเปลี่ ยนเจตนาครอบครองเพื่อตน


ก็เมื่อจาเลยไปยื่นคาขอให้เจ้าพนักงานที่ดินดาเนิ นการออกโฉนดที่ดิน
สาหรับที่ดินพิพาทให้เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของจาเลยแต่เพียงผูเ้ ดียวเมื่อวันที่
๑๙ ธันวาคม ๒๕๓๗ โจทก์ฟ้องคดี น้ ี เมื่ อวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๓๘
จึงมีอานาจฟ้ อง
คาพิพากษาฎีก าที่ ๕๑๘๗-๕๑๘๘/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๘ น.๑๘๐
โจทก์เป็ นเจ้าของบ้านและที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ นที่ดินมีโฉนด จาเลยได้มา
อาศัย อยู่ ก ับ บ. ในฐานะหลาน จึ ง ไม่ มี นิ ติ สั ม พัน ธ์ ใ ด ๆ ต่ อ โจทก์
โดยตรง จึงถื อว่าจาเลยอยูใ่ นที่ดินพิพาทโดยอาศัยสิ ทธิ ของ บ. เมื่อ บ.
ถึงแก่ความตายและ อ. ภรรยาของ บ. ยังคงอยู่ในบ้านและที่ดินพิพาท
ถือว่าโจทก์ยนิ ยอมโดยปริ ยายให้ อ. อยูอ่ าศัยต่อมา จาเลยซึ่ งอยูอ่ าศัยใน
บ้านและที่ดินพิพาทในขณะนั้นด้วย ก็ตอ้ งถื อว่าอยูโ่ ดยอาศัยสิ ทธิ ของ
อ. แม้ภายหลังที่ บ. ถึ งแก่ความตายจาเลยจะได้แสดงกิ ริยาอาการเป็ น
ปฏิ ปั ก ษ์ต่ อ การครอบครองที่ ดิ นพิ พ าทของโจทก์ บ ้า ง ก็ เ พี ย งแสดง
อาการหวงกันสิ ทธิ แทน อ. เท่านั้น จาเลยไม่มีสิทธิ ที่จะแสดงอาการ
หวงกันหรื ออาการอื่นใดเกี่ยวกับการครอบครองที่ดินพิพาทว่าเป็ นการ
กระทาของจาเลย เพราะ อ. ยังมีชีวิตอยู่ จนเมื่อ อ. ถึ งแก่ความตาย ถื อ
ได้วา่ จาเลยสามารถที่จะดาเนิ นการต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่ งกรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ ดินพิ พาทเป็ นของจาเลยเองได้ซ่ ึ ง เมื่ อนับถึ ง วันฟ้ องยังไม่ถึ ง ๑๐ ปี
จาเลยจึงยังไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒
364

คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๖๐๗/๒๕๔๕ ฎ.ส.ล.๙ น.๑๗๘ บ. บิดา


โจทก์ได้แบ่งที่ดินให้ ว. มารดาจาเลยเข้าอยูอ่ าศัย และการที่ ว. ได้ยื่นคา
คัดค้านต่อเจ้าพนักงานที่ดินภายหลังจาก บ. ได้ขอรังวัดที่ดินเพื่อออก
โฉนด ว่า ที่ ดินพิพาทไม่ใช่ ที่ดินของ บ. ผูข้ อออกโฉนด แต่เป็ นที่ ดิน
ของ ว. ได้ครอบครองมาเป็ นเวลากว่า ๓๐ ปี แล้ว การคัดค้านของ ว.
เป็ นการโต้แย้งสิ ทธิ ซ่ ึ งถื อว่า บ. ได้ทราบแล้ว พฤติ การณ์ ของ ว. เป็ น
การเปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือว่าไม่มีเจตนาจะยึดถือที่พิพาทแทน บ.
ต่อไปอีก และ ว. ได้ถือสิ ทธิ ครอบครองที่พิพาทเพื่อตนเองตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๘๑ ต่อมา บ. ได้ถึงแก่กรรม โจทก์ได้ขอเป็ นผูจ้ ดั การมรดก
และได้เข้าสวมสิ ทธิ การดาเนิ นการขอออกโฉนดที่ ดิน ว. กับพวกได้
คัดค้า นการออกโฉนดที่ ดิน แสดงให้เห็ นว่า ว. ซึ่ งในขณะนั้นเป็ นผู ้
ครอบครองที่ พิพ าทตลอดมายืนยันว่าตนเองมี ก รรมสิ ทธิ์ ในที่ พิ พาท
และในการที่ ว. ถอนค าคัดค้า น ก็ เนื่ องจากเจ้า พนักงานที่ ดินแจ้ง ให้
ทราบว่า ได้มี ป ระกาศส านัก งานที่ ดิ น หากไม่ ถ อนค าคัด ค้า นจะถู ก
ฟ้ องร้อง เมื่อ ว. ยังครอบครองที่พิพาทอยูแ่ ละได้คดั ค้านการรังวัดที่ดิน
เพื่อออกโฉนดของโจทก์ต่อไปอีกจึงเป็ นการโต้แย้งสิ ทธิ และเป็ นการที่
ว. เปลี่ ยนลักษณะแห่ งการยึดถื อเป็ นของตนตั้งแต่ได้ยื่นคาร้องคัดค้าน
แล้ว หลังจากนั้นปี ๒๕๓๑ ว. ยกที่พิพาทให้จาเลยและจาเลยได้ร้อง
คัดค้านการออกโฉนดที่ดินของโจทก์ การที่โจทก์นาคดีมาฟ้ องเรี ยกคืน
การครอบครองที่ พิ พ าทเกิ น กว่า ๑ ปี นับ แต่ ว นั ที่ โ จทก์ ถู ก แย่ง การ
ครอบครอง โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ องตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๕ วรรค
สอง
365

คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๖๖๑/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๑๐ น.๒๑๖ เมื่อ ป. ถึง


แก่ความตาย ที่ดินพิพาทจึงเป็ นทรัพย์มรดกของ ป. ที่จะตกทอดไปยัง
ทายาทของ ป. ตามกฎหมาย บ. อยู่กินฉันสามีภริ ยากับ ป. โดยมิได้จด
ทะเบียนสมรสตามกฎหมายจึ งไม่มีสิทธิ ได้รับมรดกของ ป. โจทก์จึง
เป็ นทายาทของ ป. แต่เพียงผูเ้ ดี ยว ที่ดินพิพาทจึ งตกได้แก่ โจทก์ซ่ ึ งยัง
เป็ นเด็ ก เล็ ก และอาศั ย อยู่ ก ั บ บ. มารดา ดั ง นั้ น จึ ง ต้ อ งถื อ ว่ า บ.
ครอบครองดูแลที่ดินพิพาทแทนโจทก์ซ่ ึ งเป็ นผูเ้ ยาว์มาตลอด แม้ต่อมา
บ. จะได้ ส. เป็ นสามี และรับ ส. เข้ามาอยู่ร่วมกันในที่ดินพิพาทก็ตาม
แต่ ก็ไ ม่ป รากฏข้อเท็จจริ ง ว่า บ. และ ส. ครอบครองที่ ดินพิ พาทโดย
เจตนาจะยึดถือเพื่อตนหรื อเปลี่ยนลักษณะแห่ งการยึดถื อว่าไม่มีเจตนา
ยึดถือครอบครองที่ดินพิพาทแทนโจทก์อีกต่อไป บ. และ ส. จึงไม่เกิ ด
สิ ทธิ ครอบครองที่ดินพิพาทและยังต้องถื อว่าบุคคลทั้งสองครอบครอง
ที่ดินพิพาทแทนโจทก์มาตลอด เมื่อ บ. โอนการครอบครองที่ดินพิพาท
ให้จาเลย จาเลยก็ไม่มีสิทธิ ในที่ดินพิพาทดีไปกว่า บ. ผูค้ รอบครองที่ดิน
แทนโจทก์ จาเลยจึงเป็ นเพียงผูค้ รอบครองที่ดินพิพาทแทนโจทก์ตาม
หลักผูร้ ับโอนไม่มีสิทธิ ดีกว่าผูโ้ อนเท่านั้น

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๒


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๗๒๓/๒๕๕๔ ฎ.๒๑๐๑ การครอบครอง
ปรปั ก ษ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ หมายถึ ง การได้ก รรมสิ ท ธิ์ ใน
ทรัพย์สินของผูอ้ ื่นโดยการครอบครอง ในเบื้องต้นทรัพย์สินของผูอ้ ื่นที่
ครอบครองปรปั กษ์ได้น้ นั จะต้องเป็ นทรัพย์สินที่เจ้าของมีกรรมสิ ทธิ์
366

หากเจ้าของมีเพียงสิ ทธิ ครอบครองจะอ้างการครอบครองปรปั กษ์ตาม


บทบัญญัติดงั กล่าวเพื่อให้ได้กรรมสิ ทธิ์ มิได้
จาเลยเข้าครอบครองที่ ดินพิพาทมาก่ อนที่ ดินพิพาทออกเป็ น
โฉนดที่ ดิ น จึ ง ไม่ อ าจนับ ระยะเวลาครอบครองดัง กล่ า วรวมเข้า กับ
ระยะเวลาครอบครองปรปั กษ์ไม่ว่าจาเลยครองครองช้านานเพียงใดก็
ไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ การที่จาเลยครอบครองที่ดินพิพาทมาตั้งแต่เป็ นที่ดินที่
มีแบบแจ้งการครอบครอง (ส.ค.๑) ก็ไม่ใช่ยึดถือเพื่อตนเองแต่เป็ นการ
ครอบครองแทน ห. เมื่อ ห. ถึ งแก่ความตาย จาเลยคงครอบครองแทน
ทายาทของ ห. ตลอดมา ที่ดินพิพาทเป็ นส่ วนหนึ่งของที่ดินที่ออกโฉนด
ที่ดินให้แก่โจทก์เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๓๖ และจาเลยไม่ได้คดั ค้าน
การขอออกโฉนดที่ดินตามโฉนดรวมทั้งที่ดินพิพาทย่อมเป็ นกรรมสิ ทธิ์
ของโจทก์นบั แต่วนั ออกโฉนด แม้นบั แต่วนั ที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๓๖ จาเลย
ยังคงครอบครองที่ดินพิพาทโดยความสงบและโดยเปิ ดเผย แต่จาเลยได้
แสดงเจตนาเปลี่ ยนลัก ษณะแห่ งการยึดถื อแจ้ง ไปยังโจทก์ว่า จาเลยมี
เจตนายึดถือที่ดินพิพาทเพื่อตน ก็เนื่ องมาจากจาเลยเข้าใจว่าที่ดินพิพาท
เป็ นทรัพย์มรดกของ ห. ที่ ส. ในฐานะผูจ้ ดั การมรดกยังไม่ได้แบ่งให้แก่
ทายาท การที่ จ าเลยครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทนับ แต่ ว นั ที่ ๕ ตุ ล าคม
๒๕๓๖ ถื อ ไม่ ไ ด้ว่า ครอบครองด้ว ยเจตนาเป็ นเจ้า ของ แต่ มี เ จตนา
ครอบครองแทนทายาทของ ห. อยู่ จ นกระทั่ง วัน ที่ ๒๙ สิ ง หาคม
๒๕๓๗ ส. ยกที่ดินให้จาเลยซึ่ งจาเลยเข้าใจผิดว่าที่ดินพิพาทเป็ นส่ วน
หนึ่งของที่ดินโฉนดดังกล่าว จึงถือว่าจาเลยครอบครองที่ดินด้วยเจตนา
เป็ นเจ้าของนับ แต่ วนั ที่ ๒๙ สิ งหาคม ๒๕๓๗ เป็ นต้นไป เมื่ อถึ งวัน
367

ฟ้ องวันที่ ๒๓ สิ ง หาคม ๒๕๔๗ ยังไม่ เกิ น ๑๐ ปี จาเลยจึ ง ยัง ไม่ ไ ด้


กรรมสิ ทธิ์ ตาม มาตรา ๑๓๘๒
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๐๙๕/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๒ น. ๑๓๔ ที่ดินที่
จะได้กรรมสิ ทธิ์ โดยการครอบครองปรปั กษ์ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๒ จะต้องเป็ นที่ดินซึ่ งบุคคลอื่นมีกรรมสิ ทธิ์
อยู่ การที่ ผูร้ ้ องบรรยายมาในค าร้ องขอว่า ผูร้ ้ องซื้ อที่ ดินตามหนัง สื อ
รับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) เฉพาะส่ วนของ ป. โดยไม่ได้จด
ทะเบียนต่อเจ้าพนักงานที่ดิน แต่ได้มีการส่ งมอบการครอบครองให้แก่
กัน อันเป็ นเพี ย งการแสดงให้เห็ นถึ ง เหตุ แห่ ง การที่ ผูร้ ้ องได้ที่ ดินมา
ครอบครอง เมื่อที่ดินมีหลักฐานเป็ นหนังสื อรับรองการทาประโยชน์
(น.ส.๓ ก.) ผูร้ ้องจึงมีเพียงสิ ทธิ ครอบครองเท่านั้น ผูร้ ้องจะครอบครอง
ปรปั ก ษ์ไ ม่ ไ ด้ ผูร้ ้ อ งจึ ง ไม่ อ าจเป็ นเจ้า ของผูม้ ี ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น ได้
ต่อมาหลัง จากผูร้ ้ องซื้ อที่ ดินแล้ว ที่ ดินดังกล่ าวได้ออกหลัก ฐานเป็ น
โฉนดที่ดิน ดังนั้น การที่ผรู ้ ้องได้เข้าครอบครองโดยความสงบและโดย
เปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของซึ่ งเมื่อนับระยะเวลาการครอบครองตั้งแต่
วันที่ ออกโฉนดที่ ดินถึ ง วันยื่นคาร้ องขอเกิ นกว่า สิ บปี แล้ว ผูร้ ้ องจึ งมี
สิ ทธิ ร้องขอแสดงกรรมสิ ทธิ์ ที่ ดินได้ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และ
พาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๒
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๖๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๙ น.๑๖๔ การแสดง
เจตนาเป็ นเจ้า ของที่ จ ะท าให้ ผู ้ค รอบครองได้ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น ที่
ครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ นั้น ต้องเป็ นการแสดงเจตนา
เป็ นเจ้าของตลอดระยะสิ บปี ที่ ได้ครอบครองติ ดต่อกัน เมื่อครบสิ บปี
368

แล้วผูค้ รอบครองย่อมได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินที่ครอบครองไปโดยผลของ


กฎหมาย เมื่ อผูร้ ั บมอบอานาจโจทก์ไปพบว่ามี บา้ นจาเลยปลู กอยู่บน
ที่ดินซึ่ งเป็ นระยะเวลาหลังจากที่โจทก์ซ้ื อที่ดินพิพาทมาแล้วถึง ๒๒ ปี
จึงมี การเจรจาที่ จะให้จาเลยรั บซื้ อที่ ดินพาท ดังนั้น แม้จะฟั งว่าการที่
จาเลยตกลงจะซื้ อที่ ดินพิพาทเป็ นการยอมรั บในกรรมสิ ทธิ์ ที่ ดินของ
โจทก์ แต่ก็เป็ นการยอมรับหลังจากที่จาเลยได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาท
โดยการครอบครองปรปั กษ์แล้ว จึงไม่มีผลเปลี่ ยนแปลงกรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินพิพาทที่จาเลยได้รับโดยผลของกฎหมายแต่อย่างใด เมื่อจาเลยได้
กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์แล้ว โจทก์ไม่มี
อานาจฟ้ องขับไล่จาเลย
ข้ อสั งเกต คดี นีั้ ินิะฉด ยต่ ำบะำกกรณี ครอบครอบปรปด กษ์ ที่ดิน ข้ ำบเคี ยบ
ะนได้ กรรมสิ ทธิ์ แต่ เมื่อรด บัดดแล้ ัยอมชี ้เขตตำมแนัเขตในโฉนดที่ ดิน
ซึ่ บคดี นด้นศำลฎีกำถือั่ ำ ผู้ครอบครอบปรปด กษ์ สลวกำรครอบครอบ ทำ
ให้ กำรครอบครอบสิ ้ น สุ ด ลบ (ค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำที่ ๗๓๘๒/๒๕๔๘)
เหตุผลคบเป็ นเพรำวคดี นด้น เมื่ อรด บ ัดด แล้ ัยอมชี ้เขตตำมแนัเขตใน
โฉนดที่ ดิน ก็ถือั่ ำยอมมอบกำรครอบครอบคื นเะ้ ำขอบเดิ ม แต่ คดี ตำม
ฎี ก ำนี ้ผ้ ู ค รอบครอบปรปด ก ษ์ ยดบ ต้ อบกำรที่ ดิ น อยู่ เพี ย บแต่ ยดบ ตกลบกด น
ไม่ ได้ ะึบไม่ ถือั่ ำสลวกำรครอบครอบ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๓๘๖/๒๕๕๑ ฎ.๑๖๔๕ โจทก์ครอบครอง
ที่ดินพิพาทโดยความสงบเปิ ดเผยและเจตนาเป็ นเจ้าของเป็ นเวลากว่า
๑๐ ปี แม้บา้ นของโจทก์จะอยูน่ อกเขตที่ดินพิพาทด้านทิศตะวันออกซึ่ ง
จรดแม่น้ าลพบุ รี แต่ที่ดินดังกล่ าวเป็ นที่ งอกริ่ มตลิ่ งเป็ นส่ วนควบกับ
369

ที่ดินพิพาท โจทก์ยอ่ มได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครอง


ปรปั กษ์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๒
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๕๐๑๖/๒๕๕๕ ฎ.๘๖๔ แม้ค นต่ า งด้า ว
จะได้มาซึ่ งที่ดินจะต้องเป็ นไปตามเงื่ อนไขและวิธีการซึ่ งกาหนดโดย
กฎกระทรวงและต้อ งได้รั บ อนุ ญ าตจากรั ฐ มนตรี ว่า การกระทรวง
มหาดไทย ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๘๖ ก็ตาม แต่ประมวล
กฎหมายที่ดินไม่ได้หา้ มเด็ดขาดไม่ให้คนต่างด้าวได้มาซึ่ งที่ดิน เพียงแต่
ต้องปฏิ บตั ิ ตามเงื่ อนไขที่ กฎหมายกาหนด การที่ ต. คนต่างด้าว และ
จาเลยร่ วมกันครอบครองที่ดินและบ้านพิพาทเป็ นเวลาเกิ นกว่า ๑๐ ปี
แล้ว การครอบครองที่ดินและบ้านพิพาทของ ต. จึงไม่เสี ยเปล่าไปและ
ยัง มี ผ ลตามกฎหมาย เมื่ อ ต. ถึ ง แก่ ค วามตายในปี ๒๕๓๔ จาเลยได้
ครอบครองที่ ดินและบ้านพิพ าทต่อมาจาก ต. จึ งเป็ นการครอบครอง
ที่ดินเพื่อตนต่อเนื่ องมาเกิ นกว่า ๑๐ ปี แล้ว จาเลยจึ งได้กรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินโดยการครอบครองปรปักษ์
ต. เป็ นคนต่างด้าวไม่ปรากฏว่ามี การดาเนิ นการตามเงื่ อนไข
ของกฎหมายซึ่ งจะทาให้ ต. สามารถถือครองกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินได้ แม้
การครอบครองที่ ดินของ ต. จะไม่ เสี ย เปล่ า ไป แต่ ก็ จะมาขอให้ศาล
แสดงกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินที่ ต. ครอบครองปรปั กษ์ไม่ได้ หากศาลบังคับ
ให้จะเป็ นทางให้ ต. ได้ที่ดินอันเป็ นการฝ่ าฝื นต่อกฎหมาย คาขอของผู ้
ร้องสอดซึ่ งเป็ นผูจ้ ดั การมรดกของ ต. ที่ขอให้ศาลมีคาสั่งให้ผรู ้ ้องสอด
ในฐานะผู้จ ัด การมรดกของ ต. ได้ ก รรมสิ ทธิ์ ในที่ ดิ น โดยการ
ครอบครองปรปั กษ์จึงไม่อาจบังคับให้ได้ ผูร้ ้ องสอดจึงไม่มีอานาจยื่น
370

ค าร้ อ งสอดรวมทั้ ง มี ค าขออื่ น ที่ อ าศั ย สิ ทธิ ข องการเป็ นเจ้ า ของ


กรรมสิ ทธิ์ ดว้ ย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๘๗๒/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๓๐๓ โจทก์
และผูไ้ ด้ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ นพิ พ าทโดยการครอบครองปรปั ก ษ์ต าม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ ต่ า งยื่ น ค าขอจดทะเบี ย นสิ ท ธิ ข องตนต่ อ
เจ้าพนักงานที่ดินจาเลยที่ ๑ ในวันเดียวกัน จาเลยที่ ๑ ในฐานะพนักงาน
เจ้าหน้า ที่ ตาม ป.ที่ ดินฯ จึ ง ต้องปฏิ บ ตั ิ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ฯ
ออกตามความใน พ.ร.บ.ให้ใช้ ป.ที่ดินฯ ข้อ ๘ และข้อ ๙ ซึ่ งจาเลยที่ ๑
ได้ดาเนิ นการตามกฎกระทรวงฉบับดังกล่ าวกาหนดไว้ครบถ้วน เมื่ อ
จาเลยที่ ๑ ไม่อาจชี้ขาดว่าควรจดทะเบียนสิ ทธิ ฝ่ายใดก่อน การหารื อต่อ
จาเลยที่ ๒ เพื่อให้เกิ ดความรอบคอบถี่ ถ้วนในการออกคาสั่งโดยมิได้
เจตนาจะกลั่น แกล้ ง หรื อช่ ว ยเหลื อ ฝ่ ายใด จึ ง เป็ นดุ ล พิ นิ จ ในการ
ปฏิ บตั ิ ง านโดยสุ จริ ตเหมาะสมตามควรแก่ ก รณี แล้ว ทานองเดี ยวกัน
จาเลยที่ ๒ สั่งการให้จาเลยที่ ๑ จดทะเบียนสิ ทธิ ของผูไ้ ด้กรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ ก่อนจดทะเบียนให้โจทก์ โดยเป็ นไป
ตามคาตอบหารื อของคณะกรรมการกฤษฎีกา จึงนับเป็ นการใช้ดุลพินิจ
สั่งการโดยสุ จริ ตเหมาะสมตามควรแก่กรณี เช่นกัน
สัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์กบั ส. เป็ นเพียง
บุ ค คลสิ ทธิ ผู ก พัน เฉพาะคู่ ก รณี แม้ ศ าลจะพิ พ ากษาตามสั ญ ญา
ประนีประนอมยอมความ โจทก์ก็เพียงอยูใ่ นฐานะอันจะให้จดทะเบียน
สิ ท ธิ ข องตนได้อ ยู่ก่ อ นเท่ า นั้น แต่ สิ ท ธิ ข องผูไ้ ด้ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น
พิ พ าทตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ เป็ นสิ ท ธิ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ด้ว ยผลของ
371

กฎหมาย เมื่ อ ศาลพิ พ ากษาถึ ง ที่ สุ ด ยื น ยัน สิ ท ธิ ดัง กล่ า ว ผลของค า


พิพากษาย่อมผูกพัน ส. กับพวกซึ่ งถือกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทร่ วมกัน
ทุกคน และผลของคาพิพากษานั้นใช้ยนั โจทก์ซ่ ึ งเป็ นบุ คคลภายนอก
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๕ (๒) คาสั่งของจาเลยทั้งสองที่ให้จดทะเบียน
การได้มาซึ่ งกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ ก่อน
การจดทะเบียนสิ ทธิ แก่โจทก์ จึงถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายแล้ว

ต้ องครอบครองทรัพย์ ของผู้อนื่
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๕๓๔/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๘ น.๖๕ เมื่อโจทก์
ช าระเงิ น ค่ า จองห้ อ งพัก ให้ แ ก่ จ าเลยแล้ว เงิ น ดัง กล่ า วย่อ มตกเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ แก่จาเลยทันทีเพราะเงินเป็ นสังกมทรัพย์ แต่หลังจากที่โจทก์
ใช้สิทธิ บอกเลิกสัญญา จาเลยมีหน้าที่และความรับผิดเกิดขึ้นใหม่ในอัน
ที่จะต้องคืนค่าห้องพักที่รับไว้ให้แก่โจทก์ แต่ไม่จาต้องคืนเป็ นเงิ นอัน
เดี ยวกับ ที่ โจทก์ชาระไว้ คงคื นตามจานวนที่ จะต้องคื น จาเลยจะอ้าง
เรื่ องการครอบครองปรปั กษ์เงินค่าห้องพักที่รับไว้ เพื่อปั ดความรับผิดที่
ตนมีหน้าที่ตอ้ งชาระคืนหาได้ไม่
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๗๐๒/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๙๓ ที่ดินของ
โจทก์และของจาเลยมีอาณาเขตติดต่อกันและต่างได้รับการจัดรู ปที่ดิน
ตาม พ.ร.บ.จัดรู ปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมฯ จาเลยครอบครองที่ดินพิพาท
ซึ่ งอยู่ในเขตที่ ดินของโจทก์ ตั้งแต่มีการออกโฉนดที่ดินให้โจทก์ตาม
การจัดรู ปที่ดิน เมื่อที่ดินของโจทก์เป็ นที่ดินในเขตโครงการจัดรู ปที่ดิน
สิ ทธิ ในที่ดินของโจทก์ตอ้ งเป็ นไปตามมาตรา ๔๔ แห่ ง พ.ร.บ.ดังกล่าว
372

ซึ่ งบัญญัติวา่ ภายในกาหนดห้าปี นับแต่วนั ที่ได้รับหนังสื อแสดงสิ ทธิ ใน


ที่ดินในเขตโครงการจัดรู ปที่ดิน เจ้าของที่ดินหรื อผูไ้ ด้รับสิ ทธิ ในที่ดิน
จะโอนสิ ทธิ ในที่ดินนั้นไปยังผูอ้ ื่นมิได้ จาเลยจึงนาระยะเวลาก่อนพ้น
กาหนดห้ามโอนมาเป็ นระยะเวลาการครอบครองปรปั กษ์ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๘๒ มิได้ และแม้จะฟั งว่าโจทก์ส่งมอบที่ดินพิพาทให้จาเลย
ตามที่ จาเลยให้การต่อสู ้ ก็เป็ นการโอนสิ ทธิ ที่ดินไปยังผูอ้ ื่ น มิ ใช่ เป็ น
การโอนไปยัง สหกรณ์ หรื อกลุ่ ม เกษตรกรที่ เ ป็ นสมาชิ ก อันต้องด้ว ย
ข้อยกเว้นตามมาตรา ๔๔

การครอบครองโดยความสงบ
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๒๐๓๙/๒๕๕๑ ฎ.๑๐๔๒ การที่ ผูร้ ้ องกับ
ผูค้ ดั ค้านพิพาทกันเกี่ยวกับที่ดินภายหลังจากที่ผรู ้ ้องได้ครอบครองที่ดิน
พิพาทครบ ๑๐ ปี แล้ว ไม่ถือว่าเป็ นการครอบครองโดยไม่สงบ
ค าพิพ ากษาฎี ก าที่ ๓๘๖๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๕ น.๑๕๔ การ
ครอบครองทรั พย์สิ นของผูอ้ ื่นไว้โดยความสงบตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๘๒ นั้น จะต้องหมายความว่า ครอบครองอยูไ่ ด้โดยไม่ได้ถูกกาจัด
ให้ อ อกไป การที่ เ พี ย งแต่ โ ต้เ ถี ย งสิ ท ธิ ก ัน นั้ น ยัง ไม่ ถื อ ว่ า เป็ นการ
ครอบครองโดยไม่สงบ การที่ผคู ้ ดั ค้านยื่นคาร้ องคัดค้านคาร้องขอของ
ผูร้ ้ อ งเมื่ อ วัน ที่ ๒๗ สิ ง หาคม ๒๕๔๑ จึ ง เป็ นเพี ย งโต้เ ถี ย งสิ ท ธิ ก ัน
เท่านั้น อีกทั้งเมื่อศาลมีคาสั่งจาหน่ายคดีในคดีเดิ มแล้ว ก็ไม่ปรากฏว่า
ผูค้ ดั ค้านได้ฟ้องขับไล่ ผรู ้ ้ องแต่อย่างใด คงปล่อยให้ผรู ้ ้ องครอบครอง
ที่ดินพิพาทต่อมา สิ ทธิ ครอบครองของผูร้ ้ องหาได้ถูกกาจัดให้ออกไป
373

ไม่ จึ ง มิ ใ ช่ เ ป็ นการรบกวนสิ ท ธิ ค รอบครองของผู ้ร้ อ งอัน จะถื อ ว่ า


ผูร้ ้องไม่ได้ครอบครองที่ดินพิพาทโดยความสงบแล้วได้ การที่ผรู้ ้องยื่น
คาร้ องขอแสดงสิ ทธิ ในที่ดินพิพาทต่อศาลชั้นต้นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๖
มิถุนายน ๒๕๔๑ และศาลชั้นต้นมีคาสั่งให้จาหน่ายคดี เนื่ องจากผูร้ ้อง
ไม่ชาระค่าขึ้นศาลภายในระยะเวลาที่กาหนดนั้น ก็ไม่อาจหมายความ
ได้ว่าผูร้ ้ องไม่ประสงค์จะได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินพิพาทโดยการร้ องขอ
ครอบครองปรปั กษ์ต่อไป ทั้งไม่มีผลต่อการนับระยะเวลาครอบครอง
ที่ดินพิพาทของผูร้ ้องด้วย ดังนั้น นับแต่ผคู ้ ดั ค้านได้สิทธิ ในที่ดินพิพาท
คื อวันที่ ๑๓ สิ ง หาคม ๒๕๓๓ จนถึ ง วันที่ ผูร้ ้ องยื่น ค าร้ อ งขอแสดง
กรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดินพิ พ าทต่ อศาลชั้นต้นในที่ ๒๕ มิ ถุ นายน ๒๕๔๔
เป็ นเวลาเกิ น ๑๐ ปี ผู ้ร้ อ งจึ ง ได้ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น พิ พ าทโดยการ
ครอบครองปรปักษ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒

ครอบครองด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของ


คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๔๑/๒๕๕๐ ฎ. ๑๐๒๐ การครอบครอง
ที่ดินโดยมี เจตนาเป็ นเจ้าของ แม้จะเข้าใจว่าเป็ นที่ดินของตนเองก็ถือ
เป็ นการครอบครองที่สามารถนับระยะเวลาการครอบครองปรปั กษ์ได้
มิใช่นบั แต่ที่จาเลยรู ้วา่ ที่ดินพิพาทที่จาเลยครอบครองนั้นเป็ นที่ดินของ
โจทก์ เพราะถือว่าเป็ นการครอบครองโดยสงบ เปิ ดเผย ด้วยเจตนาเป็ น
เจ้าของตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๒ แล้ว
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๓๔๓/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๔ น. ๑๑๖ สภาพ
บ้านของผูร้ ้องเป็ นบ้านชั้นเดียวหลังคามุงด้วยสังกะสี ผนังบ้านกั้นด้วย
374

กระเบื้องแผ่นเรี ยบ พื้นบ้านมีการยกพื้น โดยเป็ นการปลูกสร้างอย่างง่าย


ๆ ใช้ ว สั ดุ ก่ อ สร้ า งที่ ไ ม่ ม ั่น คงแข็ ง แรง ไม่ ย ากต่ อ การรื้ อถอน ทาง
ด้านขวาของบ้านผูร้ ้องติดกับผนังของบ้านข้างเคียง ส่ วนทางด้านซ้าย
อยู่ห่า งจากผนัง บ้า นข้า งเคี ย งประมาณ ๑ เมตร บริ เวณด้านข้างและ
ด้านหลัง มี น้ าท่วมขังไม่สามารถใช้เป็ นทางเดิ นได้ ลักษณะการปลู ก
สร้างบ้านและสภาพสิ่ งแวดล้อมของบ้านผูร้ ้องจึงมีลกั ษณะที่แสดงให้
เห็ นว่าเป็ นการปลูกสร้ างไม่แน่ นหนาและถาวรเพื่อเป็ นที่อาศัยพักพิง
ชั่วคราวดัง เช่ นบ้านในชุ มชนแออัดทัว่ ไปซึ่ ง มัก จะอาศัย โอกาสปลู ก
สร้ างบ้านชัว่ คราวในลักษณะเช่ นนี้ ในที่ดินว่างเปล่าของผูอ้ ื่น โดยการ
ปลูกสร้างหรื อต่อเติมรวมทั้งการรื้ อถอนโยกย้ายสามารถกระทาได้ง่าย
ตลอดเวลา นอกจากนี้ ยัง ปรากฏว่ า ผู ้ร้ อ งไม่ เ คยขอเลขที่ บ้า นหรื อ
หลักฐานทะเบียนบ้านจากทางราชการ ทั้งได้ความว่าบุตรของผูร้ ้องไป
ขอใช้บริ การไฟฟ้ าและน้ าประปาให้ผรู ้ ้องโดยใช้บา้ นเลขที่ของน้องต่าง
มารดาของผูร้ ้อง และติดตั้งมาตรวัดน้ าและมิเตอร์ ไฟฟ้ าที่บา้ นดังกล่าว
ด้วย ยิ่ง เป็ นข้อสนับ สนุ นให้เห็ นว่า ผูร้ ้ องยอมรั บว่าผูร้ ้ องเป็ นเจ้า ของ
บ้ า นซึ่ งปลู ก สร้ า งชั่ ว คราวในที่ ดิ น ของผู ้อื่ น พฤติ ก รรมการเข้ า
ครอบครองที่ดินพิพาทของผูร้ ้องเช่นนี้ จึงไม่อาจถือได้วา่ เป็ นการครอบ
ครองโดยมีเจตนาเป็ นเจ้าของอันจะเป็ นเหตุให้ผูร้ ้ องได้กรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินพิพาทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๒ ได้
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๙๗๘๘/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๗ น.๒๑๒ การ
ครอบครองที่ดินของผูอ้ ื่นจนได้กรรมสิ ทธิ์ โดยการครอบครองปรปั กษ์
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ นั้น ผูค้ รอบครองต้องครอบครองโดยความ
375

สงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของติดต่อกันเป็ นเวลาสิ บปี การ


ที่ จะพิ จารณาว่า จาเลยครอบครองที่ดินพิพ าทด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ
หรื อไม่ จึงต้องพิจารณาถึ งพฤติการณ์แห่ งการเข้ายึดถื อครอบครองอยู่
อาศัยของจาเลยในที่ดินพิพาทว่าเป็ นการครอบครองที่ดินพิพาทอย่าง
เป็ นเจ้าของหรื อไม่
ที่ดินของโจทก์มีผูบ้ ุกรุ กเข้าไปปลูกบ้านอยู่อาศัยจานวนมาก
จนเป็ นชุ มชนแออัด สภาพบ้านที่ ปลู กอยู่กนั อย่างแออัด มีลกั ษณะไม่
แน่ นหนาถาวร ใช้สังกะสี และไม้เก่ามาปลูกสร้ าง สามารถปลูกสร้ าง
ต่อเติมและรื้ อถอนได้โดยง่าย สภาพบ้านของจาเลยซึ่ งปลูกอยู่ในที่ดิน
พิพาทมีลกั ษณะเป็ นบ้านชั้นเดี ยวอยู่ในสภาพไม่แน่ นหนาถาวร ฝากั้น
ด้วยไม้และสังกะสี เก่า หลังคามุงด้วยสังกะสี เก่า มีสภาพต้องซ่ อมแซม
บ่อย ลักษณะการปลูกสร้างอยูเ่ บียดเสี ยดแทรกอยูก่ บั บ้านหลังอื่น ไม่มี
แนวเขตที่ชัดเจน ตัวบ้านไม่มนั่ คงแข็งแรง การปลู กสร้ างเข้าลักษณะ
เป็ นการปลูกสร้างเพื่ออยูอ่ าศัยชัว่ คราว พร้อมที่จะรื้ อถอน ซึ่ งการเข้ามา
ปลูกบ้านในลักษณะนี้เป็ นการกระทาโดยพลการ อาศัยโอกาสที่ผบู้ ุกรุ ก
เข้ามาปลู กสร้ างบ้านอยู่ในที่ ดินของโจทก์จานวนมาก จึ งยากในการ
ตรวจสอบว่าเป็ นบ้านของใคร และแม้บา้ นของจาเลยที่ปลูกอยูใ่ นที่ดิน
พิพาทมีเลขที่บา้ นและได้ขอติดตั้งน้ าประปาและไฟฟ้ า และจาเลยแสดง
แก่ บุ ค คลทัว่ ไปว่า บ้า นดัง กล่ า วเป็ นของจ าเลย แต่ จาเลยเพี ย งแต่ น า
บ้า นเลขที่ เ ดิ ม ของบิ ด ามารดาของจ าเลยที่ ป ลู ก อยู่ใ นที่ ดิ น ที่ เ ช่ า อยู่
บริ เวณใกล้เคียงกับที่ดินพิพาทและอยู่นอกเขตที่ดินของโจทก์ ซึ่ งบิดา
มารดาของจาเลยรื้ อถอนบ้านไปแล้วมาใช้เป็ นเลขที่บา้ นของจาเลยที่
376

จาเลยและบิดามารดาของจาเลยบุกรุ กเข้ามาปลูกอาศัยในที่ดินพิพาท
ของโจทก์ พฤติกรรมของจาเลยที่ปิดบังอาพรางให้บุคคลอื่นเข้าใจว่า
บ้านของจาเลยที่ปลูกอยูใ่ นที่ดินพิพาทมีบา้ นเลขที่ ๘๐๙ ทั้งที่บา้ นของ
จาเลยไม่มีเลขที่ประจาบ้าน ทาให้เจ้าหน้าที่การประปานครหลวงและ
เจ้าหน้าที่การไฟฟ้ านครหลวงหลงเชื่ อมาติดตั้งประปาและไฟฟ้ าให้แก่
บ้านจาเลย ประกอบกับจาเลยไม่เคยอ้างสิ ทธิ ในที่ดินพิพาทเพื่อเสี ยภาษี
บารุ งท้องที่หรื อภาษีโรงเรื อนและจาเลยไม่ได้ร้องขอต่อศาลขอแสดง
กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์ ทั้งที่จาเลยอ้างว่า
ครอบครองที่ ดินพิพาทของโจทก์มาตั้งแต่ปี ๒๕๑๔ แต่จาเลยเพิ่งมา
ฟ้ องแย้งขอแสดงกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์
เมื่ อ ถู ก ฟ้ องขับ ไล่ ค ดี น้ ี จึ ง ยัง ไม่ แ น่ ชัด ว่า ก่ อ นหน้า นี้ จ าเลยมี เ จตนา
ครอบครองที่ดินพิพาทของโจทก์อย่างเป็ นเจ้าของ พฤติการณ์ฟังไม่ได้
ว่าจาเลยครอบครองที่ดินพิพาทด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ จาเลยจึงไม่ได้
กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทพิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๘๒ ย่อมไม่ อาจยกข้ออ้า งว่า โจทก์ซ้ื อที่ ดินพิ พ าทและจด
ทะเบี ย นรั บ โอนมาโดยไม่ สุ จริ ต จึ ง ไม่ มี อานาจฟ้ องขับ ไล่ และเรี ย ก
ค่าเสี ยหายจากจาเลยได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๒๗๖/๒๕๔๘ ฎ.๑๐๐๑ สัญญาซื้ อขายระบุ
ว่า ผูร้ ้ องขอซื้ อที่ ดินพิพาทจาก ส. ทาถนนเข้าบ้านกว้าง ๕ เมตร ยาว
ตลอดแนว ในราคา ๓๕,๐๐๐ บาท ไม่ได้ระบุว่าผูร้ ้ องกับ ส. จะไปจด
ทะเบี ยนโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินพิพาท ประกอบกับผูร้ ้ องได้ชาระเงิ นค่า
ที่ดินให้แก่ ส. รับไปครบถ้วนแล้วในวันทาสัญญา หลังจากนั้น ส. วัด
377

เนื้ อที่ที่ดินพิพาทส่ งมอบให้ผรู ้ ้ องทาถนนใช้เป็ นทางเข้าออกตลอดมา


เป็ นพฤติการณ์ ที่เห็ นได้วา่ ทั้งฝ่ ายผูร้ ้องและ ส. ไม่มีเจตนาจดทะเบียน
โอนที่ ดิ น พิ พ าทต่ อ พนัก งานเจ้า หน้ า ที่ จึ ง เป็ นสั ญ ญาซื้ อ ขายเสร็ จ
เด็ดขาด เมื่อไม่ได้ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
เป็ นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๔๕๖ วรรค
หนึ่ ง แต่การที่ ผรู ้ ้ องเข้าครอบครองใช้ที่ดินพิพาทเป็ นทางเข้าออกเป็ น
การครอบครองโดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ
มิใช่ เป็ นการครอบครองที่ ดินพิพาทแทน ส. ตามสัญญาจะซื้ อจะขาย
เมื่ อครอบครองมาเป็ นเวลาเกิ นกว่า ๑๐ ปี แล้ว ผูร้ ้ องจึ งได้กรรมสิ ทธิ์
โดยการครอบครองปรปักษ์ตามมาตรา ๑๓๘๒
ข้ อสั งเกต ถ้ ำครอบครอบตำมสดญญำะวซื ้อะวขำยถือั่ ำยึดถือแทน เพรำว
ยึดถือไั้ เพื่ อรอะดทวเบี ยนโอน ยึดถือนำนเท่ ำใดก็ไม่ ได้ กรรมสิ ทธิ์ ถ้ ำ
ครอบครอบตำมสด ญญำซื ้อขำยที่ ตกเป็ นโมฆว ถือั่ ำยึดถือเพื่ อตนแล้ ั
เพรำวไม่ มีเะตนำะวไปะดทวเบียนกดน คู่กรณี ปรวสบค์ เพียบกำรส่ บมอบ
กดน ะึบไม่ ใช่ ยึดถือแทน
คาพิพากษาฎีก าที่ ๓๘๗๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๙ น.๖๗ หนังสื อ
สัญญาซื้ อขายอาคารพาณิ ชย์และที่ ดิน ข้อ ๓. ระบุ ว่า ผูซ้ ้ื อต้องช าระ
ราคาแก่ ผู ้ข ายในวัน ท าสั ญ ญาจ านวน ๖๐๐,๐๐๐ บาท และข้อ ๕.
ส าหรั บ ราคาอาคารพาณิ ช ย์ แ ละที่ ดิ น ส่ วนที่ เ หลื ออี ก จ านวน
๒,๑๐๐,๐๐๐ บาท ผู ้ซ้ื อ ต้อ งช าระในวัน รั บ โอนกรรมสิ ท ธิ์ อาคาร
พาณิ ชย์และที่ดินดังกล่าวตามสัญญานี้ โดยผูข้ ายจะเป็ นผูน้ าผูซ้ ้ื อไปจด
ทะเบียนที่สานักงานที่ดิน ผูซ้ ้ื อต้องไปจดทะเบียนรับโอนกรรมสิ ทธิ์ ใน
378

ที่ดินและอาคารพาณิ ชย์ภายในกาหนด ๗ วัน นับแต่วนั ที่ได้รับแจ้งเป็ น


ลายลักษณ์อกั ษรจากผูข้ าย แสดงว่าหนังสื อสัญญาซื้ อขายดังกล่าวเป็ น
สัญญาจะซื้ อจะขายที่ดินและอาคารไม่ใช่ สัญญาซื้ อขายเสร็ จเด็ดขาด
เพราะในวันทาสัญญามี การชาระราคาที่ ดินและอาคารเพียงบางส่ วน
เท่านั้น ราคาส่ วนที่เหลือจะชาระในวันจดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน
และอาคาร
โจทก์จดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินให้แก่จาเลยเนื้ อที่รวม
๒๔ ตารางวา เหลือที่ดินที่ยงั ไม่ได้จดทะเบียนโอนอีกจานวน ๔ ตาราง
วา ซึ่ งจาเลยยังคงประสงค์ให้โจทก์ปฏิบตั ิตามสัญญาและมิได้บอกเลิ ก
สัญญา สั ญญาซื้ อขายอาคารและที่ ดินจึ ง ยัง คงมี ผ ลผูก พันโจทก์และ
จาเลยอยู่ การครอบครองที่ ดินจานวน ๔ ตารางวาของจาเลยย่อมเป็ น
การครอบครองโดยอาศัย สิ ท ธิ ตามสัญญาและเป็ นเพี ย งการที่ จาเลย
ครอบครองแทนโจทก์ ซึ่ งยัง เป็ นผูถ้ ื อ กรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิน จ านวน ๔
ตารางวาเท่านั้น เมื่ อจาเลยไม่ไ ด้บอกกล่ าวเปลี่ ย นลักษณะการยึดถื อ
ครอบครองแก่โจทก์วา่ จะไม่ครอบครองที่ดินจานวน ๔ ตารางวา แทน
โจทก์ต่อไป จึงมิใช่การครอบครองโดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้วย
เจตนาเป็ นเจ้าของ แม้จาเลยจะครอบครองที่ดินจานวน ๔ ตารางวานับ
ติ ด ต่ อ กั น เป็ นเวลาเกิ น ๑๐ ปี จ าเลยก็ ไ ม่ ไ ด้ ก รรมสิ ทธิ์ โดยการ
ครอบครองปรปักษ์
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๑๑๗๑-๑๑๗๒/๒๕๔๗ ฎ.๒๕๐ จาเลยถื อ
กรรมสิ ทธิ์ ที่ดินพิพาทร่ วมกับผูอ้ ื่น เมื่อเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมยังไม่ได้
ตกลงแบ่ ง กัน เป็ นส่ ว นสั ด ว่ า ที่ ดิ น ส่ ว นไหนเป็ นของใครให้ เ ป็ นที่
379

แน่นอน จึงต้องถือว่าผูเ้ ป็ นเจ้าของรวมมีส่วนเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ใน


ที่ ดินพิพาทร่ วมกันทุ กส่ วน การที่ จาเลยปลูกบ้านและครอบครองท า
ประโยชน์ในที่ดินพิพาท จึงเป็ นการจัดการทรัพย์สินแทนเจ้าของรวม
คนอื่นด้วย ถื อว่าจาเลยครอบครองที่ พิพาทแทนเจ้าของรวมคนอื่นอยู่
จาเลยหาอ้างว่าเป็ นการครอบครองโดยปรปั กษ์ได้ไม่ ถึ งแม้จาเลยจะ
ครอบครองที่พิพาทนานเกิน ๑๐ ปี แล้วก็ไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาท
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๐๑๖/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๔ น.๑๖๑ การที่จาเลย
เข้าครอบครองที่ ดินพิพาทโดยเข้าใจว่าเป็ นที่ดินของกรมชลประทาน
และรั บว่าหากกรมชลประทานจะเอาคื น จาเลยก็จะคื นให้เช่ นนี้ การ
ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทของจ าเลยจึ ง มี ล ัก ษณะเป็ นการครอบครอง
ชั่วคราวเท่ า นั้น มิ ไ ด้ค รอบครองด้วยเจตนาเป็ นเจ้า ของ อี ก ทั้ง ที่ ดิ น
ที่บุคคลจะได้กรรมสิ ทธิ์ โดยการครอบครองปรปั กษ์ตอ้ งเป็ นที่ดินซึ่ ง
บุคคลอื่นมีกรรมสิ ทธิ์ อยู่ เมื่อที่ดินพิพาทเป็ นส่ วนหนึ่ งของที่ดินโฉนด
เลขที่ ๗๑๐๗ ซึ่ งทางราชการเพิ่งออกโฉนดที่ดินให้แก่ ท. ระยะเวลา
การครอบครองปรปั กษ์ที่ ดินพิพาทจึงต้องเริ่ มนับเมื่อทางราชการออก
โฉนดที่ ดิน ให้ แก่ เ จ้า ของที่ ดิน แต่ จาเลยมิ ไ ด้บ อกกล่ า วไปยัง ท. ว่า
ตนเองเป็ นผูค้ รอบครองที่ดินพิพาทโดยสุ จริ ตอย่างเป็ นเจ้าของ ต่อมา
ท. โอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินดังกล่าวให้แก่บริ ษทั เงินทุนหลักทรัพย์ ค. จาเลย
กลับมีหนังสื อขอซื้ อที่ดินไปยังบริ ษทั เงินทุนหลักทรัพย์ ค. พฤติการณ์
ของจาเลยจึงเท่ากับเป็ นการยอมรับว่าบริ ษทั เงินทุนหลักทรัพย์ ค. เป็ น
เจ้าของผูม้ ีสิทธิ ครอบครองที่ดินพิพาท ดังนั้น การอยูใ่ นที่ดินพิพาทของ
จาเลยจึ ง มี ล ัก ษณะเป็ นการอยู่โดยอาศัย สิ ท ธิ ข องผูอ้ ื่ น ซึ่ ง ตราบใดที่
380

จาเลยมิได้บอกกล่าวเปลี่ยนลักษณะแห่ งการยึดถือไปยังเจ้าของที่ดินว่า
ไม่ มี เ จตนาจะยึ ด ถื อ ทรั พ ย์สิ น แทนผูค้ รอบครองต่ อ ไปตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๘๑ จาเลยย่อมไม่มีสิทธิ ครอบครอง แม้จาเลยครอบครอง
ที่ดินพิพาทมาเกินกว่า ๑๐ ปี จาเลยก็ไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดย
การครอบครองปรปักษ์ตามกฎหมาย
ข้ อสั งเกต แต่ ถ้ำเป็ นเรื่ อบทำบภำรวะำยอมะวัินิะฉด ยแตกต่ ำบกดน ขอให้ ดู
คำพิ พ ำกษำฎี ก ำที่ ๓๐๕๙/๒๕๔๕ ฎ.ส.ล.๕ น.๑๔๒ กำรได้ ภ ำรว
ะำยอมโดยอำยุคัำมนด้น ป.พ.พ. มำตรำ ๑๔๐๑ ให้ นำบทบดญญดติั่ำด้ ัย
อำยุคัำมได้ สิทธิ ในลดกษณว ๓ แห่ บบรรพ ๔ มำบดบคดบใช้ โดยอนุโลม
ซึ่ บต้ อบเป็ นกรณี ที่ เ ะ้ ำขอบสำมยทรด พย์ ได้ ใช้ ปรวโยชน์ ในที่ ดิ น
ภำรยทรด พย์ นด้นโดยคัำมสบบแลวโดยเปิ ดเผย แลวด้ ัยเะตนำะวได้ สิทธิ
ภำรวะำยอมในที่ ดินดดบกล่ ำัตำม ป.พ.พ. มำตรำ ๑๔๐๑ ปรวกอบด้ ัย
มำตรำ ๑๓๘๒ ซึ่ บกฎหมำยมุ่บปรวสบค์ ให้ ถือเอำกำรใช้ ปรวโยชน์ ขอบ
เะ้ ำขอบสำมยทรด พย์ เป็ นสำคดญ โดยไม่ คำนึ บั่ ำภำรยทรด พย์ นด้นะวเป็ น
ขอบผู้ใดหรื อเะ้ ำขอบสำมยทรด พย์ ะวต้ อบรู้ ั่ ำใครเป็ นเะ้ ำขอบภำรยทรด พย์
นด้น ดดบนด้น แม้ โะทก์ ที่ ๑ ะวใช้ ปรวโยชน์ ในทำบพิพำทกั้ ำบ ๒ เมตร ซึ่ บ
เป็ นส่ ันหนึ่บขอบที่ดินมีโฉนดขอบะำเลยรัมไปกดบทำบสำธำรณวกั้ ำบ
๒ เมตร โดยเข้ ำใะั่ ำเป็ นทำบสำธำรณวทด้บหมดก็ ต้อบถื อั่ ำโะทก์ ที่ ๑
ได้ ใช้ ทำบพิ พำทในลดกษณวะวให้ ได้ สิทธิ ภำรวะำยอมในที่ ดินดดบกล่ ำั
แล้ ั เมื่อโะทก์ ที่ ๑ ใช้ ทำบพิ พำทติดต่ อกดนเป็ นเัลำเกิ นกั่ ำ ๑๐ ปี โดย
คัำมสบบแลวโดยเปิ ดเผย โะทก์ ที่ ๑ ะึบได้ ภำรวะำยอมในทำบพิพำท
381

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๕


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๓๑/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๕ น.๓๘ โจทก์เป็ น
เจ้าของที่ดินตามหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ที่ดินตามแบบแจ้งการ
ครอบครองที่ดิน (ส.ค.๑) และที่ดินมีหลักฐานตามแบบเสี ยภาษีบารุ ง
ท้องที่ (ภ.บ.ท.๕) โดยบิดามารดาของเจ้าของที่ดินและชาวบ้านใช้ทาง
พิพาทซึ่ งผ่านที่ดินตามหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ของจาเลยเป็ น
ทางออกสู่ ส าธารณะเพื่ อเข้า สู่ ตวั เมื องเชี ย งใหม่ต้ งั แต่ ปี ๒๔๙๘ เมื่ อ
โจทก์ซ้ื อที่ดินแล้วโจทก์ทาถนนขึ้นมาผ่านที่พิพาทเข้าไปในที่ดินของ
โจทก์ จาเลยก็ไม่หา้ มปรามกลับปล่อยให้โจทก์ใช้ทางต่อไปเป็ นเวลาถึง
๘ ปี เศษ แม้โจทก์จะซื้ อที่ดินตามหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ที่ดิน
ตามแบบแจ้งการครอบครองที่ ดิน (ส.ค.๑) และที่ดินมีหลักฐานตาม
แบบเสี ยภาษีบารุ งท้องที่ (ภ.บ.ท.๕) ต่อจากเจ้าของเดิมนับถึงวันฟ้ องจะ
ยังไม่ครบ ๑๐ ปี แต่เมื่อเจ้าของเดิ มได้ใช้ทางพิพาทโดยเจตนาให้เป็ น
ทางเข้า ออกประจ ามาตั้ง แต่ ต้น โจทก์จึ ง สามารถนับ ระยะเวลาการ
ครอบครองต่อจากเจ้าของเดิ มได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๕ ที่ดินตาม
หนังสื อรั บ รองการท าประโยชน์ของจาเลยจึ งตกเป็ นภาระจายอมแก่
ที่ดินทั้งสามแปลงของโจทก์
ข้ อสั งเกต กำรแย่ บที่ ดินมือเปล่ ำ ถ้ ำผู้ครอบครอบไม่ ฟ้อบเรี ยกคื นภำยใน
๑ ปี ย่ อมหมดสิ ทธิ เรี ยกคืนกำรครอบครอบตำมมำตรำ ๑๓๗๕ แต่ ถ้ำถูก
รบกันกำรครอบครอบโดยเดิ นผ่ ำนเพื่อะวเอำภำรวะำยอมดดบเช่ นคดี นี้
ต้ อบเดิน ๑๐ ปี ะึบะวได้ ภำรวะำยอม
382

ภาระจายอม
ข้ อ ๕๕ คาถาม นายรวยทาสัญญาเป็ นหนังสื อยอมให้นายจน
เดินผ่านที่ดินมีโฉนดของนายรวย เข้าสู่ ที่ดินของนายจนซึ่ งอยูต่ ิดกันได้
ตลอดไป โดยจ่ ายเงิ น ๑,๐๐๐ บาท แต่ไ ม่ได้จดทะเบี ยนต่อพนัก งาน
เจ้า หน้า ที่ นายแย่มี ที่ ดินติ ดกันกับ ที่ ดินของนายรวย นายแย่เดิ นผ่า น
ที่ดินของนายรวยโดยสงบโดยเปิ ดเผย นายจนและนายแย่เดินผ่านที่ดิน
ของนายรวยติดต่อกันเป็ นเวลา ๑๑ ปี ต่อมานายรวยขายที่ดินดังกล่าว
ให้แก่ นายมัง่ คัง่ ขณะจดทะเบี ยนโอนที่ ดินกันนายมัง่ คัง่ ทราบว่านาย
รวยยอมให้นายจนเดิ นผ่านที่ ดิน แต่นายมัง่ คัง่ ไม่ทราบว่านายแย่เดิ น
ผ่านที่ดินของนายรวยมา ๑๑ ปี แล้ว
ให้วินิจฉัยว่า นายมัง่ คัง่ จะไม่ ยอมให้นายจนและนายแย่เดิ น
ผ่านที่ดินได้หรื อไม่
ข้ อ ๕๕ คาตอบ นายรวยทาสัญญาเป็ นหนังสื อยอมให้น ายจน
เดินผ่านที่ดินมีโฉนดของนายรวย เข้าสู่ ที่ดินของนายจนซึ่ งอยูต่ ิดกันได้
ตลอดไปโดยจ่ายเงิ น ๑,๐๐๐ บาท เป็ นการได้ มาโดยทางนิติกรรมซึ่ ง
ทรั พ ยสิ ท ธิ ใ นอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เมื่ อ ไม่ ไ ด้ จ ดทะเบี ย นการได้ ม ากั บ
พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ จึ ง ไม่ บ ริ บู ร ณ์ ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และ
พาณิ ชย์มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง การได้ สิทธิในทางเดินของนายจน
บริบูรณ์ เป็ นเพียงบุคคลสิ ทธิใช้ บังคับกันได้ ระหว่ างคู่สัญญาเท่ านั้น แต่
ไม่ บริ บูรณ์ เป็ นทรั พยสิ ทธิ กล่ าวคือ ไม่ เป็ นภาระจายอมที่จะใช้ ยันกับ
บุคคลทั่วไป เมื่อนายรวยขายที่ดินให้แก่นายมัง่ คัง่ แม้ขณะจดทะเบียน
โอนที่ดินกันนายมัง่ คัง่ จะทราบว่านายรวยยอมให้นายจนเดินผ่านที่ดิน
383

นายมั่งคั่งก็เป็ นบุคคลภายนอกสั ญญาระหว่ างนายรวยและนายจน นาย


จนจึ งไม่ อาจอ้ างสิ ทธิ ตามสั ญญาใช้ ทางเดินซึ่ งเป็ นบุ คคลสิ ทธิ ยันต่ อ
นายมั่งคั่งได้ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๐๑๑/๒๕๔๗) แม้นายจนจะใช้ทาง
มาเป็ นเวลาเกิน ๑๐ ปี แต่ นายจนก็ไม่ ได้ ภาระจายอมเหนือทีด่ ินของนาย
รวยโดยอายุความ เพราะการใช้ ทางโดยความยินยอมจากเจ้ าของที่ดิน
ไม่ ใช่ การใช้ ทางอย่ างปรปักษ์ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๐๐๐/๒๕๔๘) เมื่อ
นายจนไม่ มี ทรั พ ยสิ ทธิ ใ นที่ดิ น ของนายรวยที่นายมั่งคั่ งซื้ อมา นาย
มั่งคั่งจึงไม่ ยอมให้ นายจนเดินผ่านทีด่ ินได้
ส่ วนนายแย่เดินผ่านที่ดินของนายรวยติดต่อกันเป็ นเวลา ๑๑ ปี
เป็ นการใช้ ทางภาระจายอมโดยสงบ โดยเปิ ดเผย ติดต่ อกันเป็ นเวลาเกิน
๑๐ ปี แล้ ว เมื่ อ ไม่ ได้ ความว่ า เคยมี ก ารขออนุ ญ าตหรื อ มี ก ารให้
ค่ าตอบแทนแก่นายรวย เพือ่ ใช้ ทางพิพาทเป็ นทางเดิน ทั้งพฤติการณ์ ไม่
ปรากฏว่ านายแย่ ใช้ ทางพิพาทโดยการถือวิสาสะ แสดงว่ ามีการใช้ ทาง
พิพาทอย่ างประสงค์ จะให้ ได้ สิทธิทางภาระจายอมโดยมิได้ อาศัยสิ ทธิ
ของผู้ใด จึงนับได้ ว่ามีลักษณะเป็ นการใช้ ทางที่เป็ นปรปั กษ์ ต่อนายรวย
เจ้ าของทีด่ ิน นายแย่ ย่อมได้ สิทธิในทางพิพาทเป็ นทางภาระจายอมโดย
อายุ ค วามตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๔๐๑
ประกอบมาตรา ๑๓๘๒ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๖๔/๒๕๔๘)
การทีน่ ายแย่ ได้ ทางภาระจายอมดังกล่ าวมาโดยอายุความภาระ
จายอมดังกล่ าวบริบูรณ์ เป็ นทรั พยสิ ทธิด้วยอานาจแห่ งกฎหมายและจะ
ติดไปกับตัวทรัพย์ แม้นายรวยจะขายที่ดินให้แก่นายมัง่ คัง่ โดยนายมัง่
คัง่ ไม่ทราบว่านายแย่เดินผ่านที่ดินของนายรวยมา ๑๑ ปี แล้ว แต่ นายมั่ง
384

คั่ ง หาอาจอ้ า งว่ า ตนได้ ก รรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ดิ น ที่เ ป็ นภารยทรั พ ย์ โดยเสี ย
ค่ าตอบแทนและโดยสุ จริ ต จึงมีสิทธิ ดีกว่ านายแย่ ตามมาตรา ๑๒๙๙
วรรคสอง ได้ ไม่ เพราะสิ ทธิทจี่ ะได้ รับความคุ้มครองตามความหมายใน
บทบัญญัติดังกล่ าว ต้ องเป็ นสิ ทธิในประเภทเดียวกัน แต่ ภาระจายอม
เป็ นสิ ทธิในประเภทรอนสิ ทธิ ส่ วนกรรมสิ ทธิ์เป็ นสิ ทธิในประเภทได้
สิ ทธิ เป็ นสิ ทธิคนละประเภทกัน นายมั่งคั่งไม่ ได้ รับความคุ้มครองตาม
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง นายมั่งคั่งจึงต้ องยอมให้ นายแย่ เดินผ่ านที่ดิน
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๒๖๒/๒๕๔๘)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๐๑๑/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๗๓ แม้จาเลยที่
๒ ในขณะเป็ นเจ้าของถนนพิพาทจะทาหนังสื อยินยอมให้โจทก์ที่ ๑
และที่ ๒ ใช้ถนนพิพาทเป็ นทางเข้าออก ต่อมาเมื่อถนนพิพาทตกเป็ น
ของจาเลยที่ ๓ จาเลยที่ ๓ ก็ทาหนังสื ออนุ ญาตให้โจทก์ท้ งั สี่ ใช้ถนน
พิพาทเป็ นทางเข้าออกได้ อันทาให้โจทก์ท้ งั สี่ มีสิทธิ ใช้ถนนพิพาทก็
ตาม แต่เมื่อข้อตกลงดังกล่าวไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ จึง
ไม่เป็ นทรัพยสิ ทธิ ไม่เป็ นภาระจายอมตามกฎหมายและการที่โจทก์ท้ งั
สี่ มีสิทธิ ใช้ถนนพิพาทได้ก็เพราะจาเลยที่ ๒ และจาเลยที่ ๓ ยินยอมและ
อนุ ญาตให้ใช้ จึงเป็ นการใช้โดยอาศัยสิ ทธิ ของเจ้าของที่ดิน แม้จะใช้
ถนนพิพาทมานานเกิ นกว่า ๑๐ ปี โจทก์ท้ งั สี่ ก็ไม่ได้ภาระจายอมโดย
อายุความตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๑ ประกอบมาตรา ๑๓๘๒ และแม้
จาเลยที่ ๒ และที่ ๓ จะทาข้อตกลงกับโจทก์ท้ งั สี่ วา่ ถ้ามีการเปลี่ยนมือ
กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิน ผูร้ ั บโอนต้องยินยอมให้ผูร้ ับ ความยินยอมมีสิ ทธิ ใ ช้
ถนนและลานคอนกรี ตได้ต ลอดไป ข้อ ตกลงเช่ น นี้ ไม่ อ าจบัง คับ
385

บุคคลภายนอกไว้ล่วงหน้า โดยที่บุคคลภายนอกนั้นมิได้ยินยอมด้วยได้
ข้อตกลงดังกล่าวจึงไม่มีผลบังคับถึ งจาเลยที่ ๑ ซึ่ งเป็ นบุคคลภายนอก
ผูร้ ับโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินจากจาเลยที่ ๓ ซึ่ งมีถนนพิพาทรวมอยูด่ ว้ ย คง
มีผลเฉพาะจาเลยที่ ๓ ผูท้ าหนังสื ออนุ ญาตที่จะต้องจัดการให้เป็ นไป
ตามข้อตกลงเท่านั้น แม้จาเลยที่ ๓ จะเป็ นภริ ยาของจาเลยที่ ๒ ซึ่ งเป็ น
กรรมการของจาเลยที่ ๑ และจาเลยที่ ๓ โอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินซึ่ งมีถนน
พิพาทรวมอยูด่ ว้ ยให้แก่จาเลยที่ ๑ จาเลยที่ ๑ ก็หาผูกพันต้องปฏิบตั ิตาม
หนังสื ออนุญาตให้ใช้ทางที่จาเลยที่ ๓ ทาไว้กบั โจทก์ท้ งั สี่ ไม่
ข้ อ สั ง เกต เรื่ อบนี ้มี ก ำรโอนที่ ดิ น ภำรยทรด พ ย์ ใ ห้ บุ ค คลภำยนอกไป
ข้ อตกลบะึ บไม่ ผูกพดนบุคคลภำยนอก เพรำวข้ อตกลบที่ ไม่ ะดทวเบี ยน
เป็ นเพี ยบบุคคลสิ ทธิ ไม่ บริ บูรณ์ เป็ นภำรวะำยอมซึ่ บเป็ นทรด พยสิ ทธิ ใช้
ยดนบุคคลภำยนอกไม่ ได้ โดยไม่ ต้อบพิ ะำรณำั่ ำบุคคลภำยนอกสุ ะริ ต
เสี ยค่ ำตอบแทนหรื อไม่
แต่ ถ้ำผู้รดบโอนตกลบกดบผู้โอนั่ ำ ยอมให้ ใช้ ทำบเช่ นเดิม ก็ถือั่ ำ
เป็ นสด ญญำเพื่อปรวโยชน์ บุคคลภำยนอกตำมมำตรำ ๓๗๔ แม้ ะวไม่ ได้
ท ำเป็ นหนด บ สื อ แลวะดทวเบี ย นฯ ก็ บด บ คด บ กด น ได้ ถ้ ำ ได้ เ ข้ ำ ถื อ เอำ
ปรวโยชน์ ตำมมำตรำ ๓๗๕ แล้ ั
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๐๐๐/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๖ น.๑๘๑ การใช้ทาง
ที่จะเป็ นทางภาระจายอมโดยอายุความนั้น โจทก์ตอ้ งได้ใช้ทางพิพาท
ในลัก ษณะปรปั ก ษ์ต่ อเจ้า ของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ต าม ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๘๒ เมื่ อโจทก์ได้ใช้ทางพิพาทเข้าออกสู่ ทางสาธารณะโดยได้รับ
ความยินยอมจาก พ. เจ้าของเดิม การที่โจทก์เอาหิ นกรวดมาทาถนนบน
386

ทางพิพ าทเท่า กับ เป็ นการถื อวิสาสะที่ อาศัย ความเกี่ ย วพันในฐานะที่


จาเลยจะเข้ามาเป็ นเครื อญาติของโจทก์เป็ นสาคัญ จึงถือไม่ได้วา่ โจทก์
ใช้ทางพิพาทในลักษณะปรปั กษ์ต่อจาเลยตามมาตรา ๑๓๘๒ แม้โจทก์
จะใช้ทางพิพาทผ่านที่ดินของจาเลยมากว่า ๑๐ ปี ทางพิพาทก็หาตกเป็ น
ทางภาระจายอมตามมาตรา ๑๔๐๑ ไม่
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๖๔/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๔ น.๑๗ โจทก์ที่ ๑ ใช้
ทางพิพาทเป็ นทางเข้าออกสู่ ทางสาธารณประโยชน์โดยใช้ทางตั้งแต่
ที่ดินของโจทก์ที่ ๑ เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ม. และ ก. จนกระทัง่ ต่อมาที่ดิน
ตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของโจทก์ที่ ๑ เป็ นการใช้ทางพิพาทสื บเนื่องต่อกันมา
ด้วยความสงบโดยเปิ ดเผย โดยเจตนาใช้ทางพิพาทเป็ นทางเข้าออกเกิน
กว่า ๑๐ ปี เมื่ อ คดี ไ ม่ ไ ด้ค วามว่ า เคยมี ก ารขออนุ ญ าตหรื อ มี ก ารให้
ค่ า ตอบแทนแก่ จ าเลยทั้ง หกเพื่ อ ใช้ ท างพิ พ าทเป็ นทางเข้า ออกทั้ง
พฤติการณ์ ไม่อาจถื อได้ว่าโจทก์ที่ ๑ ใช้ทางพิพาทโดยการถื อวิสาสะ
แสดงว่ามีการใช้ทางพิพาทอย่างประสงค์จะให้ได้สิทธิ ทางภาระจายอม
โดยมิได้อาศัยสิ ทธิ ของผูใ้ ด จึงนับได้วา่ มีลกั ษณะเป็ นการใช้สิทธิ ที่เป็ น
ปรปั กษ์ต่อจาเลยทั้งหกผูเ้ ป็ นเจ้าของทางพิพาท โจทก์ที่ ๑ ย่อมได้สิทธิ
ในทางพิพ าทเป็ นทางภาระจายอมโดยอายุค วามตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๔๐๑ ประกอบด้วยมาตรา ๑๓๘๒
ข้ อสั งเกต เรื่ อบนีค้ บถือั่ ำก่ อนโะทก์ ะวรด บโอนกรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินมำ ถือ
ั่ ำ โะทก์ ใ ช้ ภำรวะ ำยอมแทนเะ้ ำ ขอบเดิ ม เมื่ อ รด บ โอนที่ ดิ นมำะึ บ นด บ
รวยวเัลำต่ อ ได้ ต ำมมำตรำ ๑๓๘๕ เช่ นเดี ย ักด บ คำพิ พ ำกษำฎี ก ำที่
๔๐๔/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๑ น.๑๐๐ แม้ โะทก์ ได้ เป็ นเะ้ ำขอบกรรมสิ ทธิ์ ใน
387

ที่ ดินเมื่อคำนัณถึบัดนที่ ะำเลยปิ ดกด้นทำบพิพำทเป็ นทำบผ่ ำนเข้ ำออกยดบ


ไม่ ครบ ๑๐ ปี ก็ตำม แต่ เมื่อโะทก์ อำศดยอยู่ในที่ ดินขอบโะทก์ มำนำน ๒๐
ปี แล้ ั แสดบั่ ำโะทก์ ใช้ ทำบพิ พำทผ่ ำนเข้ ำออกตด้บแต่ อำศดยอยู่ในที่ ดิน
ดด บ กล่ ำ ัะนได้ ก รรมสิ ทธิ์ ใ นที่ ดิ น เมื่ อ นด บ รวยวเัลำทด้ บ สอบตอน
ติดต่ อกดนแล้ ัเกิ นกั่ ำ ๑๐ ปี ทำบพิ พำทะึ บตกเป็ นภำรวะำยอมโดยอำยุ
คัำมแก่ โะทก์ ตำม ป.พ.พ. มำตรำ ๑๔๐๑
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๒๖๒/๒๕๔๘ ฎ.ส.ล.๕ น.๑๕๕ คดี ก่อน
ศาลฎี กาพิพากษาว่าทางพิพาทตกเป็ นภาระจายอมแก่ที่ดินโฉนดเลขที่
๑๕๗๖๔ โดยอายุความ อันเป็ นทรัพยสิ ทธิ ที่ติดไปกับตัวทรัพย์ กรณี หา
ใช่ เป็ นภาระจายอมโดยนิ ติกรรมซึ่ งยังมิ ได้จดทะเบี ยนอันเป็ นบุ คคล
สิ ทธิ ไม่ จาเลยทั้งสองหาอาจอ้างว่าจาเลยทั้งสองได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินที่
เป็ นภารยทรัพย์โดยเสี ยค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ต จึงมีสิทธิ ดีกว่าโจทก์
ตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ได้ไม่ เพราะสิ ทธิ ตามความหมาย
ในบทบัญญัติดงั กล่าวต้องเป็ นสิ ทธิ ในประเภทเดียวกัน แต่ภาระจายอม
เป็ นสิ ทธิ ในประเภทรอนสิ ทธิ ส่ วนกรรมสิ ทธิ์ เป็ นสิ ทธิ ในประเภทได้
สิ ทธิ เป็ นสิ ทธิ คนละประเภทกัน ทั้งโจทก์และจาเลยทั้งสองเป็ นผูส้ ื บ
สิ ทธิ จากคู่ความในคดี ก่อน คาพิพากษาศาลฎีกาคดี ก่อนจึงมีผลผูกพัน
โจทก์และจาเลยทั้งสอง
คาว่า ภาระจายอมหมดประโยชน์ตามมาตรา ๑๔๐๐ วรรคหนึ่ง
หมายความว่าไม่สามารถใช้ภารยทรัพย์เพื่อประโยชน์แก่สามยทรัพย์ได้
อีกต่อไป หากภารยทรัพย์ยงั สามารถใช้ประโยชน์ได้อยู่แม้ไม่มีการใช้
ภารยทรัพย์น้ นั ก็หาใช่ภาระจายอมหมดประโยชน์ตามความหมายของ
388

บทบัญญัติดงั กล่าวไม่ ดังนั้น แม้ที่ดินของโจทก์อนั เป็ นสามยทรัพย์จะมี


ทางออกทางอื่นสู่ ทางสาธารณะและโจทก์ใช้ทางดังกล่าวนี้เป็ นหลัก แต่
เมื่อทางพิพาทยังมีสภาพเป็ นทางเดิ นคงเดิ ม ทางภาระจายอมจึ งยังไม่
หมดประโยชน์ แก่ ส ามยทรั พ ย์ ภาระจายอมยัง ไม่ สิ้ น ไปตามมาตรา
๑๔๐๐ วรรคหนึ่ง

ข้ อ ๕๖ คาถาม นายใหญ่เป็ นญาติ กบั นายเล็ก ต่างมีที่ดินซึ่ งมี


หนังสื อรับรองการทาประโยชน์ (น.ส. ๓) อยู่ติดต่อกัน นายใหญ่ยอม
ให้นายเล็กเดิ นผ่านที่ดินของตนไปออกทางสาธารณะได้ พอนายเล็ก
เดิ น ผ่า นได้ ๑ ปี เศษ นายใหญ่ ก็ ห้ า มนายเล็ ก มิ ใ ห้ เ ดิ น ผ่า น นายเล็ ก
โต้เถี ยงนายใหญ่ว่า ที่ดินของนายใหญ่เป็ นที่ดินมือเปล่าเขาเดินมาเกิ น
๑ ปี แล้ว จึงมีสิทธิ จะเดินผ่านต่อไปได้ไม่วา่ นายใหญ่จะยินยอมหรื อไม่
ก็ตาม และนายเล็กได้เดินผ่านต่อไปโดยนายใหญ่ไม่วา่ กระไร ต่อมาอีก
๘ ปี นายใหญ่ไ ด้ปลู ก บ้านทับทางเดิ นนั้น นายเล็กจึ ง ย้ายไปเดิ นทาง
ใหม่ในที่ดินแปลงเดียวกัน เมื่อเดินมาได้อีก ๓ ปี นายใหญ่ก็จดทะเบียน
ขายที่ดินนั้นให้นายน้อย โดยนายน้อยไม่ทราบว่านายเล็กเคยใช้ทางเดิน
บนที่ ดินนั้นมาก่อน ต่อมานายน้อยทราบว่านายเล็กเดิ นผ่านที่ดินของ
ตนจึงห้ามมิให้เดินต่อไป นายเล็กเถียงว่าเขามีสิทธิ เดินได้
ให้วินิจฉัยว่าข้อเถี ยงของนายเล็กฟั งได้หรื อไม่ เพราะเหตุ ใด
(ข้อสอบเนติบณั ฑิต สมัยที่ ๓๘ ปี การศึกษา ๒๕๒๘)
ข้ อ ๕๖ คาตอบ แม้เดิมนายเล็กเดินผ่านที่ดินของนายใหญ่โดย
นายใหญ่ยินยอม ซึ่ งไม่ อาจถือว่ านายเล็กเดินผ่ านทางโดยปรปั กษ์ แต่
389

เมื่อต่อมานายใหญ่ห้ามมิให้นายเล็กเดินผ่าน นายเล็กเถียงว่าเขามีสิทธิ
เดิ น ผ่า นได้ไ ม่ ว่า นายใหญ่ จ ะยอมหรื อไม่ เท่ า กับ เป็ นการบอกกล่ า ว
เปลี่ยนลัก ษณะแห่ งการเดินผ่ านว่ านับ ตั้งแต่ น้ ันตนมิไ ด้ เดิ นผ่ า นโดย
อาศัยสิ ทธิของนายใหญ่อกี ต่ อไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา ๑๓๘๑ ประกอบด้วยมาตรา ๑๔๐๑ ฉะนั้น จึงถือว่ านับตั้งแต่ น้ัน
นายเล็กได้ ใช้ ทางเดินนั้นโดยความสงบและเปิ ดเผยด้ วยเจตนาโดยให้ ได้
ภาระจ ายอม เมื่ อ นายเล็ ก เดิ น ผ่า นทางเดิ ม ได้ ๘ ปี แล้ว ต้อ งเปลี่ ย น
ทางเดินใหม่ในที่ดินแปลงเดียวกันเพราะนายใหญ่ปลูกบ้านทับทางนั้น
เป็ นกรณีทภี่ าระจายอมแตะต้ องเพียงส่ วนหนึ่งแห่ งภารยทรัพย์ เจ้ าของ
ทรัพย์อาจเรียกให้ ย้ายไปยังส่ วนอืน่ ก็ได้ ถือว่ าเป็ นไปเพื่อประโยชน์ ของ
นายใหญ่ตามมาตรา ๑๓๙๒ นายเล็กจึงนับระยะเวลา ๘ ปี นั้นมารวมกับ
ระยะเวลา ๓ ปี ที่นายเล็กย้ ายมาเดินทางใหม่ ได้ รวมเป็ นเวลาที่นายเล็ก
เดินผ่านทีด่ ินของนายใหญ่ ๑๑ ปี นายเล็กจึงได้ ภาระจายอมเป็ นทางเดิน
เหนื อ ที่ดินของนายใหญ่ โดยอายุ ค วามตามมาตรา ๑๓๘๒ ประกอบ
มาตรา ๑๔๐๑ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๓๔/๒๕๑๖)
การที่นายน้อยซื้ อที่ดินนั้นจากนายใหญ่ แม้นายน้อยจะสุ จริ ต
เสี ยค่าตอบแทนและจดทะเบี ยนสิ ทธิ โดยสุ จริ ต และแม้นายเล็กจะยัง
มิได้จดทะเบียนการได้มาซึ่ งภาระจายอมโดยอายุความก็ตาม แต่ นาย
น้ อยก็จะอ้ างมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง มายันนายเล็กมิได้ เพราะมาตรา
๑๒๙๙ วรรคสอง หมายถึงการได้ ทรั พยสิ ทธิประเภทเดียวกันเท่ านั้น
เมื่ อ ภาระจ ายอมเป็ นการรอนสิ ท ธิ ส่ วนกรรมสิ ท ธิ์ เ ป็ นการได้ สิ ท ธิ
จึงเป็ นทรั พ ยสิ ทธิ ต่า งประเภทกัน ไม่ อยู่ ในบังคับ ของมาตรา ๑๒๙๙
390

วรรคสอง (คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๐๐/๒๕๐๒ และ ๘๐๕/๒๕๑๘) ภาระ


จายอมเป็ นทรั พยสิ ทธิที่ติดไปกับอสั งหาริ มทรัพย์ จะสิ้ นไปเฉพาะเพื่อ
ภารยทรั พย์ หรื อสามยทรั พย์ สลายไปทั้งหมดตามมาตรา ๑๓๙๗ หรื อ
มิได้ ใช้ ๑๐ ปี ตามมาตรา ๑๓๙๙ ดังนั้น ภาระจายอมของนายเล็กจึงติด
ไปกับที่ดินที่นายน้ อยซื้อไปด้ วย นายน้ อยไม่ มีสิทธิห้ามนายเล็กมิให้
เดินต่ อไป ข้ อเถียงของนายเล็กฟังได้
ข้ อสั งเกต ขอให้ สดบเกตั่ ำที่ ดินมี น.ส.๓ หำกแย่ บที่ ดิน เะ้ ำขอบเดิมต้ อบ
ฟ้ อบเรี ยกคื นกำรครอบครอบภำยใน ๑ ปี แต่ ถ้ำะวเดิ นเพื่ อเอำเป็ นทำบ
ภำรวะำยอม ต้ อบเดิน ๑๐ ปี
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๓๔/๒๕๑๖ ภาระจายอมนั้นอาจเกิ ดจาก
การยินยอมให้ใช้ทางในเบื้องต้นก่อน ครั้นเมื่อได้เริ่ มใช้ทางตามที่ตกลง
กันนั้น แล้ว หากผูใ้ ช้ใ ช้โดยอาการที่ ถื อสิ ท ธิ เป็ นปรปั ก ษ์ต่ อเจ้า ของ
อสังหาริ มทรัพย์ตลอดมา ผูใ้ ช้ทางอาจได้ภาระจายอมโดยอายุความได้
บิดาโจทก์ได้ใช้ทางเดิ นบนที่ดินของจาเลยโดยอาการที่ถือว่า
ตนมีสิทธิ จะใช้ และได้ยา้ ยทางเดินดังกล่าวจากส่ วนหนึ่งไปยังส่ วนอื่น
ถึ งสองครั้ง เนื่ องจากจาเลยปลูกบ้านทับทางเดิ ม การย้ายทางของบิดา
โจทก์ จึ ง เป็ นไปเพื่ อ ประโยชน์ ข องจ าเลยเองตามความในประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๙๒ เมื่อคดี ปรากฏว่าบิดาโจทก์
เข้าใช้สิทธิ ผ่านที่ดินของจาเลยติดต่อกันมาตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๙๒ ถึง พ.ศ.
๒๕๐๔ จึ ง ได้เปลี่ ยนไปใช้ท างพิ พาทตลอดมาจนบิ ดาโจทก์ตายเมื่ อ
พ.ศ.๒๕๐๙ แล้ว โจทก์ก็ได้ใช้ทางพิพาทตลอดมารวมเป็ นเวลากว่า ๒๐
ปี ที่ดินของจาเลยย่อมตกอยูใ่ นภาระจายอม
391

ข้ อ ๕๗ คาถาม นายแดงและนายขาวเป็ นเจ้าของกรรมสิ ท ธิ์


รวมในที่ดินแปลงหนึ่งได้ภาระจายอมเหนือที่ดินของนายดาในอันที่จะ
เดินผ่านไปสู่ ทางสาธารณะโดยอายุความ หลังจากนั้น ๑ ปี นายแดงย้าย
ไปที่อื่นแต่ยงั คงใช้ทางเดินดังกล่าวกลับไปเยี่ยมนายขาวเดือนละ ๒-๓
ครั้ง ตลอดมา เมื่อนายแดงย้ายไปได้ ๓ ปี มีถนนสาธารณะตัดผ่านที่ดิน
ของนายแดงและนายขาว แต่นายขาวยังคงใช้ท้ งั ถนนสาธารณะและ
ที่ดินดังกล่าวเดินเข้าออกเป็ นประจา หลังจากมีถนนสาธารณะตัดผ่าน
ได้ ๘ ปี นายดาจึ งห้ามนายแดงและนายขาวมิ ให้ใช้ทางเดิ นอี กต่อไป
โดยอ้างว่าสามารถใช้ถนนสาธารณะได้
ดัง นี้ นายแดงแต่ ผูเ้ ดี ย วมี สิ ท ธิ บ ัง คับ ให้ น ายด าจดทะเบี ย น
ทางเดิ นดังกล่าวเป็ นภาระจายอมแก่ที่ดินของนายแดงและนายขาวได้
หรื อไม่ (ข้อสอบเนติบณั ฑิต สมัยที่ ๕๑ ปี การศึกษา ๒๕๔๑)
ข้ อ ๕๗ คาตอบ นายแดงและนายขาวเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์
รวมในที่ดินแปลงหนึ่งได้ภาระจายอมเหนือที่ดินของนายดาในอันที่จะ
เดินผ่านไปสู่ ทางสาธารณะโดยอายุความ การที่นายแดงย้ายไปอยูท่ ี่อื่น
แต่ยงั คงใช้ทางพิพาทกลับไปเยี่ยมนายขาวเดือนละ ๒-๓ ครั้ง ตลอดมา
ถือว่ านายแดงไม่ ได้ ใช้ ทางพิพาทโดยสงบและเปิ ดเผยด้ วยเจตนาให้ ได้
ภาระจายอมเป็ นเวลานานเกิน กว่ า ๑๐ ปี แล้ ว (คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๒๑/
๒๕๑๘)
แม้ต่อมาที่ดินของนายแดงและนายขาวมีทางสาธารณะตัดผ่าน
ก็ตาม แต่การที่นายขาวยังคงใช้ทางพิพาทเป็ นประจา ทางภาระจายอม
ในที่ดินของนายดาจึงยังเป็ นประโยชน์ แก่ ที่ดินของนายแดงและนาย
392

ขาว มิได้ หมดประโยชน์ อนั จะทาให้ ภาระจายอมนั้นสิ้ นไปตามประมวล


กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๔๐๐ วรรคหนึ่ง (คาพิพากษาฎีกาที่
๕๓๑๔/๒๕๓๙) เมื่ อ ภาระจ ายอมซึ่ ง นายขาวเจ้ าของรวมแห่ ง
สามยทรั พย์ คนหนึ่งได้ มาและใช้ อยู่น้ ัน ต้ องถือว่ านายแดงเจ้ าของรวม
ได้ ภาระจายอมด้ วยตามมาตรา ๑๓๙๖
เจ้ าของรวมคนหนึ่ง ๆ อาจใช้ สิทธิอันเกิด แก่ กรรมสิ ทธิ์ครอบ
ไปถึงทรั พย์ สินทั้งหมดเพื่อต่ อสู้ บุคคลภายนอกได้ ตามมาตรา ๑๓๕๙
เมื่อนายแดงเป็ นเจ้าของรวมคนหนึ่ง นายแดงแต่ เพียงผู้เดียว จึงมีสิทธิ
บังคับให้ นายดาจดทะเบียนทางเดินดังกล่ าวเป็ นภาระจายอมแก่ ที่ดิน
ของนายแดงและนายขาวได้ (เที ย บค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๗๒๑ ถึ ง
๑๗๒๒/๒๕๓๔)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๒๑/๒๕๑๘ ระหว่า งไปอยู่ที่ต่างจังหวัด
แม้โจทก์จะได้ก ลับ บ้า นเดื อนละ ๒ ถึ ง ๓ ครั้ งและเข้า ออกตามทาง
พิพาท ก็เป็ นเพียงเพื่อไปหาผูท้ ี่อยูใ่ นที่ดินโฉนดที่ ๒๑๗๗ อันเป็ นการ
เยีย่ มเยียนชัว่ ครั้งชัว่ คราวเท่านั้น ไม่ถือว่าการใช้ทางพิพาทของโจทก์ใน
ระหว่างนั้น เป็ นการใช้ทางพิพาทโดยสงบและเปิ ดเผยด้วยเจตนาให้ได้
ภาระจายอม
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๓๑๔/๒๕๓๙ ที่ดินของจาเลยมีที่ดินของ
โจทก์เป็ นทางภาระจายอมอยู่แล้ว แม้จะมี ทางออกทางอื่นโดยมี ถนน
สาธารณะตัดผ่านที่ ดินของจาเลย ก็หาทาให้ทางภาระจายอมในที่ ดิน
ของโจทก์ที่มีอยู่แล้วสิ้ นไปไม่ กรณี ยงั มิใช่ เป็ นเรื่ องภาระจายอมหมด
ประโยชน์แก่สามยทรัพย์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๐
393

ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๗๒๑-๑๗๒๒/๒๕๓๔ สั ญ ญาเช่ า ที่ มี


กาหนดเวลาระงับไปเมื่อสิ้ นกาหนดเวลาที่ตกลงไว้การที่โจทก์ให้ พ. มี
หนัง สื อไปยัง จาเลย แจ้ง ว่า เมื่ อสั ญญาเช่ า ครบก าหนดแล้ว โจทก์ไ ม่
ประสงค์จะให้จาเลยเช่ าต่อไปจึงขอบอกเลิ กสัญญาเช่ า มี ผลเป็ นเพียง
การแจ้งให้จาเลยทราบว่า เมื่อครบกาหนดสัญญาเช่า โจทก์ไม่ประสงค์
ให้จาเลยเช่ า ต่อไปเท่ านั้น เจ้าของรวมคนหนึ่ งมี สิทธิ ฟ้องขับไล่ และ
เรี ยกค่าเสี ยหายจากผูเ้ ช่าที่ผดิ สัญญาได้ เพราะเป็ นการใช้สิทธิ อนั เกิดแต่
กรรมสิ ทธิ์ ครอบไปถึ งทรั พย์สินทั้งหมดเพื่อต่อสู ้ บุคคลภายนอกตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๙

ข้ อ ๕๘ ค าถาม นายวี ร ะศั ก ดิ์ มี ที่ ดิ น ซึ่ งด้ า นข้ า งติ ด ซอย
สาธารณะ ด้า นหน้า ติ ด ที่ ดิ น น.ส.๓ ของนายสุ มิ ต รซึ่ งอยู่ติ ด ถนน
สาธารณะ นายวีระศักดิ์ ใช้ที่ดินของนายสุ มิตรเป็ นทางเดินออกสู่ ถนน
โดยพลการ หลัง จากนั้น ๒ ปี ทางราชการได้ออกโฉนดที่ ดินให้แก่
ที่ดินของนายสุ มิตร และนายวีระศักดิ์ ยงั คงใช้เป็ นทางเดิ นโดยพลการ
เช่ นเดิ ม ต่อมาอีก ๙ ปี นายสุ มิตรทารั้วกั้นไม่ให้นายวีระศักดิ์ เดิ นผ่าน
ดังนี้
(ก) นายวีระศักดิ์ จะฟ้ องนายสุ มิตรให้เปิ ดรั้ วและจดทะเบียน
ภาระจายอมให้แก่ตนได้หรื อไม่
(ข) หากนายวีระศักดิ์ไม่ได้ฟ้องนายสุ มิตร แต่ได้ขอร้องนายสุ
มิตรให้เปิ ดรั้วเพื่อใช้เป็ นทางเดินเช่นเดิมเป็ นเวลาอีก ๑๕ ปี นายสุ มิตร
อนุ ญาตและได้ทาข้อตกลงเป็ นหนังสื อไว้ ครั้น ๑๑ ปี ต่อมา นายสุ มิตร
394

จดทะเบียนยกที่ดินแปลงดังกล่าวให้โดยเสน่หาแก่นายวรนารถซึ่ งเป็ น
บุตร นายวรนารถปิ ดรั้วไม่ให้นายวีระศักดิ์เดินผ่านที่ดินนายวีระศักดิ์จะ
ฟ้ องนายวรนารถให้เปิ ดรั้ วเพื่ อใช้ที่ดินเป็ นทางเดิ นต่อไปได้หรื อไม่
(ข้อ สอบคัด เลื อ กฯ ผู ้ช่ ว ยผู ้พิ พ ากษา ข้อ ๕ เมื่ อ วัน ที่ ๑ มิ ถุ น ายน
๒๕๔๕)
ข้ อ ๕๘ ค าตอบ (ก) ทางภาระจ ายอมมี ไ ด้ ท้ั ง ในที่ ดิ น ที่ มี
กรรมสิ ทธิ์และที่ดินที่ไม่ มีกรรมสิ ทธิ์ ซึ่ งแตกต่ างจากการครอบครอง
ปรปั กษ์ ซึ่งจะมีได้ เฉพาะในที่ดินที่มีกรรมสิ ทธิ์เท่ านั้น ดังนั้น แม้นายวี
ระศักดิ์ จะใช้ที่ดินของนายสุ มิตรขณะที่ที่ดินของนายสุ มิตรเป็ นที่ดินมี
น.ส.๓ ๒ ปี และเป็ นที่ ดินมีโฉนด ๙ ปี แต่ นายวีระศักดิ์ก็สามารถนับ
ระยะเวลารวมกันได้ เป็ น ๑๑ ปี จึงเป็ นการใช้ ทางภาระจายอมโดยสงบ
โดยเปิ ดเผย ติดต่ อกันเป็ นเวลาเกิน ๑๐ ปี แล้ว นายวีระศักดิ์จึงได้ ภาระจา
ยอมเหนือที่ดินของนายสุ มิตร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา ๑๔๐๑ ประกอบมาตรา ๑๓๘๒ (เที ย บค าพิ พ ากษาฎี ก าที่
๘๓๙๓/๒๕๔๐) กับมีสิทธิให้ จดทะเบียนภาระจายอมด้ วย เพราะเป็ น
การรั ก ษาภาระจ ายอมตามมาตรา ๑๓๙๑ (ค าพิ พ ากษาศาลฎี ก าที่
๒๕๒๖/๒๕๓๖) นายวี ร ะศั ก ดิ์ จึ งฟ้ องนายสุ มิ ต รให้ เ ปิ ดรั้ ว และจด
ทะเบียนภาระจายอมได้
(ข) แม้ นายวีระศั ก ดิ์จะได้ ภาระจายอมโดยอายุค วามมาก่ อ น
แล้ ว แต่เมื่อนายสุ มิตรทารั้วปิ ดมิ ให้เดิ น นายวีระศักดิ์ ก็มิได้โต้แย้งแต่
กลับขอร้องนายสุ มิตรขอให้เปิ ดรั้วเพื่อใช้เป็ นทางเดินเช่นเดิมเป็ นเวลา
อีก ๑๕ ปี เมื่อนายสุ มิตรอนุ ญาตก็ได้ทาข้อตกลงเป็ นหนังสื อไว้ เท่ ากับ
395

นายวีระศั กดิ์ ยอมรั บ สิ ทธิ เหนื อ ทางพิพาทของนายสุ มิ ตร ฐานะของ


นายวีระศั ก ดิ์ ย่ อ มเปลี่ยนจากการใช้ ทางโดยปรปั กษ์ เป็ นการใช้ ทาง
พิพาทโดยความยินยอมของนายสุ มิตรเป็ นเวลานานถึง ๑๑ ปี ภาระจา
ยอมโดยอายุความที่มีอยู่จึงระงับสิ้ นไปเพราะการไม่ ใช้ สิบปี ตามมาตรา
๑๓๙๙ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๙๔๐/๒๕๔๐) ส่ วนข้อตกลงเป็ นหนังสื อที่
มิได้จดทะเบียน จึงบริ บูรณ์ เป็ นเพียงบุคคลสิ ทธิผูกพันเฉพาะนายวีระ
ศั กดิ์และนายสุ มิตรเท่ านั้น แม้นายวรนารถจะเป็ นบุตรของนายสุ มิตร
แต่ กถ็ ือว่ านายวรนารถเป็ นบุคคลภายนอก เพราะนายวรนารถรั บการให้
มิใช่ กรณีรับมรดกอันจะถือได้ ว่าเป็ นผู้สืบสิ ทธิ ซึ่งจะต้ องผูก พันตาม
ข้ อตกลงนั้นด้ วย (คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๒๒๙/๒๕๔๒) ดังนั้น นายวีระ
ศักดิ์จึงไม่ มีสิทธิฟ้องนายวรนารถให้ เปิ ดรั้วเพือ่ ใช้ ทดี่ ินเป็ นทางเดิน
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๓๙๓/๒๕๔๐ ตราบใดที่ที่ดินพิพาทยัง
เป็ นที่ ดิ น มื อ เปล่ า อยู่ย่อ มครอบครองปรปั ก ษ์ไ ม่ ไ ด้ จะครอบครอง
ปรปั กษ์ได้ต่อเมื่อเป็ นที่ดินมีโฉนด เพราะที่ดินมีโฉนดเท่านั้นที่บุคคล
อาจมีกรรมสิ ทธิ์ ได้ ดังนี้ ระยะเวลาการเริ่ มครอบครองปรปั กษ์ตอ้ งเริ่ ม
นับแต่วนั ที่ที่ดินพิพาทมีโฉนด ที่ดินพิพาทผูร้ ้ องครอบครองจนถึ งวัน
ยืน่ คาร้องขอแสดงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินต่อศาลเพิ่งออกโฉนดมายังไม่ถึง ๑๐
ปี ผูร้ ้ องจึ งไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ โดยการครอบครองปรปั กษ์ตามประมวล
กฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๘๒ ผู้ร้ อ งคงมี เ พี ย งสิ ทธิ
ครอบครองในที่ดินพิพาทเท่านั้น
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๕๒๖/๒๕๓๖ ประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๙๑ บัญญัติวา่ เจ้าของสามยทรัพย์มีสิทธิ ทาการ
396

ทุกอย่างอันจาเป็ นเพื่อรั กษาและใช้ภาระจายอม แต่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่าย


ของตนเองนั้น ย่อมหมายความรวมถึ งว่าโจทก์ท้ งั หกชอบที่จะขอให้
บังคับ จาเลยไปจดทะเบี ย นสิ ท ธิ ภาระจ ายอมในโฉนดของจาเลยได้
เพราะเป็ นการกระทาอันจาเป็ นเพื่อรักษาสิ ทธิ ของโจทก์ท้ งั หกประการ
หนึ่ง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๙๔๐/๒๕๔๐ จาเลยได้ปลู กบ้านและท า
ประตู ร้ ั วปิ ดกั้น ทางพิ พ าทมานานประมาณ ๒๐ ปี แล้ว หลัง จากนั้น
โจทก์ได้ใช้ทางพิพาทโดยอาศัยสิ ทธิ ของจาเลยตลอดมา ถึงแม้โจทก์จะ
เคยได้ภาระจายอมเหนื อทางพิพาทมาก่อนหน้านั้นแล้ว แต่ต่อมาโจทก์
ยอมรับสิ ทธิ เหนื อทางพิพาทของจาเลย ฐานะของโจทก์ย่อมเปลี่ยนไป
เป็ นการใช้ทางพิพาทโดยความยินยอมของจาเลยเป็ นเวลานานถึง ๒๐
ปี ย่อมถื อได้ว่าภาระจายอมระงับสิ้ นไปเพราะการไม่ใช้ภาระจายอม
เป็ นเวลาเกิ น กว่า ๑๐ ปี แล้วตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์
มาตรา ๑๓๙๙ ทางพิพาทซึ่ งอยูใ่ นที่ดินของจาเลยจึงไม่เป็ นทางภาระจา
ยอมอีกต่อไป
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๒๒๒๙/๒๕๔๒ แม้ ท. เจ้าของที่ ดินเดิ ม
ยินยอมให้ทางพิพาทเป็ นทางภาระจายอมแก่ ที่ดินของโจทก์ อันเป็ น
กรณี ที่โจทก์ได้ภาระจายอมโดยทางนิ ติกรรมก็ตาม แต่เมื่ อยังมิได้จด
ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ การได้มาย่อมไม่บริ บูรณ์ ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง และคงใช้บงั คับได้
ในฐานะบุคคลสิ ทธิ เฉพาะโจทก์กบั ท. ซึ่ งเป็ นคู่สัญญาเท่านั้น แต่ไม่มี
ผลผูกพันบุ คคลภายนอกด้วย เมื่อ ท. ยกที่ดินแปลงดังกล่ าวให้จาเลย
397

ถือว่าจาเลยเป็ นบุคคลภายนอก ทั้งในเรื่ องให้หาได้มีบทบัญญัติให้ผรู ้ ับ


ต้องรับหน้าที่และความรับผิดต่าง ๆ ของผูใ้ ห้ไปด้วยอย่างกรณี ทายาท
รั บมรดกไม่ ความยินยอมดังกล่ าวจึ งไม่มี ผลผูกพันให้จาเลยต้องจด
ทะเบี ย นภาระจ ายอมหรื อเปิ ดทางพิ พ าทแก่ โ จทก์ การที่ ก รม
ชลประทานให้ราษฎรรื้ อสะพานข้ามคลองสาธารณะเมื่อมีการขุดลอก
คลอง เนื่ องจากสะพานดังกล่าวกี ดขวางการขุดลอกคลอง หาใช่ กรม
ชลประทานห้ามราษฎรใช้เป็ นทางสัญจรทางน้ าไม่ คลองนั้นจึงยังเป็ น
ทางสาธารณะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๔๙,
๑๓๕๐ และการที่ ร าษฎรมิ ไ ด้ ใ ช้ ค ลองนั้ น เป็ นทางสั ญ จรทางน้ า
เนื่ องจากไม่ส ะดวกเท่า การสัญจรทางบก ก็หาได้ทาให้คลองนั้นสิ้ น
สภาพการเป็ นทางสาธารณะไปไม่ ที่ดินของโจทก์อยู่ติดคลองซึ่ งเป็ น
ทางสาธารณะอยูแ่ ล้ว โจทก์ย่อมไม่มีสิทธิ เรี ยกให้จาเลยเปิ ดทางพิพาท
เป็ นทางจาเป็ นได้อีก

ข้ อ ๕๙ คาถาม นายเดชเช่าบ้านและที่ดินมีโฉนดของนายดีซ่ ึ ง
อยู่ติดกับที่ดินมีโฉนดของนายโชค นายเดชเดิ นผ่านที่ดินของนายโชค
โดยเจตนาใช้เป็ นทางออกไปสู่ ถนนสาธารณะได้ ๓ ปี
ก. หากนายเดชเดิ นผ่า นทางต่ อ มาอี ก ๘ ปี นายเดชจะฟ้ อง
ขอให้นายโชคไปจดทะเบียนภาระจายอมได้หรื อไม่
ข. หากนายเดชซื้ อบ้านและที่ดินจากนายดี และเดินต่อมาอีก ๘
ปี นายเดชมีสิทธิ ในทางเดินดังกล่าวอย่างไร
398

ข้ อ ๕๙ คาตอบ ก. แม้นายเดชผูเ้ ช่ าบ้านและที่ดินของนายดีจะ


เดินผ่านที่ดินของนายโชครวม ๑๑ ปี แต่นายเดชเป็ นเพียงผูเ้ ช่า นายเดช
จึงไม่ มีสิทธิฟ้องขอให้ บังคับตามภาระจายอมได้ เพราะผู้มีอานาจฟ้อง
บังคับตามภาระจายอมต้ องเป็ นเจ้ าของทรัพย์ เท่ านั้น (คาพิพากษาฎีกา
ที่ ๑๔๖๖/๒๕๐๕)
ข. การใช้ ภารยทรัพย์ เพื่อให้ ได้ ภาระจายอมไม่ จาเป็ นที่ เจ้ าของ
สามยทรั พย์ ต้องเป็ นผู้ใช้ เอง การที่นายเดชเดิ นผ่านที่ดินของนายโชค
โดยเจตนาใช้เป็ นทางออกไปสู่ ถ นนสาธารณะได้ ๓ ปี ถื อว่ า นายดี
เจ้ า ของที่ดิ นใช้ ท างโดยปรปั ก ษ์ โ ดยมี น ายเดชเป็ นผู้ ใ ช้ ท างแทนตาม
ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๖๘ ประกอบมาตรา
๑๔๐๑ ต่อมาเมื่อนายเดชซื้ อบ้านและที่ดินจากนายดี และเดิ นผ่านที่ดิน
ของนายโชคต่ อ มาอี ก ๘ ปี นั้น นายเดชมี สิ ทธิ นับ ระยะเวลาที่ไ ด้ ใ ช้
ภารยทรั พ ย์ ข ณะที่ เ ป็ นผู้ เ ช่ า ๓ ปี รวมเข้ า กับ ระยะเวลาตอนที่เ ป็ น
เจ้ าของสามยทรัพย์ ๘ ปี ได้ รวมเป็ นระยะเวลาที่นายเดชใช้ ทางภาระจา
ยอม ๑๑ ปี จึ ง เป็ นการใช้ ทางภาระจ ายอมโดยสงบ โดยเปิ ดเผย
ติดต่ อกันเป็ นเวลาเกิน ๑๐ ปี แล้ ว นายเดชจึงได้ ภาระจายอมเหนือที่ดิน
ของนายโชคตามมาตรา ๑๔๐๑ ประกอบมาตรา ๑๓๘๒ (คาพิพากษา
ฎีกาที่ ๑๑๓/๒๕๐๔) กับมีสิทธิให้ จดทะเบียนภาระจายอมด้ วย เพราะ
เป็ นการรั ก ษาภาระจ ายอมตามมาตรา ๑๓๙๑ (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่
๒๕๒๖/๒๕๓๖)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๖๖/๒๕๐๕ โจทก์ปลู กเรื อนอยู่ในที่ ดิน
ของผูอ้ ื่นโดยเป็ นเพียงผูอ้ าศัย (แม้จะอ้างว่าโจทก์ตอ้ งใช้ทางเดิ นสายที่
399

ผ่านเข้าไปในที่ดินของจาเลยมาราว ๕๐ ปี แล้ว) แต่โจทก์ไม่ใช่ เจ้าของ


ที่ดินอันเป็ นสามายทรัพย์ จะมาฟ้ องขอให้เปิ ดทางซึ่ งเป็ นภาระจายอม
เองไม่ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๓/๒๕๐๔ ภาระจายอมในเรื่ องทางเดิ น
เป็ นทรัพยสิ ทธิ อย่างหนึ่งกฎหมายเพ่งเล็งถึงความสาคัญของที่ดิน ไม่ใช่
ส่ วนตัวบุคคลผูเ้ ป็ นเจ้าของ
ตอนแรกโจทก์ ที่ ๑ เช่ า ที่ ดิ น สามยทรั พ ย์ป ลู ก บ้า นอยู่ และ
โจทก์ที่ ๒ เช่าบ้านอีกหลังหนึ่งอยูใ่ นที่ดินนั้นด้วย ระหว่างนั้นโจทก์ท้ งั
สองใช้ทางพิพาทเดินเข้าออกสู่ ทางสาธารณเรื่ อยมา ตอนหลังโจทก์ท้ งั
สองซื้ อที่ดินนั้น และคงใช้ทางพิพาทเดินตลอดมา เมื่อรวมระยะเวลาทั้ง
๒ ตอนเกิน ๑๐ ปี โจทก์ยอ่ มได้ภาระจายอมในทางพิพาทโดยอายุความ

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๗


ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๔๐๘/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล.๑ น.๔๕ บ.ได้
ดาเนิ นการแบ่งแยกที่ดินออกเป็ นคราว ๆ แล้วนาที่ดินปลูกสร้างอาคาร
นาออกจาหน่ าย ลักษณะการแบ่งแยกที่ ดินออกเป็ นแปลงย่อยเพื่อทา
อาคารพาณิ ช ย์ออกจาหน่ า ย แม้จะท าที ล ะคราว คราวละไม่ เกิ น ๑๐
แปลง อันไม่ ต้อ งขออนุ ญ าตท าโครงการจัดสรรตามที่ บ ญ ั ญัติไ ว้ใ น
ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ ๒๘๖ ก็ตาม แต่เจตนาของ บ. ที่แท้จริ ง
ก็คือ การแบ่งที่ดินออกเป็ นแปลงย่อยเกินกว่า ๑๐ แปลง เพื่อปลูกสร้าง
อาคารพาณิ ชย์จาหน่ าย อันติดอยู่ภายใต้บงั คับประกาศของคณะปฏิ วตั ิ
ฉบับที่ ๒๘๖ ที่กาหนดให้ที่พิพาทซึ่ งมีสภาพเป็ นถนนตกเป็ นภาระจา
400

ยอม ซึ่ งตามสาเนาโฉนดที่ดินก็ได้มีการระบุยอมให้ที่ดินพิพาทตกเป็ น


ภาระจ ายอมของที่ ดิน อื่ น จานวน ๕ แปลง แสดงว่า สภาพของที่ ดิ น
พิพาทมีการกาหนดให้เป็ นถนนอันเป็ นภาระจายอมของที่ ดินที่ มีการ
แบ่งแยก ดังนั้น เมื่อ บ. ได้มีการแบ่งที่ดินออกเป็ นคราว ๆ แต่เป็ นการ
แบ่งเพื่อมิให้การดาเนิ นการแต่ละคราวมีที่ดินเกินกว่า ๑๐ แปลง อันจะ
ตกอยูภ่ ายใต้ขอ้ บังคับที่จะต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขในประกาศของคณะ
ปฏิวตั ิ ฉบับที่ ๒๘๖ ก็ตาม ก็หามีผลให้การดาเนิ นการของ บ. พ้นไป
จากเงื่ อ นไขภาระที่ ก ฎหมายก าหนดเพื่ อ ประโยชน์ ข องผูบ้ ริ โ ภคที่
ประกาศของคณะปฏิ วตั ิ ฉบับ ที่ ๒๘๖ ประสงค์จะคุ ้มครองไม่ ที่ ดิน
พิพาทตกเป็ นภาระจายอมตามผลของกฎหมายแล้ว
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๕๙๒๗/๒๕๕๒ ฎ. ๑๘๙๖ โจทก์ท้ งั สี่ ใ ช้
ลารางพิพาทในการชักน้ าเข้านาที่ดินโฉนดเลขที่ ๓๑๙๑ แล้วขุดเป็ นบ่อ
อยู่ใ นที่ ดิ น แปลงดัง กล่ า ว จากนั้น โจทก์ ท้ งั สี่ ใ ช้ร ะหัด วิ ด น้ า หรื อ ใช้
เครื่ องสู บน้ าชักน้ าเข้าไปยังที่ดินแปลงอื่นของโจทก์ที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔
ด้วยความสงบ และเปิ ดเผย ด้วยเจตนาให้ได้มาซึ่ งภาระจายอมเกิ นกว่า
๑๐ ปี แล้ว แม้จะมีลารางพิพาทถึงที่ดินโฉนดเลขที่ ๓๑๙๑ ของโจทก์ที่
๒ และที่ ๓ เท่านั้น ส่ วนที่ดินแปลงอื่น ๆ ดังกล่าวของโจทก์ที่ ๑ ที่ ๒
และที่ ๔ มีการชักน้ าเข้าไปโดยการใช้ระหัดวิดน้ าหรื อเครื่ องสู บน้ าจาก
ที่ดินโฉนดเลขที่ ๓๑๙๑ แต่ก็อยู่ในลักษณะที่ลารางพิพาทในที่ดินของ
จาเลยทั้งสามต้องรั บ กรรม หรื อรั บ ภาระเพื่ อประโยชน์ แก่ ที่ ดินของ
โจทก์ที่ ๒ และที่ ๓ และที่ดินของโจทก์ที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔ ที่อยู่ถดั ไป
ด้วยเช่ นกัน เพราะสามยทรัพย์และภารยทรัพย์ไม่จาเป็ นต้องอยู่ติดกัน
401

ถ้าการที่ตอ้ งภาระจายอมนั้นมีลกั ษณะเป็ นภาระแก่อสังหาริ มทรัพย์อื่น


จะเป็ นแปลงหนึ่งหรื อหลายแปลงก็ดี จะมีอสังหาริ มทรัพย์อื่นคัน่ อยูก่ ็ดี
ก็ตกเป็ นภาระจายอมได้ ที่ดินของจาเลยทั้งสามจึงตกเป็ นภาระจายอม
แก่ที่ดินของโจทก์ท้ งั สี่ ท้ งั หกแปลงในการใช้ลารางพิพาทโดยอายุความ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๘๙/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๔๖ ภาระจายอม
เป็ นทรั พยสิ ทธิ ที่ก่อตั้งขึ้นด้วยอาศัยอานาจแห่ งกฎหมายตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๒๙๘ และการได้มาโดยนิ ติกรรมซึ่ งภาระจายอมของโจทก์
ได้ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนการได้มากับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคแรก แล้ว จึงเป็ นทรัพยสิ ทธิ ที่สมบูรณ์ มีผลทาให้
ที่ดินโฉนดเลขที่ ๔๔๕๓ ของ ค. ตกเป็ นภาระจายอมแก่ ที่ดินโฉนด
เลขที่ ๓๓๑๘๔ ของโจทก์ใช้สาหรั บรถยนต์เข้าออกได้ท้ งั แปลง เมื่ อ
บันทึกข้อตกลงดังกล่าวมิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ภาระจายอมย่อม
ตกติ ดไปกับที่ ดินโฉนดเลขที่ ๔๔๕๓ ซึ่ งเป็ นภารยทรัพย์ตามมาตรา
๑๓๙๓ จาเลยได้รับโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินโฉนดเลขที่ ๔๔๕๓ มาจาก ค.
จึ งต้องยอมให้โจทก์ใช้ที่ ดินดังกล่ าวเป็ นทางสาหรั บรถยนต์เข้าออก
และต้องงดเว้นการใช้สิทธิ บางอย่างอันมีอยูใ่ นกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินดังกล่าว
เพื่ อ ประโยชน์ แ ก่ ที่ ดิ น โฉนดเลขที่ ๓๓๑๘๔ ของโจทก์ ซ่ ึ งเป็ น
สามยทรั พ ย์ต ามมาตรา ๑๓๘๗ ภาระจ ายอมดัง กล่ า วจะสิ้ น ไปเมื่ อ
ภารยทรัพย์หรื อสามยทรัพย์สลายไปทั้งหมด หรื อสิ้ นไปเพราะไม่ได้ใช้
สิ บปี หรื อสิ้ นไปเพราะภาระจายอมนั้นหมดประโยชน์แก่สามยทรัพย์
ตามมาตรา ๑๓๙๗ มาตรา ๑๓๙๙ และมาตรา ๑๔๐๐ และกฎหมายมิได้
ให้อานาจแก่เจ้าของภารยทรัพย์ที่จะเลิกภาระจายอมได้
402

ตามบันทึกข้อตกลงเรื่ องภาระจายอมเรื่ องทางเดินระบุไว้อย่าง


ชั ด เจนว่ า โจทก์ ผู ้เ ป็ นเจ้า ของที่ ดิ น โฉนดเลขที่ ๓๓๑๘๔ ซึ่ งเป็ น
สามยทรัพย์มีสิทธิ ที่จะใช้รถยนต์เข้าออกในที่ดินโฉนดเลขที่ ๔๔๕๓
ของ ค. อันเป็ นภารยทรัพย์ได้ท้ งั แปลง โดยไม่ได้มีกาหนดเวลาในการ
ผ่านเข้าออกไว้ โจทก์จึงสามารถใช้รถยนต์เข้าออกทางภาระจายอมได้
ตลอดเวลาแล้วแต่ความสะดวกและความจาเป็ นของโจทก์ จาเลยซึ่ งรับ
โอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินโฉนดเลขที่ ๔๔๕๓ จาก ค. จึงหามีสิทธิ ใด ๆ ที่จะ
บังคับกะเกณฑ์ให้โจทก์ตอ้ งเข้าออกทางภาระจายอมได้เฉพาะเวลา ๕
นาฬิ ก าถึ ง เวลา ๒๒ นาฬิ ก า ตามแต่ ใ จของจาเลยไม่ การที่ จาเลยท า
ประตูเหล็กขึ้นปิ ดกั้นทางภาระจายอมแล้วใช้โซ่ คล้องปิ ดกุญแจและจะ
เปิ ดประตูให้โจทก์เข้าออกได้เฉพาะเวลา ๕ นาฬิกาถึงเวลา ๒๒ นาฬิกา
เป็ นการกระทาโดยไม่ชอบ โจทก์มีสิทธิ ที่จะขอให้บงั คับจาเลยรื้ อถอน
ประตูเหล็กดังกล่าวเสี ยได้
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๖๗๕๗/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๘๗ เดิ ม
เจ้าของที่ดินโฉนดเลขที่ ๕๖๓๘ ขุดลารางพิพาทผ่านที่ ดินเพื่อนาน้ า
จากคลองสาธารณประโยชน์ม าใช้ในที่ดินมาประมาณ ๔๐ ปี ต่ อมา
ที่ดินตกเป็ นของโจทก์กบั จาเลยและบุคคลอื่นอีกหลายคนเป็ นเจ้าของ
รวมกัน กับได้แบ่งแยกที่ดินเป็ นของเจ้าของแต่ละคน ลารางจึงถูกแบ่ง
ออกเป็ นส่ วนตามที่ ดินที่ ถู ก แบ่ ง แยก เมื่ อเจ้า ของรวมในที่ ดินมิ ไ ด้มี
ข้อตกลงหรื อจดทะเบียนให้ลารางดังกล่าวเป็ นลารางที่ตกอยู่ในภาระ
จายอมขณะมีการแบ่งแยกโฉนด จาเลยซึ่ งเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ลาราง
ส่ วนที่อยูใ่ นที่ดินของจาเลยย่อมมีสิทธิ ที่จะถมดิ นกลบลารางพิพาทได้
403

ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๓๖


เมื่อลารางพิพาทมิได้ตกอยู่ในภาระจายอมแก่ที่ดินของโจทก์
การที่โจทก์ขอให้จาเลยเปิ ดลารางพิพาทย่อมเป็ นประโยชน์แก่โจทก์
ฝ่ ายเดียวโดยจาเลยซึ่ งเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินลารางพิพาทเป็ นฝ่ าย
เสี ย ประโยชน์จากการใช้ที่ ดินของตน การที่ จาเลยถมดิ นกลบลาราง
พิพาทจึ งมิใช่ เป็ นการใช้สิทธิ ซ่ ึ งมี แต่จะให้เกิ ดความเสี ยหายแก่โจทก์
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๔๒๑
ข้ อสั งเกต คดี นีก้ ำรใช้ ลำรำบมำ ๔๐ ปี ไม่ เป็ นภำรวะำยอม เพรำวเป็ น
ที่ ดินแปลบเดี ยักดนแลวมี เะ้ ำขอบคนเดี ยั ะึ บ ไม่ มีภำรยทรด พ ย์ ที่ะวรด บ
กรรมแก่ สำมยทรด พย์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๗๒๗/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๑๖๘ ภาระจา
ย อ ม เ ป็ น ท รั พ ย สิ ท ธิ ที่ ก ฎ ห ม า ย ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่
อสังหาริ มทรัพย์อื่นอันเรี ยกว่าสามยทรัพย์ แม้ขอ้ เท็จจริ งจะรับฟั งได้วา่
จาเลยเป็ นเจ้าของอาคารตึ กแถวซึ่ งปลู กอยู่ในที่ ดินที่อยู่ติดทางพิพาท
แต่ ก ารที่ จาเลยใช้ท างพิ พ าทวางสิ นค้า เพื่ อจาหน่ า ยในกิ จการค้า ของ
จาเลย เป็ นการใช้ทางพิพาทเพื่อประโยชน์ส่วนตัวของจาเลยโดยเฉพาะ
มิได้เกี่ ยวกับประโยชน์ของอสังหาริ มทรัพย์ที่จาเลยเป็ นเจ้าของ ดังนั้น
ภาระจายอมจึงไม่อาจเกิดมีข้ ึนได้ จาเลยไม่ได้ภาระจายอมในทางพิพาท
404

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๘


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๙๙/๒๕๕๔ ฎ.๙๑๕ แม้ที่ดินพิพาทตกอยู่
ในภาระจายอมแก่ที่ดินของโจทก์ ต้องยอมให้โจทก์และบริ วารใช้เป็ น
ทางเข้าออกซอยร่ ม เย็นอันเป็ นทางสาธารณะอันเป็ นลักษณะใช้เป็ น
ทางผ่านเท่าที่โจทก์และบริ วารต้องการจะใช้ แต่จาเลยในฐานะเจ้าของ
ที่ดินพิพาทย่อมมีสิทธิ ที่จะใช้สอยที่ ดินพิพาทอย่างเจ้าของกรรมสิ ทธิ์
เพียงแต่การใช้ประโยชน์ของจาเลยต้องไม่ทาให้การใช้เส้นทางในที่ดิน
พิพาทของโจทก์เสื่ อมความสะดวกหรื อทาให้ประโยชน์ในการใช้ที่ดิน
พิพาทของโจทก์ลดลง การที่โจทก์ก่อสร้างเพิงเก็บสิ นค้าในที่ดินพิพาท
อันเป็ นการครอบครองที่ดินพิพาทเนื้อที่ ๔ ตารางวา เพื่อประโยชน์ของ
โจทก์แต่เพียงผูเ้ ดียว โดยจาเลยซึ่ งเป็ นเจ้าของที่ดินไม่อาจใช้ประโยชน์
จากที่ดินพิพาทในส่ วนนั้นได้ ย่อมทาให้เกิดภาระเพิ่มขึ้นแก่ที่ดินพิพาท
อันเป็ นภารยทรัพย์ ท าให้เจ้าของภารยทรัพย์ได้รับความเสี ยหาย แม้
โจทก์จะได้ก่อสร้างเพิงเก็บสิ นค้าในที่ดินพิพาทมาก่อนที่ดินพิพาทตก
เป็ นของจาเลย เมื่อจาเลยซึ่ งเป็ นเจ้าของภารยทรัพย์บอกกล่าวให้โจทก์
รื้ อถอนเพิงเก็บสิ นค้าแต่โจทก์เพิกเฉย ย่อมเป็ นการทาละเมิด โจทก์จึง
ต้องรับผิดชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่จาเลยตามฟ้ องแย้ง
แม้จาเลยจะมิได้เป็ นผูก้ ่อสร้ างรั้วคอนกรี ต แต่การที่จาเลยเป็ น
เจ้าของที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ นภารยทรัพย์มาตั้งแต่ก่อน อ. ได้รับโอนมาซึ่ ง
อ. ย่อมไม่มีสิทธิ ที่จะก่อสร้างรั้วคอนกรี ตอันทาให้โจทก์หรื อบุคคลอื่น
ซึ่ ง เป็ นเจ้า ของสามยทรั พ ย์เ สื่ อ มความสะดวกหรื อใช้ป ระโยชน์ ใ น
ภารยทรัพย์ลดลง เมื่อจาเลยได้รับโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินพิพาทมาจาก อ.
405

จ าเลยจึ ง รั บ โอนมาทั้ง หน้ า ที่ เ จ้ า ของภารยทรั พ ย์ ที่ ไ ม่ อ าจท าให้


ประโยชน์ ข องเจ้า ของสามยทรั พ ย์ล ดหรื อ เสื่ อ มความสะดวกด้ว ย
เช่นกัน จาเลยจึงมีหน้าที่ร้ื อถอนรั้วคอนกรี ตออกไปจากที่ดินพิพาท
จาเลยก่อสร้างโครงเหล็กหลังคาโดยยึดกับผนังอาคารโรงงาน
ของจาเลยซึ่ งตั้งอยูต่ ิดกับที่ดินพิพาทโดยไม่มีเสาหรื อส่ วนหนึ่ งส่ วนใด
ของโครงเหล็กหลังคาติ ดตั้งอยู่บนที่ ดินพิพาทอันเป็ นภารยทรัพย์เลย
ทั้งส่ วนต่ าสุ ดของโครงสร้ างเหล็กหลังคายังอยู่สูงกว่าหลังคาทรงสู ง
ของรถยนต์ปิกอัพที่จอดอยูบ่ นที่ดินพิพาทไม่น้อยกว่า ๒ ฟุต แสดงว่า
โครงเหล็ ก หลัง คาที่ จาเลยก่ อสร้ า งคลุ ม ที่ ดินพิ พ าท ไม่ ท าให้ก ารใช้
ประโยชน์ในที่ดินพิพาทของโจทก์ลดหรื อเสื่ อมความสะดวก
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๕๑/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๒ น. ๔๖ ตามบันทึก
ข้อตกลงเรื่ องภาระจายอมระบุไว้วา่ ที่ดินของโจทก์ตกเป็ นภาระจายอม
แก่ ที่ ดิ น ของจ าเลยในเรื่ อ งทางเดิ น ซึ่ งหมายความว่ า จ าเลยซึ่ งเป็ น
เจ้า ของสามยทรั พ ย์มี สิ ท ธิ ใ ช้ท างภาระจายอมซึ่ งเป็ นทางเท้า ติ ดกับ
ตึกแถวของจาเลยเดิ นผ่านหรื อเดินเข้าออกไปยังถนนสาธารณะหรื อที่
อื่ นใดได้ โจทก์ไม่มี สิทธิ ที่จะไปหวงห้า มมิ ให้เดิ นผ่าน เมื่ อจาเลยนา
วัสดุก่อสร้างมาวางจาหน่ายบนทางภาระจายอม ก่อสร้างกันสาดหลังคา
อะลูมิเนียมเป็ นการถาวร นาชั้นมาวางของขายและนารถยนต์มาจอดบน
ทางเท้าและทาประตูเปิ ดปิ ด ทาให้โจทก์และประชาชนอื่นไม่สามารถ
เดิ นผ่านทางภาระจายอมไปได้อย่างสะดวก การกระทาของจาเลยซึ่ ง
เป็ นเจ้า ของสามยทรั พ ย์เป็ นการก่ อภาระเพิ่ ม ขึ้ นแก่ ภารยทรั พย์ ตาม
บทบัญญัติแห่ งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๘ อัน
406

เป็ นการละเมิดต่อโจทก์ จาเลยจึงต้องรื้ อถอนและขนย้ายทรัพย์สินของ


จาเลยที่อยูบ่ นทางภาระจายอมออกไป
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๕๕๗/๒๕๕๑ ฎ.๑๒๖๔ จาเลยทาทางลาด
ในที่ดินภารยทรัพย์ของโจทก์เพราะจาเลยต้องใช้รถบรรทุกถังแก๊สเข้า
ไปจอดในร้ า นเพื่อความปลอดภัย ของประชาชนที่ อาศัย อยู่ใ กล้เคี ย ง
เป็ นการกระท าที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ภาระเพิ่ ม ขึ้ นแก่ ที่ ดิ น ภารยทรั พ ย์ต าม
ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๘๘ จาเลยไม่ มี สิ ท ธิ
กระทาเช่ นนั้นได้ ทั้งจาเลยสามารถทาทางขึ้นลงเป็ นการชัว่ คราวแทน
การเทคอนกรี ตเป็ นการถาวรได้ การที่จาเลยทาทางลาดเข้ามาในที่ดิน
ดังกล่าวจึงเป็ นการกระทาละเมิดต่อโจทก์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๕๙๕/๒๕๕๑ ฎ.๑๖๕๔ บันทึกข้อตกลง
ทางภาระจายอมเรื่ องทางเดินและทางรถยนต์ระหว่างโจทก์กบั จาเลยไม่
มีขอ้ ตกลงให้ปักเสาไฟฟ้ าลงบนที่ดินที่เป็ นทางภาระจายอม แต่ปัจจุบนั
บ้านเมืองเปลี่ยนแปลงและเจริ ญมากขึ้น การใช้ไฟฟ้ าตามสถานที่ต่าง ๆ
ที่เป็ นที่ อาศัยหรื อใช้ประกอบกิ จการย่อมเป็ นสิ่ งจาเป็ นต่อประชาชน
ทัว่ ไป การที่ จาเลยให้การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคติ ดตั้งเสาไฟฟ้ าและพาด
สายไฟฟ้ าบนที่ดินภาระจายอมเพื่อนาไปใช้ในที่ดินของจาเลยโดยปั ก
เสาไฟฟ้ าอยู่ตามแนวยาวของทางภาระจายอมด้านข้าง ไม่เป็ นการกี ด
ขวางทางเข้า ออก จึ ง ถื อ ไม่ ไ ด้ว่ า จ าเลยเจ้า ของสามยทรั พ ย์ท าการ
เปลี่ยนแปลงในภารยทรัพย์ซ่ ึ งทาให้เกิดภาระเพิ่มขึ้นแก่ภารยทรัพย์ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๘ จาเลยย่อมมี สิท ธิ
กระทาได้
407

หมายเหตุ (โดยท่ ำ นอำะำรย์ ไ พโระน์ ัำยุภ ำพ) ภำรวะ ำยอมเรื่ อบ


ทำบเดิ น เคยมี คำพิ พำกษำฎีกำที่ ๓๓๗๘/๒๕๑๑ แลว ๒๑๔/๒๕๒๑
ัินิะฉด ยั่ ำ กำรปด กเสำไฟฟ้ ำ ัำบสำยไฟฟ้ ำบนทำบภำรวะำยอมเป็ นกำร
เปลี่ยนแปลบในภำรยทรด พย์ ซึ่บทำให้ เกิดภำรวเพิ่มขึน้ แก่ ภำรยทรด พย์ ตำม
ปรวมัลกฎหมำยแพ่ บแลวพำณิ ชย์ มำตรำ ๑๓๘๘ แต่ คดีนีเ้ ป็ นภำรวะำ
ยอมเรื่ อบทำบเดินแลวทำบรถยนต์ ด้ัย ข้ อเท็ะะริ บะึบต่ ำบกดน ทด้บบ้ ำนเมือบ
ก็เปลี่ยนแปลบเะริ ญมำกขึน้ ศำลฎีกำะึบไม่ เดิ นตำมแนัเดิม

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๙๐


คาพิพากษาฎีก าที่ ๑๓๐๔/๒๕๕๔ ฎ.๙๔๒ แบบแปลนบ้าน
ของจาเลยมีจุดกาหนดที่จะก่อสร้างสระว่ายน้ าแยกต่างหากจากตัวบ้าน
โดยส่ วนของตัวบ้านตั้งอยู่นอกแนวเขตที่กาหนดห้ามปลูกสร้าง แต่ใน
ส่ วนของสระว่ายน้ าบางส่ วนยังอยู่ในเขตที่ห้ามปลูกสร้ าง แม้จะฟั งว่า
โจทก์อนุ ญาตให้จาเลยก่อสร้ างบ้านตามแบบแปลนดังกล่าว แต่จาเลย
ยังต้องตกอยู่ในบังคับภาระจายอมที่จะไม่ปลูกสร้ างบ้านและสิ่ งปลู ก
สร้างอื่นใดให้มีความสู งเกิน ๑๒ เมตร และมีระยะห่ างจากที่ดินโฉนด
เลขที่ ๖๔๔๗ ของโจทก์ไม่น้อยกว่า ๑๐ เมตร ตามสารบัญจดทะเบียน
ท้ายโฉนดที่ดิน เมื่อจาเลยรับว่าสระว่ายน้ าบางส่ วน ห้องอาบน้ า และ
บันไดท่ า น้ า สร้ า งล้ า แนวเขตซึ่ ง เป็ นระยะถอยร่ น ตามที่ จดทะเบี ย น
ภาระจ ายอมแล้ว ถื อ ได้ว่ า จ าเลยซึ่ งเป็ นเจ้า ของภารยทรั พ ย์ท าให้
ประโยชน์แห่ งภาระจายอมลดไปหรื อเสื่ อมความสะดวกทาให้โจทก์
ได้รับความเสี ยหาย จึงเป็ นการกระทาละเมิดสิ ทธิ ของโจทก์
408

คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๓๐๑/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๒ น. ๑๒๖ จาเลย


ได้จดทะเบียนภาระจายอมที่ดินตลอดทั้งแปลงซึ่ งมีความกว้างประมาณ
๑๐ เมตรยาวตลอดแนวของจาเลย เป็ นถนนทางเดิ นและทางรถยนต์
ตลอดจนสาธารณูปโภคแก่ที่ดินของโจทก์และที่ดินที่โจทก์เป็ นเจ้าของ
รวมกับผูอ้ ื่นเพื่อใช้เป็ นถนนสาหรับเข้าออกที่ดินของโจทก์และที่ดินที่
โจทก์เป็ นเจ้าของรวมกับผูอ้ ื่น สิ่ งก่อสร้างต่าง ๆ ที่จาเลยสร้ างในที่ดิน
ของจ าเลยซึ่ งตกอยู่ใ นภาระจ ายอมแก่ ที่ ดิ น ของโจทก์ น้ ัน สร้ า งขึ้ น
ภายหลั ง จากมี ก ารจดทะเบี ย นภาระจ ายอมแล้ ว และปรากฏว่ า
สิ่ งก่อสร้ างต่าง ๆ ของจาเลยดังกล่าวล้วนแต่ล้ าเข้ามาในแนวเขตที่ดิน
ภาระจายอมที่ เป็ นถนนทั้ง สิ้ น จนท าให้ เส้ น ทางถนนดัง กล่ า วเหลื อ
ความกว้างเพียงประมาณ ๒.๗๘ เมตรเท่านั้น ซึ่ งรถยนต์ยอ่ มแล่นสวน
ทางกันไม่ ได้ โจทก์ตอ้ งใช้รถตู ้คอนเทรนเนอร์ และรถกระบะขนส่ ง
สิ น ค้า เข้า ออกที่ ดิ น ของโจทก์ สิ่ ง ก่ อ สร้ า งของจ าเลยจึ ง เป็ นเหตุ ใ ห้
ประโยชน์แห่งภาระจายอมลดไปหรื อเสื่ อมความสะดวก

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๙๒


คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๑๕๓/๒๕๕๓ ฎ.๑๖๙๐ ทางภาระจายอม
เดิ มเป็ นที่ต่ าจึงต้องสร้ างสะพานไม้ข้ ึ นเป็ นทางเดิ นมี ความกว้างเพียง
๗๐ ถึง ๘๐ เซนติเมตร ส่ วนถนนที่จาเลยทั้งเจ็ดสร้างขึ้นใหม่เป็ นถนน
คอนกรี ตเสริ มเหล็กถาวรมัน่ คงมีความกว้างถึงประมาณ ๖ เมตร ใช้เป็ น
ทางเดิ นและทางรถยนต์ได้สะดวกสบายกว่าทางภาระจายอมเดิ มมาก
ทั้งยังปรากฏว่าตึกแถวที่จาเลยทั้งเจ็ดก่อสร้างมีจานวนถึง ๓ คูหา ที่รุก
409

ล้ าเข้ามาทับทางภาระจายอมบางส่ วนซึ่ งหากต้องมี การรื้ อตึ กแถวใน


ส่ วนที่รุกล้ าทุกคูหาย่อมจะเกิ ดความเสี ยหายเป็ นอย่างมาก ดังนั้น การ
ย้ายทางภาระจายอมความยาว ๖๓ เมตร จากที่เดิมไปยังถนนคอนกรี ตที่
จาเลยทั้งเจ็ดสร้างขึ้นจึงเป็ นประโยชน์แก่จาเลยทั้งเจ็ดรวมถึงโจทก์ท้ งั
เจ็ด และยังเหมาะสมกับสภาพการณ์ในปั จจุบนั อีกด้วย จาเลยทั้งเจ็ดจึง
มี สิทธิ เรี ยกให้ยา้ ยทางภาระจายอมดังกล่ าวไปยังถนนที่ จาเลยทั้งเจ็ด
สร้างขึ้นใหม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๙๒
ซึ่ งการย้ายทางภาระจายอมดังกล่าวไม่เป็ นการต้องห้ามหรื อขัดกับคา
วินิจฉัยชี้ ขาดและคาพิพากษาของศาลฎี กา เพราะมาตรา ๑๓๙๒ มิได้
ระบุ ระยะเวลาที่ อาจจะเรี ย กให้ย า้ ยภาระจายอมไว้ว่า จะต้องกระท า
ภายในระยะเวลาใดและต้องการกระทาก่อนคดีถึงที่สุดหรื อไม่ เพียงแต่
ระบุให้เจ้าของภารยทรัพย์ที่ขอย้ายต้องแสดงให้เห็ นได้ว่าการย้ายนั้น
เป็ นประโยชน์แก่ตนและรับจะเสี ยค่าใช้จ่ายหากมีค่าใช้จ่ายเกิ ดขึ้น ทั้ง
จะต้องไม่ทาให้ความสะดวกของเจ้าของสามยทรัพย์ลดน้อยลง ก็เพียง
พอที่ จะเรี ยกให้ย า้ ยภาระจายอมได้แล้ว ประกอบกับเจตนารมณ์ ของ
บทบัญ ญัติ แ ห่ ง กฎหมายมาตราดัง กล่ า วก็ เ พื่ อ ต้อ งการให้ เ ป็ นหลัก
ประนี ป ระนอมอัน ดี ระหว่า งประโยชน์ ข องเจ้า ของภารยทรั พ ย์และ
ความสะดวกของเจ้า ของสามยทรั พ ย์โ ดยไม่ ถื อ เคร่ ง ครั ด ตามสิ ท ธิ
เกินไปด้วย ดังนั้น ตราบใดที่การบังคับคดียงั ไม่เสร็ จสิ้ น การขอให้ยา้ ย
ทางภาระจายอมก็ย่อมสามารถกระทาได้ แม้จะมีคาพิพากษาศาลฎี กา
เป็ นที่สุดแล้วก็ตาม
410

เมื่ อจาเลยทั้ง เจ็ดขอให้โจทก์ท้ งั เจ็ดย้า ยทางภาระจายอมเดิ ม


มายังถนนคอนกรี ตที่จาเลยทั้งเจ็ดสร้างขึ้นใหม่แล้วถนนคอนกรี ตย่อม
ตกเป็ นทางภาระจายอมแทนทางภาระจายอมซึ่ งเป็ นสะพานไม้เดิ ม
จาเลยทั้งเจ็ดจึ งต้องจดทะเบียนถนนคอนกรี ตให้เป็ นทางภาระจายอม
แทนทางภาระจายอมเดิ มด้วย โดยจาเลยทั้งเจ็ดไม่ตอ้ งสร้ างสะพานไม้
ขึ้นมาบนทางภาระจายอมนี้อีก
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๙๙๑/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๓๑ โจทก์ซ้ื อ
ที่ ดินจาก น. ซึ่ งแบ่ งขายที่ ดินให้แก่ โจทก์ โดย น. ตกลงกับโจทก์ใ ห้
โจทก์มีทางเข้าออกสู่ ทางสาธารณะผ่านที่ดินของ น. เป็ นการได้ภาระจา
ยอมโดยนิติกรรมอันเป็ นทรัพยสิ ทธิ อนั เกี่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์ แต่เมื่อ
โจทก์ยงั ไม่จดทะเบี ยนการได้มาจึงไม่บริ บูรณ์ ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง แม้การได้ภาระจายอมโดย
นิ ติกรรมของโจทก์จะไม่บริ บูรณ์ หากโจทก์ได้ใช้ทางพิพาทโดยความ
สงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาให้เป็ นทางภาระจายอมติ ดต่อกันเป็ น
เวลา ๑๐ ปี โจทก์ก็ มี สิ ท ธิ ไ ด้ภ าระจ ายอมโดยอายุ ค วามตามมาตรา
๑๔๐๑ ประกอบมาตรา ๑๓๘๒
การย้า ยทางภาระจายอมเป็ นสิ ท ธิ ข องจ าเลยซึ่ งเป็ นเจ้า ของ
ภารยทรัพย์โดยจาเลยเป็ นฝ่ ายเสี ยค่าใช้จ่ายตามมาตรา ๑๓๙๒ แต่จาเลย
จะต้องแสดงได้วา่ การย้ายนั้นเป็ นประโยชน์แก่จาเลยและต้องไม่ทาให้
ความสะดวกของโจทก์ ซ่ ึ งเป็ นเจ้า ของสามทรั พ ย์ล ดน้ อ ยลง เมื่ อ
พิจารณาทางพิพาทอันเป็ นทางภาระจายอมแล้วจะเห็ นได้ว่าที่ดินของ
จ าเลยทางด้า นทิ ศ ตะวัน ตกของทางพิ พ าทประโยชน์ ใ ช้ส อยจะลด
411

น้อยลง เนื่ องจากถูกทางพิพาทแบ่งพื้นที่ ของที่ดินของจาเลยเป็ นสอง


ส่ วนโดยที่ดินทางด้านทิศตะวันตกเป็ นที่ดินส่ วนน้อย แต่หากทางภาระ
จายอมย้ายไปอยู่สุดทางทิศตะวันตกของที่ดินของจาเลย พื้นที่ ส่วนที่
เหลื อ ของที่ ดิ น ของจ าเลยจะเป็ นผื น เดี ย วกั น จ าเลยย่ อ มใช้ ส อย
ประโยชน์ได้มากกว่า และการย้ายทางภาระจายอมดังกล่าวก็ไม่ทาให้
ความสะดวกของโจทก์ลดลงแต่ประการใด จึงสมควรย้ายทางภาระจา
ยอมโดยจาเลยต้องเป็ นฝ่ ายเสี ยค่าใช้จ่ายในการย้าย
ข้ อสั งเกต คดี นีศ้ ำลฎีกำัำบหลดกไั้ ั่ำ กำรใช้ ทำบตำมข้ อสด ญญำซึ่ บเป็ น
บุคคลสิ ทธิ แม้ ะวยดบไม่ ะดทวเบี ยนให้ บริ บูรณ์ เป็ นทรด พยสิ ทธิ ก็ถือั่ ำ
เป็ นกำรใช้ ทำบโดยมี เะตนำเอำเป็ นภำรวะำยอม ไม่ ใช่ กำรใช้ โดยถื อ
ัิสำสว เมื่ อใช้ ทำบครบ ๑๐ ปี ะึ บได้ ภำรวะำยอมโดยอำยุคัำมอี กทำบ
หนึ่บด้ ัย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๖๘๘/๒๕๕๑ ฎ.๑๗๕๕ บุพการี ของโจทก์
โจทก์ และบุคคลในครอบครัวและบุคคลข้างเคียงได้เดิ นผ่านที่ดินของ
จ าเลยออกสู่ ท างสาธารณะมาเกิ น กว่า ๑๐ ปี แม้เ ดิ ม โจทก์ เ ดิ น ผ่า น
ทางด้านทิ ศเหนื อผ่านบ้านของจาเลย แต่ต่อมาจาเลยไม่ให้โจทก์เดิ น
ผ่านทางด้านดังกล่าว โจทก์จึงหันมาเดิ นทางพิพาท ก็มิทาให้ภาระจา
ยอมของโจทก์หมดไป การที่จาเลยไม่ให้โจทก์เดินทางด้านทิศเหนื อซึ่ ง
เป็ นทางเดิ นดั้งเดิ ม ถื อได้ว่าจาเลยซึ่ งเป็ นเจ้าของทรัพย์เรี ยกให้โจทก์
ย้ายไปใช้ท างภาระจ ายอมส่ ว นอื่ นของที่ ดิ นของจาเลยตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๙๒ โจทก์จึงได้ภาระจายอมในทางพิพาท
412

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๙๙


ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๖๗๓/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๓ น.๖๐ เมื่ อ ที่ ดิ น
โฉนดเลขที่ ๑๕๒๖๗ ซึ่ งมีสิทธิ ภาระจายอมเกี่ยวกับทางเดิ นบางส่ วน
ในที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๒๕๖๐๙ และ ๑๕๒๖๙ ถู กปล่อยให้เป็ นที่ว่าง
เปล่า ไม่มีการหาผลประโยชน์ใด ๆ บนที่ดินความจาเป็ นที่จะต้องเดิน
ผ่านทางภาระจายอมพิพาทไปสู่ ที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๕๒๖๗ จึงไม่มีตาม
ไปด้วย เมื่อทางภาระจายอมไม่เคยใช้มาเกิ น ๑๐ปี แล้วภาระจายอมจึง
สิ้ นไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๙๙

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๔๐๑


คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๓๘๘๓/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๓ น.๑๕๑ โจทก์
ฟ้ องและน าสื บ ว่ า ทางพิ พ าทเป็ นทางจ าเป็ นเนื่ อ งจากโจทก์ ไ ม่ มี
ทางเข้าออกสู่ ทางสาธารณะด้า นอื่ นได้ ดังนั้น การใช้ทางพิพาทของ
โจทก์ จึง เป็ นลัก ษณะเป็ นทางจ าเป็ น หากโจทก์ มี เ จตนาจะได้ภาระ
จายอม โจทก์จ ะต้อ งเปลี่ ย นการแสดงเจตนาต่ อ อ. เจ้า ของเดิ ม และ
จาเลยผูร้ ับโอนจาก อ. ตราบใดที่โจทก์มิได้แสดงเจตนาเปลี่ ยนการใช้
ทางพิพาทแก่เจ้าของ แม้จะใช้ทางพิพาทนานเท่าใดก็ไม่ได้ภาระจายอม
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๐๑๕/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๒๑๗ ขณะที่
ส. ซื้ อที่ดินแปลงแรก และต่อมา พ. ซื้ อที่ดินแปลงที่ ๒ นั้น ส. และ พ.
อยูก่ ินฉันสามีภริ ยาแล้ว แม้จะไม่ได้ความว่า ส. และ พ. ได้จดทะเบียน
สมรสกันโดยชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่ แต่ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างอยู่
กินฉันสามีภริ ยาต้องถือว่าเป็ นเจ้าของร่ วมกัน ทั้งการที่จะมีภาระจายอม
413

ได้จะต้องมี ที่ดินสองแปลงโดยที่ ดินแปลงหนึ่ งตกอยู่ในภาระจายอม


ของที่ดินอีกแปลงหนึ่ง และการที่จะได้ภาระจายอมโดยอายุความตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๑ จะต้องเป็ นการใช้เพื่อตน มิใช่เป็ นการอาศัย เมื่อ
การใช้สิทธิ ในที่ ดินของ ส. ทั้งสองแปลงเป็ นการใช้ในฐานะเจ้าของ
ที่ดินร่ วมกันกับ พ. มิใช่เป็ นการใช้ในที่ดินของผูอ้ ื่นอันจะเป็ นผลให้ได้
สิ ทธิ ภาระจายอมในช่ วงเวลาดังกล่ าว โจทก์จะนาสิ ท ธิ ที่ ส. มี อยู่ใ น
ที่ ดินพิพ าทมานับต่อเนื่ องกับสิ ทธิ ที่โจทก์ได้รับเพื่อให้ได้สิท ธิ ภาระ
จายอมในที่ดินแปลงพิพาทหาได้ไม่ เมื่อโจทก์ได้รับโอนที่ดินมีโฉนด
จาก ส. ในปี ๒๕๓๖ นับถึงวันฟ้ องคดีน้ ียงั ไม่ถึง ๑๐ ปี ที่ดินพิพาทจึงยัง
ไม่ตกอยูใ่ นภาระจายอมโดยอายุความตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๑

การใช้ โดยสงบ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๐๗/๒๕๕๔ ฎ.๔๘๔ การได้มาซึ่ งภาระ
จ ายอมโดยอายุ ค วาม ผูเ้ ป็ นเจ้า ของทรั พ ย์ต้อ งใช้สิ ท ธิ ใ นทางภาระ
จายอมโดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาให้เป็ นทางภาระจายอม
เป็ นเวลาสิ บปี ติดต่อกัน เมื่อโจทก์เริ่ มถือสิ ทธิ ใช้ทางเดินพิพาทมาตั้งแต่
ปี ๒๕๒๘ แต่จาเลยที่ ๔ ได้ปิดทางพิพาทเมื่อปลายปี ๒๕๓๑ จนโจทก์
ต้องฟ้ องคดี ขอให้เปิ ดทางและจาเลยที่ ๔ ยอมเปิ ดทางให้โจทก์ในปี
๒๕๓๓ จะถื อว่าโจทก์ไ ด้ใ ช้ท างเดิ นพิ พาทมาตั้งแต่ปี ๒๕๒๘ ถึ งปี
๒๕๔๐ โดยความสงบหาได้ไ ม่ ทางเดิ นพิพ าทจึ ง ยังไม่ตกเป็ นภาระ
จายอมแก่ที่ดินโจทก์
414

คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๘๕๙๑/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๙ น. ๑๒๕ ก่ อน


หน้ า วัน ที่ ๑๕ พฤศจิ ก ายน ๒๕๔๔ อั น เป็ นวัน ที่ ศ าลชั้ นต้ น มี
คาพิพ ากษาคดี หมายเลขแดงที่ ๑๑๒๙ - ๑๑๓๐/๒๕๔๔ ที่ ดินโฉนด
เลขที่ ๓๔๓๗ เดิมซึ่ งมีทางพิพาทอยูบ่ นที่ดิน เป็ นที่ดินที่โจทก์กบั พวก
มี ก รรมสิ ท ธิ์ รวมอยู่ด้วย ดัง นั้น การใช้ท างพิ พ าทในช่ ว งระยะเวลา
ดังกล่าวของโจทก์จึงเป็ นการใช้ตามกรรมสิ ทธิ์ ของตนซึ่ งไม่ใช่การใช้
ทางพิพาทโดยเจตนาให้เป็ นทางภาระจายอม แต่การใช้ทางพิพาทโดย
เจตนาให้เป็ นทางภาระจายอมหากจะเกิดขึ้นก็ตอ้ งเป็ นเวลาภายหลังจาก
ศาลชั้นต้นมีคาพิพากษาคดีดงั กล่าว ซึ่ งเมื่อนับถึงวันฟ้ องคดีน้ ี ยงั ไม่ครบ
๑๐ ปี ทางพิพาทจึงยังไม่ตกเป็ นภาระจายอมแก่ที่ดินโจทก์

การใช้ โดยเปิ ดเผย


คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๒๓๘/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๘ น.๑๘๘ จาเลยทั้ง
สองสร้างฐานรากของโรงเรื อนซึ่ งเป็ นส่ วนที่ฝังอยูใ่ ต้ดินรุ กล้ าเข้าไปใน
ที่ดินของโจทก์โดยมีเจตนาเพื่อซ่อนเร้นปกปิ ดการกระทาที่ไม่ชอบของ
ตน จึงไม่อาจถื อได้ว่าจาเลยทั้งสองครอบครองที่ ดินส่ วนที่รุกล้ าของ
โจทก์โดยเปิ ดเผยตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ ประกอบมาตรา ๑๔๐๑
ดังนั้น แม้จะมีการครอบครองมานานเท่าใด จาเลยทั้งสองก็ไม่ได้สิทธิ
ภาระจายอมในที่ดินดังกล่าว
415

การใช้ โดยปรปักษ์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๐๕๙/๒๕๔๕ ฎ.ส.ล.๕ น.๑๔๒ การได้
ภาระจายอมโดยอายุความนั้น ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๑ ให้นาบทบัญญัติ
ว่าด้วยอายุความได้สิทธิ ในลักษณะ ๓ แห่ งบรรพ ๔ มาบังคับใช้โดย
อนุ โลม ซึ่ งต้องเป็ นกรณี ที่เจ้าของสามยทรัพย์ได้ใช้ประโยชน์ในที่ดิน
ภารยทรัพย์น้ นั โดยความสงบและโดยเปิ ดเผย และด้วยเจตนาจะได้สิทธิ
ภาระจายอมในที่ดินดังกล่าวตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๑ ประกอบด้วย
มาตรา ๑๓๘๒ ซึ่ งกฎหมายมุ่งประสงค์ให้ถือเอาการใช้ประโยชน์ของ
เจ้าของสามยทรั พย์เป็ นสาคัญ โดยไม่ คานึ งว่าภารยทรั พย์น้ นั จะเป็ น
ของผูใ้ ดหรื อเจ้าของสามยทรัพย์จะต้องรู ้ วา่ ใครเป็ นเจ้าของภารยทรัพย์
นั้น ดังนั้น แม้โจทก์ที่ ๑ จะใช้ประโยชน์ในทางพิพาทกว้าง ๒ เมตร ซึ่ ง
เป็ นส่ วนหนึ่งของที่ดินมีโฉนดของจาเลยรวมไปกับทางสาธารณะกว้าง
๒ เมตร โดยเข้าใจว่าเป็ นทางสาธารณะทั้งหมด ก็ตอ้ งถือว่าโจทก์ที่ ๑
ได้ใช้ทางพิพาทในลักษณะจะให้ได้สิทธิ ภาระจายอมในที่ดิ นดังกล่าว
แล้ว เมื่อโจทก์ที่ ๑ ใช้ทางพิพาทติดต่อกันเป็ นเวลาเกิ นกว่า ๑๐ ปี โดย
ความสงบและโดยเปิ ดเผย โจทก์ที่ ๑ จึงได้ภาระจายอมในทางพิพาท
ข้ อ สั ง เกต ค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำนี ้น่ ำ ะวกลด บ หลด ก ตำมค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำที่
๑๙๓๔/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๓ น.๑๔๙ ซึ่ บัินิะฉด ยั่ ำ โะทก์ ใช้ ทำบพิพำทโดย
เข้ ำใะั่ ำทำบดดบกล่ ำัเป็ นทำบสำธำรณว ยดบถือไม่ ได้ ั่ำเป็ นกำรใช้ สิทธิ
ผ่ ำนทำบพิ พำทโดยกำรครอบครอบปรปด กษ์ ดดบที่ บดญญดติไั้ ใน ป.พ.พ.
มำตรำ ๑๔๐๑ ปรวกอบด้ ัยมำตรำ ๑๓๘๒ แม้ โะทก์ ะวใช้ ทำบพิ พำท
เกินกั่ ำ ๑๐ ปี ทำบพิพำทก็ไม่ เป็ นภำรวะำยอมเพื่อที่ดินขอบโะทก์
416

ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๕๘๘๖/๒๕๕๒ ฎ. ๑๑๕๕ โจทก์ ใ ช้ท าง


พิ พ าทเป็ นทางเข้า ออกจากที่ ดิ น ของโจทก์ สู่ ท างสาธารณะตั้ง แต่ ปี
๒๕๓๒ ถึงปี ๒๕๔๔ โดยมิได้ขออนุ ญาตจาเลยทั้งสองและจาเลยทั้ง
สองไม่คดั ค้าน แม้การใช้ท างพิพ าทของโจทก์ต้ งั แต่ปี ๒๕๓๒ ถึ งปี
๒๕๓๗ จะใช้โดยเข้าใจผิดว่าทางพิพาทอยู่ในที่ดินของโจทก์เอง ก็ถือ
ว่าโจทก์มีเจตนาถือเอาทางพิพาทเป็ นทางเข้าออกจากที่ดินของโจทก์สู่
ทางสาธารณะตั้งแต่ปี ๒๕๓๒ เป็ นต้นมาแล้ว หาใช่ โจทก์เพิ่งใช้เป็ น
ทางเข้าออกจากที่ดินของโจทก์ในปี ๒๕๓๗ ไม่
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๙๙๑/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๓๑ โจทก์ซ้ื อ
ที่ ดินจาก น. ซึ่ งแบ่ งขายที่ ดิน ให้แก่ โจทก์ โดย น. ตกลงกับโจทก์ใ ห้
โจทก์มีทางเข้าออกสู่ ทางสาธารณะผ่านที่ดินของ น. เป็ นการได้ภาระจา
ยอมโดยนิติกรรมอันเป็ นทรัพยสิ ทธิ อนั เกี่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์ แต่เมื่อ
โจทก์ยงั ไม่จดทะเบี ยนการได้มาจึงไม่บริ บูรณ์ ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง แม้การได้ภาระจายอมโดย
นิ ติกรรมของโจทก์จะไม่บริ บูรณ์ หากโจทก์ได้ใช้ทางพิพาทโดยความ
สงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาให้เป็ นทางภาระจายอมติ ดต่อกันเป็ น
เวลา ๑๐ ปี โจทก์ก็ มี สิ ท ธิ ไ ด้ภ าระจ ายอมโดยอายุ ค วามตามมาตรา
๑๔๐๑ ประกอบมาตรา ๑๓๘๒
ข้ อสั งเกต ผู้ซื้อที่ ดินที่ ใช้ ทำบโดยผู้ข ำยตกลบั่ ำให้ มีทำบเข้ ำออกสู่ ทำบ
สำธำรณว เป็ นกำรใช้ ทำบโดยปรปด กษ์ เพื่ อให้ ได้ ภำรวะำยอม หำกใช้
ครบ ๑๐ ปี ย่ อมได้ ภำรวะำยอมโดยอำยุคัำมดดบคดี นี้ แต่ ถ้ำเป็ นกำรใช้
ทำบโดยพึ่บพำอำศดยกดนหรื อใช้ ทำบโดยัิสำสว แม้ ะวใช้ นำนเกิ น ๑๐ ปี
417

ก็ไม่ ได้ ภำรวะำยอมโดยอำยุคัำม เพรำวไม่ ใช่ กำรใช้ ทำบโดยปรปด กษ์


คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๙๖๖/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๐ น. ๒๗๙ โจทก์ได้
ใช้ทางพิพาทเป็ นทางเข้าออกสู่ ทางสาธารณะตั้งแต่ปี ๒๕๑๓ ในขณะที่
ที่ดินของจาเลยทั้งสองยังเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ป. เป็ นต้นมา เป็ นเวลาเกิน
กว่าสิ บปี แล้วก่อนที่ที่ดินของ ป. จะตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ว. บิดาของ
จ าเลยทั้ง สองในปี ๒๕๓๗ และยกให้ เ ป็ นของจ าเลยทั้ง สองในปี
๒๕๔๕ โดย ป. ไม่ได้โต้แย้งหรื อหวงห้ามแต่อย่างใด และปรากฏว่า
ที่ดินที่ ป. แบ่งขายให้โจทก์ไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะ ป. จึงได้บอก
ให้ โ จทก์ ใ ช้ ท างพิ พ าทในที่ ดิ น ของ ป. เป็ นทางเดิ น เข้า ออกสู่ ท าง
สาธารณะเช่ นนี้ ย่อมมี เหตุ ผลให้ฟังได้ว่า ป. มี เจตนาให้โจทก์ใช้ทาง
พิพาทอย่างเป็ นทางภาระจายอม เพราะมิ ฉะนั้นโจทก์อาจจะไม่ตกลง
ซื้ อที่ ดินจาก ป. ดัง นี้ การใช้ท างพิ พ าทของโจทก์จึง หาใช่ ใช้โดยถื อ
วิสาสะดังที่จาเลยทั้งสองฎีกาไม่ เมื่อโจทก์ได้ใช้ทางพิพาทดังกล่าวเป็ น
ทางเดินโดยสงบและเปิ ดเผยด้วยเจตนาจะให้ได้สิทธิ ทางภาระจายอม
ติดต่อกันเป็ นเวลากว่าสิ บปี ทางพิพาทย่อมตกเป็ นทางภาระจายอมแก่
ที่ดินของโจทก์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๑ ประกอบด้วยมาตรา ๑๓๘๒
แม้ต่อมาภายหลัง ป. จะโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินให้แก่ ว. บิดาจาเลยทั้งสอง
และ ว. จะยกให้จาเลยทั้งสองก็ตาม ก็หาทาให้สิทธิ ภาระจายอมให้ทาง
พิพาทของโจทก์สิ้นไปไม่
418

การใช้ โดยได้ รับอนุญาตหรือวิสาสะไม่ ได้ ภาระจายอมโดยอายุความ


คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๓๖๗๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๔ น.๑๒๓ โจทก์
มิได้พกั อาศัยอยู่ในที่ดินโฉนดเลขที่ ๓๒๓ ของจาเลย แต่พกั อยู่ที่บา้ น
อี กหลังหนึ่ งซึ่ งอยู่ตรงกันข้ามกับที่ ดินแปลงดังกล่ าว ในการเดิ นทาง
ออกจากบ้า นพัก ของโจทก์ ไม่ จ าเป็ นต้อ งใช้ ที่ ดิ น ของจ าเลยเป็ น
ทางเข้าออก ที่โจทก์อา้ งว่าโจทก์จะใช้ที่ดินของจาเลยเป็ นทางเข้าออกสู่
ที่ดินของโจทก์ซ่ ึ งอยู่ลึกเข้าไปทางทิศใต้ของที่ดินจาเลย ประกอบกับ
ในช่ ว งที่ โ จทก์ ใ ห้ อ. เช่ า ที่ ดิ น ของโจทก์ ป ระกอบธุ ร กิ จ โจทก์
จ าเป็ นต้อ งเดิ น ผ่ า นที่ ดิ น ของจ าเลยเข้า ไปยัง ที่ ดิ น ของโจทก์ เพื่ อ
ตรวจสอบแนวเขตที่ ดินของโจทก์ว่า ถู ก เจ้า ของที่ ดินข้า งเคี ย งบุ ก รุ ก
หรื อไม่ โดยจาเลยไม่เคยทักท้วงห้า มปรามเลย ก็ ปรากฏว่า ขณะนั้น
จาเลยติ ดป้ ายมีขอ้ ความระบุว่าที่ดินของจาเลยเป็ นทางส่ วนบุคคล ซึ่ ง
จาเลยขอสงวนสิ ท ธิ การที่ จาเลยติ ดป้ ายระบุ ว่า เป็ นทางส่ วนบุ ค คล
สงวนสิ ทธิ แม้จะได้ความว่าจาเลยยอมให้โจทก์ใช้ที่ดินของจาเลยเป็ น
ทางเข้า ออกไปสู่ ท างสาธารณะได้ ก็ เห็ นได้ว่า เป็ นการใช้โดยได้รั บ
อนุ ญาตจากจาเลย หาใช่ เป็ นการใช้โดยพลการโดยอาศัยอานาจของ
โจทก์ไม่ ประกอบกับ ส. ซึ่ งเคยเช่ าที่ดินจากโจทก์ให้แก่ อ. ก็เคยขอ
อนุ ญาต จ. บิดาของจาเลยใช้ที่ดินของจาเลยเป็ นทางเข้าออก โดยมอบ
เงินให้แก่ จ. ๕๐,๐๐๐ บาท การที่ อ. ซึ่ งเช่าที่ดินจากโจทก์เป็ นอาคารที่
ท าการใช้ที่ ดิ น ของจ าเลยเป็ นทางเข้า ออก จึ ง เป็ นการใช้โ ดยได้รั บ
อนุญาตจาก จ. ทั้งยังต้องเสี ยค่าใช้จ่ายตอบแทนให้แก่ จ. หาใช่เป็ นการ
419

ใช้โดยอาศัยอานาจของโจทก์อนั จะส่ งผลให้ที่ดินของจาเลยตกเป็ นทาง


ภาระจายอมแก่ที่ดินของโจทก์ไม่
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๔๗๑/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล.๗ น.๙๓ ที่ดินของ
โจทก์ แ ละจ าเลยเป็ นที่ ดิ น จัด สรรของหมู่ บ ้า นตั้ง อยู่ติ ด กัน หมู่ บ ้า น
จัดระบบระบายน้ าเสี ยเป็ นรู ปตัวยูล้อมรอบที่ดินแต่ละแปลงเชื่ อมต่อ
กันทุกแปลงให้ไหลลงสู่ คลองโคกสาร ท่อระบายน้ าบ้านจาเลยจัดสร้าง
ให้ผ่านที่ ดินของโจทก์อยู่เดิ มตั้งแต่สร้ างหมู่บา้ น การใช้ท่อระบายน้ า
ดังกล่ าวระหว่างผูท้ ี่ พกั อาศัยอยู่ในหมู่บา้ นเป็ นการพึ่งพาอาศัยซึ่ งกัน
และกันไม่ทาให้ตกเป็ นภาระจายอม การที่โจทก์ยินยอมให้จาเลยทาท่อ
ระบายน้ าผ่านในที่ดินของโจทก์ข้ ึนมาใหม่ก็เพื่อใช้เป็ นทางระบายน้ า
เสี ยแทนท่ อระบายน้ าเดิ มซึ่ งอุ ดตัน เมื่ อท่อระบายน้ าเดิ มมิ ได้ตกเป็ น
ภาระจายอมของจาเลย ท่อระบายน้ าที่ทาขึ้นมาใหม่ก็หาตกเป็ นภาระจา
ยอมแก่ จ าเลยไม่ ทั้ง ในการท าท่ อ ระบายน้ า ดัง กล่ า วจ าเลยต้อ งขอ
อนุญาตจากโจทก์ แสดงให้เห็นว่าจาเลยเองไม่มีสิทธิ ในที่ดินของโจทก์
ที่จะทาท่อระบายน้ าโดยพลการ อีกทั้งจาเลยเริ่ มทาท่อระบายน้ าใหม่ใน
ที่ดินของโจทก์เมื่อกลางเดื อนกันยายน ๒๕๔๑ คานวณถึงวันที่จาเลย
ฟ้ องแย้ง ยัง ไม่ ค รบ ๑๐ ปี จึ ง ยัง ถื อไม่ ไ ด้ว่า จาเลยได้ภาระจายอมใน
ท่อระบายน้ าใหม่โดยอายุความ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๕/๒๕๔๖ ฎ.ส.ล.๑ น.๒๗ โรงเรี ยน ศ.
ไม่มีร้ ัวล้อมรอบ ชาวบ้านกับโจทก์เดินผ่านสนามของโรงเรี ยนมานาน
ถึง ๔๐ ปี เศษ หากมีนกั เรี ยนใช้สนามอยูก่ ็จะเดินไปตามขอบสนามโดย
ไม่มีการทาไว้เป็ นทางเดิ น แต่การที่โจทก์และชาวบ้านเดิ นผ่านสนาม
420

ได้ เพราะเจ้าของโรงเรี ยนอนุญาตให้เดิน โจทก์จึงมิได้เดินอย่างปรปั กษ์


ดังนั้น แม้โจทก์จะเดิ นผ่านทางดังกล่ าวมานานถึ ง ๔๐ ปี เศษ ก็ไม่ได้
ภาระจายอม กรณี ไม่อาจนับอายุความการเดินผ่านสนามไปต่อกับทาง
อื่นซึ่ งโจทก์ใช้มาไม่ถึง ๑๐ ปี ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๐๐-๘๐๑/๒๕๔๔ ฎ.ส.ล.๑ น.๑๙๑ โจทก์
ได้ใช้ทางเดินพิพาทเข้าออกสู่ ทางสาธารณะสื บทอดมาตั้งแต่ครั้งบรรพ
บุรุษของโจทก์และจาเลยที่เป็ นญาติใกล้ชิดมาแต่เดิม จนกระทัง่ ปลายปี
๒๕๒๘ น้ าท่วมทางพิพาท ทางฝ่ ายโจทก์จึงได้จดั สร้างสะพานไม้ขา้ ม
คูน้ าในทางเดินพิพาท โดยบิดาจาเลยยินยอมให้ดาเนิ นการในลักษณะ
ของความอะลุ่มอล่วยฉันเครื อญาติ จึงเป็ นการแสดงออกโดยแจ้งชัดว่า
โจทก์ไ ด้ใ ช้ท างเดิ นพิ พ าทด้วยความสนิ ทสนมคุ ้นเคยโดยถื อว่า เป็ น
กัน เองอย่า งเช่ น เครื อญาติ ที่ ผูก พัน กัน มานานสื บ เนื่ อ งมาตั้ง แต่ ค รั้ ง
บรรพบุรุษ อันเป็ นการใช้ทางเดินพิพาทโดยถือวิสาสะและเอื้อเฟื้ อต่อ
กัน ทางเดินพิพาทจึงไม่ตกเป็ นภาระจายอมโดยอายุความ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๙๙๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๘๖ ทางพิพาท
ในที่ดินของจาเลยทั้ง ๓ แปลง เดิ มเป็ นทางเกวียนมาก่ อน บิดาโจทก์
และโจทก์รวมทั้งชาวบ้านใช้ทางพิพาทเข้าออกไปมาจากหมู่บา้ นไปทุ่ง
นาก่อนที่จะมีคลองชลประทาน จนกระทัง่ ปี ๒๕๒๓ ได้ขุดทางเกวียน
เป็ นคลองส่ งน้ าจากคลองชลประทานแล้วใช้ที่ดินที่ ขุดทางเกวียนถม
เป็ นทางพิพาท แต่กลับได้ความจากคาเบิกความของ บ. บิ ดาโจทก์ว่า
ที่ดินที่ บ. ไปทานาคือที่ดินที่เช่าจาก ศ. เจ้าของเดิมก่อนขายที่ดินให้แก่
จาเลยทั้ง ๓ แปลง บ. กับชาวบ้านใช้ทางพิพาทเดิ มไปทานาเพียงให้ววั
421

ควายเที ย มเกวีย นลากข้า วผ่านเป็ นประจา ไม่ป รากฏว่า มี ก ารใช้ท าง


พิพาทออกไปสู่ ทางสาธารณะใด การใช้ทางพิพาทเป็ นทางวัวควายเดิน
ผ่านที่ ดินไปทานาเป็ นการใช้ทางพิพาทโดยวิสาสะตามประเพณี ของ
ชาวบ้านซึ่ งอยู่ใกล้เคียงกันเดินผ่านที่ดินของบุคคลอื่นไปเท่านั้น แม้มี
การขุ ด ทางเกวี ย นเป็ นคู น้ าแล้ ว น าดิ น มาถมเป็ นทางพิ พ าทเมื่ อ ปี
๒๕๒๓ ก็ปรากฏว่าบิดา ศ. ให้ บ. เป็ นผูด้ ูแลเข้าทาประโยชน์ในที่ดิน
ทั้ง ๓ แปลง ลักษณะดังกล่าวเป็ นการใช้ทางพิพาทโดยบิดา ศ. และ ศ.
เป็ นผูใ้ ห้ความยินยอม และหลังจาก ศ. ขายที่ดินโฉนดเลขที่ ๙๒๕๙
และ ๓๓๖๕ ให้แก่ จาเลยเมื่ อปี ๒๕๓๒ และปี ๒๕๓๕ บ. ขายที่ดิน
โฉนดเลขที่ ๓๓๓๘๓ ที่ บ. ซื้ อจาก ศ. ให้แก่จาเลย จาเลยยกร่ องคันดิน
ทาเป็ นสวนส้มและทาประตูและรั้วปิ ดกั้นทางเข้าออกทางพิพาท โจทก์
ได้รับมอบกุญแจจากจาเลยเพื่อใช้ปิดเปิ ดประตูร้ ั วเข้าออกทางพิพาท
เป็ นการแสดงว่าโจทก์ใช้ทางพิพาทเป็ นทางผ่านโดยวิสาสะหรื อโดย
ได้รับอนุ ญาตจากจาเลย จึ ง ฟั งไม่ไ ด้ว่า โจทก์ใช้ทางพิพ าทโดยความ
สงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาให้เป็ นภาระจายอม แม้โจทก์จะใช้ทาง
พิพาทนานเพียงใดทางพิพาทก็ไม่ตกเป็ นภาระจายอมโดยอายุความตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๑ ประกอบมาตรา ๑๓๘๒
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๑๐๒/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๑๒๔ ขณะที่
ป. มี ชีวิตอยู่โจทก์ท้ งั สามใช้ทางพิพาทโดยอาศัยสิ ทธิ ของ ป. ซึ่ งเป็ น
เจ้า ของที่ ดิ น มิ ใ ช่ เ ป็ นการใช้ สิ ท ธิ ใ นทางพิ พ าทอัน เป็ นปรปั ก ษ์ต่ อ
เจ้าของที่ดิน จึงไม่ก่อให้เกิดภาระจายอม และหลังจากจาเลยเป็ นเจ้าของ
ทางพิพาทแล้ว โจทก์ท้ งั สามก็ใช้ทางพิพาทโดยมิ ได้ทาการปรั บปรุ ง
422

หรื อเปลี่ยนแปลงทางพิพาทแต่อย่างใด ทางพิพาทยังคงอยูใ่ นสภาพเดิม


จนกระทัง่ จาเลยทาประตูเหล็กและรั้วในทางพิพาท โจทก์ท้ งั สามก็มิได้
มีพฤติการณ์ ที่แสดงให้เห็ นว่าใช้ทางพิพาทโดยมีเจตนาเพื่อให้ได้ทาง
ภาระจายอม โจทก์ท้ งั สามและจาเลยเป็ นญาติที่ใกล้ชิดกัน จึงฟั งได้ว่า
โจทก์ท้ งั สามใช้ทางพิพาทโดยถื อวิสาสะอาศัยความเกี่ ยวพันในทาง
เครื อญาติเป็ นประการสาคัญ ถือไม่ได้วา่ โจทก์ท้ งั สามใช้ทางพิพาทใน
ลักษณะปรปั กษ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ แม้โจทก์ท้ งั สามจะใช้ทาง
พิ พ าทผ่า นที่ ดิ นของจาเลยมากว่า สิ บ ปี ทางพิ พ าทก็ ไ ม่ ตกเป็ นภาระ
จายอมตามมาตรา ๑๔๐๑
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๓๕๖๐/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๖ น. ๗๖ การที่
จาเลยไม่ได้ล็อกกุญแจประตูร้ ัวตรงทางพิพาทก็เพราะเป็ นทางที่ญาติ
พี่นอ้ งของจาเลยซึ่ งเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมต้องใช้เป็ นทางผ่านออก
สู่ ทางสาธารณะ การที่ ผูพ้ กั อาศัยอยู่บา้ นเลขที่ ๔๕ ซึ่ งเป็ นเพียงผูเ้ ช่ า
บ้านดังกล่าวและมิใช่ญาติพี่นอ้ งของจาเลย จะได้อาศัยใช้ทางพิพาทไป
ด้วย ก็เป็ นการใช้ทางพิพาทโดยได้รับ ความยินยอมจากจาเลย แม้ใ ช้
นานเท่าใดก็ไม่ทาให้ทางพิพาทเป็ นทางภาระจายอมไปได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๘๓/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๑ น. ๘๖ จาเลยที่ ๓
คุ น้ เคยกับ บ. มารดาโจทก์ในลักษณะเพื่อนบ้านที่ต่างพึ่งพาอาศัยกัน
การที่ จาเลยที่ ๓ และบริ วารใช้ท างพิ พาทเป็ นการได้รับอนุ ญาตจาก
เจ้าของที่ดินแล้ว แม้จาเลยที่ ๓ พังรั้วที่ก้ นั ระหว่างที่ดินของจาเลยที่ ๒
และที่ ๓ และขนวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกสร้ างบ้านของจาเลยที่ ๓ และ
ใช้ทางพิพาทเรื่ อยมาตลอดจนนาที่ดินลูกรังและหิ นมาถมในทางพิพาท
423

มาตลอดทุกปี โดยไม่ได้ขออนุ ญาตโจทก์ แต่การพังรั้วของจาเลยที่ ๓ ก็


เพื่ อความสะดวกในการขนวัส ดุ อุป กรณ์ ใ นการปลู ก สร้ า งบ้า นของ
จาเลยที่ ๓ ส่ วนการนาดินลูกรังและหิ นมาถมในทางพิพาทก็เพื่อความ
สะดวกในการใช้ทางพิพาทของจาเลยที่ ๓ พฤติการณ์ดงั กล่าวถือว่าเป็ น
การถือวิสาสะของจาเลยที่ ๓ เท่านั้น หาใช่เป็ นการแสดงเจตนาที่จะใช้
ทางพิพาทอย่างเป็ นปรปั กษ์กบั บ. หรื อโจทก์แต่อย่างใดไม่ เช่ นนี้ แม้
จาเลยที่ ๓ จะใช้ทางพิพาทมานานเกิ นกว่า ๑๐ ปี ก็ไม่ทาให้ทางพิพาท
ตกเป็ นภาระจายอมแก่ที่ดินของจาเลยที่ ๓ แต่อย่างใด
424

อาศัย
ข้ อ ๖๐ คาถาม นายสี มีที่ดินซึ่งมีเพียง ส.ค. ๑ อยู่ ๑ แปลง และมี
บ้านซึ่ งปลูกอยูบ่ นที่ดินนั้น ๑ หลัง นายสี ได้ทาหนังสื อสัญญาให้นายมา
อาศัยอยู่ในบ้านหลังนั้นมีกาหนด ๕ ปี เมื่อนายมาเข้าไปอยูใ่ นบ้านนั้น
แล้ว ได้ต่อเติมบ้านออกไปอีก ๑ ห้อง โดยมิได้แจ้งให้นายสี ทราบ นาย
มาอยูบ่ า้ นนั้นมาได้ ๓ ปี นายสี ก็ขายที่ดินนั้นให้นายชอบโดยนายชอบก็
รู้ถึงข้อตกลงที่นายสี ให้นายมาอาศัยเป็ นเวลา ๕ ปี ด้วย นายสี ได้มอบ
ที่ดินนั้นให้นายชอบแล้ว ในการขายนี้ ไม่มีการพูดถึ งบ้านบนที่ดินนั้น
เลย เมื่อนายชอบได้รับมอบที่ดินแล้วก็บอกให้นายมาออกไปจากบ้าน
หลังนั้น นายมาอ้างว่านายชอบทราบข้อตกลงระหว่า งตนและนายสี
แล้ว นายชอบจึงต้องรับไปทั้งสิ ทธิ และหน้าที่ของนายสี คือต้องยอมให้
ตนอยูใ่ นบ้านนั้นจนครบ ๕ ปี และต้องชดใช้ราคาห้องที่ตนต่อเติมให้
ด้วย ส่ วนนายสี ก็อา้ งกับนายชอบว่าตนขายเฉพาะที่ดินเท่านั้นมิได้ขาย
บ้านให้ด้วย ทั้งการขายบ้านก็มิได้ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบี ยนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ จึงเป็ นโมฆะ จะขอรื้ อบ้านไป ให้วินิจฉัยว่าข้ออ้าง
ของนายมาทั้ง ๒ ข้อ และข้อ อ้า งของนายสี ฟั ง ได้ห รื อ ไม่ เ พี ย งใด
(ข้อสอบเนติบณั ฑิต สมัยที่ ๔๐ ปี การศึกษา ๒๕๓๐)
ข้ อ ๖๐ ค าตอบ ส าหรับ ข้ออ้างข้อแรกการที่นายสี ให้นายมา
อาศัย อยู่ใ นบ้า น ๕ ปี นั้น เป็ นการก่ อ ตั้ ง สิ ท ธิ อ าศั ย เมื่ อ มิ ไ ด้ ท าเป็ น
หนั งสื อและจดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่จึงไม่ บริ บูรณ์ เป็ นสิ ทธิ
อาศัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง
คงใช้ บังคับกันได้ ระหว่ างนายสี และนายมาคู่สัญญาในฐานะเป็ นบุคคล
425

สิ ทธิเท่ านั้น แต่ ไม่ ผูกมัดบุคคลภายนอก ไม่ ว่าบุคคลภายนอกจะสุ จริ ต


หรื อ ไม่ (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๖๕๕/๒๕๐๘ และค าพิ พ ากษาฎี ก าที่
๑๒๔๕/๒๕๒๓) ดังนั้น แม้วา่ นายชอบจะรู ้ ขอ้ ตกลงที่นายสี ให้นายมา
อาศัยอยู่ถึง ๕ ปี นั้นก็ตาม แต่ นายมาจะอ้ างสั ญญาระหว่ างตนกับนาย
สี มาผูกมัดนายชอบให้ ปฏิบัติตามมิได้
ส่ วนข้ออ้างข้อหลังเกี่ ยวกับบ้านอี กหนึ่ งห้องที่ ต่อเติ มไปนั้น
เมื่อนายมาต่อเติมห้องโดยมิได้รับอนุ ญาตจากนายสี เจ้าของบ้าน จึงมิใช่
โรงเรื อนซึ่ งผู้มีสิทธิในที่ดินของผู้อื่นใช้ สิทธิปลูกสร้ างไว้ ในที่ดิน และ
ห้ องนี้มิ ได้ ติด กับบ้ า นเพียงชั่ ว คราว บ้ านที่ต่อ เติมห้ องนี้จึ งเป็ นส่ วน
ควบของบ้ า น ตกได้ แก่ นายชอบผู้ เป็ นเจ้ า ของบ้ านตามมาตรา ๑๔๔
วรรคสอง โดยไม่ ต้ อ งชดใช้ ราคาห้ อ งที่ต่ อ เติ ม (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่
๑๕๑๖ - ๑๕๑๗/๒๕๑๙) ข้ ออ้างของนายมาทั้ง ๒ ข้ อ ฟังไม่ ขนึ้
สาหรั บข้ออ้างของนายสี น้ นั เมื่ อการซื้ อขายที่ ดินมิ ได้พูดถึ ง
บ้านซึ่ งเป็ นส่ วนควบของที่ดิน และที่ดินนั้นมีเพียง ส.ค. ๑ ผูเ้ ป็ นเจ้าของ
จึงมีสิทธิ ครอบครองเท่านั้น การโอนสิ ทธิครอบครองย่ อมทาได้ โดยการ
ส่ งมอบตามมาตรา ๑๓๗๗, ๑๓๗๘ เมื่ อนายชอบได้รับ มอบการ
ครอบครองแล้ว จึงเป็ นเจ้ าของผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินซึ่ งเป็ นทรั พย์
ประธาน ย่ อมได้ บ้านซึ่ งเป็ นส่ วนควบไปด้ วยตามมาตรา ๑๔๔ วรรค
สอง (คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๘๕/๒๕๐๗ และคาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๖๔/
๒๕๑๔) หาจ าต้ อ งท าเป็ นหนั ง สื อ และจดทะเบี ย นต่ อ พนั ก งาน
เจ้ าหน้ าทีส่ าหรับการขายบ้ านอีกไม่ ข้ ออ้างของนายสี ฟังไม่ ขนึ้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๕๑๖ - ๑๕๑๗/๒๕๑๙ ผูอ้ าศัยในโรงเรื อน
426

ซ่ อมแซมบ้านเพื่อความสะดวกสบายของตน สิ่ งที่ทาขึ้นเป็ นส่ วนควบ


ตกแก่เจ้าของ เมื่อถูกเรี ยกบ้านคืนจะเรี ยกค่าทดแทนไม่ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๖๔/๒๕๑๔ ผูค้ รอบครองที่ดินมือเปล่าไม่
มีหนังสื อสาคัญสาหรับที่ดินมีแต่เพียงสิ ทธิ ครอบครอง หามีกรรมสิ ทธิ์
ไม่ เรื อนพิพาทบนที่ ดินรายนี้ ย่อมเป็ นส่ วนควบของที่ดินมือเปล่ านั้น
เมื่อจาเลยสละการครอบครองที่ ดินและเรื อนพิพาทให้โจทก์ โดยการ
ขายให้โจทก์แล้วทาสัญญาเช่าจากโจทก์อีกต่อไปเช่นนี้ ตามบทบัญญัติ
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์มาตรา ๑๓๗๗, ๑๓๗๘ เห็นได้
ว่าจาเลยเจตนาสละการครอบครองให้โจทก์โดยการส่ งมอบทรัพย์ให้
แล้ว แม้การซื้ อขายไม่ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงาน
เป็ นโมฆะก็ตาม เมื่อจาเลยสละและโอนการครอบครองให้โจทก์แล้ว
การครอบครองของจาเลยก็หมดสิ้ นไป เมื่อสัญญาเช่าสิ้ นสุ ดลง โจทก์
ไม่ตอ้ งการให้จาเลยอยู่ในที่ดินพิพาทต่อไปแล้ว จาเลยก็ไม่มีสิทธิ อยู่
ต่อไป
427

ข้ อ ๖๑ คาถาม นายประมุขยินยอมเป็ นหนังสื อให้นายสุ มิตร


อาศัยอยู่ในบ้านเลขที่ ๓๐ ของนายประมุข ตลอดชี วิตของนายสุ มิตร
โดยไม่ตอ้ งเสี ยเงิ น ต่ อมานายประมุ ขถึ งแก่ ค วามตายนายสมบัติบุตร
ของนายประมุขจดทะเบียนรับโอนที่ดินพร้อมบ้านเลขที่ ๓๐ เป็ นมรดก
ตกทอดแก่ตน
ก. นายสมบัติไม่ยอมให้นายสุ มิตรอยู่อาศัยในบ้านเลขที่ ๓๐
ต่อไป เพราะนายสมบัติจะนาบ้านไปให้ชาวต่างชาติเช่ามาเป็ นค่าใช้จ่าย
ในการดารงชีวติ ของนายสมบัติ โดยอ้างว่านายสุ มิตรอยูอ่ าศัยโดยไม่ได้
จดทะเบี ย นต่ อ เจ้า พนัก งาน นายสมบัติ จ ะฟ้ องขับ ไล่ น ายสุ มิ ต รได้
หรื อไม่
ข. นายสุ มิตรอาศัยอยูท่ ี่บา้ นเลขที่ ๓๐ เรื่ อยมา หลังจากสมบัติ
จดทะเบียนรับโอนที่ดินพร้อมบ้านเลขที่ ๓๐ บ้านดังกล่าวมีสภาพทรุ ด
โทรม นายสุ มิตรบอกให้นายสมบัติร้ื อบ้านแล้วสร้างใหม่ให้นายสุ มิตร
อยู่อาศัยต่อไป แต่นายสมบัติไม่ยอมสร้ างบ้านใหม่ ขณะที่นายสมบัติ
ไปทางานที่ ต่า งประเทศ นายสุ มิตรได้ร้ื อบ้านเลขที่ ๓๐ ออกทั้งหลัง
และใช้เงินของตนเอง ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท สร้ างบ้านและอยู่อาศัยต่อมา
และเมื่ อ น าไม้ที่ ร้ื อออกจากบ้า นเดิ ม ไปขาย นายสุ มิ ต รก็ ไ ด้เ งิ น มา
๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท เมื่อนายสมบัติกลับมาจากต่างประเทศเห็นนายสุ มิตร
รื้ อบ้านหลังเดิมและปลูกบ้านใหม่ นายสมบัติไม่พอใจที่นายสุ มิตรรื้ อ
และปลู ก บ้า นโดยไม่ บ อกตน นายสมบัติจึง ไม่ ย อมให้นายสุ มิ ตรอยู่
อาศัย ในบ้า นเลขที่ ๓๐ ที่ สร้ างใหม่ และจะนาไปให้ช าวต่า งชาติ เช่ า
นายสมบัติฟ้องขับไล่นายสุ มิตรและเรี ยกค่าเสี ยหาย ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
428

ได้หรื อไม่เพียงใด
ข้ อ ๖๑ ค าตอบ ก. นายประมุ ข ยิน ยอมเป็ นหนัง สื อ ให้น าย
สุ มิตรอาศัยอยู่ในบ้านเลขที่ ๓๐ ตลอดชี วิตของนายสุ มิตรโดยไม่ตอ้ ง
เสี ยเงิน แม้ ไม่ ได้ จดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ซึ่งจะไม่ บริ บูรณ์ เป็ น
สิ ทธิอาศัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรค
หนึ่ง แต่ ก็เป็ นบุคคลสิ ทธิใช้ ยันนายประมุขได้ เมื่อนายสมบัติเป็ นผู้สืบ
สิ ทธิของนายประมุข การอยู่อาศั ยที่นายประมุขได้ ให้ ไว้ แก่ นายสุ มิตร
เป็ นบุ ค คลสิ ทธิ ใช้ ยันนายสมบัติซึ่ งเป็ นผู้ สืบสิ ทธิ ของนายประมุ ขให้
ปฏิบัติตามได้ เช่ นเดียวกัน นายสมบัติจึงไม่ มีสิทธิฟ้องขับไล่ นายสุ มิตร
ออกจากบ้ านเลขที่ ๓๐
ข. แม้ก ารอยู่อาศัย ที่ น ายประมุ ข ได้ใ ห้ ไ ว้แก่ น ายสุ มิ ตรเป็ น
บุคคลสิ ทธิ ใช้ยนั นายสมบัติซ่ ึ งเป็ นผูส้ ื บสิ ทธิ ของนายประมุขให้ปฏิบตั ิ
ตามได้ก็ ต าม แต่ ม าตรา ๑๔๐๒ บุ ค คลใดได้ รั บ สิ ท ธิ อ าศั ย โรงเรื อ น
บุคคลนั้นย่ อมมีสิทธิอยู่ในโรงเรือนนั้นโดยไม่ ต้องเสี ยค่ าเช่ า และมาตรา
๑๔๐๘ เมื่อสิ ทธิ อาศั ยสิ้ นลงผู้อาศั ยต้ องส่ งทรั พย์ สินคืนแก่ ผ้ ูให้ อาศั ย
เมื่อบ้านเลขที่ ๓๐ (เดิม) ซึ่ งเป็ นโรงเรื อนได้ถูกรื้ อถอนไปแล้วโดยนาย
สุ มิตรเช่ นนี้ สิ ทธิอาศั ยที่นายสุ มิตรได้ ทาไว้ กับนายประมุขย่ อมสิ้ นลง
จึงไม่ มีโรงเรื อนอันจะมีสิทธิอาศัยตามบทกฎหมายข้ างต้ น การที่นาย
สุ มิตรปลูกบ้านเลขที่ ๓๐ (ใหม่) ขึ้นแทนภายหลังจากที่นายประมุขถึ ง
แก่ ความตายโดยไม่ได้รับความยินยอมจากนายสมบัติ ก็หาก่ อให้ เกิด
สิ ทธิอาศัยขึน้ มาใหม่ แต่ อย่ างใดไม่ และการที่นายสุ มิตรปลูกบ้านเลขที่
๓๐ (ใหม่ ) ในที่ ดินพิ พ าทโดยไม่ ไ ด้รับ ความยินยอม บ้ า นเลขที่ ๓๐
429

(ใหม่ ) จึงเป็ นส่ วนควบของที่ดินพิพาทตกเป็ นของเจ้ าของที่ดินพิพาท


ตามมาตรา ๑๔๔ ทั้งเป็ นการปลูกสร้ างโรงเรื อนในที่ดินของผู้อื่นโดยไม่
สุ จริตตามมาตรา ๑๓๑๑ การที่นายสมบัติฟ้องขับไล่นายสุ มิตรออกจาก
ที่ ดิ นพิ พ าทและบ้า นเลขที่ ๓๐ (ใหม่ ) เช่ นนี้พ อถือ ได้ ว่ า นายสมบั ติ
ประสงค์ จะให้ บ้านเลขที่ ๓๐ (ใหม่ ) ซึ่ งเป็ นโรงเรื อนคงอยู่ตามมาตรา
๑๓๑๑ สาหรับค่าเสี ยหายที่ บา้ นของนายสมบัติถูกรื้ อไป ๑,๐๐๐,๐๐๐
บาท นั้น เท่ากับการสร้ างบ้านเลขที่ ๓๐ (ใหม่) เมื่อหักกลบกันแล้ วจึ ง
ไม่ มี ค่ า เสี ยหายแล้ ว ดังนั้ น เมื่ อ นายสุ มิ ต รซึ่ งไม่ มี สิ ทธิ ใ ด ๆ ในที่ดิ น
พิพาทและบ้ านเลขที่ ๓๐ (ใหม่ ) ดังวินิจฉั ยมาแล้ วเช่ นนี้นายสมบัติจึง
มี อ านาจฟ้ องขั บ ไล่ น ายสุ มิ ต รได้ แต่ ไม่ มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ ค่ า เสี ยหาย
(คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๓๙/๒๕๕๑)
คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๓๓๙/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๐ น. ๑ แม้ก ารอยู่
อาศัยที่ ป. ได้ให้ไว้แก่ ฮ. และจาเลยที่ ๑ จะเป็ นบุคคลสิ ทธิ ใช้ยนั โจทก์
ทั้งสอง ซึ่ งเป็ นผูจ้ ดั การมรดกของ ป. ให้ปฏิบตั ิตามได้ก็ตาม แต่ ป.พ.พ.
มาตรา ๑๔๐๒ บัญญัติวา่ "บุคคลใดรับสิ ทธิ อาศัยในโรงเรื อน บุคคลนั้น
ย่อมมีสิทธิ อยูใ่ นโรงเรื อนนั้นโดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าเช่า" และมาตรา ๑๔๐๘
บัญญัติ ว่า "เมื่ อสิ ท ธิ อาศัย สิ้ นลงผูอ้ าศัย ต้อ งส่ ง ทรั พ ย์สิ น คื นแก่ ผูใ้ ห้
อาศัย" เมื่อข้อเท็จจริ งได้ความว่า บ้านเลขที่ ๓๐ (เดิม) ซึ่ งเป็ นโรงเรื อน
ได้ถูกรื้ อถอนไปแล้วโดยจาเลยทั้งสองเช่นนี้ สิ ทธิ อาศัยที่ ฮ. และจาเลย
ที่ ๑ ได้ทาไว้กบั ป. ย่อมสิ้ นลง จึงไม่มีโรงเรื อนอันจะมีสิทธิ อาศัยตาม
บทกฎหมายข้างต้น การที่จาเลยทั้งสองปลูกบ้านเลขที่ ๓๐ (ใหม่) ขึ้น
แทนภายหลังจากที่ ป. ถึ งแก่ความตาย โดยไม่ได้รับความยินยอมจาก
430

โจทก์ท้ งั สองก็หาก่อให้เกิดสิ ทธิ อาศัยขึ้นมาใหม่แต่อย่างใดไม่ และการ


ที่จาเลยทั้งสองปลูกบ้านเลขที่ ๓๐ (ใหม่) ในที่ดินพิพาทโดยไม่ได้รับ
ความยินยอม บ้านเลขที่ ๓๐ (ใหม่) จึงเป็ นส่ วนควบของที่ดินพิพาทตก
เป็ นของเจ้าของที่ดินพิพาทตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๔ ทั้งเป็ นการปลูก
สร้างโรงเรื อนในที่ดินของผูอ้ ื่นโดยไม่สุจริ ตตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๑๑
การที่ โจทก์ท้ งั สองฟ้ องขับ ไล่ จาเลยทั้งสองออกจากที่ ดินพิ พาทและ
บ้านเลขที่ ๓๐ (ใหม่) เช่ นนี้ พอถือได้ว่าโจทก์ท้ งั สองในฐานะผูจ้ ดั การ
มรดกของ ป. ประสงค์จะให้บา้ นเลขที่ ๓๐ (ใหม่) ซึ่ งเป็ นโรงเรื อนคง
อยู่ตามมาตรา ๑๓๑๑ สาหรั บค่าเสี ยหายจานวน ๔๐๐,๐๐๐ บาท ตาม
ฟ้ องนั้น ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่ามีการสร้างบ้านเลขที่ ๓๐ (ใหม่) ทดแทน
เท่ากับค่าเสี ยหายที่ร้ื อบ้านเลขที่ ๓๐ (เดิม) แล้ว จึงไม่กาหนดค่าเสี ยหาย
ส่ วนนี้ให้ คู่ความไม่อุทธรณ์จึงยุติตามคาพิพากษาศาลชั้นต้น
เมื่อจาเลยทั้งสองไม่มีสิทธิ ใด ๆ ในที่ดินพิพาทและบ้าน โจทก์
ทั้งสองในฐานะผูจ้ ดั การมรดกชอบที่จดั การตามที่จาเป็ นได้ตามมาตรา
๑๗๑๙ และมาตรา ๑๗๓๖ วรรคสอง จึงมีอานาจฟ้ องจาเลยทั้งสองได้
โดยไม่ตอ้ งบอกกล่าวก่อน
ข้ อสั งเกต คำพิ พำกษำฎีกำนี ้ผ้ ูย่อไม่ ได้ ย่อปรวเด็นเรื่ อบเบิ น ๔๐๐,๐๐๐
บำท ไั้ ทด้บที่ มีกำรกล่ ำัถึ บในคำพิ พำกษำฎี กำ ผู้แต่ บะึ บย่ อเพิ่ มเข้ ำมำ
เพรำวั่ ำมำตรำ ๑๓๑๑ ต้ อบมีกำรชำรวค่ ำที่ดินที่เพิ่มขึน้
ฎีกำนีเ้ ป็ นไปตำมหลดกขอบกฎหมำยทรด พย์ สินที่ั่ำเมื่อตดัทรด พย์
สูญเสี ยหำยหมดไป (บ้ ำนเดิมถูกรื ้ อถอน) ทรด พยสิ ทธิ (สิ ทธิ อำศดย) ย่ อม
หมดไป เมื่ อปลูกบ้ ำนขึ น้ ใหม่ ก็ต้อบัิ นิะฉด ยั่ ำกรรมสิ ทธิ์ เป็ นขอบใคร
431

ซึ่ บก็ต้อบอำศด ย หลดก ส่ ันคับในกำรหำเะ้ ำ ขอบกรรมสิ ท ธิ์ ส่ ันสิ ท ธิ


อำศดย เมื่ อไม่ มี กฎหมำยกำหนดให้ สิท ธิ อำศดยเกิ ดขึ ้นใหม่ ก็ต้อบถื อั่ ำ
สิ ทธิ อำศด ย หมดไป กรณี ตำมฎี ก ำนี ้ แ ม้ ะวไม่ ได้ ะดทวเบี ย นเป็ น
ทรด พยสิ ทธิ ก็ใช้ หลดกกฎหมำยเรื่ อบสิ ทธิ อำศดยมำัินิะฉดยเช่ นเดียักดน
แต่ ถ้ ำ เป็ นทรด พยสิ ทธิ อ ย่ ำ บอื่ น เช่ น สิ ทธิ เ ก็ บ กิ น ในกณี ที่
ทรด พย์ สินสลำยไปโดยได้ ค่ำทดแทน เะ้ ำขอบหรื อผู้ทรบสิ ทธิ เก็บกิน ต้ อบ
ทำให้ ทรด พย์ สินคื นดี เพี ยบที่ สำมำรถทำได้ ตำมะำนันเบิ นค่ ำทดแทนที่
ได้ รดบแลวสิ ทธิ เก็บกิ นกลดบมี ขึน้ เพี ยบที่ ทรด พย์ สินกลดบคื นดี แต่ ถ้ำพ้ น
ัิสดยที่ะวทำให้ กลดบคืนดีได้ สิ ทธิ เก็บกินก็เป็ นอดนสิ ้นไป แลวค่ ำทดแทน
นด้นต้ อบแบ่ บกดนรวหั่ ำบเะ้ ำขอบทรด พย์ สิน แลวผู้ทรบสิ ทธิ เก็บกิ นตำม
ส่ ันแห่ บคัำมเสี ยหำยขอบตนตำมมำตรำ ๑๔๑๙ ัรรคสอบ
เหตุที่กฎหมำยกำหนดเรื่ อบสิ ทธิ อำศดยกดบสิ ทธิ เก็บกิ นต่ ำบกดน
ดดบที่ กล่ ำัมำแล้ ั เพรำวั่ ำสิ ทธิ อำศดย ได้ อำศดยโรบเรื อนเขำฟรี ๆ เมื่ อ
โรบเรื อนสูญเสี ยหำยหมดไปสิ ทธิ อำศดยก็คัระวหมดไป แต่ สิทธิ เก็บกิน
ส่ ันใหญ่ แล้ ัเป็ นเรื่ อบที่ เะ้ ำขอบอสด บหำริ มทรด พย์ ต้ อบกำรยก
อสด บหำริ มทรด พย์ ให้ ลูกหลำน แต่ กลดัลูกหลำนได้ ทรด พย์ สินไปแล้ ัไม่
เลี ย้ บดูหรื อทอดทิ ้บ เะ้ ำขอบะึ บะดทวเบี ยนสิ ทธิ เก็บกินไั้ เมื่อทรด พย์ สิน
สลำยไปในบำบกรณี สิ ทธิ เก็บกินกลดบมีขึน้ โดยกฎหมำยอีกครด้ บหนึ่บ
432

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๔๐๒


คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๖๔๕๘/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๐ น. ๑๕๒ ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๒ บัญ ญัติ ว่ า "บุ ค คลใดได้ รั บ สิ ท ธิ อ าศัย ใน
โรงเรื อนบุคคลนั้นย่อมมีสิทธิ อยูใ่ นโรงเรื อนนั้นโดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าเช่า"
จะเห็นได้วา่ สิ ทธิ อาศัยมีได้แต่เฉพาะสิ ทธิ ที่จะอยูอ่ าศัยในโรงเรื อนของ
บุคคลอื่นเท่านั้น เมื่อข้อเท็จจริ งฟั งได้วา่ บ้านดังกล่าวเป็ นของจาเลยเอง
และโจทก์ฟ้องขับไล่จาเลยและบริ วารให้ร้ื อถอนสิ่ งปลูกสร้างในที่ดิน
พิพาทของโจทก์ จาเลยจึงไม่มีสิทธิ อาศัยอยูใ่ นที่ดินพิพาทอีกต่อไปเมื่อ
โจทก์บอกกล่าวให้จาเลยออกจากที่ดินพิพาทแต่จาเลยเพิกเฉยจึงเป็ น
การกระทาละเมิดต่อโจทก์แล้ว โจทก์ฟ้องขับไล่จาเลยได้
433

สิ ทธิเหนือพืน้ ดิน
ข้ อ ๖๒ คาถาม นายจอนเป็ นเจ้าของที่ดินมีโฉนดพร้อมเรื อนที่
ปลูกในที่ดินดังกล่าว นายจอนได้ขายฝากเรื อนที่ปลูกอยูใ่ นที่ดินให้นาย
เจิมในราคา ๓๐,๐๐๐ บาท มี กาหนดเวลาไถ่ ถอนคื นภายใน ๑ ปี การ
ขายฝากได้ท าหนัง สื อ และจดทะเบี ย น ณ ที่ ว่า การอ าเภอแล้ว ครบ
กาหนด ๑ ปี นายจอนไม่ ไ ด้ไ ถ่ ถ อนเรี ย กคื น ต่ อมานายจอนนาที่ ดิน
พร้ อ มเรื อนดัง กล่ า วไปขายให้น ายจิ นราคา ๓๐๐,๐๐๐ บาท โดยจด
ทะเบี ย นการซื้ อขายต่ อพนักงานเจ้า หน้าที่ ณ สานักงานที่ ดินจัง หวัด
โดยนายจินรั บซื้ อไว้โดยสุ จริ ต ให้ท่านวินิจฉัยว่า ระหว่างนายเจิมกับ
นายจินใครจะมีสิทธิ ในเรื อนพิพาทดีกว่ากัน
ข้ อ ๖๒ ค าตอบ แม้น ายจอนไม่ ไ ถ่ ถ อนเรื อ นพิ พ าทภายใน
กาหนด ๑ ปี เรื อนพิพาทตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของนายเจิมก็ตาม แต่ตราบ
ใดที่เรื อนยังปลูกอยูบ่ นที่ดินที่นายจินซื้ อมา เรือนย่ อมเป็ นส่ วนควบกับ
ทีด่ ินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๔๔ การจะก่ อตั้ง
กรรมสิ ทธิ์ในเรื อนพิพาทแยกออกต่ างหากจากที่ดินจะทาได้ โดยการ
ก่ อตั้งสิ ทธิเหนือพืน้ ดิน ตามมาตรา ๑๔๑๐ นายเจิมเพียงแต่จดทะเบียน
การขายฝากเรื อนพิพาท หาได้ จดทะเบียนสิ ทธิเหนือพืน้ ดินโดยให้ นาย
เจิมเป็ นเจ้ าของเรื อนพิพาทอันเป็ นสิ่ งปลูกสร้ างบนที่ดินไม่ เมื่อนายจิน
ซื้ อที่ ดินพร้ อมเรื อนพิ พาทอันเป็ นส่ วนควบกับ ที่ ดินและจดทะเบี ย น
สิ ทธิ โดยสุ จริ ตแล้ว ฉะนั้น นายจินจึงมีสิทธิในเรื อนพิพาทดีกว่ านาย
เจิ ม เพราะเรื อ นเป็ นส่ วนควบของที่ดิ น (ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๖๘๘/
๒๕๑๑)
434

คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๘๘/๒๕๑๑ (ประชุ มใหญ่) โจทก์ซ้ื อเรื อน


พิ พ าทก่ อนจ าเลย โดยโจทก์ จดทะเบี ย นการซื้ อขายฝากต่ อกรมการ
อ าเภอ ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๔๕๖ และ
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๗๑ (๒) ส่ วนจาเลยจดทะเบียนการซื้ อ
ขายที่ดินและเรื อนพิพาทต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สานักงานที่ดิน ดังนี้
ตราบใดที่เรื อนพิพาทยังปลูกอยู่บนที่ ดินที่ จาเลยซื้ อมา เรื อนย่อมเป็ น
ส่ วนควบกับที่ดิน การที่ จะก่อตั้งกรรมสิ ทธิ์ ในเรื อนแยกออกต่างหาก
จากที่ ดิ น จะท าได้ก็ โ ดยการก่ อ ตั้ง สิ ทธิ เ หนื อ พื้ น ดิ น ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๔๑๐ โจทก์เพียงแต่จดทะเบียนนิ ติ
กรรมซื้ อขายเรื อ น หาได้จดทะเบี ย นก่ อตั้ง สิ ท ธิ เ หนื อพื้ นดิ นโดยให้
โจทก์เป็ นเจ้าของเรื อนพิพาทอันเป็ นสิ่ งปลูกสร้างบนที่ดินไม่ จาเลยซื้ อ
ที่ดินพร้ อมด้วยโรงเรื อนซึ่ งเป็ นส่ วนควบกับที่ ดินและได้จดทะเบียน
สิ ทธิ โดยสุ จริ ตแล้ว สิ ทธิ ของจาเลยในเรื อนพิพาทจึงดีกว่าของโจทก์

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๔๑๒


คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๐๑๕/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๑๒๕ ตาม
บันทึ กข้อตกลงที่ ทาขึ้ นระหว่างโจทก์กบั ช. มารดาจาเลยทั้งสองนั้น
เป็ นบันทึกข้อตกลงที่ก่อตั้งสิ ทธิ เหนื อพื้นดิ นซึ่ งจะต้องจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่จึงจะบริ บูรณ์เป็ นทรัพยสิ ทธิ ใช้ยนั บุคคลภายนอกได้
แต่แม้จะมิได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก็หาทาให้เป็ นโมฆะเสี ย
เปล่าไม่ ยังคงบังคับกันได้ในฐานะเป็ นบุคคลสิ ทธิ ระหว่างคู่สัญญา เมื่อ
โจทก์เป็ นคู่สัญญาตามบันทึกข้อตกลงดังกล่าวจึงถือไม่ได้วา่ โจทก์เป็ น
435

บุคคลภายนอกที่จะได้รับความคุม้ ครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง
บันทึกข้อตกลงระบุให้ ช. และบริ วารอยูอ่ าศัยในห้องแถวทั้งสี่
ห้ อ งจนกว่ า จะทรุ ด โทรมจนอยู่อ าศัย ไม่ ไ ด้ อัน เป็ นข้อ ตกลงที่ ร ะบุ
เงื่อนไขไว้ชดั แจ้งว่า ช. และบริ วารสามารถอยู่อาศัยในห้องแถวพิพาท
ซึ่ งปลู ก อยู่ บ นที่ ดิ น ของโจทก์ ไ ด้จ นกว่ า ห้ อ งแถวนั้น จะทรุ ด โทรม
ประการหนึ่งและการทรุ ดโทรมนั้นต้องทาให้ไม่สามารถอยูใ่ นห้องแถว
ได้อีกประการหนึ่ ง เมื่อครบทั้งสองประการดังกล่าว ช. และบริ วารจึง
จะอยู่อาศัย ในที่ ดิน ของโจทก์ต่อ ไปไม่ ไ ด้ต้องออกไปจากที่ ดิ นของ
โจทก์ ซึ่ งเงื่ อนไขทั้งสองประการเป็ นที่เห็ นได้ว่าการทรุ ดโทรมจนอยู่
อาศัยไม่ได้น้ นั ไม่อาจกาหนดเวลาได้ว่าจะทรุ ดโทรมเมื่อใดและเมื่ อ
ทรุ ด โทรมแล้ว เมื่ อ ใดจึ ง จะถื อ ว่า อยู่อ าศัย ไม่ ไ ด้ก รณี จึ ง ถื อ ไม่ ไ ด้ว่ า
บันทึกข้อตกลงเป็ นการก่อให้เกิ ดสิ ทธิ เหนื อพื้นดิ นโดยมีกาหนดเวลา
อันจะต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๔๑๒
วรรคสอง ประกอบมาตรา ๑๔๐๓ วรรคสาม

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๔๑๓


คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๒๑๕/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๘ น.๑๐๙ จาเลยที่ ๑
ปลูกสร้างอาคารบนที่ดินพิพาทโดยได้รับความยินยอมจากธนาคาร ท.
เจ้า ของที่ ดินเดิ ม จึ งก่ อให้เกิ ดสิ ทธิ เหนื อพื้นดิ นเป็ นคุ ณแก่ จาเลยที่ ๑
โดยไม่มีกาหนดเวลา ต่อมาโจทก์ซ้ื อที่ดินดังกล่าวจากธนาคาร ท. และ
มีหนังสื อบอกกล่ าวให้จาเลยทั้งสองรื้ อถอนสิ่ งปลูกสร้ างออกไปจาก
436

ที่ดินพิพาท จาเลยทั้งสองได้รับแล้ว ดังนี้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๑๓


บัญญัติว่า ถ้าสิ ทธิ เหนื อพื้นดินไม่มีกาหนดเวลาไซร้ ท่านว่าคู่กรณี ฝ่าย
ใดจะบอกเลิกในเวลาก็ได้ แต่ตอ้ งบอกกล่าวแก่อีกฝ่ ายตามสมควร การ
ที่โจทก์มีหนังสื อบอกกล่าวให้จาเลยทั้งสองออกไปจากที่ดินและจาเลย
ทั้งสองได้รับแล้ว ถือได้วา่ โจทก์บอกเลิกสิ ทธิ เหนื อพื้นดินแก่จาเลยทั้ง
สองโดยชอบด้ว ยกฎหมายแล้ว นอกจากนี้ ยัง ปรากฏว่า สิ ท ธิ เ หนื อ
พื้นดิ นพิพาทของจาเลยทั้งสองที่ได้มานั้น มิได้มีการนาไปจดทะเบียน
ต่ อ พนัก งานเจ้า หน้ า ที่ การได้สิ ท ธิ เ หนื อ พื้ น ดิ น ของจ าเลยทั้ง สอง
ดังกล่าวจึงไม่สมบูรณ์ ไม่อาจยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้บุคคลภายนอกได้ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๘ ประกอบมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง จาเลยทั้งสอง
จึงไม่อาจยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้โจทก์ผไู ้ ด้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทมาจาก
ธนาคาร ท.
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๐๖๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๙ น. ๑๘๕ หนังสื อ
แสดงความยินยอมมีคาแปลว่า ทาขึ้นเมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๑๕
ระหว่าง ม. กับ ห. มีขอ้ ความว่า “หนังสื อฉบับนี้ ขา้ พเจ้า ม. ทามอบให้
ลู ก ห. เป็ นที่ ดิ น จานวน ๑ แปลง ขนาดตามที่ ก ล่ า วข้า งล่ า งนี้ ที่ ดิ น
ดังกล่ าวข้าพเจ้าไม่ยินยอมให้ ห. นาไปขายแก่ ใคร ๆ ทั้งสิ้ น ข้าพเจ้า
มอบให้ ห. อยูอ่ าศัยจนถึงลูกถึงหลานและตลอดไป พร้อมนี้ ขา้ พเจ้าได้
มอบต้นลางสาดจ านวน ๒ ต้น ข้า ง ๆ คู น้ า ข้า งล่ า งนี้ รู ป แปลงของ
ที่ดิน ” ตามหนังสื อสัญญาสิ ท ธิ เหนื อพื้นดิ นและคาแปล แสดงว่า ม.
บิดาของโจทก์ยินยอมให้ปู่ของจาเลยปลูกบ้านอยู่บนที่ดินพิพาทและ
มอบต้นลางสาด ๒ ต้น ให้ทาประโยชน์ โดยไม่เสี ยค่าเช่ าตลอดชี วิต
437

ของ ห. ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๑๒ วรรคแรก ต่อมาเมื่อ ห. ตาย บิดา


จาเลยและจ าเลยอยู่อาศัย ในที่ ดิ นพิ พ าท จึ ง เป็ นกรณี ที่ ม. ตกลงท า
สัญญากับ ห. เพื่อประโยชน์แก่บิดาจาเลย หาใช่เป็ นการรับมรดกกันมา
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๑๑
ส่ วนข้อตกลงที่ ม. ยินยอมให้ลูกหลานของ ห. อาศัยในที่ดิน
ไปเรื่ อย ๆ แสดงว่า ม. มี เจตนาจะให้ลู ก หลานของ ห. มี สิ ทธิ เหนื อ
พื้ น ดิ น ในที่ ดิ นพิ พ าทโดยไม่ มี ก าหนดเวลา เมื่ อสิ ท ธิ เ หนื อ พื้ นดิ น ที่
พิ พ าทไม่ มี ค่ า เช่ า โจทก์ช อบที่ จะบอกเลิ ก สั ญญาเสี ย ในเวลาใดก็ ไ ด้
เพียงแต่ตอ้ งบอกกล่าวล่วงหน้าแก่อีกฝ่ ายหนึ่ งตามสมควร ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๔๑๓ เท่านั้น และได้ความตามหนังสื อขอให้ร้ื อถอนขนย้าย
ทรัพย์สินและบริ วารออกจากที่ดินพร้อมใบตอบรับว่า โจทก์มอบหมาย
ให้ ท นายความมี ห นัง สื อ แจ้ง ให้จ าเลยรื้ อถอนขนย้า ยทรั พ ย์สิ น และ
บริ วารออกจากที่ดินพิพาทภายใน ๓๐ วัน อันถือว่าเป็ นเวลาพอสมควร
แล้ว จึงฟังได้วา่ สิ ทธิ เหนือพื้นดินของจาเลยเป็ นอันระงับไปแล้วเมื่อพ้น
กาหนดเวลาที่โจทก์แจ้งให้จาเลยออกจากที่ดิน
438

สิ ทธิเก็บกิน
ข้ อ ๖๓ คาถาม พี่ช ายจดทะเบี ย นโอนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดินพร้ อม
ด้วยบ้านซึ่ งปลูกอยูใ่ นที่ดินนั้นให้แก่นอ้ งสาวที่อาศัยอยูก่ บั ตน แต่ได้จด
ทะเบียนสงวนสิ ทธิ เก็บกิ นในที่ดินแปลงนั้นไว้ดว้ ยจนตลอดชี วิตของ
พี่ชาย จดทะเบี ยนเช่ นนั้นแล้วล่ วงมาได้ ๒-๓ เดื อน น้องสาวจะโอน
ขายที่ดินพร้อมด้วยบ้านหลังนั้นให้แก่ผอู ้ ื่น พี่ชายคัดค้านไม่ยอมให้ขาย
และพี่ชายจะเอาที่ดินพร้อมด้วยบ้านให้คนอื่นเช่ าในนามของพี่ชายเอง
น้องสาวก็คดั ค้านบ้างว่าจะให้ใครเช่าไม่ได้ตอ้ งอยูเ่ องไปตลอดชีวิต เมื่อ
ไม่อยูเ่ องจะให้ใครเช่าก็ตอ้ งให้เช่าในนามของน้องสาว และต้องแบ่งค่า
เช่ า ให้ น้อ งสาวครึ่ งหนึ่ ง ด้ว ย มี ข ้อ พิ พ าทกัน ดัง นี้ ให้ ท่ า นอธิ บ ายข้อ
กฎหมายว่าเป็ นประการใด
ข้ อ ๖๓ ค าตอบ ตามกฎหมายผู้ ท รงสิ ทธิ เ ก็ บ กิ น มี สิ ทธิ
ครอบครองใช้ และถือเอาซึ่ งประโยชน์ แห่ งทรั พย์ สินที่ตกอยู่ในบังคับ
สิ ท ธิ เ ก็ บ กิ น กั บ มี อ านาจจั ด การทรั พ ย์ สิ น นั้ น ฝ่ ายเดี ย วเจ้ าของ
กรรมสิ ทธิ์หามีสิทธิเช่ นว่ านี้ด้วยไม่ ในระหว่ างที่สิทธิเก็บกินยังไม่ สิ้น
ไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๔๑๗ แต่ สิทธิที่จะ
จาหน่ ายกรรมสิ ทธิ์ในทรั พย์ สินยังคงมีอยู่แก่ เจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ ผู้ทรง
สิ ทธิเก็บกินหาได้ ไปซึ่ งสิ ทธินี้ด้วยไม่ และในกรณี ที่เจ้าของกรรมสิ ทธิ์
ในทรัพย์สินโอนขายกรรมสิ ทธิ์ ให้แก่ผอู ้ ื่น สิ ทธิเก็บกินที่มีอยู่แล้ วเช่ น
ไรก็จะตามติดไปด้ วยนั้น ดังนี้ น้ องสาวผู้เป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ จึงมี
สิ ทธิจะโอนขายที่ดินพร้ อมด้ วยบ้ านหลังนั้ นให้ แก่ ผ้ ูอื่น พี่ชายซึ่ งเป็ นผู้
ทรงสิ ทธิเก็บกินจะคัดค้ านไม่ ยอมให้ ขายไม่ ได้
439

ส่ วนที่ น้องสาวคัดค้านว่าจะเช่ าไม่ได้ตอ้ งอยู่เองไปจนตลอด


ชี วิตก็ดี คัดค้านไม่ให้พี่ชายให้ใครเช่ าในนามของพี่ชายเอง โดยจะให้
เช่ าในนามของน้องสาว และจะขอแบ่งเอาค่าเช่ าครึ่ งหนึ่ งด้วยก็ดี ก็จะ
คัดค้ านไม่ ได้ เลย เพราะน้ องสาวถูกจากัดตัดรอนสิ ทธิในประการต่ าง ๆ
นั้นเสี ยหมดแล้ ว ในระหว่ างที่สิทธิเก็บกินยังไม่ สิ้นไป และตกเป็ นสิ ทธิ
ของพีช่ ายแต่ ฝ่ายเดียว

________________
440

บรรณานุกรม

วิริยะ นามศิริพงศ์พนั ธุ์ , คาอธิบายประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์


เรี ยงมาตรา บรรพ ๔ ว่ า ด้ ว ยทรั พ ย์ สิ น. กรุ งเทพฯ. กองทุ น
ศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย,์ ๒๕๔๕.
วิริยะ นามศิริพงศ์พนั ธุ์ , คาอธิบายประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์
บรรพ ๔ ว่ า ด้ ว ยทรั พ ย์ สิ น . กรุ ง เทพฯ. โรงพิ ม พ์เ ดื อ นตุ ล า,
๒๕๔๕.
บัญ ญัติ สุ ชี ว ะ, ค าอธิ บ ายกฎหมายลัก ษณะทรั พ ย์ อนุ ส รณ์ ง าน
พระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์ บัญญัติ สุ ชีวะ. กรุ งเทพฯ.
มูลนิธิประมาณ ชันซื่อ, ๒๕๔๐.
ประมูล สุ วรรณศร, คาอธิบ าย ประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิช ย์
ว่าด้ วย ทรัพย์. กรุ งเทพฯ. สานักพิมพ์นิติบรรณการ, ๒๕๔๑.
เสนี ย ์ ปราโมช, อธิบายประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ กฎหมาย
ลักษณะทรัพย์. กรุ งเทพฯ. เนติบณั ฑิตยสภา, ๒๕๕๑.
1

ตอบข้ อสอบกฎหมายอย่ างไรให้ ได้ คะแนน

ถาม – ตอบ
แพ่ง อาญา
เล่ม ๗

สมชาย พงษ์ พฒ
ั นาศิลป์
ผู้พพิ ากษา
๒๕๕๖
3

คานา
หนังสื อเล่ มนี้ ผูแ้ ต่งได้นาํ คําพิพากษาฎี กาล่าสุ ดที่ออก
หลังจากหนังสื อ “ถาม – ตอบ แพ่ง” “ถาม – ตอบ อาญา” ที่
พิมพ์เมื่อปี ๒๕๕๕ และ “ถาม – ตอบ ทรัพย์สิน” ที่พิมพ์เมื่อปี
๒๕๕๔ มารวมไว้ในหนังสื อเล่มนี้ โดยได้นาํ คําพิพากษาฎีกา
เนติฯ ปี ๒๕๕๔ ถึงเล่ม ๑๑ ปี ๒๕๕๕ ถึงเล่ม ๕ และคํา
พิพากษาฎีกาสํานักงานศาลฯ ปี ๒๕๕๔ ถึงเล่ม ๙ ปี ๒๕๕๕
ถึงเล่ม ๑ ที่น่าสนใจมาแต่งเป็ นข้อสอบ เพื่อใช้เป็ นตัวอย่างใน
การฝึ กเขียนตอบข้อสอบ โดยทําคําตอบแยกส่ วนไว้ให้เห็นได้
ชัดเจนว่าส่ วนใดเป็ นข้อเท็จจริ งจากคําถาม ข้อกฎหมาย และ
เหตุผลประกอบ พร้อมสรุ ป โดยส่ วนของ "ข้อเท็จจริ งจาก
คําถาม" ใช้ตวั อักษรขีดเส้นใต้ "ข้ อกฎหมาย" ใช้ ตัวอักษรเอน
หนา และ"เหตุผลประกอบพร้ อมสรุ ป" ใช้ ตัวอักษรเอนหนา
ขีดเส้ น โดยนําคําพิพากษาฎีกาที่วนิ ิจฉัยตามคําถามและคําตอบ
มารวมไว้ต่ อ จากคํา ตอบ เพื่ อ ความสะดวกในการศึ ก ษา
นอกจากนี้ ได้นาํ คําพิพากษาฎีกาที่น่าสนใจในเรื่ องเดียวกันมา
รวมไว้ทา้ ยเรื่ องที่มีคาํ ถามและคําตอบด้วย
5

สารบาญ

เรื่อง หน้ า
ถาม – ตอบ แพ่ง เล่ม ๗

ทรัพย์สิน ข้ อ ๑ ................................................ ๑๕
ข้ อ ๒ ............................................... ๑๙
ข้ อ ๓ .............................................. ๒๒
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง ............ ๒๘
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ............ ๓๐
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๐๐ ............................. ๓๖
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๐๔ ............................. ๓๘
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๐๕ ............................. ๔๔
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๐๘ ............................. ๔๕
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๑๐ ............................. ๔๗
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๑๒ ............................. ๔๘
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๑๓ ............................. ๔๙
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๓๐ ............................. ๕๐
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๓๒ ............................. ๕๒
6

คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๓๖ ............................. ๕๔


คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๔๗ ............................. ๕๕
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๔๙ ............................. ๕๖
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๕๐ ............................. ๕๗
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๕๒ ............................ ๕๘
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๕๖ ............................. ๕๙
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๖๓ ............................. ๖๑
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๖๗ ............................. ๖๑
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๗๘ ............................. ๖๔
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๐ ............................. ๖๙
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๑ ............................. ๗๑
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๒ ............................. ๗๔
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๕ ............................. ๘๓
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๗ ............................. ๘๔
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๘ ............................. ๘๖
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๙๐ ............................. ๘๘
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๙๒ ............................. ๘๙
คําพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๔๐๑ ............................. ๙๑
คําพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๔๑๓ ............................. ๙๕
นิติกรรมและหนี้ ข้ อ ๔ ............................................ ๙๘
15

ถาม – ตอบ
แพ่ง เล่ ม ๗
ทรัพย์ สิน
ข้ อ ๑ คาถาม นายดํานําที่ดินพร้อมบ้านไม้เลขที่ ๑๓ ไป
จดทะเบียนจํานองประกันหนี้ กูย้ ืมเงิ น ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท กับ
นายแดงเมื่ อ วัน ที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๕ ต่ อ มาเจ้า พนัก งาน
บังคับคดียึดบ้านเลขที่ ๑๓ ดังกล่าวของนายดําเพื่อนําออกขาย
ทอดตลาดชําระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ตามคําพิพากษาของนายดําโดย
เจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ทราบว่าบ้านดังกล่าวนายดํานําไปจด
ทะเบี ย นจํา นองไว้ก ับ นายแดง ต่ อ มาเมื่ อ วัน ที่ ๑๐ มกราคม
๒๕๕๖ เจ้าพนักงานบังคับคดี ได้ขายทอดตลาดบ้านดังกล่าว
โดยประกาศขายทอดตลาดแจ้ง ว่ า เป็ นการขายปลอดภาระ
ผู ก พัน ใด ๆ และได้รั บ อนุ ญ าตจากศาลแล้ว นายม่ ว งเป็ น
ผู ้ซ้ื อบ้า นหลัง ดั ง กล่ า วได้ ใ นราคา ๕๐๐,๐๐๐ บาท และ
ได้จดทะเบี ยนรั บโอนบ้านดัง กล่ าวในวันเดี ยวกัน ในคื นนั้น
นายเมาขับ รถบรรทุ ก นํ้ามัน โดยประมาทชนบ้า นดัง กล่ า ว
จนไฟไหม้บา้ นไม้เสี ยหายทั้งหลัง
ให้วินิจฉัยว่า ใครมี สิทธิ ได้รับค่าสิ นไหมทดแทนจาก
นายเมา
16

ข้ อ ๑ ค าตอบ นายดํานําที่ ดิ นพร้ อมบ้านไม้เ ลขที่ ๑๓


ไปจดทะเบียนจํานองกับนายแดง จานองย่ อมครอบไปถึงทรั พย์
ทั้ ง ปวงอั น ติ ด พั น อยู่ กั บ ทรั พ ย์ สิ น ซึ่ ง จ านองตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๗๑๘ เมื่อบ้านดังกล่าวมีอยู่
ในขณะที่จดทะเบียนจํานอง การจานองย่ อมครอบคลุมไปถึง
บ้ านด้ วย แม้นายม่วงไม่ทราบว่าบ้านดังกล่าวนายดํานําไปจด
ทะเบียนจํานองไว้กบั นายแดง ซึ่งถือว่ านายม่ วงซื้อบ้ านจากการ
ขายทอดตลาดตามคาสั่ งศาลโดยสุ จริ ต แต่สิทธิ ของนายม่วง
ได้ม าภายหลัง จากที่ น ายแดงรั บ จํา นองบ้า นโดยชอบด้ว ย
กฎหมายแล้ว และเหตุทจี่ ะทาให้ การจานองระงับสิ้ นไปก็ต่อเมื่อ
หนี้ที่ประกันระงับสิ้ นไป หรื อ มีเหตุตามมาตรา ๗๔๔ เท่ านั้น
นายแดงยั ง คงมี สิ ท ธิ บั ง คั บ จ านองเอาแก่ บ้ า นที่ น ายม่ ว ง
ซื้ อ มาแล้ ว ได้ ตามมาตรา ๗๐๒ วรรคสอง เพราะจ านอง
ทีจ่ ดทะเบียนแล้ วย่ อมเป็ นทรัพยสิทธิติดตามตัวทรัพย์ ไป การที่
นายม่ ว งได้ก รรมสิ ทธิ์ ในบ้า นพิ พ าทภายหลัง จากที่ น ายแดง
รับจํานองไว้แล้ว แม้ จะได้ มาโดยสุ จริตและได้ รับความคุ้มครอง
ตามมาตรา ๑๓๓๐ ก็มีผลให้ นายม่ วงได้ กรรมสิ ทธิ์ในบ้ านโดย
จานองติดไป แต่ หาทาให้ สิทธิจานองของนายแดงที่มีอยู่ระงับ
ไปไม่ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๕๘๗/๒๕๕๕)
17

การที่นายเมาขับรถบรรทุกนํ้ามันโดยประมาทชนบ้าน
ดัง กล่ า วจนไฟไหม้บ ้า นไม้เ สี ย หายทั้ง หลัง แม้ จ ะเป็ นการ
กระทาโดยละเมิดต่ อนายม่ วงซึ่งเป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ในบ้ าน
ดังกล่ าว แต่ เมื่อบ้ านเป็ นทรัพย์ จานองซึ่งยังมีผลอยู่ดังที่วินิจฉัย
มาแล้ ว สิ ทธิจานองย่ อมครอบไปถึงสิ ทธิ ที่จะเรี ยกร้ องเอาแก่
ผู้ก ระท าละเมิ ด ที่ต้ อ งใช้ ค่ า เสี ย หายอั น ควรจะได้ แ ก่ เ จ้ า ของ
ทรั พย์ สินเพราะเหตุทรั พย์ สินถู กทาลายและเสี ยหายด้ วยโดย
หลั ก กฎหมายเรื่ อ งช่ วงทรั พ ย์ ตามมาตรา ๒๓๑ นายแดง
จึงมีสิทธิได้ รับค่ าสิ นไหมทดแทนจากนายเมาโดยหลักกฎหมาย
ช่ วงทรัพย์ ตามมาตรา ๒๓๑
ข้ อสั งเกต คาพิ พากษาฎี กาที่ นามาแต่ งคาถามตัดสิ นตามหลัก
กฎหมายช่ วงทรั พย์ แต่ เป็ นกรณี ไม่ มี ก ฎหมายบั ญ ญั ติ ไ ว้
โดยตรง ผู้แต่ งจึ งเพิ่ มข้ อเท็จจริ งว่ านายเมาทาให้ ทรั พย์ เสี ยหาย
เพื่ อให้ นักศึ กษาตอบมาตรา ๒๓๑ ด้ วย ถ้ ามี การนาข้ อเท็จจริ ง
ตามคาพิพากษาฎีกามาออกข้ อสอบ นักศึกษาควรตอบฎีกาโดย
ไม่ จาเป็ นต้ องอ้ างมาตรา ๒๓๑
ค าพิพ ากษาฎีกาที่ ๑๕๘๗/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล.๑ น.๑๓๐
โจทก์รับจํานองที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้าง คือ บ้านซึ่ งตั้งอยู่บน
ที่ดินดังกล่าวตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๑๘ จํานองย่อมครอบไปถึง
18

ทรัพย์ท้ งั ปวงอันติดพันอยู่กบั ทรัพย์สินซึ่ งจํานอง และเมื่อบ้าน


พิพาทเป็ นโรงเรื อนซึ่ งมีอยู่ในขณะที่จดทะเบี ยนจํานอง การ
จํานองย่อมครอบคลุมไปถึงบ้านพิพาทด้วย แม้จาํ เลยจะซื้ อบ้าน
พิพาทได้จากการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาลโดยสุ จริ ต แต่
สิ ทธิ ของจําเลยได้มาภายหลังจากที่โจทก์รับจํานองบ้านพิพาท
โดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว และเหตุที่จะทําให้การจํานองระงับ
สิ้ น ไปก็ต่ อ เมื่ อ มี เ หตุ ต ามมาตรา ๗๔๔ เท่ า นั้น การที่ จ าํ เลย
รื้ อถอนบ้านพิพาทไปไม่ทาํ ให้สิทธิ ของโจทก์ที่มีอยู่ในทรัพย์
จํานองระงับสิ้ นไปได้ โจทก์จึงคงมีสิทธิ บงั คับจํานองเอาแก่
บ้านพิพาทที่จาํ เลยซื้ อได้ตามมาตรา ๗๔๔ และมาตรา ๗๐๒
วรรคสอง การที่จาํ เลยได้กรรมสิ ทธิ์ ในบ้านพิพาทภายหลังจาก
ที่โจทก์รับจํานองไว้แล้ว แม้จะได้มาโดยสุ จริ ตและได้รับความ
คุม้ ครองตามมาตรา ๑๓๓๐ ก็หาทําให้สิทธิ ของโจทก์ที่มีอยูเ่ ดิม
เสี ยไป จําเลยไม่มีสิทธิในบ้านพิพาทดีกว่าโจทก์
จํา เลยเป็ นแต่ เ พี ย งผู ้ซ้ื อ บ้า นพิ พ าทได้ จ ากการขาย
ทอดตลาดตามคํา สั่ ง ศาล มิ ใ ช่ เ ป็ นผูจ้ าํ นองหรื อ คู่ สั ญ ญากับ
โจทก์ผรู ้ ับจํานอง จําเลยจึงไม่ตอ้ งรับผิดในฐานะเป็ นผูจ้ าํ นอง
ต่อโจทก์ การที่จาํ เลยรื้ อถอนบ้านพิพาทขายให้บุคคลอื่นไป แม้
กระทําการโดยสุ จริ ต ก็ตอ้ งคืนเงินในส่ วนที่เกี่ยวกับบ้านพิพาท
ให้แ ก่ โจทก์ และเมื่ อเป็ นหนี้ เ งิ นที่ จาํ เลยต้อ งคื น ให้แก่ โ จทก์
19

โจทก์จึงมีสิทธิ เรี ยกดอกเบี้ยได้ตามมาตรา ๒๒๔ ในอัตราร้อย


ละเจ็ดครึ่ งต่อปี นับแต่วนั ที่ร้ื อถอนบ้านพิพาทเป็ นต้นไป

ข้ อ ๒ คาถาม นายเอกเป็ นเจ้าของรถยนต์ซ่ ึ งจอดอยูใ่ น


บ้านของนายเอก คืนหนึ่ งนายเอกไม่อยู่บา้ น นายโทเข้ามาลัก
รถยนต์ใ นบ้า นนายเอก และได้ล ัก คู่ มื อ จดทะเบี ย นรถยนต์
ดังกล่าวและบัตรประจําตัวประชาชนกับทะเบียนบ้านที่นายเอก
ใส่ ไว้ในตูน้ ิ รภัยไปด้วย นายโทนํารถยนต์ไปขายให้นายตรี ซ่ ึ ง
เป็ นพ่อค้าที่ซ้ือขายรถยนต์โดยมอบคู่มือจดทะเบียนรถยนต์และ
สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนกับสําเนาทะเบียนบ้านและชุ ด
โอนรถยนต์ซ่ ึ งนายโทปลอมลายมือชื่อนายเอก ต่อมานายจัตวา
มาซื้ อ รถยนต์ค ัน ดัง กล่ า วจากนายตรี โ ดยต้อ งการจะเช่ า ซื้ อ
รถยนต์ นายตรี จึ ง ไปติ ด ต่ อ บริ ษ ัท ซื่ อ ตรง จํา กัด ซึ่ งรั บ จัด
ไฟแนนซ์ ใ ห้แ ก่ ลู ก ค้า ของนายตรี เ ป็ นประจํา บริ ษ ัทซื่ อ ตรง
จํากัด ตรวจสอบแล้วรั บที่ จะทําสัญญาเช่ า ซื้ อรถยนต์กบั นาย
จัต วา นายตรี จึ ง ขายรถยนต์ค ัน ดัง กล่ า วให้แ ก่ บริ ษ ทั ซื่ อ ตรง
จํากัด ราคา ๔๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อให้บริ ษทั ซื่ อตรง จํากัด นําไป
ให้น ายจัต วาเช่ า ซื้ อ โดยบริ ษ ทั ซื่ อ ตรง จํา กัด สุ จ ริ ต และเสี ย
ค่าตอบแทน หลังจากบริ ษทั ซื่ อตรง จํากัด ทําสัญญาเช่ าซื้ อกับ
นายจัตวา นายเอกนําเจ้าพนักงานตํารวจมายึดรถยนต์คืนจาก
20

นายจัตวา และนายเอกรับรถยนต์คืนจากเจ้าพนักงานตํารวจแล้ว
บริ ษทั ซื่อตรง จํากัด และนายจัตวาจึงเลิกสัญญาเช่าซื้อกัน
ให้วินิจฉัยว่า บริ ษทั ซื่ อตรง จํากัด มี สิทธิ เรี ยกร้ องต่ อ
นายเอกหรื อไม่อย่างไร
ข้ อ ๒ คาตอบ การที่บริ ษทั ซื่ อตรง จํากัด ซื้ อรถยนต์จาก
นายตรี แม้ จะเป็ นกรณีทบี่ ุคคลหลายคนเรี ยกเอาสั งหาริ มทรั พย์
เดียวกันโดยอาศั ยหลักกรรมสิ ทธิ์ต่างกัน โดยได้ รับมอบการ
ครอบครองมาโดยสุ จริ ตและเสี ยค่ าตอบแทน แต่ บริ ษทั ซื่อตรง
จากัด ก็ไม่ ได้ รับความคุ้มครองให้ ได้ กรรมสิ ทธิ์ ตามประมวล
กฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา ๑๓๐๓ วรรคหนึ่ ง เพราะ
รถยนต์ พิพาทเป็ นทรั พย์ ที่ได้ มาจากการกระทาความผิด ตาม
มาตรา ๑๓๐๓ วรรคสอง
สํา หรั บ การคุ ้ม ครองตามมาตรา ๑๓๓๒ นั้น บริ ษ ัท
ซื่ อ ตรง จํา กัด ซื้ อ รถยนต์จ ากนายตรี ซึ่ง เป็ นพ่ อ ค้ า ที่ ซื้อ ขาย
รถยนต์ โ ดยบริ ษัท ซื่ อตรง จ ากัด สุ จ ริ ตและเสี ย ค่ า ตอบแทน
บริ ษัทซื่ อตรง จากัด ได้ รั บความคุ้มครองไม่ ต้ องคืน รถยนต์
ให้ แก่ เจ้ าของที่แท้ จริ งเว้ นแต่ เจ้ าของจะชดใช้ ราคาที่ซื้อมาตาม
มาตรา ๑๓๓๒ เมื่ อ นายเอกได้รั บ รถยนต์คื น ไปแล้ว นาย
เอกต้ องใช้ ราคารถยนต์ ๔๐๐,๐๐๐ บาท แก่บริษทั ซื่อตรง จากัด
21

(คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๙๘/๒๕๕๔)
ข้ อสั ง เกต ค าถามข้ อ นี ้ผ้ ูแ ต่ ง เห็ น ว่ า ศึ กษาต้ อ งตอบว่ า บริ ษั ท
ซื่ อตรง จากัด ไม่ ได้ รับความคุ้มครองตามมาตรา ๑๓๐๓ ด้ วย
แล้ วจึ ง ตอบมาตรา ๑๓๓๒ ตามค าพิ พ ากษาฎี ก า เพราะ
ข้ อเท็จจริ งเรื่ องลักทรั พย์ ก็ถือว่ ามีประเด็นเรื่ องไม่ ได้ รับความ
คุ้มครองตามมาตรา ๑๓๐๓ แต่ ถ้าในธงคาตอบมี เพี ยงมาตรา
๑๓๓๒ ตามคาพิพากษาฎีกา การตอบว่ าไม่ ได้ รับความคุ้มครอง
ตามมาตรา ๑๓๐๓ ก็ไม่ ถือว่ าตอบผิด
ค าพิพ ากษาฎี กาที่ ๑๔๙๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๖๗
โจทก์ ซ้ื อรถยนต์ จ ากจํา เลยที่ ๑ ในลั ก ษณะเดี ย วกั น มา
ตลอดเวลาทั้ง ก่ อ นและหลัง คดี น้ ี โจทก์ ย่ อ มมี เ หตุ ผ ลตาม
สมควรที่จะเชื่อได้ว่าจําเลยที่ ๑ เป็ นพ่อค้าที่ซ้ื อขายรถยนต์โดย
ถูกต้อง โจทก์ซ้ื อรถยนต์พิพาทจากจําเลยที่ ๑ แล้วมาให้ผูอ้ ื่ น
เช่ าซื้ อตามวัตถุประสงค์ของโจทก์เหมือนอย่างที่เคยปฏิบตั ิมา
โดยจําเลยที่ ๓ และที่ ๔ ซึ่งเป็ นเจ้าของรถยนต์พิพาทไม่อาจสื บ
โต้แย้งให้เห็นว่าการซื้ อครั้งนี้ โจทก์ไม่สุจริ ตอย่างไร ย่อมต้อง
ถื อ ว่ า โจทก์ก ระทํา การโดยสุ จ ริ ต ทํา ให้ โ จทก์ไ ด้รั บ ความ
คุ ้ม ครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๒ เมื่ อ จํา เลยที่ ๓ ได้รั บ
รถยนต์พิพาทคืนไป จําเลยที่ ๓ และที่ ๔ จึงต้องร่ วมกันใช้ราคา
รถยนต์พิพาทแก่โจทก์
22

ราคารถยนต์พิพาทที่ โจทก์จ่ายแก่ จาํ เลยที่ ๑ ผูข้ ายไป


จริ งคือ ๓๒๔,๐๐๐ บาท จําเลยที่ ๓ และที่ ๔ จึงต้องรับผิดต่อ
โจทก์เพียงจํานวนที่โจทก์ได้รับความเสี ยหายจริ งเท่านั้น โดย
อาศัย หลักการที่ โ จทก์ตอ้ งได้รับชดใช้ค่ าเสี ยหายไม่ เกิ นกว่า
ความเสี ยหายที่ได้รับจริ ง กรณี จึงต้องบังคับใช้กบั ความรับผิด
ของจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ ในฐานะผูข้ ายต่อโจทก์ซ่ ึ งเป็ นผูซ้ ้ื อใน
เหตุ แ ห่ ง การรอนสิ ทธิ ที่ ร ถยนต์พิ พ าทถู ก จํา เลยที่ ๓ ซึ่ ง เป็ น
เจ้า ของที่ แ ท้จ ริ ง ยึ ด คื น ไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๗๙ ด้ว ย
เนื่องจากเป็ นความรับผิดในความเสี ยหายอันเดียวกัน ศาลฎีกามี
อํานาจพิพากษาให้มีผลถึงจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ ซึ่งมิได้ฎีกาได้

ข้ อ ๓ คาถาม นายดําเป็ นเจ้าของที่ดินมีโฉนดแปลงที่ ๒


ซึ่งติดกับที่ดินมีโฉนดแปลงที่ ๑ ทางด้านซ้าย และติดกับที่ดินมี
โฉนดแปลงที่ ๓ ทางด้านขวา นายดําทําสัญญาเช่ าที่ดินแปลง
ที่ ๑ เป็ นหนังสื อกับนายหนึ่ งและนายสองซึ่ งเป็ นเจ้าของรวม
หลังจากทําสัญญาเช่านายหนึ่งมาทวงค่าเช่ า นายดําไม่จ่ายและ
บอกว่าเป็ นของตนเองไม่จ่ายค่าเช่าแล้ว และในวันเดียวกันนาย
ดําปลูกบ้านในที่ดินแปลงที่ ๓ ของนายสามเพื่ออยูอ่ าศัย นายดํา
อยู่อาศัยในบ้านและที่ดิน ๓ แปลงดังกล่าวได้ ๖ ปี นายดําจด
23

ทะเบียนโอนที่ดินแปลงที่ ๒ ให้นายแดงซึ่ งเป็ นบุตร และมอบ


การครอบครองที่ดินแปลงที่ ๑ และบ้านพร้อมที่ ดินแปลงที่ ๓
ให้แก่นายแดง นายแดงอยูใ่ นที่ดินและบ้านดังกล่าวต่อมาอีก ๕
ปี นายสามมอบอํานาจให้นายสี่ มาดู ที่ดินและพบว่านายแดง
ปลูกบ้านอยู่ในที่ดินดังกล่าว นายสี่ จึงเจรจาขอให้นายแดงซื้ อ
ที่ดินแปลงที่ ๓ จากนายสาม จนนายสามตกลงยอมจะซื้ อที่ดิน
แปลงที่ ๓ จากนายสาม แต่ขอปรึ กษากับครอบครัวก่อน
ให้วินิ จ ฉัย ว่ า นายแดงมี สิ ทธิ ใ นที่ ดิ น แปลงที่ ๑ และ
แปลงที่ ๓ หรื อไม่เพียงใด
ข้ อ ๓ คาตอบ นายดําเช่ าที่ดินแปลงที่ ๑ จากนายหนึ่ ง
และนายสอง การที่นายดําครอบครองที่ดิน ถือว่ านายหนึ่งและ
นายสองได้ สิทธิครอบครองโดยนายดายึดถือไว้ ให้ ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๘
นายหนึ่ ง และนายสองเป็ นเจ้ า ของกรรมสิ ท ธิ์ ร วมใน
ทีด่ ินแปลงที่ ๑ นายหนึ่งและนายสองคนใดคนหนึ่งย่ อมมีสิทธิ
จัดการดูแลทีด่ ินแปลงที่ ๑ ทั้งหมด การที่นายหนึ่งมาทวงค่าเช่า
นายดําไม่จ่ายและบอกว่าเป็ นของตนเองไม่จ่ายค่าเช่ าแล้ว แม้
จะไม่ได้บอกกล่าวนายสองด้วย แต่ เป็ นการบอกกล่ าวที่สมบูรณ์
แล้ ว ถือได้ ว่านายดาซึ่ ง ยึดถือทรั พย์ สินอยู่ในฐานะเป็ นผู้แทน
24

ผู้ครอบครอง เปลีย่ นลักษณะแห่ งการยึดถือโดยบอกกล่ าวไปยัง


ผู้ครอบครองว่ าไม่ เจตนาจะยึดถือทรั พย์ สินแทนผู้ครอบครอง
แล้ วตามมาตรา ๑๓๘๑ โดยไม่ จาต้ องบอกกล่ าวไปยังเจ้ าของ
กรรมสิทธิ์รวมทุกคน (คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๖๙/๒๕๕๔)
การที่นายดําครอบครองที่ดินแปลงที่ ๑ และปลูกบ้าน
ในที่ดินแปลงที่ ๓ โดยใช้ประโยชน์ที่ดินดังกล่าวได้ ๖ ปี ถือว่ า
นายดาครอบครองทรั พย์ สินของผู้อื่นไว้ โดยความสงบและโดย
เปิ ดเผยด้ วยเจตนาเป็ นเจ้ าของเป็ นเวลา ๖ ปี นายดํามอบการ
ครอบครองที่ ดิ น แปลงที่ ๑ และบ้า นพร้ อ มที่ ดิ น แปลงที่ ๓
ให้แก่นายแดง เป็ นกรณีโอนการครอบครองแก่ กนั ผู้รับโอนจะ
นั บ เวลาซึ่ ง ผู้ โ อนครอบครองอยู่ ก่ อ นนั้ น รวมเข้ า กั บ เวลา
ครอบครองของตนก็ ไ ด้ ตามมาตรา ๑๓๘๕ เมื่ อ นายแดง
ครอบครองที่ดินและบ้านดังกล่าวต่อมาอีก ๕ ปี รวมกับที่นาย
ดําครอบครอง ๖ ปี ถือว่ านายแดงได้ ครอบครองที่ดินแปลงที่ ๑
และแปลงที่ ๓ เป็ นเวลาเกิน ๑๐ ปี นายแดงจึ งได้ กรรมสิ ท ธิ์
ที่ดินแปลงที่ ๑ และแปลงที่ ๓ โดยการครอบครองปรปักษ์ ตาม
มาตรา ๑๓๘๒ (เทียบคําพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๓๑/๒๕๕๔)
นายสามมอบอํานาจให้นายสี่ มาดู ที่ดินและพบว่านาย
แดงปลูกบ้านอยูใ่ นที่ดินดังกล่าว นายสี่ จึงเจรจาขอให้นายแดง
25

ซื้ อที่ดินแปลงที่ ๓ จากนายสาม จนนายสามตกลงยอมจะซื้ อ


ที่ ดิ น แปลงที่ ๓ จากนายสาม แม้ จะเป็ นการยอมรั บ ใน
กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น ของนายสาม แต่ ก็เ ป็ นการยอมรั บ หลัง จาก
ที่นายแดงได้ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินแปลงที่ ๓ โดยการครอบครอง
ปรปักษ์ ดังที่วินิจฉั ยมาแล้ ว จึงไม่ มีผลเปลี่ยนแปลงกรรมสิ ทธิ์
ในที่ ดิ น แปลงที่ ๓ ซึ่ ง นายแดงได้ รั บ โดยผลของกฎหมาย
แต่ อย่ างใด (คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๖๘/๒๕๕๔)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๖๙/๒๕๕๔ ฎ.๑๕๐๕ โจทก์กบั
บ. เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ดินพิพาท โจทก์และ บ. คน
ใดคนหนึ่ ง ย่อ มมี สิ ท ธิ จ ัด การดู แ ลที่ ดิ น พิ พ าททั้ง หมด การที่
จําเลยบอกกล่าวแสดงเจตนาเปลี่ยนการยึดถือที่ดินพิพาทไปยัง
โจทก์ ก็ย่อ มมี ผ ลเป็ นการบอกกล่ า วที่ สมบู ร ณ์ ต ามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๑ แล้ว โดยไม่จาํ ต้อง
บอกกล่าวไปยังเจ้าของกรรมสิ ทธิ์รวมทุกคน
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๐๓๑/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๕ น.๓๘
โจทก์เ ป็ นเจ้าของที่ ดิ นตามหนังสื อ รั บรองการทํา ประโยชน์
ที่ ดิ นตามแบบแจ้ง การครอบครองที่ ดิน (ส.ค.๑) และที่ ดิ น มี
หลัก ฐานตามแบบเสี ยภาษี บาํ รุ ง ท้อ งที่ (ภ.บ.ท.๕) โดยบิ ด า
มารดาของเจ้าของที่ดินและชาวบ้านใช้ทางพิพาทซึ่ งผ่านที่ดิน
26

ตามหนังสื อรั บรองการทําประโยชน์ของจําเลยเป็ นทางออกสู่


สาธารณะเพื่อเข้าสู่ ตวั เมืองเชี ยงใหม่ต้ งั แต่ปี ๒๔๙๘ เมื่อโจทก์
ซื้อที่ดินแล้วโจทก์ทาํ ถนนขึ้นมาผ่านที่พิพาทเข้าไปในที่ดินของ
โจทก์ จําเลยก็ไม่ห้ามปรามกลับปล่ อยให้โจทก์ใช้ทางต่ อไป
เป็ นเวลาถึ ง ๘ ปี เศษ แม้โจทก์จะซื้ อที่ดินตามหนังสื อรั บรอง
การทําประโยชน์ที่ดินตามแบบแจ้งการครอบครองที่ดิน (ส.ค.
๑) และที่ดินมีหลักฐานตามแบบเสี ยภาษีบาํ รุ งท้องที่ (ภ.บ.ท.๕)
ต่ อ จากเจ้า ของเดิ ม นับถึ ง วัน ฟ้ องจะยัง ไม่ ค รบ ๑๐ ปี แต่ เ มื่ อ
เจ้า ของเดิ ม ได้ใ ช้ท างพิ พ าทโดยเจตนาให้ เ ป็ นทางเข้า ออก
ประจํา มาตั้ ง แต่ ต ้ น โจทก์ จึ ง สามารถนั บ ระยะเวลาการ
ครอบครองต่อจากเจ้าของเดิ มได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๕
ที่ดินตามหนังสื อรับรองการทําประโยชน์ของจําเลยจึงตกเป็ น
ภาระจํายอมแก่ที่ดินทั้งสามแปลงของโจทก์
ข้ อสั งเกต การแย่ งที่ดินมือเปล่ า ถ้ าผู้ครอบครองไม่ ฟ้องเรี ยกคื น
ภายใน ๑ ปี ย่ อมหมดสิ ทธิ เรี ยกคื นการครอบครองตามมาตรา
๑๓๗๕ แต่ ถ้าถูกรบกวนการครอบครองโดยเดินผ่ านเพื่อจะเอา
ภาระจายอมดังเช่ นคดีนี้ ต้ องเดิน ๑๐ ปี จึงจะได้ ภาระจายอม
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๖๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๙ น.๑๖๔ การ
แสดงเจตนาเป็ นเจ้าของที่จะทําให้ผคู ้ รอบครองได้กรรมสิ ทธิ์
ในที่ดินที่ครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ นั้น ต้องเป็ น
27

การแสดงเจตนาเป็ นเจ้าของตลอดระยะสิ บปี ที่ได้ครอบครอง


ติดต่อกัน เมื่อครบสิ บปี แล้วผูค้ รอบครองย่อมได้กรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินที่ครอบครองไปโดยผลของกฎหมาย เมื่อผูร้ ับมอบอํานาจ
โจทก์ไปพบว่ามีบา้ นจําเลยปลูกอยู่บนที่ ดินซึ่ งเป็ นระยะเวลา
หลังจากที่โจทก์ซ้ื อที่ดินพิพาทมาแล้วถึง ๒๒ ปี จึงมีการเจรจา
ที่จะให้จาํ เลยรั บซื้ อที่ ดินพาท ดังนั้น แม้จะฟั งว่าการที่ จาํ เลย
ตกลงจะซื้ อที่ดินพิพาทเป็ นการยอมรับในกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินของ
โจทก์ แต่ ก็เ ป็ นการยอมรั บหลังจากที่ จาํ เลยได้กรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ ดิ น พิ พ าทโดยการครอบครองปรปั ก ษ์ แ ล้ ว จึ ง ไม่ มี ผ ล
เปลี่ยนแปลงกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทที่จาํ เลยได้รับโดยผลของ
กฎหมายแต่อย่างใด เมื่อจําเลยได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดย
การครอบครองปรปักษ์แล้ว โจทก์ไม่มีอาํ นาจฟ้ องขับไล่จาํ เลย
ข้ อสั งเกต คดี นี้วินิจฉั ยต่ างจากกรณี ครอบครองปรปั กษ์ ที่ดิน
ข้ างเคี ยงจนได้ กรรมสิ ทธิ์ แต่ เมื่อรั งวัดแล้ วยอมชี ้เขตตามแนว
เขตในโฉนดที่ ดิ น ซึ่ ง คดี นั้ น ศาลฎี ก าถื อ ว่ า ผู้ ค รอบครอง
ปรปั กษ์ สละการครอบครอง ทาให้ การครอบครองสิ ้ นสุ ดลง
(คาพิ พากษาฎี กาที่ ๗๓๘๒/๒๕๔๘) เหตุผลคงเป็ นเพราะคดี
นั้น เมื่อรั งวัดแล้ วยอมชี ้เขตตามแนวเขตในโฉนดที่ ดิน ก็ถือว่ า
ยอมมอบการครอบครองคื น เจ้ า ของเดิ ม แต่ ค ดี ต ามฎี ก านี ้
28

ผู้ครอบครองปรปั กษ์ ยังต้ องการที่ ดิน อยู่ เพี ยงแต่ ยังตกลงกัน


ไม่ ได้ จึงไม่ ถือว่ าสละการครอบครอง

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง


ค าพิพ ากษาฎีกาที่ ๕๒๑๕/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๘ น.๑๐๙
จํา เลยที่ ๑ ปลู ก สร้ า งอาคารบนที่ ดิ น พิ พ าทโดยได้รั บความ
ยินยอมจากธนาคาร ท. เจ้าของที่ดินเดิม จึงก่อให้เกิดสิ ทธิ เหนือ
พื้นดินเป็ นคุณแก่จาํ เลยที่ ๑ โดยไม่มีกาํ หนดเวลา ต่อมาโจทก์
ซื้ อที่ ดินดังกล่าวจากธนาคาร ท. และมี หนังสื อบอกกล่ าวให้
จําเลยทั้งสองรื้ อถอนสิ่ งปลูกสร้างออกไปจากที่ดินพิพาท จําเลย
ทั้งสองได้รับแล้ว ดังนี้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๑๓ บัญญัติว่า
ถ้าสิ ทธิ เหนือพื้นดินไม่มีกาํ หนดเวลาไซร้ ท่านว่าคู่กรณี ฝ่ายใด
จะบอกเลิกในเวลาก็ได้ แต่ตอ้ งบอกกล่าวแก่อีกฝ่ ายตามสมควร
การที่ โจทก์มีห นังสื อบอกกล่ าวให้จาํ เลยทั้งสองออกไปจาก
ที่ดินและจําเลยทั้งสองได้รับแล้ว ถือได้ว่าโจทก์บอกเลิกสิ ทธิ
เหนื อ พื้ น ดิ น แก่ จ ํา เลยทั้ง สองโดยชอบด้ ว ยกฎหมายแล้ว
นอกจากนี้ ยงั ปรากฏว่าสิ ทธิ เหนื อพื้นดิ นพิพาทของจําเลยทั้ง
สองที่ ไ ด้ ม านั้ น มิ ไ ด้มี ก ารนํา ไปจดทะเบี ย นต่ อ พนั ก งาน
เจ้าหน้าที่ การได้สิทธิ เหนื อพื้นดิ นของจําเลยทั้งสองดังกล่าว
29

จึงไม่สมบูรณ์ ไม่อาจยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้บุคคลภายนอกได้ตาม


ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๘ ประกอบมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง
จําเลยทั้งสองจึงไม่อาจยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้โจทก์ผไู ้ ด้กรรมสิ ทธิ์
ในที่ดินพิพาทมาจากธนาคาร ท.
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๓๒๙/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๒๐๐
โจทก์เ ป็ นผูค้ รอบครองโฉนดที่ ดิ น พิ พ าทก็โ ดยจํา เลยผูเ้ ป็ น
ลูกหนี้ เงินกูใ้ ห้ยึดถือเป็ นประกันเงินกูต้ ามหนังสื อสัญญากูเ้ งิน
โจทก์จึงมีสิทธิ ยดึ ถือโฉนดที่ดินพิพาทไว้เป็ นประกันการชําระ
หนี้จนกว่าจะได้รับชําระหนี้เงินกูค้ ืน แต่สิทธิ ยดึ ถือโฉนดที่ดิน
ดัง กล่ า วเป็ นเพี ย งบุ ค คลสิ ท ธิ บัง คับ กัน ได้ร ะหว่ า งคู่ สั ญ ญา
ไม่สามารถใช้ยนั แก่บุคคลอื่นได้ ส่ วนผูร้ ้องซื้ อและจดทะเบียน
รั บโอนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิน พิ พ าทพร้ อ มสิ่ ง ปลูก สร้ า งจากจํา เลย
ตั้งแต่ก่อนที่โจทก์จะฟ้ องเรี ยกหนี้ เงินกูค้ ืนจากจําเลยโดยได้มี
การทํา นิ ติ ก รรมซื้ อขายเป็ นหนั ง สื อและจดทะเบี ย นต่ อ
เจ้าพนักงานที่ดิน นิติกรรมดังกล่าวจึงมีผลสมบูรณ์ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง การบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของจําเลย
ซึ่งเป็ นลูกหนี้ตามคําพิพากษาย่อมไม่อาจกระทบกระทัง่ ถึงสิ ทธิ
ของผูร้ ้องที่มีอยูเ่ หนือทรัพย์พิพาทได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๗
โจทก์ไม่มีสิทธิยดึ ทรัพย์พิพาทเพื่อชําระหนี้ตามคําพิพากษา
30

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง


คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๑๔๗/๒๕๕๔ ฎ.๒๓๑๔ แม้จาํ เลย
จะครอบครองที่ดินพิพาทตั้งแต่วนั ที่จาํ เลยซื้ อที่ดินโฉนดเลขที่
๓๑๖๒ เมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๓๐ เป็ นต้นมาก็ตาม แต่เมื่อ
วัน ที่ ๒๗ ธัน วาคม ๒๕๓๓ บริ ษ ทั ค. ซื้ อ ที่ ดิ น โฉนดเลขที่
๓๒๒๖ จากเจ้า ของเดิ ม โดยจดทะเบี ย นซื้ อขายและเสี ย
ค่าตอบแทนโดยสุ จริ ต จําเลยจึงไม่อาจอ้างสิ ทธิ การครอบครอง
ปรปั กษ์ที่ดินพิพาทบางส่ วนของโฉนดเลขที่ ๓๒๒๖ ในช่ วง
ระยะเวลาก่อนหน้านั้นขึ้นอ้างยันต่อบริ ษทั ค. ได้ ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง การนับ
ระยะเวลาครอบครองปรปั กษ์ของจําเลยจึ งต้องเริ่ มนับตั้งแต่
วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๓๓ เป็ นต้นมา เมื่ อนับถึงวันที่โจทก์
ฟ้ องคดีน้ ี วนั ที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๓ ยังไม่ครบระยะเวลา ๑๐ ปี
จําเลยจึงยังไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครอบ
ปรปักษ์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๓๖๖๓-๑๓๖๖๔/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๑
น.๑๗๒ ขณะโจทก์ ที่ ๑ และที่ ๒ จะซื้ อ ที่ ดิ น โฉนดเลขที่
๑๓๓๗ ที่ดินแปลงดังกล่าวไม่มีทางออกสู่ ถนนสาธารณะ หาก
จะออกสู่ ถนนสาธารณะต้องผ่านที่ดินของผูอ้ ื่น ต่อมาโจทก์ที่ ๑
ตกลงกับ เจ้า ของที่ ดิ น ดัง กล่ า วว่ า หากเจ้า ของที่ ดิ น ตกลงให้
31

โจทก์ที่ ๑ ทํา ถนนผ่า นที่ ดิ น ออกสู่ ท างสาธารณะจะยอมให้


เจ้ า ของที่ ดิ น ดั ง กล่ า วใช้ ถ นนที่ โ จทก์ ที่ ๑ ทํา ออกสู่ ทาง
สาธารณะด้วย ต่อมาเมื่อโจทก์ที่ ๑ รับโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินแล้ว
แบ่งแยกที่ดินเป็ นแปลงย่อยให้โจทก์ที่ ๒ ถึงที่ ๔ แม้โจทก์ท้ งั สี่
จะไม่ มี ภูมิ ล าํ เนาหรื อบ้า นอยู่ในเขตที่ ดิ น พิพ าทก็ต าม การที่
โจทก์ท้ งั สี่ ใช้ถนนที่โจทก์ที่ ๑ ทําขึ้นเข้าไปดูแลที่ดินที่ตนเป็ น
เจ้าของ ก็ถือว่าโจทก์ท้ งั สี่ ได้ใช้ทางพิพาทเป็ นทางเข้าออกใน
ขณะที่ไปดูแลที่ดินของตนโดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้วย
เจตนาเป็ นเจ้าของมาตั้งแต่วนั ที่จดทะเบียนรับโอนกรรมสิ ทธิ์
ที่ดิน การที่โจทก์ที่ ๑ ทําถนนและไม่หา้ มเจ้าของที่ดินแปลงอื่น
ใช้ทางพิพาทร่ วมกันได้ จึงไม่เป็ นการใช้ทางโดยวิสาสะหรื อ
โดยใช้ทางของผูอ้ ื่นที่ให้ความยินยอม แต่เป็ นลักษณะการตกลง
ให้ที่ดินในส่ วนของทางพิพาทเป็ นภาระจํายอมที่ใช้ซ่ ึ งกันและ
กัน เมื่ อโจทก์ท้ งั สี่ ใช้ทางพิพาทจนมี ระยะเวลาติดต่ อกันเป็ น
เวลาสิ บปี แล้ว ย่อมได้ภาระจํายอมโดยอายุความตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๔๐๑
ทรัพยสิ ทธิ อนั เกี่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์ที่ได้มาโดยทาง
อื่นนอกจากนิติกรรมและยังมิได้จดทะเบียนนั้น มิให้ยกขึ้นเป็ น
ข้อต่อสู ้บุคคลภายนอกผูไ้ ด้สิทธิ ในอสังหาริ มทรัพย์มาโดยเสี ย
ค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ตตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง นั้น
32

จะต้องเป็ นทรัพยสิ ทธิ ประเภทเดียวกันจึงจะยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้


สิ ทธิ การได้มาเกี่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์ได้ การที่จาํ เลยที่ ๑ อ้าง
ว่าซื้อที่ดินมาจากจําเลยที่ ๒ โดยสุ จริ ตและเสี ยค่าตอบแทนที่จะ
ยกขึ้ นเป็ นข้อต่ อสู ้สิทธิ ที่โจทก์ท้ งั สี่ ไ ด้มาซึ่ งภาระจํายอมนั้น
สิ ทธิ ที่โจทก์ท้ งั สี่ ได้มาซึ่ งภาระจํายอมมิใช่ ได้มาซึ่ งกรรมสิ ทธิ์
ในอสังหาริ มทรัพย์ เป็ นสิ ทธิ เกี่ยวกับทรัพย์สินคนละประเภท
กัน แม้จาํ เลยที่ ๑ จะได้กรรมสิ ทธิ์ ในอสังหาริ มทรัพย์โดยเสี ย
ค่ าตอบแทนและโดยสุ จริ ต กับได้จดทะเบี ยนกรรมสิ ทธิ์ แล้ว
ก็ตาม ก็หามีผลต่อทางพิพาทที่ตกเป็ นภาระจํายอมแล้วไม่
ค าพิพ ากษาฎี กาที่ ๓๘๖๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๓ น.๑๔๑
จําเลยและ ส. เป็ นผูป้ ลูกสร้างบ้านบนที่ดินพิพาทเพื่อใช้เป็ นที่
อยู่อาศัยของจําเลยและบุคคลในครอบครัว เพราะได้รับการยก
ให้ซ่ ึ งที่ดินพิพาทจาก ม. น้องสาวของจําเลยเจ้าของที่ดินพิพาท
เมื่อจําเลยกับ ส. พร้อมด้วยครอบครัวได้ครอบครองที่ดินพิพาท
โดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของติดต่อกัน
ตั้งแต่ได้รับการยกให้เมื่อปี ๒๕๒๖ ตลอดมาเป็ นเวลาเกินกว่า
๑๐ ปี จํ า เลยย่ อ มได้ ก รรมสิ ทธิ์ ในที่ ดิ น พิ พ าทโดยการ
ครอบครองปรปั กษ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ แล้ว ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๘๒ หาได้ บ ั ญ ญั ติ ว่ า ผู ้ที่ จ ะได้ ก รรมสิ ทธิ์ ใน
ทรัพย์สินโดยการครอบครองปรปั กษ์จะต้องรู ้ว่าทรัพย์สินที่ตน
33

ครอบครองเป็ นทรั พ ย์สิ น ของบุ ค คลอื่ น ด้ว ยไม่ หากจํา เลย


ครอบครองที่ดินพิพาทโดยลักษณะเป็ นการครอบครองเพื่อตน
แม้จะเข้าใจว่าที่ดินดังกล่าวเป็ นของจําเลยแล้ว แต่ความจริ งยัง
เป็ นกรรมสิ ท ธิ์ ของผูอ้ ื่ น อยู่ เมื่ อ จํา เลยกับ ครอบครั ว ร่ ว มกัน
ครอบครองทําประโยชน์ในที่ ดินดังกล่าวโดยความสงบและ
โดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ ไม่มีผใู ้ ดโต้แย้งตลอดมาเป็ น
เวลาเกิ นกว่า ๑๐ ปี แล้ว ที่ดินดังกล่าวย่อมตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์
ของจําเลยตามบทบัญญัติดงั กล่าวข้างต้น
โจทก์ซ้ื อและรับโอนที่ดินกับบ้านพิพาทจาก ม. มีราคา
สู งถึง ๒,๘๐๐,๐๐๐ บาท และโจทก์ก็ทราบจาก ม. แล้วว่า ม.
ไม่ได้อยูอ่ าศัยในบ้านพิพาทเอง โจทก์ควรที่จะตรวจสอบให้ได้
ความแน่ ชัด ว่า ญาติ ข อง ม. เข้า ไปอาศัย อยู่ใ นบ้า นและที่ ดิ น
พิพาทโดยอาศัยสิ ทธิ ใคร โดยการไปซักถามจาก พ. หรื อบุคคล
ในครอบครั ว ของ พ. ที่ พ ัก อาศัย อยู่ใ นบ้า นพิ พ าท แต่ ก็ ไ ม่
ปรากฏว่ า โจทก์ไ ด้ก ระทํา เช่ น นั้น ทั้ง ที่ มี โ อกาสกระทํา ได้
โดยง่าย กรณี ดงั กล่าวย่อมถือไม่ได้ว่าโจทก์ได้ซ้ื อและรับโอน
ที่ดินพิพาทไว้โดยสุ จริ ตและจดทะเบียนสิ ทธิ โดยสุ จริ ตตามนัย
แห่ ง ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง จําเลยซึ่ งได้กรรมสิ ทธิ์
ในที่ดินและบ้านพิพาทมาโดยการครอบครองปรปั กษ์ จึงย่อม
34

ยกสิ ทธิ ข้ ึนต่อสู ้โจทก์ซ่ ึ งเป็ นผูไ้ ด้สิทธิ ในที่ดินมาโดยไม่สุจริ ต


ได้ โจทก์จึงไม่มีอาํ นาจฟ้ องขับไล่และเรี ยกค่าเสี ยหายจากจําเลย
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๓๙๘๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๙ น.๘๑
ป. และ บ. เป็ นญาติกนั จึงไม่มีเหตุผลที่ บ. จะขายที่ดินพิพาท
ให้แก่ ป. โดยไม่บอกเรื่ องที่มีการครอบครองที่ดินพิพาท ซึ่ ง ป.
ก็ยอมรับว่า บ. พาไปดูที่ดินพิพาท ปรากฏว่ามีบา้ นของผูร้ ้อง
ทั้งสองปลูกอยู่ ๒ หลัง และยังมีบา้ นญาติของผูร้ ้องทั้งสองปลูก
อยูอ่ ีก ๔ หลัง ทั้งที่ดินพิพาทอยูต่ ิดถนน ป. ย่อมเห็นและทราบ
ดีวา่ มีคนครอบครองที่ดินพิพาทอยู่ และหลังจากซื้ อที่ดินพิพาท
เพี ยง ๑ เดื อ น ป. ก็น ํา ที่ ดิ น พิพ าทไปจํานองแก่ ผูค้ ัดค้า น อัน
แสดงว่า ป. ไม่อยู่ในฐานะที่จะซื้ อที่ดินพิพาทได้ ประกอบกับ
ป. และผูค้ ดั ค้านเป็ นเพื่อนกันคบกันมานานแล้วย่อมมี ความ
สนิ ทสนมกันดี อี กทั้งผูค้ ดั ค้านและ ป. กับทนายความเคยไป
เจรจาให้ผรู ้ ้องทั้งสองออกไปจากที่ดินพิพาท แต่ตกลงกันไม่ได้
ผูค้ ดั ค้านจึงทราบดี ว่าผูร้ ้องทั้งสองได้ครอบครองที่ดินพิพาท
ตั้งแต่แรกแล้ว ป. ซื้ อที่ดินพิพาทเป็ นเงิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท แต่
กลับจํานองผูค้ ดั ค้านเป็ นเงิน ๖๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่ งสู งกว่าราคาซื้ อ
ขายมากและผูค้ ดั ค้านก็เป็ นผูป้ ระกอบธุ รกิจจัดสรรที่ดินไม่ได้
ทําธุรกิจเกี่ยวกับการเงิน แม้แต่ผคู ้ ดั ค้านเองยังนําที่ดินพิพาทไป
จํานองแก่สถาบันการเงิน พฤติการณ์ของ ป . และผูค้ ดั ค้านจึงมี
35

พิ รุ ธ ทั้ง การซื้ อ ขายที่ ดิ น พิ พ าทเป็ นการซื้ อ ขายระหว่ า งคน


ใกล้ชิดกันที่เป็ นญาติและเพื่อนสนิท ส่ อไปในทางช่วยเหลือกัน
ให้มีการโอนทางทะเบียนเป็ นทอด ๆ เพื่อให้การครอบครอง
ปรปั ก ษ์ ข องผู ้ร้ อ งทั้ งสองขาดตอน โดยเฉพาะผู ้ค ั ด ค้ า น
ประกอบธุรกิจจัดสรรที่ดินย่อมทราบดีและต้องตรวจสอบที่ดิน
แล้ว ประกอบกับผูค้ ดั ค้านเคยยืน่ ฟ้ องขับไล่ผรู ้ ้องที่ ๑ กับพวก
ออกจากที่ ดิ น พิ พ าท แต่ ผูค้ ัด ค้า นก็ถ อนฟ้ อง จึ ง รั บฟั ง ได้ว่ า
ผูค้ ดั ค้านซื้ อที่ดินพิพาทโดยไม่สุจริ ต ผูร้ ้องทั้งสองย่อมยกเอา
การได้ม าซึ่ ง ที่ ดิน พิพ าทที่ ยงั มิ ได้จ ดทะเบี ยนขึ้ นเป็ นข้อ ต่ อ สู ้
ผูค้ ดั ค้านได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๔๔๒/๒๕๕๔ ฎ. ๒๐๙๑ โจทก์
ว่าจ้า งให้บริ ษทั อ. ซึ่ งเป็ นบุ คคลภายนอกมาทําการประเมิ น
ราคาที่ดินพิพาทแทนและยอมรับผลการประเมินตามที่ได้รับ
แจ้ง ถื อเสมื อนว่าการดําเนิ นการของบริ ษทั ผูร้ ั บจ้างเป็ นการ
กระทํา ของโจทก์ เมื่ อ พนัก งานประเมิ น ของบริ ษ ัท อ. ไม่
ตรวจสอบระวางที่ดินและเลขที่ดินให้รู้แน่ ชดั ว่าที่ดินที่ทาํ การ
ประเมิ น คื อ ที่ ดิ น แปลงใดแน่ และเชื่ อ ตามที่ ภ. (ผูม้ ี ชื่ อ เป็ น
เจ้าของตามโฉนดที่ดินคนเดิมซึ่งเป็ นผูจ้ าํ นอง) นําชี้ เป็ นเหตุให้
โจทก์ไม่ทราบว่าในขณะที่รับจํานอง ขณะที่ผูแ้ ทนโจทก์นาํ ชี้
ทรัพย์ที่ยึด และในการซื้ อทรัพย์พิพาทจากการขายทอดตลาด
36

มี จ ํา เลยครอบครองทรั พ ย์พิ พ าทอยู่ นับ ว่ า โจทก์ ป ระมาท


เลินเล่ออย่างร้ายแรง อันเป็ นการบ่งชี้ ว่าโจทก์กระทําการโดย
ไม่สุจริ ต เมื่อฟังไม่ได้วา่ ภ. และโจทก์ได้สิทธิ มาโดยสุ จริ ตและ
ได้จดทะเบียนสิ ทธิโดยสุ จริ ต จําเลยจึงชอบที่จะยกเอาการได้มา
ซึ่ งอสังหาริ มทรัพย์โดยการครอบครองปรปั กษ์ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๒ ขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้โจทก์
ได้ โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องขับไล่จาํ เลยออกจากที่ดินพิพาท

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๐๐


ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๕๐๘๘/๒๕๕๔ ฎ.๑๒๙๑ ศาล
จัง หวัด เชี ย งใหม่ พิ พ ากษาตามยอมเมื่ อ วัน ที่ ๑๐ กรกฎาคม
๒๕๓๘ ให้จาํ เลยที่ ๒ ซึ่งเป็ นจําเลยคดีดงั กล่าวโอนที่ดินพิพาท
ให้ผรู ้ ้องซึ่งเป็ นโจทก์คดีดงั กล่าวเข้าถือกรรมสิ ทธิ์ รวมบางส่ วน
ซึ่ งจําเลยที่ ๒ จะจัดการโอนให้ภายใน ๒ เดือน นับแต่วนั ที่ทาํ
สัญญา หากไม่โอนให้ถือเอาคําพิพากษาแทนการแสดงเจตนา
นั้น เป็ นข้อตกลงที่ให้คู่ความทั้งสองฝ่ ายต้องดําเนิ นการโอน
กรรมสิ ท ธิ์ ทางทะเบี ย นกัน เมื่ อ จํา เลยที่ ๒ ไม่ ป ฏิ บัติ ต าม
คําพิพากษา ผูร้ ้องต้องดําเนิ นการบังคับคดี ภายใน ๑๐ ปี ตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗๑ การที่ ผูร้ ้ องไปดําเนิ น การเพี ยงขอออก
ใบแทนโฉนดที่ดิน แต่ขอให้รอเรื่ องไว้ก่อนโดยไม่ยอมชําระ
37

เงินค่าธรรมเนียมในการโอนที่ดินตลอดมา จึงยังถือไม่ได้ว่าได้
มีการร้องขอให้บงั คับคดี ตามคําพิพากษาแล้ว เมื่อผูร้ ้องไม่ได้
ดําเนินการบังคับคดีแก่ที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ นทรัพย์สินของลูกหนี้
จนเกิ น กํา หนด ๑๐ ปี นับแต่ ว นั ที่ ค าํ พิ พ ากษาถึ ง ที่ สุ ด ผูร้ ้ อ ง
จึงสิ้ นสิ ทธิ ที่จะบังคับคดีเอาแก่ที่ดินพิพาทและไม่มีสิทธิ เรี ยก
ให้จาํ เลยที่ ๒ ปฏิบตั ิตามคําพิพากษาได้อีกต่อไป ผูร้ ้องจึงไม่อยู่
ในฐานะอัน จะให้ จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ ข องตนได้อ ยู่ ก่ อ นตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๐ และไม่ใช่ ผทู ้ ี่อาจร้องขอให้บงั คับเหนื อ
ทรัพย์สินนั้นได้ตามกฎหมายตามที่บญั ญัติไว้ใน ป.วิ.พ. มาตรา
๒๘๗ จึงไม่ มีสิทธิ ยื่นคําร้องเพื่อขอกันส่ วนเงิ นที่ได้จากการ
ขายทอดตลาดที่ดินพิพาทได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๘๘๐/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๗๒
การที่ศาลมีคาํ พิพากษาตามยอมให้จาํ เลยจดทะเบียนโอนที่ดิน
พิพาทให้ผูร้ ้ องแต่ ยงั มิ ได้มีการดําเนิ นการ ระหว่างนั้นโจทก์
ทั้งสองซึ่ งเป็ นเจ้าหนี้ ตามคําพิ พากษาของจําเลยในอี กคดี น ํา
เจ้าพนักงานบังคับคดี ยึดที่ดินพิพาท ถื อว่าผูร้ ้ องมี สิทธิ เหนื อ
ที่ ดิ น พิ พ าทอัน จะขอให้จ ดทะเบี ย นที่ ดิ น พิ พ าทเป็ นของตน
ได้ก่อนบุคคลอื่นตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๐ แม้จาํ เลยยังไม่ได้
จดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทให้แก่ผูร้ ้อง โจทก์ท้ งั สองก็ไม่อาจ
บังคับคดีให้กระทบกระทัง่ สิ ทธิของผูร้ ้องได้
38

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๐๔


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๐๑/๒๕๕๔ ฎ.๒๑๕๓ หลังจากที่
ห. บิดาโจทก์ถึงแก่ความตาย ท. มารดาโจทก์เป็ นเจ้าของสิ ทธิ
ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าท ย่ อ มมี อ ํา นาจทํา หนัง สื อ อุ ทิ ศ ที่ ดิ น
พิพาทให้แก่จาํ เลยสําหรับปลูกสร้างฉางข้าวเพื่อใช้เป็ นธนาคาร
ข้าวตามโครงการพระราชดําริ ที่ดินพิพาทจึงตกเป็ นสาธารณ
สมบัติของแผ่นดินสําหรับพลเมืองใช้ร่วมกันตลอดไปโดยมีผล
ทันที โจทก์ไม่ใช่ เจ้าของที่ดินพิพาทไม่มีสิทธิ นาํ แบบแจ้งการ
ครอบครองที่ดิน (ส.ค.๑) ไปขอออกโฉนดที่ดินสําหรับที่ดิน
พิพาทในภายหลัง ให้เพิกถอนโฉนดที่ดินของโจทก์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๓๘๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๕ น.๑๖๐ ว.
อุ ทิศที่ ดิ น ของตนโดยมี เ จตนาชัด เจนว่า เพื่ อ ตั้ง เป็ นโรงเรี ยน
ปอเนาะ สําหรับการสอนหนังสื อและให้ความรู ้เกี่ยวกับศาสนา
อิ ส ลามโดยเฉพาะเจาะจง แม้ข ณะที่ ว. ยกให้เ มื่ อ ปี ๒๔๙๔
โรงเรี ย นยัง ไม่ มี ส ภาพเป็ นนิ ติ บุ ค คลเพราะยัง ไม่ มี ก ารจด
ทะเบียนเป็ นมูลนิ ธิให้ถูกต้องก็ตาม แต่ต่อมาก็มีกลุ่มบุคคลซึ่ ง
นํา โดย ห. เข้า ดํา เนิ น การให้ส ถานที่ ดัง กล่ า วเป็ นที่ ต้ ัง ของ
โรงเรี ยนแล้ว โดยในช่วงแรกมีชื่อว่าโรงเรี ยนปอเนาะบ้านเกาะ
หมี สมดังเจตนาดั้งเดิมของ ว. จึงเห็นได้ว่าเจ้าของที่ดินพิพาท
ได้แสดงเจตนาโดยชัดแจ้งที่จะอุทิศที่ดินนี้ เพื่อตั้งเป็ นโรงเรี ยน
39

ปอเนาะไว้เป็ นส่ วนกลางในการสอนศาสนาอิสลาม อันมีผลทํา


ให้ผใู ้ ดจะยึดถือครอบครองเป็ นเจ้าของที่ดินพิพาทไม่ได้ ที่ดิน
พิพาทจึ งเป็ นที่ ซ่ ึ งใช้เพื่อสาธารณะประโยชน์ของชาวมุ สลิ ม
โดยทัว่ ไป และตกเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๐๔ (๒) ทันที่ที่ ว. เจ้าของที่ดินเดิมอุทิศให้ โดยไม่
จําเป็ นต้องทําเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ทั้งโจทก์และจําเลยทั้งสองจึงอ้างสิ ทธิ เป็ นผูย้ ึดถือครอบครอง
ที่ดินพิพาทเป็ นของตนเองไม่ได้ โจทก์จึงไม่มีอาํ นาจฟ้ องและ
จําเลยไม่มีอาํ นาจฟ้ องแย้ง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๔/๒๕๕๕ ฎ.๔๑๙ จําเลยที่ ๑ ยอม
ให้ประชาชนใช้ทางพิพาทเป็ นถนนซอยสัญจรมากว่า ๔๐ ปี
และยอมรับสภาพของทางพิพาทว่าเป็ นซอย อีกทั้งจําเลยที่ ๑
ไม่เคยหวงกันการใช้ทางพิพาท จนมีความเข้าใจว่าทางพิพาท
เป็ นทางสาธารณประโยชน์หรื อได้ยกให้เป็ นทางสาธารณะไป
แล้ว เมื่อจําเลยที่ ๑ ประสงค์จะก่อสร้างอาคารในที่ดิน จึงตรวจ
พบว่าจําเลยที่ ๑ ยังมี ชื่อในโฉนดที่ดินเป็ นเจ้าของทางพิพาท
จึ ง ได้เ ข้า มาหวงกัน และแสดงความเป็ นเจ้า ของในภายหลัง
จนได้มีการให้ชาวบ้านที่นาํ ของมาขายที่ทางพิพาทข้างอาคาร
ของจํา เลยที่ ๑ ทํา บัน ทึ กถ้อ ยคํา ยอมรั บ สิ ท ธิ ข องจํา เลยที่ ๑
เหนื อ ที่ ดิ น พิ พ าทในปี ๒๕๔๐ อัน เป็ นช่ ว งเวลาหลัง จากได้
40

ก่อสร้างอาคารสํานักงานหลังใหม่แล้ว การแสดงเจตนาหวงกัน
ที่ ดิ น ของจํา เลยที่ ๑ เป็ นเวลาหลัง จากจํา เลยที่ ๑ ได้ย อมให้
ประชาชนใช้ทางพิพาทโดยไม่มีการหวงกันจนจําเลยที่ ๑ เข้าใจ
ว่าได้ดาํ เนิ นการยกให้เป็ นทางสาธารณะ จึงถือได้ว่าจําเลยที่ ๑
ได้มอบทางพิพาทให้เป็ นทางสาธารณะโดยปริ ยาย การย้อน
กลับ มาหวงกัน อ้า งสิ ทธิ เ หนื อ ทางพิ พ าทที่ ไ ด้ก ลายเป็ นทาง
สาธารณะไปโดยปริ ยายแล้วไม่มีผลแต่อย่างใด ทางพิพาทจึง
เป็ นทางสาธารณะ
คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๗๔๖๑/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๕๗
โฉนดที่ ดิ น เลขที่ ๑๒๐ และ ๑๒๑ เป็ นโฉนดที่ ดิ น ที่ ออกให้
ตั้งแต่รัชสมัยของรัชกาลที่ ๕ เมื่อปี ร.ศ.๑๒๕ โดยระบุอาณา
เขตของที่ดินทั้งสองแปลงว่าด้านทิศใต้จดลํากระโดงและตาม
รู ปแผนที่ ใ นโฉนดที่ ดิ น ก็ปรากฏว่า ด้า นทิ ศ ใต้ข องที่ ดิ น เป็ น
ลํากระโดง แสดงให้เห็นว่าลํากระโดงมีมาไม่นอ้ ยกว่า ๑๐๐ ปี
แล้ว โดยไม่ ป รากฏหลัก ฐานว่ า เป็ นลํา กระโดงที่ มี อ ยู่ต าม
ธรรมชาติหรื อมีผูใ้ ดขุดให้เป็ นลํากระโดงและขุดตั้งแต่เมื่อใด
ประชาชนในละแวกนั้น ได้ใช้ล าํ กระโดงสายนี้ เป็ นเส้น ทาง
สั ญ จรไปมาเป็ นเวลานานหลายสิ บปี แล้ ว หากจะฟั ง ว่ า
ลํา กระโดงสายนี้ เกิ ด จากการขุ ด สร้ า งขึ้ นเองของชาวบ้า น
ทั้งสองฝั่ งในที่ดินของตนเพื่อประโยชน์ในการใช้น้ าํ และการ
41

สัญจรไปมาก็ถือได้ว่าเจ้าของที่ดินแต่เดิมได้ยกที่ดินส่ วนที่เป็ น
ลํากระโดงพิพาทให้เป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิ นสําหรั บ
พลเมืองใช้ร่วมกันตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๓๐๔ แล้วโดยปริ ยาย
หาจําต้องแสดงเจตนาอุ ทิศให้หรื อจดทะเบี ยนยกให้เป็ นทาง
สาธารณะต่ อ พนั ก งานเจ้า หน้ า ที่ แ ต่ อ ย่ า งใดไม่ เมื่ อ ฟั ง ว่ า
ลํา กระโดงพิ พ าทเป็ นสาธารณสมบัติ ข องแผ่ น ดิ น สํ า หรั บ
พลเมื อ งใช้ร่ ว มกัน มาเป็ นเวลาเนิ่ น นานก่ อ นที่ โ จทก์ท้ งั สอง
จะรับโอนที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๒๐ และ ๑๒๑ จากเจ้าของเดิ ม
แม้ลาํ กระโดงพิพาทจะอยู่ในเขตโฉนดที่ดินของโจทก์ท้ งั สอง
และโจทก์ ท้ ั งสองได้ ก ลั บ เข้ า หวงกั น หรื อประชาชนใช้
ประโยชน์จ ากลํา กระโดงพิ พ าทน้ อ ยลงจากเดิ ม ก็ไ ม่ ท าํ ให้
ลํากระโดงพิพาทหมดสภาพจากการเป็ นสาธารณสมบัติของ
แผ่นดินกลับไปเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของเจ้าของที่ดินที่ได้กรรมสิ ทธิ์
ในโฉนดที่ดินดังกล่าวอีก โจทก์ท้ งั สองไม่มีสิทธิ ที่จะยึดถือเอา
ลํากระโดงพิพาทเป็ นของโจทก์ท้ งั สอง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๖๓๒/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๗๓
การที่โจทก์ท้ งั สองและผูถ้ ือกรรมสิ ทธิ์ รวมแสดงเจตนายกที่ดิน
พิพาทอันเป็ นที่ดินเอกชนเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ให้แก่ศาลเจ้า
ผูร้ ้ อ งสอดแล้ว แต่ ยงั ไม่ ไ ด้มี การจดทะเบี ย นโอนกรรมสิ ทธิ์
ให้แก่กนั การอุทิศที่ดินของโจทก์ท้ งั สองและผูถ้ ือกรรมสิ ทธิ์
42

รวมจึงยังไม่มีผลให้ที่ดินพิพาทตกเป็ นสมบัติสาํ หรับผูร้ ้องสอด


โดยสิ ทธิ ขาด โจทก์ท้ งั สองและผูถ้ ื อกรรมสิ ทธิ์ รวมยังคงเป็ น
เจ้า ของกรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น พิ พ าท การที่ โ จทก์ ท้ ัง สองและ
ผูถ้ ือกรรมสิ ทธิ์ รวมยกที่ดินพิพาทให้ผรู ้ ้องสอดเพื่อใช้เป็ นที่ต้ งั
แห่ ง ใหม่ เ พื่ อ เป็ นสาธารณประโยชน์ ข องผู ้ร้ อ งสอด แต่
ผู ้ร้ อ งสอดกลับ นํา ที่ ดิ น พิ พ าทออกให้ บุ ค คลภายนอกและ
จําเลยเช่าโดยให้จาํ เลยปลูกสร้างโรงเรื อนในที่ดินพิพาท จึงเป็ น
การขัด ต่ อ เจตนาของโจทก์ท้ งั สองและผูถ้ ื อ กรรมสิ ท ธิ์ รวม
ทั้ง จํา เลยให้ก ารกล่ า วแก้ข ้อ พิ พ าทโดยอ้า งสิ ทธิ ก ารเช่ า จาก
ผูร้ ้องสอดซึ่ งไม่ใช่ เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ จําเลยจึงไม่อาจยกสิ ทธิ
ที่ เ กี่ ย วกั บ สั ญ ญาเช่ า ขึ้ นต่ อ สู ้ โ จทก์ ท้ ั งสองผู ้เ ป็ นเจ้ า ของ
กรรมสิ ทธิ์ อย่างแท้จริ งได้ เมื่อจําเลยเข้าไปปลูกสร้างโรงเรื อน
ในที่ ดิ น ของโจทก์ท้ งั สอง จึ ง เป็ นการละเมิ ด สิ ทธิ ข องโจทก์
ทั้งสองในฐานะเจ้าของรวมย่อมใช้สิทธิ อนั เกิดแต่ กรรมสิ ทธิ์
ครอบไปถึ ง ทรั พ ย์สิ น ทั้ง หมดเพื่ อ ต่ อ สู ้ บุ ค คลภายนอก หรื อ
เรี ยกร้องเอาทรัพย์สินคืนได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๙ การที่
โจทก์ท้ งั สองฟ้ องขับไล่จาํ เลยจึงเป็ นการใช้สิทธิสุจริ ตแล้ว
ข้ อสั งเกต การยกที่ ดินให้ ศาลเจ้ าในคดี นี้ ศาลฎี กาวิ นิจฉั ยต่ าง
กับการยกที่ ดิ นให้ วัดหรื อการยกให้ กับสาธารณะประโยชน์
43

ทั่ ว ไป ซึ่ ง การยกให้ มี ผ ลทั น ที แ ม้ จ ะยัง ไม่ ใ ช้ ป ระโยชน์ ห รื อ


ยังไม่ ได้ จดทะเบียนโอน
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๓๘๗๔/๒๕๕๔ ฎ.๒๒๖๖ พื้ น ที่
พิ พ าทแม้เ ป็ นบริ เ วณที่ ก ลายสภาพเป็ นพื้ นนํ้าหมดแล้ว แต่
เจ้าของที่ ดิ นยังสงวนสิ ท ธิ หรื อหวงกัน ไว้ ไม่ ใช่ เป็ นพื้ นที่ ที่
ประชาชนทัว่ ไปเข้าไปใช้ประโยชน์ได้ จึ ง ไม่ เ ป็ นที่ สาธารณ
สมบัติของแผ่นดิน แต่เป็ นของจําเลย การที่จาํ เลยถมหิ นและดิน
ในที่ ดิ น ของจํา เลย แม้จ ะเป็ นการกั้น ระหว่า งบ้า นโจทก์ก ับ
แม่ น้ ํา เจ้า พระยาจนทําให้โจทก์ออกสู่ แม่ น้ ําเจ้าพระยาไม่ ได้
ก็ไม่ เป็ นการละเมิ ดต่ อโจทก์ โจทก์จึงไม่ มีสิทธิ ห้ามจําเลยและ
ไม่มีสิทธิเรี ยกค่าเสี ยหายจากจําเลยได้
ค าพิพ ากษาฎีกาที่ ๓๓๓๙/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๖ น.๑๐๓
สภาพที่เกิดเหตุเป็ นป่ าชายเลนตามปกติน้ าํ ทะเลท่วมถึง จึงเป็ น
สาธารณสมบัติของแผ่นดิ น ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๔ ซึ่ งจําเลย
ไม่ มี ก รรมสิ ทธิ์ หรื อ สิ ท ธิ ค รอบครองโดยชอบด้ว ยกฎหมาย
จําเลยจะอ้างการครอบครองที่ เกิ ดเหตุ ข้ ึ นยันต่ อแผ่นดิ นมิ ได้
ทั้งปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ป่าชายเลนได้ห้ามและเตือนจําเลยแล้ว
ไม่ ใ ห้บุ ก รุ ก ป่ าชายเลนโดยการปลู ก ต้น มะพร้ า ว แต่ จ าํ เลย
ไม่เชื่อฟั งยังคงบุกรุ กไปเรื่ อย ๆ แสดงถึงเจตนาของจําเลยที่เข้า
ยึดถือหรื อครอบครองป่ าที่เกิดเหตุเพื่อตนเอง
44

ค าพิพ ากษาฎี กาที่ ๖๓๐๐/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๘ น.๑๓๓


ที่ดินกรมชลประทานส่ วนที่จาํ เลยบุกรุ กตามฟ้ องเป็ นที่ดินซึ่ ง
กรมชลประทานกันไว้ใช้ทาํ ประโยชน์เพื่อการชลประทานโดย
ทํา เป็ นอ่ า งเก็บนํ้า ที่ ดิน พิพ าทจึ งตกเป็ นสาธารณสมบัติข อง
แผ่นดินประเภทที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๔ (๓)

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๐๕


คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๐๕๕/๒๕๕๕ ฎ.๘๓๕ พินยั กรรม
ฉบับที่จาํ เลยใช้เป็ นหลักฐานประกอบการยืน่ คําร้องขอให้ศาลมี
คําสั่งตั้งจําเลยเป็ นผูจ้ ดั การมรดกของ ม. เป็ นพินยั กรรมปลอม
เมื่ อ ม. ถึ ง แก่ ค วามตายโดยไม่ มี ท ายาทโดยธรรมหรื อ ผูร้ ั บ
พินยั กรรม ที่ดินมรดกโฉนดเลขที่ ๑๖๓๓ ของ ม. จึงตกทอดแก่
แผ่นดินตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๗๕๓ นับแต่วนั ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์
๒๕๓๗ ซึ่ งเป็ นวันที่ ม. ถึงแก่ความตาย จึงเป็ นสาธารณสมบัติ
ของแผ่น ดิ น จํา เลยจดทะเบี ย นขายให้แ ก่ จ าํ เลยร่ วมที่ ๒ แม้
จํา เลยร่ ว มที่ ๒ รั บ โอนมาโดยสุ จ ริ ต และเสี ย ค่ า ตอบแทน
จําเลยร่ วมที่ ๒ ก็ไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินตามมาตรา ๑๓๐๕
ทั้งจําเลยร่ วมที่ ๒ จะครอบครองทําประโยชน์ในที่ดินมานาน
45

เพี ย งใดก็ ไ ม่ ไ ด้ ก รรมสิ ทธิ์ และจะยกอายุ ค วามขึ้ นต่ อ สู ้


กระทรวงการคลังโจทก์ไม่ได้ตามมาตรา ๑๓๐๖

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๐๘


คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๗๗๙/๒๕๕๕ ฎ.๖๔๗ จํา เลยที่ ๑
เป็ นเจ้าของที่ ดินโฉนดเลขที่ ๘๘๙๕ ต่ อมามี การก่ อสร้ างท่ า
เทียบเรื อและเขื่อนหินยืน่ ไปในทะเลและอยูใ่ กล้กบั พื้นที่พิพาท
ทําให้มีผลกระทบกับการเคลื่อนย้ายของตะกอนทรายชายฝั่ ง
ทะเลทํา ให้ส ะสมตัวในบริ เวณที่ ดิน พิพาทกลายเป็ นหาดสั น
ทรายซึ่ งมี ดินถมปิ ดทับบนทรายจนกลายเป็ นพื้นดิ น แม้จะมี
ส่ วนมาจากท่าเทียบเรื อและเขื่อนหิ นที่มีผอู ้ ื่นสร้างขึ้น แต่จาํ เลย
ที่ ๑ ไม่ มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้างท่าเทียบเรื อและเขื่อนหิ น
การสะสมตัวของตะกอนเกิดขึ้นเองจากกระแสนํ้าทะเล มิได้เกิด
จากฝี มือมนุษย์และก่อให้เกิดที่ดินงอกต่อไปจากที่ดินของจําเลย
ที่ ๑ ที่ดินพิพาทจึ งเป็ นที่ งอกจากที่ ดินมี โฉนดของจําเลยที่ ๑
ไม่ใช่ สาธารณสมบัติของแผ่นดิ น จําเลยที่ ๑ ย่อมเป็ นเจ้าของ
ที่งอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๘
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๕๓๗/๒๕๕๕ ฎ.๕๖๙ ที่ดินพิพาท
เป็ นที่ ดิ น อยู่ถ นนฝั่ ง ตรงข้า มกับ หลัก เขตที่ ๕๙๗๕๕ และ
๘๐๑๖ ซึ่ งเป็ นคลองมิใช่ เป็ นที่งอกมาติดต่อเป็ นแปลงเดียวกับ
46

ที่ดินเดิ มโดยไม่มีอะไรคัน่ ที่ดินพิพาทจึงไม่เป็ นที่งอกริ มตลิ่ง


ของที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๖๙๓๕ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๐๘ แต่เป็ นที่ชายตลิ่งอันเป็ นสาธารณสมบัติ
ของแผ่ น ดิ น ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา
๑๓๐๔ (๒) จึงเป็ นที่ดินของรัฐ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๘๙/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๒๖ ที่
งอกริ มตลิ่ง หมายถึง ที่ดินที่งอกไปจากตลิ่งตามธรรมชาติซ่ ึ ง
เกิดจากการที่สายนํ้าพัดพาดินจากที่อื่นมาทับถมกันริ มตลิ่งจน
เกิดที่งอกขึ้น มิใช่งอกจากที่อื่นเข้ามาหาตลิ่ง ลักษณะของที่ดิน
พิ พ าทซึ่ ง อยู่ต่ าํ กว่ า ที่ ดิ น ของจํา เลยร่ ว ม ๓ ถึ ง ๕ เมตร ไม่ มี
ลักษณะเป็ นที่งอกซึ่ งเกิดจากการที่สายนํ้าพัดพาดินจากที่อื่นมา
ทับ ถมกัน ริ ม ตลิ่ ง จนเป็ นที่ ง อก ที่ ดิ น พิ พ าทจึ ง ไม่ ใ ช่ ที่ ง อก
ออกไปจากริ มตลิ่งของที่ดินจําเลยร่ วมตามธรรมชาติ แต่เป็ น
ท้องทางนํ้าที่ต้ืนเขินเพราะกระแสนํ้าในแม่น้ าํ เปลี่ยนทางเดิ น
และยังฟังได้วา่ ที่ดินพิพาทซึ่ งอยูต่ ิดแม่น้ าํ ในฤดูน้ าํ ปี ปกติน้ าํ ยัง
ท่ ว มถึ ง ทุ ก ปี จึ ง เป็ นที่ ช ายตลิ่ ง ซึ่ งเป็ นสาธารณสมบัติ ข อง
แผ่ น ดิ น ประเภททรั พ ย์สิ น พลเมื อ งใช้ร่ ว มกัน ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๐๔ (๒) แม้จาํ เลยจะครอบครองใช้ประโยชน์ใ น
ที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสําหรับพลเมือง
ใช้ร่วมกัน แต่จะอ้างสิ ทธิ ดงั กล่าวขึ้นยันโจทก์ซ่ ึ งเป็ นเจ้าหน้าที่
47

ของรั ฐมี หน้าที่ ดูแ ลรั กษาที่ ดิน สาธารณประโยชน์ซ่ ึ งเป็ นสา
ธารณสมบัติของแผ่นดิ นไม่ ได้ตามมาตรา ๑๓๐๖ จําเลยต้อง
รื้ อถอนอาคารและสิ่ งปลูกสร้างออกไปจากที่ดินพิพาท

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๑๐


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๓๗๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๕ น.๖๔ ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๑๐ วรรคหนึ่ ง บัญญัติ ว่า “บุ คคลใดสร้ าง
โรงเรื อนในที่ดินของผูอ้ ื่นโดยสุ จริ ตไซร้ ท่านว่าเจ้าของที่ดิน
เป็ นเจ้าของโรงเรื อนนั้น ๆ แต่ตอ้ งใช้ค่าแห่ งที่ดินเพียงที่เพิ่มขึ้น
เพราะสร้ า งโรงเรื อ นนั้น ให้แ ก่ ผูส้ ร้ า ง” คํา ว่า “สุ จ ริ ต ” ตาม
บทบัญญัติแห่ งกฎหมายดังกล่าวนั้น หมายความว่า ผูป้ ลูกสร้าง
ได้สร้างโรงเรื อนลงในที่ดินโดยไม่ทราบว่าที่ดินเป็ นของผูใ้ ด
แต่เข้าใจว่าเป็ นที่ดินของตนโดยเชื่อว่าตนมีสิทธิ สร้างโรงเรื อน
ในที่ ดิ น นั้น ได้โ ดยชอบ เมื่ อ จํา เลยสร้ า งบ้า นในที่ ดิ น พิ พ าท
โดย ว. อนุ ญาตให้สร้างได้จึงเป็ นการสร้างโดยอาศัยสิ ทธิ ของ
ว. ซึ่ งเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ดินแปลงใหญ่ ทั้งจําเลย
ก็รู้อยู่แล้วว่าโจทก์เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ดินดังกล่าว
ด้วยอีกคนหนึ่ ง การที่จาํ เลยปลูกสร้างบ้านในที่ดินพิพาทโดย
มีสิทธิเพราะได้รับอนุญาตจาก ว. ซึ่งเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวม
คนหนึ่ ง ก็ต าม ก็เ ป็ นเพี ย งทํา ให้บ้า นของจํา เลยไม่ ก ลายเป็ น
48

ส่ วนควบของที่ดินเท่ านั้น แต่ ไม่ อาจรั บฟั งได้ว่า จําเลยสร้ าง


บ้า นในที่ ดิ น พิ พ าทของโจทก์โ ดยสุ จ ริ ต ตามมาตรา ๑๓๑๐
วรรคหนึ่ง

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๑๒


คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๗๘๕/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๘ น. ๒๐๘
บ้านเลขที่ ๖/๑ ตั้งอยูบ่ นที่ดินซึ่ งเป็ นของเจ้าของคนเดียวกันคือ
จํา เลย ต่ อ มาเมื่ อ มี ก ารแบ่ ง แยกขายที่ ดิ น เฉพาะโฉนดเลขที่
๑๓๗๔๒ จึงมีโรงเรื อนบางส่ วนรุ กลํ้าเข้าไปในที่ดินของโจทก์
ผูซ้ ้ื อ การที่จาํ เลยปลูกสร้างบ้านลงบนที่ดินพิพาทและบนที่ดิน
ของจําเลยอีกแปลงที่อยูต่ ิดต่อกัน โดยจําเลยเป็ นเจ้าของที่ดินทั้ง
สองแปลง จํา เลยจึ ง มี สิ ท ธิ ป ลู ก สร้ า งได้ ใ นฐานะเจ้า ของ
กรรมสิ ทธิ์ ซึ่ งมิใช่ การปลูกโรงเรื อนรุ กลํ้าเข้าไปในที่ดินของ
ผูอ้ ื่ น โดยสุ จ ริ ต ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๑๒ เมื่ อ ต่ อ มาที่ ดิ น
พิพ าทถู ก บัง คับคดี นาํ ออกขายทอดตลาด กรณี ย่อ มต้อ งด้ว ย
มาตรา ๑๓๓๐ โจทก์ ผู ้ซ้ื อ ที่ ดิ น ได้จ ากการขายทอดตลาด
อันเป็ นที่ดินของจําเลยซึ่ งเป็ นลูกหนี้ ตามคําพิพากษาจึ งถือว่า
โจทก์ซ้ื อที่ดินพิพาทมาโดยสุ จริ ต ส่ วนบ้านและสิ่ งปลูกสร้างที่
อยู่บนที่ดินพิพาทจะมีหรื อไม่ หรื อโจทก์จะรู ้หรื อไม่ว่ามีบา้ น
และสิ่ งปลูกสร้างอยู่บนที่ดินพิพาท ก็ไม่ทาํ ให้โจทก์มิใช่ ผูซ้ ้ื อ
49

โดยสุ จริ ต กรณี หาจําต้องให้ผเู ้ ข้าประมูลซื้ อทรัพย์จากการขาย


ทอดตลาดต้อ งตรวจสอบว่ า ที่ ดิ น พิ พ าทที่ ถู ก นํา ออกขาย
ทอดตลาดมีสภาพหรื อภาระอย่างไร เมื่อโจทก์เป็ นผูซ้ ้ื อทรัพย์
ที่ดินพิพาทจากการขายทอดตลาดโดยสุ จริ ต สิ ทธิ ของโจทก์ที่
ได้ที่ ดิ น จากการขายทอดตลาดย่ อ มไม่ เ สี ย ไปตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๓๐ โจทก์มีกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาท และเมื่อโจทก์
ก็ไม่แสดงให้ปรากฏว่าได้ก่อให้เกิดสิ ทธิ เหนือพื้นที่ดินเป็ นคุณ
แก่จาํ เลย โดยยอมให้จาํ เลยเป็ นเจ้าของบ้านบนที่ดินของโจทก์
ต่ อ ไป โจทก์ใ นฐานะเจ้า ของกรรมสิ ท ธิ์ ผูไ้ ม่ ประสงค์จ ะให้
จําเลยปลูกบ้านและสิ่ งปลูกสร้างอยูบ่ นที่ดินโจทก์อีกต่อไป แต่
จําเลยเพิกเฉย จึงเป็ นการละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ในฐานะเจ้าของ
กรรมสิ ทธิ์ จึงมีสิทธิ ขอบังคับให้จาํ เลยรื้ อถอนบ้านและสิ่ งปลูก
สร้างออกไปจากที่ดินของโจทก์ได้

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๑๓


คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๗๒๒/๒๕๕๔ ฎ.๗๘๘ จําเลยได้
มอบอํานาจให้ ส. เป็ นตัวแทนนําช่ างรังวัดของสํานักงานที่ดิน
ไปรังวัดพื้นที่สร้างอาคารก่อนลงมือสร้าง ต่อมาเจ้าหน้าที่รังวัด
จัด ทําแผนที่ แ สดงรู ปที่ ดิ นและหลักเขตเป็ นหลัก ฐาน แต่ ไ ม่
ปรากฏว่าจําเลยได้ใช้สําเนาแผนที่ฉบับดังกล่าวประกอบการ
50

พิจารณาเพื่อกําหนดพื้นที่ ที่จะสร้ างอาคาร อี กทั้ง ส. ซึ่ งเป็ น


ผูใ้ หญ่บา้ นในขณะนั้นเป็ นผูร้ ะวังแนวเขตลํารางพระยาพายเรื อ
ซึ่ งเป็ นลํา รางสาธารณประโยชน์ เมื่ อ ศ. นํา ช่ า งรั ง วัด ของ
สํานักงานที่ดินไปรังวัดที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๕๙๔๕ ซึ่ งมีพ้ืนที่
ครอบคลุ มที่ ดินพิพาทเพื่อแบ่ งแยก ย่อมทราบอยู่ก่อนแล้วว่า
ที่ดินพิพาทเป็ นส่ วนหนึ่งของที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๕๙๔๕ จําเลย
ซึ่ งเป็ นตัวการย่อมทราบข้อเท็จจริ งเช่ นเดี ยวกับที่ ส. ซึ่ งเป็ น
ตัวแทนทราบ การที่จาํ เลยสร้างอาคารที่ทาํ การรุ กลํ้าเข้าไปใน
ที่ดินพิพาทจึงเป็ นการกระทําโดยไม่สุจริ ต

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๓๐


ค าพิพ ากษาฎีกาที่ ๑๕๘๗/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล.๑ น.๑๓๐
โจทก์รับจํานองที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้าง คือ บ้าน ซึ่ งตั้งอยู่บน
ที่ดินดังกล่าวตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๑๘ จํานองย่อมครอบไปถึง
ทรัพย์ท้ งั ปวงอันติดพันอยู่กบั ทรัพย์สินซึ่ งจํานอง และเมื่อบ้าน
พิพาทเป็ นโรงเรื อนซึ่ งมีอยู่ในขณะที่จดทะเบี ยนจํานอง การ
จํานองย่อมครอบคลุมไปถึงบ้านพิพาทด้วย แม้จาํ เลยจะซื้ อบ้าน
พิพาทได้จากการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาลโดยสุ จริ ต แต่
สิ ทธิ ของจําเลยได้มาภายหลังจากที่โจทก์รับจํานองบ้านพิพาท
โดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว และเหตุที่จะทําให้การจํานองระงับ
51

สิ้ น ไปก็ต่ อ เมื่ อ มี เ หตุ ต ามมาตรา ๗๔๔ เท่ า นั้น การที่ จ าํ เลย
รื้ อถอนบ้านพิพาทไปไม่ทาํ ให้สิทธิ ของโจทก์ที่มีอยู่ในทรัพย์
จํานองระงับสิ้ นไปได้ โจทก์จึงคงมีสิทธิ บงั คับจํานองเอาแก่
บ้านพิพาทที่จาํ เลยซื้ อได้ตามมาตรา ๗๔๔ และมาตรา ๗๐๒
วรรคสอง การที่จาํ เลยได้กรรมสิ ทธิ์ ในบ้านพิพาทภายหลังจาก
ที่โจทก์รับจํานองไว้แล้ว แม้จะได้มาโดยสุ จริ ตและได้รับความ
คุม้ ครองตามมาตรา ๑๓๓๐ ก็หาทําให้สิทธิ ของโจทก์ที่มีอยูเ่ ดิม
เสี ยไป จําเลยไม่มีสิทธิในบ้านพิพาทดีกว่าโจทก์
จํา เลยเป็ นแต่ เ พี ย งผู ้ซ้ื อ บ้า นพิ พ าทได้ จ ากการขาย
ทอดตลาดตามคํา สั่ ง ศาล มิ ใ ช่ เ ป็ นผูจ้ าํ นองหรื อ คู่ สั ญ ญากับ
โจทก์ผรู ้ ับจํานอง จําเลยจึงไม่ตอ้ งรับผิดในฐานะเป็ นผูจ้ าํ นอง
ต่อโจทก์ การที่จาํ เลยรื้ อถอนบ้านพิพาทขายให้บุคคลอื่นไปแม้
กระทําการโดยสุ จริ ต ก็ตอ้ งคืนเงินในส่ วนที่เกี่ยวกับบ้านพิพาท
ให้แ ก่ โจทก์ และเมื่ อเป็ นหนี้ เ งิ นที่ จาํ เลยต้อ งคื น ให้แก่ โ จทก์
โจทก์จึงมีสิทธิ เรี ยกดอกเบี้ยได้ตามมาตรา ๒๒๔ ในอัตราร้อย
ละเจ็ดครึ่ งต่อปี นับแต่วนั ที่ร้ื อถอนบ้านพิพาทเป็ นต้นไป
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๓๘๔๖/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๑๒
น. ๒๑๐ ธนาคาร ก. ผูซ้ ้ื อ ที่ ดิ น พิ พ าทโดยสุ จ ริ ต ในการขาย
ทอดตลาดตามคําสั่งศาล ย่อมได้รับความคุม้ ครองสิ ทธิ มิให้เสี ย
ไป แม้ที่ดินพิพาทมิใช่ ของจําเลยหรื อลูกหนี้ โดยคําพิพากษา
52

ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๐ โจทก์ท้ ัง สองซึ่ งเป็ นผูซ้ ้ื อ ที่ ดิ น


พิพาทจากธนาคาร ก. อี กทอดหนึ่ ง ถื อ ได้ว่าเป็ นผูส้ ื บสิ ทธิ ที่
ได้รับความคุม้ ครองสิ ทธิ ที่มีอยูต่ ามมาตรา ๑๓๓๐ เช่นเดียวกัน
แม้มิใช่ ผซู ้ ้ื อที่ดินดังกล่าวจากการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาล
โดยตรงก็ตาม แม้โจทก์ท้ งั สองซื้อที่ดินพิพาทโดยทราบมาก่อน
ว่าจําเลยปลูกบ้านและสิ่ งปลูกสร้างอื่นในที่ดินพิพาทเป็ นเวลา
เกิ นกว่า ๒๐ ปี แล้ว โดยไม่ มีผูใ้ ดโต้แย้งคัดค้านและจําเลยมี
น.ส.๓ เป็ นหลักฐาน จําเลยก็ไม่อาจยกสิ ทธิ ดงั กล่าวขึ้นใช้ยนั
สิ ทธิของโจทก์ท้ งั สองที่ได้รับความคุม้ ครองตามมาตรา ๑๓๓๐
ได้ จึงรับฟังได้วา่ โจทก์ท้ งั สองมีกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทดีกว่า
สิ ทธิ ของจําเลย เมื่อโจทก์ท้ งั สองบอกกล่าวด้วยวาจาไม่จาํ ต้อง
บอกกล่าวเป็ นหนังสื อให้จาํ เลยรื้ อถอนบ้านและสิ่ งปลูกสร้าง
อื่นกับให้ออกไปจากที่ดินพิพาทแล้ว จําเลยยังคงเพิกเฉย โจทก์
ทั้งสองย่อมมีสิทธิฟ้องขับไล่จาํ เลยออกจากที่ดินพิพาทได้

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๓๒


ค าพิพ ากษาฎี กาที่ ๑๔๙๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๖๗
โจทก์ ซ้ื อรถยนต์ จ ากจํา เลยที่ ๑ ในลั ก ษณะเดี ย วกั น มา
ตลอดเวลาทั้ง ก่ อ นและหลัง คดี น้ ี โจทก์ ย่ อ มมี เ หตุ ผ ลตาม
สมควรที่จะเชื่อได้ว่าจําเลยที่ ๑ เป็ นพ่อค้าที่ซ้ื อขายรถยนต์โดย
53

ถูกต้อง โจทก์ซ้ื อรถยนต์พิพาทจากจําเลยที่ ๑ แล้วมาให้ผูอ้ ื่ น


เช่ าซื้ อตามวัตถุประสงค์ของโจทก์เหมือนอย่างที่เคยปฏิบตั ิมา
โดยจําเลยที่ ๓ และที่ ๔ ซึ่งเป็ นเจ้าของรถยนต์พิพาทไม่อาจสื บ
โต้แย้งให้เห็นว่าการซื้ อครั้งนี้ โจทก์ไม่สุจริ ตอย่างไร ย่อมต้อง
ถื อ ว่ า โจทก์ก ระทํา การโดยสุ จ ริ ต ทํา ให้ โ จทก์ไ ด้รั บ ความ
คุ ้ม ครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๒ เมื่ อ จํา เลยที่ ๓ ได้รั บ
รถยนต์พิพาทคืนไป จําเลยที่ ๓ และที่ ๔ จึงต้องร่ วมกันใช้ราคา
รถยนต์พิพาทแก่โจทก์
ราคารถยนต์พิพาทที่ โจทก์จ่ายแก่ จาํ เลยที่ ๑ ผูข้ ายไป
จริ งคือ ๓๒๔,๐๐๐ บาท จําเลยที่ ๓ และที่ ๔ จึงต้องรับผิดต่อ
โจทก์เพียงจํานวนที่โจทก์ได้รับความเสี ยหายจริ งเท่านั้น โดย
อาศัย หลักการที่ โ จทก์ตอ้ งได้รับชดใช้ค่ าเสี ยหายไม่ เกิ นกว่า
ความเสี ยหายที่ได้รับจริ ง กรณี จึงต้องบังคับใช้กบั ความรับผิด
ของจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ ในฐานะผูข้ ายต่อโจทก์ซ่ ึ งเป็ นผูซ้ ้ื อใน
เหตุ แ ห่ ง การรอนสิ ทธิ ที่ ร ถยนต์พิ พ าทถู ก จํา เลยที่ ๓ ซึ่ ง เป็ น
เจ้า ของที่ แ ท้จ ริ ง ยึ ด คื น ไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๗๙ ด้ว ย
เนื่องจากเป็ นความรับผิดในความเสี ยหายอันเดียวกัน ศาลฎีกามี
อํานาจพิพากษาให้มีผลถึงจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ ซึ่งมิได้ฎีกาได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๓๘๓/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๔๔
รถยนต์พิพาทเป็ นรถที่มีผลู ้ กั ลอบนําเข้ามาในราชอาณาจักรโดย
54

หลี ก เลี่ ย งการเสี ย ค่ า ภาษี ศุล กากร เจ้า พนัก งานตํา รวจย่อ มมี
อํานาจยึดรถยนต์พิพาทมาไว้เป็ นของกลางเพื่อดําเนิ นคดีตาม
พระราชบัญญัติศุลกากร ไม่ว่ารถยนต์ของกลางจะอยู่ในความ
ครอบครองของผูใ้ ด การกระทําของเจ้าพนักงานตํารวจประจํา
ศูนย์ป้องกันและปราบปรามการโจรกรรมที่ไปยึดรถยนต์ของ
กลางจากโจทก์จึงเป็ นการปฏิบตั ิหน้าที่ตามกฎหมายโดยชอบ
ไม่ ถื อเป็ นการกระทํา ละเมิ ดต่ อโจทก์ กรมตํา รวจจําเลยที่ ๗
หน่ วยงานต้นสังกัดของเจ้าพนักงานตํารวจดังกล่าวจึงไม่ตอ้ ง
รั บ ผิ ด ในความเสี ย หายต่ อ โจทก์ แม้โ จทก์จ ะรั บ ซื้ อ รถยนต์
พิพาทมาโดยสุ จริ ตจากพ่อค้าซึ่ งประกอบธุ รกิจซื้ อขายรถยนต์
แต่ เ มื่ อ รถยนต์พิ พ าทต้อ งถู ก ยึ ด ไปดํา เนิ น คดี ต ามพระราช
บัญญัติศุลกากร โจทก์ยอ่ มไม่ได้รับความคุม้ ครอง เพราะไม่ใช่
เป็ นกรณี ที่เ จ้าของที่ แท้จริ งติ ดตามเอาทรั พย์คื นตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๓๒

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๓๖


คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๘๗๕/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๙ น.๑๒๐
การที่โจทก์ฟ้องเรี ยกเอาเงินของโจทก์คืนจากจําเลยเนื่องจาก ม.
ปลอมลายมือชื่ อถอนเงินจากบัญชีลูกค้าของโจทก์แล้วฝากเข้า
บัญชี ของจําเลย จึงเป็ นการฟ้ องเพื่อติดตามเอาทรั พย์ของโจทก์
55

คืนจากบุคคลผูไ้ ม่มีสิทธิจะยึดถือไว้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๖


ซึ่งไม่มีอายุความ มิใช่เป็ นการฟ้ องเรี ยกค่าเสี ยหายอันเกิดแต่มูล
ละเมิดตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๔๘ ฟ้ องโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๔๗


ค าพิพ ากษาฎี ก าที่ ๓๓๘๒/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๘ น.๖๘
สภาพต้น ไม้มี ล ัก ษณะถู ก ตัด เฉพาะกิ่ ง ส่ ว นลํา ต้น ยัง คงอยู่
จึงเชื่อว่าจําเลยทั้งสามเพียงแต่ตดั เฉพาะกิ่งไม้ซ่ ึ งยืน่ ลํ้าเข้าไปใน
ที่ดินของจําเลยที่ ๑ จนเป็ นอุ ปสรรคในการก่ อสร้ างบ้าน แม้
ไม่ปรากฏข้อเท็จจริ งว่า จําเลยที่ ๑ ได้บอกโจทก์ให้ตดั ภายใน
เวลาอันสมควรแล้วแต่โจทก์ไม่ตดั ก็ตาม ก็เป็ นเพียงจําเลยที่ ๑
มิได้ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขแห่ ง ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๗ เท่านั้น แต่
การที่ โจทก์ปล่อยให้กิ่งไม้รุกลํ้าเข้ามาในที่ ดินของจําเลยที่ ๑
ย่อมเป็ นการละเมิดสิ ทธิ เหนือพื้นดินของจําเลยที่ ๑ ตามมาตรา
๑๓๓๕ ประกอบมาตรา ๔๒๐ ซึ่ งหากจําเลยที่ ๑ บอกโจทก์
ให้ต ัด ภายในเวลาอัน สมควรแล้ว แต่ โ จทก์ไ ม่ ต ัด กิ่ ง ไม้อ อก
จําเลยที่ ๑ ย่อมมี สิทธิ ตดั กิ่ งไม้เอาเสี ยได้เช่ นกัน อันเป็ นการ
ป้ องกั น กรรมสิ ทธิ์ ในทรั พ ย์สิ นของจํา เลยที่ ๑ ด้ ว ย เมื่ อ
ไม่ ป รากฏว่า เป็ นการตัด กิ่ ง ไม้จ นโจทก์ไ ด้รั บความเสี ย หาย
เกินสมควรแก่เหตุ จึงไม่กาํ หนดค่าเสี ยหายให้
56

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๔๙


คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๙๓๒๕/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๘ น.๑๘๐
การฟ้ องขอให้เปิ ดทางจําเป็ นโจทก์จะฟ้ องได้ต่อเมื่อที่ดินของ
โจทก์มีที่ดินแปลงอื่นล้อมอยู่จนไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะ
ตามบทบัญญัติแห่ ง ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙ แต่ หากเป็ นกรณี
แบ่งแยกที่ดินแปลงเดียวกัน ทําให้ที่ดินที่แบ่งแยกนั้นแปลงใด
ไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะซึ่ งหมายถึงทางสาธารณะที่มีอยู่
ในขณะแบ่ ง แยกนั้ น แล้ว ก็ จ ะเป็ นไปตามบทบัญ ญัติ แ ห่ ง
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๐ เมื่อปรากฏว่า การแบ่งแยกที่ดินพิพาท
กับที่ดินของโจทก์ออกจากที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๒๗๕ กระทํากัน
ในปี ๒๕๓๑ ก่อนมีถนนพุทธมณฑลสาย ๑ ในปี ๒๕๔๑ กรณี
จึงไม่อาจนําบทบัญญัติแห่ง ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๐ มาบังคับได้
ทางจากที่ดินของโจทก์ออกสู่ ทางสาธารณะทั้ง ๓ ทาง
เป็ นเส้นทางที่ตอ้ งผ่านที่ดินของบุคคลอื่นและไม่ปรากฏว่าเป็ น
ทางสาธารณะ อีกทั้งไม่ใช่ ทางที่เป็ นภารยทรัพย์ของที่ดินของ
โจทก์ ซึ่งเจ้าของอาจจะอนุญาตให้โจทก์ใช้ทางดังกล่าวหรื อไม่
ก็ได้ และแม้เจ้าของที่ดินนั้นจะยินยอมให้โจทก์ผ่านที่ดินของ
ตนได้ก็ไม่ ใช่ สิทธิ ตามกฎหมาย ประกอบกับมี ระยะทางจาก
ที่ดินของโจทก์ไปสู่ ทางสาธารณะไกลไม่สะดวก จึงฟั งได้ว่า
ที่ดินของโจทก์ถูกล้อมรอบด้วยที่ดินของผูอ้ ื่นจนไม่อาจออกสู่
57

ทางสาธารณะได้ โจทก์จึงมี อาํ นาจฟ้ องขอให้เปิ ดทางพิพาท


เป็ นทางจําเป็ นได้ แต่การที่จะเปิ ดทางจําเป็ นนั้น ต้องเลือกให้
พอสมควรแก่ความจําเป็ นของโจทก์โดยคํานึงถึงประโยชน์การ
ใช้สอยที่ดินพิพาทให้เสี ยหายน้อยที่สุด

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๕๐


คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๔๕/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล.๑ น.๑๙ โจทก์
และจําเลยทั้งสองเป็ นผูถ้ ือกรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ ดินพิพาท เมื่ อ
แบ่งแยกเป็ นที่ดิน ๓ แปลง ที่ดินโจทก์อยู่ดา้ นในสุ ดและไม่มี
ทางออกสู่ ถนนสาธารณะ โจทก์จึงมีสิทธิ เรี ยกร้องขอผ่านที่ดิน
ของจําเลยทั้งสองที่แบ่งออกไปโดยไม่ตอ้ งเสี ยค่ าทดแทนตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๐ แม้ที่ดินที่โจทก์และจําเลยทั้งสองเป็ น
เจ้าของกรรมสิ ทธิ์รวมมิได้ติดทางสาธารณะ และหลังจากโจทก์
ฟ้ องคดี น้ ี แล้ว จําเลยที่ ๒ จะโอนขายที่ดินส่ วนของตนให้แก่
บุคคลภายนอกไปแล้วก็ตาม เนื่ องจากในเรื่ องทางจําเป็ นนั้น
กฎหมายมุ่งประสงค์จะบังคับแก่ที่ดินแปลงที่ ลอ้ มเป็ นสําคัญ
สําหรับที่และวิธีทาํ ทางผ่านนั้นต้องเลือกให้พอแก่ความจําเป็ น
ของผูม้ ีสิทธิ จะผ่าน กับทั้งให้คาํ นึงถึงที่ดินที่ลอ้ มอยูใ่ ห้เสี ยหาย
แต่นอ้ ยที่สุดที่จะเป็ นได้ ถ้าจําเป็ นผูม้ ีสิทธิ จะผ่านจะสร้างถนน
เป็ นทางผ่านก็ได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙ วรรคสาม ดังนั้น
58

ทางจําเป็ นจึงไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นทางที่มีอยูเ่ ดิมก่อนแบ่งแยก แม้


โจทก์มิได้นาํ สื บให้เห็ นว่าทางพิพาทพอควรแก่ ความจําเป็ น
อย่างไร ทําให้เกิดความเสี ยหายแก่เจ้าของที่ดินที่ลอ้ มอยู่น้อย
ที่สุดและเป็ นทางผ่านเข้าออกในระยะสั้นที่ สุดหรื อไม่ก็ตาม
เพื่ อ มิ ใ ห้ค ดี ล่ า ช้า และคู่ ค วามไม่ ต ้อ งพิ พ าทกัน อี ก ศาลฎี ก า
เห็นสมควรกําหนดให้ตามความจําเป็ นและเหมาะสม

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๕๒


คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๗๗๕/๒๕๕๒ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๑๒๓
การวางท่อนํ้า สายไฟฟ้ า ท่อประปา สายโทรศัพท์ หรื อสิ่ งอื่น
ซึ่ งคล้า ยกัน ในที่ ดิ น ติ ด ต่ อ หาใช่ เ ป็ นเรื่ องทางจํา เป็ นตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙ และ ๑๓๕๐ ไม่ แต่เป็ นเรื่ องที่เจ้าของ
ที่ดินจําต้องยอมให้เจ้าของที่ดินติดต่อวางท่อนํ้า ท่อระบายนํ้า
สายไฟฟ้ า หรื อสิ่ งอื่นซึ่ งคล้ายกันผ่านที่ดินของตนตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๕๒ การใช้สิทธิ วางท่ อนํ้า ท่ อระบายนํ้า ฯลฯ ใน
ที่ดินของผูอ้ ื่น ผูท้ ี่จะวางท่อนํ้า ท่อระบายนํ้า ฯลฯ จะต้องยอม
จ่ายค่าทดแทนตามสมควรให้แก่เจ้าของที่ดินเสี ยก่อน หากผูท้ ี่
จะวางท่อนํ้า ท่อระบายนํ้า ฯลฯ ไม่จ่ายค่าทดแทนตามสมควร
แล้ว เจ้าของที่ ดินย่อมมีสิทธิ ที่จะปฏิเสธไม่ยอมให้วางท่ อนํ้า
ท่อระบายนํ้า ฯลฯ ในที่ดินของตนได้ จึงเป็ นหน้าที่ของโจทก์
59

ซึ่ งเป็ นผูว้ างท่อนํ้า สายไฟฟ้ า ฯลฯ ที่ จะต้องบอกกล่ าวเสนอ


จํานวนค่าทดแทนให้แก่จาํ เลยซึ่ งเป็ นเจ้าของที่ดินทราบก่อน
มิฉะนั้นโจทก์ไม่มีอาํ นาจฟ้ องขอให้บงั คับจําเลยยอมให้โจทก์
วางท่อนํ้า สายไฟฟ้ า ฯลฯ ในที่ดินของจําเลย เมื่อทางพิจารณา
ไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้เสนอค่าทดแทนแก่จาํ เลย โจทก์จึงไม่มี
อํา นาจฟ้ องขอให้ บ ัง คับ จํา เลยยิ น ยอมให้ โ จทก์ ว างท่ อ นํ้า
สายไฟฟ้ า ฯลฯ ในที่ดินของจําเลยได้
โจทก์มีสิทธิ ใช้ทางเดินและทางรถยนต์ในที่ดินเป็ นทาง
จํา เป็ นด้ว ยอํา นาจแห่ ง กฎหมาย แม้มี ก ารโอนที่ ดิ น แปลง
ดังกล่าวไปเป็ นของผูอ้ ื่น โจทก์ก็ยงั คงมีสิทธิ ใช้ทางจําเป็ นใน
ที่ดินดังกล่าวอยูน่ นั่ เอง จึงไม่จาํ เป็ นต้องกําหนดให้จาํ เลยไปจด
ทะเบียนสิ ทธิทางจําเป็ น

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๕๖


คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๐๕/๒๕๕๔ ฎ.๑๔๓๑ ก่อนโจทก์
อยูก่ ินฉันสามีภริ ยากับจําเลย โจทก์ประกอบอาชีพมีรายได้เป็ น
ของตนเองมาก่อน ต่อมาเมื่อยู่กินกับจําเลยซึ่ งประกอบอาชี พ
รับเหมาก่อสร้างโจทก์จึงลาออกจากงานและมาทํางานกับจําเลย
โดยหลัง จากจํา เลยแยกทางกับ ภริ ย าเดิ ม โจทก์ม าอยู่กิ น กับ
จําเลยโดยไปเช่ าห้องพักอยู่ดว้ ยกัน ขณะที่มาอยู่กินกันจําเลยมี
60

เพียงรถยนต์ ๑ คัน ระยะเริ่ มต้นการประกอบอาชี พมีรายได้ไม่


พอจ่ าย แสดงว่า ระยะเริ่ มต้น ที่ โจทก์ก ับจํา เลยอยู่กิ นฉัน สามี
ภริ ยากันจําเลยไม่มีทรัพย์สินอื่น หลังจากทํามาหากินร่ วมกับ
โจทก์ไ ด้ระยะหนึ่ งจึ ง มี เงิ นพอซื้ อที่ ดิ นแปลงหนึ่ ง ต่ อมาขาย
ที่ดินแปลงดังกล่าวแล้วนําเงินที่ได้มาสมทบกับเงินที่ได้จากการ
ประกอบอาชี พ รั บ เหมาก่ อ สร้ า งมาซื้ อที่ ดิ น โฉนดเลขที่
๑๓๖๗๔ และ ๑๓๖๗๕ ในปี ๒๕๔๕ และปลูกสร้างบ้านเลขที่
๒๔๘/๓๒ บนที่ดินทั้งสองแปลงหลังจากอยู่กินฉันสามีภริ ยา
กับโจทก์ถึง ๖ ปี ถือว่าโจทก์จาํ เลยร่ วมกันสร้างฐานะจนมีความ
เป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึน มีเงินสามารถซื้ อที่ดินและปลูกบ้านได้ แม้จาํ เลย
จะอ้างว่าโจทก์ทาํ งานให้แก่จาํ เลยฐานะเสมี ยน รับเงินค่าจ้าง
จากจํา เลยเป็ นรายวัน ไม่ ไ ด้ ช่ ว ยของานหรื อหางานกั บ
บุคคลภายนอกจึงไม่ได้ร่วมกับจําเลยประกอบกิจการรับเหมา
ก่อสร้างก็ตาม แต่พฤติการณ์ดงั กล่าวก็เป็ นเรื่ องที่โจทก์จาํ เลย
แบ่ ง หน้า ที่ ก ัน ทํา ระหว่ า งโจทก์แ ละจํา เลยเองเพื่ อ ประกอบ
กิ จ การของบุ ค คลทั้ง สองแล้ว ที่ ดิ น ทั้ง สองแปลงและบ้า น
ดัง กล่ า วจึ ง เป็ นทรั พ ย์ที่ โ จทก์ จ ํา เลยต่ า งมี ส่ ว นทํา มาหาได้
ร่ วมกัน โจทก์จึงมีสิทธิ ขอแบ่งกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินทั้งสองแปลง
และบ้านจากจําเลยได้ครึ่ งหนึ่ง
61

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๖๓


คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๔๑๔/๒๕๕๕ ฎ.๘๑๓ โจทก์และ
จํา เลยตกลงให้ที่ดิน พิพ าทเป็ นทางเข้า ออกเนื่ อ งจากจํา เลยมี
ที่ดินอีกแปลงหนึ่ งซึ่ งต้องใช้ที่ดินพิพาทเป็ นทางเข้าออก และ
โจทก์ฟ้องคดี แ พ่ งเพราะประสงค์จ ะนําที่ ดิ น ที่ ต้ งั โรงงานจด
ทะเบี ยนจํานองเป็ นประกันหนี้ ต่อธนาคาร แต่ ธนาคารไม่รับ
จํานองเนื่ องจากไม่มีทางเข้าออก อันเป็ นการยอมรับว่าโจทก์
และจําเลยมีเจตนาให้ที่ดิ นพิพาทเป็ นทางเข้าออกที่ใช้ร่วมกัน
การที่โจทก์และจําเลยมีขอ้ ตกลงตามสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินว่า
ให้ที่ ดิ น พิ พ าทเป็ นทางเข้า ออกที่ ใ ช้ร่ ว มกัน และยัง ไม่ มี ก าร
ตกลงเปลี่ยนแปลง โจทก์ในฐานะเจ้าของรวมจึงไม่มีสิทธิ เรี ยก
ให้ แ บ่ ง ทรั พ ย์ไ ด้ เนื่ อ งจากมี นิ ติ ก รรมขัด อยู่ ต ามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๖๓ วรรคหนึ่ง

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๖๗


คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๑๘๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๙ น.๙๑ โจทก์
ทั้ง ห้า เป็ นฝ่ ายครอบครองโดยปลู ก บ้า นอาศัย อยู่ใ นที่ ดิ น ที่ มี
น.ส.๓ สิ ทธิ ตามกฎหมายของโจทก์ท้ งั ห้าซึ่ งมี อยู่เหนื อที่ ดิน
ก็คื อ สิ ท ธิ ค รอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗ ตราบใด
ที่โจทก์ท้ งั ห้ายังยึดถือที่ดินโดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตนอยู่ โจทก์
62

ทั้งห้าย่อมได้ไปซึ่งสิ ทธิครอบครอง โดยไม่จาํ ต้องขอให้ศาลสั่ง


แสดงสิ ท ธิ เพราะไม่ มี กฎหมายใดบัญ ญัติ ให้ทาํ เช่ น นั้น หาก
โจทก์ท้ งั ห้าถูกรบกวนหรื อถูกแย่งการครอบครองโดยมิ ชอบ
ด้วยกฎหมายก็มี สิท ธิ ที่จะฟ้ องขอให้ปลดเปลื้ อ งการรบกวน
หรื อ ฟ้ องเรี ย กคื น การครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๔ และ
๑๓๗๕ ได้ การที่จาํ เลยมีชื่อเป็ นเจ้าของใน น.ส.๓ สําหรับที่ดิน
ก็ดี เคยยืน่ ฟ้ องขับไล่โจทก์ที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔ ออกจากที่ดินก็ดี
หรื อเคยยื่นเรื่ องของรังวัดเพื่อออกโฉนด สําหรับที่ ดินก็ดีน้ ัน
ไม่ได้ทาํ ให้สิทธิในการครอบครองที่ดินของโจทก์ท้ งั ห้าต้องถูก
กระทบกระเทือน เพราะมิได้เป็ นการรบกวนการยึดถือหรื อแย่ง
การยึดถือที่ดินไปจากโจทก์ท้ งั ห้าแต่อย่างใด ดังนั้น การกระทํา
ของจําเลยตามที่โจทก์ท้ งั ห้าฟ้ องจึงไม่ใช่ การโต้แย้งสิ ทธิ ของ
โจทก์ท้ งั ห้าตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๕ อันจะทําให้โจทก์ท้ งั ห้า
มีอาํ นาจฟ้ อง
ค าพิพ ากษาฎี กาที่ ๔๙๙๓/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๖ น.๑๖๘
ที่ดินพิพาทซึ่งเป็ นของรัฐนั้น ราษฎรไม่อาจยกสิ ทธิ ใด ๆ ขึ้นยัน
รั ฐ ได้ แต่ ร ะหว่ า งราษฎรด้ว ยกัน เอง แต่ ล ะฝ่ ายอาจยกสิ ท ธิ
ครอบครองขึ้ นยันกันได้ หากฝ่ ายใดยึดถื อที่ ดินพิพาทไว้โดย
เจตนาจะยึดถือเพื่อตนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗ ฝ่ ายนั้นย่อม
มีสิทธิที่จะขัดขวางไม่ให้อีกฝ่ ายหนึ่งหรื อบุคคลภายนอกเข้ามา
63

รบกวนการครอบครองของตนตามมาตรา ๑๓๗๔ ได้ ซึ่ งการ


ยึดถือที่จะได้สิทธิ ครอบครองตามมาตรา ๑๓๖๗ นั้น จะต้อง
เป็ นการเข้าไปยึดถือครอบครองตามความเป็ นจริ ง คือมีการอยู่
อาศัยทําประโยชน์บนที่ดินที่ครอบครองพร้อมแสดงอาณาเขต
แห่ งการยึดถือครอบครองต่อบุคคลภายนอกอย่างชัดเจน หาก
จะให้ผูอ้ ื่ น ยึด ถื อ แทน ผูย้ ึด ถื อ แทนก็ต ้อ งยึด ถื อ ครอบครอง
ทรัพย์สินนั้นตามความเป็ นจริ งด้วยเช่นเดียวกัน
การที่โจทก์มีภูมิลาํ เนาอยู่กรุ งเทพมหานคร ได้เดินทาง
ไปดู ที่ ดิ น พิ พ าทเพี ย งปี ละ ๒ ถึ ง ๓ ครั้ ง ส่ ว น ธ. ผูร้ ั บ มอบ
อํานาจโจทก์เข้าไปดูสามเดือนบ้าง หกเดือนบ้าง ในลักษณะไป
กลับในวันเดียวกัน จึงถือไม่ได้วา่ ธ. ผูร้ ับมอบอํานาจโจทก์ดูแล
ในลักษณะยึดถือครอบครองที่ดินพิพาท โจทก์จึงไม่ใช่ผยู ้ ดึ ถือ
ครอบครองที่ดินพิพาทไว้เพื่อตนตามความเป็ นจริ ง ลําพังเพียง
โจทก์ซ้ือที่ดินพิพาทจากผูซ้ ่ ึงอ้างว่ามีสิทธิ ทาํ กิน ไม่ทาํ ให้โจทก์
ได้สิทธิครอบครองตามกฎหมายแต่อย่างใด เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิ
ครอบครองเหนือที่ดินพิพาท โจทก์ย่อมไม่มีอาํ นาจฟ้ องขับไล่
จําเลยและจําเลยร่ วมออกจากที่ดินพิพาท
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ ๑๒๔๗๓/๒๕๕๓ (ประชุ ม ใหญ่ )
ฎ.ส.ล.๑๒ น.๑๕๙ การที่จาํ เลยที่ ๑ ขายที่ดินให้แก่ ป. และมอบ
การครอบครองที่ ดินพิพาทให้โดยมิ ได้กลับเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับ
64

ที่ ดินอี ก แสดงว่า จําเลยที่ ๑ สละเจตนาครอบครองไม่ ยึดถื อ


ที่ ดินพิพาทอี กต่ อไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๗ วรรคหนึ่ ง
แล้ว แม้ ป. จะได้ซ้ื อที่ ดิน และยึดถื อทํา ประโยชน์เพื่ อตนใน
ระยะเวลาห้ามโอน ป. ไม่ได้สิทธิ ครอบครองเนื่องจากถูกจํากัด
สิ ทธิ โดยบทบัญญัติแห่ ง ป. ที่ ดิ น มาตรา ๕๘ ทวิ แต่ เมื่ อ ป.
และโจทก์ซ่ ึ งอยู่กินฉันสามี ภริ ยาได้ร่วมกันครอบครองที่ ดิ น
ตลอดมาจนเลยเวลาห้ามโอนแล้ว ก็ยงั ครอบครองที่ดินอยู่ จึง
ถื อ ได้ว่า ป. และโจทก์ย่อ มได้สิ ทธิ ค รอบครองตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๖๗ นับแต่วนั พ้นกําหนดระยะเวลาห้ามโอน จําเลยที่
๑ จึ งไม่ มีสิทธิ ครอบครองในที่ ดิน พิพาทและไม่ อาจนําที่ ดิ น
พิพาทไปแบ่งแยกโอนให้แก่จาํ เลยที่ ๒ ถึงที่ ๙ ได้ จําเลยที่ ๒
ถึงที่ ๑๐ จึ งไม่มีสิทธิ เข้าไปในที่ ดินของโจทก์และจําเลยที่ ๙
ไม่อาจนําที่ดินพิพาทบางส่ วนไปจดทะเบียนจํานอง

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๗๘


คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๑๕๖/๒๕๕๕ ฎ.๓๒๗ จําเลยเข้า
ครอบครองทําประโยชน์ในที่ดินพิพาทโดยอาศัยสิ ทธิ ของตน
ที่ ไ ด้รั บ การยกให้ จ าก ร. มิ ใ ช่ ค รอบครองที่ ดิ น พิ พ าทแทน
ทายาทอื่ น อัน แสดงว่ า ร. ได้ ย กที่ ดิ น พิ พ าทให้ แ ก่ จ ํา เลย
ครอบครองแล้วโดยโจทก์ไม่ได้เกี่ยวข้อง ซึ่ งขณะที่ ร. แสดง
65

เจตนายกที่ดินพิพาทนั้น ที่ดินพิพาทเป็ นที่ดินที่มีเอกสารสิ ทธิ


เป็ น น.ส.๓ ผูม้ ีชื่อในเอกสารสิ ทธิ จึ งมี เพียงสิ ทธิ ครอบครอง
การที่ ร. ส่ งมอบที่ดินพิพาทให้แก่จาํ เลยโดยมิได้ทาํ เป็ นหนังสื อ
และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ แม้ไม่ชอบด้วยประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๕๒๕ ประกอบมาตรา ๔๕๖
วรรคหนึ่ ง แต่ที่ดินพิพาทมีแต่สิทธิ ครอบครอง จึงถือได้ว่า ร.
สละเจตนาครอบครองไม่ ยึดถื อที่ ดินพิพาทต่ อไป เมื่ อจําเลย
เข้าครอบครองทําประโยชน์ในที่ ดินพิพาทแล้ว จําเลยย่อมได้
สิ ทธิ ครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๗ และ ๑๓๗๘ เป็ นการได้
สิ ทธิ ครอบครองตามกฎหมาย การออกโฉนดที่ดินพิพาทจัดทํา
โดยทางราชการออกให้ แ ก่ ร. ซึ่ งเป็ นผู ้มี สิ ท ธิ ค รอบครอง
น.ส.๓ ฉบับเดิม แม้ความจริ ง ร. ไม่มีสิทธิ ครอบครองในที่ดิน
พิพาทแล้วขณะออกโฉนด ก็หาทําให้สิทธิ ครอบครองในที่ดิน
พิพาทของจําเลยเสี ยไปไม่ ที่ดินพิพาทจึงมิใช่ ทรัพย์มรดกของ
ร. ที่จะตกทอดแก่ทายาทอีกต่อไป
ข้ อสั งเกต หากเป็ นที่ ดินมีโฉนดตั้งแต่ ร. ยกให้ ผลจะเปลี่ยนไป
โดยจะถือว่ าจาเลยเริ่ มนับการครอบครองปรปั กษ์ ได้ ตั้งแต่ เริ่ ม
การครอบครอง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๐๗๑/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๔๔
จําเลยซื้ อที่ดินพิพาทมาตั้งแต่ที่ดินพิพาทยังเป็ นหนังสื อรับรอง
66

การทําประโยชน์และจําเลยได้เข้าครอบครองที่ดินพิพาทตลอด
มา โดย ส. มารดาโจทก์ผขู ้ ายซึ่ งเป็ นผูค้ รอบครองทําประโยชน์
ในที่ดินพิพาทมี เจตนาสละการครอบครองที่ ดินพิพาทให้แก่
จําเลยเป็ นผูค้ รอบครองตั้ง แต่ ก่ อนที่ ดิ นพิ พาทจะเปลี่ ยนเป็ น
โฉนดที่ ดิ น แล้ว แม้ก ารซื้ อ ขายที่ ดิ น พิ พ าทจะมิ ไ ด้ท ํา เป็ น
หนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่อนั จะทําให้ตก
เป็ นโมฆะก็ตาม แต่เมื่อที่ดินพิพาทเป็ นที่ดินมีหนังสื อรับรอง
การทําประโยชน์ยอ่ มโอนการครอบครองและส่ งมอบทรัพย์สิน
ที่ ค รอบครอง จํา เลยจึ ง เป็ นผูม้ ี สิ ท ธิ ค รอบครองที่ ดิ น พิ พ าท
โจทก์ฟ้องขับไล่ไม่ได้ เมื่อ ส. ได้สละเจตนาครอบครองที่ดิน
พิพาทและโอนการครอบครองโดยส่ งมอบที่ดินพิพาทแก่จาํ เลย
และจําเลยได้เข้าครอบครองตั้งแต่วนั ที่ซ้ื อขายแล้ว จําเลยย่อม
ได้สิทธิ ครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๗, ๑๓๗๘ การ
ครอบครองที่ดินพิพาทของ ส. หรื อโจทก์ซ่ ึ งเป็ นทายาทย่อม
สิ้ นสุ ดลง ส. หรื อโจทก์ไม่ใช่เจ้าของที่ดินพิพาทอีกต่อไป การที่
มี การไปขอออกโฉนดที่ ดิ นพิพาทแล้ว ใส่ ชื่อ ส. เป็ นเจ้าของ
กรรมสิ ทธิ์จึงเป็ นการออกโฉนดที่คลาดเคลื่อนกับความเป็ นจริ ง
และอาจถูกเพิกถอนได้โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ผมู ้ ีอาํ นาจตาม ป.
ที่ดิน มาตรา ๖๑ และไม่เป็ นเหตุให้สิทธิ ของจําเลยเหนื อที่ดิน
พิพาทที่มีอยูแ่ ล้วโดยสมบูรณ์เสี ยไป และเมื่อโฉนดที่ดินพิพาท
67

ออกโดยมิ ชอบ จํา เลยจะขอให้ใส่ ชื่อ จําเลยถื อ กรรมสิ ทธิ์ ใน


โฉนดที่ดินที่ออกโดยไม่ชอบไม่ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๐๙๙/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๘ น.๒๑๒
การที่ เจ้าพนักงานบังคับคดี ได้รังวัดยึดที่ดินเกิ นกว่าเนื้ อที่ดิน
ที่ ระบุ ใ นหนัง สื อ รั บรองการทํา ประโยชน์ (น.ส.๓) ที่ โ จทก์
นํายึดเช่ นนี้ ที่ดินส่ วนที่เกินจาก น.ส.๓ จึงไม่อยู่ในการบังคับ
คดี เมื่อผูซ้ ้ื อทรัพย์ซ้ื อที่ดินจากการขายทอดตลาดตาม น.ส.๓
ที่ประกาศขายทอดตลาดระบุ เนื้ อที่ไว้ชัดเจนว่ามีเนื้ อที่ ๕ ไร่
๑๐ ตารางวา ผู ้ซ้ื อ ทรั พ ย์ย่ อ มได้ ที่ ดิ น มี เ นื้ อ ที่ ต าม น.ส.๓
ดังกล่าว ผูซ้ ้ือทรัพย์จะอ้างเอาเนื้อที่ของที่ดินตามที่เจ้าพนักงาน
บังคับคดี รังวัดยึดไว้ที่เกินกว่าเนื้ อที่ใน น.ส.๓ หาได้ไม่ และ
เมื่อพิจารณาตามแผนที่วิวาทปรากฏว่าที่ดินพิพาทอยูท่ างทิศใต้
ของที่ดิน น.ส.๓ ที่ผซู ้ ้ือทรัพย์ซ้ือได้จากการขายทอดตลาด โดย
เปรี ยบเทียบความยาวด้านทิศตะวันตกตาม น.ส.๓ ระบุว่ายาว
๒ เส้น แต่ตามประกาศขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานบังคับคดี
ระบุว่าทิศตะวันตกยาว ๓ เส้น เจ้าพนักงานบังคับคดี จึง รังวัด
เกิ น ไป ๑ เส้ น คิ ด คํานวณแล้วรั ง วัด เกิ น ไป ๒๐ วาหรื อ ๔๐
เมตร ซึ่ งเกินไปจํานวนมากเช่ นนี้ ที่ดินด้านทิศใต้ส่วนที่เกินไป
กว่า ที่ ดิน ตาม น.ส.๓ จึ งอยู่น อกเขตที่ ดิน ตาม น.ส.๓ ที่ ผูซ้ ้ื อ
ทรั พ ย์ซ้ื อ ได้จ ากการขายทอดตลาด ที่ ดิ น พิพ าทเป็ นที่ ดิ น มื อ
68

เปล่า การซื้อขายย่อมสมบูรณ์ดว้ ยการส่ งมอบ เมื่อผูร้ ้องรับมอบ


การครอบครองจากจําเลย ผูร้ ้องจึงมีสิทธิ ครอบครอง แม้ผรู ้ ้อง
กับสามี จ ะซื้ อ ที่ ดิ น และบ้า นพิ พ าทภายหลัง จากเจ้า พนัก งาน
บังคับคดีทาํ การยึดทรัพย์ของจําเลยลูกหนี้ ตามคําพิพากษา แต่
ที่ดินที่โจทก์นาํ ยึดเป็ นที่ดินตาม น.ส.๓ เนื้ อที่ประมาณ ๕ ไร่
๑๐ ตารางวา เท่ านั้น ที่ ดินที่อยู่นอกเขตย่อมไม่อยู่ภายใต้การ
บังคับคดี
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๗๔๐/๒๕๕๕ ฎ.๑๐๑๑ โจทก์และ
จําเลยทั้งสองทําสัญญาซื้ อขายสิ ทธิ ครอบครองที่ดินพิพาทกัน
โดยมี ก ารชํา ระเงิ น ในวัน ทํา สั ญ ญา ๗๓๐,๐๐๐ บาท ส่ ว นที่
เหลือ ๗๗๐,๐๐๐ บาท ตกลงให้ผ่อนชําระในอีก ๕ เดื อนเศษ
เพราะที่ ดิ น พิ พ าทไม่ มี เ อกสารสิ ทธิ ใ ด ๆ มี เ พี ย งสิ ท ธิ ค รอบ
ครองโดยการยึด ถื อ เท่ า นั้น จึ ง สามารถโอนการครอบครอง
แก่ ก ัน ได้ ด้ว ยวิ ธี ส่ ง มอบที่ ดิ น ที่ ค รอบครองตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๗๘ และไม่ตอ้ งมีการจด
ทะเบียนโอนกันอีก เมื่อโจทก์ได้ทาํ การส่ งมอบการครอบครอง
ที่ดินพิพาทให้จาํ เลยทั้งสองแล้ว จึงเป็ นการปฏิบตั ิการชําระหนี้
ตามสัญญาครบถ้วน จําเลยทั้งสองย่อมมีหน้าที่ชาํ ระราคาส่ วน
ที่ เ หลื อ ให้แ ก่ โ จทก์ เมื่ อ จํา เลยทั้ง สองไม่ ช ํา ระแทนที่ โ จทก์
จะฟ้ องบังคับให้จาํ เลยทั้งสองชําระเงินตามสัญญา โจทก์กลับ
69

ฟ้ องขับไล่จาํ เลยทั้งสองเป็ นคดีน้ ี และจําเลยที่ ๒ ฟ้ องแย้งขอให้


โจทก์คืนเงินค่าที่ดินที่รับไว้จาํ นวน ๗๓๐,๐๐๐ บาท จึงถือได้ว่า
คู่สัญญาต่ างสมัครใจเลิ กสัญญาซื้ อขายสิ ทธิ ครอบครองที่ ดิน
พิ พ าทต่ อ กัน คู่ สั ญ ญาแต่ ล ะฝ่ ายจํา ต้อ งให้อี ก ฝ่ ายกลับ คื น สู่
ฐานะดังที่เป็ นอยูเ่ ดิมตามมาตรา ๓๙๑ วรรคหนึ่ง โดยโจทก์ตอ้ ง
คืนเงินจํานวน ๗๓๐,๐๐๐ บาท ที่รับไว้แก่จาํ เลยทั้งสอง
ข้ อสั งเกต ตามคาพิ พากษาฎีกาอื่ น ๆ ที่ ดินมือเปล่ ามักจะเป็ น
ที่ ป่าสงวนหรื อที่ ดินที่ ห้ามโอนตามกฎหมาย สั ญญาจึ งตกเป็ น
โมฆะ แต่ คดี นีไ้ ม่ ปรากฏว่ าเป็ นที่ ป่าสงวน และเป็ นที่ ดินที่ ไม่
อาจจดทะเบี ยนได้ ศาลฎี กาจึ งไม่ วินิจฉั ยว่ าสั ญญาเป็ นโมฆะ
และบังคับให้ เมื่อมีการเลิกสัญญา

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๐


คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๘๔๘๖/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๒๓
ที่ดินพิพาทซึ่งบริ ษทั ซ. ได้รับประทานบัตรเหมืองแร่ เป็ นที่ดิน
ของรัฐที่รกร้างว่างเปล่าซึ่ งไม่เคยมีผใู ้ ดได้รับสิ ทธิ ในที่ดินตาม
กฎหมายมาก่ อน ตาม พ.ร.บ.แร่ ฯ มาตรา ๗๓ (๓) ที่ กาํ หนด
มิให้ถือว่าการใช้ที่ดินของผูถ้ ือประทานบัตรในเขตเหมืองแร่
เป็ นการได้มาซึ่ งสิ ทธิ ครอบครอง คงมีผลให้บริ ษทั ซ. ไม่อาจ
อ้างสิ ทธิ ครอบครองที่ดินพิพาทยันต่อรัฐได้เท่านั้น แต่สาํ หรับ
70

ราษฎรด้วยกัน บริ ษทั ซ. ย่อมมีสิทธิ ปลดเปลื้องการรบกวนการ


ครอบครองจากผูส้ อดเข้าเกี่ยวข้องโดยมิชอบด้วยกฎหมายได้
จนกว่าจะสละเจตนาครอบครองหรื อไม่ยดึ ถือครอบครองที่ดิน
พิพาทโดยรื้ อถอนสิ่ งปลูกสร้ างออกไป การครอบครองที่ ดิน
พิ พ าทจึ ง สิ้ นสุ ดลง ในระหว่ า งที่ บ ริ ษั ท ซ. ยัง คงยึ ด ถื อ
ครอบครองอยู่ จึ ง อาจโอนไปซึ่ ง การครองครองที่ ดิน พิ พ าท
ให้แก่ผอู ้ ื่นได้ซ่ ึ งตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๐ การโอนไปซึ่ งการ
ครอบครองย่อมมีผล แม้ผูโ้ อนยังยึดถือทรัพย์สินอยู่ ถ้าผูโ้ อน
แสดงเจตนาว่าต่ อไปจะยึดถื อทรั พย์สินแทนผูร้ ั บโอน การที่
บริ ษทั ซ. ตกลงทําสัญญาเช่ าที่ดินพิพาทจากสุ ขาภิบาลหงาว
(โจทก์) หลังจากประทานบัตรทําเหมืองแร่ สิ้นอายุลง ย่อมถือ
ได้ว่า บริ ษทั ซ. ได้โอนการครอบครองที่ ดินพิพาทโดยสละ
เจตนาครอบครองให้แก่โจทก์และยึดถือที่ดินพิพาทในฐานะ
ผูเ้ ช่ า ต่ อ ไป โจทก์จึง ได้สิทธิ ครอบครองที่ ดิ น พิพ าทโดยการ
ให้บริ ษทั ซ. ยึดถือครอบครองไว้แทน ต่อมาเมื่อบริ ษทั ฟ. ซื้ อ
โรงงานแต่งแร่ และเข้าครอบครองที่ดินพิพาท บริ ษทั ดังกล่าว
ก็ไ ด้ท าํ สั ญ ญาเช่ า ที่ ดิ น พิ พ าทจากโจทก์ต่ อ ไป จํา เลยเพิ่ ง เข้า
ครอบครองที่ ดิ นพิพาทหลังจากซื้ อโรงงานแต่ งแร่ ต่อมาจาก
บริ ษ ทั ฟ. จํา เลยย่อ มไม่ มี สิ ทธิ ในที่ ดิ น พิ พาทดี ก ว่าโจทก์ซ่ ึ ง
ยึดถือครอบครองที่ดินอยูก่ ่อน
71

หลัง จากจํา เลยซื้ อ โรงงานแต่ ง แร่ จ ากบริ ษ ทั ฟ. แล้ว


จํ า เลยได้ เ ข้ า ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทซึ่ งอยู่ ใ นระหว่ า ง
กํา หนดเวลาตามสั ญ ญาเช่ า ที่ ดิ น ที่ บริ ษ ทั ฟ. ทํา ไว้ก ับโจทก์
หลังจากนั้นบริ ษทั ฟ. ยังคงชําระค่าเช่ าให้แก่โจทก์ต่อมา การ
ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทของจํา เลยจึ ง เป็ นการอาศัยสิ ทธิ ข อง
บริ ษทั ฟ. ถือได้ว่าจําเลยครอบครองที่ดินพิพาทแทนโจทก์ดว้ ย
จําเลยจะอ้างว่าครอบครองที่ดินพิพาทเป็ นของตนได้ก็แต่โดย
การบอกกล่าวเปลี่ยนลักษณะแห่ งการยึดถือครอบครองไปยัง
โจทก์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๑ แต่ตามคําให้การของจําเลย
ไม่ได้ให้การว่าได้มีการบอกกล่าวเปลี่ยนลักษณะแห่ งการยึดถือ
ไปจากโจทก์แต่อย่างใด จึงไม่มีประเด็นให้วินิจฉัยในเรื่ องการ
บอกกล่าวเปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือตามมาตรา ๑๓๘๑

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๑


ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๒๗๕๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๓ น.๙๔
บันทึกข้อตกลงที่จาํ เลยยินยอมที่จะรื้ อถอนสิ่ งปลูกสร้างออกไป
เป็ นการแสดงว่า ตั้ง แต่ ว นั ที่ ๒๕ สิ ง หาคม ๒๕๓๒ จํา เลย
ยอมรับว่าได้ปลูกสร้างครัวและคอกวัวลํ้าเข้าไปในที่ดินพิพาท
และจะรื้ อออก จึงเป็ นการยอมรับสิ ทธิ ความเป็ นเจ้าของว่า ส.
เป็ นเจ้า ของมี ก รรมสิ ทธิ์ ในที่ ดิ น พิ พ าท และจํา เลยเป็ นเพี ย ง
72

ผูค้ รอบครองแทนโดยอาศัยสิ ทธิ ของ ส. สถานภาพการเป็ น


ผูอ้ าศัยสิ ทธิ ของเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ เช่ นนั้นคงมีติดตัวจําเลยอยู่
ตลอดมาโดยที่ ส. ไม่จาํ ต้องฟ้ องขับไล่จาํ เลยก่อนที่จะขายที่ดิน
ให้แก่โจทก์ จําเลยแจ้งแก่บุคคลทัว่ ไปว่าที่ ดินเป็ นของจําเลย
โดยไม่ ปรากฏว่าหลังจากโจทก์ซ้ื อที่ ดินแล้ว จํา เลยได้แสดง
เจตนาต่อโจทก์เพื่อแย่งการครอบครองที่ดินพิพาท ลําพังแต่การ
ครอบครองรุ กลํ้าที่ดินพิพาทโดยไม่ร้ื อถอนสิ่ งปลูกสร้างออก
ขณะที่ โ จทก์ซ้ื อ ที่ ดิ น จาก ส. ย่ อ มไม่ เ ป็ นการเปลี่ ย นแปลง
ลัก ษณะแห่ ง การยึดถื อเป็ นการครองครองยึดถื อเพื่อ ตนตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๑ จําเลยไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินพิพาท
โดยการครอบครองปรปักษ์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๖๙/๒๕๕๔ ฎ.๑๕๐๕ โจทก์กบั
บ. เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ดินพิพาท โจทก์และ บ. คน
ใดคนหนึ่ ง ย่อ มมี สิ ท ธิ จ ัด การดู แ ลที่ ดิ น พิ พ าททั้ง หมด การที่
จําเลยบอกกล่าวแสดงเจตนาเปลี่ยนการยึดถือที่ดินพิพาทไปยัง
โจทก์ ก็ย่อ มมี ผ ลเป็ นการบอกกล่ า วที่ สมบู ร ณ์ ต ามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๘๑ แล้ว โดยไม่จาํ ต้อง
บอกกล่าวไปยังเจ้าของกรรมสิ ทธิ์รวมทุกคน
หมายเหตุ (โดยท่ านอาจารย์ สมชัย ฑีฆาอุตมากร) บทบัญญัติใน
เรื่ องกรรมสิ ทธิ์ รวม บัญญัติให้ เจ้ าของรวมคนหนึ่ งมีอานาจทา
73

สิ่ งใดสิ่ งหนึ่งในทางจัดการตามธรรมดาได้ และอาจทาการเพื่ อ


รั กษาทรั พย์ สินได้ เสมอตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิ ชย์
มาตรา ๑๓๕๘ ทั้งเจ้ าของรวมคนหนึ่ง ๆ อาจใช้ สิทธิ อันเกิดแต่
กรรมสิ ทธิ์ ค รอบไปถึ ง ทรั พย์ ทั้ ง หมดเพื่ อ ต่ อสู้ กั บ บุ ค คล
ภายนอกตามมาตรา ๑๓๕๙ ได้ ด้ ว ย การบอกกล่ า วเปลี่ ย น
ลักษณะแห่ งการยึดถือ ตามมาตรา ๑๓๘๑ จึ งไม่ ต้องบอกกล่ าว
ไปยังเจ้ าของรวมหรื อผู้มีสิทธิ ครอบครองทุกคน แต่ กรณี ของ
ทรั พย์ มรดก มาตรา ๑๗๔๕ บัญญัติให้ ทายาทมีสิทธิ และหน้ าที่
เกี่ยวกับทรั พย์ มรดกร่ วมกันจนกว่ าจะได้ แบ่ งมรดกกันเสร็ จแล้ ว
และให้ ใช้ มาตรา ๑๓๕๖ ถึงมาตรา ๑๓๖๖ บังคับเพียงเท่ าที่ ไม่
ขัด กับบทบัญ ญัติ แ ห่ งบรรพ ๖ เมื่ อ มรดกยัง แบ่ ง กัน ไม่ เ สร็ จ
สิ ทธิ และหน้ าที่ อันเกี่ยวกับทรั พย์ มรดกย่ อมเป็ นของทายาทแต่
ละคนโดยเฉพาะ ทายาทคนหนึ่ งไม่ อาจใช้ สิทธิ เกี่ยวกับทรั พย์
มรดกในส่ วนที่ เ ป็ นของทายาทอี กคนหนึ่ ง ได้ ทั้ ง ไม่ อ าจน า
มาตรา ๑๓๕๘ และมาตรา ๑๓๕๙ มาใช้ บังคับได้ ด้วยเพราะถือ
ว่ าขัดกับบทบัญญัติแห่ งบรรพ ๖ มีผลให้ การบอกกล่ าวเปลี่ยน
ลักษณะแห่ งการยึดถือตามมาตรา ๑๓๘๑ จะต้ องบอกกล่ าวไป
ยังทายาททุกคน ทั้งนี ้ ตามคาพิ พากษาฎีกาที่ ๘๒๘๖/๒๕๔๔
จึงมิได้ ขดั แย้ งกัน
74

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๒


ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๕๐๑๖/๒๕๕๕ ฎ.๘๖๔ แม้ค น
ต่างด้าวจะได้มาซึ่ งที่ดินจะต้องเป็ นไปตามเงื่อนไขและวิธีการ
ซึ่ งกํา หนดโดยกฎกระทรวงและต้ อ งได้ รั บ อนุ ญ าตจาก
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย ตามประมวลกฎหมายที่ดิน
มาตรา ๘๖ ก็ตาม แต่ประมวลกฎหมายที่ดินไม่ได้ห้ามเด็ดขาด
ไม่ให้คนต่างด้าวได้มาซึ่ งที่ดิน เพียงแต่ตอ้ งปฏิบตั ิตามเงื่อนไข
ที่ ก ฎหมายกํา หนด การที่ ต. คนต่ า งด้า ว และจํา เลยร่ ว มกัน
ครอบครองที่ ดินและบ้านพิพาทเป็ นเวลาเกิ นกว่า ๑๐ ปี แล้ว
การครอบครองที่ ดินและบ้านพิพาทของ ต. จึงไม่เสี ยเปล่าไป
และยังมีผลตามกฎหมาย เมื่อ ต. ถึงแก่ความตายในปี ๒๕๓๔
จําเลยได้ครอบครองที่ดินและบ้านพิพาทต่อมาจาก ต. จึงเป็ น
การครอบครองที่ ดิ น เพื่ อ ตนต่ อ เนื่ อ งมาเกิ น กว่า ๑๐ ปี แล้ว
จําเลยจึงได้กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินโดยการครอบครองปรปั กษ์
ต. เป็ นคนต่ า งด้า วไม่ ปรากฏว่า มี ก ารดํา เนิ นการตาม
เงื่ อ นไขของกฎหมายซึ่ งจะทํา ให้ ต. สามารถถื อ ครอง
กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินได้ แม้การครอบครองที่ดินของ ต. จะไม่เสี ย
เปล่ า ไป แต่ ก็จ ะมาขอให้ศ าลแสดงกรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น ที่ ต.
ครอบครองปรปั กษ์ไม่ได้ หากศาลบังคับให้จะเป็ นทางให้ ต.
ได้ที่ดินอันเป็ นการฝ่ าฝื นต่อกฎหมาย คําขอของผูร้ ้องสอดซึ่ ง
75

เป็ นผูจ้ ดั การมรดกของ ต. ที่ขอให้ศาลมีคาํ สั่งให้ผรู ้ ้องสอดใน


ฐานะผูจ้ ัด การมรดกของ ต. ได้ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น โดยการ
ครอบครองปรปั กษ์จึงไม่ อาจบัง คับให้ได้ ผูร้ ้ องสอดจึ งไม่ มี
อํานาจยืน่ คําร้องสอดรวมทั้งมีคาํ ขออื่นที่อาศัยสิ ทธิของการเป็ น
เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ดว้ ย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๖๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๕ น.๑๕๔
การครอบครองทรัพย์สินของผูอ้ ื่นไว้โดยความสงบตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๘๒ นั้น จะต้องหมายความว่า ครอบครองอยูไ่ ด้โดย
ไม่ ไ ด้ถู ก กํา จัด ให้อ อกไป การที่ เ พี ย งแต่ โ ต้เ ถี ย งสิ ท ธิ ก ัน นั้น
ยังไม่ถือว่าเป็ นการครอบครองโดยไม่สงบ การที่ผูค้ ดั ค้านยื่น
คํา ร้ อ งคัด ค้า นคํา ร้ อ งขอของผู ้ร้ อ งเมื่ อ วัน ที่ ๒๗ สิ ง หาคม
๒๕๔๑ จึ ง เป็ นเพี ยงโต้เถี ย งสิ ทธิ ก ันเท่ า นั้น อี ก ทั้ง เมื่ อ ศาลมี
คําสั่งจําหน่ายคดีในคดีเดิมแล้ว ก็ไม่ปรากฏว่าผูค้ ดั ค้านได้ฟ้อง
ขับไล่ผรู ้ ้องแต่อย่างใด คงปล่อยให้ผรู ้ ้องครอบครองที่ดินพิพาท
ต่อมา สิ ทธิ ครอบครองของผูร้ ้องหาได้ถูก กําจัดให้ออกไปไม่
จึงมิใช่ เป็ นการรบกวนสิ ทธิ ครอบครองของผูร้ ้องอันจะถือว่า
ผูร้ ้องไม่ได้ครอบครองที่ดินพิพาทโดยความสงบแล้วได้ การที่
ผูร้ ้องยื่นคําร้องขอแสดงสิ ทธิ ในที่ดินพิพาทต่อศาลชั้นต้นครั้ง
แรกเมื่อวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๔๑ และศาลชั้นต้นมีคาํ สั่งให้
จําหน่ ายคดี เนื่ องจากผูร้ ้องไม่ชาํ ระค่าขึ้นศาลภายในระยะเวลา
76

ที่กาํ หนดนั้น ก็ไม่อาจหมายความได้ว่าผูร้ ้องไม่ประสงค์จะได้


กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินพิพาทโดยการร้ องขอครอบครองปรปั กษ์
ต่อไป ทั้งไม่มีผลต่อการนับระยะเวลาครอบครองที่ดินพิพาท
ของผูร้ ้องด้วย ดังนั้น นับแต่ผคู ้ ดั ค้านได้สิทธิ ในที่ดินพิพาทคือ
วันที่ ๑๓ สิ งหาคม ๒๕๓๓ จนถึงวันที่ผรู ้ ้องยืน่ คําร้องขอแสดง
กรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น พิ พ าทต่ อ ศาลชั้น ต้น ในที่ ๒๕ มิ ถุ น ายน
๒๕๔๔ เป็ นเวลาเกิ น ๑๐ ปี ผูร้ ้ อ งจึ ง ได้ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น
พิพาทโดยการครอบครองปรปักษ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒
คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๗๘๘/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๗ น.๒๑๒
กา รค รอ บ ค ร อง ที่ ดิ น ข อ งผู ้ อื่ น จ น ไ ด้ ก รร ม สิ ท ธิ์ โ ด ย
การครอบครองปรปั ก ษ์ต าม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ นั้ น
ผูค้ รอบครองต้องครอบครองโดยความสงบและโดยเปิ ดเผย
ด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของติดต่อกันเป็ นเวลาสิ บปี การที่จะพิจารณา
ว่าจําเลยครอบครองที่ดินพิพาทด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของหรื อไม่
จึงต้องพิจารณาถึงพฤติการณ์แห่ งการเข้ายึดถือครอบครองอยู่
อาศัย ของจํา เลยในที่ ดิ น พิ พ าทว่ า เป็ นการครอบครองที่ ดิ น
พิพาทอย่างเป็ นเจ้าของหรื อไม่
ที่ดินของโจทก์มีผบู ้ ุกรุ กเข้าไปปลูกบ้านอยูอ่ าศัยจํานวน
มากจนเป็ นชุ ม ชนแออัด สภาพบ้า นที่ ปลูก อยู่กนั อย่า งแออัด
มีลกั ษณะไม่แน่นหนาถาวร ใช้สังกะสี และไม้เก่ามาปลูกสร้าง
77

สามารถปลูกสร้างต่อเติมและรื้ อถอนได้โดยง่าย สภาพบ้านของ


จําเลยซึ่งปลูกอยูใ่ นที่ดินพิพาทมีลกั ษณะเป็ นบ้านชั้นเดียวอยูใ่ น
สภาพไม่แน่นหนาถาวร ฝากั้นด้วยไม้และสังกะสี เก่า หลังคามุง
ด้วยสั งกะสี เก่ า มี สภาพต้องซ่ อมแซมบ่ อ ย ลัก ษณะการปลู ก
สร้ า งอยู่เ บี ย ดเสี ย ดแทรกอยู่ก ับ บ้า นหลัง อื่ น ไม่ มี แ นวเขตที่
ชัดเจน ตัวบ้านไม่มนั่ คงแข็งแรง การปลูกสร้างเข้าลักษณะเป็ น
การปลูกสร้างเพื่ออยู่อาศัยชัว่ คราว พร้อมที่จะรื้ อถอน ซึ่ งการ
เข้ามาปลูกบ้านในลักษณะนี้ เป็ นการกระทําโดยพลการ อาศัย
โอกาสที่ ผูบ้ ุ ก รุ ก เข้า มาปลู ก สร้ า งบ้า นอยู่ใ นที่ ดิ น ของโจทก์
จํานวนมาก จึงยากในการตรวจสอบว่าเป็ นบ้านของใคร และ
แม้บา้ นของจําเลยที่ปลูกอยูใ่ นที่ดินพิพาทมีเลขที่บา้ นและได้ขอ
ติดตั้งนํ้าประปาและไฟฟ้ า และจําเลยแสดงแก่บุคคลทัว่ ไปว่า
บ้านดังกล่าวเป็ นของจําเลย แต่จาํ เลยเพียงแต่นาํ บ้านเลขที่เดิม
ของบิ ด ามารดาของจํา เลยที่ ปลู ก อยู่ใ นที่ ดิ น ที่ เ ช่ า อยู่บ ริ เ วณ
ใกล้เคียงกับที่ดินพิพาทและอยูน่ อกเขตที่ดินของโจทก์ ซึ่ งบิดา
มารดาของจําเลยรื้ อถอนบ้านไปแล้วมาใช้เป็ นเลขที่บา้ นของ
จําเลยที่จาํ เลยและบิดามารดาของจําเลยบุกรุ กเข้ามาปลูกอาศัย
ในที่ดินพิพาทของโจทก์ พฤติกรรมของจําเลยที่ปิดบังอําพราง
ให้บุคคลอื่นเข้าใจว่าบ้านของจําเลยที่ปลูกอยู่ในที่ดินพิพาทมี
บ้านเลขที่ ๘๐๙ ทั้งที่บา้ นของจําเลยไม่มีเลขที่ประจําบ้าน ทํา
78

ให้เจ้าหน้าที่การประปานครหลวงและเจ้าหน้าที่การไฟฟ้ านคร
หลวงหลงเชื่ อ มาติ ด ตั้ง ประปาและไฟฟ้ าให้ แ ก่ บ้า นจํา เลย
ประกอบกับจําเลยไม่ เคยอ้างสิ ทธิ ในที่ ดินพิพาทเพื่อเสี ยภาษี
บํารุ งท้องที่หรื อภาษีโรงเรื อนและจําเลยไม่ได้ร้องขอต่อศาลขอ
แสดงกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์ ทั้ง
ที่ จ าํ เลยอ้า งว่ า ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทของโจทก์ม าตั้ง แต่ ปี
๒๕๑๔ แต่ จาํ เลยเพิ่งมาฟ้ องแย้งขอแสดงกรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดิน
พิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์เมื่อถูกฟ้ องขับไล่คดีน้ ี จึงยัง
ไม่ แน่ ชัดว่าก่อนหน้านี้ จาํ เลยมีเจตนาครอบครองที่ดินพิพาท
ของโจทก์ อ ย่ า งเป็ นเจ้า ของ พฤติ ก ารณ์ ฟั ง ไม่ ไ ด้ว่ า จํา เลย
ครอบครองที่ดินพิพาทด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ จําเลยจึงไม่ได้
กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินพิพาทพิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ ย่อมไม่อาจยกข้ออ้างว่าโจทก์ซ้ื อที่ดิน
พิพาทและจดทะเบียนรับโอนมาโดยไม่ สุจริ ต จึงไม่มีอาํ นาจ
ฟ้ องขับไล่และเรี ยกค่าเสี ยหายจากจําเลยได้
ค าพิพ ากษาฎี ก าที่ ๓๘๗๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๙ น.๖๗
หนังสื อสัญญาซื้ อขายอาคารพาณิ ชย์และที่ดิน ข้อ ๓. ระบุว่า
ผูซ้ ้ื อต้องชําระราคาแก่ผขู ้ ายในวันทําสัญญาจํานวน ๖๐๐,๐๐๐
บาท และข้อ ๕. สําหรับราคาอาคารพาณิ ชย์และที่ ดินส่ วนที่
เหลืออีกจํานวน ๒,๑๐๐,๐๐๐ บาท ผูซ้ ้ื อต้องชําระในวันรับโอน
79

กรรมสิ ทธิ์ อาคารพาณิ ชย์และที่ดินดังกล่าวตามสัญญานี้ โดย


ผูข้ ายจะเป็ นผูน้ าํ ผูซ้ ้ื อไปจดทะเบียนที่สาํ นักงานที่ดิน ผูซ้ ้ื อต้อง
ไปจดทะเบี ยนรั บโอนกรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดิ นและอาคารพาณิ ช ย์
ภายในกํา หนด ๗ วัน นับ แต่ ว นั ที่ ไ ด้รั บ แจ้ง เป็ นลายลัก ษณ์
อัก ษรจากผูข้ าย แสดงว่า หนัง สื อ สั ญ ญาซื้ อ ขายดัง กล่ าวเป็ น
สัญญาจะซื้ อจะขายที่ดินและอาคารไม่ ใช่ สัญญาซื้ อขายเสร็ จ
เด็ดขาด เพราะในวันทําสัญญามีการชําระราคาที่ดินและอาคาร
เพี ย งบางส่ ว นเท่ า นั้ น ราคาส่ ว นที่ เ หลื อ จะชํา ระในวัน จด
ทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ที่ดินและอาคาร
โจทก์จดทะเบี ยนโอนกรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินให้แก่ จาํ เลย
เนื้ อที่รวม ๒๔ ตารางวา เหลือที่ดินที่ยงั ไม่ได้จดทะเบียนโอน
อีกจํานวน ๔ ตารางวา ซึ่ งจําเลยยังคงประสงค์ให้โจทก์ปฏิบตั ิ
ตามสัญญาและมิได้บอกเลิกสัญญา สัญญาซื้ อขายอาคารและ
ที่ ดินจึ งยังคงมี ผ ลผูกพันโจทก์แ ละจําเลยอยู่ การครอบครอง
ที่ดินจํานวน ๔ ตารางวาของจําเลยย่อมเป็ นการครอบครองโดย
อาศัยสิ ทธิตามสัญญาและเป็ นเพียงการที่จาํ เลยครอบครองแทน
โจทก์ ซึ่ ง ยัง เป็ นผูถ้ ื อ กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดิน จํา นวน ๔ ตารางวา
เท่ า นั้น เมื่ อ จํา เลยไม่ ไ ด้บ อกกล่ า วเปลี่ ย นลัก ษณะการยึด ถื อ
ครอบครองแก่โจทก์ว่าจะไม่ครอบครองที่ดินจํานวน ๔ ตาราง
วา แทนโจทก์ต่อไป จึงมิใช่ การครอบครองโดยความสงบและ
80

โดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ แม้จาํ เลยจะครอบครองที่ดิน


จํา นวน ๔ ตารางวานับติ ด ต่ อ กัน เป็ นเวลาเกิ น ๑๐ ปี จํา เลย
ก็ไม่ได้กรรมสิ ทธิ์โดยการครอบครองปรปักษ์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๖๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๙ น.๑๖๔ การ
แสดงเจตนาเป็ นเจ้าของที่จะทําให้ผคู ้ รอบครองได้กรรมสิ ทธิ์
ในที่ดินที่ครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ นั้น ต้องเป็ น
การแสดงเจตนาเป็ นเจ้าของตลอดระยะสิ บปี ที่ได้ครอบครอง
ติดต่อกัน เมื่อครบสิ บปี แล้วผูค้ รอบครองย่อมได้กรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ดินที่ครอบครองไปโดยผลของกฎหมาย เมื่อผูร้ ับมอบอํานาจ
โจทก์ไปพบว่ามีบา้ นจําเลยปลูกอยู่บนที่ ดินซึ่ งเป็ นระยะเวลา
หลังจากที่โจทก์ซ้ื อที่ดินพิพาทมาแล้วถึง ๒๒ ปี จึงมีการเจรจา
ที่จะให้จาํ เลยรั บซื้ อที่ ดินพาท ดังนั้น แม้จะฟั งว่าการที่ จาํ เลย
ตกลงจะซื้ อที่ดินพิพาทเป็ นการยอมรับในกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินของ
โจทก์ แต่ ก็เ ป็ นการยอมรั บหลังจากที่ จาํ เลยได้กรรมสิ ทธิ์ ใน
ที่ ดิ น พิ พ าทโดยการครอบครองปรปั ก ษ์ แ ล้ ว จึ ง ไม่ มี ผ ล
เปลี่ยนแปลงกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทที่จาํ เลยได้รับโดยผลของ
กฎหมายแต่อย่างใด เมื่อจําเลยได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินพิพาทโดย
การครอบครองปรปักษ์แล้ว โจทก์ไม่มีอาํ นาจฟ้ องขับไล่จาํ เลย
ข้ อสั งเกต คดี นี้วินิจฉั ยต่ างจากกรณี ครอบครองปรปั กษ์ ที่ดิน
ข้ างเคี ยงจนได้ กรรมสิ ทธิ์ แต่ เมื่อรั งวัดแล้ วยอมชี ้เขตตามแนว
81

เขตในโฉนดที่ ดิ น ซึ่ ง คดี นั้ น ศาลฎี ก าถื อ ว่ า ผู้ ค รอบครอง


ปรปั กษ์ สละการครอบครอง ทาให้ การครอบครองสิ ้ นสุ ดลง
(คาพิ พากษาฎี กาที่ ๗๓๘๒/๒๕๔๘) เหตุผลคงเป็ นเพราะคดี
นั้น เมื่อรั งวัดแล้ วยอมชี ้เขตตามแนวเขตในโฉนดที่ ดิน ก็ถือว่ า
ยอมมอบการครอบครองคื น เจ้ า ของเดิ ม แต่ คดี ต ามฎี ก านี ้
ผู้ครอบครองปรปั กษ์ ยังต้ องการที่ ดิน อยู่ เพี ยงแต่ ยังตกลงกัน
ไม่ ได้ จึงไม่ ถือว่ าสละการครอบครอง
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๐๗๒๓/๒๕๕๔ ฎ.๒๑๐๑ การ
ครอบครองปรปั กษ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ หมายถึง การ
ได้ ก รรมสิ ท ธิ์ ในทรั พ ย์สิ นของผู ้อื่ น โดยการครอบครอง
ในเบื้ อ งต้น ทรั พ ย์สิ น ของผูอ้ ื่ น ที่ ค รอบครองปรปั ก ษ์ไ ด้น้ ัน
จะต้องเป็ นทรัพย์สินที่เจ้าของมีกรรมสิ ทธิ์ หากเจ้าของมีเพียง
สิ ทธิ ครอบครองจะอ้างการครอบครองปรปั กษ์ตามบทบัญญัติ
ดังกล่าวเพื่อให้ได้กรรมสิ ทธิ์มิได้
จํา เลยเข้า ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทมาก่ อ นที่ ดิ น พิ พ าท
ออกเป็ นโฉนดที่ดิน จึงไม่อาจนับระยะเวลาครอบครองดังกล่าว
รวมเข้ากับระยะเวลาครอบครองปรปั กษ์ไม่ว่าจําเลยครองครอง
ช้านานเพียงใดก็ไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ การที่จาํ เลยครอบครองที่ดิน
พิพาทมาตั้งแต่เป็ นที่ดินที่มีแบบแจ้งการครอบครอง (ส.ค.๑) ก็
ไม่ใช่ ยึดถือเพื่อตนเองแต่เป็ นการครอบครองแทน ห. เมื่อ ห.
82

ถึงแก่ความตาย จําเลยคงครอบครองแทนทายาทของ ห. ตลอด


มา ที่ดินพิพาทเป็ นส่ วนหนึ่ งของที่ดินที่ออกโฉนดที่ดินให้แก่
โจทก์เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๓๖ และจําเลยไม่ได้คดั ค้านการ
ขอออกโฉนดที่ ดิ น ตามโฉนดรวมทั้ง ที่ ดิ น พิ พ าทย่ อ มเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ ของโจทก์นับ แต่ ว นั ออกโฉนด แม้นับแต่ ว นั ที่ ๕
ตุลาคม ๒๕๓๖ จําเลยยังคงครอบครองที่ดินพิพาทโดยความ
สงบและโดยเปิ ดเผย แต่จาํ เลยได้แสดงเจตนาเปลี่ยนลักษณะ
แห่งการยึดถือแจ้งไปยังโจทก์วา่ จําเลยมีเจตนายึดถือที่ดินพิพาท
เพื่อตน ก็เนื่องมาจากจําเลยเข้าใจว่าที่ดินพิพาทเป็ นทรัพย์มรดก
ของ ห. ที่ ส. ในฐานะผูจ้ ดั การมรดกยังไม่ได้แบ่งให้แก่ทายาท
การที่ จ ํา เลยครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทนับ แต่ ว ัน ที่ ๕ ตุ ล าคม
๒๕๓๖ ถื อ ไม่ ได้ว่าครอบครองด้ว ยเจตนาเป็ นเจ้า ของ แต่ มี
เจตนาครอบครองแทนทายาทของ ห. อยู่จนกระทัง่ วันที่ ๒๙
สิ งหาคม ๒๕๓๗ ส. ยกที่ดินให้จาํ เลยซึ่งจําเลยเข้าใจผิดว่าที่ดิน
พิพ าทเป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของที่ ดิ น โฉนดดัง กล่ า ว จึ ง ถื อ ว่า จํา เลย
ครอบครองที่ ดิ น ด้ ว ยเจตนาเป็ นเจ้ า ของนั บ แต่ ว ัน ที่ ๒๙
สิ งหาคม ๒๕๓๗ เป็ นต้นไป เมื่อถึงวันฟ้ องวันที่ ๒๓ สิ งหาคม
๒๕๔๗ ยัง ไม่ เ กิ น ๑๐ ปี จํา เลยจึ ง ยัง ไม่ ไ ด้ก รรมสิ ท ธิ์ ตาม
มาตรา ๑๓๘๒
83

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๕


ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๐๓๑/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๕ น.๓๘
โจทก์เ ป็ นเจ้าของที่ ดิ นตามหนังสื อ รั บรองการทํา ประโยชน์
ที่ ดิ นตามแบบแจ้ง การครอบครองที่ ดิน (ส.ค.๑) และที่ ดิ น มี
หลัก ฐานตามแบบเสี ยภาษี บาํ รุ ง ท้อ งที่ (ภ.บ.ท.๕) โดยบิ ด า
มารดาของเจ้าของที่ดินและชาวบ้านใช้ทางพิพาทซึ่ งผ่านที่ดิน
ตามหนังสื อรับรองการทําประโยชน์ของจําเลยเป็ นทางออกสู่
สาธารณะเพื่อเข้าสู่ ตวั เมืองเชี ยงใหม่ต้ งั แต่ปี ๒๔๙๘ เมื่อโจทก์
ซื้อที่ดินแล้วโจทก์ทาํ ถนนขึ้นมาผ่านที่พิพาทเข้าไปในที่ดินของ
โจทก์ จําเลยก็ไม่ห้ามปรามกลับปล่ อยให้โจทก์ใช้ทางต่ อไป
เป็ นเวลาถึ ง ๘ ปี เศษ แม้โจทก์จะซื้ อที่ดินตามหนังสื อรั บรอง
การทําประโยชน์ที่ดินตามแบบแจ้งการครอบครองที่ดิน (ส.ค.
๑) และที่ดินมีหลักฐานตามแบบเสี ยภาษีบาํ รุ งท้องที่ (ภ.บ.ท.๕)
ต่ อ จากเจ้า ของเดิ ม นับถึ ง วัน ฟ้ องจะยัง ไม่ ค รบ ๑๐ ปี แต่ เ มื่ อ
เจ้า ของเดิ ม ได้ใ ช้ท างพิ พ าทโดยเจตนาให้ เ ป็ นทางเข้า ออก
ประจํา มาตั้ ง แต่ ต ้ น โจทก์ จึ ง สามารถนั บ ระยะเวลาการ
ครอบครองต่อจากเจ้าของเดิ มได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๕
ที่ดินตามหนังสื อรับรองการทําประโยชน์ของจําเลยจึงตกเป็ น
ภาระจํายอมแก่ที่ดินทั้งสามแปลงของโจทก์
84

ข้ อสั งเกต การแย่ งที่ดินมือเปล่ า ถ้ าผู้ครอบครองไม่ ฟ้องเรี ยกคื น


ภายใน ๑ ปี ย่ อมหมดสิ ทธิ เรี ยกคื นการครอบครองตามมาตรา
๑๓๗๕ แต่ ถ้าถูกรบกวนการครอบครองโดยเดินผ่ านเพื่อจะเอา
ภาระจายอมดังเช่ นคดีนี้ ต้ องเดิน ๑๐ ปี จึงจะได้ ภาระจายอม

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๗


คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๐๘/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล.๑ น.๔๕ บ.ได้
ดํา เนิ น การแบ่ ง แยกที่ ดิ น ออกเป็ นคราว ๆ แล้ว นํา ที่ ดิ น ปลู ก
สร้างอาคารนําออกจําหน่าย ลักษณะการแบ่งแยกที่ดินออกเป็ น
แปลงย่อยเพื่อทําอาคารพาณิ ชย์ออกจําหน่าย แม้จะทําทีละคราว
คราวละไม่เกิ น ๑๐ แปลง อันไม่ ตอ้ งขออนุ ญาตทําโครงการ
จัด สรรตามที่ บัญ ญัติ ไ ว้ใ นประกาศของคณะปฏิ ว ตั ิ ฉบับ ที่
๒๘๖ ก็ต าม แต่ เ จตนาของ บ. ที่ แ ท้จ ริ ง ก็คื อ การแบ่ ง ที่ ดิ น
ออกเป็ นแปลงย่อ ยเกิ น กว่า ๑๐ แปลง เพื่ อ ปลู ก สร้ า งอาคาร
พาณิ ชย์จาํ หน่าย อันติดอยูภ่ ายใต้บงั คับประกาศของคณะปฏิวตั ิ
ฉบับที่ ๒๘๖ ที่กาํ หนดให้ที่พิพาทซึ่ งมีสภาพเป็ นถนนตกเป็ น
ภาระจํายอม ซึ่ งตามสําเนาโฉนดที่ ดินก็ได้มีการระบุ ยอมให้
ที่ดินพิพาทตกเป็ นภาระจํายอมของที่ดินอื่ นจํานวน ๕ แปลง
แสดงว่าสภาพของที่ดินพิพาทมีการกําหนดให้เป็ นถนนอันเป็ น
ภาระจํายอมของที่ดินที่มีการแบ่งแยก ดังนั้น เมื่อ บ. ได้มีการ
85

แบ่ ง ที่ ดิ น ออกเป็ นคราว ๆ แต่ เ ป็ นการแบ่ ง เพื่ อ มิ ใ ห้ ก าร


ดําเนิ นการแต่ ละคราวมี ที่ดินเกิ นกว่า ๑๐ แปลง อันจะตกอยู่
ภายใต้ขอ้ บัง คับที่ จะต้องปฏิ บตั ิ ตามเงื่ อ นไขในประกาศของ
คณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ ๒๘๖ ก็ตาม ก็หามีผลให้การดําเนินการของ
บ. พ้นไปจากเงื่อนไขภาระที่ กฎหมายกําหนดเพื่อประโยชน์
ของผูบ้ ริ โภคที่ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ ๒๘๖ ประสงค์
จะคุ ้ม ครองไม่ ที่ ดิ น พิ พ าทตกเป็ นภาระจํา ยอมตามผลของ
กฎหมายแล้ว
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๖๗๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๔ น.๑๒๓
โจทก์มิได้พกั อาศัยอยูใ่ นที่ดินโฉนดเลขที่ ๓๒๓ ของจําเลย แต่
พัก อยู่ ที่ บ้า นอี ก หลัง หนึ่ งซึ่ งอยู่ ต รงกัน ข้า มกับ ที่ ดิ น แปลง
ดั ง กล่ า ว ในการเดิ น ทางออกจากบ้ า นพั ก ของโจทก์ ไม่
จําเป็ นต้องใช้ที่ดินของจําเลยเป็ นทางเข้าออก ที่โจทก์อา้ งว่า
โจทก์จะใช้ที่ดินของจําเลยเป็ นทางเข้าออกสู่ ที่ดินของโจทก์ซ่ ึ ง
อยู่ลึกเข้าไปทางทิ ศใต้ของที่ ดินจําเลย ประกอบกับในช่ วงที่
โจทก์ให้ อ. เช่าที่ดินของโจทก์ประกอบธุ รกิจ โจทก์จาํ เป็ นต้อง
เดินผ่านที่ดินของจําเลยเข้าไปยังที่ดินของโจทก์ เพื่อตรวจสอบ
แนวเขตที่ ดิ น ของโจทก์ ว่ า ถู ก เจ้า ของที่ ดิ น ข้า งเคี ย งบุ ก รุ ก
หรื อ ไม่ โดยจํา เลยไม่ เ คยทัก ท้ว งห้า มปรามเลย ก็ป รากฏว่ า
ขณะนั้นจําเลยติดป้ ายมีขอ้ ความระบุว่าที่ดินของจําเลยเป็ นทาง
86

ส่ วนบุคคล ซึ่ งจําเลยขอสงวนสิ ทธิ การที่จาํ เลยติดป้ ายระบุว่า


เป็ นทางส่ วนบุคคลสงวนสิ ทธิ แม้จะได้ความว่าจําเลยยอมให้
โจทก์ใช้ที่ดินของจําเลยเป็ นทางเข้าออกไปสู่ ทางสาธารณะได้
ก็เห็นได้ว่าเป็ นการใช้โดยได้รับอนุ ญาตจากจําเลย หาใช่ เป็ น
การใช้โดยพลการโดยอาศัยอํานาจของโจทก์ไม่ ประกอบกับ
ส. ซึ่ งเคยเช่ าที่ดินจากโจทก์ให้แก่ อ. ก็เคยขออนุ ญาต จ. บิดา
ของจําเลยใช้ที่ดินของจําเลยเป็ นทางเข้าออก โดยมอบเงินให้แก่
จ. ๕๐,๐๐๐ บาท การที่ อ. ซึ่ งเช่าที่ดินจากโจทก์เป็ นอาคารที่ทาํ
การใช้ที่ดินของจําเลยเป็ นทางเข้าออก จึงเป็ นการใช้โดยได้รับ
อนุญาตจาก จ. ทั้งยังต้องเสี ยค่าใช้จ่ายตอบแทนให้แก่ จ. หาใช่
เป็ นการใช้โดยอาศัยอํานาจของโจทก์อนั จะส่ งผลให้ที่ดินของ
จําเลยตกเป็ นทางภาระจํายอมแก่ที่ดินของโจทก์ไม่

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๘


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๙๙/๒๕๕๔ ฎ.๙๑๕ แม้ที่ดินพิพาท
ตกอยู่ในภาระจํายอมแก่ที่ดินของโจทก์ ต้องยอมให้โจทก์และ
บริ วารใช้เป็ นทางเข้าออกซอยร่ มเย็นอันเป็ นทางสาธารณะอัน
เป็ นลักษณะใช้เป็ นทางผ่านเท่าที่โจทก์และบริ วารต้องการจะใช้
แต่ จ าํ เลยในฐานะเจ้า ของที่ ดินพิ พาทย่อมมี สิทธิ ที่จะใช้สอย
ที่ดินพิพาทอย่างเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ เพียงแต่การใช้ประโยชน์
87

ของจําเลยต้องไม่ทาํ ให้การใช้เส้นทางในที่ดินพิพาทของโจทก์
เสื่ อมความสะดวกหรื อทําให้ประโยชน์ในการใช้ที่ดินพิพาท
ของโจทก์ล ดลง การที่ โ จทก์ก่ อ สร้ า งเพิ ง เก็บสิ น ค้า ในที่ ดิ น
พิพาท อัน เป็ นการครอบครองที่ ดิน พิพาทเนื้ อ ที่ ๔ ตารางวา
เพื่ อ ประโยชน์ ข องโจทก์แ ต่ เ พี ย งผู ้เ ดี ย ว โดยจํา เลยซึ่ งเป็ น
เจ้าของที่ดินไม่อาจใช้ประโยชน์จากที่ดินพิพาทในส่ วนนั้นได้
ย่อมทําให้เกิดภาระเพิ่มขึ้นแก่ที่ดินพิพาทอันเป็ นภารยทรัพย์ ทํา
ให้ เ จ้า ของภารยทรั พ ย์ไ ด้รั บ ความเสี ย หาย แม้โ จทก์จ ะได้
ก่อสร้างเพิงเก็บสิ นค้าในที่ดินพิพาทมาก่อนที่ดินพิพาทตกเป็ น
ของจําเลย เมื่ อจําเลยซึ่ งเป็ นเจ้าของภารยทรั พย์บอกกล่ าวให้
โจทก์ร้ื อถอนเพิงเก็บสิ นค้าแต่ โจทก์เพิกเฉย ย่อมเป็ นการทํา
ละเมิด โจทก์จึงต้องรับผิดชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ จาํ เลย
ตามฟ้ องแย้ง
แม้จ าํ เลยจะมิ ไ ด้เ ป็ นผูก้ ่ อ สร้ า งรั้ วคอนกรี ต แต่ ก ารที่
จําเลยเป็ นเจ้าของที่ดินพิพาทซึ่งเป็ นภารยทรัพย์มาตั้งแต่ก่อน อ.
ได้รับโอนมาซึ่ ง อ. ย่อมไม่มีสิทธิ ที่จะก่อสร้างรั้วคอนกรี ตอัน
ทําให้โจทก์หรื อบุคคลอื่นซึ่งเป็ นเจ้าของสามยทรัพย์เสื่ อมความ
สะดวกหรื อใช้ประโยชน์ในภารยทรัพย์ลดลง เมื่อจําเลยได้รับ
โอนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิน พิ พ าทมาจาก อ. จํา เลยจึ ง รั บโอนมาทั้ง
หน้าที่เจ้าของภารยทรัพย์ที่ไม่อาจทําให้ประโยชน์ของเจ้าของ
88

สามยทรัพย์ลดหรื อเสื่ อมความสะดวกด้วยเช่ นกัน จําเลยจึงมี


หน้าที่ร้ื อถอนรั้วคอนกรี ตออกไปจากที่ดินพิพาท
จําเลยก่อสร้างโครงเหล็กหลังคาโดยยึดกับผนังอาคาร
โรงงานของจําเลยซึ่ งตั้งอยู่ติดกับที่ดินพิพาทโดยไม่มีเสาหรื อ
ส่ วนหนึ่งส่ วนใดของโครงเหล็กหลังคาติดตั้งอยูบ่ นที่ดินพิพาท
อัน เป็ นภารยทรั พ ย์เ ลย ทั้ง ส่ ว นตํ่า สุ ด ของโครงสร้ า งเหล็ ก
หลังคายังอยู่สูงกว่าหลังคาทรงสู งของรถยนต์ปิกอัพที่จอดอยู่
บนที่ดินพิพาทไม่นอ้ ยกว่า ๒ ฟุต แสดงว่าโครงเหล็กหลังคาที่
จําเลยก่ อสร้ างคลุมที่ ดินพิพาท ไม่ ทาํ ให้การใช้ประโยชน์ใน
ที่ดินพิพาทของโจทก์ลดหรื อเสื่ อมความสะดวก

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๙๐


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๓๐๔/๒๕๕๔ ฎ.๙๔๒ แบบแปลน
บ้านของจําเลยมีจุดกําหนดที่จะก่อสร้างสระว่ายนํ้าแยกต่างหาก
จากตัวบ้าน โดยส่ วนของตัวบ้านตั้งอยู่นอกแนวเขตที่กาํ หนด
ห้ามปลูกสร้าง แต่ในส่ วนของสระว่ายนํ้าบางส่ วนยังอยูใ่ นเขต
ที่ ห้ามปลูกสร้ าง แม้จะฟั งว่าโจทก์อ นุ ญาตให้จาํ เลยก่ อสร้ า ง
บ้านตามแบบแปลนดังกล่าว แต่จาํ เลยยังต้องตกอยู่ในบังคับ
ภาระจํายอมที่จะไม่ปลูกสร้างบ้านและสิ่ งปลูกสร้างอื่นใดให้มี
ความสู งเกิ น ๑๒ เมตร และมีระยะห่ างจากที่ ดินโฉนดเลขที่
89

๖๔๔๗ ของโจทก์ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า ๑๐ เมตร ตามสารบัญ จด


ทะเบียนท้ายโฉนดที่ ดิน เมื่อจําเลยรั บว่าสระว่ายนํ้าบางส่ วน
ห้อ งอาบนํ้า และบัน ไดท่ า นํ้า สร้ า งลํ้า แนวเขตซึ่ งเป็ นระยะ
ถอยร่ นตามที่จดทะเบียนภาระจํายอมแล้ว ถือได้วา่ จําเลยซึ่ งเป็ น
เจ้าของภารยทรัพย์ทาํ ให้ประโยชน์แห่ งภาระจํายอมลดไปหรื อ
เสื่ อมความสะดวกทําให้โจทก์ได้รับความเสี ยหาย จึงเป็ นการ
กระทําละเมิดสิ ทธิ ของโจทก์

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๙๒


คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๑๕๓/๒๕๕๓ ฎ.๑๖๙๐ ทางภาระ
จํายอมเดิ มเป็ นที่ ต่ าํ จึ งต้อ งสร้ างสะพานไม้ข้ ึ นเป็ นทางเดิ น มี
ความกว้างเพียง ๗๐ ถึง ๘๐ เซนติเมตร ส่ วนถนนที่จาํ เลยทั้งเจ็ด
สร้างขึ้นใหม่เป็ นถนนคอนกรี ตเสริ มเหล็กถาวรมัน่ คงมีความ
กว้างถึ งประมาณ ๖ เมตร ใช้เป็ นทางเดิ นและทางรถยนต์ได้
สะดวกสบายกว่ า ทางภาระจํา ยอมเดิ ม มาก ทั้ง ยัง ปรากฏว่ า
ตึกแถวที่จาํ เลยทั้งเจ็ดก่อสร้างมีจาํ นวนถึง ๓ คูหา ที่รุกลํ้าเข้ามา
ทับทางภาระจํายอมบางส่ วนซึ่ งหากต้องมี การรื้ อ ตึ ก แถวใน
ส่ ว นที่ รุ ก ลํ้า ทุ ก คู ห าย่อ มจะเกิ ด ความเสี ย หายเป็ นอย่า งมาก
ดังนั้น การย้ายทางภาระจํายอมความยาว ๖๓ เมตร จากที่เดิมไป
ยังถนนคอนกรี ตที่ จาํ เลยทั้งเจ็ดสร้ างขึ้ นจึ งเป็ นประโยชน์แก่
90

จํา เลยทั้ งเจ็ ด รวมถึ ง โจทก์ ท้ ั งเจ็ ด และยัง เหมาะสมกั บ


สภาพการณ์ ในปั จจุบนั อี กด้วย จําเลยทั้งเจ็ดจึงมีสิทธิ เรี ยกให้
ย้ายทางภาระจํายอมดังกล่าวไปยังถนนที่จาํ เลยทั้งเจ็ดสร้างขึ้น
ใหม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๓๙๒
ซึ่งการย้ายทางภาระจํายอมดังกล่าวไม่เป็ นการต้องห้ามหรื อขัด
กับคําวินิจฉัยชี้ ขาดและคําพิพากษาของศาลฎีกา เพราะมาตรา
๑๓๙๒ มิได้ระบุระยะเวลาที่อาจจะเรี ยกให้ยา้ ยภาระจํายอมไว้
ว่าจะต้องกระทําภายในระยะเวลาใดและต้องการกระทําก่อน
คดีถึงที่สุดหรื อไม่ เพียงแต่ระบุให้เจ้าของภารยทรัพย์ที่ขอย้าย
ต้องแสดงให้เห็นได้ว่าการย้ายนั้นเป็ นประโยชน์แก่ตนและรับ
จะเสี ยค่าใช้จ่ายหากมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น ทั้งจะต้องไม่ทาํ ให้ความ
สะดวกของเจ้าของสามยทรัพย์ลดน้อยลง ก็เพียงพอที่จะเรี ยก
ให้ ย ้า ยภาระจํา ยอมได้ แ ล้ว ประกอบกับ เจตนารมณ์ ข อง
บทบัญญัติแห่ งกฎหมายมาตราดังกล่ าวก็เพื่อต้องการให้เป็ น
หลัก ประนี ป ระนอมอัน ดี ร ะหว่ า งประโยชน์ ข องเจ้า ของ
ภารยทรัพย์และความสะดวกของเจ้าของสามยทรัพย์โดยไม่ถือ
เคร่ งครัดตามสิ ทธิ เกินไปด้วย ดังนั้น ตราบใดที่การบังคับคดียงั
ไม่เสร็จสิ้ น การขอให้ยา้ ยทางภาระจํายอมก็ยอ่ มสามารถกระทํา
ได้ แม้จะมีคาํ พิพากษาศาลฎีกาเป็ นที่สุดแล้วก็ตาม
91

เมื่อจําเลยทั้งเจ็ดขอให้โจทก์ท้ งั เจ็ดย้ายทางภาระจํายอม
เดิ มมายังถนนคอนกรี ตที่จาํ เลยทั้งเจ็ดสร้ างขึ้นใหม่แล้วถนน
คอนกรี ตย่อมตกเป็ นทางภาระจํายอมแทนทางภาระจํายอมซึ่ ง
เป็ นสะพานไม้ เ ดิ ม จํา เลยทั้ งเจ็ ด จึ ง ต้อ งจดทะเบี ย นถนน
คอนกรี ตให้เป็ นทางภาระจํายอมแทนทางภาระจํายอมเดิมด้วย
โดยจําเลยทั้งเจ็ดไม่ตอ้ งสร้างสะพานไม้ข้ ึนมาบนทางภาระจํา
ยอมนี้อีก

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๔๐๑


คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๐๗/๒๕๕๔ ฎ.๔๘๔ การได้มาซึ่ ง
ภาระจํา ยอมโดยอายุ ค วาม ผูเ้ ป็ นเจ้า ของทรั พ ย์ต ้อ งใช้สิ ท ธิ
ในทางภาระจํายอมโดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาให้
เป็ นทางภาระจํายอมเป็ นเวลาสิ บปี ติดต่อกัน เมื่อโจทก์เริ่ มถือ
สิ ทธิ ใช้ทางเดินพิพาทมาตั้งแต่ปี ๒๕๒๘ แต่จาํ เลยที่ ๔ ได้ปิด
ทางพิ พ าทเมื่ อ ปลายปี ๒๕๓๑ จนโจทก์ต ้อ งฟ้ องคดี ข อให้
เปิ ดทางและจําเลยที่ ๔ ยอมเปิ ดทางให้โจทก์ในปี ๒๕๓๓ จะ
ถื อ ว่ า โจทก์ ไ ด้ ใ ช้ ท างเดิ น พิ พ าทมาตั้ง แต่ ปี ๒๕๒๘ ถึ ง ปี
๒๕๔๐ โดยความสงบหาได้ไม่ ทางเดินพิพาทจึงยังไม่ตกเป็ น
ภาระจํายอมแก่ที่ดินโจทก์
92

คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๘๘๓/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๓ น.๑๕๑


โจทก์ฟ้ องและนํา สื บ ว่า ทางพิ พ าทเป็ นทางจํา เป็ นเนื่ อ งจาก
โจทก์ไม่มีทางเข้าออกสู่ ทางสาธารณะด้านอื่นได้ ดังนั้น การใช้
ทางพิพาทของโจทก์จึงเป็ นลักษณะเป็ นทางจําเป็ น หากโจทก์มี
เจตนาจะได้ภาระจํายอม โจทก์จะต้องเปลี่ยนการแสดงเจตนา
ต่อ อ. เจ้าของเดิ มและจําเลยผูร้ ับโอนจาก อ. ตราบใดที่โจทก์
มิได้แสดงเจตนาเปลี่ยนการใช้ทางพิ พาทแก่เจ้าของ แม้จะใช้
ทางพิพาทนานเท่าใดก็ไม่ได้ภาระจํายอม
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๙๙๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๘๖ ทาง
พิพาทในที่ดินของจําเลยทั้ง ๓ แปลง เดิมเป็ นทางเกวียนมาก่อน
บิดาโจทก์และโจทก์รวมทั้งชาวบ้านใช้ทางพิพาทเข้าออกไปมา
จากหมู่บา้ นไปทุ่งนาก่อนที่จะมีคลองชลประทาน จนกระทัง่ ปี
๒๕๒๓ ได้ขดุ ทางเกวียนเป็ นคลองส่ งนํ้าจากคลองชลประทาน
แล้วใช้ที่ดินที่ขุดทางเกวียนถมเป็ นทางพิพาท แต่กลับได้ความ
จากคําเบิ กความของ บ. บิดาโจทก์ว่า ที่ดินที่ บ. ไปทํานาคื อ
ที่ดินที่เช่ าจาก ศ. เจ้าของเดิ มก่ อนขายที่ดินให้แก่จาํ เลยทั้ง ๓
แปลง บ. กับชาวบ้านใช้ทางพิพาทเดิมไปทํานาเพียงให้ววั ควาย
เทียมเกวียนลากข้าวผ่านเป็ นประจํา ไม่ปรากฏว่ามีการใช้ทาง
พิพาทออกไปสู่ ทางสาธารณะใด การใช้ทางพิพาทเป็ นทางวัว
ควายเดิ นผ่านที่ ดินไปทํานาเป็ นการใช้ทางพิพาทโดยวิสาสะ
93

ตามประเพณี ของชาวบ้านซึ่ งอยูใ่ กล้เคียงกันเดินผ่านที่ดินของ


บุคคลอื่นไปเท่านั้น แม้มีการขุดทางเกวียนเป็ นคูน้ าํ แล้วนําดิน
มาถมเป็ นทางพิพาทเมื่อปี ๒๕๒๓ ก็ปรากฏว่าบิดา ศ. ให้ บ.
เป็ นผู ้ดู แ ลเข้า ทํา ประโยชน์ ใ นที่ ดิ น ทั้ง ๓ แปลง ลัก ษณะ
ดังกล่าวเป็ นการใช้ทางพิพาทโดยบิดา ศ. และ ศ. เป็ นผูใ้ ห้ความ
ยิน ยอม และหลัง จาก ศ. ขายที่ ดิ น โฉนดเลขที่ ๙๒๕๙ และ
๓๓๖๕ ให้แก่จาํ เลยเมื่อปี ๒๕๓๒ และปี ๒๕๓๕ บ. ขายที่ดิน
โฉนดเลขที่ ๓๓๓๘๓ ที่ บ. ซื้ อจาก ศ. ให้แก่จาํ เลย จําเลยยก
ร่ องคั น ดิ น ทํ า เป็ นสวนส้ ม และทํ า ประตู แ ละรั้ วปิ ดกั้ น
ทางเข้าออกทางพิพาท โจทก์ได้รับมอบกุญแจจากจําเลยเพื่อใช้
ปิ ดเปิ ดประตูร้ ัวเข้าออกทางพิพาท เป็ นการแสดงว่าโจทก์ใช้
ทางพิพาทเป็ นทางผ่านโดยวิสาสะหรื อโดยได้รับอนุ ญาตจาก
จําเลย จึงฟั งไม่ได้ว่าโจทก์ใช้ทางพิพาทโดยความสงบและโดย
เปิ ดเผยด้วยเจตนาให้เป็ นภาระจํายอม แม้โจทก์จะใช้ทางพิพาท
นานเพียงใดทางพิพาทก็ไม่ตกเป็ นภาระจํายอมโดยอายุความ
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๑ ประกอบมาตรา ๑๓๘๒
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๑๐๒/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๑๒๔
ขณะที่ ป. มี ชีวิตอยู่โจทก์ท้ งั สามใช้ทางพิพาทโดยอาศัยสิ ทธิ
ของ ป. ซึ่ งเป็ นเจ้าของที่ดิน มิใช่ เป็ นการใช้สิทธิ ในทางพิพาท
อันเป็ นปรปั กษ์ต่อ เจ้าของที่ ดิน จึ งไม่ ก่อ ให้เกิ ดภาระจํา ยอม
94

และหลังจากจําเลยเป็ นเจ้าของทางพิพาทแล้ว โจทก์ท้ งั สามก็ใช้


ทางพิพาทโดยมิได้ทาํ การปรับปรุ งหรื อเปลี่ยนแปลงทางพิพาท
แต่อย่างใด ทางพิพาทยังคงอยูใ่ นสภาพเดิมจนกระทัง่ จําเลยทํา
ประตู เ หล็ ก และรั้ วในทางพิ พ าท โจทก์ ท้ ั งสามก็ มิ ไ ด้ มี
พฤติการณ์ที่แสดงให้เห็นว่าใช้ทางพิพาทโดยมีเจตนาเพื่อให้ได้
ทางภาระจํายอม โจทก์ท้ งั สามและจําเลยเป็ นญาติที่ใกล้ชิดกัน
จึงฟังได้วา่ โจทก์ท้ งั สามใช้ทางพิพาทโดยถือวิสาสะอาศัยความ
เกี่ยวพันในทางเครื อญาติเป็ นประการสําคัญ ถือไม่ได้ว่าโจทก์
ทั้งสามใช้ทางพิ พาทในลักษณะปรปั ก ษ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๘๒ แม้โจทก์ท้ งั สามจะใช้ทางพิพาทผ่านที่ดินของจําเลย
มากว่า สิ บ ปี ทางพิ พ าทก็ไ ม่ ต กเป็ นภาระจํา ยอมตามมาตรา
๑๔๐๑
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๐๑๕/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๒๑๗
ขณะที่ ส. ซื้ อที่ดินแปลงแรก และต่อมา พ. ซื้ อที่ดินแปลงที่ ๒
นั้น ส. และ พ. อยูก่ ินฉันสามีภริ ยาแล้ว แม้จะไม่ได้ความว่า ส.
และ พ. ได้จดทะเบียนสมรสกันโดยชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่
แต่ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างอยู่กินฉันสามีภริ ยาต้องถือว่าเป็ น
เจ้าของร่ วมกัน ทั้งการที่จะมีภาระจํายอมได้จะต้องมีที่ดินสอง
แปลงโดยที่ ดิน แปลงหนึ่ ง ตกอยู่ในภาระจํายอมของที่ ดิ นอี ก
แปลงหนึ่ ง และการที่ จ ะได้ภ าระจํา ยอมโดยอายุค วามตาม
95

ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๑ จะต้องเป็ นการใช้เพื่อตน มิ ใช่ เป็ นการ


อาศัย เมื่อการใช้สิทธิ ในที่ดินของ ส. ทั้งสองแปลงเป็ นการใช้
ในฐานะเจ้าของที่ดินร่ วมกันกับ พ. มิใช่เป็ นการใช้ในที่ดินของ
ผูอ้ ื่นอันจะเป็ นผลให้ได้สิทธิ ภาระจํายอมในช่ วงเวลาดังกล่าว
โจทก์จะนําสิ ทธิที่ ส. มีอยูใ่ นที่ดินพิพาทมานับต่อเนื่องกับสิ ทธิ
ที่โจทก์ได้รับเพื่อให้ได้สิทธิ ภาระจํายอมในที่ดินแปลงพิพาท
หาได้ไม่ เมื่อโจทก์ได้รับโอนที่ดินมีโฉนดจาก ส. ในปี ๒๕๓๖
นับถึงวันฟ้ องคดีน้ ียงั ไม่ถึง ๑๐ ปี ที่ดินพิพาทจึงยังไม่ตกอยู่ใน
ภาระจํายอมโดยอายุความตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๐๑

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๔๑๓


ค าพิพ ากษาฎีกาที่ ๕๒๑๕/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๘ น.๑๐๙
จํา เลยที่ ๑ ปลู ก สร้ า งอาคารบนที่ ดิ น พิ พ าทโดยได้รั บความ
ยินยอมจากธนาคาร ท. เจ้าของที่ดินเดิม จึงก่อให้เกิดสิ ทธิ เหนือ
พื้นดินเป็ นคุณแก่จาํ เลยที่ ๑ โดยไม่มีกาํ หนดเวลา ต่อมาโจทก์
ซื้ อที่ ดินดังกล่าวจากธนาคาร ท. และมี หนังสื อบอกกล่ าวให้
จําเลยทั้งสองรื้ อถอนสิ่ งปลูกสร้างออกไปจากที่ดินพิพาท จําเลย
ทั้งสองได้รับแล้ว ดังนี้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๑๓ บัญญัติว่า
ถ้าสิ ทธิ เหนือพื้นดินไม่มีกาํ หนดเวลาไซร้ ท่านว่าคู่กรณี ฝ่ายใด
จะบอกเลิกในเวลาก็ได้ แต่ตอ้ งบอกกล่าวแก่อีกฝ่ ายตามสมควร
96

การที่ โจทก์มีห นังสื อบอกกล่ าวให้จาํ เลยทั้งสองออกไปจาก


ที่ดินและจําเลยทั้งสองได้รับแล้ว ถือได้ว่าโจทก์บอกเลิกสิ ทธิ
เหนื อ พื้ น ดิ น แก่ จ ํา เลยทั้ง สองโดยชอบด้ ว ยกฎหมายแล้ว
นอกจากนี้ ยงั ปรากฏว่าสิ ทธิ เหนื อพื้นดิ นพิพาทของจําเลยทั้ง
สองที่ ไ ด้ ม านั้ น มิ ไ ด้มี ก ารนํา ไปจดทะเบี ย นต่ อ พนั ก งาน
เจ้าหน้าที่ การได้สิทธิ เหนือพื้นดินของจําเลยทั้งสองดังกล่าวจึง
ไม่ ส มบู รณ์ ไม่ อาจยกขึ้ นเป็ นข้อ ต่ อสู ้ บุค คลภายนอกได้ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๘ ประกอบมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ ง
จําเลยทั้งสองจึงไม่อาจยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้โจทก์ผไู ้ ด้กรรมสิ ทธิ์
ในที่ดินพิพาทมาจากธนาคาร ท.
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๐๖๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๙ น. ๑๘๕
หนัง สื อ แสดงความยิน ยอมมี ค าํ แปลว่ า ทํา ขึ้ น เมื่ อ วัน ที่ ๒๑
กรกฎาคม ๒๕๑๕ ระหว่าง ม. กับ ห. มีขอ้ ความว่า “หนังสื อ
ฉบับนี้ ขา้ พเจ้า ม. ทํามอบให้ลูก ห. เป็ นที่ดินจํานวน ๑ แปลง
ขนาดตามที่กล่าวข้างล่างนี้ ที่ดินดังกล่าวข้าพเจ้าไม่ยินยอมให้
ห. นําไปขายแก่ใคร ๆ ทั้งสิ้ น ข้าพเจ้ามอบให้ ห. อยูอ่ าศัยจนถึง
ลูกถึงหลานและตลอดไป พร้อมนี้ ขา้ พเจ้าได้มอบต้นลางสาด
จํานวน ๒ ต้น ข้าง ๆ คูน้ าํ ข้างล่างนี้ รูปแปลงของที่ดิน” ตาม
หนังสื อสัญญาสิ ทธิ เหนื อพื้นดิ นและคําแปล แสดงว่า ม. บิดา
ของโจทก์ยินยอมให้ปู่ของจําเลยปลูกบ้านอยู่บนที่ ดินพิพาท
97

และมอบต้นลางสาด ๒ ต้น ให้ทาํ ประโยชน์ โดยไม่เสี ยค่าเช่ า


ตลอดชีวติ ของ ห. ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๑๒ วรรคแรก ต่อมา
เมื่อ ห. ตาย บิดาจําเลยและจําเลยอยูอ่ าศัยในที่ดินพิพาท จึงเป็ น
กรณี ที่ ม. ตกลงทําสัญญากับ ห. เพื่อประโยชน์แก่บิดาจําเลย
หาใช่เป็ นการรับมรดกกันมาตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๑๑
ส่ วนข้อตกลงที่ ม. ยินยอมให้ลูกหลานของ ห. อาศัยใน
ที่ดินไปเรื่ อย ๆ แสดงว่า ม. มีเจตนาจะให้ลูกหลานของ ห. มี
สิ ทธิ เหนื อพื้นดินในที่ดินพิพาทโดยไม่มีกาํ หนดเวลา เมื่อสิ ทธิ
เหนือพื้นดินที่พิพาทไม่มีค่าเช่า โจทก์ชอบที่จะบอกเลิกสัญญา
เสี ยในเวลาใดก็ได้ เพียงแต่ตอ้ งบอกกล่ าวล่วงหน้าแก่ อีกฝ่ าย
หนึ่ งตามสมควร ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๑๓ เท่านั้น และได้
ความตามหนังสื อ ขอให้ร้ื อ ถอนขนย้ายทรั พย์สินและบริ วาร
ออกจากที่ ดิ น พร้ อ มใบตอบรั บ ว่ า โจทก์ ม อบหมายให้
ทนายความมีหนังสื อแจ้งให้จาํ เลยรื้ อถอนขนย้ายทรัพย์สินและ
บริ วารออกจากที่ดินพิพาทภายใน ๓๐ วัน อันถื อว่าเป็ นเวลา
พอสมควรแล้ว จึงฟั งได้ว่าสิ ทธิ เหนือพื้นดินของจําเลยเป็ นอัน
ระงับไปแล้วเมื่อพ้นกําหนดเวลาที่โจทก์แจ้งให้จาํ เลยออกจาก
ที่ดิน
1

ตอบข้อสอบกฎหมายอย่างไรให้ ได้ คะแนน

ถาม – ตอบ
แพ่ง อาญา
เล่ม ๘

สมชาย พงษ์ พฒ
ั นาศิลป์
ผู้พิพากษา
๒๕๕๗
3

คานา

หนังสื อเล่ มนี้ ผแู้ ต่ งได้นาคาพิพากษาฎี กาล่ าสุ ดที่ ออก


หลังจากหนังสื อ “ถาม – ตอบ แพ่ง อาญา เล่ ม ๗” มารวมไว้
ในหนังสื อเล่ มนี้ โดยได้นาคาพิพากษาฎี กาเนติ ฯ ปี ๒๕๕๕
ถึ ง เล่ ม ๑๒ ปี ๒๕๕๖ ถึ ง เล่ ม ๒ และค าพิ พ ากษาฎี ก า
สานักงานศาลฯ ปี ๒๕๕๔ ถึ งเล่ ม ๑๒ ปี ๒๕๕๕ ถึ งเล่ ม ๖
ที่ น่ า สนใจมาแต่ ง เป็ นข้ อ สอบ เพื่ อ ใช้ เ ป็ นตั ว อย่ า งในการ
ฝึ กเขี ย นตอบข้ อ สอบ โดยท าค าตอบแยกส่ ว นไว้ใ ห้ เ ห็ น
ได้ชดั เจนว่าส่ วนใดเป็ นข้อเท็จจริ งจากคาถาม ข้อกฎหมาย และ
เหตุผลประกอบ พร้ อมสรุ ป โดยส่ วนของ "ข้อเท็จจริ งจาก
คาถาม" ใช้ตัวอักษรขี ดเส้นใต้ "ข้ อกฎหมาย" ใช้ ตั วอักษร
หนา และ"เหตุ ผ ลประกอบพร้ อ มสรุ ป " ใช้ ตั ว อัก ษรหนา
ขีดเส้ น โดยนาคาพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยตามคาถามและคาตอบ
มารวมไว้ต่ อ จากค าตอบ เพื่ อ ความสะดว กในการศึ ก ษา
นอกจากนี้ได้นาคาพิพากษาฎี กาที่ น่าสนใจในเรื่ องเดี ยวกันมา
รวมไว้ทา้ ยเรื่ องที่มีคาถามและคาตอบด้วย
หนังสื อนี้เหมาะสาหรั บ ผูท้ ี่ เตรี ยมสอบเป็ นเนติ บัณฑิ ต
รวมถึงการสอบคัดเลื อกฯ ผูช้ ่ วยผูพ้ ิพากษา อัยการผูช้ ่ วย และ
5

สารบาญ
เรื่อง หน้ า

ถาม – ตอบ
แพ่ ง เล่ม ๘

ทรัพย์สิน ข้ อ ๑ ................................................ ๑๕
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๙ .............................. ๒๑
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๔๔ .............................. ๒๑
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง ............ ๒๒
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ............ ๒๔
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๐๐ ............................. ๒๗
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๐๓ ............................. ๒๙
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๐๔ ............................. ๓๑
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๓๗ ............................. ๓๕
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๔๙ ............................. ๓๖
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๕๐ ............................. ๓๗
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๕๙ ............................. ๓๙
6

คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๖๑ ............................. ๔๐


คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๖๓ ............................. ๔๒
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๖๔ ............................. ๔๒
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๖๘ ............................. ๔๔
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๗๕ ............................. ๔๕
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๗๗ ............................. ๔๖
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๑ ............................. ๔๗
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๘๗ ............................. ๕๑
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๓๙๐ ............................. ๕๒
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๔๐๑ ............................. ๕๓
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๔๑๓ ............................. ๙๕
นิติกรรมและหนี้ ข้ อ ๒ ............................................ ๕๖
ข้ อ ๓ ............................................ ๖๒
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๕๐ ................................. ๗๑
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๕๖ ................................ ๗๒
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๕๙ ................................ ๗๔
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๗๓ ................................ ๗๕
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๑๗๕ ................................. ๗๖
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๒๐๐ ................................ ๗๗
คาพิพากษาฎีกาน่าสนใจมาตรา ๒๐๖ ................................. ๗๙
15

ถาม – ตอบ
แพ่ง เล่ม ๘
ทรัพย์ สิน
ข้ อ ๑ คาถาม นายดาซื้ อที่ดินมีโฉนดแปลงที่ ๑ จากนาย
เอ และแปลงที่ ๒ จากนายบี โดย
ที่ดินแปลงที่ ๑ เดิมเป็ นของนายอ่ างซึ่ งถึ งแก่ความตาย
โดยไม่ มี ท ายาทโดยธรรมหรื อ ผูร้ ั บพิ นัย กรรม นายเอปลอม
พิ นัย กรรมว่ า นายอ่ า งยกที่ ดิ น แปลงที่ ๑ ให้ น ายเอ และน า
พินยั กรรมไปยื่นคาร้องขอให้ศาลมีคาสั่งตั้ง นายเอเป็ นผูจ้ ัดการ
มรดกของนายอ่าง ศาลประกาศนัดไต่สวนแล้วไม่มีผใู้ ดคัดค้าน
จึงไต่สวนและมีคาสั่งตั้งนายเอเป็ นผูจ้ ัดการมรดกของนายอ่ าง
เมื่อคดีถึงที่สุดนายเอนาคาสั่งศาลไปจดทะเบียนโอนที่ดินแปลง
ที่ ๑ มาเป็ นชื่ อของนายเอ หลังจากนั้นนายเอจดทะเบี ยนขาย
ที่ดินแปลงที่ ๑ ให้นายดาเมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๔๕ นายดา
ครอบครองและทาประโยชน์ใ นที่ ดิน ตลอดมาโดยไม่ มี ผใู้ ด
โต้แย้งคัดค้านจนถึ งปี ๒๕๕๗ พนักงานอัยการแจ้งนายดาว่า
ที่ดินแปลงที่ ๑ เป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ที่ดินแปลงที่ ๒ เดิมเป็ นของนายบัวมีบุตรต่างมารดากัน
๒ คนคือนายบานและนายเบิ้ม หลังจากนายบัวถึ งแก่ความตาย
16

นายบานแอบไปยื่นคาร้ องขอให้ศาลตั้งนายบานเป็ นผูจ้ ัดการ


มรดกโดยอ้างว่าตนเป็ นทายาทเพียงคนเดี ยวของนายบัว โดย
ไม่ ได้แจ้งให้นายเบิ้ มทราบ ศาลประกาศนัด ไต่ สวนแล้วไม่ มี
ผูใ้ ดคัดค้า น จึ ง ไต่ ส วนและมี คาสั่ ง ตั้ง นายบานเป็ นผู้จัด การ
มรดกของนายบัว นายบานน าคาสั่ง ศาลไปจดทะเบี ย นโอน
ที่ ดิ นแปลงที่ ๒ มาเป็ นชื่ อ ของตนแล้วจดทะเบี ย นขายที่ ดิ น
แปลงที่ ๒ ทั้งแปลงให้แก่นายบี นายเบิ้มทราบเรื่ องจึ งฟ้ องศาล
ขอให้เพิกถอนการจดทะเบี ยนรั บโอนมรดกของนายบานและ
สั ญ ญาซื้ อขายที่ ดิ น ระหว่ า งนายบานและนายบี ศาลชั้น ต้ น
พิจ ารณาแล้ว มี ค าพิ พ ากษาเพิ ก ถอนการจดทะเบี ยนรั บ โอน
มรดกของนายบาน และการจดทะเบี ยนซื้ อ ขายที่ ดิน ระหว่ า ง
นายบานและนายบี เฉพาะส่ วนที่ เป็ นของนายเบิ้ ม ให้นายบาน
จดทะเบียนโอนที่ดินแปลงที่ ๒ ให้แก่นายเบิ้ มกึ่งหนึ่ งในฐานะ
ทายาทผูม้ ี สิทธิ รรั บมรดกของนายบัว หากนายบานไม่ ปฏิบัติ
ตามให้ถือเอาคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนา นายบานและ
นายบีอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน นายบานและนายบี ฎีกา
ระหว่างพิจารณาของศาลฎีกานายบีนาที่ดินแปลงที่ ๒ ทั้งแปลง
จดทะเบี ยนโอนขายให้แก่นายดา โดยนายดาไม่ ทราบว่านาย
เบิ้มฟ้ องขอเพิกถอนการโอนที่ดินส่ วนของนายเบิ้ ม เพราะไม่ มี
การอายัดที่ ดินไว้ในระหว่ างการพิ จารณาของศาล ต่ อมาศาล
17

ฎีกาพิพากษายืนตามศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ นายเบิ้ มจะไป


บัง คับ คดี แ ก่น ายบานและนายบี จึ งทราบว่ า นายบี ข ายที่ ดิ น
แปลงที่ ๒ ให้แก่นายดา นายเบิ้ มแจ้งนายดาว่าที่ ดินแปลงที่ ๒
เป็ นของนายเบิ้มกึ่งหนึ่ง
ให้วินิจฉัยว่า นายดามีสิทธิ ในที่ดินทั้งสองแปลงหรื อไม่
ข้ อ ๑ คาตอบ พินยั กรรมที่นายเอใช้ยื่นคาร้ องขอให้ศาล
มีคาสั่งตั้งนายเอเป็ นผูจ้ ดั การมรดกของนายอ่ างเป็ นพินัยกรรม
ปลอม เมื่ อนายอ่ างถึ งแก่ค วามตายโดยไม่ มีทายาทโดยธรรม
หรื อผูร้ ับพินยั กรรม ที่ดินแปลงที่ ๑ ซึ่ งเป็ นมรดกของนายอ่ าง
จึงตกทอดแก่ แผ่ นดินนับแต่ วันที่นายอ่ างถึงแก่ ความตายตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๗๕๓ และถือเป็ น
สาธารณสมบัติของแผ่ นดิน เมื่อนายเอจดทะเบี ยนรั บโอนที่ ดิน
แปลงที่ ๑ ซึ่ งเป็ นมรดกของนายอ่ า งมาเป็ นของตนและขาย
ให้ แ ก่ น ายด า แม้ ว่ า นายด ารั บ โอนมาโดยสุ จ ริ ตและเสี ย
ค่าตอบแทนก็ตาม แต่ นายดาก็ไม่ ได้ กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินดังกล่ าว
เพราะทรัพย์ สินซึ่งเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่ นดินนั้นจะโอน
แก่ กัน มิ ได้ เว้ นแต่ อาศั ยอ านาจแห่ งบทกฎหมายเฉพาะหรื อ
พระราชกฤษฎี ก าตามมาตรา ๑๓๐๕ และแม้ นายด าจะ
ครอบครองทาประโยชน์ ในทีด่ ินดังกล่าวมานานเพียงใดก็ไม่ ได้
18

กรรมสิ ทธิ์เช่ นกัน เพราะไม่ อาจยกอายุความขึน้ ต่ อสู้ กบั แผ่ นดิน


ได้ ตามมาตรา ๑๓๐๖ (คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๐๕๕/๒๕๕๕) นาย
ดาจึ งไม่ มีสิ ทธิ ในที่ดิน แปลงที่ ๑ ซึ่ ง เป็ นสาธารณสมบัติ ของ
แผ่ นดิน
นายเบิ้มได้ที่ดินแปลงที่ ๒ โดยการรับมรดกของนายบัว
ซึ่ งศาลพิพากษาให้นายบานในฐานะผูจ้ ัดการมรดกของนายบัว
จดทะเบียนโอนที่ดินส่ วนของนายเบิ้ มให้แก่นายเบิ้ ม หากนาย
บานไม่ ปฏิบัติตามให้ถือ เอาคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนา
ถือได้ ว่าเป็ นการได้ มาซึ่ งอสั งหาริ มทรั พย์ โดยทางอื่นนอกจาก
นิติก รรมตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง แม้ค ดี ถึ งที่ สุ ดโดยค า
พิพากษาให้เพิกถอนการขายที่ ดิน แปลงที่ ๒ ระหว่างนายบาน
กับนายบีเฉพาะส่ วนของนายเบิ้ม แต่ นายบี ได้ขายที่ ดินแปลงที่
๒ ทั้งแปลงให้แก่นายดาและได้มีการจดทะเบี ยนซื้ อขายโอน
กรรมสิ ทธิ์ ให้แก่นายดาแล้ว เมื่ อระหว่า งการพิจารณาคดี นาย
เบิ้มมิได้ขออายัดที่ดินไว้ นายดาจดทะเบียนซื้ อขายที่ดินแปลงที่
๒ ทั้งแปลงจากนายบี โดยสุ จริ ตและเสี ย ค่ าตอบแทน การซื้ อ
ขายย่ อ มสมบู ร ณ์ นายเบิ้ม ย่ อ มไม่ อาจยกสิ ท ธิ อัน ยัง มิ ได้ จด
ทะเบี ยนขึ้นต่ อ สู้ นายดาซึ่ งเป็ นบุค คลภายนอกผู้ ไ ด้ สิท ธิ ตาม
สั ญ ญาซื้ อขายโดยเสี ย ค่ า ตอบแทนและโดยสุ จ ริ ต และได้ จ ด
19

ทะเบียนสิ ทธิโดยสุ จริตแล้วได้ ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง แม้


นายเบิ้ม จะได้ รับ สิ ทธิ ม าตามค าพิพ ากษาของศาล นายเบิ้ม
ก็ไ ม่ มี สิ ท ธิ เ รี ย กให้ น ายด าแบ่ ง ที่ดิ น แปลงที่ ๒ ให้ นายเบิ้ ม
กึ่งหนึ่ง (คาพิพากษาฎี กาที่ ๑๒๑๑/๒๕๕๖) นายดามีสิทธิใ น
ทีด่ ินแปลงที่ ๒ ดีกว่ านายเบิม้
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๔๐๕๕/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล. ๕ น. ๑๑๗
พินยั กรรมฉบับที่จาเลยใช้เป็ นหลักฐานประกอบการยื่นคาร้ อง
ขอให้ศ าลมี คาสั่ งตั้งจาเลยเป็ นผูจ้ ัดการมรดกของ ม. นั้นเป็ น
พินัยกรรมปลอม เมื่ อ ม. ถึ งแก่ความตายโดยไม่ มีทายาทโดย
ธรรมหรื อผูร้ ับพินยั กรรม มรดกของ ม. จึ งตกทอดแก่แผ่นดิ น
นับแต่วนั ที่ ม.ถึงแก่ความตายตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๕๓ และ
ถือเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิ น เมื่ อจาเลยจดทะเบี ยนขาย
ที่ ดิน พิพาทซึ่ งเป็ นมรดกของ ม. ให้แก่จาเลยร่ วมที่ ๒ แม้ว่ า
จาเลยร่ วมที่ ๒ รับโอนมาโดยสุ จริ ตและเสี ยค่ าตอบแทนก็ตาม
จ าเลยร่ ว มที่ ๒ ก็ไ ม่ ไ ด้ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น ดัง กล่ า ว เพราะ
ทรัพย์สินซึ่ งเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิ นนั้นจะโอนแก่กนั
มิได้ เว้นแต่ อาศัยอานาจแห่ งบทกฎหมายเฉพาะหรื อพระราช
กฤษฎีกาตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๕ และแม้จาเลยร่ วมที่ ๒ จะ
ครอบครองทาประโยชน์ในที่ ดินพิพาทมานานเพียงใดก็ไม่ ได้
20

กรรมสิ ทธิ์ เช่นกันเพราะไม่อาจยกอายุความขึ้นต่ อสู้กบั แผ่นดิ น


ได้ตามป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๖
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๑๑/๒๕๕๖ ฎ. ๘๕ ผูร้ ้ องทั้งสอง
ได้ ที่ ดิ น และบ้ า นพิ พ าทโดยการรั บ มรดกของ ว. ซึ่ งศาล
พิพากษาให้ บ. ในฐานะผูจ้ ดั การมรดกของ ว. จดทะเบี ยนโอน
ที่ดินและบ้านเฉพาะส่ วนของผูร้ ้ องทั้งสองให้แก่ผรู้ ้ องทั้งสอง
หาก บ. ไม่ ป ฏิ บัติ ต ามให้ถื อ เอาค าพิ พ ากษาแทนการแสดง
เจตนา ถื อได้ว่า เป็ นการได้มาซึ่ ง อสังหาริ มทรั พย์โ ดยทางอื่ น
นอกจากนิ ติก รรม ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง แม้
ต่อมาคดีถึงที่สุดโดยคาพิพากษาให้เพิกถอนการขายที่ ดินและ
บ้านพิพ าท ระหว่ าง บ. กับ ส. เฉพาะส่ วนของผู้ร้องทั้ง สอง
หลังจาก ส. ถึงแก่ความตาย และ ข. ผูจ้ ัดการมรดกของ ส. ได้
ขายที่ ดิ น และบ้า นพิ พ าทให้แ ก่จ าเลยที่ ๑ และได้ มี ก ารจด
ทะเบี ย นซื้ อ ขายโอนกรรมสิ ท ธิ์ ให้ แ ก่จ าเลยที่ ๑ แล้ว เมื่ อ
ระหว่ า งการพิ จ ารณาคดี ผู้ร้ อ งทั้ง สองมิ ไ ด้ข ออายัด ที่ ดิ น ไว้
โจทก์ได้รับจดทะเบี ยนจานองที่ ดินและบ้านพิพาทจากจาเลย
ที่ ๑ โดยสุ จริ ต และเสี ยค่ าตอบแทน การจานองย่ อมสมบูร ณ์
ผูร้ ้องทั้งสองย่อมไม่อาจยกสิ ทธิ อนั ยังมิ ได้จดทะเบี ยนขึ้ นต่ อสู้
โจทก์ซ่ ึ ง เป็ นบุ ค ค ลภายนอ กผู้ ไ ด้ สิ ท ธิ จ านอง โดยเสี ย
21

ค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ตและได้จดทะเบี ยนสิ ทธิ โดยสุ จริ ต


แล้วได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง แม้ผรู้ ้ องทั้งสอง
จะได้ รั บ สิ ทธิ ม าตามค าพิ พ ากษาของศาล ผู้ร้ อ งทั้ งสอง
ก็ไม่มีสิทธิ ร้องขอกันส่ วนของผูร้ ้องทั้งสองจากโจทก์

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๙


คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๑๒๗๗๒/๒๕๕๕ ฎ. ๒๔๐๔ สิ ท ธิ
การเช่าไม่ใช่อสังหาริ มทรัพย์และไม่เป็ นทรัพยสิ ทธิ อนั จะถื อว่า
เป็ นอสังหาริ มทรัพย์ในตัวเองตาม ป.พ.พ. ๑๓๙

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๔๔


คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๗/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล. ๔ น. ๑ การที่ จ.
ซึ่ งเป็ นเจ้าของที่ ดิน โฉนดเลขที่ ๔๖๔๗ ยอมให้ ก. เช่ า ที่ ดิ น
ดังกล่าวโดยให้ปลูกตึกแถวพิพาทด้วยเงินของผูเ้ ช่าแล้วให้ผเู้ ช่ า
มีสิทธิ ใช้ประโยชน์ในตึ กแถวพิพาทเป็ นเวลา ๒๐ ปี เมื่ อครบ
ก าหนดสั ญ ญาเช่ า ในปี ๒๕๓๑ ให้ ตึ ก แถวพิ พ าทตกเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ ของผูใ้ ห้เช่านั้น เมื่อต่อมาวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗
จ. จดทะเบียนยกที่ดินดังกล่าวให้แก่จาเลย โดยระบุ ในหนังสื อ
สัญญาให้ที่ ดินว่า สิ่ งปลูกสร้ างไม่ มี แสดงว่า จ. คิ ดว่าตึ กแถว
22

พิพาทยังไม่ เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของตนเพราะมี ข้อสัญญาว่าจะให้


ตึ กแถวพิพาทที่ ปลูกตกเป็ นของเจ้าของที่ ดินเมื่ อครบกาหนด
สัญญาเช่าในปี ๒๕๓๑ แล้ว จึ งระบุ ในหนังสื อสัญญาให้ที่ดิน
ว่า สิ่ ง ปลู ก สร้ า งไม่ มี เมื่ อ ไม่ ป รากฏว่ ามี เ งื่ อ นไขในหนัง สื อ
สัญญาให้ที่ดินเป็ นอย่างอื่น เมื่อครบกาหนดสัญญาเช่าที่ดินแล้ว
ตึ กแถวพิพาทย่อ มตกเป็ นของเจ้าของที่ ดิน ในขณะนั้น ซึ่ งคื อ
จาเลยตามสั ญญาในฐานะเป็ นส่ ว นควบของที่ ดิ น ทัน ที โ ดย
ไม่จาต้องไปทาการจดทะเบี ยนโอนกันอี กตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๔๔
ข้ อสั ง เกต เมื่ อ จ. จดทะเบี ยนยกที่ ดิน ให้ แ ก่ จำเลย สั ญญำเช่ ำ
ไม่ ระงับไปเพรำะเหตุโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินซึ่ งให้ เช่ ำ จำเลยผู้รับ
โอนย่ อมรั บไปทั้ งสิ ท ธิ และหน้ ำ ที่ ของ จ. ผู้โอนซึ่ ง มี ต่อผู้เช่ ำ
ตำมมำตรำ ๕๖๙ จำเลยจึ งเป็ นผู้ให้ เช่ ำที่ จะได้ รับโอนกรรมสิ ทธิ์
ตำมสั ญญำเช่ ำ

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง


คาพิ พากษาฎีกาที่ ๘๖๒๑/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๑๐ น. ๑๙๑
การที่ ก.ท.พ.ร. และจาเลยร่ ว มตกลงแบ่ งที่ ดิ นมี โฉนดแปลง
หนึ่ งโดยให้แ บ่ ง ที่ ดิ น ๒ ส่ ว นที่ อ ยู่ร ะหว่ า งกลางด้ า นทิ ศ
23

ตะวันออกเป็ นทางเดินภาระจายอมสาหรั บที่ ดิ นส่ วนเหนื อสุ ด


และใต้สุ ดเพื่อ ออกสู่ ทางสาธารณะกว้าง ๔ เมตร ตามสัญญา
ประนีประนอมยอมความนั้น เป็ นการก่อภาระจายอมอันเป็ น
ทรั พยสิ ทธิ อัน เกีย่ วกับอสัง หาริ มทรั พย์โ ดยทางนิ ติกรรม แต่
หลั ง จ า ก ที่ มี ก า ร แ บ่ ง แ ย ก ที่ ดิ น ดั ง ก ล่ า ว ต า ม สั ญ ญ า
ประนีประนอมยอมความแล้ว ไม่มีการจดทะเบี ยนที่ ดิ นพิพาท
เป็ นภาระจายอมเพื่อประโยชน์แก่ที่ดินโฉนดที่ถูกแบ่งแยก การ
ก่อ ภาระจ ายอมดัง กล่ า วจึ ง ไม่ บ ริ บู ร ณ์ ต าม ป.พ.พ. มาตรา
๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง คู่สัญญาตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
คงบังคับภาระจายอมดังกล่าวได้ในระหว่างคู่สัญญาด้วยกันใน
ฐานะบุ ค คลสิ ท ธิ เท่ านั้น เมื่ อ ก. และ ส. ซึ่ ง เป็ นคู่สั ญญาขาย
ที่ ดิ น เฉพาะส่ ว นในที่ ดิ น พิ พ าทให้แ ก่จ าเลยทั้ งสอง จ าเลย
ทั้งสองซึ่ งเป็ นบุคคลภายนอกจึงไม่ใช่ค่สู ัญญาและไม่ถูกผูกพัน
ตามสัญญาประนี ประนอมยอมความ ทั้งไม่ มีกฎหมายบัญญัติ
ให้จ าเลยทั้ง สองต้อ งรั บ โอนสิ ท ธิ แ ละหน้า ที่ เ กี่ย วกับ ภาระ
จายอมตามสั ญญาประนี ป ระนอมยอมความจาก ก. และ ส.
โจทก์จึงไม่ มีสิท ธิ บ ังคับจาเลยทั้งสองให้รับภาระจายอมตาม
สั ญ ญาประนี ป ระนอมยอมความได้ ที่ ดิ น พิ พ าทจึ ง ไม่ เ ป็ น
ภาระจายอม
24

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๑๑/๒๕๕๖ ฎ. ๘๕ ผูร้ ้ องทั้งสอง
ได้ ที่ ดิ น และบ้ า นพิ พ าทโดยการรั บ มรดกของ ว. ซึ่ งศาล
พิพากษาให้ บ. ในฐานะผูจ้ ดั การมรดกของ ว. จดทะเบี ยนโอน
ที่ดินและบ้านเฉพาะส่ วนของผูร้ ้ องทั้งสองให้แก่ผรู้ ้ องทั้งสอง
หาก บ. ไม่ ป ฏิ บัติ ต ามให้ถื อ เอาค าพิ พ ากษาแทนการแสดง
เจตนา ถื อได้ว่า เป็ นการได้มาซึ่ ง อสังหาริ มทรั พย์โ ดยทางอื่ น
นอกจากนิ ติก รรม ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง แม้
ต่อมาคดีถึงที่สุดโดยคาพิพากษาให้เพิกถอนการขายที่ ดินและ
บ้านพิพ าท ระหว่ าง บ. กับ ส. เฉพาะส่ วนของผู้ร้องทั้ง สอง
หลังจาก ส. ถึงแก่ความตาย และ ข. ผูจ้ ัดการมรดกของ ส. ได้
ขายที่ ดิ น และบ้า นพิ พ าทให้แ ก่จ าเลยที่ ๑ และได้ มี ก ารจด
ทะเบี ย นซื้ อ ขายโอนกรรมสิ ท ธิ์ ให้ แ ก่จ าเลยที่ ๑ แล้ว เมื่ อ
ระหว่ า งการพิ จ ารณาคดี ผู้ร้ อ งทั้ง สองมิ ไ ด้ข ออายัด ที่ ดิ น ไว้
โจทก์ได้รับจดทะเบี ยนจานองที่ ดินและบ้านพิพาทจากจาเลย
ที่ ๑ โดยสุ จริ ต และเสี ยค่ าตอบแทน การจานองย่ อมสมบูร ณ์
ผูร้ ้องทั้งสองย่อมไม่อาจยกสิ ทธิ อนั ยังมิ ได้จดทะเบี ยนขึ้ นต่ อสู้
โจทก์ซ่ ึ ง เป็ นบุ ค ค ลภายนอ กผู้ ไ ด้ สิ ท ธิ จ านอง โดยเสี ย
ค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ตและได้จดทะเบี ยนสิ ทธิ โดยสุ จริ ต
25

แล้วได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง แม้ผรู้ ้ องทั้งสอง


จะได้ รั บ สิ ทธิ ม าตามค าพิ พ ากษาของศาล ผู้ร้ อ งทั้ งสอง
ก็ไม่มีสิทธิ ร้องขอกันส่ วนของผูร้ ้องทั้งสองจากโจทก์
ข้ อ สั ง เกต ค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำนี ้ น่ ำ จะกลั บ ค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำที่
๑๑๙๗๘/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล. ๑๒ น. ๒๔๕ และคำพิ พำกษำฎี ก ำ
ที่ ๑๐๗๓๘/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล. ๑๒ น. ๒๕๙ ที่ วิ นิจฉั ยว่ ำ “ศำล
มีคำสั่ งตั้งจำเลยเป็ นผู้จัดกำรมรดกของ บ. ซึ่ งเป็ นมำรดำของ
ผู้ร้องและจำเลยเนื่องจำกจำเลยอ้ ำงว่ ำ บ. ทำพิ นัยกรรมยกที่ ดิน
พิพำทให้ จำเลย แล้ วจำเลยจดทะเบี ยนโอนที่ ดินพิ พำทเป็ นของ
จำเลยและน ำไปจ ำนองเป็ นประกั น หนี ้ต่ อ โจทก์ ต่ อ มำศำล
พิพำกษำให้ จำเลยชำระหนีแ้ ก่ โจทก์ และให้ ยึดที่ ดินพิ พำทออก
ขำยทอดตลำดซึ่ งโจทก์ นำเจ้ ำพนักงำนบั งคั บคดี ยึดที่ ดินพิ พำท
เพื่อบังคับคดีแล้ ว แต่ ผ้ รู ้ องยื่ นคำร้ องในคดี ที่จำเลยร้ องขอเป็ น
ผู้จัดกำรมรดกขอให้ ถอนจำเลยออกจำกกำรเป็ นผู้จัดกำรมรดก
ของ บ. ศำลไต่ สวนและมี ค ำสั่ งถอนจำเลยออกจำกกำรเป็ น
ผู้จัดกำรมรดกเนื่ องจำกพิ นัยกรรมที่ จำเลยอ้ ำงเป็ นโมฆะ และ
ตั้งผู้ร้ องเป็ นผู้ จัดกำรมรดกแทนคดี ถึงที่ สุดแล้ ว กรณี จึ งต้ อ ง
ถือว่ ำขณะจำเลยในฐำนะผู้จัดกำรมรดกโอนที่ ดินพิ พำทให้ แก่
ตนเองในฐำนะส่ วนตั ว ทั้ ง ที่ ต นไม่ มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ ทรั พ ย์ ต ำม
26

พิ นัยกรรมที่ อ้ำง เป็ นกำรทำนิ ติกรรมซึ่ งตนมี ส่วนได้ เสี ยเป็ น


ปฏิปักษ์ ต่อกองมรดกของ บ. อั นเป็ นกำรต้ องห้ ำมโดยชั ดแจ้ ง
ตำม ป.พ.พ. มำตรำ ๑๗๒๒ นิ ติกรรมกำรโอนตกเป็ นโมฆะ
ตำมมำตรำ ๑๕๐ โดยถื อ เสมื อ นว่ ำ มิ ไ ด้ มี นิ ติก รรมกำรโอน
เกิดขึน้ เลย กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดินพิ พำทยังเป็ นของกองมรดกของ
บ. อยู่ ตำมเดิ ม สั ญญำจำนองที่ จ ำเลยในฐำนะส่ วนตั ว ทำกั บ
โจทก์ ก็ไม่ ก่อให้ เกิดสิ ทธิ ใด ๆ แก่ โจทก์ ที่จะบั งคั บเอำแก่ ที่ดิน
พิ พ ำท เพรำะผู้ จำนองไม่ ได้ เ ป็ นเจ้ ำ ของทรั พ ย์ ที่จ ำนองตำม
มำตรำ ๗๐๕ แม้ โ จทก์ จ ะอ้ ำงว่ ำ รั บ จำนองโดยสุ จ ริ ต ก็ต ำม”
ในกรณี ที่ ข้ อ เท็ จ จริ งคล้ ำ ยกั น และมี ค ำพิ พ ำกษำฎี ก ำ
วิ นิจฉั ยแตกต่ ำงกั น บำงครั้ ง ถื อว่ ำฎี กำใหม่ ก ลับฎี ก ำเก่ ำ หำก
ควำมแตกต่ ำงนั้ น ไม่ ใช่ สำระส ำคั ญ แต่ ถ้ ำแตกต่ ำงใน
สำระส ำคั ญ จะไม่ ถื อ ว่ ำ ฎี ก ำใหม่ กลั บ ฎี ก ำเก่ ำ แต่ ถื อ ว่ ำ
ข้ อเท็จ จริ งแตกต่ ำ งกันจึ งวิ นิจ ฉั ยต่ ำงกัน ผู้ อ่ำนต้ องวิ เ ครำะห์
ให้ ได้ ว่ ำฎี กำใหม่ กลั บ ฎี ก ำเก่ ำจริ งหรื อ ไม่ อย่ ำ เชื่ อตำมทั น ที
กรณี นีผ้ ้ อู ่ ำนลองติ ดตำมคำบรรยำยเนติ ฯ ว่ ำอำจำรย์ ผ้ ูบรรยำย
วิชำกฎหมำยทรั พย์ สินเห็นอย่ ำงไร
27

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๐๐


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๖๓๕/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๑๒ น. ๒๖๘
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๐ กาหนดแต่ เ พียงให้สิท ธิ บุค คลผู้อยู่ใ น
ฐานะอัน จะให้จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ ข องตนได้อ ยู่ก ่อ น เรี ย กให้
เพิ ก ถอนการจดทะเบี ย นโอนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ จ ะท าให้ต นต้อ ง
เสี ยเปรี ยบ โดยไม่ คานึ งว่าบุ คคลผูท้ าการโอนนั้นจะทราบถึ ง
สิ ทธิ ของบุคคลผูข้ อให้เพิกถอนหรื อไม่ เมื่ อศาลมี คาพิพากษา
ให้จาเลยที่ ๑ จดทะเบี ยนโอนกรรมสิ ทธิ์ ห้อ งชุ ดพิพาทให้แ ก่
โจทก์ ย่ อ มเกิด สิ ท ธิ แ ก่โ จทก์เ ป็ นผู้อ ยู่ใ นฐานะอัน จะให้จ ด
ทะเบียนสิ ทธิ ของตนได้อยู่กอ่ นบุคคลอื่นทันที บุ คคลอื่ นจะทา
ให้เสี ยสิ ทธิ หาได้ไม่ เว้นแต่ เป็ นการโอนอันมี ค่าตอบแทนและ
ผูร้ ับโอนกระทาการโดยสุ จริ ตจึงจะเพิกถอนไม่ได้ โดยไม่คานึง
ว่าผูโ้ อนจะกระทาการโดยสุ จริ ตหรื อไม่ ดังนั้น จาเลยที่ ๑ จะ
ทราบค าพิ พ ากษาดังกล่ าวหรื อ ไม่ มิ ใ ช่ ส าระส าคัญในการที่
โจทก์ซ่ ึ งเป็ นผูอ้ ยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบี ยนสิ ทธิ ของตนได้
อยู่กอ่ นร้องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนโอนระหว่างจาเลยที่
๑ กับจาเลยที่ ๒
จาเลยที่ ๒ เป็ นนิ ติ บุค คลประเภทธนาคาร ประกอบ
กิจการธนาคารพาณิ ชย์ จาเลยที่ ๒ ปล่ อยสิ นเชื่ อให้จาเลยที่ ๑
28

ดาเนินโครงการสร้างอาคารชุดและทาวน์เฮาส์รวมทั้งที่ ดินขาย
ให้แก่บุคคลทัว่ ไป จาเลยที่ ๒ ย่อมทราบดี ว่าจะต้องมี บุคคลที่
สนใจเข้าทาสัญญาจะซื้ อจะขายกับ จาเลยที่ ๑ การที่ จาเลยที่ ๒
จะดาเนินการให้จาเลยที่ ๑ ชาระหนี้ย่อมกระทาได้โดยการฟ้ อง
ให้จาเลยที่ ๑ ชาระหนี้ และไถ่ ถอนจานอง ซึ่ งจาเลยที่ ๒ ก็ได้
กระท าการดั ง กล่ า วแล้ ว แต่ จ าเลยที่ ๒ ก็มิ ไ ด้ ท าสั ญ ญา
ประนี ประนอมยอมความกับจาเลยที่ ๑ ในคดี ดัง กล่ าว กลับ
เจรจาตกลงทาสัญญาประนีประนอมยอมความกันนอกคดี และ
ให้จาเลยที่ ๑ จดทะเบี ยนกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุ ด ๒๔ ห้อง รวมทั้ง
ห้อ งชุ ด พิ พ าทให้แ ก่จ าเลยที่ ๒ ส่ ว นคดี ย ัง คงปล่ อ ยให้ศ าล
ดาเนินกระบวนการพิจารณาพิพากษาต่อไป จึงเป็ นข้อพิรุธของ
จาเลยที่ ๒ นอกจากนี้ ก ารที่ จ าเลยที่ ๒ จะนาทรั พย์ที่ จานอง
หลุ ด เป็ นของตนเองจะต้อ งเข้า เงื่ อนไขตาม ป.พ.พ. มาตรา
๗๒๙ กล่ าวคื อ จะต้องได้ความว่า จาเลยที่ ๑ ขาดส่ งดอกเบี้ ย
มาแล้วเป็ นเวลาถึง ๕ ปี จาเลยที่ ๑ มิได้แสดงให้เป็ นที่ พอใจแก่
ศาลว่าราคาทรัพย์สินนั้นท่วมจานวนเงินอันค้างชาระ ซึ่ งจาเลย
ที่ ๒ และจาเลยที่ ๑ มิ ไ ด้แ จ้ง แก่ศ าลในคดี ที่ ฟ้ องร้ อ งกัน ถึ ง
เงื่อนไขดังกล่าว การที่จาเลยที่ ๑ ตกลงเจรจากับจาเลยที่ ๒ แล้ว
ให้จาเลยที่ ๑ โอนกรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดรวมทั้งห้องชุดพิพาทซึ่ ง
ติดภาระจานองอยู่กบั จาเลยที่ ๒ ให้แก่จาเลยที่ ๒ อันเป็ นการ
29

บังคับจ านองโดยวิธี ที่จ าเลยที่ ๒ ผู้รับ จานองเรี ยกเอาทรั พ ย์


จานองหลุดโดยไม่ชอบด้วยบทบัญญัติดงั กล่าวจึงไม่มีผลบังคับ

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๐๓


คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๓๖๖/๒๕๕๕ ฎ. ๒๒๕๕ โจทก์ซ้ื อ
รถบัส พิพ าทจากห้างหุ ้น ส่ ว นจ ากัด จ. ทั้ง ที่ รู้ ว่า ห้า งหุ ้นส่ ว น
จากัด จ. ยังชาระค่ าเช่ าซื้ อแก่บ ริ ษทั พ. ไม่ หมด แม้สัญญาซื้ อ
ขายจะใช้บงั คับระหว่างโจทก์กบั ห้างหุ ้นส่ วนจากัด จ. ได้ แต่
โจทก์ย่อมทราบดี ว่า ห้างหุ ้นส่ วนจากัด จ. จะโอนทะเบี ยนรถ
ให้แก่โจทก์ได้กต็ ่อเมื่อห้างหุ ้นส่ วนจากัด จ. ได้ชาระค่ าเช่ าซื้ อ
แก่บริ ษทั พ. เสร็ จสิ้ นอันมีผลให้กรรมสิ ทธิ์ ในรถบัสพิพาทตก
มาเป็ นของห้างหุน้ ส่ วนจากัด จ. แล้วเท่ านั้น แต่ ในวันซึ่ งมี การ
ชาระค่าเช่าซื้ อทั้งหมดให้แก่บริ ษทั พ. นั้น ห้างหุน้ ส่ วนจากัด จ.
ได้โอนขายสิ ท ธิ การเป็ นผูเ้ ช่ า ซื้ อรถบัสพิพาทให้แก่บ ริ ษทั ด.
ไปในวัน เดี ย วกัน แล้ ว ห้ า งหุ ้ น ส่ ว นจ ากัด จ. จึ ง ไม่ อ าจมี
กรรมสิ ทธิ์ ในรถบัสพิพาทได้ แม้ว่าบริ ษทั พ. จะได้รับค่าเช่ าซื้ อ
ครบถ้วนก็ตาม เพราะกรรมสิ ทธิ์ ย่อมตกได้แก่บริ ษทั ด. ผูร้ ั บ
โอนกรรมสิ ท ธิ์ การเช่ า ซื้ อ จากห้า งหุ ้น ส่ วนจ ากัด จ. ดัง นั้ น
การโอนทะเบียนรถบัสพิพาทจาก ห้างหุน้ ส่ วนจากัด จ. มาเป็ น
30

ชื่อของจาเลยที่ ๒ กรรมการบริ ษทั ด. จึ งเป็ นการโอนโดยผล


ของสัญญาซื้ อขายสิ ทธิ การเช่าซื้ อระหว่างห้างหุ ้นส่ วนจากัด จ.
กับ บริ ษั ท ด. ซึ่ งมี ผ ลใช้ บั ง คั บ ได้ โจทก์ซ่ ึ งอยู่ ใ นฐานะ
บุคคลภายนอกผูม้ ี เพียงบุ คคลสิ ทธิ เหนื อห้างหุ ้นส่ วนจากัด จ.
ตามสัญญาซื้ อขายรถบัสพิพาท ย่อมไม่ มีสิทธิ ขอให้เพิกถอน
การโอนทะเบียนรถบัสพิพาทระหว่างห้างหุน้ ส่ วนจากัด จ. กับ
จาเลยที่ ๒ หรื อให้จาเลยที่ ๒ กรรมการบริ ษทั ด. โอนทะเบี ยน
รถบัสพิพาทมาให้โจทก์ได้ เพราะหลังจากทาสัญญาซื้ อขายรถ
บัสพิพาทกับห้างหุน้ ส่ วนจากัด จ. ห้างหุ ้นส่ วนจากัด จ.ไม่ เคย
ได้กรรมสิ ทธิ์ ในรถบัสพิพาทที่ จะสามารถโอนทะเบี ยนให้แก่
โจทก์ได้เลย หากการไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ในรถบัสพิพาทของห้าง
หุน้ ส่ วนจากัด จ. เกิดจากความผิดหรื อความบกพร่ องของห้าง
หุ ้น ส่ ว นจ ากัด จ. ผู้ข าย โจทก์ก ็ต้อ งไปว่ า กล่ า วเอาแก่ห้า ง
หุ ้นส่ วนจากัด จ. ในฐานะคู่ สัญญาเป็ นอี ก ส่ วนหนึ่ งต่ างหาก
โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ องขอให้เพิกถอนการโอนทะเบี ยนรถบัส
พิพาทระหว่างจาเลยที่ ๑ กับจาเลยที่ ๒ แล้วให้จาเลยที่ ๒ โอน
ทะเบียนรถบัสพิพาทแก่โจทก์ตามฟ้ อง
การที่บุคคลหลายคนเรี ยกเอาสังหาริ มทรั พย์โดยอาศัย
หลักกรรมสิ ทธิ์ ต่ างกันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๓ ผูเ้ รี ยกต่ าง
ต้องได้กรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินที่ เรี ยกด้วยหลักกรรมสิ ทธิ์ อย่าง
31

ใดอย่างหนึ่งก่อนจึ งจะพิจารณาว่า ฝ่ ายใดเป็ นฝ่ ายครอบครอง


ทรั พย์ในลาดับ ต่ อ ไป แต่ โจทก์ยงั ไม่ ไ ด้ก รรมสิ ทธิ์ ในรถบัส
พิพาท เพียงแต่มีสิทธิ จะได้รับเมื่อห้างหุน้ ส่ วนจากัด จ. ชาระค่ า
เช่าซื้ อให้แก่บริ ษทั พ. ครบถ้วนแล้วเท่านั้น โจทก์จึงไม่อาจอ้าง
ว่าได้กรรมสิ ทธิ์ ในรถบัสพิพาทโดยอาศัยหลักกรรมสิ ทธิ์ อย่าง
ใด ๆ ได้ แม้โจทก์จะครอบครองรถบัสพิพาทก็ตาม
ข้อสังเกต คดีนีแ้ ม้ จะอ้ ำงขอเพิกถอนตำมมำตรำ ๒๓๗ ก็ไม่ ได้
เพรำะไม่ ปรำกฏว่ ำบริ ษัท ด. หรื อจำเลยที่ ๒ รู้ ถึ งข้ อควำมจริ ง
อันเป็ นทำงให้ เจ้ ำหนีเ้ สี ยเปรี ยบ

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๐๔


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๖๓/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล. ๒ น. ๗๒ เดิ ม
ที่ดินเป็ นที่สาธารณประโยชน์สาหรับประชาชนใช้ร่วมกันเลี้ ยง
สัตว์ และมีทางสาธารณประโยชน์พาดผ่าน เมื่ อที่ ดินดังกล่ าว
เป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินประเภทที่ประชาชนใช้ร่วมกัน
แม้จ าเลยทั้ง สี่ จะครอบครองต่ อเนื่ องติ ดต่ อ กันมานานเท่ าใด
รวมทั้ง ช. บิ ดาจาเลยที่ ๑ ได้แจ้งการครอบครองที่ ดินไว้ตาม
แบบแจ้งการครอบครองที่ ดิ น ก็ไม่ ทาให้จาเลยทั้งสี่ ได้สิท ธิ
ครอบครอง การที่ มี บุ ค คลบางคนน าที่ ดิ น บางส่ ว นไปออก
เอกสารสิ ท ธิ ก็ไ ม่ ไ ด้ ห มายความว่ า ที่ ดิ น ดั ง กล่ า วจะมิ ใ ช่
32

สาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ประชาชนใช้ร่วมกัน หากแต่ เป็ น


การออกเอกสารสิ ท ธิ โ ดยไม่ ช อบซึ่ งจะต้อ งไปด าเนิ น การ
ต่างหากจากจาเลยทั้งสี่
ที่ดินที่จะต้องออกเป็ นพระราชกฤษฎี กา และประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาก่อนขึ้นทะเบียนเป็ นที่ สาธารณประโยชน์
ตาม พ.ร.บ. ว่าด้ว ยการหวงห้ามที่ ดินรกร้ างว่างเปล่ าอันเป็ น
สาธารณสมบัติ ของแผ่นดิ นฯ มาตรา ๕ จากัด แต่ เฉพาะที่ ดิ น
รกร้างว่างเปล่าตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๔ (๑) เท่ านั้น แต่ ที่ดิน
ตามฟ้ องเป็ นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิ นตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๐๔ (๒) ไม่ มี ก ฎหมายบั ง คั บ ให้ ต้ อ งขึ้ นทะเบี ย นและ
ออกเป็ นพระราชกฤษฎีกาแต่อย่างใด
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๓๒๙/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล. ๖ น. ๘๓ เดิ ม
ที่ ดิ น ทั้ง แปลงเป็ นที่ ดิ น มี โ ฉนด ๘ แปลง นอกนั้น เป็ นที่ ดิ น
รกร้างว่างเปล่า ต่อมาปี ๒๔๕๘ กระทรวงทหารเรื อในขณะนั้น
(กองทัพเรื อในปั จจุบนั ) ต้องการสร้ างสนามยิงเป้ าจึ งรวบรวม
ซื้ อจากเจ้าของและผนวกกับที่ รกร้ างว่างเปล่ าทาสนามยิงเป้ า
รวมเนื้ อที่ ๓๔๘ ไร่ ๑ งาน ๓๙ ตารางวา ที่ ดินดัง กล่ าวจึ งตก
เป็ นที่ สาธารณสมบัติของแผ่น ดิ นเพื่อประโยชน์ของแผ่นดิ น
โดยเฉพาะ แม้ ปี ๒๔๖๙ กระทรวงทหารเรื อหมดความ
33

จาเป็ นต้องใช้ที่ดิ นดัง กล่ า วส่ งมอบให้แก่ก ระทรวงพระคลัง


มหาสมบัติ ก็ห าท าให้ที่ ดิ น ดั ง กล่ า วพ้น สภาพจากการเป็ น
สาธารณสมบัติข องแผ่ น ดิ น แต่ อย่ างใดไม่ หากจะโอนที่ ดิ น
สาธารณะสมบัติของแผ่นดินจะทาได้กแ็ ต่ อาศัยอานาจแห่ งบท
กฎหมายเฉพาะหรื อพระราชกฤษฎี กา ดังนั้น เมื่ อการได้ที่ดิน
ของจาเลยก็มิได้เกิดจากบทกฎหมายเฉพาะหรื อ ตราเป็ นพระ
ราชกฤษฎีกา จาเลยย่อมไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ แม้จะมีการออกโฉนด
ที่ดินมาโดยชอบหรื อไม่ กต็ าม และกฎหมายห้ามยกอายุความ
ขึ้นเป็ นข้อต่ อสู้กบั แผ่นดิ นไม่ ว่าทรั พย์สินนั้นจะเป็ นสาธารณ
สมบัติของแผ่ นดิ น หรื อ ไม่ จาเลยจึ งยกอายุความขึ้ นต่ อ สู้ก บั
โจทก์ซ่ ึ งเป็ นหน่วยราชการหาได้ไม่
คาพิ พากษาฎีกาที่ ๑๔๑๗/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๒๗
การที่ ท. แบ่ งที่ ดิ น ออกเป็ นแปลงย่ อยรวม ๒๘ แปลง เพื่ อ
จัดสรรขายให้แก่บุคคลภายนอกและแบ่ งทางพิพาทไว้ใช้เป็ น
ทางเข้าออกสู่ ทางสาธารณะ ทางพิพาทจึ งเป็ นภาระจายอมแก่
ที่ดินแปลงย่อยรวมถึงที่ดินของโจทก์ตามประกาศคณะปฏิวตั ิ
ฉบับที่ ๒๘๖ ข้อ ๓๐ เมื่ อจ าเลยได้จดทะเบี ยนรั บโอนที่ ดิ น
มรดกของ ท. ในส่ วนที่เป็ นทางพิพาทและได้ทาทางพิพาทเป็ น
ถนนคอนกรี ต แต่ จาเลยกลับ มิ ได้ดูแ ลบ ารุ งรั ก ษาทางพิ พาท
ทาให้มีสภาพชารุ ดทรุ ดโทรม ปล่ อยให้มีการใช้ประโยชน์จาก
34

ทางพิพ าทตั้ง แต่ ปี ๒๕๒๕ คงมี แ ต่ ห้ามนารถบรรทุ กสิ บล้อ


ขนวัสดุกอ่ สร้างอพาร์ตเม้นต์ของโจทก์วิ่งบนทางพิพาทเท่ านั้น
โดยไม่ปรากฏว่ามีการหวงห้ามสงวนสิ ทธิ ในการใช้ทางพิ พาท
แต่ อย่ า ง ใด ถื อ ได้ ว่ า จ าเลยได้ อุ ทิ ศท างพิ พ าทให้ เ ป็ น
ทางสาธารณะโดยปริ ยายแล้ว ทางพิพาทจึงตกเป็ นทางสาธารณ
สมบั ติ ส าหรั บ พลเมื อ งใช้ ร่ ว มกัน ตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๐๔ (๒) โดยไม่ตอ้ งจดทะเบียนยกให้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๔๒๕/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๑๒ น. ๑๑๗
ทรั พ ย์สิ น ของแผ่ น ดิ น จะเป็ นสาธารณสมบัติ ข องแผ่ น ดิ น
หรื อไม่ ข้ ึ นอยู่ก บั สภาพของตัวทรั พ ย์น้ ัน ว่า ราษฎรได้ใ ช้เ พื่ อ
สาธารณประโยชน์หรื อสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกันหรื อไม่
ที่ดินพิพาทก่อนที่ โจทก์จะนาไปขอออก น.ส. ๓ ก. นั้น ไม่ มี
เอกสารแสดงสิ ทธิ ในที่ดิน มี ศาลเจ้าตั้งอยู่ ประชาชนทั่วไปใช้
ประโยชน์ร่วมกันโดยให้ทาพิธีบวงสรวงเจ้าที่และสิ่ งศักดิ์ สิ ทธิ์
ตามความเชื่อของชุมชนเป็ นประจาทุกปี มานานกว่า ๕๐ ปี แล้ว
แม้ จ ะไม่ มี หลั ก ฐานก ารขึ้ นทะเบี ยนที่ ดิ นพิ พาทเป็ นที่
สาธารณประโยชน์ แต่ เมื่ อโดยสภาพที่ ดินที่ พิพาทประชาชน
ยังคงใช้ประโยชน์อยู่ ก็ต้องถื อว่าที่ ดินพิพาทเป็ นที่ สาธารณะ
35

สมบัติ ข องแผ่ น ดิ น ประเภทพลเมื อ งใช้ร่ ว มกันตาม ป.พ.พ.


มาตรา ๑๓๐๔ (๒)

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๓๗


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๖๓๙/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๖๐ ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๗ บัญญัติไว้ในกรณี ที่บุคคลหนึ่งบุ คคลใด
ใช้สิ ทธิ ของตนจนเป็ นเหตุ ใ ห้เจ้าของอสั งหาริ มทรั พ ย์ไ ด้รั บ
ความเสี ย หาย หรื อ ได้รั บความเดื อดร้ อนจากกลิ่ น เสี ยง แสง
สว่ า ง หรื อมลภาวะใด ๆ เกิน กว่ า ที่ บุ ค คลทั่ ว ไปจะทนได้
เจ้าของอสังหาริ มทรัพย์น้ นั มีสิทธิ กระทาการเพื่อป้ องกันความ
เสี ยหายหรื อ เดื อ ดร้ อ นนั้ น ให้ สิ้ น ไป อัน เป็ นการคุ ้ ม ครอง
สุ ข ภาพอนามั ย ของเจ้ า ของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ที่ ไ ด้รั บ ความ
เสี ยหายหรื อเดื อดร้ อนจากกลิ่ น เสี ยง แสงสว่าง หรื อมลภาวะ
นั้นให้มีสุขลักษณะที่ ดีโดยคาฟ้ องของโจทก์มีคาขอให้จาเลย
ทั้งสองกาจัดสิ่ งปฏิกูลที่ รบกวนสุ ขภาพอนามัยของโจทก์ด้วย
แสดงให้เห็นว่าการขจัดความเดือดร้อนที่โจทก์ได้รับอาจทาได้
โดยวิธีอื่น หาใช่ตอ้ งขับไล่จาเลยทั้งสองตามฎี กาของโจทก์ไม่
ดังนั้น ที่โจทก์ฎีกาขอให้ขบั ไล่จาเลยทั้งสองให้ขนย้ายสุ กรไป
36

เลี้ ย งให้ห่า งไกลจากบ้า นของโจทก์จึ ง เป็ นวิธี ก ารที่ เ กิน กว่ า


ความจาเป็ น

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๔๙


คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๔๗๑๔/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล. ๓ น. ๑๔๐
ที่ดินทั้งสามแปลงของโจทก์ท้ งั สามเป็ นที่ดินที่มีที่ดินแปลงอื่ น
ล้อมอยู่จนไม่ มีทางออกสู่ ทางสาธารณะ โจทก์ท้ งั สามซึ่ งเป็ น
เจ้าของที่ดินที่ถูกปิ ดล้อมย่อมสามารถใช้ทางผ่านที่ดินที่ลอ้ มอยู่
ไปสู่ทางสาธารณะได้ และทางผ่านนั้นต้องเลื อกให้พอควรแก่
ความจาเป็ นของผูม้ ีสิทธิ จะผ่า นโดยคานึ งถึ งที่ ดินที่ ล้อมอยู่ให้
เสี ย หายน้อยที่ สุด ที่ จ ะเป็ นไปได้ต าม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๔๙
วรรคสาม เมื่อทางพิพาทที่ ผ่านที่ ดินของจาเลยมี ระยะทางใกล้
และใช้พ้นื ที่นอ้ ยที่สุดเมื่ อเปรี ยบเที ยบกับการใช้ทางผ่านที่ ดิน
ที่ลอ้ มอยู่ทางด้านที่ดินของ ส. และของ จ. ที่มีระยะทางยาวกว่า
และใช้ พ้ื น ที่ ม ากกว่ า ทางพิ พ าทจึ ง เป็ นทางพอสมควรแก่
ความจาเป็ นของโจทก์ท้ งั สามที่จะผ่านที่ ดินที่ ล้อมอยู่ไปสู่ ทาง
สาธารณะโดยเสี ยหายแก่ที่ดิ น ที่ ปิ ดล้อ มอยู่น้อยที่ สุด การที่
โจทก์ท้ งั สามเคยใช้ทางออกสู่ทางสาธารณะโดยผ่านที่ ดินของ
ส. และ จ. มาก่อ น เพราะ ส. และ จ. เจ้า ของที่ ดิ น ให้ค วาม
ยินยอม ไม่ใช่เป็ นสิ ทธิ ตามกฎหมาย ต้องถื อว่าที่ ดินของโจทก์
37

ทั้งสามไม่มีทางออกสู่ ท างสาธารณะ โจทก์ท้ งั สามจึ งสามารถ


ใช้ทางผ่านที่ดินของจาเลยที่ ปิดล้อมเป็ นทางจาเป็ นออกสู่ ทาง
สาธารณะได้

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๕๐


คาพิ พากษาฎีกาที่ ๘๖๒๑/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๑๐ น. ๑๙๑
การที่ ก.ท.พ.ร. และจาเลยร่ ว มตกลงแบ่ งที่ ดิ นมี โฉนดแปลง
หนึ่ งโดยให้แ บ่ ง ที่ ดิ น ๒ ส่ ว นที่ อ ยู่ร ะหว่ า งกลางด้ า นทิ ศ
ตะวันออกเป็ นทางเดินภาระจายอมสาหรั บที่ ดินส่ วนเหนื อสุ ด
และใต้สุ ดเพื่ ออกสู่ ท างสาธารณะกว้าง ๔ เมตร ตามสั ญ ญา
ประนีประนอมยอมความนั้น เป็ นการก่อภาระจายอมอันเป็ น
ทรั พ ยสิ ท ธิ อัน เกี่ย วกับ อสั ง หาริ มทรั พ ย์โ ดยทางนิ ติ ก รรม
แต่ ห ลั ง จากที่ มี การแ บ่ ง แยก ที่ ดิ นดั ง ก ล่ า ว ตามสั ญ ญา
ประนีประนอมยอมความแล้ว ไม่มีการจดทะเบี ยนที่ ดินพิพาท
เป็ นภาระจายอมเพื่อประโยชน์แก่ที่ดินโฉนดที่ถูกแบ่งแยก การ
ก่อ ภาระจ ายอมดัง กล่ า วจึ ง ไม่ บ ริ บู ร ณ์ ต าม ป.พ.พ. มาตรา
๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง คู่สัญญาตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
คงบังคับภาระจายอมดังกล่าวได้ในระหว่างคู่สัญญาด้วยกันใน
ฐานะบุ ค คลสิ ท ธิ เท่ านั้น เมื่ อ ก. และ ส. ซึ่ ง เป็ นคู่สั ญญาขาย
ที่ ดิ น เฉพาะส่ ว นในที่ ดิ น พิ พ าทให้แ ก่จ าเลยทั้ งสอง จ าเลย
38

ทั้งสองซึ่ งเป็ นบุคคลภายนอกจึงไม่ใช่คู่สัญญาและไม่ถูกผูกพัน


ตามสัญญาประนี ประนอมยอมความ ทั้งไม่ มีกฎหมายบัญญัติ
ให้จ าเลยทั้ง สองต้อ งรั บ โอนสิ ท ธิ แ ละหน้า ที่ เ กี่ย วกับ ภาระ
จายอมตามสั ญญาประนี ป ระนอมยอมความจาก ก. และ ส.
โจทก์จึงไม่ มีสิท ธิ บ ังคับจาเลยทั้งสองให้รับภาระจายอมตาม
สั ญ ญาประนี ป ระนอมยอมความได้ ที่ ดิ น พิ พ าทจึ ง ไม่ เ ป็ น
ภาระจายอม
ตามสัญญาประนีประนอมยอมความได้ตกลงแบ่ งที่ ดิน
มีโฉนดแปลงใหญ่โดยให้แบ่ งที่ ดิน ๒ ส่ วนที่ อยู่ระหว่างกลาง
ด้านทิศตะวันออกเป็ นทางเดินภาระจายอมสาหรั บที่ ดินส่ วนที่
อยู่เหนือสุ ดและใต้สุดเพื่อเป็ นทางออกสู่ทางสาธารณะ แสดงว่า
ที่ ดินแปลงใหญ่ น้ ี มีทางออกสู่ ท างสาธารณะ แต่ ภายหลังจาก
การแบ่งแยกที่ดินดังกล่าวแล้ว ที่ ดินของโจทก์ที่ถูกแบ่ งแยกมี
ที่ดินอื่นล้อมไม่มีทางออกสู่ทางสาธารณะ โจทก์ซ่ ึ งเป็ นเจ้าของ
กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิน แปลงย่อยในส่ ว นนั้นจึ ง มี สิ ทธิ เรี ย กร้ องทาง
จาเป็ นบนที่ดินอีกแปลงหนึ่งซึ่ งถูกแบ่งแยกจากที่ดินแปลงใหญ่
ด้วยกันได้โดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าทดแทนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๐
39

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๕๙


ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๙๙๓/๒๕๕๖ ฎ.๓๗๓ องค์ก าร
นานาชาติเพื่อร่ วมกันพัฒนาประเทศไทยได้มอบเงินให้เปล่ าแก่
ชาวบ้า นหมู่ บ้า นผ่ า นกองทุ น หมู่บ้า นโดยให้ค ณะกรรมการ
หมู่บ้านบริ หาร โจทก์ที่ ๘ เป็ นชาวบ้านหมู่บ้านดังกล่ าวจึ ง มี
ส่ วนเป็ นเจ้าของเงิ นด้วย การที่ จาเลยทั้งสี่ ได้รับ มอบหมายให้
เป็ นผูจ้ ดั สรรเงินกูย้ ืมและติดตามเงินกูย้ ืมคื นจากชาวบ้าน กลับ
ไม่นาเงินที่ชาวบ้านชาระหนี้เงิ นกูย้ ืมเข้าบัญชี โดยนาไปใช้จ่าย
ส่ วนตัว โจทก์ที่ ๘ ย่อมได้รับความเสี ยหายและถือว่าถูกโต้แย้ง
สิ ทธิ แล้ว โจทก์ที่ ๘ จึ งมี สิทธิ ปกป้ องรั กษาเงิ นที่ ได้รับมาจาก
องค์การนานาชาติเพื่อร่ วมกันพัฒนาประเทศไทยซึ่ งเป็ นทรั พย์
ส่ วนรวมของชาวบ้านในหมู่บา้ นได้
กองทุนหมู่บา้ นมิได้เป็ นนิติบุคคล ไม่ จาต้องมี ผกู้ ระทา
การแทนนิ ติ บุ ค คลตามบทบั ญ ญัติ ข องกฎหมาย และไม่ มี
ข้อบังคับใด ๆ ของกองทุนหมู่บา้ นที่ กาหนดให้ค ณะกรรมการ
กองทุ น ทั้ ง ๑๑ คน ต้อ งกระท าการร่ วมกัน ในการใช้ สิ ท ธิ
ฟ้ องร้องเรี ยกเงินกองทุนคืนจากจาเลยทั้งสี่ การที่ โจทก์ที่ ๘ มี
ส่ วนเป็ นเจ้าของเงินกองทุนอยู่ด้วย โจทก์ที่ ๘ ย่อมใช้สิทธิ อัน
40

เกิดแต่กรรมสิ ทธิ์ ครอบไปถึงทรั พย์สินทั้งหมดได้ตาม ป.พ.พ.


มาตรา ๑๓๕๙ รวมทั้งการใช้สิท ธิ ทางศาลด้วย โจทก์ที่ ๘ แต่
ผูเ้ ดี ย วย่อ มมี อ านาจฟ้ องเรี ยกเงิ นกองทุ น ที่ จ าเลยทั้ง สี่ นาไป
ใช้จ่ายส่ วนตัวและยังไม่ ได้ชาระคื นโดยไม่ จาต้องได้รับมอบ
อานาจให้ฟ้ องคดี จ ากเจ้าของรวมคนอื่ น จาเลยทั้งสี่ จึ ง ต้อ ง
รั บผิดชาระหนี้ ตามหนังสื อรั บ สภาพหนี้ ตามความรั บผิดของ
แต่ละคนแก่โจทก์ที่ ๘
คาพิ พ ากษาฎีกาที่ ๑๑๔๘๔/๒๕๕๕ ฎ. ๑๕๕๙ ที่ ดิ น
พิ พ าทเป็ นของผู้ร้ อ งกับ เด็ ก ชาย ว. ร่ ว มกัน ผู้ร้ อ งในฐานะ
เจ้าของรวมจึงสามารถใช้สิทธิ อันเกิดจากการเป็ นเจ้าของรวม
ครอบไปถึ ง ที่ ดิ น พิ พ าททั้ ง แปลงเพื่ อ ต่ อสู้ โ จทก์ซ่ ึ งเป็ น
บุ ค คลภายนอกให้ป ล่ อ ยที่ ดิ น พิ พ าทที่ โ จทก์น ายึ ด ได้ต าม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๙ แม้เด็กชาย ว. ซึ่ งเป็ นเจ้าของรวมด้วยกัน
มิได้ร่วมร้องขัดทรัพย์ดว้ ยก็ตาม

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๖๑


คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๗๖๑/๒๕๕๕ ฎ. ๓๐๙๔ แม้ผูร้ ้ อ ง
มีส่วนเป็ นเจ้าของรวมในที่ดินพิพาทซึ่ งเป็ นมรดกของ บ. ผูต้ าย
41

๑ ใน ๗ ส่ ว น แต่ จ าเลยในฐานะผู้จัด การมรดกของ บ. จด


ทะเบี ย นใส่ ชื่ อ ของจ าเลยเป็ นผูถ้ ื อ กรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ นโฉนด
พิพาทเพียงคนเดี ยว แล้วนาไปจดทะเบี ยนจานองเพื่อประกัน
หนี้ ไว้แ ก่โ จทก์เ มื่ อ วัน ที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๒๘ และจด
ทะเบียนขึ้นเงินจานองถึ ง ๙ ครั้ ง โดยผูร้ ้ องและบรรดาทายาท
อื่นของ บ. ไม่ได้โต้แย้งคัดค้าน ผูร้ ้ องและพี่น้องคนอื่ นซึ่ งเป็ น
บุตรของจาเลยยังเคยเจรจากับโจทก์ และภายหลังโจทก์ยื่นฟ้ อง
จาเลยแล้ว ในชั้น พิจ ารณาของศาลผู้ร้ องยัง มี ส่ ว นเจรจากับ
โจทก์โดยขอให้โจทก์ยอมลดยอดหนี้ให้แก่จาเลยจนจาเลยและ
โจทก์ต กลงทาสัญญาประนี ประนอมยอมความเมื่ อวันที่ ๑๕
สิ ง หาคม ๒๕๔๕ และเมื่ อมี การยึ ดที่ ดิ นออกขายทอดตลาด
ผูร้ ้องยังได้ไปดูแลการขายทอดตลาดแทนจาเลยด้วย แสดงว่า
ตลอดระยะเวลาประมาณ ๒๐ ปี นับแต่จาเลยนาที่ ดินพิพาทไป
จดทะเบี ยนจานองไว้แก่โจทก์ ผูร้ ้ องรู้ ม าโดยตลอดแต่ ไม่ เคย
โต้แย้งหรื อคัด ค้านที่ จาเลยน าที่ ดิน พิพาทจานองไว้แก่โจทก์
แสดงว่าผูร้ ้องมีเจตนาให้จาเลยแสดงตนเป็ นเจ้าของที่ ดินพิพาท
แต่ผเู้ ดียวโดยยินยอมให้จาเลยจานองที่ดินพิพาทได้ การจานอง
จึงผูกพันผูร้ ้องตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๑ วรรคสอง ผูร้ ้ องไม่ มี
สิ ทธิ ขอกันส่ วนในที่ดินพิพาทออกจากการขายทอดตลาด
42

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๖๓


ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๖๔๖๙/๒๕๕๕ ฎ. ๑๗๙๙ ว.
ต้อ งการให้โ จทก์มี ที่ ท ากิน ในอาคารพาณิ ช ย์พิ พ าทร่ ว มกับ
จาเลยทั้ง สองเรื่ อย ๆ ไป แม้ ว. จะเป็ นผู้ชาระเงิ น ค่ า อาคาร
พาณิ ชย์ให้แก่ผู้ขายไปก่อนแทนโจทก์และจาเลยซึ่ งเป็ นผูซ้ ้ื อ
แต่ ว. ไม่ ใช่ เจ้าของรวมจึ งถื อไม่ ได้ว่าเป็ นวัต ถุ ประสงค์ของ
เจ้าของรวมให้ใช้ประโยชน์ร่วมกันอันมี ลักษณะเป็ นการถาวร
แม้จาเลยที่ ๒ เป็ นผูเ้ ยาว์กไ็ ม่ใช่ขอ้ ห้ามแบ่งแยกและไม่ ใช่ กรณี
ไม่เป็ นโอกาสอันควร เมื่ อโจทก์ไม่ อาจทากิจการค้าขายต่ อไป
ได้และการจะให้ผอู้ ื่ นเช่ า ก็เกิดปั ญ หากับ จาเลยทั้ง สองถึ งขั้น
ตกลงกัน ไม่ ไ ด้ จะให้ จ าเลยทั้ งสองครอบครองโดยให้
ประโยชน์ ต อบแทนแก่ โ จทก์ก ็เ กิ ด ปั ญหาเรื่ องจ านวน
ค่ า ตอบแทน การถื อ กรรมสิ ท ธิ์ ร่ ว มกัน ต่ อ ไปย่ อ มไม่ เ กิด
ประโยชน์ การที่โจทก์ตอ้ งการแบ่ งกรรมสิ ทธิ์ รวมจึ งเป็ นสิ ทธิ
ของโจทก์และมี ความเหมาะสม โจทก์ชอบที่ จะเรี ย กให้แบ่ ง
กรรมสิ ทธิ์ รวมที่ดินและอาคารพาณิ ชย์พิพาทได้

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๖๔


คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๘๙๙/๒๕๕๕ ฎ. ๑๔๗๕ โจทก์ฟ้อง
43

ขอให้บังคับ จาเลยแบ่ งกรรมสิ ทธิ์ รวมโดยวิ ธีชาระราคาบ้า น


พิพาทครึ่ งหนึ่งเป็ นเงิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท จาเลยให้การปฏิเสธ
ว่า บ้านพิพาทมิ ใช่ ทรั พย์สินที่ โจทก์จาเลยเป็ นเจ้าของรวมกัน
ต่ อมาคู่ค วามทั้งสองฝ่ ายแถลงตามรายงานกระบวนพิจารณา
ของศาลชั้นต้นว่าโจทก์และจาเลยต่ างเป็ นเจ้าของกรรมสิ ท ธิ์
รวมในบ้านพิพาทสามารถตกลงกันได้แล้วว่าจะแบ่งกรรมสิ ทธิ์
รวมโดยให้บ้านพิพาทตกเป็ นของจาเลย แล้ว ชาระราคาบ้า น
พิพ าทให้แ ก่โ จทก์ครึ่ งหนึ่ งตามฟ้ อง คงมี ปั ญ หาเฉพาะเรื่ อ ง
ราคาบ้า นพิพ าทซึ่ งจาเลยยังไม่ ยอมรั บ ตามราคาที่ โ จทก์ฟ้อง
กรณี จึงไม่ตอ้ งด้วย ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๔ วรรคสอง ที่ ศาลจะ
พิพากษาให้นาบ้านพิพาทออกขายโดยประมูลราคากันระหว่าง
โจทก์และจ าเลย หากไม่ สามารถตกลงกัน ได้ให้นาออกขาย
ทอดตลาดเพื่อนาเงิ นมาแบ่ งให้โจทก์จาเลยคนละครึ่ ง ซึ่ งเป็ น
วิธีก ารแบ่ ง กรณี เ จ้าของรวมไม่ ตกลงกันว่ าจะแบ่ งทรั พ ย์สิ น
อย่างไร เมื่อโจทก์และจาเลยยังคงมีปัญหาเรื่ องราคาบ้านพิพาท
ตามที่ ศ าลชั้นต้น ก าหนดเป็ นประเด็ น ข้อพิ พ าทไว้แ ล้ว ศาล
ชั้นต้นจึงควรสื บพยานตามประเด็นดังกล่าวให้สิ้นกระแสความ
เสี ยก่อนแล้วจึงแบ่งราคาบ้านพิพาทที่ สืบได้ความให้แก่โจทก์
ครึ่ งหนึ่งตามที่คู่ความตกลงกัน
44

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๖๘


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๕๕๗/๒๕๕๖ ฎ. ๑๓๑ ส. บิดาจาเลย
ที่ ๑ โอนที่ ดิ นอยู่ในในเขตนิ ค มสร้ างตนเองขายแก่ ถ. บิ ด า
โจทก์ซ่ ึ งมิ ได้เป็ นสมาชิ กของนิ คม เป็ นการฝ่ าฝื นข้อห้ามตาม
พ.ร.บ. จัดที่ดินเพื่อการครองชี พฯ มาตรา ๘, ๑๑, ๑๒ และ ๑๕
การซื้ อ ขายที่ ดิ น พิ พ าทจึ ง ตกเป็ นโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๕๐ การครอบครองที่ ดินพิพาทของ ถ. และโจทก์ ต้องถื อว่า
เป็ นการครอบครองแทน ส. เจ้า ของที่ ดิน เมื่ อ จาเลยที่ ๑ จด
ทะเบี ยนรั บโอนมรดกที่ ดินพิพาทจาก ส. ตามพินัยกรรมแล้ว
โอนขายแก่จาเลยที่ ๒ ภายหลังพ้นกาหนดห้ามโอน โจทก์จึง
ไม่มีสิทธิ ครอบครองที่ดินพิพาท
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๓๗๖/๒๕๕๕ ฎ. ๑๒๕๕ น. ยก
ที่ดินพิพาทให้โจทก์และ ส. ร่ วมกัน โดยโจทก์ให้ ส. ทากินใน
ที่ ดินพิ พาททั้งแปลงไปก่อน กับโจทก์ได้แ สดงเจตนาเข้าถื อ
ครองที่ ดิ น พิ พ าทร่ วมกับ ส. แล้ว เมื่ อ โจทก์มิ ไ ด้ ส ละการ
ครอบครองที่ดินพิพาท การครอบครองที่ ดินพิพาทของ ส. จึ ง
เป็ นการครอบครองที่ดินไว้แทนโจทก์ดว้ ย การที่ จาเลยรั บโอน
มรดกที่ดินพิพาทจาก ส. จาเลยย่อมมี สิทธิ ครอบครองในที่ ดิน
พิพาทเฉพาะส่ วนของ ส. เท่านั้น
45

จาเลยไม่ มีหน้าที่ ทางนิ ติกรรมที่ จะต้องไปจดทะเบี ยน


ในที่ ดินพิ พาทเฉพาะส่ ว นให้แก่โ จทก์ แต่ เมื่ อที่ ดินพิ พาท ส.
และโจทก์มีสิทธิ ครอบครองร่ วมกัน การที่ ส. นาที่ดินพิพาทไป
ออก น. ส. ๓ ก. เป็ นชื่อ ส. ทั้งแปลงโดยไม่ ได้รับความยินยอม
จากโจทก์ จึงเป็ นการไม่ชอบ จาเลยซึ่ งรับโอนมรดกที่ดินพิพาท
มาจาก ส. และเปลี่ ย นเอกสารสิ ทธิ ที่ดิ นพิ พาทมาเป็ นโฉนด
ที่ดิน การออกโฉนดที่ดินพิพาทเฉพาะส่ วนที่ เป็ นของโจทก์จึง
ไม่ ชอบเช่ น กัน ศาลฎี ก ามี อานาจเพิก ถอนโฉนดที่ ดิน เฉพาะ
ส่ วนที่เป็ นของจาเลยได้ ตามประมวลกฎหมายที่ ดิน มาตรา ๖๑
เมื่ อการออกโฉนดที่ ดิ น ไม่ ชอบ โจทก์จะขอให้จาเลยใส่ ชื่ อ
โจทก์ถือกรรมสิ ท ธิ์ ร่ วมกันในโฉนดที่ ดิน ที่ ออกโดยไม่ ชอบ
หาได้ไ ม่ เป็ นหน้าที่ ข องโจทก์ที่ จะไปดาเนิ น การออกโฉนด
ที่ ดิ น ของโจทก์ต ามหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารที่ ก าหนดไว้ใ น
ประมวลกฎหมายที่ดิน

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๗๕


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๗๖-๑๑๗๗/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๑๐ น.
๑๔ ที่ดินพิพาทเป็ นทุ่งเลี้ยงสัตว์อันเป็ นที่ สาธารณะสมบัติของ
แผ่น ดิ น การเข้ายึ ดถื อครอบครองเพื่อ ประโยชน์เฉพาะส่ ว น
46

บุ คคลใดย่อมไม่ ชอบด้วยกฎหมาย ราษฎรผูค้ รอบครองย่อ ม


ไม่อาจยกสิ ทธิ ใด ๆ ขึ้นโต้แย้งรัฐได้ เพียงแต่ในระหว่างราษฎร
ด้วยกัน กฎหมายผ่อนคลายยอมให้ราษฎรที่ ยึดถื อครอบครอง
เพื่อใช้ประโยชน์กอ่ นเกิดสิ ทธิ ที่จะยกขึ้ นยันบุ คคลอื่ นที่ เข้ามา
รบกวนหรื อ แย่ง การครอบครองได้ แต่ จะหวงกันผูอ้ ื่ น ได้แ ต่
ขณะที่ ตนยังยึดถื อครอบครองอยู่จริ งเท่ านั้น และหากถูกแย่ง
การครอบครองจะต้องดาเนินการเพื่อเอาคืนซึ่ งการครอบครอง
จากบุคคลอื่นภายในเวลาหนึ่งปี นับแต่ที่ถูกแย่งการครอบครอง
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๕ เพราะกฎหมายประสงค์จะให้มีการ
กระจายการใช้ป ระโยชน์ในสาธารณะสมบัติของแผ่นดิ นแก่
ราษฎรทัว่ ไป มิ ใช่ ยินยอมให้บุคคลใดหวงกันไว้โดยไม่ ได้ทา
ประโยชน์อย่างจริ งจังและต่ อเนื่ อง การที่ จาเลยทั้งสองเข้าไป
ปลูกบ้านพักอาศัยในที่ดินพิพาทโดยโจทก์ยงั ยึดถือครอบครอง
ที่ดินพิพาทและยังไม่ ได้สละสิ ทธิ ครอบครอง จึ งเป็ นการแย่ง
การครอบครอง โจทก์จึ งฟ้ องเพื่อเรี ยกคื นการครอบครองได้
ภายใน ๑ ปี นับแต่วนั ถูกแย่งการครอบครอง

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๗๗


คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๕๓/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๑๐ น. ๑๑ การ
ที่โจทก์และทายาทของ ข. ได้ทาหนังสื อแสดงการไม่ รับมรดก
47

ของ ข. นั้น ไม่ใช่เป็ นเรื่ องการสละมรดก เพราะการสละมรดก


ต้อ งแสดงเจตนาชั ด แจ้ ง เป็ นหนั ง สื อ มอบไว้แ ก่พ นั ก งาน
เจ้าหน้าที่หรื อต้องทาเป็ นสัญญาประนีประนอมยอมความ ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๑๒ แต่ ที่ ดิ น ตามหนั ง สื อ รั บ รองการท า
ประโยชน์ดงั กล่าวมีเพียงสิ ทธิ ครอบครองเท่านั้น เมื่อโจทก์และ
ทายาทของ ข. ได้แสดงความประสงค์ดังกล่ าวย่ อมแสดงอยู่
ในตัวว่าไม่ตอ้ งการที่ดินดังกล่าว จึ งถื อได้ว่าโจทก์และทายาท
ของ ข. ได้แ สดงเจตนาสละสิ ทธิ ค รอบครองและมอบที่ ดิ น
ดังกล่าวให้แก่จาเลยและ ส. บุตรจาเลยครอบครองแล้ว
การที่จาเลยปลูกบ้านให้ ส. บุ ตรจาเลยอาศัยอยู่ในที่ ดิน
ดังกล่าว ย่อมแสดงว่าจาเลยยึดถื อที่ ดินดังกล่ าวเพื่อตน ทั้งไม่
ปรากฏว่ามีผใู้ ดคัดค้านการครอบครองที่ดินดังกล่ าวของจาเลย
ตลอดมา ที่ดินตามหนังสื อรับรองการทาประโยชน์ดังกล่ าวจึ ง
ไม่เป็ นทรัพย์มรดกของ ข. โจทก์ในฐานะผูจ้ ดั การมรดกของ ข.
จึงไม่มีสิทธิ เรี ยกให้จาเลยส่ งมอบต้นฉบับหนังสื อรั บรองการ
ทาประโยชน์ดงั กล่าว

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๑


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๕๗๓/๒๕๕๕ ฎ. ๒๑๐๒ ผูร้ ้ อ ง
ครอบครองและทาประโยชน์ในที่ ดิ นพิพาท โดยอาศัยสิ ทธิ ใน
48

ฐานะผูค้ ้ าประกันที่ขอไถ่ถอนจานองและชาระหนี้ แทน ส. ผูก้ ู ้


แล้วขอรั บโฉนดที่ ดินแปลงพิพาทจากเจ้าหนี้ มายึดถื อไว้ การ
ครอบครองที่ ดินพิพาทของผูร้ ้ องไม่ ว่าจะนานเพียงใดก็ไม่ ใช่
การครอบครองโดยสงบและเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ
แม้ ส. เจ้า ของที่ ดิ น พิ พ าทถึ ง แก่ค วามตาย ต้อ งถื อ ว่ า ผู้ร้ อ ง
ครอบครองที่ดินพิพาทแทนทายาทของ ส. อยู่ตลอดไปจนกว่า
ผู้ร้ อ งจะได้บ อกกล่ า วเปลี่ ย นลั ก ษณะแห่ ง การยึ ด ถื อ ไปยัง
เจ้าของที่ดินพิพาทว่าไม่เจตนาจะยึดถือแทนต่ อไปตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๘๑ แม้ทายาทโดยชอบด้วยกฎหมายของ ส. ไม่ ได้
โต้แ ย้ง คัด ค้ า นการครอบครองของผู้ร้ อ ง ก็ถื อ ไม่ ไ ด้ว่ า เป็ น
การบอกกล่ า วแสดงเจตนาเปลี่ ย นลัก ษณะการครอบครอง
ต่อทายาทของ ส. แล้ว
คาพิพ ากษาฎีกาที่ ๒๗๖๗/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๑๐ น. ๔๘
จาเลยยอมรั บว่า ที่ ดินพิพาทมี ท. เป็ นผูด้ ูแลแทนเจ้าของและ
อนุญาตให้จาเลยเข้าอยู่อาศัยและปลูกกระต๊อบ โดยจาเลยรู้ ดีว่า
ที่ดินเป็ นของ ม. หาก ม. ไม่ อนุ ญาตให้อยู่อาศัยต่ อ จาเลยก็จะ
ย้ายออกไป ต่อมา ภ. กับพวกซื้ อที่ดินแปลงดังกล่าวจาก ม.และ
อนุญาตให้จาเลยกับคนอื่นอยู่อาศัยต่อไป แล้ว ภ. กับพวกโอน
ขายที่ ดินพิพ าทให้โจทก์เมื่ อปี ๒๕๓๓ โดยโจทก์บอกจาเลย
และคนอื่ นที่ อยู่อาศัย ในที่ ดินพิพาทว่าโจทก์ยงั ไม่ ขับไล่ โดย
49

ไม่ปรากฏว่าจาเลยโต้แย้งคัดค้าน พฤติ การณ์ดังกล่ าวแสดงว่า


จาเลยครอบครองที่ พิพาทโดยอาศัยสิ ทธิ ของเจ้าของ มิ ใช่ การ
ครอบครองปรปั กษ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ ฉะนั้น โจทก์
จะรับโอนที่ดินพิพาทโดยสุ จริ ตหรื อไม่อย่างไร จาเลยก็ไม่ อาจ
ยกข้อต่ อสู้ดังกล่ าวขึ้ นต่ อสู้โจทก์ได้ การครอบครองปรปั ก ษ์
ของจาเลยเพิ่งเริ่ มเกิดขึ้นเมื่อจาเลยได้เปลี่ ยนลักษณะการยึดถื อ
โดยยื่ นคาร้ องสอดเป็ นคู่ความฝ่ ายที่ สามขอแสดงกรรมสิ ท ธิ์
ที่ ดินอันเป็ นปฏิปักษ์ต่อโจทก์เมื่ อปี ๒๕๓๙ ซึ่ งเมื่ อนับถึ งวัน
ฟ้ องยังไม่ถึง ๑๐ ปี ดังนั้น จาเลยจึ งยังไม่ ได้กรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดิน
พิพาท
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๗๒๖/๒๕๕๕ ฎ. ๒๘๐๖ ร. ยกที่ ดิน
มีโฉนดให้แก่ผรู้ ้องโดยทาหนังสื อยกให้มีข้อความว่า ร. ขอทา
พิ นัย กรรมให้ไ ว้แ ก่ผู้ร้ อ งว่ า ร. อนุ ญ าตให้ผู้ร้ อ งปลู ก สร้ า ง
บ้า นพัก อาศัย เป็ นตึ ก สองชั้น บนที่ ดิ น พิ พ าทในโฉนดเลขที่
๙๑๘๓ โดยให้คามัน่ สัญญาว่าพินัยกรรมฉบับนี้ ยกที่ ดินพิพาท
ให้ผรู้ ้องปลูกสร้างบ้านโดยผูร้ ้องออกเงิ นค่ าปลูกสร้ างเอง โดย
ร. และผูร้ ้องตกลงกันว่าที่ ดินและสิ่ งปลูกสร้ างใด ๆ ในโฉนด
ที่ดินเลขที่ ๙๑๘๓ จะไม่ทาการซื้ อขายเป็ นอันขาด ท้ายหนังสื อ
ร. และผูร้ ้องต่างได้ลงลายมือชื่อไว้ในฐานะผูใ้ ห้และผูร้ ั บคามั่น
50

สัญญาตามลาดับ แสดงว่า ร. แสดงเจตนาเป็ นคามัน่ สัญญาว่า


เมื่อ ร. ถึงแก่ความตาย ร. ยกที่ ดินพิพาทให้ผรู้ ้ องขณะเดี ยวกัน
ร. ได้แสดงเจตนาที่กอ่ ให้เกิดผลผูกพันแก่ผรู้ ้องในขณะที่ ร. ยัง
มีชีวิตอยู่ว่าอนุญาตให้ผรู้ ้องมีสิทธิ เข้าไปปลูกบ้านในที่ ดินของ
ร. ได้ โดยมี ข้อตกลงว่า ร. จะไม่ ขายที่ ดินโฉนดเลขที่ ๙๑๘๓
ข้อตกลงนี้รวมตลอดถึงการแสดงเจตนาล่วงหน้าของ ร. ที่ว่าจะ
ยกที่ ดิ น พิ พ าทให้ผู้ร้ อ งเมื่ อ ตนถึ ง แก่ค วามตาย แสดงว่ า ร.
ต้อ งการให้ผู้ร้อ งปลู ก สร้ า งบ้า นในที่ ดิ น พิพ าทได้ด้ว ยความ
มั่น ใจว่ า จะไม่ ถู ก กระทบกระเทื อ นสิ ท ธิ ห รื อได้ รั บ ความ
เดือดร้อนเมื่อ ร. ถึงแก่ความตายแล้ว หาได้มีความหมายไปถึ ง
ว่า ร. ยกที่ ดินพิพาทให้ผรู้ ้ องตั้งแต่ วนั ทาหนังสื อยกให้ ดังนั้น
ขณะ ร. มี ชี วิ ต อยู่ ที่ ดิ น พิ พ าทจึ ง ยัง เป็ นของ ร. การที่ ผู้ร้ อ ง
ครอบครองที่ดินพิพาทย่อมเป็ นการครอบครองโดยอาศัยสิ ทธิ
ของ ร. เมื่ อ ผู้ร้ อ งมิ ไ ด้แ สดงเจตนาเปลี่ ย นแปลงการยึ ด ถื อ
ครอบครองต่ อ ร. ว่าจะยึดถื อเพื่อตน ถื อว่าผูร้ ้ อ งครอบครอง
ที่ ดิ น พิ พ าทแทน ร. ตลอดมา แม้ผู้ร้ อ งจะครอบครองนาน
เพี ย งใด ผู้ ร้ อ งก็ไ ม่ ไ ด้ ก รรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น พิ พ าทโดยการ
ครอบครอง ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ เมื่อที่ดินยังเป็ นของ ร.
ร. มี สิทธิ จาหน่ ายจ่ ายโอนได้ ส่ วนการกระทาดังกล่ าวจะเป็ น
51

การผิ ดข้อ ตกลงหรื อ ทาให้เกิด ความเสี ย หายแก่ผรู้ ้ องหรื อไม่


อย่างไร ผูร้ ้องย่อมต้องไปว่ากล่าวเป็ นอีกเรื่ องหนึ่ง

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๘๗


คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๙๔๒/๒๕๕๕ ฎ.ส.ล. ๒ น. ๑๖๒
ภาระจายอมอันเป็ นประโยชน์แก่ที่ ดินของโจทก์ท้ งั เจ็ดสิ บที่ มี
เหนื อ ที่ ดิ น พิ พ าทเป็ นประเภทเดี ย วกับ ภาระจ ายอมอัน เป็ น
ประโยชน์แก่ที่ดินของจาเลยที่ ๒ และที่ ๓ ที่มีเหนือที่ดินพิพาท
กล่ าวคื อ ประโยชน์ที่ได้ใช้ทางพิพาทเป็ นทางเข้าออกสู่ ถนน
สาธารณะ แต่ ผใู้ ช้ทางพิพาทแต่ ละคนก็ไม่ อาจใช้สิทธิ ให้เกิด
ความเสี ยหายต่อผูท้ ี่ใช้ทางพิพาทร่ วมกันนั้นได้ การที่ โจทก์ท้ งั
เจ็ด สิ บ ไม่ อาจใช้ทางเท้าบริ เ วณที่ มีก ารทาทางเชื่ อมระหว่า ง
ที่ ดิ น ของจ าเลยที่ ๒ และที่ ๓ กับ ทางพิ พ าทนั้น ก็เ ป็ นการ
สูญเสี ยทางเท้าเพียงบางส่ วนเป็ นระยะทาง ๗ เมตร เท่ านั้น ยัง
สามารถใช้ทางเท้า ส่ ว นใหญ่ ที่ เหลื อนั้นได้ จึ ง ไม่ เ ป็ นเหตุ ใ ห้
ประโยชน์แห่งภาระจายอมของโจทก์ท้ งั เจ็ดสิ บที่ มีอยู่ในที่ ดิน
พิพาทลดไปหรื อเสื่ อมความสะดวก การรื้ อทางเท้าเพื่อท าทาง
เชื่อมระหว่างที่ ดินของจาเลยที่ ๒ และที่ ๓ กับ ทางพิพาทนั้น
จึ งไม่ เป็ นการกระทาโดยละเมิ ด แต่ การสร้ างท่ อระบายน้ าใต้
52

ทางพิ พ าท โดยการต่ อท่ อระบายน้ า จากอาคารบนที่ ดิ นของ


จาเลยที่ ๒ และที่ ๓ เข้ากับท่อระบายน้ าของหมู่บ้านต้องได้รับ
ความยินยอมจากโจทก์ท้ งั เจ็ ดสิ บและผู้ที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้า น
ก่อน แม้ทางพิพาทดังกล่าวจะตกเป็ นภาระจายอมแก่ที่ดินของ
จาเลยที่ ๒ และที่ ๓ ก็ไม่ท าให้ท่ อระบายน้ าที่ อยู่ในทางพิพาท
ตกเป็ นภาระจ ายอมแก่ที่ดิน ของจาเลยที่ ๒ และที่ ๓ ไปด้ว ย
เมื่อโจทก์ท้ งั เจ็ดสิ บและผูท้ ี่อาศัยในหมู่บ้านไม่ ยินยอม การต่ อ
ท่อระบายน้ าดังกล่ าวเข้ากับ ท่ อระบายน้ าของหมู่บ้าน จึ งเป็ น
การกระทาโดยละเมิด

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๓๙๐


คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๖๔๕๒/๒๕๕๕ ฎ. ๑๗๙๕ แม้จาเลย
ทั้งสองมิ ได้เป็ นผูส้ ร้ างหรื อยิน ยอมให้มีการสร้ างประตูเหล็ ก
พิ พ าทบนที่ ดิ น ภารยทรั พ ย์ซ่ ึ งท าให้ โ จทก์ไ ม่ ส ามารถใช้
ประโยชน์ในที่ดินภาระจายอมได้ แต่ จาเลยทั้งสองเป็ นเจ้าของ
ที่ดินภาระจายอมและไม่ ดาเนิ นการใด ๆ ให้โจทก์สามารถใช้
ประโยชน์ใ นทางภาระจ ายอม ย่ อ มทาให้โ จทก์ไ ด้รับ ความ
เสี ยหาย ขัดต่อ ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๙๐ โจทก์จึงมี อานาจฟ้ องให้
จาเลยทั้งสองรื้ อประตูเหล็กพิพาทออกไปจากทางภาระจายอม
ได้
53

คาพิพากษาฎีกาน่ าสนใจมาตรา ๑๔๐๑


คาพิ พ ากษาฎีก าที่ ๑๒๓๘๓/๒๕๕๕ ฎ. ๑๒๖๓ บิ ด า
มารดาโจทก์ท้ งั สองได้ใช้เส้นทางพิพาทในที่ ดินของจาเลยเป็ น
ทางเดินและขนข้าวออกไปสู่ทางสาธารณะด้านทิ ศ เหนื อตั้งแต่
ตาของโจทก์ท้ งั สองและจ าเลยได้แบ่ งที่ ดิน ให้แก่มารดาของ
โจทก์ท้ งั สองและมารดาจาเลยครอบครองเป็ นส่ วนสัดแล้ว การ
ที่ ป. เช่าที่ดินของบิดามารดาโจทก์ท้ งั สองทานาและใช้เส้นทาง
พิพาทผ่านที่ดินมารดาจาเลยออกสู่ทางสาธารณะด้านทิ ศเหนื อ
ตลอดมาจนที่ ดินตกเป็ นของจาเลย ย่อมเป็ นการใช้ทางพิพาท
แทนบิดามารดาโจทก์ท้ งั สอง เมื่ อที่ ดินที่ เช่ าตกเป็ นของโจทก์
ทั้ง สองและโจทก์ท้ ัง สองให้ ป. เช่ า ท านาต่ อ มา การใช้ท าง
พิ พ าทและของ ป. ก็ย่ อ มเป็ นการใช้ ท างพิ พ าทแทนโจทก์
ทั้งสอง เมื่อนับระยะเวลาที่บิดามารดาโจทก์ท้ งั สองเป็ นเจ้าของ
กรรมสิ ท ธิ์ ในที่ ดิ น ในวัน ที่ ๑๘ มิ ถุ น ายน ๒๕๓๖ โดยบิ ด า
มารดาโจทก์ท้ งั สองซึ่ งท านาในที่ ดินของตนได้ใช้ทางพิพาท
โดยความสงบ เปิ ดเผยและเจตนาให้เกิดทางภาระจายอมนับแต่
เวลาดังกล่าวเรื่ อยมาจนให้ ป. เช่ าที่ ดินทานาต่ ออี กราว ๒๐ ปี
โดย ป. ได้ใช้ท างพิ พาทในการท านาแทนบิ ดามารดาโจทก์
ทั้งสองเรื่ อยมาอันเป็ นการใช้เพื่อประโยชน์แก่ที่ดินจนกระทั่ง
ที่ดินตกเป็ นของโจทก์ท้ งั สอง รวมระยะเวลาการใช้ทางพิพาท
54

ติดต่อกันนับถึงวันฟ้ องได้เกิน ๑๐ ปี ทางพิพาทจึ งตกเป็ นภาระ


จายอมโดยอายุค วามแก่ที่ ดิ นของโจทก์ท้ งั สองตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๔๐๑ ประกอบด้วยมาตรา ๑๓๘๒ แล้ว
คาพิพ ากษาฎีก าที่ ๑๒๐๓/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๑๐ น. ๒๐
ภาระจายอมเป็ นทรัพยสิ ทธิ ซ่ ึ งกฎหมายบัญญัติให้บุคคลผูเ้ ป็ น
เจ้าของอสั งหาริ ม ทรั พ ย์อื่น ได้ม าโดยนิ ติ กรรมหรื อโดยอายุ
ความ สาหรับการได้มาซึ่ งภาระจายอมโดยอายุความ กฎหมาย
มุ่งประสงค์ให้ถือเอาการใช้ประโยชน์ของเจ้าของสามยทรั พย์
เป็ นสาคัญ โดยไม่ได้คานึ งว่าภารยทรั พย์จะเป็ นของผูใ้ ด หรื อ
เจ้าของสามยทรั พย์จะต้องรู้ ว่าผูใ้ ดเป็ นเจ้าของภารยทรั พย์น้ นั
เพราะแม้มี ผใู้ ช้ทางเดิ นในที่ ดินของผูอ้ ื่ นติ ดต่ อ กันมาจนครบ
๑๐ ปี โดยสาคัญผิดว่าเป็ นที่ดินของตน ผูใ้ ช้ทางดังกล่าวย่อมได้
ไปซึ่ งภาระจายอมโดยอายุความ ดังนั้น การที่ โจทก์ท้ งั สองใช้
ทางพิพาทในที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๔๓๖๒๙ ซึ่ งแบ่ งแยกออกมา
จากโฉนดเลขที่ ๑๒๖๐๖ โดยสงบ เปิ ดเผย และในลักษณะเป็ น
ปรปั ก ษ์ต่ อ เจ้ า ของที่ ดิ น ติ ด ต่ อ กัน มาจากที่ ดิ น โฉนดเลขที่
๑๒๖๐๖ เป็ นทางสัญจรไปสู่ ทางสาธารณะจนครบ ๑๐ ปี แล้ว
โจทก์ท้ ั งสองย่ อ มได้ไ ปซึ่ งภาระจ ายอมโดยอายุ ค วามตาม
ป.พ.พ. ๑๔๐๑ ประกอบมาตรา ๑๓๘๒
55

แม้บริ ษทั ว. จะทาหนังสื อรั บ รองยินยอมให้โจทก์ท้ ัง


สองใช้ทางพิพาทออกสู่ ทางสาธารณะก็ตาม แต่ โจทก์ท้ งั สอง
มิได้ใช้ทางพิพาทโดยอาศัยสิ ทธิ ของบริ ษทั ว. ตรงกันข้ามกลับ
ได้ความว่าในขณะที่โจทก์ที่ ๒ ขายที่ ดินโฉนดเลขที่ ๑๒๖๐๖
เนื้อที่ ๓๘ ตารางวา ให้แก่บริ ษทั ว. ที่ ดินดังกล่ าวมี ราคาสู งถึ ง
๒,๐๐๐,๐๐๐ บาทเศษ เนื่ อ งจากอยู่ติ ด กับถนนสายใหญ่ แต่
โจทก์ที่ ๒ ขายให้แก่บ ริ ษทั ว. ในราคาที่ ต่ า เกินสมควรเพีย ง
๕๔๐,๐๐๐ บาท เพราะโจทก์ที่ ๒ คาดหวังว่าแม้จะขายไปแล้ว
โจทก์ท้ งั สองก็ย ังมี สิ ทธิ ใช้ทางพิพ าทได้ต ามที่ บ ริ ษ ัท ว. ให้
คารับรองไว้ ฉะนั้น การที่โจทก์ท้ งั สองใช้ทางพิพาทออกสู่ ทาง
สาธารณะ จึงเป็ นการใช้โดยถือว่าตนมี สิทธิ ในทางนั้น อันเป็ น
ปรปั กษ์ต่อเจ้าของที่ดินโดยตรง หาใช่เป็ นการใช้โดยอาศัยสิ ทธิ
ของบริ ษทั ว. ไม่

You might also like