You are on page 1of 225

ประมวลกฎหมายอาญา

ประมวลกฎหมายอาญา
(ฉบับสมบูรณ์ )

แก้ ไขล่ าสุด


กุมภาพันธ์
๒๕๖๔

รวบรวมโดย
สราวุธ เบญจกุล
2

ชื่อหนังสือ ประมวลกฎหมายอาญา
แก้ ไขล่าสุด กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔

ผู้รวบรวม สราวุธ เบญจกุล

จานวนหน้ า ๒๒๔

ปี ที่จดั ทา กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔


3

คานา
ประมวลกฎหมายอาญาเล่ ม นี แ้ ก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ล่ า สุ ด ถึ ง พระราช
บัญญัติแก้ ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๘) พ.ศ. ๒๕๖๔
ใช้ บัง คับ ตัง้ แต่ วัน ถั ด จากวัน ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษาเป็ นต้ น ไป
(ประกาศราชกิ จ จานุ เ บกษาเมื่ อ วัน ที่ ๖ กุ ม ภาพัน ธ์ ๒๕๖๔) ซึ่ง แก้ ไ ข
เพิ่ มเติ มมาตรา ๓๐๑ และมาตรา ๓๐๕ และได้ นาระเบี ย บราชการฝ่ าย
ตุลาการศาลยุติธรรม ว่าด้ วยการกาหนดจานวนชัว่ โมงที่ถือเป็ นการทางาน
หนึง่ วันและแนวปฏิบตั ิในการให้ ทางานบริ การสังคมหรื อสาธารณประโยชน์
แทนค่าปรั บ และการเปลี่ยนสถานที่กักขัง พ.ศ. ๒๕๔๖ พระราชบัญญัติ
ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา
พ.ศ. ๒๕๔๔ มารวบรวมไว้ สาหรั บกฎหมายที่ แก้ ไขล่าสุดได้ ทาตัวอักษร
ขีดเส้ นใต้ ไว้ เพื่อความสะดวกในการใช้ งาน
สราวุธ เบญจกุล
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔
4

สารบาญ
มาตรา หน้ า

พระราชบัญญัติให้ ใช้ ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. ๒๔๙๙ .................. ๙


ประมวลกฎหมายอาญา
ภาค ๑ บทบัญญัตทิ ่ วั ไป
ลักษณะ ๑ บทบัญญัติที่ใช้ แก่ความผิดทัว่ ไป
หมวด ๑ บทนิยาม ๑ ................ ๑๒
หมวด ๒ การใช้ กฎหมายอาญา ๒-๑๗ ......... ๑๖
หมวด ๓ โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย
ส่วนที่ ๑ โทษ ๑๘-๓๘ ...... ๒๕
ส่วนที่ ๒ วิธีการเพื่อความปลอดภัย ๓๙-๕๐ ...... ๓๖
ส่วนที่ ๓ วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ
และการรอการลงโทษ ๕๑-๕๘ ...... ๔๑
หมวด ๔ ความรับผิดในทางอาญา ๕๙-๗๙ ...... ๔๖
หมวด ๕ การพยายามกระทาความผิด ๘๐-๘๒ ...... ๕๕
หมวด ๖ ตัวการและผู้สนับสนุน ๘๓-๘๙ ...... ๕๖
หมวด ๗ การกระทาความผิดหลายบท
หรื อหลายกระทง ๙๐-๙๑ ....... ๖๐
หมวด ๘ การกระทาความผิดอีก ๙๒-๙๔ ...... ๖๑
หมวด ๙ อายุความ ๙๕-๑๐๑ ..... ๖๓
ลักษณะ ๒ บทบัญญัติที่ใช้ แก่ความผิดลหุโทษ ๑๐๒-๑๐๖ .. ๖๖
5

ภาค ๒ ความผิด มาตรา หน้ า


ลักษณะ ๑ ความผิดเกี่ยวกับความมัน่ คงแห่งราชอาณาจักร
หมวด ๑ ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริ ย์ พระราชินี รัชทายาท
และผู้สาเร็ จราชการแทนพระองค์ ๑๐๗-๑๑๒ ...... ๖๗
หมวด ๒ ความผิดต่อความมัน่ คงของรัฐ
ภายในราชอาณาจักร ๑๑๓-๑๑๘ ...... ๗๐
หมวด ๓ ความผิดต่อความมัน่ คงของรัฐ
ภายนอกราชอาณาจักร ๑๑๙-๑๒๙ ...... ๗๓
หมวด ๔ ความผิดต่อสัมพันธไมตรี กบั
ต่างประเทศ ๑๓๐-๑๓๕ ...... ๗๖
ลักษณะ ๑/๑ ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ าย ๑๓๕/๑-๑๓๕/๔ ... ๗๗
ลักษณะ ๒ ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
หมวด ๑ ความผิดต่อเจ้ าพนักงาน ๑๓๖-๑๔๖ ...... ๗๙
หมวด ๒ ความผิดต่อตาแหน่งหน้ าที่ราชการ ๑๔๗-๑๖๖ ...... ๘๓
ลักษณะ ๓ ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม
หมวด ๑ ความผิดต่อเจ้ าพนักงาน
ในการยุติธรรม ๑๖๗-๑๙๙ ...... ๙๐
หมวด ๒ ความผิดต่อตาแหน่งหน้ าที่
ในการยุติธรรม ๒๐๐-๒๐๕ .... ๑๐๐
ลักษณะ ๔ ความผิดเกี่ยวกับศาสนา ๒๐๖-๒๐๘ ... ๑๐๒
ลักษณะ ๕ ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุข
ของประชาชน ๒๐๙-๒๑๖ ... ๑๐๓
6

มาตรา หน้ า
ลักษณะ ๖ ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้ เกิด
ภยันตรายต่อประชาชน ๒๑๗-๒๓๙ ... ๑๐๖
ลักษณะ ๗ ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา ๒๔๐-๒๔๙ ... ๑๑๓
หมวด ๒ ความผิดเกี่ยวกับดวงตรา
แสตมป์และตัว๋ ๒๕๐-๒๖๓ ... ๑๑๖
หมวด ๓ ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร ๒๖๔-๒๖๙ ... ๑๒๐
หมวด ๔ ความผิดเกี่ยวกับ
บัตรอิเล็กทรอนิกส์ ๒๖๙/๑-๒๖๙/๗ ... ๑๒๓
หมวด ๕ ความผิดเกี่ยวกับ
หนังสือเดินทาง ๒๖๙/๘-๒๖๙/๑๕ ... ๑๒๕
ลักษณะ ๘ ความผิดเกี่ยวกับการค้ า ๒๗๐-๒๗๕ ... ๑๒๘
ลักษณะ ๙ ความผิดเกี่ยวกับเพศ ๒๗๖-๒๘๗/๒ ... ๑๓๐
ลักษณะ ๑๐ ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่ างกาย
หมวด ๑ ความผิดต่อชีวิต ๒๘๘-๒๙๔ ... ๑๔๔
หมวด ๒ ความผิดต่อร่ างกาย ๒๙๕-๓๐๐ ... ๑๔๗
หมวด ๓ ความผิดฐานทาให้ แท้ งลูก ๓๐๑-๓๐๕ ... ๑๔๙
หมวด ๔ ความผิดฐานทอดทิ ้งเด็ก
คนป่ วยเจ็บหรื อคนชรา ๓๐๖-๓๐๘ ... ๑๕๑
ลักษณะ ๑๑ ความผิดเกี่ยวกับเสรี ภาพและชื่อเสียง
หมวด ๑ ความผิดต่อเสรี ภาพ ๓๐๙-๓๒๑/๑ ... ๑๕๒
7

มาตรา หน้ า
หมวด ๒ ความผิดฐานเปิ ดเผยความลับ ๓๒๒-๓๒๕ ... ๑๕๙
หมวด ๓ ความผิดฐานหมิ่นประมาท ๓๒๖-๓๓๓ ... ๑๖๐
ลักษณะ ๑๒ ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
หมวด ๑ ความผิดฐานลักทรัพย์
และวิ่งราวทรัพย์ ๓๓๔-๓๓๖ ทวิ ... ๑๖๓
หมวด ๒ ความผิดฐานกรรโชก รี ดเอาทรัพย์
ชิงทรัพย์และปล้ นทรัพย์ ๓๓๗-๓๔๐ ตรี ... ๑๖๗
หมวด ๓ ความผิดฐานฉ้ อโกง ๓๔๑-๓๔๘ ... ๑๗๒
หมวด ๔ ความผิดฐานโกงเจ้ าหนี ้ ๓๔๙-๓๕๑ ... ๑๗๕
หมวด ๕ ความผิดฐานยักยอก ๓๕๒-๓๕๖ ... ๑๗๖
หมวด ๖ ความผิดฐานรับของโจร ๓๕๗ ... ๑๗๗
หมวด ๗ ความผิดฐานทาให้ เสียทรัพย์ ๓๕๘-๓๖๑ ... ๑๗๘
หมวด ๘ ความผิดฐานบุกรุ ก ๓๖๒-๓๖๖ ... ๑๘๐
ลักษณะ ๑๓ ความผิดเกี่ยวกับศพ ๓๖๖/๑-๓๖๖/๔ ... ๑๘๒

ภาค ๓ ลหุโทษ
๓๖๗-๓๙๘ ... ๑๘๓

ระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุตธิ รรม ว่าด้ วยการกาหนด


จานวนชัว่ โมงที่ถือเป็ นการทางานหนึง่ วันและแนวปฏิบตั ิในการ
ให้ ทางานบริ การสังคมหรื อสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับ และ
การเปลี่ยนสถานที่กกั ขัง พ.ศ. ๒๕๔๖ ............................................ ๑๙๐
8

หน้ า
พระราชบัญญัตคิ า่ ตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทน
และค่าใช้ จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ ........................... ๑๙๗
กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตรา
ในการจ่ายค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทน
และค่าใช้ จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๖ ........................... ๒๑๕
9

พระราชบัญญัติ
ให้ ใช้ ประมวลกฎหมายอาญา
พ.ศ. ๒๔๙๙
___________________
ภูมพ
ิ ลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ ไว้ ณ วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๙
เป็ นปี ที่ ๑๑ ในรั ชกาลปั จจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราช
โองการโปรดเกล้ าฯ ให้ ประกาศว่า
โดยที่เป็ นการสมควรปรั บปรุ งกฎหมายอาญาเสียใหม่ เพราะตังแต่

ได้ ประกาศใช้ กฎหมายลักษณะอาญา ในพุทธศักราช ๒๔๕๑ เป็ นต้ นมา
พฤติการณ์ของบ้ านเมืองได้ เปลี่ยนแปลงไปเป็ นอันมาก
จึ ง ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ตราพระราชบั ญ ญั ติ ขึ น้ ไว้
โดยคาแนะนาและยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี ้
10

มาตรา ๑ พระราชบั ญ ญั ติ นี เ้ รี ย กว่ า “พระราชบั ญ ญั ติ ใ ห้ ใ ช้


ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. ๒๔๙๙”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี ้ให้ ใช้ บงั คับตังแต่
้ วนั ถัดจากวันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ นไป
มาตรา ๓ ประมวลกฎหมายอาญาท้ ายพระราชบัญ ญัติ นี ใ้ ห้ ใ ช้
บังคับ ตังแต่
้ วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็ นต้ นไป
มาตรา ๔ เมื่อประมวลกฎหมายอาญาได้ ใช้ บังคับแล้ ว ให้ ยกเลิก
กฎหมายลักษณะอาญา
มาตรา ๕ เมื่อประมวลกฎหมายอาญาได้ ใช้ บังคับแล้ ว ในกรณี ที่
กฎหมายใดได้ กาหนดโทษโดยอ้ างถึงโทษฐานลหุโทษในกฎหมายลักษณะ
อาญาไว้ ให้ ถือว่ากฎหมายนันได้ ้ อ้างถึงโทษ ดังต่อไปนี ้
ถ้ าอ้ างถึงโทษชัน้ ๑ หมายความว่า ปรับไม่เกินหนึง่ ร้ อยบาท
ถ้ าอ้ างถึงโทษชัน้ ๒ หมายความว่า ปรับไม่เกินห้ าร้ อยบาท
ถ้ าอ้ างถึงโทษชัน้ ๓ หมายความว่า จ าคุก ไม่เกิ นสิ บวัน หรื อปรั บ
ไม่เกินห้ าร้ อยบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าอ้ างถึงโทษชัน้ ๔ หมายความว่า จาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรื อปรับ
ไม่เกินหนึง่ พันบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
มาตรา ๖ เมื่อประมวลกฎหมายอาญาได้ ใช้ บงั คับแล้ ว ในการจาคุก
แทนค่าปรั บตามกฎหมายใด ไม่ว่ากฎหมายนัน้ จะบัญญัติไว้ ประการใด
ให้ นาประมวลกฎหมายอาญามาใช้ บังคับ แต่สาหรั บความผิดที่ได้ กระทา
11

ก่อนวันที่ประมวลกฎหมายอาญาใช้ บงั คับ มิให้ กกั ขังเกินกว่าหนึ่งปี สาหรับ


โทษปรับกระทงเดียว และสองปี สาหรับโทษปรับหลายกระทง
มาตรา ๗ ในกรณี วิ ธี ก ารเพื่ อ ความปลอดภั ย ตามมาตรา ๔๖
แห่ ง ประมวลกฎหมายอาญา ให้ น าบทบัญ ญั ติ แ ห่ ง ประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญามาใช้ บงั คับเสมือนเป็ นความผิดอาญา แต่ห้ามมิให้
คุมขัง ชัน้ สอบสวนเกิ น กว่าสี่ สิ บ แปดชั่ว โมง นับ แต่เวลาที่ ผ้ ู ถูก จับ มาถึ ง
ที่ ทาการของพนัก งานฝ่ ายปกครองหรื อตารวจ แต่มิให้ นับ เวลาเดิน ทาง
ตามปกติที่นาตัวผู้ถูกจับมาศาลรวมเข้ าในกาหนดเวลาสี่สิบแปดชัว่ โมงนัน้
ด้ วย
มาตรา ๘ เมื่อประมวลกฎหมายอาญาได้ ใช้ บงั คับแล้ ว บทบัญญัติ
แห่ ง กฎหมายใดอ้ างถึงกฎหมายลัก ษณะอาญา หรื ออ้ างถึงบทบัญ ญัติ
แห่ ง กฎหมายลั ก ษณะอาญา ให้ ถื อ ว่ า บทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง กฎหมายนั น้
อ้ างถึง ประมวลกฎหมายอาญา หรื อ บทบัญ ญั ติแ ห่ งประมวลกฎหมาย
อาญาในบทมาตราที่มีนยั เช่นเดียวกัน แล้ วแต่กรณี

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
จอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายกรั ฐมนตรี
12

ประมวลกฎหมายอาญา
ภาค ๑
บทบัญญัตทิ ่ ัวไป
ลักษณะ ๑
บทบัญญัตทิ ่ ีใช้ แก่ ความผิดทั่วไป
หมวด ๑
บทนิยาม

มาตรา ๑ ในประมวลกฎหมายนี ้
(๑) “โดยทุจริ ต” หมายความว่า เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้
โดยชอบด้ วยกฎหมายสาหรับตนเองหรื อผู้อื่น
(๒) “ทางสาธารณะ” หมายความว่า ทางบกหรื อทางนา้ สาหรั บ
ประชาชนใช้ ในการจราจร และให้ หมายความรวมถึงทางรถไฟและทาง
รถรางที่มีรถเดิน สาหรับประชาชนโดยสารด้ วย
(๓) “สาธารณสถาน” หมายความว่า สถานที่ใด ๆ ซึ่งประชาชน
มีความชอบธรรมที่จะเข้ าไปได้
(๔) “เคหสถาน” หมายความว่า ที่ซงึ่ ใช้ เป็ นที่อยู่อาศัย เช่น เรื อน
โรง เรื อ หรื อแพ ซึง่ คนอยู่อาศัย และให้ หมายความรวมถึงบริ เวณของที่ซึ่ง
ใช้ เป็ นที่อยู่อาศัยนันด้
้ วย จะมีรัว้ ล้ อมหรื อไม่ก็ตาม
(๕) “อาวุธ” หมายความรวมถึงสิ่งซึง่ ไม่เป็ นอาวุธโดยสภาพ แต่ซงึ่
13

ได้ ใช้ หรื อเจตนาจะใช้ ประทุษร้ ายร่ างกายถึงอันตรายสาหัสอย่างอาวุธ


(๖) “ใช้ กาลั ง ประทุ ษ ร้ าย” หมายความว่ า ท าการประทุษร้ าย
แก่กายหรื อจิ ตใจของบุคคล ไม่ว่าจะทาด้ วยใช้ แรงกายภาพหรื อด้ วยวิ ธี
อื่นใด และให้ หมายความรวมถึงการกระทาใด ๆ ซึง่ เป็ นเหตุให้ บุคคลหนึ่ง
บุคคลใดอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ ไม่ว่าจะโดยใช้ ยาทาให้ มึนเมา
สะกดจิต หรื อใช้ วิธีอื่นใดอันคล้ ายคลึงกัน
(๗) “เอกสาร” หมายความว่า กระดาษหรื อวัตถุอื่นใดซึง่ ได้ ทาให้
ปรากฏความหมายด้ วยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรื อแผนแบบอย่างอื่น จะเป็ น
โดยวิธีพิมพ์ถ่ายภาพหรื อวิธีอื่นอันเป็ นหลักฐานแห่งความหมายนัน้
(๘) “เอกสารราชการ” หมายความว่า เอกสารซึ่งเจ้ าพนัก งาน
ได้ ทาขึ ้นหรื อรับรองในหน้ าที่ และให้ หมายความรวมถึงสาเนาเอกสารนัน้ ๆ
ที่เจ้ าพนักงานได้ รับรองในหน้ าที่ด้วย
(๙) “เอกสารสิทธิ ” หมายความว่า เอกสารที่ เป็ นหลัก ฐานแห่ ง
การก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรื อระงับซึง่ สิทธิ
(๑๐) “ลายมื อ ชื่ อ” หมายความรวมถึ ง ลายพิ ม พ์ นิ ว้ มื อ และ
เครื่ องหมายซึง่ บุคคลลงไว้ แทนลายมือชื่อของตน
(๑๑) “กลางคืน” หมายความว่า เวลาระหว่างพระอาทิตย์ตกและ
พระอาทิตย์ขึ ้น
(๑๒) “คุมขัง” หมายความว่า คุมตัว ควบคุม ขัง กักขังหรื อจาคุก
(๑๓) “ค่ าไถ่ ” หมายความว่า ทรั พย์ สิ นหรื อประโยชน์ ที่ เรี ย กเอา
หรื อให้ เพื่ อแลกเปลี่ยนเสรี ภาพของผู้ถูกเอาตัวไป ผู้ถูกหน่วงเหนี่ ยวหรื อ
ผู้ถกู กักขัง
14

* (๑๔) “บัตรอิเล็กทรอนิกส์ ” หมายความว่า


(ก) เอกสารหรื อวัตถุอื่นใดไม่ว่าจะมีรูปลักษณะใดที่ ผ้ ูออก
ได้ ออกให้ แก่ผ้ มู ีสิทธิใช้ ซึง่ จะระบุชื่อหรื อไม่ก็ตาม โดยบันทึกข้ อมูลหรื อรหัส
ไว้ ด้วยการประยุกต์ใช้ วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรื อ
วิธีอื่นใดในลักษณะคล้ ายกัน ซึง่ รวมถึงการประยุกต์ใช้ วิธีการทางแสงหรื อ
วิ ธี ก ารทางแม่ เ หล็ ก ให้ ปรากฏความหมายด้ ว ยตัว อัก ษร ตัว เลข รหั ส
หมายเลขบัตร หรื อสัญลักษณ์ อื่นใด ทังที ้ ่สามารถมองเห็นและมองไม่เห็น
ด้ วยตาเปล่า
(ข) ข้ อมูล รหัส หมายเลขบัญชี หมายเลขชุดทางอิเล็กทรอ-
นิกส์หรื อเครื่ องมือทางตัวเลขใด ๆ ที่ผ้ อู อกได้ ออกให้ แก่ผ้ มู ีสิทธิใช้ โดยมิได้
มีการออกเอกสารหรื อวัตถุอื่นใดให้ แต่มีวิธีการใช้ ในทานองเดียวกับ (ก)
หรื อ
(ค) สิ่งอื่นใดที่ใช้ ประกอบกับข้ อมูลอิเล็กทรอนิ กส์เพื่อแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
ระบุตวั บุคคลผู้เป็ นเจ้ าของ
** (๑๕) “หนั งสือเดินทาง” หมายความว่า เอกสารสาคัญประจาตัว
ไม่ว่าจะมีรู ปลักษณะใดที่ รัฐ บาลไทย รั ฐบาลต่างประเทศ หรื อองค์ ก าร
ระหว่างประเทศออกให้ แก่บคุ คลใด เพื่อใช้ แสดงตนในการเดินทางระหว่าง
ประเทศ และให้ หมายความรวมถึงเอกสารใช้ แทนหนังสือเดินทางและแบบ
หนังสือเดินทางที่ยงั ไม่ได้ กรอกข้ อความเกี่ยวกับผู้ถือหนังสือเดินทางด้ วย
____________________________________
*มาตรา ๑ (๑๔) เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๓
**มาตรา ๑ (๑๕) เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๘) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๓
15

* (๑๖) “เจ้ าพนักงาน” หมายความว่า บุคคลซึง่ กฎหมายบัญญัติว่า


เป็ นเจ้ าพนักงานหรื อได้ รับแต่งตัง้ ตามกฎหมายให้ ปฏิ บัติหน้ าที่ ร าชการ
ไม่วา่ เป็ นประจาหรื อครัง้ คราว และไม่วา่ จะได้ รับค่าตอบแทนหรื อไม่
** (๑๗) “สื่อลามกอนาจารเด็ก ” หมายความว่า วัตถุหรื อสิ่งที่แสดง
ให้ ร้ ู หรื อ เห็ น ถึ ง การกระท าทางเพศของเด็ ก หรื อกับ เด็ก ซึ่งมี อายุไ ม่เ กิ น
สิบแปดปี โดยรู ป เรื่ อง หรื อลักษณะสามารถสื่อไปในทางลามกอนาจาร
ไม่ ว่า จะอยู่ ใ นรู ป แบบของเอกสาร ภาพเขี ย น ภาพพิ ม พ์ ภาพระบายสี
สิ่ ง พิ ม พ์ รู ปภาพ ภาพโฆษณา เครื่ องหมาย รู ปถ่ า ย ภาพยนตร์
แถบบัน ทึก เสี ย ง แถบบัน ทึก ภาพ หรื อรู ป แบบอื่น ใดในลัก ษณะท านอง
เดี ย วกัน และให้ ห มายความรวมถึงวัต ถุห รื อสิ่ ง ต่าง ๆ ข้ างต้ น ที่ จัดเก็ บ
ในระบบคอมพิวเตอร์ หรื อในอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์อื่นที่สามารถแสดงผล
ให้ เข้ าใจความหมายได้
***(๑๘) “กระทาชาเรา” หมายความว่า กระทาเพื่อสนองความใคร่
ของผู้ กระท า โดยการใช้ อวั ย วะเพศของผู้ กระท าล่ ว งล า้ อวั ย วะเพศ
ทวารหนัก หรื อช่องปากของผู้อื่น

____________________________________
*มาตรา ๑ (๑๖) เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓
**มาตรา ๑ (๑๗) เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓
***มาตรา ๑ (๑๘) เพิ่ ม เติ ม โดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบับ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๓
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
16

หมวด ๒
การใช้ กฎหมายอาญา

มาตรา ๒ บุคคลจักต้ องรับโทษในทางอาญาต่อเมื่อได้ กระทาการ


อันกฎหมายที่ใช้ ในขณะกระทานันบั ้ ญญัติเป็ นความผิดและกาหนดโทษไว้
และโทษที่ จ ะลงแก่ ผ้ ู กระท าความผิ ด นัน้ ต้ อ งเป็ นโทษที่ บัญ ญั ติ ไ ว้ ใ น
กฎหมาย
ถ้ าตามบทบัญญัติของกฎหมายที่ บัญญัติในภายหลัง การกระทา
เช่ น นั น้ ไม่ เ ป็ นความผิ ด ต่ อ ไป ให้ ผ้ ู ที่ ไ ด้ ก ระท าการนัน้ พ้ น จากการเป็ น
ผู้กระทาความผิด และถ้ าได้ มีคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้ ลงโทษแล้ ว ก็ให้ ถื อว่า
ผู้นนไม่
ั ้ เคยต้ องคาพิพากษาว่าได้ กระทาความผิดนัน้ ถ้ ารับโทษอยู่ก็ให้ การ
ลงโทษนันสิ ้ ้นสุดลง

มาตรา ๓ ถ้ ากฎหมายที่ ใ ช้ ใ นขณะกระท าความผิ ดแตกต่างกับ


กฎหมายที่ใช้ ในภายหลังการกระทาความผิด ให้ ใช้ กฎหมายในส่วนที่เป็ น
คุณแก่ผ้ กู ระทาความผิด ไม่วา่ ในทางใด เว้ นแต่คดีถงึ ที่สดุ แล้ ว แต่ในกรณีที่
คดีถงึ ที่สดุ แล้ วดังต่อไปนี ้
(๑) ถ้ าผู้กระทาความผิดยังไม่ได้ รับโทษ หรื อกาลังรับโทษอยู่ และ
โทษที่ ก าหนดตามค าพิ พ ากษาหนั ก กว่ า โทษที่ ก าหนดตามกฎหมาย
ที่ บัญ ญัติ ในภายหลัง เมื่อส านวนความปรากฏแก่ศาลหรื อเมื่อผู้กระท า
ความผิ ด ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้นัน้ ผู้อนุบาลของผู้นนั ้ หรื อพนักงาน
อั ย การร้ องขอ ให้ ศาลก าหนดโทษเสี ย ใหม่ ต ามกฎหมายที่ บั ญ ญั ติ
ในภายหลัง ในการที่ ศ าลจะก าหนดโทษใหม่ นี ้ ถ้ าปรากฏว่า ผู้ ก ระท า
17

ความผิดได้ รับโทษมาบ้ างแล้ ว เมื่อได้ คานึงถึงโทษตามกฎหมายที่บญ ั ญัติ


ในภายหลัง หากเห็นเป็ นการสมควร ศาลจะกาหนดโทษน้ อยกว่าโทษขันต ้ ่า
ที่กฎหมายที่บญ ั ญัติในภายหลังกาหนดไว้ ถ้าหากมีก็ได้ หรื อถ้ าเห็นว่าโทษ
ที่ผ้ ูกระทาความผิ ดได้ รับมาแล้ วเป็ นการเพี ยงพอ ศาลจะปล่อยผู้กระทา
ความผิดไปก็ได้
(๒) ถ้ าศาลพิ พากษาให้ ประหารชี วิตผู้กระทาความผิ ด และตาม
กฎหมายที่ บัญ ญั ติ ใ นภายหลัง โทษที่ จ ะลงแก่ ผ้ ู ก ระท าความผิ ด ไม่ ถึ ง
ประหารชี วิ ต ให้ งดการประหารชี วิ ต ผู้ กระท าความผิ ด และให้ ถื อ ว่ า
โทษประหารชีวิตตามคาพิพากษาได้ เปลี่ยนเป็ นโทษสูงสุดที่จะพึงลงได้ ตาม
กฎหมายที่บญ ั ญัติในภายหลัง

มาตรา ๔ ผู้ใดกระทาความผิดในราชอาณาจักร ต้ องรั บโทษตาม


กฎหมาย
การกระทาความผิดในเรื อไทยหรื ออากาศยานไทย ไม่ว่าจะอยู่ ณ
ที่ใด ให้ ถือว่ากระทาความผิดในราชอาณาจักร

มาตรา ๕ ความผิ ด ใดที่ ก ารกระท าแม้ แต่ ส่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใด


ได้ กระทาในราชอาณาจักรก็ดี ผลแห่งการกระทาเกิดในราชอาณาจักรโดย
ผู้กระทาประสงค์ให้ ผลนันเกิ
้ ดในราชอาณาจักร หรื อโดยลัก ษณะแห่งการ
กระทา ผลที่เกิดขึน้ นัน้ ควรเกิดในราชอาณาจักรหรื อย่อมจะเล็งเห็นได้ ว่า
ผลนั น้ จะเกิ ด ในราชอาณาจั ก รก็ ดี ให้ ถื อ ว่ า ความผิ ด นั น้ ได้ ก ระท าใน
ราชอาณาจักร
ในกรณี การตระเตรี ยมการหรื อพยายามกระทาการใดซึ่งกฎหมาย
18

บัญญัติเป็ นความผิ ด แม้ การกระท านัน้ จะได้ กระทานอกราชอาณาจัก ร


ถ้ าหากการกระท านั น้ จะได้ ก ระท าตลอดไปจนถึ ง ขั น้ ความผิ ด ส าเร็ จ
ผลจะเกิดขึน้ ในราชอาณาจักร ให้ ถือว่า การตระเตรี ยมการหรื อพยายาม
กระทาความผิดนันได้
้ กระทาในราชอาณาจักร

มาตรา ๖ ความผิดใดที่ได้ กระทาในราชอาณาจักร หรื อที่ประมวล


กฎหมายนี ้ถือว่าได้ กระทาในราชอาณาจักร แม้ การกระทาของผู้เป็ นตัวการ
ด้ วยกัน ของผู้สนับสนุน หรื อของผู้ใช้ ให้ กระทาความผิ ดนัน้ จะได้ กระทา
นอกราชอาณาจั ก ร ก็ ใ ห้ ถื อ ว่ า ตัว การ ผู้ สนั บ สนุ น หรื อ ผู้ ใช้ ใ ห้ กระท า
ได้ กระทาในราชอาณาจักร

มาตรา ๗ ผู้ ใดกระท าความผิ ด ดั ง ระบุ ไ ว้ ต่ อ ไปนี ้ นอกราช


อาณาจักร จะต้ องรับโทษในราชอาณาจักร คือ
(๑) ความผิดเกี่ยวกับความมัน่ คงแห่งราชอาณาจักร ตามที่บญ ั ญัติ
ไว้ ในมาตรา ๑๐๗ ถึงมาตรา ๑๒๙
* (๑/๑) ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ าย ตามที่บญั ญัติไว้ ในมาตรา
๑๓๕/๑ มาตรา ๑๓๕/๒ มาตรา ๑๓๕/๓ และมาตรา ๑๓๕/๔
(๒) ความผิ ดเกี่ ยวกับ การปลอมและการแปลง ตามที่ บัญ ญัติไ ว้
ในมาตรา ๒๔๐ ถึงมาตรา ๒๔๙ มาตรา ๒๕๔ มาตรา ๒๕๖ มาตรา ๒๕๗
และมาตรา ๒๖๖ (๓) และ (๔)

____________________________________
*มาตรา ๗ (๑/๑) เพิ่มเติมโดย พ.ร.ก. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๓
19

* (๒ ทวิ) ความผิดเกี่ยวกับเพศ ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา ๒๘๒ และ


มาตรา ๒๘๓
(๓) ความผิดฐานชิงทรั พย์ ตามที่ บัญญัติไว้ ในมาตรา ๓๓๙ และ
ความผิ ดฐานปล้ น ทรั พ ย์ ตามที่ บัญ ญัติไ ว้ ใ นมาตรา ๓๔๐ ซึ่งได้ ก ระท า
ในทะเลหลวง

มาตรา ๘ ผู้ใดกระทาความผิดนอกราชอาณาจักร และ


(ก) ผู้ก ระท าความผิ ด นัน้ เป็ นคนไทย และรั ฐ บาลแห่ ง ประเทศ
ที่ความผิดได้ เกิดขึ ้น หรื อผู้เสียหายได้ ร้องขอให้ ลงโทษ หรื อ
(ข) ผู้ก ระท าความผิ ด นัน้ เป็ นคนต่า งด้ า ว และรั ฐ บาลไทยหรื อ
คนไทยเป็ นผู้เสียหาย และผู้เสียหายได้ ร้องขอให้ ลงโทษ
ถ้ าความผิดนันเป็
้ นความผิดดังระบุไว้ ต่อไปนี ้ จะต้ องรับโทษภายใน
ราชอาณาจักร คือ
(๑) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้ เกิดภยันตรายต่อประชาชน ตามที่
บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๑๗ มาตรา ๒๑๘ มาตรา ๒๒๑ ถึงมาตรา ๒๒๓
ทังนี
้ ้เว้ นแต่กรณี เกี่ยวกับมาตรา ๒๒๐ วรรคแรก และมาตรา ๒๒๔ มาตรา
๒๒๖ มาตรา ๒๒๘ ถึงมาตรา ๒๓๒ มาตรา ๒๓๗ และมาตรา ๒๓๓ ถึง
มาตรา ๒๓๖ ทังนี ้ ้เฉพาะเมื่อเป็ นกรณีต้องระวางโทษตามมาตรา ๒๓๘
(๒) ความผิ ดเกี่ ย วกับ เอกสาร ตามที่ บัญ ญัติไ ว้ ใ นมาตรา ๒๖๔
มาตรา ๒๖๕ มาตรา ๒๖๖ (๑) และ (๒) มาตรา ๒๖๘ ทัง้ นี เ้ ว้ นแต่กรณี
เกี่ยวกับมาตรา ๒๖๗ และมาตรา ๒๖๙
____________________________________
*มาตรา ๗ (๒ ทวิ) เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๓
20

* (๒/๑) ความผิ ดเกี่ ย วกับ บัตรอิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ตามที่ บัญ ญั ติ ไ ว้ ใ น


มาตรา ๒๖๙/๑ ถึงมาตรา ๒๖๙/๗
** (๒/๒) ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา
๒๖๙/๘ ถึงมาตรา ๒๖๙/๑๕
(๓) ความผิดเกี่ยวกับเพศ ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา ๒๗๖ มาตรา
๒๘๐ และมาตรา ๒๘๕ ทังนี ้ ้เฉพาะที่เกี่ยวกับมาตรา ๒๗๖
(๔) ความผิ ดต่อชี วิต ตามที่ บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๘๘ ถึงมาตรา
๒๙๐
(๕) ความผิ ด ต่ อ ร่ า งกาย ตามที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ นมาตรา ๒๙๕ ถึ ง
มาตรา ๒๙๘
(๖) ความผิ ด ฐานทอดทิ ง้ เด็ ก คนป่ วยเจ็ บ หรื อ คนชรา ตามที่
บัญญัติไว้ ในมาตรา ๓๐๖ ถึงมาตรา ๓๐๘
(๗) ความผิดต่อเสรี ภาพ ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา ๓๐๙ มาตรา
๓๑๐ มาตรา ๓๑๒ ถึงมาตรา ๓๑๕ และมาตรา ๓๑๗ ถึงมาตรา ๓๒๐
(๘) ความผิ ดฐานลัก ทรั พย์ และวิ่งราวทรั พย์ ตามที่ บัญญัติไว้ ใ น
มาตรา ๓๓๔ ถึงมาตรา ๓๓๖
(๙) ความผิ ดฐานกรรโชก รี ดเอาทรั พย์ ชิ งทรั พย์ แ ละปล้ นทรั พ ย์
ตามที่บญั ญัติไว้ ในมาตรา ๓๓๗ ถึงมาตรา ๓๔๐
(๑๐) ความผิ ดฐานฉ้ อโกง ตามที่ บัญ ญัติไ ว้ ใ นมาตรา ๓๔๑ ถึ ง
มาตรา ๓๔๔ มาตรา ๓๔๖ และมาตรา ๓๔๗
____________________________________
*มาตรา ๘ (๒/๑) เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๔
**มาตรา ๘ (๒/๒) เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๘) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔
21

(๑๑) ความผิ ดฐานยัก ยอก ตามที่ บัญญัติไว้ ใ นมาตรา ๓๕๒ ถึง


มาตรา ๓๕๔
(๑๒) ความผิดฐานรับของโจร ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา ๓๕๗
(๑๓) ความผิ ด ฐานท าให้ เ สี ย ทรั พ ย์ ตามที่ บัญ ญั ติ ไ ว้ ใ นมาตรา
๓๕๘ ถึงมาตรา ๓๖๐

มาตรา ๙ เจ้ า พนัก งานของรั ฐ บาลไทยกระท าความผิ ด ตามที่


บัญญัติไว้ ในมาตรา ๑๔๗ ถึงมาตรา ๑๖๖ และมาตรา ๒๐๐ ถึงมาตรา
๒๐๕ นอกราชอาณาจักร จะต้ องรับโทษในราชอาณาจักร

มาตรา ๑๐ ผู้ใ ดกระทาการนอกราชอาณาจัก รซึ่งเป็ นความผิ ด


ตามมาตราต่าง ๆ ที่ระบุไว้ ในมาตรา ๗ (๒) และ (๓) มาตรา ๘ และมาตรา
๙ ห้ ามมิให้ ลงโทษผู้นนในราชอาณาจั
ั้ กรเพราะการกระทานันอี ้ ก ถ้ า
(๑) ได้ มีคาพิพากษาของศาลในต่างประเทศอันถึงที่สดุ ให้ ปล่อยตัว
ผู้นนั ้ หรื อ
(๒) ศาลในต่างประเทศพิพากษาให้ ลงโทษและผู้นนได้ ั ้ พ้นโทษแล้ ว
ถ้ าผู้ ต้ องค าพิ พ ากษาได้ รั บ โทษส าหรั บ การกระท านั น้ ตาม
คาพิพากษาของศาลในต่างประเทศมาแล้ ว แต่ยงั ไม่พ้นโทษ ศาลจะลงโทษ
น้ อยกว่ า ที่ ก ฎหมายก าหนดไว้ ส าหรั บ ความผิ ด นั น้ เพี ย งใดก็ ไ ด้ หรื อ
จะไม่ลงโทษเลยก็ได้ ทังนี ้ ้โดยคานึงถึงโทษที่ผ้ นู นได้
ั ้ รับมาแล้ ว

มาตรา ๑๑ ผู้ใ ดกระท าความผิ ดในราชอาณาจัก ร หรื อกระท า


ความผิ ดที่ ประมวลกฎหมายนี ถ้ ือว่าได้ กระทาในราชอาณาจักร ถ้ าผู้นัน้
22

ได้ รับโทษสาหรั บการกระทานัน้ ตามคาพิพากษาของศาลในต่างประเทศ


มาแล้ วทังหมดหรื
้ อแต่บางส่วน ศาลจะลงโทษน้ อยกว่าที่กฎหมายกาหนด
ไว้ ส าหรั บ ความผิ ด นัน้ เพี ย งใดก็ ไ ด้ หรื อ จะไม่ล งโทษเลยก็ ไ ด้ ทัง้ นี โ้ ดย
คานึงถึงโทษที่ผ้ นู นได้
ั ้ รับมาแล้ ว
ในกรณี ที่ผ้ ูกระทาความผิ ดในราชอาณาจักร หรื อกระทาความผิ ด
ที่ ป ระมวลกฎหมายนี ถ้ ื อ ว่ า ได้ กระท าในราชอาณาจั ก ร ได้ ถู ก ฟ้ อง
ต่ อ ศาลในต่ า งประเทศโดยรั ฐ บาลไทยร้ องขอ ห้ ามมิ ใ ห้ ลงโทษผู้ นั น้
ในราชอาณาจักรเพราะการกระทานันอี ้ ก ถ้ า
(๑) ได้ มีคาพิพากษาของศาลในต่างประเทศอันถึงที่สดุ ให้ ปล่อยตัว
ผู้นนั ้ หรื อ
(๒) ศาลในต่างประเทศพิพากษาให้ ลงโทษ และผู้นนได้ ั ้ พ้นโทษแล้ ว

มาตรา ๑๒ วิธีการเพื่อความปลอดภัยจะใช้ บงั คับแก่บุคคลใดได้


ก็ต่อเมื่อมีบ ทบัญ ญัติแ ห่ งกฎหมายให้ ใช้ บังคับ ได้ เท่านัน้ และกฎหมาย
ที่จะใช้ บงั คับนันให้
้ ใช้ กฎหมายในขณะที่ศาลพิพากษา

มาตรา ๑๓ ถ้ าตามบทบัญญัติของกฎหมายที่บญ ั ญัติในภายหลัง


ได้ มีการยกเลิกวิธีการเพื่อความปลอดภัยใด และถ้ าผู้ใดถูกใช้ บงั คับวิธีการ
เพื่อความปลอดภัยนัน้ อยู่ ก็ให้ ศาลสัง่ ระงับการใช้ บังคับวิธีการเพื่อความ
ปลอดภัย นัน้ เสี ย เมื่อส านวนความปรากฏแก่ ศาล หรื อเมื่อผู้นัน้ ผู้แ ทน
โดยชอบธรรมของผู้นนั ้ ผู้อนุบาลของผู้นนหรื
ั ้ อพนักงานอัยการร้ องขอ
23

มาตรา ๑๔ ในกรณี ที่ มีผ้ ูถูก ใช้ บังคับวิ ธีก ารเพื่ อความปลอดภัย
ใดอยู่ และได้ มีบทบัญญัติของกฎหมายที่บญ ั ญัติในภายหลังเปลี่ยนแปลง
เงื่อนไขที่จะสัง่ ให้ มีการใช้ บงั คับวิธีการเพื่อความปลอดภัยนันไป ้ ซึง่ เป็ นผล
อันไม่อาจนามาใช้ บงั คับแก่กรณีของผู้นนได้ ั ้ หรื อนามาใช้ บงั คับได้ แต่การ
ใช้ บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามบทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติ
ในภายหลังเป็ นคุณแก่ผ้ ูนนั ้ ยิ่งกว่า เมื่อสานวนความปรากฏแก่ศาล หรื อ
เมื่อผู้นัน้ ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้นัน้ ผู้อนุบ าลของผู้นัน้ หรื อพนักงาน
อัยการร้ องขอต่อศาลให้ ยกเลิกการใช้ บงั คับวิธีการเพื่อความปลอดภัย หรื อ
ร้ องขอรับผลตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายนัน้ แล้ วแต่กรณี ให้ ศาลมีอานาจ
สัง่ ตามที่เห็นสมควร

มาตรา ๑๕ ถ้ าตามบทบัญญัติของกฎหมายที่บญ ั ญัติในภายหลัง


โทษใดได้ เ ปลี่ ย นลัก ษณะมาเป็ นวิ ธี ก ารเพื่ อ ความปลอดภั ย และได้ มี
คาพิพากษาลงโทษนันแก่ ้ บคุ คลใดไว้ ก็ให้ ถือว่าโทษที่ลงนันเป็
้ นวิธีการเพื่อ
ความปลอดภัยด้ วย
ในกรณี ดัง กล่ า วในวรรคแรก ถ้ า ยั ง ไม่ ไ ด้ ล งโทษผู้ นั น้ หรื อ ผู้ นั น้
ยังรั บโทษอยู่ ก็ให้ ใช้ บังคับวิธีการเพื่ อความปลอดภัยแก่ผ้ ูนัน้ ต่อไป และ
ถ้ าหากว่าตามบทบัญญัติของกฎหมายที่บญ ั ญัติในภายหลังมีเงื่อนไขที่จะ
สัง่ ให้ มีการใช้ บังคับวิธีการเพื่ อความปลอดภัย อันไม่อาจนามาใช้ บังคับ
แก่กรณี ของผู้นนั ้ หรื อนามาใช้ บังคับได้ แต่การใช้ บังคับวิธีการเพื่อความ
ปลอดภั ย ตามบทบั ญ ญั ติ ข องกฎหมายที่ บั ญ ญั ติ ใ นภายหลัง เป็ นคุ ณ
24

แก่ ผ้ ู นัน้ ยิ่ ง กว่ า เมื่ อ ส านวนความปรากฏแก่ ศ าล หรื อ เมื่ อ ผู้ นัน้ ผู้ แ ทน
โดยชอบธรรมของผู้นัน้ ผู้อ นุ บ าลของผู้นัน้ หรื อพนัก งานอัย การร้ องขอ
ต่อศาลให้ ยกเลิกการใช้ บงั คับวิธีการเพื่อความปลอดภัย หรื อร้ องขอรับผล
ตามบทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง กฎหมายนั น้ แล้ วแต่ ก รณี ให้ ศาลมี อ านาจสั่ ง
ตามที่เห็นสมควร

มาตรา ๑๖ เมื่ อ ศาลได้ พิ พ ากษาให้ ใ ช้ บั ง คับ วิ ธี ก ารเพื่ อ ความ


ปลอดภัย แก่ผ้ ูใดแล้ ว ถ้ าภายหลังความปรากฏแก่ศาลตามคาเสนอของ
ผู้นัน้ เอง ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้นัน้ ผู้อนุบ าลของผู้นัน้ หรื อพนัก งาน
อัยการว่า พฤติการณ์ เกี่ยวกับการใช้ บังคับนัน้ ได้ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
ศาลจะสัง่ เพิกถอนหรื องดการใช้ บงั คับวิธีการเพื่อความปลอดภัยแก่ผ้ นู นไว้ ั้
ชัว่ คราวตามที่เห็นสมควรก็ได้

มาตรา ๑๗ บทบัญญัติในภาค ๑ แห่งประมวลกฎหมายนี ้ ให้ ใช้


ในกรณี แ ห่งความผิ ดตามกฎหมายอื่นด้ วย เว้ นแต่กฎหมายนัน้ ๆ จะได้
บัญญัติไว้ เป็ นอย่างอื่น
25

หมวด ๓
โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย
ส่ วนที่ ๑
โทษ

มาตรา ๑๘ โทษสาหรับลงแก่ผ้ กู ระทาความผิดมีดงั นี ้


(๑) ประหารชีวิต
(๒) จาคุก
(๓) กักขัง
(๔) ปรับ
(๕) ริ บทรัพย์สิน
* โทษประหารชีวิตและโทษจาคุกตลอดชีวิตมิให้ นามาใช้ บงั คับแก่ผ้ ซู งึ่
กระทาความผิดในขณะที่มีอายุต่ากว่าสิบแปดปี
* ในกรณี ผ้ ู ซึ่ ง กระท าความผิ ด ในขณะที่ มี อ ายุ ต่ า กว่ า สิ บ แปดปี
ได้ กระทาความผิดที่มีระวางโทษประหารชีวิตหรื อจาคุกตลอดชีวิต ให้ ถือว่า
ระวางโทษดังกล่าวได้ เปลี่ยนเป็ นระวางโทษจาคุกห้ าสิบปี

** มาตรา ๑๙ ผู้ใดต้ องโทษประหารชีวิต ให้ ดาเนินการด้ วยวิธีฉีดยา


หรื อสารพิษให้ ตาย

____________________________________
*มาตรา ๑๘ วรรคสอง และวรรคสาม เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๖) พ.ศ. ๒๕๔๖
มาตรา ๓
**มาตรา ๑๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๖) พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๔
26

หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารประหารชี วิ ต ให้ เป็ นไปตามระเบี ย บ


ที่กระทรวงยุติธรรมกาหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๒๐ บรรดาความผิดที่กฎหมายกาหนดให้ ลงโทษทังจ้ าคุก


และปรับด้ วยนัน้ ถ้ าศาลเห็นสมควรจะลงแต่โทษจาคุกก็ได้

มาตรา ๒๑ ในการคานวณระยะเวลาจาคุก ให้ นับ วัน เริ่ มจ าคุก


รวมคานวณเข้ าด้ วย และให้ นบั เป็ นหนึ่งวันเต็มโดยไม่ต้องคานึงถึงจานวน
ชัว่ โมง
ถ้ าระยะเวลาที่ คานวณนัน้ กาหนดเป็ นเดือน ให้ นับสามสิบวันเป็ น
หนึง่ เดือน ถ้ ากาหนดเป็ นปี ให้ คานวณตามปี ปฏิทินในราชการ
เมื่อผู้ต้องคาพิพากษาถูกจาคุกครบกาหนดแล้ ว ให้ ปล่อยตัวในวัน
ถัดจากวันที่ครบกาหนด

มาตรา ๒๒ โทษจ าคุก ให้ เริ่ ม แต่วัน มีคาพิ พ ากษา แต่ถ้ าผู้ต้อ ง
ค าพิ พ ากษาถู ก คุ ม ขั ง ก่ อ นศาลพิ พ ากษา ให้ หั ก จ านวนวัน ที่ ถู ก คุ ม ขั ง
ออกจากระยะเวลาจาคุกตามคาพิพากษา เว้ นแต่คาพิพากษานัน้ จะกล่ าว
ไว้ เป็ นอย่างอื่น
ในกรณี ที่ ค าพิ พ ากษากล่ า วไว้ เป็ นอย่ า งอื่ น โทษจ าคุ ก ตาม
คาพิพากษาเมื่อรวมจานวนวันที่ถูกคุมขังก่อนศาลพิพากษาในคดีเรื่ องนัน้
เข้ าด้ วยแล้ ว ต้ องไม่เกิ นอัตราโทษขัน้ สูงของกฎหมายที่ กาหนดไว้ สาหรั บ
ความผิ ด ที่ ไ ด้ ก ระท าลงนัน้ ทัง้ นี ไ้ ม่เป็ นการกระทบกระเทื อนบทบัญ ญัติ
ในมาตรา ๙๑
27

มาตรา ๒๓ ผู้ใ ดกระท าความผิ ด ซึ่ง มี โ ทษจ าคุก และในคดี นัน้


ศาลจะลงโทษจาคุกไม่เกินสามเดือน ถ้ าไม่ปรากฏว่าผู้นนได้ ั ้ รับโทษจาคุก
มาก่อนหรื อปรากฏว่าได้ รับโทษจาคุกมาก่อน แต่เป็ นโทษสาหรับความผิด
ที่ได้ กระทาโดยประมาทหรื อความผิ ดลหุโทษ ศาลจะพิพากษาให้ ลงโทษ
กักขังไม่เกินสามเดือนแทนโทษจาคุกนันก็
้ ได้

* มาตรา ๒๔ ผู้ ใดต้ องโทษกั ก ขั ง ให้ กั ก ตั ว ไว้ ในสถานที่ กั ก ขั ง


ซึ่งกาหนดไว้ อัน มิใช่ เรื อนจา สถานี ตารวจ หรื อสถานที่ ควบคุมผู้ต้องหา
ของพนักงานสอบสวน
ถ้ าศาลเห็นเป็ นการสมควร จะสัง่ ในคาพิพากษาให้ กักขังผู้กระทา
ความผิ ด ไว้ ในที่ อ าศัย ของผู้ นั น้ เองหรื อ ของผู้ อื่ น ที่ ยิ น ยอมรั บ ผู้ นั น้ ไว้
หรื อสถานที่อื่นที่อาจกักขังได้ เพื่อให้ เหมาะสมกับประเภทหรื อสภาพของ
ผู้ถกู กักขังก็ได้
** ถ้ าความปรากฏแก่ศาลว่า การกักขังผู้ต้องโทษกักขังไว้ ในสถานที่
กัก ขัง ตามวรรคหนึ่ง หรื อวรรคสอง อาจก่ อให้ เกิ ดอันตรายต่อผู้นัน้ หรื อ
ทาให้ ผ้ ูซึ่งต้ องพึ่งพาผู้ต้องโทษกักขังในการดารงชี พได้ รับความเดือดร้ อน
เกินสมควร หรื อมีพฤติการณ์ พิเศษประการอื่นที่แสดงให้ เห็นว่าไม่สมควร
กักขังผู้ต้องโทษกักขังในสถานที่ดงั กล่าว ศาลจะมีคาสัง่ ให้ กกั ขังผู้ต้องโทษ
กักขังในสถานที่อื่นซึง่ มิใช่ที่อยู่อาศัยของผู้นนั ้ เอง โดยได้ รับความยินยอม
จากเจ้ าของหรื อผู้ครอบครองสถานที่ ก็ได้ กรณี เช่นว่านี ้ ให้ ศาลมีอานาจ
____________________________________
*มาตรา ๒๔ วรรคแรก แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓
**มาตรา ๒๔ วรรคสาม เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๔
28

ก าหนดเงื่ อ นไขอย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใดให้ ผ้ ู ต้ อ งโทษกัก ขั ง ปฏิ บัติ และหาก


เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองสถานที่ดงั กล่าวยินยอม ศาลอาจมีคาสัง่ แต่งตัง้
ผู้นนั ้ เป็ นผู้ควบคุมดูแลและให้ ถือว่าผู้ที่ได้ รับแต่งตังเป็
้ นเจ้ าพนักงานตาม
ประมวลกฎหมายนี ้

มาตรา ๒๕ ผู้ต้องโทษกัก ขังในสถานที่ ซึ่งก าหนด จะได้ รั บ การ


เลี ย้ งดูจ ากสถานที่ นัน้ แต่ภายใต้ ข้ อบังคับ ของสถานที่ ผู้ต้องโทษกัก ขัง
มีสิทธิ ที่จะรั บอาหารจากภายนอกโดยค่าใช้ จ่ ายของตนเอง ใช้ เสื ้อผ้ าของ
ตนเอง ได้ รับการเยี่ยมอย่างน้ อยวันละหนึ่งชั่วโมง และรับและส่งจดหมาย
ได้
ผู้ต้ อ งโทษกัก ขัง จะต้ อ งท างานตามระเบี ย บ ข้ อ บัง คับ และวิ นัย
ถ้ าผู้ต้องโทษกักขังประสงค์จะทางานอย่างอื่น ก็ให้ อนุญาตให้ เลือกทาได้
ตามประเภทงานที่ตนสมัคร แต่ต้องไม่ ขัดต่อระเบียบ ข้ อบังคับ วินัย หรื อ
ความปลอดภัยของสถานที่นนั ้

มาตรา ๒๖ ถ้ าผู้ต้องโทษกัก ขังถู ก กัก ขังในที่ อาศัยของผู้นัน้ เอง


หรื อของผู้อื่นที่ยินยอมรับผู้นนไว้
ั ้ ผู้ต้องโทษกักขังนันมี
้ สิทธิที่จะดาเนินการ
ในวิชาชีพหรื ออาชีพของตนในสถานที่ดงั กล่าวได้ ในการนี ้ ศาลจะกาหนด
เงื่อนไขให้ ผ้ ตู ้ องโทษกักขังปฏิบตั ิอย่างหนึ่งอย่างใดหรื อไม่ก็ได้ แล้ วแต่ศาล
จะเห็นสมควร
29

* มาตรา ๒๗ ถ้ าในระหว่างที่ผ้ ตู ้ องโทษกักขังตามมาตรา ๒๓ ได้ รับ


โทษกักขังอยู่ความปรากฏแก่ศาลเอง หรื อปรากฏแก่ศาลตามคาแถลงของ
พนักงานอัยการหรื อผู้ควบคุมดูแลสถานที่กกั ขังว่า
(๑) ผู้ต้องโทษกักขังฝ่ าฝื นระเบียบ ข้ อบังคับ หรื อวินัยของสถานที่
กักขัง
(๒) ผู้ต้องโทษกักขังไม่ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่ศาลกาหนด หรื อ
(๓) ผู้ต้องโทษกักขังต้ องคาพิพากษาให้ ลงโทษจาคุก
ศาลอาจเปลี่ยนโทษกักขังเป็ นโทษจาคุกมีกาหนดเวลาตามที่ ศาล
เห็ นสมควร แต่ต้ องไม่เกิ น กาหนดเวลาของโทษกักขังที่ ผ้ ูต้องโทษกัก ขัง
จะต้ องได้ รับต่อไป

มาตรา ๒๘ ผู้ใดต้ องโทษปรั บ ผู้นัน้ จะต้ องชาระเงิ นตามจานวน


ที่กาหนดไว้ ในคาพิพากษาต่อศาล

** มาตรา ๒๙ ผู้ใดต้ องโทษปรั บและไม่ชาระค่าปรั บภายในสามสิบ


วันนับแต่วันที่ ศาลพิ พ ากษา ผู้นัน้ จะต้ องถูก ยึดทรั พย์ สิ นหรื ออายัดสิท ธิ
เรี ยกร้ องในทรัพย์สินเพื่อใช้ คา่ ปรับ หรื อมิฉะนันจะต้
้ องถูกกักขังแทนค่าปรับ
แต่ ถ้ าศาลเห็ น เหตุ อัน ควรสงสั ย ว่ า ผู้ นั น้ จะหลี ก เลี่ ย งไม่ ช าระค่ า ปรั บ
ศาลจะสัง่ เรี ยกประกันหรื อจะสัง่ ให้ กกั ขังผู้นนแทนค่
ั้ าปรับไปพลางก่อนก็ได้
ความในวรรคสองของมาตรา ๒๔ มิให้ นามาใช้ บังคับแก่การกักขัง
แทนค่าปรับ
____________________________________
*มาตรา ๒๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๕
**มาตรา ๒๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๓
30

* มาตรา ๒๙/๑ ในกรณี ที่ ผ้ ู ต้ อ งโทษปรั บ ไม่ ช าระค่ า ปรั บ ภายใน


กาหนดเวลาตามมาตรา ๒๙ วรรคหนึ่ง ให้ ศาลมีอานาจออกหมายบังคับ
คดี เ พื่ อ ยึ ด ทรั พ ย์ สิ น หรื อ อายัด สิ ท ธิ เ รี ย กร้ องในทรั พ ย์ สิ น ของผู้ นั น้ เพื่ อ
ใช้ คา่ ปรับ
การบังคับ คดีตามวรรคหนึ่ง ให้ นาประมวลกฎหมายวิ ธีพิจ ารณา
ความแพ่งมาใช้ บังคับโดยอนุโลม โดยให้ เจ้ าพนักงานศาลที่ ได้ รับแต่งตัง้
และพนักงานอัยการเป็ นผู้มีอานาจหน้ าที่ในการดาเนินการบังคับคดี และ
ให้ เจ้ าพนั ก งานบั ง คับ คดี มี อ านาจหน้ าที่ ยึ ด ทรั พ ย์ สิ น หรื อ อายั ด สิ ท ธิ
เรี ย กร้ องในทรั พ ย์ สิ น ของผู้ ต้ องโทษปรั บ และขายทอดตลาดตามที่
ได้ รับแจ้ งจากศาลหรื อพนักงานอัยการ ทัง้ นี ้ มิให้ หน่วยงานของรั ฐเรี ย ก
ค่าฤชาธรรมเนียมหรื อค่าใช้ จ่ายจากผู้ดาเนินการบังคับคดี
การตรวจสอบหาทรั พย์ สินของผู้ต้องโทษปรั บโดยพนักงานอัยการ
เพื่ อการบัง คับ คดี ต ามวรรคสอง ให้ ป ฏิ บัติตามหลัก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และ
เงื่อนไขที่กาหนดในข้ อบังคับของอัยการสูงสุด
บทบัญญัติมาตรานี ไ้ ม่กระทบต่อการที่ ศาลจะมีคาสั่งตามมาตรา
๒๙ วรรคหนึง่

** มาตรา ๓๐ ในการกัก ขัง แทนค่ า ปรั บ ให้ ถื อ อัต ราห้ าร้ อยบาท
ต่อหนึ่งวัน และไม่ว่าในกรณี ความผิดกระทงเดียวหรื อหลายกระทง ห้ าม
กั ก ขั ง เกิ น ก าหนดหนึ่ ง ปี เว้ น แต่ ใ นกรณี ที่ ศ าลพิ พ ากษาให้ ปรั บ ตัง้ แต่
____________________________________
*มาตรา ๒๙/๑ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๔
**มาตรา ๓๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๕
31

สองแสนบาทขึน้ ไป ศาลจะสัง่ ให้ กักขังแทนค่าปรับเป็ นระยะเวลาเกินกว่า


หนึง่ ปี แต่ไม่เกินสองปี ก็ได้
ในการคานวณระยะเวลานัน้ ให้ นับวันเริ่ มกักขังแทนค่าปรั บ รวม
เข้ าด้ วย และให้ นบั เป็ นหนึง่ วันเต็มโดยไม่ต้องคานึงถึงจานวนชัว่ โมง
ในกรณี ที่ผ้ ูต้องโทษปรั บถูกคุมขังก่อนศาลพิพากษา ให้ หักจานวน
วัน ที่ ถู ก คุมขัง นัน้ ออกจากจ านวนเงิ น ค่ าปรั บ โดยถื อ อัต ราห้ า ร้ อยบาท
ต่อหนึง่ วัน เว้ นแต่ผ้ นู นต้
ั ้ องคาพิพากษาให้ ลงโทษทังจ้ าคุกและปรับ ในกรณี
เช่นว่านี ้ ถ้ าจะต้ องหักจานวนวันที่ ถูกคุมขังออกจากเวลาจาคุกตามมาตรา
๒๒ ก็ให้ หกั ออกเสียก่อน เหลือเท่าใดจึงให้ หกั ออกจากเงินค่าปรับ
เมื่อผู้ต้องโทษปรั บถูกกักขังแทนค่าปรั บครบกาหนดแล้ ว ให้ ปล่อย
ตัว ในวัน ถั ด จากวัน ที่ ค รบก าหนด ถ้ า น าเงิ น ค่ า ปรั บ มาช าระครบแล้ ว
ให้ ปล่อยตัวไปทันที

* มาตรา ๓๐/๑ ในกรณี ที่ศาลพิ พากษาปรั บผู้ต้องโทษปรั บซึ่งมิใช่


นิติบคุ คลและไม่มีเงินชาระค่าปรับ อาจยื่นคาร้ องต่อศาลชันต้
้ นที่พิพากษา
คดีเพื่อขอทางานบริ การสังคมหรื อทางานสาธารณประโยชน์ แทนค่าปรั บ
หรื อถ้ าความปรากฏแก่ศาลในขณะที่พิพากษาคดีว่าผู้ต้องโทษปรับรายใด
อยู่ในเกณฑ์ ที่ จะทางานบริ การสังคมหรื อทางานสาธารณประโยชน์ ตาม
มาตรานีไ้ ด้ และถ้ าผู้ต้องโทษปรั บยินยอม ศาลจะมีคาสัง่ ให้ ผ้ ูนนั ้ ทางาน
บริ การสังคมหรื อทางานสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับก็ได้
การพิ จ ารณาคาร้ องตามวรรคแรก เมื่อศาลได้ พิจ ารณาถึงฐานะ
____________________________________
*มาตรา ๓๐/๑ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๗ และเฉพาะ
มาตรา ๓๐/๑ วรรคหนึ่ง แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๖
32

การเงิ น ประวัติและสภาพความผิ ดของผู้ต้องโทษปรั บแล้ ว เห็นเป็ นการ


สมควร ศาลจะมีคาสั่งให้ ผ้ ูนนั ้ ทางานบริ การสังคมหรื อทางานสาธารณ-
ประโยชน์แทนค่าปรับก็ได้ ทังนี ้ ้ ภายใต้ การดูแลของพนักงานคุมประพฤติ
เจ้ าหน้ าที่ของรั ฐ หน่วยงานของรั ฐ หรื อองค์การซึ่งมีวตั ถุประสงค์เพื่อการ
บริ การสังคม การกุศลสาธารณะหรื อสาธารณประโยชน์ที่ยินยอมรับดูแล
กรณีที่ศาลมีคาสัง่ ให้ ผ้ ตู ้ องโทษปรับทางานบริ การสังคมหรื อทางาน
สาธารณประโยชน์ แทนค่าปรั บ ให้ ศาลกาหนดลักษณะหรื อประเภทของ
งาน ผู้ดแู ลการทางาน วันเริ่ มทางาน ระยะเวลาทางาน และจานวนชั่วโมง
ที่ถือเป็ นการทางานหนึ่งวัน ทังนี ้ ้ โดยคานึงถึงเพศ อายุ ประวัติ การนับถือ
ศาสนา ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สุขภาพ ภาวะแห่งจิต
นิสัย อาชี พ สิ่งแวดล้ อมหรื อสภาพความผิดของผู้ต้องโทษปรั บ ประกอบ
ด้ วย และศาลจะกาหนดเงื่อนไขอย่างหนึ่งอย่างใดให้ ผ้ ตู ้ องโทษปรับปฏิบตั ิ
เพื่อแก้ ไขฟื น้ ฟูหรื อป้องกันมิให้ ผ้ นู นกระท
ั้ าความผิดขึ ้นอีกก็ได้
ถ้ าภายหลังความปรากฏแก่ศาลว่าพฤติการณ์ เกี่ยวกับการทางาน
บริ การสั ง คมหรื อท างานสาธารณประโยชน์ ข องผู้ ต้ องโทษปรั บ
ได้ เปลี่ยนแปลงไป ศาลอาจแก้ ไขเปลี่ยนแปลงคาสั่งที่ กาหนดไว้ นัน้ ก็ไ ด้
ตามที่เห็นสมควร
ในการกาหนดระยะเวลาทางานแทนค่าปรั บตามวรรคสาม ให้ นา
บทบัญ ญั ติ ม าตรา ๓๐ มาใช้ บัง คับ โดยอนุ โลม และในกรณี ที่ ศ าลมิไ ด้
ก าหนดให้ ผ้ ู ต้ อ งโทษปรั บ ท างานติด ต่อ กัน ไป การท างานดัง กล่ า วต้ อ ง
อยู่ภายในกาหนดระยะเวลาสองปี นับแต่วนั เริ่ มทางานตามที่ศาลกาหนด
เพื่ อประโยชน์ ใ นการก าหนดจานวนชั่วโมงท างานตามวรรคสาม
ให้ ประธานศาลฎีกามีอานาจออกระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุติธรรม
33

กาหนดจานวนชัว่ โมงที่ถือเป็ นการทางานหนึ่งวัน สาหรับงานบริ การสังคม


หรื องานสาธารณประโยชน์แต่ละประเภทได้ ตามที่เห็นสมควร

* มาตรา ๓๐/๒ ถ้ าภายหลังศาลมีคาสัง่ อนุญาตตามมาตรา ๓๐/๑


แล้ ว ความปรากฏแก่ศาลเองหรื อความปรากฏตามคาแถลงของโจทก์ หรื อ
เจ้ าพนักงานว่าผู้ต้องโทษปรั บมีเงินพอชาระค่าปรับได้ ในเวลาที่ยื่นคาร้ อง
ตามมาตรา ๓๐/๑ หรื อฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิ บัติตามคาสั่งหรื อเงื่ อนไขที่ ศาล
กาหนด ศาลจะเพิ กถอนคาสั่งอนุญ าตดังกล่าวและปรั บ หรื อกักขังแทน
ค่าปรั บ โดยให้ หักจานวนวันที่ ทางานมาแล้ วออกจากจานวนเงินค่าปรั บ
ก็ได้
ในระหว่างการทางานบริ การสังคมหรื อทางานสาธารณประโยชน์
แทนค่าปรับหากผู้ต้องโทษปรับไม่ประสงค์จะทางานดังกล่าวต่อไป อาจขอ
เปลี่ยนเป็ นรั บโทษปรับหรื อกักขังแทนค่าปรับก็ได้ ในกรณีนี ้ให้ ศาลมีคาสัง่
อนุญาตตามคาร้ อง โดยให้ หกั จานวนวันที่ทางานมาแล้ วออกจากจานวน
เงินค่าปรับ

* มาตรา ๓๐/๓ คาสั่งศาลตามมาตรา ๓๐/๑ และมาตรา ๓๐/๒


ให้ เป็ นที่สดุ

มาตรา ๓๑ ในกรณี ที่ศาลจะพิ พากษาให้ ปรั บผู้กระทาความผิ ด


หลายคน ในความผิ ดอัน เดีย วกัน ในกรณี เดีย วกัน ให้ ศาลลงโทษปรั บ
____________________________________
*มาตรา ๓๐/๒ และมาตรา ๓๐/๓ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติ ม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๔๕
มาตรา ๗
34

เรี ยงตามรายตัวบุคคล

มาตรา ๓๒ ทรั พย์ สินใดที่กฎหมายบัญญัติไว้ ว่า ผู้ใดทาหรื อมีไว้


เป็ นความผิด ให้ ริบเสียทัง้ สิ ้น ไม่ว่าเป็ นของผู้กระทาความผิด และมีผ้ ูถูก
ลงโทษตามคาพิพากษาหรื อไม่

มาตรา ๓๓ ในการริ บทรัพย์ สิน นอกจากศาลจะมีอานาจริ บตาม


กฎหมายที่ บัญ ญัติไ ว้ โดยเฉพาะแล้ ว ให้ ศาลมีอานาจสั่งให้ ริ บทรั พ ย์ สิ น
ดังต่อไปนี ้อีกด้ วย คือ
(๑) ทรัพย์สินซึง่ บุคคลได้ ใช้ หรื อมีไว้ เพื่อใช้ ในการกระทาความผิด
หรื อ
(๒) ทรัพย์สินซึง่ บุคคลได้ มาโดยได้ กระทาความผิด
เว้ นแต่ทรัพย์สินเหล่านี ้เป็ นทรัพย์สินของผู้อื่นซึง่ มิได้ ร้ ู เห็นเป็ นใจด้ วย
ในการกระทาความผิด

มาตรา ๓๔ บรรดาทรัพย์สิน
(๑) ซึง่ ได้ ให้ ตามความในมาตรา ๑๔๓ มาตรา ๑๔๔ มาตรา ๑๔๙
มาตรา ๑๕๐ มาตรา ๑๖๗ มาตรา ๒๐๑ หรื อมาตรา ๒๐๒ หรื อ
(๒) ซึง่ ได้ ให้ เพื่อจูงใจบุคคลให้ กระทาความผิด หรื อเพื่อเป็ นรางวัล
ในการที่บคุ คลได้ กระทาความผิด
ให้ ริบเสียทังสิ
้ ้น เว้ นแต่ทรัพย์สินนันเป็
้ นของผู้อื่นซึง่ มิได้ ร้ ู เห็นเป็ นใจ
ด้ วยในการกระทาความผิด
35

มาตรา ๓๕ ทรัพย์สินซึง่ ศาลพิพากษาให้ ริบให้ ตกเป็ นของแผ่นดิน


แต่ศาลจะพิพากษาให้ ทาให้ ทรั พย์สินนัน้ ใช้ ไม่ได้ หรื อทาลายทรัพย์สินนัน้
เสียก็ได้

มาตรา ๓๖ ในกรณี ที่ศาลสัง่ ให้ ริบทรั พย์ สินตามมาตรา ๓๓ หรื อ


มาตรา ๓๔ ไปแล้ ว หากปรากฏในภายหลังโดยคาเสนอของเจ้ าของแท้ จริ ง
ว่า ผู้เป็ นเจ้ าของแท้ จริ งมิได้ ร้ ู เห็นเป็ นใจด้ วยในการกระทาความผิ ด ก็ให้
ศาลสัง่ ให้ คืนทรั พย์ สิน ถ้ าทรัพย์ สินนัน้ ยังคงมีอยู่ในความครอบครองของ
เจ้ าพนักงาน แต่คาเสนอของเจ้ าของแท้ จริ งนันจะต้ ้ องกระทาต่อศาลภายใน
หนึง่ ปี นับแต่วนั คาพิพากษาถึงที่สดุ

มาตรา ๓๗ ถ้ าผู้ที่ ศาลสั่งให้ ส่งทรั พ ย์ สิ น ที่ ริ บ ไม่ส่งภายในเวลา


ที่ศาลกาหนด ให้ ศาลมีอานาจสัง่ ดังต่อไปนี ้
(๑) ให้ ยดึ ทรัพย์สินนัน้
(๒) ให้ ชาระราคาหรื อสัง่ ยึดทรัพย์สินอื่นของผู้นนชดใช้ ั้ ราคาจนเต็ม
หรื อ
(๓) ในกรณีที่ศาลเห็นว่า ผู้นนจะส่
ั ้ งทรัพย์สินที่สงั่ ให้ ส่งได้ แต่ไม่ส่ง
หรื อชาระราคาทรั พย์ สินนัน้ ได้ แต่ ไม่ชาระ ให้ ศาลมีอานาจกักขังผู้นัน้ ไว้
จนกว่าจะปฏิบตั ิตามคาสัง่ แต่ไม่เกินหนึ่งปี แต่ถ้าภายหลังปรากฏแก่ศาล
เอง หรื อโดยคาเสนอของผู้นัน้ ว่า ผู้นัน้ ไม่สามารถส่งทรั พย์ สินหรื อชาระ
ราคาได้ ศาลจะสัง่ ให้ ปล่อยตัวผู้นนไปก่
ั ้ อนครบกาหนดก็ได้
36

มาตรา ๓๘ โทษให้ เป็ นอัน ระงั บ ไปด้ วยความตายของผู้ก ระท า


ความผิด

ส่ วนที่ ๒
วิธีการเพื่อความปลอดภัย

มาตรา ๓๙ วิธีการเพื่อความปลอดภัย มีดงั นี ้


(๑) กักกัน
(๒) ห้ ามเข้ าเขตกาหนด
(๓) เรี ยกประกันทัณฑ์บน
(๔) คุมตัวไว้ ในสถานพยาบาล
(๕) ห้ ามการประกอบอาชีพบางอย่าง

มาตรา ๔๐ กัก กัน คื อ การควบคุมผู้ ก ระท าความผิ ดติดนิ สัย ไว้


ภายในเขตกาหนด เพื่อป้องกันการกระทาความผิด เพื่อดัดนิสยั และเพื่อ
ฝึ กหัดอาชีพ

มาตรา ๔๑ ผู้ใดเคยถูกศาลพิพากษาให้ กักกันมาแล้ ว หรื อเคยถูก


ศาลพิพากษาให้ ลงโทษจาคุกไม่ต่ากว่าหกเดือนมาแล้ วไม่น้อยกว่าสองครัง้
ในความผิดดังต่อไปนี ้ คือ
(๑) ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ตามที่บญ ั ญัติไว้
ในมาตรา ๒๐๙ ถึงมาตรา ๒๑๖
37

(๒) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้ เกิดภยันตรายต่อประชาชน ตามที่


บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๑๗ ถึงมาตรา ๒๒๔
(๓) ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา ๒๔๐ ถึง
มาตรา ๒๔๖
(๔) ความผิ ดเกี่ ย วกับ เพศ ตามที่ บัญ ญัติ ไ ว้ ใ นมาตรา ๒๗๖ ถึ ง
มาตรา ๒๘๖
(๕) ความผิ ดต่อชี วิต ตามที่ บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๘๘ ถึงมาตรา
๒๙๐ มาตรา ๒๙๒ ถึงมาตรา ๒๙๔
(๖) ความผิ ด ต่ อ ร่ า งกาย ตามที่ บัญ ญั ติ ไ ว้ ใ นมาตรา ๒๙๕ ถึ ง
มาตรา ๒๙๙
(๗) ความผิ ด ต่ อ เสรี ภ าพ ตามที่ บัญ ญั ติ ไ ว้ ใ นมาตรา ๓๐๙ ถึ ง
มาตรา ๓๒๐
(๘) ความผิ ดเกี่ยวกับทรั พย์ ตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๓๓๔ ถึง
มาตรา ๓๔๐ มาตรา ๓๕๔ และมาตรา ๓๕๗
และภายในเวลาสิ บ ปี นับแต่วันที่ ผ้ ูนัน้ ได้ พ้น จากการกัก กัน หรื อ
พ้ นโทษแล้ วแต่กรณี ผู้นัน้ ได้ กระทาความผิ ดอย่างหนึ่ งอย่างใดในบรรดา
ที่ระบุไว้ นนอี
ั ้ กจนศาลพิพากษาลงโทษจาคุกไม่ต่ากว่าหกเดือนสาหรับการ
กระทาความผิดนัน้ ศาลอาจถือว่าผู้นนเป็ ั ้ นผู้กระทาความผิดติดนิสยั และ
จะพิพากษาให้ กักกันมีกาหนดเวลาไม่น้อยกว่าสามปี และไม่เกินสิบปี ก็ได้
* ความผิดซึ่งผู้กระทาได้ กระทาในขณะที่ มีอายุต่ากว่าสิบแปดปี นัน้
มิให้ ถือเป็ นความผิดที่จะนามาพิจารณากักกันตามมาตรานี ้
____________________________________
*มาตรา ๔๑ วรรคสอง แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๓
38

มาตรา ๔๒ ในการค านวณระยะเวลากั ก กั น ให้ นั บ วั น ที่ ศ าล


พิพากษาเป็ นวันเริ่ มกักกัน แต่ถ้ายังมีโทษจาคุกหรื อกักขังที่ผ้ ตู ้ องกักกันนัน้
จะต้ องรับอยู่ ก็ให้ จาคุกหรื อกักขังเสียก่อนและให้ นบั วันถัดจากวันที่พ้นโทษ
จาคุกหรื อพ้ นจากกักขังเป็ นวันเริ่ มกักกัน
ระยะเวลากัก กัน และการปล่ อยตัวผู้ ถู ก กัก กัน ให้ น าบทบั ญ ญั ติ
มาตรา ๒๑ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม

มาตรา ๔๓ การฟ้องขอให้ กักกันเป็ นอานาจของพนักงานอัยการ


โดยเฉพาะ และจะขอรวมกันไปในฟ้องคดีอันเป็ นมูลให้ เกิ ดอานาจฟ้อง
ขอให้ กกั กันหรื อจะฟ้องภายหลังก็ได้

มาตรา ๔๔ ห้ ามเข้ าเขตกาหนด คือการห้ ามมิให้ เข้ าไปในท้ องที่


หรื อสถานที่ที่กาหนดไว้ ในคาพิพากษา

มาตรา ๔๕ เมื่อศาลพิพากษาให้ ลงโทษผู้ใด และศาลเห็นสมควร


เพื่ อ ความปลอดภัย ของประชาชน ไม่ ว่า จะมีค าขอหรื อ ไม่ ศาลอาจสั่ง
ในค าพิ พ ากษาว่าเมื่อผู้นัน้ พ้ น โทษตามคาพิ พ ากษาแล้ ว ห้ ามมิใ ห้ ผ้ ูนัน้
เข้ าในเขตกาหนดเป็ นเวลาไม่เกินห้ าปี

* มาตรา ๔๖ ถ้ าความปรากฏแก่ ศ าลตามข้ อเสนอของพนัก งาน


อัยการว่าผู้ใดจะก่อเหตุร้ายให้ เกิ ดภยันตรายแก่บุคคลหรื อทรั พย์ สินของ
____________________________________
*มาตรา ๔๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔
39

ผู้ อื่ น หรื อ จะกระท าการใดให้ เกิ ด ความเสี ย หายแก่ สิ่ ง แวดล้ อมหรื อ
ทรั พ ยากรธรรมชาติ ต ามกฎหมายเกี่ ย วกับ สิ่ ง แวดล้ อ มและทรั พ ยากร
ธรรมชาติ ในการพิ จารณาคดีความผิ ดใด ไม่ว่าศาลจะลงโทษผู้ถูกฟ้อง
หรื อไม่ก็ ต าม เมื่ อมีเหตุอัน ควรเชื่ อว่า ผู้ถูก ฟ้ องน่ าจะก่ อเหตุร้ ายให้ เกิ ด
ภยันตรายแก่บุคคลหรื อทรั พย์ สินของผู้อื่น หรื อจะกระทาความผิดให้ เกิด
ความเสียหายแก่สิ่งแวดล้ อมหรื อทรัพยากรธรรมชาติตามกฎหมายเกี่ยวกับ
สิ่ง แวดล้ อมและทรั พยากรธรรมชาติ ให้ ศาลมีอานาจที่ จะสั่งผู้นัน้ ให้ ท า
ทัณฑ์ บนโดยกาหนดจานวนเงิ นไม่เกิ นกว่าห้ าหมื่นบาทว่าผู้นัน้ จะไม่ก่ อ
เหตุร้ายหรื อจะไม่กระทาความผิดดังกล่าวแล้ วตลอดเวลาที่ศาลกาหนด
แต่ไม่เกินสองปี และจะสัง่ ให้ มีประกันด้ วยหรื อไม่ก็ได้
ถ้ าผู้นัน้ ไม่ยอมท าทัณ ฑ์ บ นหรื อหาประกัน ไม่ไ ด้ ให้ ศาลมีอานาจ
สัง่ กักขังผู้นนจนกว่
ั้ าจะทาทัณฑ์บนหรื อหาประกันได้ แต่ไม่ให้ กกั ขังเกินกว่า
หกเดือน หรื อจะสัง่ ห้ ามผู้นนเข้
ั ้ าในเขตกาหนดตามมาตรา ๔๕ ก็ได้
การกระท าของผู้ซึ่งมี อายุต่ ากว่ าสิ บ แปดปี มิ ใ ห้ อ ยู่ใ นบังคับ แห่ ง
บทบัญญัติตามมาตรานี ้

มาตรา ๔๗ ถ้ าผู้ทาทัณฑ์ บนตามความในมาตรา ๔๖ กระทาผิ ด


ทัณฑ์ บน ให้ ศาลมีอานาจสัง่ ให้ ผ้ นู นั ้ ชาระเงินไม่เกินจานวนที่ได้ กาหนดไว้
ในทัณฑ์ บน ถ้ าผู้นัน้ ไม่ชาระให้ นาบทบัญญัติในมาตรา ๒๙ และมาตรา
๓๐ มาใช้ บงั คับ

มาตรา ๔๘ ถ้ าศาลเ ห็ น ว่ า ก าร ปล่ อ ย ตั ว ผู้ มี จิ ต บก พร่ อ ง


40

โรคจิตหรื อจิตฟั่ นเฟื อน ซึ่งไม่ต้องรับโทษหรื อได้ รับการลดโทษตามมาตรา


๖๕ จะเป็ นการไม่ปลอดภัยแก่ ประชาชน ศาลจะสั่งให้ ส่งไปคุมตัวไว้ ใ น
สถานพยาบาลก็ได้ และคาสัง่ นี ้ศาลจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได้

มาตรา ๔๙ ในกรณีที่ศาลพิพากษาลงโทษจาคุก หรื อพิพากษาว่า


มีความผิดแต่รอการกาหนดโทษ หรื อรอการลงโทษบุคคลใด ถ้ าศาลเห็นว่า
บุคคลนันได้้ กระทาความผิดเกี่ยวเนื่องกับการเสพสุราเป็ นอาจิณ หรื อการ
เป็ นผู้ติ ด ยาเสพติ ด ให้ โทษ ศาลจะก าหนดในคาพิ พ ากษาว่า บุคคลนัน้
จะต้ องไม่เสพสุรา ยาเสพติดให้ โทษอย่างหนึ่งอย่างใด หรื อทัง้ สองอย่าง
ภายในระยะเวลาไม่เกิ นสองปี นับแต่วันพ้ นโทษ หรื อวันปล่อยตัวเพราะ
รอการกาหนดโทษ หรื อรอการลงโทษก็ได้
ในกรณี ที่บุคคลดังกล่าวในวรรคแรกไม่ปฏิ บัติตามที่ ศาลกาหนด
ศาลจะสัง่ ให้ สง่ ไปคุมตัวไว้ ในสถานพยาบาลเป็ นเวลาไม่เกินสองปี ก็ได้

มาตรา ๕๐ เมื่อศาลพิ พากษาให้ ลงโทษผู้ใด ถ้ าศาลเห็นว่าผู้นัน้


กระทาความผิดโดยอาศัยโอกาสจากการประกอบอาชีพหรื อวิชาชีพ หรื อ
เนื่ องจากการประกอบอาชี พ หรื อวิ ช าชี พ และเห็ น ว่าหากผู้นัน้ ประกอบ
อาชีพหรื อวิชาชี พนัน้ ต่อไป อาจจะกระทาความผิดเช่นนัน้ ขึน้ อีก ศาลจะ
สัง่ ไว้ ในคาพิพากษาห้ ามการประกอบอาชีพหรื อวิชาชีพนัน้ มีกาหนดเวลา
ไม่เกินห้ าปี นับแต่วนั พ้ นโทษไปแล้ วก็ได้
41

ส่ วนที่ ๓
วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ และการรอการลงโทษ

* มาตรา ๕๑ ในการเพิ่ มโทษ มิ ใ ห้ เพิ่ มขึน้ ถึ งประหารชี วิต จ าคุก


ตลอดชีวิต หรื อจาคุกเกินห้ าสิบปี

** มาตรา ๕๒ ในการลดโทษประหารชีวิต ไม่วา่ จะเป็ นการลดมาตรา


ส่วนโทษหรื อลดโทษที่จะลง ให้ ลดดังต่อไปนี ้
(๑) ถ้ าจะลดหนึง่ ในสาม ให้ ลดเป็ นโทษจาคุกตลอดชีวิต
(๒) ถ้ าจะลดกึง่ หนึง่ ให้ ลดเป็ นโทษจาคุกตลอดชีวิต หรื อโทษจาคุก
ตังแต่
้ ยี่สิบห้ าปี ถึงห้ าสิบปี

** มาตรา ๕๓ ในการลดโทษจ าคุ ก ตลอดชี วิ ต ไม่ ว่ า จะเป็ นการ


ลดมาตราส่ วนโทษหรื อลดโทษที่ จ ะลง ให้ เปลี่ ย นโทษจ าคุก ตลอดชี วิ ต
เป็ นโทษจาคุกห้ าสิบปี

มาตรา ๕๔ ในการค านวณการเพิ่ ม โทษหรื อลดโทษที่ จ ะลง


ให้ ศาลตัง้ กาหนดโทษที่ จะลงแก่จาเลยเสียก่อนแล้ วจึงเพิ่ มหรื อลด ถ้ ามี
ทังการเพิ
้ ่มและการลดโทษที่จะลง ให้ เพิ่มก่อนแล้ วจึงลดจากผลที่เพิ่มแล้ ว
นัน้ ถ้ า ส่ วนของการเพิ่ ม เท่ า กับ หรื อมากกว่ าส่ ว นของการลด และศาล
เห็นสมควรจะไม่เพิ่มไม่ลดก็ได้
____________________________________
*มาตรา ๕๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๒๖ มาตรา ๓
**มาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓ แก้ ไขโดยประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๑๔ ข้ อ ๑
42

มาตรา ๕๕ ถ้ าโทษจาคุกที่ผ้ ูกระทาความผิดจะต้ องรั บ มีกาหนด


เวลาเพียงสามเดือนหรื อน้ อยกว่า ศาลจะกาหนดโทษจาคุกให้ น้อยลงอีก
ก็ได้ หรื อถ้ าโทษจาคุกที่ ผ้ ูกระทาความผิ ดจะต้ องรั บ มีกาหนดเวลาเพี ยง
สามเดื อ นหรื อ น้ อ ยกว่า และมี โทษปรั บ ด้ ว ย ศาลจะก าหนดโทษจ าคุก
ให้ น้อยลง หรื อจะยกโทษจาคุกเสีย คงให้ ปรับแต่อย่างเดียวก็ได้

* มาตรา ๕๖ ผู้ใดกระทาความผิดซึ่งมีโทษจาคุกหรื อปรั บ และใน


คดีนนศาลจะลงโทษจ
ั้ าคุกไม่เกินห้ าปี ไม่วา่ จะลงโทษปรับด้ วยหรื อไม่ก็ตาม
หรื อลงโทษปรับ ถ้ าปรากฏว่าผู้นนั ้
(๑) ไม่เคยรับโทษจาคุกมาก่อน หรื อ
(๒) เคยรับโทษจาคุกมาก่อนแต่เป็ นโทษสาหรับความผิดที่ได้ กระทา
โดยประมาทหรื อความผิดลหุโทษ หรื อเป็ นโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรื อ
(๓) เคยรับโทษจาคุกมาก่อนแต่พ้นโทษจาคุกมาแล้ วเกินกว่าห้ าปี
แล้ วมากระทาความผิดอีก โดยความผิดในครัง้ หลังเป็ นความผิดที่ได้ กระทา
โดยประมาทหรื อความผิดลหุโทษ
และเมื่อศาลได้ คานึง ถึงอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปั ญ ญา
การศึ ก ษาอบรม สุข ภาพ ภาวะแห่ ง จิ ต นิ สัย อาชี พ และสิ่ ง แวดล้ อ ม
ของผู้นนั ้ หรื อสภาพความผิด หรื อการรู้ สึกความผิดและพยายามบรรเทา
ผลร้ ายที่ เกิ ดขึน้ หรื อเหตุอื่น อันควรปรานี แ ล้ ว ศาลจะพิ พากษาว่าผู้นัน้
มีความผิดแต่รอการกาหนดโทษหรื อกาหนดโทษแต่รอการลงโทษไว้ ไม่ว่า
จะเป็ นโทษจาคุกหรื อปรับอย่างหนึง่ อย่างใดหรื อทังสองอย่ ้ าง เพื่อให้ โอกาส
____________________________________
*มาตรา ๕๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๗
43

กลับตัวภายในระยะเวลาที่ศาลจะได้ กาหนดแต่ต้ องไม่เกินห้ าปี นับแต่วนั ที่


ศาลพิพากษา โดยจะกาหนดเงื่ อนไขเพื่ อคุมความประพฤติของผู้นนั ้ ด้ วย
หรื อไม่ก็ได้
เงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติของผู้กระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง
ศาลอาจกาหนดข้ อเดียวหรื อหลายข้ อตามควรแก่กรณีได้ ดังต่อไปนี ้
(๑) ให้ ไ ปรายงานตัวต่ อเจ้ าพนัก งานที่ ศ าลระบุ ไ ว้ เป็ นครั ง้ คราว
เพื่ อเจ้ าพนัก งานจะได้ ส อบถาม แนะน า ช่ วยเหลื อ หรื อตัก เตือนตามที่
เห็นสมควรในเรื่ องความประพฤติ และการประกอบอาชีพ หรื อจัดให้ กระทา
กิจกรรมบริ การสังคมหรื อสาธารณประโยชน์
(๒) ให้ ฝึกหัดหรื อทางานอาชีพอันเป็ นกิจจะลักษณะ
(๓) ให้ ละเว้ นการคบหาสมาคมหรื อการประพฤติใดอันอาจนาไปสู่
การกระทาความผิดในทานองเดียวกันอีก
(๔) ให้ ไปรับการบาบัดรักษาการติดยาเสพติดให้ โทษ ความบกพร่ อง
ทางร่ างกายหรื อจิ ต ใจ หรื อความเจ็บ ป่ วยอย่างอื่น ณ สถานที่ และตาม
ระยะเวลาที่ศาลกาหนด
(๕) ให้ เข้ ารั บ การฝึ กอบรม ณ สถานที่ แ ละตามระยะเวลาที่ ศาล
กาหนด
(๖) ห้ ามออกนอกสถานที่ อ ยู่ อ าศัย หรื อ ห้ ามเข้ าในสถานที่ ใ ด
ในระหว่างเวลาที่ศาลกาหนด ทังนี ้ ้ จะใช้ อปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรื ออุปกรณ์
อื่นใดที่สามารถใช้ ตรวจสอบหรื อจากัดการเดินทางด้ วยก็ได้
(๗) ให้ ชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนหรื อเยียวยาความเสียหายโดยวิธีอื่น
ให้ แก่ผ้ เู สียหายตามที่ผ้ กู ระทาความผิดและผู้เสียหายตกลงกัน
(๘) ให้ แ ก้ ไ ขฟื ้น ฟู ห รื อเยี ย วยาความเสี ย หายที่ เกิ ดแก่ ท รั พ ยากร
44

ธรรมชาติหรื อสิ่งแวดล้ อม หรื อชดใช้ คา่ เสียหายเพื่อการดังกล่าว


(๙) ให้ ทาทัณฑ์ บนโดยกาหนดจานวนเงินตามที่ศาลเห็นสมควรว่า
จะไม่ก่อเหตุร้ายหรื อก่อให้ เกิดภยันตรายแก่บคุ คลอื่นหรื อทรัพย์สิน
(๑๐) เงื่ อนไขอื่น ๆ ตามที่ ศาลเห็นสมควรกาหนดเพื่ อแก้ ไข ฟื ้นฟู
หรื อป้องกันมิให้ ผ้ กู ระทาความผิดกระทาหรื อมีโอกาสกระทาความผิดขึ ้นอีก
หรื อเงื่อนไขในการเยียวยาผู้เสียหายตามที่เห็นสมควร
เงื่อนไขตามที่ศาลได้ กาหนดตามความในวรรคสองนัน้ ถ้ าภายหลัง
ความปรากฏแก่ศาลตามคาขอของผู้กระทาความผิด ผู้แทนโดยชอบธรรม
ของผู้ นั น้ ผู้ อนุ บ าลของผู้ นั น้ พนั ก งานอั ย การหรื อเจ้ าพนั ก งานว่ า
พฤติ ก ารณ์ ที่ เกี่ ย วแก่ ก ารควบคุมความประพฤติข องผู้ก ระท าความผิ ด
ได้ เปลี่ยนแปลงไป เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลอาจแก้ ไขเพิ่มเติมหรื อเพิกถอน
ข้ อหนึ่งข้ อใดเสียก็ได้ หรื อจะกาหนดเงื่อนไขข้ อใดตามที่กล่าวในวรรคสอง
ที่ศาลยังมิได้ กาหนดไว้ เพิ่มเติมขึ ้นอีกก็ได้ หรื อถ้ ามีการกระทาผิดทัณฑ์บน
ให้ นาบทบัญญัติมาตรา ๔๗ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม

มาตรา ๕๗ เมื่อความปรากฏแก่ศาลเอง หรื อความปรากฏตาม


ค าแถลงของพนั ก งานอัย การหรื อ เจ้ าพนั ก งานว่ า ผู้ กระท าความผิ ด
ไม่ปฏิบัติตามเงื่ อนไขดังที่ศาลกาหนดตามมาตรา ๕๖ ศาลอาจตักเตือน
ผู้กระทาความผิด หรื อจะกาหนดการลงโทษที่ยังไม่ได้ กาหนดหรื อลงโทษ
ซึง่ รอไว้ นนก็
ั ้ ได้
45

* มาตรา ๕๘ เมื่อความปรากฏแก่ศาลเอง หรื อความปรากฏตาม


ค าแถลงของโจทก์ ห รื อ เจ้ าพนัก งานว่ า ภายในเวลาที่ ศาลก าหนดตาม
มาตรา ๕๖ ผู้ ที่ ถู ก ศาลพิ พ ากษาได้ ก ระท าความผิ ด อัน มิ ใ ช่ ค วามผิ ด
ที่ได้ กระทาโดยประมาทหรื อความผิดลหุโทษ และศาลพิพากษาให้ ลงโทษ
จาคุกสาหรั บความผิ ดนัน้ ให้ ศาลที่พิพากษาคดีหลังกาหนดโทษที่รอการ
ก าหนดไว้ ใ นคดี ก่ อ นบวกเข้ า กับ โทษในคดี ห ลัง หรื อบวกโทษที่ ร อการ
ลงโทษไว้ ในคดีก่อนเข้ ากับโทษในคดีหลัง แล้ วแต่กรณี
แต่ถ้าภายในเวลาที่ศาลได้ กาหนดตามมาตรา ๕๖ ผู้นนมิ ั ้ ได้ กระทา
ความผิดดังกล่าวมาในวรรคแรก ให้ ผ้ ูนนั ้ พ้ นจากการที่จะถูกกาหนดโทษ
หรื อถูกลงโทษในคดีนนั ้ แล้ วแต่กรณี

____________________________________
*มาตรา ๕๘ วรรคหนึ่ง แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๓๒ มาตรา ๔
46

หมวด ๔
ความรั บผิดในทางอาญา

มาตรา ๕๙ บุคคลจะต้ องรั บผิ ดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้ กระทา


โดยเจตนา เว้ น แต่จ ะได้ ก ระท าโดยประมาทในกรณี ที่ ก ฎหมายบัญ ญัติ
ให้ ต้ องรั บ ผิ ด เมื่อได้ ก ระท าโดยประมาท หรื อเว้ น แต่ใ นกรณี ที่ ก ฎหมาย
บัญญัติไว้ โดยแจ้ งชัดให้ ต้องรับผิดแม้ ได้ กระทาโดยไม่มีเจตนา
กระทาโดยเจตนา ได้ แก่กระทาโดยรู้ สานึกในการที่ กระทาและใน
ขณะเดียวกันผู้กระทาประสงค์ต่อผล หรื อย่อมเล็งเห็นผลของการกระทานัน้
ถ้ า ผู้ กระท ามิ ไ ด้ ร้ ู ข้ อเท็ จ จริ ง อัน เป็ นองค์ ป ระกอบของความผิ ด
จะถือว่าผู้กระทาประสงค์ตอ่ ผล หรื อย่อมเล็งเห็นผลของการกระทานันมิ ้ ได้
กระทาโดยประมาท ได้ แก่กระทาความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทา
โดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนัน้ จักต้ องมีตามวิสยั
และพฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ ความระมัดระวังเช่นว่านันได้ ้ แต่หาได้
ใช้ ให้ เพียงพอไม่
การกระท า ให้ หมายความรวมถึงการให้ เกิ ดผลอัน หนึ่งอันใดขึน้
โดยงดเว้ นการที่จกั ต้ องกระทาเพื่อป้องกันผลนันด้ ้ วย

มาตรา ๖๐ ผู้ใดเจตนาที่จะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ผลของการ


กระทาเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งโดยพลาดไป ให้ ถือว่าผู้นนั ้ กระทาโดยเจตนา
แก่บุคคลซึง่ ได้ รับผลร้ ายจากการกระทานัน้ แต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติ
ให้ ลงโทษหนักขึน้ เพราะฐานะของบุคคลหรื อเพราะความสัมพันธ์ ระหว่าง
47

ผู้ กระท ากั บ บุ ค คลที่ ไ ด้ รั บ ผลร้ าย มิ ใ ห้ น ากฎหมายนั น้ มาใช้ บั ง คั บ


เพื่อลงโทษผู้กระทาให้ หนักขึ ้น

มาตรา ๖๑ ผู้ ใ ดเจตนาจะกระท าต่ อ บุ ค คลหนึ่ ง แต่ ไ ด้ ก ระท า


ต่ออีกบุคคลหนึง่ โดยสาคัญผิด ผู้นนจะยกเอาความส
ั้ าคัญผิดเป็ นข้ อแก้ ตวั
ว่ามิได้ กระทาโดยเจตนาหาได้ ไม่

มาตรา ๖๒ ข้ อเท็จจริ งใด ถ้ ามีอยู่จริ งจะทาให้ การกระทาไม่เป็ น


ความผิ ด หรื อ ท าให้ ผ้ ู ก ระท าไม่ ต้ อ งรั บ โทษ หรื อ ได้ รั บ โทษน้ อ ยลง แม้
ข้ อเท็จ จริ งนัน้ จะไม่มีอยู่จ ริ ง แต่ผ้ ูกระท าส าคัญผิ ดว่ามีอยู่จ ริ ง ผู้กระท า
ย่อมไม่มีความผิด หรื อได้ รับยกเว้ นโทษ หรื อได้ รับโทษน้ อยลง แล้ วแต่กรณี
ถ้ าความไม่ร้ ู ข้ อเท็จจริ งตามความในวรรคสามแห่งมาตรา ๕๙ หรื อ
ความส าคัญ ผิ ด ว่ามีอยู่จ ริ งตามความในวรรคแรก ได้ เกิ ดขึน้ ด้ วยความ
ประมาทของผู้กระทาความผิด ให้ ผ้ ูกระทารั บผิดฐานกระทาโดยประมาท
ในกรณี ที่กฎหมายบัญญัติไว้ โดยเฉพาะว่า การกระทานันผู ้ ้ กระทาจะต้ อง
รับโทษแม้ กระทาโดยประมาท
บุค คลจะต้ อ งรั บ โทษหนัก ขึ น้ โดยอาศัย ข้ อ เท็ จ จริ ง ใด บุค คลนัน้
จะต้ องได้ ร้ ู ข้อเท็จจริ งนัน้

มาตรา ๖๓ ถ้ าผลของการกระท าความผิ ด ใดท าให้ ผู้ กระท า


ต้ อ งรั บ โทษหนั ก ขึ น้ ผลของการกระท าความผิ ด นัน้ ต้ อ งเป็ นผลที่ ต าม
ธรรมดาย่อมเกิดขึ ้นได้
48

มาตรา ๖๔ บุคคลจะแก้ ตัวว่าไม่ร้ ู กฎหมายเพื่ อให้ พ้นจากความ


รั บ ผิ ด ในทางอาญาไม่ไ ด้ แต่ถ้ าศาลเห็ น ว่ า ตามสภาพและพฤติก ารณ์
ผู้ กระท าความผิ ด อาจจะไม่ ร้ ู ว่ า กฎหมายบั ญ ญั ติ ว่ า การกระท านั น้
เป็ นความผิด ศาลอาจอนุญาตให้ แสดงพยานหลักฐานต่อศาล และถ้ าศาล
เชื่อว่าผู้กระทาไม่ร้ ู ว่ากฎหมายบัญญัติไว้ เช่นนัน้ ศาลจะลงโทษน้ อยกว่า
ที่กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับความผิดนันเพี ้ ยงใดก็ได้

มาตรา ๖๕ ผู้ใดกระทาความผิดในขณะไม่สามารถรู้ ผิดชอบหรื อ


ไม่สามารถบัง คับ ตนเองได้ เพราะมีจิ ตบกพร่ อง โรคจิ ตหรื อจิ ตฟั่ น เฟื อน
ผู้นนไม่
ั ้ ต้องรับโทษสาหรับความผิดนัน้
แต่ถ้าผู้กระทาความผิดยังสามารถรู้ ผิดชอบอยู่บ้าง หรื อยัง สามารถ
บังคับตนเองได้ บ้าง ผู้นนต้
ั ้ องรับโทษสาหรับความผิดนัน้ แต่ศาลจะลงโทษ
น้ อยกว่าที่กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับความผิดนันเพี้ ยงใดก็ได้

มาตรา ๖๖ ความมึ น เมาเพราะเสพสุ ร าหรื อสิ่ ง เมาอย่ า งอื่ น


จะยกขึ น้ เป็ นข้ อแก้ ตัว ตามมาตรา ๖๕ ไม่ ไ ด้ เว้ น แต่ ค วามมึน เมานั น้
จะได้ เกิ ด โดยผู้เสพไม่ร้ ู ว่าสิ่งนัน้ จะทาให้ มึนเมา หรื อได้ เสพโดยถูกขื นใจ
ให้ เสพ และได้ กระทาความผิดในขณะไม่สามารถรู้ ผิดชอบ หรื อไม่สามารถ
บังคับตนเองได้ ผู้กระทาความผิดจึงจะได้ รับยกเว้ นโทษสาหรับความผิดนัน้
แต่ถ้าผู้นนยั
ั ้ งสามารถรู้ ผิดชอบอยู่บ้าง หรื อยังสามารถบังคับตนเองได้ บ้าง
ศาลจะลงโทษน้ อยกว่าที่กฎหมายกาหนดไว้ สาหรั บความผิ ดนัน้ เพี ยงใด
ก็ได้
49

มาตรา ๖๗ ผู้ใดกระทาความผิดด้ วยความจาเป็ น


(๑) เพราะอยู่ในที่บงั คับ หรื อภายใต้ อานาจซึง่ ไม่สามารถหลีกเลี่ยง
หรื อขัดขืนได้ หรื อ
(๒) เพราะเพื่อให้ ตนเองหรื อผู้อื่นพ้ นจากภยันตรายที่ใกล้ จะถึงและ
ไม่ ส ามารถหลี ก เลี่ ย งให้ พ้ น โดยวิ ธี อื่ น ใดได้ เมื่ อ ภยั น ตรายนั น้ ตนมิ ไ ด้
ก่อให้ เกิดขึ ้นเพราะความผิดของตน
ถ้ าการกระท านัน้ ไม่เป็ นการเกิ น สมควรแก่ เหตุแ ล้ ว ผู้นัน้ ไม่ต้อ ง
รับโทษ

มาตรา ๖๘ ผู้ใดจาต้ องกระทาการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรื อ


ของผู้อื่นให้ พ้นภยันตรายซึง่ เกิดจากการประทุษร้ ายอันละเมิดต่อกฎหมาย
และเป็ นภยันตรายที่ใกล้ จะถึง ถ้ าได้ กระทาพอสมควรแก่เหตุ การกระทา
นันเป็
้ นการป้องกันโดยชอบด้ วยกฎหมาย ผู้นนไม่ ั ้ มีความผิด

มาตรา ๖๙ ในกรณีที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา ๖๗ และมาตรา ๖๘ นัน้


ถ้ าผู้กระท าได้ กระท าไปเกิ น สมควรแก่ เหตุ หรื อเกิ น กว่ากรณี แ ห่ งความ
จาเป็ นหรื อเกินกว่ากรณีแห่งการจาต้ องกระทาเพื่อป้องกัน ศาลจะลงโทษ
น้ อ ยกว่ า ที่ ก ฎหมายก าหนดไว้ ส าหรั บ ความผิ ด นัน้ เพี ย งใดก็ ไ ด้ แต่ ถ้ า
การกระท านั น้ เกิ ด ขึ น้ จากความตื่ น เต้ น ความตกใจ หรื อ ความกลั ว
ศาลจะไม่ลงโทษผู้กระทาก็ได้
50

มาตรา ๗๐ ผู้ใดกระทาตามคาสั่งของเจ้ าพนักงาน แม้ คาสั่งนัน้


จะมิชอบด้ วยกฎหมาย ถ้ าผู้กระทามีหน้ าที่หรื อเชื่อโดยสุจริ ตว่ามีหน้ าที่ต้อง
ปฏิบัติตาม ผู้นนั ้ ไม่ต้องรั บโทษ เว้ นแต่จะรู้ ว่าคาสัง่ นัน้ เป็ นคาสัง่ ซึ่งมิชอบ
ด้ วยกฎหมาย

มาตรา ๗๑ ความผิดตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๓๓๔ ถึงมาตรา


๓๓๖ วรรคแรก และมาตรา ๓๔๑ ถึงมาตรา ๓๖๔ นัน้ ถ้ าเป็ นการกระทา
ที่สามีกระทาต่อภริ ยา หรื อภริ ยากระทาต่อสามี ผู้กระทาไม่ต้องรับโทษ
ความผิ ด ดัง ระบุ ม านี ้ ถ้ าเป็ นการกระท าที่ ผ้ ู บุ พ การี ก ระท าต่ อ
ผู้สื บ สัน ดาน ผู้สื บ สัน ดานกระท าต่ อ ผู้บุ พ การี หรื อพี่ ห รื อ น้ องร่ วมบิ ด า
มารดาเดี ย วกัน กระท าต่อกัน แม้ ก ฎหมายมิไ ด้ บัญ ญัติ ใ ห้ เป็ นความผิ ด
อันยอมความได้ ก็ให้ เป็ นความผิดอันยอมความได้ และนอกจากนัน้ ศาล
จะลงโทษน้ อยกว่าที่กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับความผิดนันเพี ้ ยงใดก็ได้

มาตรา ๗๒ ผู้ใดบันดาลโทสะโดยถูกข่มเหงอย่างร้ ายแรงด้ วยเหตุ


อันไม่เป็ นธรรม จึงกระทาความผิดต่อผู้ข่มเหงในขณะนัน้ ศาลจะลงโทษ
ผู้นนน้
ั ้ อยกว่าที่กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับความผิดนันเพี
้ ยงใดก็ได้

* มาตรา ๗๓ เด็ ก อายุ ยั ง ไม่ เ กิ น สิ บ ปี กระท าการอั น กฎหมาย


บัญญัติเป็ นความผิด เด็กนันไม่
้ ต้องรับโทษ
ให้ พนักงานสอบสวนส่งตัวเด็กตามวรรคหนึ่งให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่
ตามกฎหมายว่าด้ วยการคุ้มครองเด็ก เพื่อดาเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพ
____________________________________
*มาตรา ๗๓ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๕
51

ตามกฎหมายว่าด้ วยการนัน้

* มาตรา ๗๔ เด็ ก อายุ ก ว่ า สิ บ ปี แต่ยังไม่ เกิ น สิ บ ห้ าปี กระท าการ


อันกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด เด็กนันไม่ ้ ต้องรับโทษ แต่ให้ ศาลมีอานาจ
ที่จะดาเนินการดังต่อไปนี ้
(๑) ว่ า กล่ า วตั ก เตื อ นเด็ ก นั น้ แล้ วปล่ อ ยตั ว ไป และถ้ าศาล
เห็นสมควรจะเรี ยกบิ ดา มารดา ผู้ปกครอง หรื อบุคคลที่ เด็กนัน้ อาศัยอยู่
มาตักเตือนด้ วยก็ได้
(๒) ถ้ าศาลเห็นว่า บิดา มารดา หรื อผู้ปกครองสามารถดูแลเด็กนัน้
ได้ ศาลจะมีคาสั่งให้ มอบตัวเด็กนัน้ ให้ แก่บิดา มารดา หรื อผู้ปกครองไป
โดยวางข้ อก าหนดให้ บิ ด า มารดา หรื อ ผู้ ปกครองระวั ง เด็ ก นั น้ ไม่ ให้
ก่ อ เหตุร้ ายตลอดเวลาที่ ศ าลก าหนดซึ่ง ต้ อ งไม่ เ กิ น สามปี และก าหนด
จานวนเงิ นตามที่ เห็นสมควรซึ่งบิ ดา มารดา หรื อผู้ปกครองจะต้ องชาระ
ต่อศาลไม่เกินครัง้ ละหนึง่ หมื่นบาท ในเมื่อเด็กนันก่ ้ อเหตุร้ายขึ ้น
ถ้ าเด็กนันอาศั
้ ยอยู่กบั บุคคลอื่นนอกจากบิดา มารดา หรื อผู้ปกครอง
และศาลเห็ น ว่ า ไม่ ส มควรจะเรี ย กบิ ด า มารดา หรื อ ผู้ ป กครองมาวาง
ข้ อก าหนดดัง กล่า วข้ า งต้ น ศาลจะเรี ย กตัวบุ คคลที่ เ ด็ก นัน้ อาศัย อยู่ม า
สอบถามว่า จะยอมรั บข้ อกาหนดทานองที่บัญญัติไว้ สาหรั บบิดา มารดา
หรื อผู้ปกครองดังกล่าวมาข้ างต้ นหรื อไม่ก็ได้ ถ้ าบุคคลที่ เด็กนัน้ อาศัยอยู่
ยอมรับข้ อกาหนดเช่นว่านัน้ ก็ให้ ศาลมีคาสัง่ มอบตัวเด็กให้ แก่บุคคลนันไป ้
โดยวางข้ อกาหนดดังกล่าว
____________________________________
*มาตรา ๗๔ วรรคหนึ่ง แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๖
52

(๓) ในกรณี ที่ศาลมอบตัวเด็ก ให้ แก่บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรื อ


บุค คลที่ เ ด็ก นัน้ อาศัย อยู่ตาม (๒) ศาลจะก าหนดเงื่ อนไขเพื่ อคุม ความ
ประพฤติเด็กนัน้ เช่นเดียวกับที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๕๖ ด้ วยก็ได้ ในกรณี
เช่ น ว่ า นี ้ ให้ ศาลแต่ ง ตัง้ พนั ก งานคุม ประพฤติ ห รื อ พนั ก งานอื่ น ใดเพื่ อ
คุมความประพฤติเด็กนัน้
(๔) ถ้ าเด็กนันไม่
้ มีบิดา มารดา หรื อผู้ปกครอง หรื อมีแต่ศาลเห็นว่า
ไม่สามารถดูแลเด็กนัน้ ได้ หรื อถ้ าเด็กอาศัยอยู่กับบุคคลอื่นนอกจากบิดา
มารดา หรื อผู้ปกครอง และบุคคลนัน้ ไม่ยอมรับข้ อกาหนดดังกล่าวใน (๒)
ศาลจะมี ค าสั่ ง ให้ มอบตั ว เด็ ก นั น้ ให้ อยู่ กั บ บุ ค คลหรื อ องค์ ก ารที่ ศ าล
เห็นสมควรเพื่ อดูแล อบรม และสัง่ สอนตามระยะเวลาที่ ศาลกาหนดก็ได้
ในเมื่ อ บุ ค คลหรื อ องค์ ก ารนั น้ ยิ น ยอม ในกรณี เ ช่ น ว่ า นี ้ ให้ บุ ค คลหรื อ
องค์ ก ารนัน้ มี อานาจเช่ น ผู้ ป กครองเฉพาะเพื่ อดูแ ล อบรม และสั่ง สอน
รวมตลอดถึงการกาหนดที่อยู่และการจัดให้ เด็กมีงานทาตามสมควร หรื อ
ให้ ดาเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามกฎหมายว่าด้ วยการนันก็ ้ ได้ หรื อ
(๕) ส่ ง ตัว เด็ ก นั น้ ไปยั ง โรงเรี ย น หรื อ สถานฝึ กและอบรม หรื อ
สถานที่ ซึ่งจัดตัง้ ขึน้ เพื่ อฝึ กและอบรมเด็ก ตลอดระยะเวลาที่ ศาลกาหนด
แต่อย่าให้ เกินกว่าที่เด็กนันจะมี ้ อายุครบสิบแปดปี
คาสัง่ ของศาลดังกล่าวใน (๒) (๓) (๔) และ (๕) นัน้ ถ้ าในขณะใด
ภายในระยะเวลาที่ศาลกาหนดไว้ ความปรากฏแก่ศาลโดยศาลรู้ เอง หรื อ
ตามคาเสนอของผู้มีส่วนได้ เสีย พนักงานอัยการ หรื อบุคคลหรื อองค์การที่
ศาลมอบตัวเด็กเพื่อดูแลอบรมและสัง่ สอน หรื อเจ้ าพนักงานว่า พฤติการณ์
เกี่ยวกับคาสัง่ นัน้ ได้ เปลี่ ยนแปลงไป ก็ให้ ศาลมีอานาจเปลี่ยนแปลงแก้ ไข
คาสัง่ นัน้ หรื อมีคาสัง่ ใหม่ตามอานาจในมาตรานี ้
53

* มาตรา ๗๕ ผู้ใดอายุกว่าสิบห้ าปี แต่ต่ากว่าสิบแปดปี กระทาการ


อันกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด ให้ ศาลพิจารณาถึงความรู้ ผิดชอบและ
สิ่งอื่นทังปวงเกี
้ ่ยวกับผู้นนั ้ ในอันที่จะควรวินิจฉัยว่าสมควรพิพากษาลงโทษ
ผู้นัน้ หรื อ ไม่ ถ้ า ศาลเห็ น ว่าไม่ส มควรพิ พ ากษาลงโทษ ก็ ใ ห้ จัด การตาม
มาตรา ๗๔ หรื อถ้ า ศาลเห็ น ว่ าสมควรพิ พ ากษาลงโทษ ก็ ใ ห้ ล ดมาตรา
ส่วนโทษที่กาหนดไว้ สาหรับความผิดลงกึง่ หนึง่

* มาตรา ๗๖ ผู้ใดอายุตัง้ แต่สิ บแปดปี แต่ยังไม่เกิ น ยี่ สิบ ปี กระท า


การอัน กฎหมายบัญ ญั ติเป็ นความผิ ด ถ้ า ศาลเห็ น สมควรจะลดมาตรา
ส่วนโทษที่กาหนดไว้ สาหรับความผิดนันลงหนึ
้ ง่ ในสามหรื อกึง่ หนึง่ ก็ได้

มาตรา ๗๗ ในกรณีที่ศาลวางข้ อกาหนดให้ บิดามารดา ผู้ปกครอง


หรื อบุคคลที่ เด็ก นัน้ อาศัย อยู่ ระวังเด็กนั น้ ไม่ให้ ก่อเหตุร้ ายตามความใน
มาตรา ๗๔ (๒) ถ้ าเด็กนัน้ ก่อเหตุร้ายขึน้ ภายในเวลาในข้ อกาหนด ศาล
มีอานาจบังคับบิดามารดา ผู้ปกครองหรื อบุคคลที่เด็กนันอาศั ้ ยอยู่ ให้ ชาระ
เงินไม่เกินจานวนในข้ อกาหนดนัน้ ภายในเวลาที่ศาลเห็นสมควร ถ้ าบิดา
มารดา ผู้ปกครองหรื อบุคคลที่เด็กนัน้ อาศัยอยู่ไม่ชาระเงิน ศาลจะสัง่ ให้ ยึด
ทรัพย์สินของบิดามารดา ผู้ปกครองหรื อบุคคลที่เด็กนันอาศั ้ ยอยู่ เพื่อใช้ เงิน
ที่จะต้ องชาระก็ได้
ในกรณีที่ศาลได้ บงั คับให้ บิดามารดา ผู้ปกครองหรื อบุคคลที่เด็กนัน้
อาศัยอยู่ชาระเงิ นตามข้ อกาหนดแล้ วนัน้ ถ้ าศาลมิได้ เปลี่ยนแปลงแก้ ไข
____________________________________
*มาตรา ๗๕ และมาตรา ๗๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๗
54

คาสัง่ ที่ได้ วางข้ อกาหนดนันเป็


้ นอย่างอื่นตามความในมาตรา ๗๔ วรรคท้ าย
ก็ให้ ข้อกาหนดนันคงใช้
้ บงั คับได้ ต่อไปจนสิ ้นเวลาที่ กาหนดไว้ ในข้ อกาหนด
นัน้

มาตรา ๗๘ เมื่ อ ปรากฏว่ า มี เ หตุบ รรเทาโทษ ไม่ ว่ า จะได้ มี ก าร


เพิ่มหรื อการลดโทษตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้ หรื อกฎหมาย
อื่นแล้ วหรื อไม่ ถ้ าศาลเห็นสมควรจะลดโทษไม่เกินกึ่งหนึ่งของโทษที่จะลง
แก่ผ้ กู ระทาความผิดนันก็้ ได้
เหตุ บ รรเทาโทษนั น้ ได้ แก่ ผู้ กระท าความผิ ด เป็ นผู้ โฉดเขลา
เบาปั ญ ญา ตกอยู่ใ นความทุก ข์ อย่ างสาหัส มีคุณ ความดีมาแต่ก่ อ น
รู้ สึ ก ความผิ ด และพยายามบรรเทาผลร้ ายแห่ ง ความผิ ด นั น้ ลุ แ ก่ โ ทษ
ต่อเจ้ าพนักงานหรื อให้ ความรู้ แก่ศาลอันเป็ นประโยชน์แก่การพิจารณา หรื อ
เหตุอื่นที่ศาลเห็นว่ามีลกั ษณะทานองเดียวกัน

มาตรา ๗๙ ในคดีที่มีโทษปรับสถานเดียว ถ้ าผู้ที่ ต้องหาว่ากระทา


ความผิดนาค่าปรับในอัตราอย่างสูงสาหรับความผิดนันมาช้ าระก่อนที่ศาล
เริ่ มต้ นสืบพยาน ให้ คดีนนเป็
ั ้ นอันระงับไป
55

หมวด ๕
การพยายามกระทาความผิด

มาตรา ๘๐ ผู้ ใดลงมื อ กระท าความผิ ด แต่ ก ระท าไปไม่ ต ลอด


หรื อกระทาไปตลอดแล้ วแต่การกระทานันไม่
้ บรรลุผล ผู้นนพยายามกระท
ั้ า
ความผิด
ผู้ใดพยายามกระทาความผิด ผู้นนต้
ั ้ องระวางโทษสองในสามส่วน
ของโทษที่กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับความผิดนัน้

มาตรา ๘๑ ผู้ใดกระทาการโดยมุ่งต่อผลซึ่งกฎหมายบัญญัติเป็ น
ความผิด แต่การกระทานันไม่ ้ สามารถจะบรรลุผลได้ อย่างแน่แท้ เพราะเหตุ
ปั จจัยซึ่งใช้ ในการกระทาหรื อเหตุแห่งวัตถุที่มุ่งหมายกระทาต่อ ให้ ถือว่า
ผู้ นั น้ พยายามกระท าความผิ ด แต่ ใ ห้ ลงโทษไม่ เ กิ น กึ่ ง หนึ่ ง ของโทษ
ที่กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับความผิดนัน้
ถ้ าการกระท าดัง กล่ า วในวรรคแรกได้ ก ระท าไปโดยความเชื่ อ
อย่างงมงาย ศาลจะไม่ลงโทษก็ได้

มาตรา ๘๒ ผู้ ใดพยายามกระท าความผิ ด หากยั บ ยั ง้ เสี ย เอง


ไม่กระทาการให้ ตลอด หรื อกลับใจแก้ ไขไม่ให้ การกระทานันบรรลุ
้ ผล ผู้นนั ้
ไม่ ต้ อ งรั บ โทษส าหรั บ การพยายามกระท าความผิ ด นัน้ แต่ ถ้ าการที่ ไ ด้
กระทาไปแล้ วต้ องตามบทกฎหมายที่บญ ั ญัติเป็ นความผิด ผู้นนต้
ั ้ องรับโทษ
สาหรับความผิดนัน้ ๆ
56

หมวด ๖
ตัวการและผู้สนับสนุน

มาตรา ๘๓ ในกรณี ความผิดใดเกิดขึน้ โดยการกระทาของบุคคล


ตัง้ แต่ ส องคนขึ น้ ไป ผู้ ที่ ไ ด้ ร่ ว มกระท าความผิ ด ด้ ว ยกั น นั น้ เป็ นตัว การ
ต้ องระวางโทษตามที่กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับความผิดนัน้

* มาตรา ๘๔ ผู้ใดก่อให้ ผ้ อู ื่นกระทาความผิดไม่วา่ ด้ วยการใช้ บังคับ


ขู่เข็ญ จ้ าง วาน หรื อยุยงส่งเสริ ม หรื อด้ วยวิธีอื่นใด ผู้นนเป็
ั ้ นผู้ใช้ ให้ กระทา
ความผิด
ถ้ าความผิดมิได้ กระทาลงไม่ว่าจะเป็ นเพราะผู้ถูกใช้ ไม่ยอมกระทา
ยังไม่ได้ กระทา หรื อเหตุอื่นใด ผู้ใช้ ต้องระวางโทษเพียงหนึ่งในสามของโทษ
ที่กาหนดไว้ สาหรับความผิดนัน้
ถ้ าผู้ถูกใช้ ได้ กระทาความผิดนัน้ ผู้ใช้ ต้องรั บโทษเสมือนเป็ นตัวการ
และถ้ าผู้ถกู ใช้ เป็ นบุคคลอายุไม่เกินสิบแปดปี ผู้พิการ ผู้ทุพพลภาพ ลูกจ้ าง
หรื อผู้ที่อยู่ใต้ บงั คับบัญชาของผู้ใช้ ผู้ที่ มีฐานะยากจน หรื อผู้ต้องพึ่งพาผู้ใช้
เพราะเหตุป่ วยเจ็ บ หรื อ ไม่ว่ า ทางใด ให้ เ พิ่ ม โทษที่ จ ะลงแก่ ผ้ ูใ ช้ กึ่ง หนึ่ ง
ของโทษที่ศาลกาหนดสาหรับผู้นนั ้

มาตรา ๘๕ ผู้ใ ดโฆษณาหรื อประกาศแก่ บุคคลทั่วไปให้ ก ระท า


ความผิด และความผิดนันมี
้ กาหนดโทษไม่ต่ากว่าหกเดือน ผู้นนต้
ั ้ องระวาง
____________________________________
*มาตรา ๘๔ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๘
57

โทษกึง่ หนึง่ ของโทษที่กาหนดไว้ สาหรับความผิดนัน้


ถ้ าได้ มี ก ารกระท าความผิ ด เพราะเหตุ ที่ ไ ด้ มี ก ารโฆษณาหรื อ
ประกาศตามความในวรรคแรก ผู้ โฆษณาหรื อประกาศต้ องรับโทษเสมือน
เป็ นตัวการ

* มาตรา ๘๕/๑ ถ้ าผู้ ถู ก ใช้ ตามมาตรา ๘๔ หรื อ ผู้ กระท าตาม


คาโฆษณาหรื อประกาศแก่บุคคลทัว่ ไปให้ กระทาความผิดตามมาตรา ๘๕
ได้ ให้ ข้อมูลสาคัญอันเป็ นการเปิ ดเผยถึงการกระทาความผิ ดของผู้ใช้ ใ ห้
กระท าความผิ ด หรื อ ผู้ โฆษณาหรื อประกาศแก่ บุ ค คลทั่ว ไปให้ กระท า
ความผิ ด และเป็ นประโยชน์ อย่างยิ่งต่อการดาเนิ นคดีแก่บุคคลดังกล่าว
ศาลจะลงโทษผู้นนน้ ั ้ อยกว่าอัตราโทษขันต้ ่าที่กาหนดไว้ สาหรับความผิดนัน้
เพียงใดก็ได้

มาตรา ๘๖ ผู้ใดกระท าด้ วยประการใด ๆ อันเป็ นการช่วยเหลื อ


หรื อให้ ความสะดวกในการที่ ผ้ ูอื่น กระทาความผิ ดก่ อนหรื อขณะกระท า
ความผิด แม้ ผ้ กู ระทาความผิดจะมิได้ ร้ ู ถงึ การช่วยเหลือหรื อให้ ความสะดวก
นัน้ ก็ ตาม ผู้นัน้ เป็ นผู้ส นับ สนุน การกระท าความผิ ด ต้ องระวางโทษสอง
ในสามส่วนของโทษที่กาหนดไว้ สาหรับความผิดที่สนับสนุนนัน้

มาตรา ๘๗ ในกรณีที่มีการกระทาความผิดเพราะมีผ้ ใู ช้ ให้ กระทา


ตามมาตรา ๘๔ เพราะมีผ้ ูโฆษณาหรื อประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้ กระทา
____________________________________
*มาตรา ๘๕/๑ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๙
58

ความผิดตามมาตรา ๘๕ หรื อโดยมีผ้ สู นับสนุนตามมาตรา ๘๖ ถ้ าความผิด


ที่ เ กิ ด ขึ น้ นัน้ ผู้ ก ระท าได้ ก ระท าไปเกิ น ขอบเขตที่ ใ ช้ ห รื อ ที่ โ ฆษณาหรื อ
ประกาศ หรื อเกิ น ไปจากเจตนาของผู้ส นับ สนุน ผู้ใช้ ให้ ก ระทาความผิ ด
ผู้โฆษณาหรื อประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้ กระทาความผิด หรื อผู้สนับสนุน
การกระท าความผิ ด แล้ ว แต่ ก รณี ต้ อ งรั บ ผิ ด ทางอาญาเพี ย งส าหรั บ
ความผิ ดเท่าที่ อยู่ใ นขอบเขตที่ ใช้ หรื อที่ โฆษณาหรื อประกาศ หรื ออยู่ใ น
ขอบเขตแห่งเจตนาของผู้สนับสนุนการกระทาความผิดเท่านัน้ แต่ถ้าโดย
พฤติการณ์อาจเล็งเห็นได้ วา่ อาจเกิดการกระทาความผิดเช่นที่เกิดขึ ้นนันได้ ้
จากการใช้ การโฆษณาหรื อประกาศ หรื อการสนับ สนุน ผู้ใ ช้ ใ ห้ ก ระท า
ความผิ ด ผู้โฆษณาหรื อประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้ กระทาความผิ ด หรื อ
ผู้ส นับ สนุน การกระทาความผิ ด แล้ วแต่ก รณี ต้ องรั บ ผิ ดทางอาญาตาม
ความผิดที่เกิดขึ ้นนัน้
ในกรณี ที่ผ้ ูถูกใช้ ผู้ก ระทาตามคาโฆษณาหรื อประกาศแก่ บุคคล
ทั่วไปให้ กระทาความผิด หรื อตัวการในความผิด จะต้ องรั บผิดทางอาญา
มีกาหนดโทษสูงขึน้ เพราะอาศัยผลที่ เกิดจากการกระทาความผิด ผู้ใช้ ให้
กระทาความผิด ผู้โฆษณาหรื อประกาศแก่บุคคลทัว่ ไปให้ กระทาความผิด
หรื อผู้สนับสนุนการกระทาความผิด แล้ วแต่กรณี ต้ องรับผิดทางอาญาตาม
ความผิ ด ที่ มีก าหนดโทษสูงขึน้ นัน้ ด้ วย แต่ถ้ า โดยลัก ษณะของความผิ ด
ผู้กระทาจะต้ องรั บผิ ดทางอาญามีก าหนดโทษสูงขึน้ เฉพาะเมื่อผู้กระท า
ต้ องรู้ หรื ออาจเล็งเห็น ได้ ว่าจะเกิ ดผลเช่ นนัน้ ขึน้ ผู้ใ ช้ ให้ กระท าความผิ ด
ผู้โฆษณาหรื อประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้ กระทาความผิด หรื อผู้สนับสนุน
59

การกระทาความผิด จะต้ องรับผิดทางอาญาตามความผิดที่มีกาหนดโทษ


สูงขึ ้นก็เฉพาะเมื่อตนได้ ร้ ู หรื ออาจเล็งเห็นได้ วา่ จะเกิดผลเช่นที่เกิดขึ ้นนัน้

มาตรา ๘๘ ถ้ าความผิ ด ที่ ไ ด้ ใ ช้ ที่ ไ ด้ โ ฆษณาหรื อ ประกาศแก่


บุคคลทั่วไปให้ กระทา หรื อที่ได้ สนับสนุนให้ กระทา ได้ กระทาถึงขัน้ ลงมือ
กระท าความผิ ด แต่ เ นื่ อ งจากการเข้ าขัด ขวางของผู้ ใ ช้ ผู้ โ ฆษณาหรื อ
ประกาศ หรื อผู้สนับ สนุน ผู้ก ระท าได้ ก ระท าไปไม่ตลอด หรื อกระทาไป
ตลอดแล้ ว แต่การกระทานัน้ ไม่บรรลุผล ผู้ใช้ หรื อผู้โฆษณาหรื อประกาศ
คงรั บ ผิ ด เพี ย งที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ นมาตรา ๘๔ วรรคสอง หรื อ มาตรา ๘๕
วรรคแรก แล้ วแต่กรณี ส่วนผู้สนับสนุนนันไม่ ้ ต้องรับโทษ

มาตรา ๘๙ ถ้ ามี เ หตุ ส่ ว นตั ว อั น ควรยกเว้ นโทษ ลดโทษหรื อ


เพิ่มโทษแก่ผ้ กู ระทาความผิดคนใด จะนาเหตุนนไปใช้
ั้ แก่ผ้ กู ระทาความผิด
คนอื่นในการกระทาความผิ ดนัน้ ด้ วยไม่ไ ด้ แต่ถ้าเหตุอันควรยกเว้ นโทษ
ลดโทษหรื อเพิ่ มโทษเป็ นเหตุในลักษณะคดี จึงให้ ใช้ แก่ผ้ ูกระทาความผิ ด
ในการกระทาความผิดนันด้ ้ วยกันทุกคน
60

หมวด ๗
การกระทาความผิดหลายบทหรื อหลายกระทง

มาตรา ๙๐ เมื่ อ การกระท าใดอัน เป็ นกรรมเดี ย วเป็ นความผิ ด


ต่ อ กฎหมายหลายบท ให้ ใช้ กฎหมายบทที่ มี โ ทษหนั ก ที่ สุ ด ลงโทษ
แก่ผ้ กู ระทาความผิด

* มาตรา ๙๑ เมื่ อ ปรากฏว่ า ผู้ ใดได้ ก ระท าการอัน เป็ นความผิ ด


หลายกรรมต่างกัน ให้ ศาลลงโทษผู้นัน้ ทุก กรรมเป็ นกระทงความผิ ดไป
แต่ไม่วา่ จะมีการเพิ่มโทษ ลดโทษ หรื อลดมาตราส่วนโทษด้ วยหรื อไม่ก็ตาม
เมื่อรวมโทษทุกกระทงแล้ ว โทษจาคุกทังสิ ้ ้นต้ องไม่เกินกาหนดดังต่อไปนี ้
(๑) สิบปี สาหรับกรณีความผิดกระทงที่หนักที่สดุ มีอตั ราโทษจาคุก
อย่างสูงไม่เกินสามปี
(๒) ยี่ สิ บ ปี ส าหรั บ กรณี ความผิ ดกระทงที่ ห นัก ที่ สุดมีอัตราโทษ
จาคุกอย่างสูงเกินสามปี แต่ไม่เกินสิบปี
(๓) ห้ าสิบปี สาหรั บกรณี ความผิ ดกระทงที่ หนักที่ สุดมีอัตราโทษ
จาคุกอย่างสูงเกินสิบปี ขึ ้นไป เว้ นแต่กรณีที่ศาลลงโทษจาคุกตลอดชีวิต

____________________________________
*มาตรา ๙๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๒๖ มาตรา ๔
61

หมวด ๘
การกระทาความผิดอีก

มาตรา ๙๒ ผู้ใดต้ องคาพิพากษาถึงที่สุดให้ ลงโทษจาคุก ถ้ าและ


ได้ กระทาความผิดใด ๆ อีกในระหว่างที่ยงั จะต้ องรับโทษอยู่ก็ดี ภายในเวลา
ห้ าปี นับแต่วันพ้ นโทษก็ดี หากศาลจะพิ พากษาลงโทษครั ง้ หลังถึงจาคุก
ก็ ใ ห้ เ พิ่ ม โทษที่ จ ะลงแก่ ผ้ ูนัน้ หนึ่ งในสามของโทษที่ ศ าลก าหนดส าหรั บ
ความผิดครัง้ หลัง

มาตรา ๙๓ ผู้ใดต้ องคาพิพากษาถึงที่สุดให้ ลงโทษจาคุก ถ้ าและ


ได้ กระทาความผิ ดอย่างหนึ่งอย่างใดที่ จาแนกไว้ ในอนุมาตราต่อไปนี ซ้ า้
ในอนุมาตราเดียวกันอีกในระหว่างที่ยังจะต้ องรั บโทษอยู่ก็ดี ภายในเวลา
สามปี นั บ แต่ วั น พ้ นโทษก็ ดี ถ้ าความผิ ด ครั ง้ แรกเป็ นความผิ ด ซึ่ ง ศาล
พิพากษาลงโทษจาคุกไม่น้อยกว่าหกเดือน หากศาลจะพิ พากษาลงโทษ
ครัง้ หลังถึงจาคุก ก็ให้ เพิ่มโทษที่จะลงแก่ผ้ นู นกึ
ั ้ ่งหนึ่งของโทษที่ศาลกาหนด
สาหรับความผิดครัง้ หลัง
(๑) ความผิดเกี่ยวกับความมัน่ คงแห่งราชอาณาจักร ตามที่บญ ั ญัติ
ไว้ ในมาตรา ๑๐๗ ถึงมาตรา ๑๓๕
(๒) ความผิดต่อเจ้ าพนักงาน ตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๑๓๖ ถึง
มาตรา ๑๔๖
(๓) ความผิดต่อตาแหน่งหน้ าที่ราชการ ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา
๑๔๗ ถึงมาตรา ๑๖๖
(๔) ความผิ ดต่อเจ้ าพนักงานในการยุติธรรม ตามที่ บัญญัติไว้ ใน
62

มาตรา ๑๖๗ ถึงมาตรา ๑๙๒ และมาตรา ๑๙๔


(๕) ความผิดต่อตาแหน่งหน้ าที่ในการยุติธรรม ตามที่บญ ั ญัติไว้ ใน
มาตรา ๒๐๐ ถึงมาตรา ๒๐๔
(๖) ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ตามที่บญ ั ญัติไว้
ในมาตรา ๒๐๙ ถึงมาตรา ๒๑๖
(๗) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้ เกิดภยันตรายต่อประชาชน ตามที่
บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๑๗ ถึงมาตรา ๒๒๔ มาตรา ๒๒๖ ถึงมาตรา ๒๓๔
และมาตรา ๒๓๖ ถึงมาตรา ๒๓๘
(๘) ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา ๒๔๐ ถึง
มาตรา ๒๔๙ ความผิ ดเกี่ยวกับดวงตราแสตมป์และตั๋ว ตามที่บัญญัติไว้
ในมาตรา ๒๕๐ ถึง มาตรา ๒๖๑ และความผิ ด เกี่ ย วกับ เอกสาร ตามที่
บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๖๔ ถึงมาตรา ๒๖๙
(๙) ความผิดเกี่ยวกับการค้ า ตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๗๐ ถึง
มาตรา ๒๗๕
(๑๐) ความผิ ดเกี่ ย วกับ เพศ ตามที่ บัญ ญัติ ไ ว้ ใ นมาตรา ๒๗๖ ถึ ง
มาตรา ๒๘๕
(๑๑) ความผิ ดต่อชี วิต ตามที่ บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๘๘ ถึงมาตรา
๒๙๐ และมาตรา ๒๙๔ ความผิดต่อร่ างกาย ตามที่ บัญญัติไว้ ในมาตรา
๒๙๕ ถึ ง มาตรา ๒๙๙ ความผิ ด ฐานท าให้ แท้ งลู ก ตามที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้
ในมาตรา ๓๐๑ ถึงมาตรา ๓๐๓ และความผิดฐานทอดทิ ้งเด็ก คนป่ วยเจ็บ
หรื อคนชรา ตามที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรา ๓๐๖ ถึงมาตรา ๓๐๘
(๑๒) ความผิดต่อเสรี ภาพ ตามที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา ๓๐๙ มาตรา
๓๑๐ และมาตรา ๓๑๒ ถึงมาตรา ๓๒๐
63

(๑๓) ความผิ ดเกี่ยวกับทรั พย์ ตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๓๓๔ ถึง


มาตรา ๓๖๕

* มาตรา ๙๔ ความผิดอันได้ กระทาโดยประมาท ความผิดลหุโทษ


และความผิ ด ซึ่ง ผู้ก ระท าได้ ก ระท าในขณะที่ มีอายุ ต่ากว่ าสิ บ แปดปี นัน้
ไม่ว่าจะได้ กระทาในครั ง้ ก่อนหรื อครั ง้ หลัง ไม่ถือว่าเป็ นความผิ ดเพื่อการ
เพิ่มโทษตามความในหมวดนี ้

หมวด ๙
อายุความ

มาตรา ๙๕ ในคดีอาญา ถ้ ามิได้ ฟ้องและได้ ตวั ผู้กระทาความผิด


มายังศาลภายในกาหนดดังต่อไปนี ้ นับแต่วนั กระทาความผิด เป็ นอันขาด
อายุความ
(๑) ยี่ สิ บ ปี ส าหรั บ ความผิ ดต้ อ งระวางโทษประหารชี วิต จ าคุก
ตลอดชีวิต หรื อจาคุกยี่สิบปี
(๒) สิบห้ าปี สาหรับความผิดต้ องระวางโทษจาคุกกว่าเจ็ดปี แต่ยัง
ไม่ถงึ ยี่สิบปี
(๓) สิบปี สาหรับความผิดต้ องระวางโทษจาคุกกว่าหนึง่ ปี ถึงเจ็ดปี
(๔) ห้ าปี สาหรั บความผิดต้ องระวางโทษจาคุกกว่าหนึ่งเดือนถึง
หนึง่ ปี
____________________________________
*มาตรา ๙๔ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘
64

(๕) หนึ่งปี สาหรั บความผิ ดต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ หนึ่งเดือน


ลงมา หรื อต้ องระวางโทษอย่างอื่น
ถ้ า ได้ ฟ้ องและได้ ตัว ผู้ กระท าความผิ ด มายั ง ศาลแล้ ว ผู้ กระท า
ความผิดหลบหนีหรื อวิกลจริ ต และศาลสัง่ งดการพิจารณาไว้ จนเกินกาหนด
ดังกล่าวแล้ วนับแต่วนั ที่หลบหนีหรื อวันที่ศาลสัง่ งดการพิจารณา ก็ให้ ถือว่า
เป็ นอันขาดอายุความเช่นเดียวกัน

มาตรา ๙๖ ภายใต้ บังคับ มาตรา ๙๕ ในกรณี ความผิ ดอัน ยอม


ความได้ ถ้ า ผู้ เ สี ย หายมิ ไ ด้ ร้ องทุ ก ข์ ภ ายในสามเดือ นนับ แต่ วัน ที่ ร้ ู เรื่ อ ง
ความผิดและรู้ ตวั ผู้กระทาความผิด เป็ นอันขาดอายุความ

มาตรา ๙๗ ในการฟ้องขอให้ กักกัน ถ้ าจะฟ้องภายหลังการฟ้อง


คดี อัน เป็ นมูล ให้ เ กิ ด อ านาจฟ้ องขอให้ กัก กั น ต้ อ งฟ้ องภายในก าหนด
หกเดือนนับแต่วนั ที่ฟ้องคดีนนั ้ มิฉะนันเป็
้ นอันขาดอายุความ

มาตรา ๙๘ เมื่ อ ได้ มี ค าพิ พ ากษาถึ ง ที่ สุ ด ให้ ลงโทษผู้ ใด ผู้ นั น้


ยังมิได้ รับโทษก็ดี ได้ รับโทษแต่ยงั ไม่ครบถ้ วนโดยหลบหนีก็ดี ถ้ ายังมิได้ ตวั
ผู้ นั น้ มาเพื่ อ รั บ โทษนั บ แต่ วัน ที่ มี ค าพิ พ ากษาถึ ง ที่ สุ ด หรื อ นั บ แต่ วัน ที่
ผู้ กระท าความผิ ด หลบหนี แล้ วแต่ ก รณี เกิ น ก าหนดเวลาดั ง ต่ อ ไปนี ้
เป็ นอันล่วงเลยการลงโทษ จะลงโทษผู้นนมิ ั ้ ได้
(๑) ยี่ สิบปี สาหรั บโทษประหารชี วิต จาคุกตลอดชี วิตหรื อจาคุก
ยี่สิบปี
(๒) สิบห้ าปี สาหรับโทษจาคุกกว่าเจ็ดปี แต่ยงั ไม่ถงึ ยี่สิบปี
65

(๓) สิบปี สาหรับโทษจาคุกกว่าหนึง่ ปี ถึงเจ็ดปี


(๔) ห้ าปี สาหรับโทษจาคุกตังแต่
้ หนึง่ ปี ลงมาหรื อโทษอย่างอื่น

* มาตรา ๙๙ การยึดทรั พย์ สิน หรื ออายัดสิทธิ เรี ยกร้ องในทรั พย์ สิน
เพื่ อใช้ ค่าปรั บ หรื อการกักขังแทนค่าปรั บ ถ้ ามิได้ ทาภายในกาหนดห้ าปี
นับแต่วันที่ ไ ด้ มีคาพิ พากษาถึงที่ สุด จะยึดทรั พย์ สิน อายัดสิ ทธิ เรี ยกร้ อง
ในทรัพย์สิน หรื อกักขังไม่ได้
ความในวรรคหนึ่ ง มิ ใ ห้ ใช้ บั ง คั บ ในกรณี ก ารกั ก ขั ง แทนค่ า ปรั บ
ซึง่ ทาต่อเนื่องกับการลงโทษจาคุก

มาตรา ๑๐๐ เมื่อ ได้ มีคาพิ พ ากษาถึ งที่ สุด ให้ กัก กัน ผู้ ใ ด ถ้ า ผู้นัน้
ยังมิได้ รับการกักกันก็ดี ได้ รับการกักกันแต่ยังไม่ครบถ้ วนโดยหลบหนีก็ดี
ถ้ าพ้ นกาหนดสามปี นับแต่วนั ที่พ้นโทษโดยได้ รับโทษตามคาพิพากษาแล้ ว
หรื อ โดยล่วงเลยการลงโทษ หรื อ นับ แต่วัน ที่ ผ้ ูนัน้ หลบหนี ร ะหว่างเวลา
ที่ต้องกักกัน เป็ นอันล่วงเลยการกักกัน จะกักกันผู้นนไม่
ั ้ ได้

มาตรา ๑๐๑ การบังคับตามคาสัง่ ของศาลตามความในมาตรา ๔๖


หรื อการร้ องขอให้ ศาลสัง่ ให้ ใช้ เงินเมื่อผู้ทาทัณฑ์ บนประพฤติผิดทัณฑ์ บน
ตามความในมาตรา ๔๗ นัน้ ถ้ ามิได้ บงั คับหรื อร้ องขอภายในกาหนดสองปี
นับแต่วนั ที่ศาลมีคาสัง่ หรื อนับแต่วนั ที่ผ้ ูทาทัณฑ์บนประพฤติผิดทัณฑ์ บน
จะบังคับหรื อร้ องขอมิได้
____________________________________
*มาตรา ๙๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๓
66

ลักษณะ ๒
บทบัญญัตทิ ่ ีใช้ แก่ ความผิดลหุโทษ

* มาตรา ๑๐๒ ความผิดลหุโทษ คือ ความผิดซึง่ ต้ องระวางโทษจาคุก


ไม่เกินหนึง่ เดือน หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๑๐๓ บทบัญญัติในลักษณะ ๑ ให้ ใช้ ในกรณี แห่งความผิ ด


ลหุโทษด้ วย เว้ นแต่ที่บญ
ั ญัติไว้ ในสามมาตราต่อไปนี ้

มาตรา ๑๐๔ การกระทาความผิดลหุโทษตามประมวลกฎหมายนี ้


แม้ กระทาโดยไม่มีเจตนาก็เป็ นความผิด เว้ นแต่ตามบทบัญญัติความผิดนัน้
จะมีความบัญญัติให้ เห็นเป็ นอย่างอื่น

มาตรา ๑๐๕ ผู้ใ ดพยายามกระท าความผิ ด ลหุ โทษ ผู้ นัน้ ไม่ต้ อ ง
รับโทษ

มาตรา ๑๐๖ ผู้สนับสนุนในความผิดลหุโทษไม่ต้องรับโทษ

____________________________________
*มาตรา ๑๐๒ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔
67

ภาค ๒
ความผิด
ลักษณะ ๑
ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่ งราชอาณาจักร
หมวด ๑
ความผิดต่ อองค์ พระมหากษัตริย์ พระราชินี
รั ชทายาท และผู้สาเร็ จราชการแทนพระองค์

มาตรา ๑๐๗ ผู้ใดปลงพระชนม์ พระมหากษั ตริ ย์ ต้ องระวางโทษ


ประหารชีวิต
ผู้ใดพยายามกระทาการเช่นว่านัน้ ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกัน
ผู้ ใดกระท าการใดอั น เป็ นการตระเตรี ยมเพื่ อ ปลงพระชนม์
พระมหากษัตริ ย์ หรื อรู้ วา่ มีผ้ จู ะปลงพระชนม์พระมหากษัตริ ย์ กระทาการใด
อันเป็ นการช่วยปกปิ ดไว้ ต้ องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต

มาตรา ๑๐๘ ผู้ใดกระทาการประทุษร้ ายต่อพระองค์หรื อเสรี ภาพ


ของพระมหากษัตริ ย์ ต้ องระวางโทษประหารชีวิต หรื อจาคุกตลอดชีวิต
ผู้ใดพยายามกระทาการเช่นว่านัน้ ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกัน
ถ้ า การกระท านั น้ มี ลัก ษณะอัน น่ า จะเป็ นอัน ตรายแก่ พ ระชนม์
ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชีวิต
ผู้ใดกระทาการใดอันเป็ นการตระเตรี ยมเพื่อประทุษร้ ายต่อพระองค์
หรื อเสรี ภ าพของพระมหากษั ตริ ย์ หรื อ รู้ ว่ามีผ้ ูจะกระทาการประทุษร้ าย
68

ต่อพระองค์ ห รื อเสรี ภ าพของพระมหากษั ตริ ย์ กระทาการใดอันเป็ นการ


ช่วยปกปิ ดไว้ ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ สิบหกปี ถึงยี่สิบปี

มาตรา ๑๐๙ ผู้ ใ ดปลงพระชนม์ พ ระราชิ นี ห รื อ รั ช ทายาท หรื อ


ฆ่าผู้สาเร็ จราชการแทนพระองค์ ต้ องระวางโทษประหารชีวิต
ผู้ใดพยายามกระทาการเช่นว่านัน้ ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกัน
ผู้ใดกระทาการใดอันเป็ นการตระเตรี ยมเพื่อปลงพระชนม์พระราชินี
หรื อรัชทายาท หรื อเพื่อฆ่าผู้สาเร็ จราชการแทนพระองค์ หรื อรู้ ว่ามีผ้ จู ะปลง
พระชนม์พระราชินีหรื อรั ชทายาท หรื อจะฆ่าผู้สาเร็ จราชการแทนพระองค์
กระทาการใดอันเป็ นการช่วยปกปิ ดไว้ ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สิบสองปี
ถึงยี่สิบปี

มาตรา ๑๑๐ ผู้ใดกระทาการประทุษร้ ายต่อพระองค์ หรื อเสรี ภาพ


ของพระราชิ นี ห รื อ รั ช ทายาท หรื อต่ อร่ างกายหรื อ เสรี ภ าพของผู้ ส าเร็ จ
ราชการแทนพระองค์ ต้ องระวางโทษจ าคุกตลอดชี วิต หรื อจ าคุกตัง้ แต่
สิบหกปี ถึงยี่สิบปี
ผู้ใดพยายามกระทาการเช่นว่านัน้ ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกัน
ถ้ าการกระทานัน้ มีลกั ษณะอันน่าจะเป็ นอันตรายแก่พระชนม์หรื อ
ชีวิต ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชีวิต หรื อจาคุกตลอดชีวิต
ผู้ใดกระทาการใดอันเป็ นการตระเตรี ยมเพื่อประทุษร้ ายต่อพระองค์
หรื อเสรี ภาพของพระราชินีหรื อรัชทายาท หรื อต่อร่ างกายหรื อเสรี ภาพของ
69

ผู้สาเร็ จราชการแทนพระองค์ หรื อรู้ ว่ามีผ้ ูจะประทุษร้ ายต่อพระองค์ หรื อ


เสรี ภ าพของพระราชิ นี ห รื อ รั ช ทายาท หรื อ ประทุ ษ ร้ ายต่ อ ร่ า งกายหรื อ
เสรี ภ าพของผู้ ส าเร็ จ ราชการแทนพระองค์ กระท าการใดอัน เป็ นการ
ช่วยปกปิ ดไว้ ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่้ สิบสองปี ถึงยี่สิบปี

มาตรา ๑๑๑ ผู้ใดเป็ นผู้สนับสนุนในการกระทาความผิดตามมาตรา


๑๐๗ ถึงมาตรา ๑๑๐ ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกับตัวการในความผิดนัน้

* มาตรา ๑๑๒ ผู้ใ ดหมิ่น ประมาท ดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาต


มาดร้ ายพระมหากษั ต ริ ย์ พระราชิ นี รั ชทายาท หรื อผู้สาเร็ จราชการแทน
พระองค์ ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ สามปี ถึงสิบห้ าปี

____________________________________
*มาตรา ๑๑๒ แก้ ไขโดยคาสัง่ ของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ ๔๑ พ.ศ. ๒๕๑๙ ข้ อ ๑
70

หมวด ๒
ความผิดต่ อความมั่นคงของรั ฐ
ภายในราชอาณาจักร

มาตรา ๑๑๓ ผู้ใ ดใช้ ก าลังประทุษ ร้ าย หรื อขู่ เข็ ญ ว่ าจะใช้ ก าลัง
ประทุษร้ าย เพื่อ
(๑) ล้ มล้ างหรื อเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ
(๒) ล้ มล้ างอานาจนิติบัญญัติ อานาจบริ หาร หรื ออานาจตุลาการ
แห่งรัฐธรรมนูญ หรื อให้ ใช้ อานาจดังกล่าวแล้ วไม่ได้ หรื อ
(๓) แบ่ ง แยกราชอาณาจัก รหรื อยึดอานาจปกครองในส่วนหนึ่ง
ส่วนใดแห่งราชอาณาจักร
ผู้นนกระท
ั้ าความผิดฐานเป็ นกบฏ ต้ องระวางโทษประหารชีวิต หรื อ
จาคุกตลอดชีวิต

มาตรา ๑๑๔ ผู้ใดสะสมกาลังพลหรื ออาวุธ ตระเตรี ยมการอื่นใด


หรื อสมคบกัน เพื่ อเป็ นกบฏ หรื อกระทาความผิ ด ใด ๆ อัน เป็ นส่วนของ
แผนการ เพื่อเป็ นกบฏ หรื อยุยงราษฎรให้ เป็ นกบฏ หรื อรู้ ว่ามีผ้ จู ะเป็ นกบฏ
แล้ วกระท าการใดอัน เป็ นการช่ วยปกปิ ดไว้ ต้ องระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่
สามปี ถึงสิบห้ าปี

มาตรา ๑๑๕ ผู้ใ ดยุยงทหารหรื อตารวจให้ หนี ราชการ ให้ ละเลย


ไม่กระทาการตามหน้ าที่ หรื อให้ ก่ อการกาเริ บ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
71

ห้ าปี
ถ้ าความผิ ด นั น้ ได้ กระท าลงโดยมุ่ ง หมายจะบ่ อ นให้ วิ นั ย และ
สมรรถภาพของกรมกองทหารหรื อตารวจเสื่อมทรามลง ผู้กระทาต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินสิบปี

มาตรา ๑๑๖ ผู้ใดกระทาให้ ปรากฏแก่ประชาชนด้ วยวาจา หนังสือ


หรื อวิธีอื่นใดอันมิใช่เป็ นการกระทาภายในความมุ่งหมายแห่งรัฐธรรมนูญ
หรื อมิใช่เพื่อแสดงความคิดเห็นหรื อติชมโดยสุจริ ต
(๑) เพื่ อให้ เกิ ดการเปลี่ย นแปลงในกฎหมายแผ่ นดินหรื อรั ฐบาล
โดยใช้ กาลังข่มขืนใจหรื อใช้ กาลังประทุษร้ าย
(๒) เพื่อให้ เกิดความปั่ นป่ วนหรื อกระด้ างกระเดื่องในหมู่ประชาชน
ถึงขนาดที่จะก่อความไม่สงบขึ ้นในราชอาณาจักร หรื อ
(๓) เพื่อให้ ประชาชนล่วงละเมิดกฎหมายแผ่นดิน ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินเจ็ดปี

* มาตรา ๑๑๗ ผู้ ใดยุ ย งหรื อจั ด ให้ เกิ ด การร่ วมกั น หยุ ด งาน
การร่ ว มกั น ปิ ดงานงดจ้ าง หรื อ การร่ ว มกั น ไม่ ย อมค้ า ขายหรื อ ติ ด ต่ อ
ทางธุรกิจกับบุคคลใด ๆ เพื่ อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในกฎหมายแผ่นดิน
เพื่อบังคับรัฐบาล หรื อเพื่อข่มขู่ประชาชน ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี
หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ผู้ใดทราบความมุ่งหมายดังกล่าวและเข้ ามีส่วนหรื อเข้ าช่วยในการ
____________________________________
*มาตรา ๑๑๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
72

ร่ วมกันหยุดงาน การร่ วมกันปิ ดงานงดจ้ าง หรื อการร่ วมกันไม่ยอมค้ าขาย


หรื อติดต่อทางธุรกิจกับบุคคลใด ๆ นัน้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี
หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ้ าทังปรั้ บ
ผู้ใดทราบความมุง่ หมายดังกล่าว และใช้ กาลังประทุษร้ าย ขู่เข็ญว่า
จะใช้ กาลังประทุษร้ ายหรื อทาให้ หวาดกลัวด้ วยประการใด ๆ เพื่อให้ บุคคล
เข้ ามีส่วนหรื อเข้ าช่วยในการร่ วมกันหยุดงาน การร่ วมกันปิ ดงานงดจ้ าง
หรื อ การร่ ว มกัน ไม่ ย อมค้ า ขายหรื อ ติ ด ต่อ ทางธุ ร กิ จ กับ บุ ค คลใด ๆ นัน้
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทัง้ จา
ทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๑๘ ผู้ใ ดกระท าการใด ๆ ต่ อ ธงหรื อ เครื่ อ งหมายอื่ น ใด


อันมีความหมายถึงรัฐ เพื่อเหยียดหยามประเทศชาติ ต้ องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

____________________________________
*มาตรา ๑๑๘ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕
73

หมวด ๓
ความผิดต่ อความมั่นคงของรั ฐ
ภายนอกราชอาณาจักร

มาตรา ๑๑๙ ผู้ ใดกระท าการใด ๆ เพื่ อ ให้ ราชอาณาจั ก รหรื อ


ส่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใดของราชอาณาจั ก รตกไปอยู่ ใ ต้ อ านาจอธิ ป ไตยของ
รั ฐ ต่ างประเทศ หรื อเพื่ อให้ เอกราชของรั ฐ เสื่ อมเสี ย ไป ต้ อ งระวางโทษ
ประหารชีวิต หรื อจาคุกตลอดชีวิต

มาตรา ๑๒๐ ผู้ใดคบคิดกับบุคคลซึ่งกระทาการเพื่อประโยชน์ของ


รั ฐต่างประเทศ ด้ วยความประสงค์ที่จะก่อให้ เกิดการดาเนินการรบต่อรั ฐ
หรื อในทางอื่นที่ เป็ นปรปั ก ษ์ ต่อรั ฐ ต้ องระวางโทษจ าคุกตลอดชี วิต หรื อ
จาคุกตังแต่
้ สิบปี ถึงยี่สิบปี

มาตรา ๑๒๑ คนไทยคนใดกระทาการรบต่อประเทศ หรื อเข้ าร่ วม


เป็ นข้ าศึกของประเทศ ต้ องระวางโทษประหารชีวิต หรื อจาคุกตลอดชีวิต

มาตรา ๑๒๒ ผู้ใดกระทาการใด ๆ เพื่ออุปการะแก่การดาเนินการรบ


หรื อการตระเตรี ยมการรบของข้ าศึก ต้ องระวางโทษจ าคุกตัง้ แต่ห้ าปี ถึง
สิบห้ าปี
ถ้ าการอุปการะนันเป็
้ นการ
(๑) ทาให้ ป้อม ค่าย สนามบิน ยานรบ ยานพาหนะ ทางคมนาคม
74

สิ่งที่ใช้ ในการสื่อสาร ยุทธภัณฑ์ เสบียงอาหาร อู่เรื อ อาคาร หรื อสิ่งอื่นใด


สาหรับใช้ เพื่อการสงครามใช้ การไม่ได้ หรื อตกไปอยู่ในเงื ้อมมือของข้ าศึก
(๒) ยุย งทหารให้ ล ะเลยไม่ก ระท าการตามหน้ าที่ ก่ อการก าเริ บ
หนีราชการหรื อละเมิดวินยั
(๓) กระทาจารกรรม นาหรื อแนะทางให้ ข้าศึก หรื อ
(๔) กระทาโดยประการอื่นใดให้ ข้าศึกได้ เปรี ยบในการรบ
ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชีวิต หรื อจาคุกตลอดชีวิต

มาตรา ๑๒๓ ผู้ใดกระทาการใด ๆ เพื่อให้ ได้ มาซึง่ ข้ อความ เอกสาร


หรื อสิ่งใด ๆ อันปกปิ ดไว้ เป็ นความลับสาหรับความปลอดภัยของประเทศ
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี

มาตรา ๑๒๔ ผู้ใดกระทาการใด ๆ เพื่ อให้ ผ้ ูอื่นล่วงรู้ หรื อได้ ไปซึ่ง


ข้ อ ความ เอกสารหรื อ สิ่ ง ใด ๆ อัน ปกปิ ดไว้ เ ป็ นความลับ ส าหรั บ ความ
ปลอดภัยของประเทศ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี
ถ้ าความผิ ดนัน้ ได้ กระทาในระหว่างประเทศอยู่ในการรบหรื อการ
สงคราม ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่้ ห้าปี ถึงสิบห้ าปี
ถ้ าความผิ ด ดัง กล่ า วมาในสองวรรคก่ อ น ได้ กระท าเพื่ อ ให้ รั ฐ
ต่างประเทศได้ ประโยชน์ ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชีวิต หรื อจาคุก
ตลอดชีวิต
75

มาตรา ๑๒๕ ผู้ใดปลอม ทาเทียมขึ ้น กักไว้ ซ่อนเร้ น ปิ ดบัง ยักย้ าย


ทาให้ เสียหาย ทาลาย หรื อทาให้ สูญหายหรื อไร้ ประโยชน์ ซึ่งเอกสารหรื อ
แบบใด ๆ อันเกี่ยวกับส่วนได้ เสียของรัฐในการระหว่างประเทศ ต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินสิบปี

มาตรา ๑๒๖ ผู้ใดได้ รับมอบหมายจากรัฐบาลให้ กระทากิจการของ


รั ฐ กับ รั ฐ บาลต่ า งประเทศ ถ้ า และโดยทุ จ ริ ต ไม่ ป ฏิ บัติ ก ารตามที่ ไ ด้ รั บ
มอบหมาย ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ หนึง่ ปี ถึงสิบปี

มาตรา ๑๒๗ ผู้ใดกระทาการใด ๆ เพื่ อให้ เกิดเหตุร้ายแก่ประเทศ


จากภายนอก ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี
ถ้ าเหตุร้ายเกิดขึน้ ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชีวิต หรื อจาคุก
ตลอดชีวิต หรื อจาคุกตังแต่
้ สองปี ถึงยี่สิบปี

มาตรา ๑๒๘ ผู้ใดตระเตรี ยมการ หรื อพยายามกระทาความผิดใด ๆ


ในหมวดนี ้ ต้ องระวางโทษตามที่บญ
ั ญัติไว้ สาหรับความผิดนัน้

มาตรา ๑๒๙ ผู้ ใ ดเป็ นผู้ สนับ สนุ น ในการกระท าความผิ ด ใด ๆ


ในหมวดนี ้ ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกับตัวการในความผิดนัน้
76

หมวด ๔
ความผิดต่ อสัมพันธไมตรี กับต่ างประเทศ
มาตรา ๑๓๐ ผู้ ใดท าร้ ายร่ า งกายหรื อ ประทุ ษ ร้ ายต่ อ เสรี ภ าพ
ของราชาธิ บดี ราชิ นี ราชสามี รั ชทายาท หรื อประมุขแห่งรั ฐต่างประเทศ
ซึง่ มีสมั พันธไมตรี ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ หนึง่ ปี ถึงสิบห้ าปี
ผู้ใดพยายามกระทาการเช่นว่านัน้ ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกัน

มาตรา ๑๓๑ ผู้ใดทาร้ ายร่ างกายหรื อประทุษร้ ายต่อเสรี ภาพของ


ผู้แทนรัฐต่างประเทศ ซึง่ ได้ รับแต่งตังให้
้ มาสู่พระราชสานัก ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินสิบปี
ผู้ใดพยายามกระทาการเช่นว่านัน้ ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกัน

มาตรา ๑๓๒ ผู้ใดฆ่าหรื อพยายามฆ่าบุคคลหนึ่งบุคคลใดดังระบุไว้


ในมาตรา ๑๓๐ หรื อมาตรา ๑๓๑ ต้ องระวางโทษประหารชีวิต หรื อจาคุก
ตลอดชีวิต

* มาตรา ๑๓๓ ผู้ ใ ดหมิ่น ประมาท ดูห มิ่น หรื อแสดงความอาฆาต


มาดร้ ายราชาธิ บ ดี ราชิ นี ราชสามี รั ช ทายาท หรื อประมุ ข แห่ ง รั ฐ
ต่างประเทศ ต้ องระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่ห นึ่งปี ถึงเจ็ ดปี หรื อปรั บ ตัง้ แต่
สองหมื่นบาทถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
____________________________________
*มาตรา ๑๓๓ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕
77

* มาตรา ๑๓๔ ผู้ใ ดหมิ่น ประมาท ดูห มิ่น หรื อแสดงความอาฆาต


มาดร้ ายผู้ แทนรั ฐ ต่ า งประเทศ ซึ่ ง ได้ รั บ แต่ ง ตัง้ ให้ มาสู่ พ ระราชส านั ก
ต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่หกเดือนถึงห้ าปี หรื อปรั บตังแต่ ้ หนึ่งหมื่นบาท
ถึงหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๓๕ ผู้ใ ดกระท าการใด ๆ ต่อธงหรื อเครื่ องหมายอื่น ใด


อัน มีค วามหมายถึงรั ฐ ต่างประเทศซึ่ งมีสัมพันธไมตรี เพื่ อเหยี ย ดหยาม
รั ฐ นั น้ ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ไม่ เ กิ น สองปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น สี่ ห มื่ น บาท
หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

**ลักษณะ ๑/๑
ความผิดเกี่ยวกับการก่ อการร้ าย

มาตรา ๑๓๕/๑ ผู้ใดกระทาการอันเป็ นความผิดอาญาดังต่อไปนี ้


(๑) ใช้ กาลังประทุษร้ าย หรื อกระทาการใดอันก่อให้ เกิดอันตราย
ต่อชีวิต หรื ออันตรายอย่างร้ ายแรงต่อร่ างกาย หรื อเสรี ภาพของบุคคลใด ๆ
(๒) กระทาการใดอันก่อให้ เกิดความเสียหายอย่างร้ ายแรงแก่ระบบ
การขนส่ง สาธารณะ ระบบโทรคมนาคม หรื อโครงสร้ างพื น้ ฐานอันเป็ น
ประโยชน์สาธารณะ
____________________________________
*มาตรา ๑๓๔ และมาตรา ๑๓๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕
**ลักษณะ ๑/๑ ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ าย มาตรา ๑๓๕/๑ ถึงมาตรา ๑๓๕/๔ เพิ่มเติม โดย พ.ร.ก.
แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๔
78

(๓) กระท าการใดอัน ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายแก่ ท รั พ ย์ สิ น ของ


รัฐหนึ่งรัฐใด หรื อของบุคคลใด หรื อต่อสิ่งแวดล้ อม อันก่อให้ เกิดหรื อน่าจะ
ก่อให้ เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างสาคัญ
ถ้ าการกระทานันได้ ้ กระทาโดยมีความมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญหรื อบังคับ
รั ฐบาลไทย รั ฐบาลต่างประเทศ หรื อองค์การระหว่างประเทศ ให้ กระทา
หรื อไม่กระทาการใดอันจะก่อให้ เกิดความเสียหายอย่างร้ ายแรง หรื อเพื่อ
สร้ างความปั่ นป่ วนโดยให้ เกิดความหวาดกลัวในหมู่ประชาชน ผู้นนกระท ั้ า
ความผิดฐานก่อการร้ าย ต้ องระวางโทษประหารชีวิต จาคุกตลอดชีวิต หรื อ
จาคุกตังแต่ ้ สามปี ถึงยี่สิบปี และปรับตังแต่ ้ หกหมื่นบาทถึงหนึง่ ล้ านบาท
การกระทาในการเดินขบวน ชุมนุม ประท้ วง โต้ แย้ ง หรื อเคลื่อนไหว
เพื่ อ เรี ย กร้ องให้ รั ฐ ช่ ว ยเหลื อ หรื อ ให้ ได้ รั บ ความเป็ นธรรมอัน เป็ นการ
ใช้ เสรี ภาพตามรัฐธรรมนูญ ไม่เป็ นการกระทาความผิดฐานก่อการร้ าย

มาตรา ๑๓๕/๒ ผู้ใด


(๑) ขู่เข็ ญ ว่าจะกระท าการก่ อการร้ าย โดยมีพ ฤติก ารณ์ อัน ควร
เชื่อได้ วา่ บุคคลนันจะกระท
้ าการตามที่ข่เู ข็ญจริ ง หรื อ
(๒) สะสมก าลั ง พลหรื ออาวุ ธ จั ด หาหรื อรวบรวมทรั พ ย์ สิ น
ให้ หรื อรั บการฝึ กการก่อการร้ าย ตระเตรี ยมการอื่นใดหรื อสมคบกัน เพื่ อ
ก่ อ การร้ าย หรื อ กระท าความผิ ด ใด ๆ อัน เป็ นส่ ว นของแผนการเพื่ อ
ก่ อการร้ าย หรื อ ยุย งประชาชนให้ เข้ ามี ส่วนในการก่ อการร้ าย หรื อรู้ ว่ า
มีผ้ จู ะก่อการร้ ายแล้ วกระทาการใดอันเป็ นการช่วยปกปิ ดไว้
ผู้ นั น้ ต้ องระวางโทษจ าคุ ก ตัง้ แต่ ส องปี ถึ ง สิ บ ปี และปรั บ ตัง้ แต่
สี่หมื่นบาทถึงสองแสนบาท
79

มาตรา ๑๓๕/๓ ผู้ใดเป็ นผู้สนับ สนุน ในการกระทาความผิ ดตาม


มาตรา ๑๓๕/๑ หรื อมาตรา ๑๓๕/๒ ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกับตัวการ
ในความผิดนัน้ ๆ

มาตรา ๑๓๕/๔ ผู้ใดเป็ นสมาชิ กของคณะบุคคลซึ่งมีมติของหรื อ


ประกาศภายใต้ คณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติกาหนดให้ เป็ น
คณะบุคคลที่มีการกระทาอันเป็ นการก่อการร้ ายและรัฐบาลไทยได้ ประกาศ
ให้ ความรับรองมติหรื อประกาศดังกล่าวด้ วยแล้ ว ผู้นนต้
ั ้ องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท

ลักษณะ ๒
ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
หมวด ๑
ความผิดต่ อเจ้ าพนักงาน

* มาตรา ๑๓๖ ผู้ ใ ดดู ห มิ่ น เจ้ า พนัก งานซึ่ง กระท าการตามหน้ า ที่
หรื อเพราะได้ ก ระท าการตามหน้ าที่ ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่ เกิ น หนึ่ง ปี
หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

____________________________________
*มาตรา ๑๓๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕
80

* มาตรา ๑๓๗ ผู้ใดแจ้ งข้ อความอันเป็ นเท็จแก่เจ้ าพนักงานซึ่งอาจ


ทาให้ ผ้ ูอื่น หรื อประชาชนเสี ย หาย ต้ องระวางโทษจ าคุกไม่เกิ นหกเดือน
หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

** มาตรา ๑๓๘ ผู้ใดต่อสู้ หรื อขัดขวางเจ้ าพนักงานหรื อผู้ซงึ่ ต้ องช่วย


เจ้ าพนักงานตามกฎหมายในการปฏิ บัติการตามหน้ าที่ ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทังจ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการต่อสู้หรื อขัดขวางนัน้ ได้ กระทาโดยใช้ กาลังประทุษร้ ายหรื อ
ขู่เข็ญว่าจะใช้ กาลังประทุษร้ าย ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี
หรื อปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

***มาตรา ๑๓๙ ผู้ใดข่มขืนใจเจ้ าพนักงานให้ ปฏิบตั ิการอันมิชอบด้ วย


หน้ าที่ หรื อให้ ล ะเว้ นการปฏิ บัติการตามหน้ าที่ โดยใช้ ก าลังประทุษร้ าย
หรื อ ขู่ เ ข็ ญ ว่ า จะใช้ ก าลัง ประทุ ษ ร้ าย ต้ อ งระวางโทษจ าคุ ก ไม่ เ กิ น สี่ ปี
หรื อปรับไม่เกินแปดหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

**** มาตรา ๑๔๐ ถ้ าความผิดตามมาตรา ๑๓๘ วรรคสอง หรื อมาตรา


๑๓๙ ได้ กระท าโดยมีหรื อใช้ อาวุธ หรื อโดยร่ วมกระทาความผิ ดด้ วยกัน
ตัง้ แต่สามคนขึน้ ไป ผู้ก ระทาต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่เกิ นห้ าปี หรื อปรั บ
____________________________________
*มาตรา ๑๓๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๑๓๘ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕
***มาตรา ๑๓๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
****มาตรา ๑๔๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖
81

ไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั


้ บ
ถ้ ากระทาโดยอ้ างอานาจอังยี ้ ่หรื อซ่องโจร ไม่วา่ อังยี
้ ่หรื อซ่องโจรนัน้
จะมีอยู่หรื อไม่ ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สองปี ถึงสิบปี และปรับ
ตังแต่
้ สี่หมื่นบาทถึงสองแสนบาท
ถ้ าความผิ ด ตามมาตรานี ไ้ ด้ ก ระท าโดยมี ห รื อ ใช้ อาวุ ธ ปื นหรื อ
วัต ถุร ะเบิ ด ผู้ก ระท าต้ องระวางโทษหนัก กว่า โทษที่ ก ฎหมายบัญ ญัติไ ว้
ในสองวรรคก่อนกึง่ หนึง่

* มาตรา ๑๔๑ ผู้ใดถอน ทาให้ เสียหาย ทาลายหรื อทาให้ ไร้ ประโยชน์


ซึ่งตราหรื อเครื่ องหมายอันเจ้ าพนักงานได้ ประทับหรื อหมายไว้ ที่สิ่งใด ๆ
ในการปฏิบัติการตามหน้ าที่ เพื่อเป็ นหลักฐานในการยึด อายัดหรื อรั กษา
สิ่ ง นัน้ ๆ ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่เ กิ น สองปี หรื อปรั บ ไม่เกิ น สี่ ห มื่น บาท
หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๔๒ ผู้ใดทาให้ เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้ น เอาไปเสีย หรื อ


ทาให้ สญ ู หายหรื อไร้ ประโยชน์ซงึ่ ทรัพย์สินหรื อเอกสารใด ๆ อันเจ้ าพนักงาน
ได้ ยึด รั กษาไว้ หรื อสั่งให้ ส่งเพื่ อเป็ นพยานหลักฐาน หรื อเพื่ อบังคั บ การ
ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย ไม่ว่าเจ้ าพนักงานจะรั กษาทรั พย์ หรื อเอกสารนัน้
ไว้ เอง หรื อสัง่ ให้ ผ้ ูนนั ้ หรื อผู้อื่นส่งหรื อรั กษาไว้ ก็ตาม ต้ องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

____________________________________
*มาตรา ๑๔๑ และมาตรา ๑๔๒ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
82

* มาตรา ๑๔๓ ผู้ใดเรี ยก รั บหรื อยอมจะรั บทรั พย์ สินหรื อประโยชน์


อื่นใดสาหรับตนเองหรื อผู้อื่น เป็ นการตอบแทนในการที่จะจูงใจหรื อได้ จงู ใจ
เจ้ า พนัก งาน สมาชิ ก สภานิ ติ บัญ ญั ติ แ ห่ ง รั ฐ สมาชิ ก สภาจัง หวัด หรื อ
สมาชิ ก สภาเทศบาล โดยวิ ธี อัน ทุจริ ตหรื อผิ ดกฎหมายหรื อโดยอิท ธิ พ ล
ของตน ให้ กระทาการหรื อไม่กระทาการในหน้ าที่อนั เป็ นคุณหรื อเป็ นโทษ
แก่บคุ คลใด ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๔๔ ผู้ใดให้ ขอให้ หรื อรับว่าจะให้ ทรั พย์ สินหรื อประโยชน์
อื่นใดแก่เจ้ าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรั ฐ สมาชิกสภาจังหวัด
หรื อสมาชิกสภาเทศบาล เพื่อจูงใจให้ กระทาการ ไม่กระทาการหรื อประวิง
การกระทาอันมิชอบด้ วยหน้ าที่ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรั บ
ไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๔๕ ผู้ใดแสดงตนเป็ นเจ้ าพนักงาน และกระทาการเป็ น


เจ้ าพนัก งาน โดยตนเองมิไ ด้ เป็ นเจ้ าพนัก งานที่ มีอานาจกระท าการนัน้
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทังจ ้ า
ทังปรั
้ บ
เจ้ าพนักงานผู้ใดได้ รับคาสัง่ มิให้ ปฏิบตั ิการตามตาแหน่งหน้ าที่ตอ่ ไป
แล้ วยังฝ่ าฝื นกระทาการใด ๆ ในตาแหน่งหน้ าที่นนั ้ ต้ องระวางโทษตามที่
กาหนดไว้ ในวรรคแรกดุจกัน
____________________________________
*มาตรา ๑๔๓ ถึงมาตรา ๑๔๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
83

* มาตรา ๑๔๖ ผู้ ใดไม่ มี สิ ท ธิ ที่ จ ะสวมเครื่ องแบบหรื อ ประดั บ


เครื่ อ งหมายของเจ้ า พนัก งาน สมาชิ ก สภานิ ติ บัญ ญั ติ แ ห่ ง รั ฐ สมาชิ ก
สภาจั ง หวั ด หรื อ สมาชิ ก สภาเทศบาล หรื อ ไม่ มี สิ ท ธิ ใ ช้ ยศ ต าแหน่ ง
เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ หรื อสิ่งที่หมายถึงเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ กระทาการ
เช่นนัน้ เพื่อให้ บุคคลอื่นเชื่อว่าตนมีสิทธิ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี
หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

หมวด ๒
ความผิดต่ อตาแหน่ งหน้ าที่ราชการ

** มาตรา ๑๔๗ ผู้ใ ดเป็ นเจ้ าพนัก งาน มีห น้ า ที่ ซื อ้ ท า จัดการหรื อ
รั กษาทรั พย์ ใด เบี ยดบังทรั พย์ นนั ้ เป็ นของตนหรื อเป็ นของผู้อื่นโดยทุจริ ต
หรื อโดยทุจริ ตยอมให้ ผ้ อู ื่นเอาทรัพย์นนเสี
ั ้ ย ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ ห้าปี
ถึงยี่สิบปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรั บตังแต่ ้ หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท

** มาตรา ๑๔๘ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน ใช้ อานาจในตาแหน่ งโดยมิชอบ


ข่มขื นใจหรื อจูงใจเพื่ อให้ บุคคลใดมอบให้ ห รื อหามาให้ ซึ่งทรั พย์ สิ นหรื อ
ประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรื อผู้อื่น ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ ห้าปี ถึงยี่สิบปี
หรื อ จ าคุก ตลอดชี วิ ต และปรั บ ตัง้ แต่ ห นึ่ ง แสนบาทถึ ง สี่ แ สนบาท หรื อ
ประหารชีวิต
____________________________________
*มาตรา ๑๔๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๑๔๗ และมาตรา ๑๔๘ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๗
84

* มาตรา ๑๔๙ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน สมาชิกสภานิติบญ ั ญัติแห่งรั ฐ


สมาชิ ก สภาจัง หวัด หรื อ สมาชิ ก สภาเทศบาล เรี ย ก รั บ หรื อยอมจะรั บ
ทรั พ ย์ สิ น หรื อ ประโยชน์ อื่ น ใดส าหรั บ ตนเองหรื อ ผู้ อื่ น โดยมิ ช อบ เพื่ อ
กระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งไม่ว่าการนันจะชอบหรื ้ อ
มิช อบด้ ว ยหน้ า ที่ ต้ องระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่ ห้ า ปี ถึ งยี่ สิ บ ปี หรื อ จ าคุก
ตลอดชีวิต และปรับตังแต่ ้ หนึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท หรื อประหารชีวิต

* มาตรา ๑๕๐ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน กระทาการหรื อไม่กระทาการ


อย่างใดในตาแหน่งโดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใด ซึง่ ตนได้ เรี ยก
รับ หรื อยอมจะรับไว้ ก่อนที่ตนได้ รับ แต่งตังเป็
้ นเจ้ าพนักงานในตาแหน่งนัน้
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่้ ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรื อจาคุกตลอดชี วิต และปรั บ
ตังแต่
้ หนึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท

* มาตรา ๑๕๑ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน มีหน้ าที่ซื ้อ ทา จัดการหรื อรักษา


ทรั พ ย์ ใ ด ๆ ใช้ อ านาจในต าแหน่ ง โดยทุ จ ริ ต อัน เป็ นการเสี ย หายแก่ รั ฐ
เทศบาล สุขาภิบาลหรื อเจ้ าของทรั พย์ นนั ้ ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ ห้าปี
ถึงยี่สิบปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรั บตังแต่
้ หนึ่ งแสนบาทถึงสี่แสนบาท

* มาตรา ๑๕๒ ผู้ ใดเป็ นเจ้ าพนั ก งาน มี ห น้ าที่ จั ด การหรื อ ดู แ ล


กิจการใด เข้ ามีส่วนได้ เสียเพื่อประโยชน์ สาหรั บตนเองหรื อผู้อื่น เนื่องด้ วย
กิ จ การนั น้ ต้ อ งระวางโทษจ าคุ ก ตัง้ แต่ ห นึ่ ง ปี ถึ ง สิ บ ปี และปรั บ ตัง้ แต่
____________________________________
*มาตรา ๑๔๙ ถึงมาตรา ๑๕๒ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๗
85

สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท

* มาตรา ๑๕๓ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน มีหน้ าที่จ่ายทรั พย์ จ่ายทรั พย์
นันเกิ
้ นกว่าที่ควรจ่ายเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผู้อื่น ต้ องระวางโทษ
จาคุกตังแต่
้ หนึง่ ปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่
้ สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท

* มาตรา ๑๕๔ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน มีหน้ าที่หรื อแสดงว่าตนมีหน้ าที่


เรี ยกเก็บหรื อตรวจสอบภาษี อากร ค่าธรรมเนียมหรื อเงินอื่นใด โดยทุจริ ต
เรี ยกเก็บหรื อละเว้ นไม่เรี ยกเก็บภาษี อากร ค่าธรรมเนียมหรื อเงินนัน้ หรื อ
กระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใด เพื่อให้ ผ้ ูมีหน้ าที่เสียภาษี อากรหรื อ
ค่าธรรมเนียมนันมิ
้ ต้องเสีย หรื อเสียน้ อยไปกว่าที่จะต้ องเสีย ต้ องระวางโทษ
จาคุกตังแต่
้ ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรื อจาคุกตลอดชี วิต และปรั บตังแต่
้ หนึ่งแสน
บาทถึงสี่แสนบาท

* มาตรา ๑๕๕ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน มีหน้ าที่กาหนดราคาทรั พย์ สิน


หรื อสินค้ าใด ๆ เพื่ อเรี ยกเก็บภาษี อากรหรื อค่าธรรมเนี ยมตามกฎหมาย
โดยทุจริ ตกาหนดราคาทรั พย์ สินหรื อสินค้ านัน้ เพื่ อให้ ผ้ ูมีหน้ าที่เสียภาษี
อากรหรื อ ค่า ธรรมเนี ย มนัน้ มิต้ องเสี ย หรื อเสี ย น้ อยไปกว่า ที่ จ ะต้ อ งเสี ย
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรื อจาคุกตลอดชี วิต และปรั บ
ตังแต่
้ หนึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท

____________________________________
*มาตรา ๑๕๓ ถึงมาตรา ๑๕๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๗
86

* มาตรา ๑๕๖ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนัก งาน มีหน้ าที่ ตรวจสอบบัญชี ต าม


กฎหมาย โดยทุจริ ต แนะน า หรื อกระท าการหรื อไม่ก ระทาการอย่ างใด
เพื่ อ ให้ มี ก ารละเว้ นการลงรายการในบั ญ ชี ลงรายการเท็ จ ในบั ญ ชี
แก้ ไขบัญชี หรื อซ่อนเร้ น หรื อทาหลักฐานในการลงบัญชีอันจะเป็ นผลให้
การเสี ย ภาษี อ ากรหรื อ ค่ า ธรรมเนี ย มนั น้ มิ ต้ อ งเสี ย หรื อ เสี ย น้ อยกว่ า
ที่จะต้ องเสีย ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต
และปรับตังแต่ ้ หนึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท

* มาตรา ๑๕๗ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน ปฏิ บัติหรื อละเว้ นการปฏิ บัติ
หน้ าที่ โดยมิชอบ เพื่ อให้ เกิ ดความเสียหายแก่ผ้ ูหนึ่งผู้ใด หรื อปฏิ บัติหรื อ
ละเว้ นการปฏิบตั ิหน้ าที่โดยทุจริ ต ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่้ หนึ่งปี ถึงสิบปี
หรื อปรับตังแต่
้ สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

** มาตรา ๑๕๘ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน ทาให้ เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้ น


เอาไปเสีย หรื อทาให้ สญ
ู หายหรื อทาให้ ไร้ ประโยชน์ ซึง่ ทรัพย์ หรื อเอกสารใด
อันเป็ นหน้ าที่ของตนที่จะปกครองหรื อรักษาไว้ หรื อยินยอมให้ ผ้ อู ื่นกระทา
เช่นนัน้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรั บไม่เกินหนึ่งแสนสี่หมื่น
บาท

____________________________________
*มาตรา ๑๕๖ และมาตรา ๑๕๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๗
**มาตรา ๑๕๘ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
87

* มาตรา ๑๕๙ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน มีหน้ าที่ ดูแลรั กษาทรั พย์ หรื อ
เอกสารใด กระทาการอันมิชอบด้ วยหน้ าที่ โดยถอน ทาให้ เสียหาย ทาลาย
หรื อทาให้ ไร้ ประโยชน์ หรื อโดยยินยอมให้ ผ้ ูอื่นกระทาเช่นนัน้ ซึ่งตราหรื อ
เครื่ องหมายอันเจ้ าพนักงานได้ ประทับหรื อหมายไว้ ที่ทรัพย์หรื อเอกสารนัน้
ในการปฏิบัติการตามหน้ าที่ เพื่อเป็ นหลักฐานในการยึดหรื อรั กษาสิ่งนัน้
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทัง้ จา
ทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๖๐ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน มีหน้ าที่ รักษาหรื อใช้ ดวงตรา
หรื อรอยตราของราชการหรื อของผู้อื่น กระท าการอัน มิช อบด้ วยหน้ า ที่
โดยใช้ ด วงตราหรื อรอยตรานัน้ หรื อ โดยยิ น ยอมให้ ผ้ ู อื่น กระท าเช่ น นัน้
ซึง่ อาจทาให้ ผ้ อู ื่นหรื อประชาชนเสียหาย ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี
หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๖๑ ผู้ ใดเป็ นเจ้ าพนั ก งาน มี ห น้ าที่ ท าเอกสาร กรอก
ข้ อความลงในเอกสาร หรื อดูแลรั กษาเอกสาร กระทาการปลอมเอกสาร
โดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหน้ าที่นนั ้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี และปรับ
ไม่เกินสองแสนบาท

* มาตรา ๑๖๒ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน มีหน้ าที่ทาเอกสาร รั บเอกสาร


หรื อกรอกข้ อความลงในเอกสาร กระทาการดังต่อไปนี ใ้ นการปฏิบัติการ
____________________________________
*มาตรา ๑๕๙ ถึงมาตรา ๑๖๒ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
88

ตามหน้ าที่
(๑) รับรองเป็ นหลักฐานว่า ตนได้ กระทาการอย่างใดขึ ้น หรื อว่าการ
อย่างใดได้ กระทาต่อหน้ าตนอันเป็ นความเท็จ
(๒) รั บรองเป็ นหลักฐานว่า ได้ มีการแจ้ งซึ่งข้ อความอันมิได้ มีการ
แจ้ ง
(๓) ละเว้ นไม่ จ ดข้ อความซึ่ ง ตนมี ห น้ าที่ ต้ องรั บ จด หรื อจด
เปลี่ยนแปลงข้ อความเช่นว่านัน้ หรื อ
(๔) รั บ รองเป็ นหลัก ฐานซึ่ง ข้ อ เท็ จ จริ ง อัน เอกสารนัน้ มุ่ง พิ สูจ น์
ความจริ งอันเป็ นความเท็จ
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ นเจ็ดปี และปรั บไม่เกิ นหนึ่งแสนสี่หมื่น
บาท

* มาตรา ๑๖๓ ผู้ใดเป็นเจ้ าพนักงาน มีหน้ าที่ในการไปรษณีย์ โทรเลข


หรื อโทรศัพท์ กระทาการอันมิชอบด้ วยหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้
(๑) เปิ ด หรื อยอมให้ ผู้ อื่ น เปิ ด จดหมายหรื อสิ่ ง อื่ น ที่ ส่ ง ทาง
ไปรษณีย์หรื อโทรเลข
(๒) ทาให้ เสียหาย ทาลาย ทาให้ สูญหาย หรื อยอมให้ ผ้ ูอื่นทาให้
เสียหาย ทาลายหรื อทาให้ สญ ู หาย ซึง่ จดหมายหรื อสิ่งอื่นที่สง่ ทางไปรษณีย์
หรื อโทรเลข
(๓) กัก ส่งให้ ผิดทาง หรื อส่งให้ แก่บุคคลซึง่ รู้ ว่ามิใช่เป็ นผู้ควรรับซึง่
จดหมายหรื อสิ่งอื่นที่สง่ ทางไปรษณีย์หรื อโทรเลข หรื อ
____________________________________
*มาตรา ๑๖๓ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
89

(๔) เปิ ดเผยข้ อความที่ ส่ ง ทางไปรษณี ย์ ทางโทรเลข หรื อ ทาง


โทรศัพท์
ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ไม่ เ กิ น ห้ าปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น หนึ่ ง แสนบาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๖๔ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน รู้ หรื ออาจรู้ ค วามลับในราชการ


กระท าโดยประการใด ๆ อัน มิช อบด้ วยหน้ าที่ ใ ห้ ผ้ ูอื่น ล่วงรู้ ความลับ นัน้
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทัง้ จา
ทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๖๕ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนัก งาน มีหน้ าที่ ปฏิ บัติก ารให้ เป็ นไป
ตามกฎหมายหรื อค าสั่ง ซึ่งได้ สั่ง เพื่ อบังคับ การให้ เ ป็ นไปตามกฎหมาย
ป้องกันหรื อขัดขวางมิให้ การเป็ นไปตามกฎหมายหรื อคาสัง่ นัน้ ต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๖๖ ผู้ ใดเป็ นเจ้ า พนั ก งาน ละทิ ง้ งานหรื อ กระท าการ
อย่างใด ๆ เพื่ อให้ งานหยุดชะงักหรื อเสียหาย โดยร่ วมกระทาการเช่นนัน้
ด้ วยกันตังแต่
้ ห้าคนขึ ้นไป ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกิน
หนึง่ แสนบาท หรื อทังจ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าความผิดนันได้
้ กระทาลงเพื่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในกฎหมาย

____________________________________
*มาตรา ๑๖๔ ถึงมาตรา ๑๖๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
90

แผ่นดิน เพื่อบังคับรัฐบาล หรื อเพื่อข่มขู่ประชาชน ผู้กระทาต้ องระวางโทษ


จาคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท

ลักษณะ ๓
ความผิดเกี่ยวกับการยุตธิ รรม
หมวด ๑
ความผิดต่ อเจ้ าพนักงานในการยุตธิ รรม

* มาตรา ๑๖๗ ผู้ใดให้ ขอให้ หรื อรับว่าจะให้ ทรัพย์สินหรื อประโยชน์


อื่นใด แก่เจ้ าพนักงานในตาแหน่งตุลาการ พนักงานอัยการ ผู้ว่าคดีหรื อ
พนักงานสอบสวน เพื่อจูงใจให้ กระทาการ ไม่กระทาการหรื อประวิงการ
กระทาใดอันมิชอบด้ วยหน้ าที่ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรั บ
ไม่เกินหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท

* มาตรา ๑๖๘ ผู้ใดขัดขืนคาบังคับตามกฎหมายของพนักงานอัยการ


ผู้วา่ คดีหรื อพนักงานสอบสวน ซึง่ ให้ มาเพื่อให้ ถ้อยคา ต้ องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินสามเดือน หรื อปรับไม่เกินห้ าพันบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๖๙ ผู้ใดขัดขืนคาบังคับตามกฎหมายของพนักงานอัยการ


ผู้ว่าคดีหรื อพนักงานสอบสวน ซึง่ ให้ ส่งหรื อจัดการส่งทรัพย์ หรื อเอกสารใด
____________________________________
*มาตรา ๑๖๗ ถึงมาตรา ๑๖๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
91

ให้ ส าบาน ให้ ปฏิ ญ าณหรื อ ให้ ใ ห้ ถ้ อ ยค า ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ไม่ เ กิ น


สามเดือน หรื อปรับไม่เกินห้ าพันบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๗๐ ผู้ใดขัดขื นหมายหรื อคาสัง่ ของศาลให้ มาให้ ถ้อยคา


ให้ มาเบิ ก ความหรื อให้ ส่ ง ทรั พ ย์ ห รื อ เอกสารใดในการพิ จ ารณ าคดี
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ นหกเดือน หรื อปรั บไม่เกิ นหนึ่งหมื่นบาท หรื อ
ทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๗๑ ผู้ ใดขั ด ขื น ค าสั่ ง ของศาลให้ สาบาน ปฏิ ญ าณ


ให้ ถ้อยคาหรื อเบิ ก ความ ต้ องระวางโทษจ าคุกไม่เกิ น หกเดือน หรื อปรั บ
ไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๗๒ ผู้ใดแจ้ งข้ อความอันเป็ นเท็จเกี่ยวกับความผิดอาญา


แก่พนักงานอัยการ ผู้ว่าคดี พนักงานสอบสวนหรื อเจ้ าพนักงานผู้มีอานาจ
สืบสวนคดีอาญา ซึง่ อาจทาให้ ผ้ อู ื่นหรื อประชาชนเสียหาย ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๗๓ ผู้ ใดรู้ ว่ า มิ ไ ด้ มี ก ารกระท าความผิ ด เกิ ด ขึ น้ แจ้ ง


ข้ อความแก่พนักงานสอบสวนหรื อเจ้ าพนักงานผู้มีอานาจสืบสวนคดีอาญา
____________________________________
*มาตรา ๑๗๐ ถึงมาตรา ๑๗๓ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
92

ว่า ได้ มีการกระทาความผิ ด ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ นสามปี และปรั บ


ไม่เกินหกหมื่นบาท

* มาตรา ๑๗๔ ถ้ าการแจ้ งข้ อความตามมาตรา ๑๗๒ หรื อมาตรา


๑๗๓ เป็ นการเพื่ อ จะแกล้ ง ให้ บุ ค คลใดต้ อ งถู ก บัง คับ ตามวิ ธี ก ารเพื่ อ
ความปลอดภัย ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกิน
หกหมื่นบาท
ถ้ าการแจ้ งตามความในวรรคแรกเป็ นการเพื่อจะแกล้ งให้ บุคคลใด
ต้ องรั บโทษหรื อรั บโทษหนักขึน้ ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี
และปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท

* มาตรา ๑๗๕ ผู้ใดเอาความอันเป็ นเท็จฟ้องผู้อื่นต่อศาลว่ากระทา


ความผิ ด อาญา หรื อ ว่า กระท าความผิ ด อาญาแรงกว่ าที่ เ ป็ นความจริ ง
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี และปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท

มาตรา ๑๗๖ ผู้ใดกระทาความผิดตามมาตรา ๑๗๕ แล้ วลุแก่โทษ


ต่อศาล และขอถอนฟ้ องหรื อแก้ ฟ้ องก่ อนมีคาพิ พ ากษา ให้ ศาลลงโทษ
น้ อยกว่าที่กฎหมายกาหนดไว้ หรื อศาลจะไม่ลงโทษเลยก็ได้

____________________________________
*มาตรา ๑๗๔ และมาตรา ๑๗๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
93

* มาตรา ๑๗๗ ผู้ใดเบิกความอันเป็ นเท็จในการพิจารณาคดีต่อศาล


ถ้ าความเท็จนัน้ เป็ นข้ อสาคัญในคดี ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อ
ปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าความผิดดังกล่าวในวรรคแรก ได้ กระทาในการพิจารณาคดีอาญา
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรั บไม่เกินหนึ่งแสนสี่หมื่น
บาท

* มาตรา ๑๗๘ ผู้ใ ดซึ่งเจ้ าพนักงานในตาแหน่งตุลาการ พนักงาน


อัยการ ผู้ว่าคดีหรื อพนักงานสอบสวน ให้ แปลข้ อความหรื อความหมายใด
แปลข้ อความหรื อความหมายนันให้ ้ ผิดไปในข้ อสาคัญ ต้ องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๗๙ ผู้ใดทาพยานหลักฐานอันเป็ นเท็จ เพื่ อให้ พนักงาน


สอบสวนหรื อเจ้ าพนักงานผู้มีอานาจสืบสวนคดีอาญาเชื่อว่าได้ มีความผิด
อาญาอย่างใดเกิดขึ ้น หรื อเชื่อว่าความผิดอาญาที่เกิดขึ ้นร้ ายแรงกว่าที่เป็ น
ความจริ ง ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ นสองปี หรื อปรั บไม่เกิ นสี่หมื่นบาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๘๐ ผู้ใดนาสืบหรื อแสดงพยานหลักฐานอันเป็ นเท็จในการ


พิจารณาคดี ถ้ าเป็ นพยานหลักฐานในข้ อสาคัญในคดีนนั ้ ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
____________________________________
*มาตรา ๑๗๗ ถึงมาตรา ๑๘๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
94

ถ้ าความผิดดังกล่าวในวรรคแรก ได้ กระทาในการพิจารณาคดีอาญา


ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรั บไม่เกินหนึ่งแสนสี่หมื่น
บาท

* มาตรา ๑๘๑ ถ้ าการกระท าความผิ ดตามมาตรา ๑๗๔ มาตรา


๑๗๕ มาตรา ๑๗๗ มาตรา ๑๗๘ หรื อมาตรา ๑๘๐
(๑) เป็ นการกระท าในกรณี แ ห่ ง ข้ อ หาว่ า ผู้ ใ ดกระท าความผิ ด
ที่มีระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สามปี ขึ ้นไป ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่

หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตังแต่ ้ หนึง่ หมื่นบาทถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท
(๒) เป็ นการกระทาในกรณี แห่งข้ อหาว่า ผู้ใดกระทาความผิดที่ มี
ระวางโทษถึงประหารชี วิต หรื อจาคุกตลอดชีวิต ผู้กระทาต้ องระวางโทษ
จาคุกตังแต่
้ หนึง่ ปี ถึงสิบห้ าปี และปรับตังแต่
้ สองหมื่นบาทถึงสามแสนบาท

มาตรา ๑๘๒ ผู้ใดกระทาความผิดตามมาตรา ๑๗๗ หรื อมาตรา


๑๗๘ แล้ วลุแก่โทษ และกลับแจ้ งความจริ งต่อศาลหรื อเจ้ าพนักงานก่อนจบ
คาเบิกความหรื อการแปล ผู้นนไม่
ั ้ ต้องรับโทษ

มาตรา ๑๘๓ ผู้ใดกระทาความผิดตามมาตรา ๑๗๗ มาตรา ๑๗๘


หรื อ มาตรา ๑๘๐ แล้ วลุ แ ก่ โ ทษ และกลับ แจ้ งความจริ ง ต่ อ ศาลหรื อ
เจ้ าพนักงานก่อนมีคาพิพากษา และก่อนตนถูกฟ้องในความผิดที่ได้ กระทา

____________________________________
*มาตรา ๑๘๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
95

ศาลจะลงโทษน้ อยกว่าที่กฎหมายกาหนดไว้ สาหรั บความผิ ดนัน้ เพี ยงใด


ก็ได้

* มาตรา ๑๘๔ ผู้ใดเพื่ อจะช่วยผู้อื่นมิให้ ต้องรั บโทษ หรื อให้ รับโทษ


น้ อยลง ทาให้ เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้ น เอาไปเสีย หรื อทาให้ สญ ู หายหรื อ
ไร้ ประโยชน์ ซึง่ พยานหลักฐานในการกระทาความผิด ต้ องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๘๕ ผู้ใดทาให้ เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้ น เอาไปเสีย หรื อ


ทาให้ สูญหายหรื อไร้ ประโยชน์ ซึ่งทรั พย์ หรื อเอกสารใดที่ ได้ ส่งไว้ ต่อศาล
หรื อที่ศาลให้ รักษาไว้ ในการพิจารณาคดี ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี
หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๘๖ ผู้ใดทาให้ เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้ น เอาไปเสีย หรื อ


ท าให้ สู ญ หายหรื อ ไร้ ประโยชน์ ซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น ที่ ไ ด้ มี ค าพิ พ ากษาให้ ริ บ
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ า
ทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๘๗ ผู้ใดเพื่อจะมิให้ การเป็ นไปตามคาพิพากษาหรื อคาสัง่


ของศาล ทาให้ เสีย หาย ท าลาย ซ่อนเร้ น เอาไปเสี ย หรื อทาให้ สูญหาย
หรื อไร้ ประโยชน์ ซึ่ง ทรั พ ย์ ที่ ถู ก ยึด หรื ออายัด หรื อ ที่ ตนรู้ ว่าน่ าจะถูก ยึ ด
____________________________________
*มาตรา ๑๘๔ ถึงมาตรา ๑๘๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
96

หรื ออายัด ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท


หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๘๘ ผู้ใดทาให้ เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้ น เอาไปเสีย หรื อ


ท าให้ สูญ หายหรื อ ไร้ ประโยชน์ ซึ่ ง พิ นัย กรรมหรื อ เอกสารใดของผู้ อื่ น
ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผ้ อู ื่นหรื อประชาชน ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินห้ าปี และปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท

* มาตรา ๑๘๙ ผู้ ใ ดช่ ว ยผู้ อื่ น ซึ่ ง เป็ นผู้ กระท าความผิ ด หรื อ เป็ น
ผู้ต้องหาว่ากระทาความผิ ด อันมิใช่ ความผิ ดลหุโทษ เพื่ อไม่ให้ ต้องโทษ
โดยให้ พ านั ก แก่ ผ้ ู นั น้ โดยซ่ อ นเร้ นหรื อ โดยช่ ว ยผู้ นั น้ ด้ วยประการใด
เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ถู ก จับ กุม ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่เ กิ น สองปี หรื อ ปรั บ ไม่ เกิ น
สี่หมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

** มาตรา ๑๙๐ ผู้ใดหลบหนีไประหว่างที่ถกู คุมขังตามอานาจของศาล


ของพนักงานอัยการ ของพนักงานสอบสวน หรื อของเจ้ าพนักงานผู้มีอานาจ
สื บ สวนคดี อ าญา ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่ เ กิ น สามปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น
หกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าความผิดดังกล่าวมาในวรรคแรกได้ กระทาโดยแหกที่คุมขัง โดย
ใช้ ก าลัง ประทุ ษ ร้ ายหรื อ โดยขู่ เ ข็ ญ ว่ า จะใช้ ก าลัง ประทุ ษ ร้ าย หรื อ โดย
____________________________________
*มาตรา ๑๘๘ และมาตรา ๑๘๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๑๙๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖
97

ร่ วมกระทาความผิ ดด้ วยกันตังแต่ ้ สามคนขึน้ ไป ผู้กระทาต้ องระวางโทษ


จาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าความผิ ด ตามมาตรานี ไ้ ด้ ก ระท าโดยมี ห รื อ ใช้ อาวุ ธ ปื นหรื อ
วัต ถุร ะเบิ ด ผู้ก ระท าต้ องระวางโทษหนัก กว่า โทษที่ ก ฎหมายบัญ ญัติไ ว้
ในสองวรรคก่อนกึง่ หนึง่

* มาตรา ๑๙๑ ผู้ใดกระทาด้ วยประการใดให้ ผ้ ทู ี่ถกู คุมขังตามอานาจ


ของศาล ของพนักงานอัยการ ของพนักงานสอบสวน หรื อของเจ้ าพนักงาน
ผู้มีอานาจสืบสวนคดีอาญา หลุดพ้ นจากการคุมขังไป ต้ องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าผู้ที่หลุดพ้ นจากการคุมขังไปนันเป็
้ นบุคคลที่ต้องคาพิพากษาจาก
ศาลหนึ่งศาลใดให้ ลงโทษประหารชีวิต จาคุกตลอดชีวิต หรื อจาคุกตังแต่ ้
สิบห้ าปี ขึน้ ไป หรื อมีจานวนตัง้ แต่สามคนขึน้ ไป ผู้กระทาต้ องระวางโทษ
จาคุก ตัง้ แต่ห กเดื อนถึงเจ็ ดปี และปรั บ ตัง้ แต่ห นึ่งหมื่น บาทถึงหนึ่งแสน
สี่หมื่นบาท
ถ้ าความผิดตามมาตรานี ้ได้ กระทาโดยใช้ กาลังประทุษ ร้ ายหรื อโดย
ขู่เข็ญว่าจะใช้ กาลังประทุษร้ าย หรื อโดยมีหรื อใช้ อาวุธปื นหรื อวัตถุระเบิด
ผู้กระทาต้ องระวางโทษหนักกว่าโทษที่กฎหมายบัญญัติไว้ ในสองวรรคก่อน
กึง่ หนึง่

____________________________________
*มาตรา ๑๙๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖
98

* มาตรา ๑๙๒ ผู้ใดให้ พานัก ซ่อนเร้ นหรื อช่วยด้ วยประการใด ให้ ผ้ ทู ี่


หลบหนีจากการคุมขังตามอานาจของศาล ของพนักงานสอบสวน หรื อของ
เจ้ าพนักงานผู้มีอานาจสืบสวนคดีอาญา เพื่อไม่ให้ ถกู จับกุม ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๑๙๓ ถ้ าการกระทาความผิ ดดังกล่าวมาในมาตรา ๑๘๔


มาตรา ๑๘๙ หรื อมาตรา ๑๙๒ เป็ นการกระทาเพื่อช่วยบิดา มารดา บุตร
สามีหรื อภริ ยาของผู้กระทา ศาลจะไม่ลงโทษก็ได้

* มาตรา ๑๙๔ ผู้ใดต้ องคาพิพากษาห้ ามเข้ าเขตกาหนดตามมาตรา


๔๕ เข้ าไปในเขตกาหนดนัน้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรั บ
ไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๙๕ ผู้ใดหลบหนีจากสถานพยาบาลซึง่ ศาลสัง่ ให้ คมุ ตัวไว้


ตามความในมาตรา ๔๙ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ น หกเดือน หรื อปรั บ
ไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๑๙๖ ผู้ ใดฝ่ าฝื นค าสั่ ง ห้ ามของศาลซึ่ ง ได้ สั่ ง ไว้ ใน
คาพิพากษาตามมาตรา ๕๐ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรื อปรับ
ไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
____________________________________
*มาตรา ๑๙๒ มาตรา ๑๙๔ มาตรา ๑๙๕ และมาตรา ๑๙๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
99

* มาตรา ๑๙๗ ผู้ ใดใช้ ก าลั ง ประทุ ษ ร้ าย ขู่ เ ข็ ญ ว่ า จะใช้ ก าลั ง


ประทุษร้ าย ให้ ประโยชน์ หรื อรับว่าจะให้ ประโยชน์ เพื่อกีดกันหรื อขัดขวาง
การขายทอดตลาดของเจ้ าพนักงานเนื่องจากคาพิ พากษาหรื อคาสัง่ ของ
ศาล ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ นหกเดือน หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

** มาตรา ๑๙๘ ผู้ใดดูหมิ่นศาลหรื อผู้พิพากษาในการพิจารณาหรื อ


พิพากษาคดี หรื อกระทาการขัดขวางการพิจารณาหรื อพิพากษาของศาล
ต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่หนึ่งปี ถึงเจ็ ดปี หรื อปรั บ ตัง้ แต่ส องหมื่นบาท
ถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

***มาตรา ๑๙๙ ผู้ใดลอบฝั ง ซ่อนเร้ น ย้ ายหรื อทาลายศพหรื อส่วนของ


ศพเพื่อปิ ดบังการเกิด การตายหรื อเหตุแห่งการตาย ต้ องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินหนึง่ ปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

____________________________________
*มาตรา ๑๙๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๑๙๘ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕
***มาตรา ๑๙๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
100

หมวด ๒
ความผิดต่ อตาแหน่ งหน้ าที่ในการยุตธิ รรม

* มาตรา ๒๐๐ ผู้ใ ดเป็ นเจ้ าพนัก งานในตาแหน่ งพนัก งานอัย การ
ผู้วา่ คดี พนักงานสอบสวนหรื อเจ้ าพนักงานผู้มีอานาจสืบสวนคดีอาญาหรื อ
จัดการให้ เป็ นไปตามหมายอาญา กระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใด ๆ
ในตาแหน่งอันเป็ นการมิชอบ เพื่อจะช่วยบุคคลหนึ่งบุคคลใดมิให้ ต้องโทษ
หรื อให้ รับโทษน้ อยลง ต้ องระวางโทษจาคุกตั ง้ แต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และ
ปรับตังแต่
้ หนึง่ หมื่นบาทถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท
ถ้ าการกระทาหรื อไม่กระทานัน้ เป็ นการเพื่ อจะแกล้ งให้ บุคคลหนึ่ง
บุ ค คลใดต้ องรั บ โทษ รั บ โทษหนั ก ขึ น้ หรื อ ต้ องถู ก บั ง คั บ ตามวิ ธี ก าร
เพื่ อความปลอดภัย ผู้ก ระท าต้ อ งระวางโทษจ าคุก ตลอดชี วิต หรื อโทษ
จาคุกตังแต่้ หนึง่ ปี ถึงยี่สิบปี และปรับตังแต่
้ สองหมื่นบาทถึงสี่แสนบาท

** มาตรา ๒๐๑ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงานในตาแหน่งตุลาการ พนักงาน


อัยการ ผู้ว่าคดี หรื อพนักงานสอบสวน เรี ยก รั บ หรื อยอมจะรั บทรั พย์ สิน
หรื อประโยชน์อื่นใดสาหรับตนเองหรื อผู้อื่นโดยมิชอบ เพื่อกระทาการหรื อ
ไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่ง ไม่วา่ การนันจะชอบหรื
้ อมิชอบด้ วยหน้ าที่
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่้ ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรื อจาคุกตลอดชี วิต และปรั บ
ตังแต่
้ หนึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท หรื อประหารชีวิต

____________________________________
*มาตรา ๒๐๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๒๐๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๗
101

* มาตรา ๒๐๒ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงานในตาแหน่งตุลาการ พนักงาน


อัยการ ผู้ว่าคดี หรื อพนักงานสอบสวน กระทาการหรื อไม่กระทาการอย่าง
ใด ๆ ในตาแหน่ง โดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใด ซึง่ ตนได้ เรี ยก รับ
หรื อยอมจะรับไว้ ก่อนที่ตนได้ รับแต่งตังในต
้ าแหน่งนัน้ ต้ องระวางโทษจาคุก
ตังแต่
้ ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรื อจาคุกตลอดชีวิต และปรั บตังแต่
้ หนึ่งแสนบาทถึ ง
สี่แสนบาท หรื อประหารชีวิต

** มาตรา ๒๐๓ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน มีห น้ าที่ ปฏิ บัติการให้ เป็ นไป
ตามคาพิ พากษาหรื อคาสั่งของศาล ป้องกันหรื อขัดขวางมิให้ การเป็ นไป
ตามคาพิพากษาหรื อคาสัง่ นัน้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับ
ไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทัง้ จาทังปรั
้ บ

** มาตรา ๒๐๔ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน มีตาแหน่งหน้ าที่ ควบคุมดูแล


ผู้ ที่ ต้ องคุ ม ขั ง ตามอ านาจของศาล ของพนั ก งานสอบสวนหรื อ ของ
เจ้ าพนักงานผู้มีอานาจสืบสวนคดีอาญา กระทาด้ วยประการใด ๆ ให้ ผ้ ูที่
อยู่ในระหว่างคุมขังนันหลุ ้ ดพ้ นจากการคุมขังไป ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่

หนึง่ ปี ถึงเจ็ดปี และปรับตังแต่ ้ สองหมื่นบาทถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท
ถ้ าผู้ที่หลุดพ้ นจากการคุมขังไปนันเป็
้ นบุคคลที่ต้องคาพิพากษาของ
ศาลหนึ่งศาลใดให้ ลงโทษประหารชี วิต จาคุกตลอดชีวิตหรื อจาคุกตังแต่ ้
สิบห้ าปี ขึน้ ไป หรื อมีจานวนตัง้ แต่สามคนขึน้ ไป ผู้กระทาต้ องระวางโทษ
จาคุกตังแต่ ้ สองปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่้ สี่หมื่นบาทถึงสองแสนบาท
____________________________________
*มาตรา ๒๐๒ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๗
**มาตรา ๒๐๓ และมาตรา ๒๐๔ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
102

* มาตรา ๒๐๕ ถ้ าการกระทาดังกล่าวในมาตรา ๒๐๔ เป็ นการกระทา


โดยประมาท ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรั บไม่เกิ น
สี่หมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าผู้ ที่ ห ลุด พ้ น จากการคุม ขัง ไปด้ ว ยการกระท าโดยประมาทนัน้
เป็ นบุคคลที่ ต้องคาพิ พากษาของศาลหนึ่งศาลใดให้ ลงโทษประหารชี วิต
จาคุกตลอดชีวิตหรื อจาคุกตังแต่ ้ สิบห้ าปี ขึ ้นไป หรื อมีจานวนตังแต่
้ สามคน
ขึ ้นไป ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บไม่เกินหกหมื่น
บาท หรื อทังจ ้ าทังปรั ้ บ
ถ้ าผู้ก ระท าความผิ ดจัดให้ ไ ด้ ตัวผู้ที่ ห ลุดพ้ นจากการคุมขังคืน มา
ภายในสามเดือน ให้ งดการลงโทษแก่ผ้ กู ระทาความผิดนัน้

ลักษณะ ๔
ความผิดเกี่ยวกับศาสนา

** มาตรา ๒๐๖ ผู้ใดกระทาด้ วยประการใด ๆ แก่วัตถุหรื อสถานอัน


เป็ นที่เคารพในทางศาสนาของหมูช่ นใด อันเป็ นการเหยียดหยามศาสนานัน้
ต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่หนึ่งปี ถึงเจ็ ดปี หรื อปรั บ ตัง้ แต่ส องหมื่นบาท
ถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

____________________________________
*มาตรา ๒๐๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๒๐๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕
103

* มาตรา ๒๐๗ ผู้ใดก่อให้ เกิดการวุ่นวายขึน้ ในที่ประชุมศาสนิ กชน


เวลาประชุ ม กั น นมั ส การ หรื อกระท าพิ ธี ก รรมตามศาสนาใด ๆ
โดยชอบด้ วยกฎหมาย ต้ องระวางโทษจ าคุ ก ไม่ เ กิ น หนึ่ ง ปี หรื อ ปรั บ
ไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๐๘ ผู้ใดแต่งกายหรื อใช้ เครื่ องหมายที่แสดงว่าเป็ นภิกษุ


สามเณร นักพรตหรื อนักบวชในศาสนาใดโดยมิชอบ เพื่อให้ บคุ คลอื่นเชื่อว่า
ตนเป็ นบุคคลเช่นว่านัน้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกิน
สองหมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

ลักษณะ ๕
ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน

* มาตรา ๒๐๙ ผู้ ใดเป็ นสมาชิ ก ของคณะบุ ค คลซึ่ ง ปกปิ ดวิ ธี


ดาเนินการและมีความมุง่ หมายเพื่อการอันมิชอบด้ วยกฎหมาย ผู้นนกระท ั้ า
ความผิดฐานเป็ นอัง้ ยี่ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรั บไม่เกิ น
หนึง่ แสนสี่หมื่นบาท
ถ้ าผู้กระทาความผิ ดเป็ นหัวหน้ า ผู้จัดการหรื อผู้มีตาแหน่ งหน้ าที่
ในคณะบุคคลนัน้ ผู้นนั ้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี และปรั บไม่เกิ น
สองแสนบาท
____________________________________
*มาตรา ๒๐๗ ถึงมาตรา ๒๐๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
104

* มาตรา ๒๑๐ ผู้ใดสมคบกันตังแต่ ้ ห้าคนขึ ้นไป เพื่อกระทาความผิด


อย่างหนึ่งอย่างใดตามที่บัญญัติไว้ ในภาค ๒ นี ้ และความผิดนันมี ้ กาหนด
โทษจาคุกอย่างสูงตัง้ แต่หนึ่งปี ขึ ้นไป ผู้นนกระท
ั้ าความผิดฐานเป็ นซ่องโจร
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทัง้ จา
ทังปรั
้ บ
ถ้ าเป็ นการสมคบเพื่อกระทาความผิดที่มีระวางโทษถึงประหารชีวิต
จาคุกตลอดชี วิตหรื อจาคุกอย่างสูงตัง้ แต่สิบปี ขึน้ ไป ผู้กระทาต้ องระวาง
โทษจาคุกตังแต่ ้ สองปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่
้ สี่หมื่นบาทถึงสองแสนบาท

มาตรา ๒๑๑ ผู้ใดประชุมในที่ประชุมอังยี ้ ่หรื อซ่องโจร ผู้นนั ้ กระทา


ความผิ ด ฐานเป็ นอัง้ ยี่ ห รื อซ่องโจร เว้ นแต่ผ้ ูนัน้ จะแสดงได้ ว่า ได้ ประชุม
โดยไม่ร้ ู วา่ เป็ นการประชุมของอังยี
้ ่หรื อซ่องโจร

มาตรา ๒๑๒ ผู้ใด


(๑) จัดหาที่ประชุมหรื อที่พานักให้ แก่องยี ั ้ ่หรื อซ่องโจร
(๒) ชักชวนบุคคลให้ เข้ าเป็ นสมาชิกอังยี ้ ่หรื อพรรคพวกซ่องโจร
(๓) อุปการะอังยี
้ ่หรื อซ่องโจรโดยให้ ทรัพย์หรื อโดยประการอื่น หรื อ
(๔) ช่ วยจ าหน่ ายทรั พ ย์ ที่ อัง้ ยี่ ห รื อซ่อ งโจรได้ มาโดยการกระท า
ความผิด
ต้ อ งระวางโทษเช่ น เดี ย วกับ ผู้ ก ระท าความผิ ด ฐานเป็ นอัง้ ยี่ ห รื อ
ซ่องโจร แล้ วแต่กรณี
____________________________________
*มาตรา ๒๑๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
105

มาตรา ๒๑๓ ถ้ าสมาชิ ก อังยี ้ ่ หรื อพรรคพวกซ่องโจรคนหนึ่งคนใด


ได้ กระทาความผิดตามความมุ่งหมายของอังยี ้ ่หรื อซ่องโจรนัน้ สมาชิกอังยี
้ ่
หรื อ พรรคพวกซ่ อ งโจรที่ อ ยู่ ด้ ว ยในขณะกระท าความผิ ด หรื อ อยู่ ด้ ว ย
ในที่ประชุมแต่ไม่ได้ คดั ค้ านในการตกลงให้ กระทาความผิดนัน้ และบรรดา
หัวหน้ า ผู้จดั การหรื อผู้มี ตาแหน่งหน้ าที่ในอังยี
้ ่หรื อซ่องโจรนัน้ ต้ องระวาง
โทษตามที่บญ ั ญัติไว้ สาหรับความผิดนันทุ้ กคน

* มาตรา ๒๑๔ ผู้ใ ดประพฤติตนเป็ นปกติธุ ร ะเป็ นผู้จัดหาที่ พ านัก


ที่ซอ่ นเร้ นหรื อที่ประชุมให้ บคุ คลซึง่ ตนรู้ วา่ เป็ นผู้กระทาความผิดที่บญ
ั ญัติไว้
ในภาค ๒ นี ้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระทาความผิดนัน้ เป็ นการกระทาเพื่อช่วยบิดา มารดา บุตร
สามีหรื อภริ ยาของผู้กระทา ศาลจะไม่ลงโทษก็ได้

* มาตรา ๒๑๕ ผู้ใดมัว่ สุมกันตังแต่


้ สิบคนขึ ้นไป ใช้ กาลังประทุษร้ าย
ขู่เข็ญว่าจะใช้ กาลังประทุษร้ าย หรื อกระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดให้ เกิ ด
การวุ่นวายขึ ้นในบ้ านเมือง ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรื อปรั บ
ไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าผู้กระทาความผิดคนหนึง่ คนใดมีอาวุธ บรรดาผู้ที่กระทาความผิด
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ นสองปี หรื อปรั บไม่เกิ นสี่หมื่นบาท หรื อทัง้ จา
ทังปรั
้ บ
____________________________________
*มาตรา ๒๑๔ และมาตรา ๒๑๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
106

ถ้ าผู้กระทาความผิ ดเป็ นหัวหน้ า หรื อเป็ นผู้มีหน้ าที่ สั่งการในการ


กระท าความผิ ด นัน้ ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ไม่ เ กิ น ห้ า ปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น
หนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๑๖ เมื่อเจ้ าพนัก งานสั่งผู้ที่ มั่วสุมเพื่ อกระท าความผิ ด


ตามมาตรา ๒๑๕ ให้ เลิกไป ผู้ใดไม่เลิก ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี
หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

ลักษณะ ๖
ความผิดเกี่ยวกับการก่ อให้ เกิดภยันตราย
ต่ อประชาชน

* มาตรา ๒๑๗ ผู้ใดวางเพลิงเผาทรัพย์ของผู้อื่น ต้ องระวางโทษจาคุก


ตังแต่
้ หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตังแต่
้ หนึง่ หมื่นบาทถึงหนึ่งแสนสี่หมื่นบาท

มาตรา ๒๑๘ ผู้ใดวางเพลิงเผาทรัพย์ดงั ต่อไปนี ้


(๑) โรงเรื อน เรื อหรื อแพที่คนอยู่อาศัย
(๒) โรงเรื อน เรื อหรื อแพอันเป็ นที่เก็บหรื อที่ทาสินค้ า
(๓) โรงมหรสพหรื อสถานที่ประชุม
____________________________________
*มาตรา ๒๑๖ และมาตรา ๒๑๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
107

(๔) โรงเรื อนอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน เป็ นสาธารณสถาน


หรื อเป็ นที่สาหรับประกอบพิธีกรรมตามศาสนา
(๕) สถานีรถไฟ ท่าอากาศยานหรื อที่จอดรถหรื อเรื อสาธารณะ
(๖) เรื อกลไฟหรื อเรื อยนต์ อันมีระวางตังแต่
้ ห้าตันขึน้ ไป อากาศ-
ยานหรื อรถไฟที่ใช้ ในการขนส่งสาธารณะ
ต้ องระวางโทษประหารชีวิต จาคุกตลอดชีวิต หรื อจาคุกตังแต่้ ห้าปี
ถึงยี่สิบปี

มาตรา ๒๑๙ ผู้ใดตระเตรี ยมเพื่อกระทาความผิดดังกล่าวในมาตรา


๒๑๗ หรื อ มาตรา ๒๑๘ ต้ อ งระวางโทษเช่ น เดี ย วกับ พยายามกระท า
ความผิดนัน้ ๆ

* มาตรา ๒๒๐ ผู้ ใ ดกระท าให้ เ กิ ด เพลิ ง ไหม้ แ ก่ วัต ถุ ใ ด ๆ แม้ เ ป็ น


ของตนเอง จนน่ า จะเป็ นอั น ตรายแก่ บุ ค คลอื่ น หรื อทรั พ ย์ ข องผู้ อื่ น
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท
ถ้ าการกระทาความผิดดังกล่าวในวรรคแรก เป็ นเหตุให้ เกิดเพลิงไหม้
แก่ทรัพย์ตามที่ระบุไว้ ในมาตรา ๒๑๘ ผู้กระทาต้ องระวางโทษดังที่บญ ั ญัติ
ไว้ ในมาตรา ๒๑๘

* มาตรา ๒๒๑ ผู้ ใดกระท าให้ เกิ ด ระเบิ ด จนน่ า จะเป็ นอัน ตราย
แก่บคุ คลอื่นหรื อทรัพย์ของผู้อื่น ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับ
____________________________________
*มาตรา ๒๒๐ และมาตรา ๒๒๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
108

ไม่เกินหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท

มาตรา ๒๒๒ ผู้ใดกระทาให้ เกิดระเบิดจนเป็ นเหตุให้ เกิดอันตราย


แก่ ท รั พ ย์ ดัง กล่ า วในมาตรา ๒๑๗ หรื อ มาตรา ๒๑๘ ต้ อ งระวางโทษ
ดังที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรานัน้ ๆ

* มาตรา ๒๒๓ ความผิ ด ดัง กล่ า วในมาตรา ๒๑๗ มาตรา ๒๑๘


มาตรา ๒๒๐ มาตรา ๒๒๑ หรื อมาตรา ๒๒๒ นัน้ ถ้ าทรั พย์ที่เป็ นอันตราย
หรื อ ที่ น่ า จะเป็ นอัน ตรายเป็ นทรั พ ย์ ที่ มี ร าคาน้ อ ย และการกระท านั น้
ไม่น่ าจะเป็ นอันตรายแก่บุคคลอื่น ผู้กระทาต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่เกิ น
สามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๒๒๔ ถ้ า การกระท าความผิ ด ดัง กล่ า วในมาตรา ๒๑๗


มาตรา ๒๑๘ มาตรา ๒๒๑ หรื อ มาตรา ๒๒๒ เป็ นเหตุ ใ ห้ บุ ค คลอื่ น
ถึงแก่ความตาย ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชีวิต หรื อจาคุกตลอดชีวิต
ถ้ าเป็ นเหตุให้ บุคคลอื่นรั บอันตรายสาหัส ผู้กระทาต้ องระวางโทษ
ประหารชีวิต จาคุกตลอดชีวิต หรื อจาคุกตังแต่้ สิบปี ถึงยี่สิบปี

* มาตรา ๒๒๕ ผู้ใดกระทาให้ เกิดเพลิงไหม้ โดยประมาท และเป็ นเหตุ


ให้ ท รั พ ย์ ข องผู้ อื่ น เสี ย หาย หรื อ การกระท าโดยประมาทนัน้ น่ า จะเป็ น
____________________________________
*มาตรา ๒๒๓ และมาตรา ๒๒๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
109

อันตรายแก่ชีวิตของบุคคลอื่น ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี หรื อปรั บ


ไม่เกินหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๒๖ ผู้ใดกระทาด้ วยประการใด ๆ แก่โรงเรื อน อู่เรื อ ที่จอด


รถหรื อเรื อสาธารณะ ทุ่นทอดจอดเรื อ สิ่งปลูกสร้ าง เครื่ องจักร เครื่ องกล
สายไฟฟ้าหรื อสิ่งที่ทาไว้ เพื่อป้องกันอันตรายแก่บุคคลหรื อทรั พย์ จนน่าจะ
เป็ นเหตุใ ห้ เ กิ ด อัน ตรายแก่ บุค คลอื่ น ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ไม่ เ กิ น ห้ า ปี
หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั้ บ

* มาตรา ๒๒๗ ผู้ใ ดเป็ นผู้มีวิช าชี พ ในการออกแบบ ควบคุม หรื อ


ท าการก่ อ สร้ าง ซ่ อ มแซมหรื อ รื อ้ ถอน อาคารหรื อ สิ่ ง ปลู ก สร้ างใด ๆ
ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ หรื อวิธีการอันพึงกระทาการนัน้ ๆ โดยประการ
ที่น่าจะเป็ นเหตุให้ เกิ ดอันตรายแก่บุคคลอื่น ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ น
ห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๒๘ ผู้ใดกระทาด้ วยประการใด ๆ เพื่อให้ เกิดอุทกภัย หรื อ


เพื่อให้ เกิดขัดข้ องแก่การใช้ น ้าซึง่ เป็ นสาธารณูปโภค ถ้ าการกระทานันน่
้ าจะ
เป็ นอันตรายแก่บุคคลอื่นหรื อทรั พย์ ของผู้ อื่น ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
ห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระทาผิ ดดังกล่าวในวรรคแรกเป็ นเหตุให้ เกิ ดอันตรายแก่
____________________________________
*มาตรา ๒๒๖ ถึงมาตรา ๒๒๘ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับ ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
110

บุคคลอื่นหรื อทรั พย์ ของผู้อื่น ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่


้ หกเดือน
ถึงเจ็ดปี และปรับตังแต่
้ หนึง่ หมื่นบาทถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท

* มาตรา ๒๒๙ ผู้ ใ ดกระท าด้ ว ยประการใด ๆ ให้ ทางสาธารณะ


ประตูน า้ ท านบ เขื่ อน อัน เป็ นส่วนของทางสาธารณะ หรื อที่ ขึน้ ลงของ
อากาศยาน อยู่ในลักษณะอันน่าจะเป็ นเหตุให้ เกิดอันตรายแก่การจราจร
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทัง้ จา
ทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๓๐ ผู้ใ ดเอาสิ่ งใด ๆ กี ดขวางทางรถไฟหรื อทางรถราง


ทาให้ รางรถไฟหรื อรางรถรางหลุด หลวมหรื อเคลื่อนจากที่ หรื อกระทาแก่
เครื่ องสัญญาณจนน่าจะเป็ นเหตุให้ เกิดอันตรายแก่การเดินรถไฟหรื อรถราง
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่้ หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรั บตังแต่
้ หนึ่งหมื่นบาท
ถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท

* มาตรา ๒๓๑ ผู้ ใดกระท าด้ วยประการใด ๆ ให้ ประภาคาร


ทุ่ น สัญ ญาณหรื อ สิ่ ง อื่ น ใด ซึ่ง จัด ไว้ เ ป็ นสัญ ญาณเพื่ อ ความปลอดภั ย
ในการจราจรทางบก การเดิ น เรื อ หรื อ การเดิ น อากาศ อยู่ ใ นลัก ษณะ
อัน น่ าจะเป็ นเหตุให้ เกิ ดอัน ตรายแก่ การจราจรทางบก การเดิน เรื อหรื อ
การเดินอากาศ ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตังแต่

หนึง่ หมื่นบาทถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท
____________________________________
*มาตรา ๒๒๙ ถึงมาตรา ๒๓๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
111

* มาตรา ๒๓๒ ผู้ ใดกระท าด้ วยประการใด ๆ ให้ ยานพาหนะ


ดังต่อไปนี ้ อยู่ในลักษณะอันน่าจะเป็ นเหตุให้ เกิดอันตรายแก่บคุ คล
(๑) เรื อเดินทะเล อากาศยาน รถไฟหรื อรถราง
(๒) รถยนต์ที่ใช้ สาหรับการขนส่งสาธารณะ หรื อ
(๓) เรื อ กลไฟ หรื อ เรื อ ยนต์ อัน มี ร ะวางตัง้ แต่ ห้ าตัน ขึ น้ ไป ที่ ใ ช้
สาหรับการขนส่งสาธารณะ
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตังแต่ ้ หนึง่ หมื่น
บาทถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท

* มาตรา ๒๓๓ ผู้ ใดใช้ ยานพาหนะรั บ จ้ างขนส่ ง คนโดยสาร


เมื่ อ ยานพาหนะนั น้ มี ลัก ษณะหรื อ มี ก ารบรรทุ ก จนน่ า จะเป็ นอัน ตราย
แก่บุคคลในยานพาหนะนัน้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรั บ
ไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทัง้ จาทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๓๔ ผู้ใดกระทาด้ วยประการใด ๆ แก่สิ่งที่ ใช้ ในการผลิต


ในการส่ง พลัง งานไฟฟ้ าหรื อในการส่งน า้ จนเป็ นเหตุใ ห้ ป ระชาชนขาด
ความสะดวก หรื อน่าจะเป็ นเหตุให้ เกิ ดอันตรายแก่ประชาชน ต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๓๕ ผู้ ใ ดกระท าการด้ ว ยประการใด ๆ ให้ ก ารสื่ อ สาร


สาธารณะทางไปรษณี ย์ ทางโทรเลข ทางโทรศัพ ท์ หรื อทางวิ ท ยุขัดข้ อง
____________________________________
*มาตรา ๒๓๒ ถึงมาตรา ๒๓๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
112

ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ


้ า
ทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๓๖ ผู้ใ ดปลอมปนอาหาร ยาหรื อเครื่ องอุปโภคบริ โภค


อื่นใด เพื่อบุคคลอื่นเสพหรื อใช้ และการปลอมปนนันน่
้ าจะเป็ นเหตุให้ เกิด
อันตรายแก่สุขภาพ หรื อจาหน่าย หรื อเสนอขาย สิ่งเช่นว่านัน้ เพื่อบุคคล
เสพหรื อใช้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๓๗ ผู้ใ ดเอาของที่ มีพิ ษหรื อสิ่ งอื่นที่ น่ าจะเป็ นอันตราย
แก่สขุ ภาพเจือลงในอาหาร หรื อในน ้าซึง่ อยู่ในบ่อ สระหรื อที่ขงั น ้าใด ๆ และ
อาหารหรื อนา้ นัน้ ได้ มีอยู่หรื อจัดไว้ เพื่ อประชาชนบริ โภค ต้ องระวางโทษ
จาคุกตังแต่
้ หกเดือนถึงสิบปี และปรับตังแต่ ้ หนึง่ หมื่นบาทถึงสองแสนบาท

* มาตรา ๒๓๘ ถ้ าการกระทาความผิดตามมาตรา ๒๒๖ ถึงมาตรา


๒๓๗ เป็ นเหตุให้ บุคคลอื่นถึงแก่ความตาย ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุก
ตลอดชีวิต หรื อจาคุกตังแต่ ้ ห้าปี ถึงยี่สิบปี และปรั บตังแต่
้ หนึ่งแสนบาทถึง
สี่แสนบาท
ถ้ าเป็ นเหตุให้ บุคคลอื่นรั บอันตรายสาหัส ผู้กระทาต้ องระวางโทษ
จาคุกตังแต่
้ หนึง่ ปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่
้ สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท

____________________________________
*มาตรา ๒๓๖ ถึงมาตรา ๒๓๘ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
113

* มาตรา ๒๓๙ ถ้ าการกระทาดังกล่าวในมาตรา ๒๒๖ ถึงมาตรา


๒๓๗ เป็ นการกระท าโดยประมาท และใกล้ จะเป็ นอั น ตรายแก่ ชี วิ ต
ของบุคคลอื่น ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรั บไม่เกิน
สองหมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

ลักษณะ ๗
ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง
หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา

* มาตรา ๒๔๐ ผู้ใดทาปลอมขึน้ ซึ่งเงิ น ตรา ไม่ว่าจะปลอมขึน้ เพื่ อ


ให้ เ ป็ นเหรี ย ญกระษาปณ์ ธนบัต รหรื อ สิ่ ง อื่ น ใด ซึ่ง รั ฐ บาลออกใช้ ห รื อ
ให้ อานาจให้ ออกใช้ หรื อท าปลอมขึน้ ซึ่งพัน ธบัตรรั ฐ บาลหรื อใบส าคัญ
สาหรับรั บดอกเบีย้ พันธบัตรนัน้ ๆ ผู้นนกระท
ั้ าความผิดฐานปลอมเงินตรา
ต้ องระวางโทษจาคุกตลอดชี วิต หรื อจาคุกตังแต่ ้ สิบปี ถึงยี่สิบปี และปรั บ
ตังแต่
้ สองแสนบาทถึงสี่แสนบาท

* มาตรา ๒๔๑ ผู้ใ ดแปลงเงิ นตรา ไม่ว่าจะเป็ นเหรี ยญกระษาปณ์


ธนบั ต รหรื อ สิ่ ง อื่ น ใด ซึ่ ง รั ฐ บาลออกใช้ หรื อ ให้ อ านาจให้ ออกใช้ หรื อ
แปลงพัน ธบัต รรั ฐ บาลหรื อใบส าคัญ ส าหรั บ รั บ ดอกเบี ย้ พัน ธบัต รนัน้ ๆ
ให้ ผิดไปจากเดิม เพื่อให้ ผ้ อู ื่นเชื่อว่ามีมลู ค่าสูงกว่าจริ ง ผู้นนกระท
ั้ าความผิด
____________________________________
*มาตรา ๒๓๙ ถึงมาตรา ๒๔๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
114

ฐานแปลงเงินตรา ต้ องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต หรื อจาคุกตังแต่


้ ห้าปี ถึง
ยี่สิบปี และปรับตังแต่
้ หนึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท

* มาตรา ๒๔๒ ผู้ใดกระทาโดยทุจริ ตให้ เหรี ยญกระษาปณ์ ซงึ่ รั ฐบาล


ออกใช้ มีนา้ หนักลดลง ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรั บไม่เกิ น
หนึง่ แสนสี่หมื่นบาท
ผู้ ใ ดน าเข้ าในราชอาณาจั ก ร น าออกใช้ ห รื อ มี ไ ว้ เ พื่ อ น าออกใช้
ซึ่ง เหรี ย ญกระษาปณ์ ที่ มีผ้ ูก ระท าโดยทุ จ ริ ต ให้ น า้ หนัก ลดลงตามความ
ในวรรคแรก ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกัน

มาตรา ๒๔๓ ผู้ ใดน าเข้ าในราชอาณาจั ก รซึ่ ง สิ่ ง ใด ๆ อัน เป็ น
ของปลอมตามมาตรา ๒๔๐ หรื อของแปลงตามมาตรา ๒๔๑ ต้ องระวาง
โทษดังที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรานัน้ ๆ

* มาตรา ๒๔๔ ผู้ใดมีไว้ เพื่อนาออกใช้ ซงึ่ สิ่งใด ๆ อันตนได้ มาโดยรู้ ว่า


เป็ นของปลอมตามมาตรา ๒๔๐ หรื อของแปลงตามมาตรา ๒๔๑
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ หนึ่งปี ถึงสิบห้ าปี และปรั บตังแต่ ้ สองหมื่นบาท
ถึงสามแสนบาท

* มาตรา ๒๔๕ ผู้ใดได้ มาซึ่งสิ่งใด ๆ โดยไม่ร้ ู ว่าเป็ นของปลอมตาม


____________________________________
*มาตรา ๒๔๒ มาตรา ๒๔๔ และมาตรา ๒๔๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติ ม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ.
๒๕๖๐ มาตรา ๔
115

มาตรา ๒๔๐ หรื อของแปลงตามมาตรา ๒๔๑ ถ้ าต่อมารู้ ว่าเป็ นของปลอม


หรื อของแปลงเช่นว่านัน้ ยังขืนนาออกใช้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี
หรื อปรับไม่เกินสองแสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๔๖ ผู้ใ ดท าเครื่ องมือหรื อวัตถุส าหรั บ ปลอมหรื อแปลง


เงินตรา ไม่ว่าจะเป็ นเหรี ยญกระษาปณ์ ธนบัตรหรื อสิ่งใด ๆ ซึง่ รัฐบาลออก
ใช้ หรื อให้ อานาจให้ ออกใช้ หรื อสาหรั บปลอมหรื อแปลงพันธบั ตรรั ฐบาล
หรื อใบสาคัญสาหรั บรั บดอกเบี ย้ พันธบัตรนัน้ ๆ หรื อมีเครื่ องมือหรื อวัตถุ
เช่นว่านัน้ เพื่อใช้ ในการปลอมหรื อแปลง ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ ห้าปี
ถึงสิบห้ าปี และปรับตังแต่
้ หนึง่ แสนบาทถึงสามแสนบาท

มาตรา ๒๔๗ ถ้ าการกระท าดัง กล่า วในหมวดนี เ้ ป็ นการกระท า


เกี่ ย วกับ เงิ น ตรา ไม่ ว่ า จะเป็ นเหรี ย ญกระษาปณ์ ธนบัต รหรื อสิ่ ง อื่ น ใด
ซึ่ ง รั ฐ บาลต่ า งประเทศออกใช้ หรื อ ให้ อ านาจให้ ออกใช้ หรื อ เกี่ ย วกั บ
พันธบัตรรัฐบาลต่างประเทศหรื อใบสาคัญสาหรับรับดอกเบี ้ยพันธบัตรนัน้
ผู้กระทาต้ องระวางโทษกึง่ หนึง่ ของโทษที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรานัน้ ๆ

มาตรา ๒๔๘ ถ้ าผู้กระทาความผิดตามมาตรา ๒๔๐ มาตรา ๒๔๑


หรื อมาตรา ๒๔๗ ได้ กระทาความผิดตามมาตราอื่นที่บญ ั ญัติไว้ ในหมวดนี ้
อัน เกี่ ย วกับ สิ่ งที่ ต นปลอมหรื อแปลงนัน้ ด้ วย ให้ ล งโทษผู้นัน้ ตามมาตรา
๒๔๐ มาตรา ๒๔๑ หรื อมาตรา ๒๔๗ แต่กระทงเดียว
____________________________________
*มาตรา ๒๔๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
116

* มาตรา ๒๔๙ ผู้ใดทาบัตรหรื อโลหธาตุอย่างใด ๆ ให้ มีลกั ษณะและ


ขนาดคล้ ายคลึงกับเงิ นตรา ไม่ว่าจะเป็ นเหรี ยญกระษาปณ์ ธนบัตรหรื อ
สิ่งใด ๆ ซึ่งรั ฐบาลออกใช้ หรื อให้ อานาจให้ ออกใช้ หรื อพันธบัตรรั ฐบาล
หรื อใบส าคัญ ส าหรั บ รั บ ดอกเบี ย้ พันธบัตรนัน้ ๆ หรื อจ าหน่ ายบัตรหรื อ
โลหธาตุเ ช่ น ว่ า นัน้ ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ไม่ เกิ น หนึ่ ง ปี หรื อ ปรั บ ไม่เ กิ น
สองหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ า การจ าหน่ า ยบัต รหรื อ โลหธาตุดัง กล่ า วในวรรคแรกเป็ นการ
จาหน่ ายโดยการน าออกใช้ ดังเช่ นสิ่งใด ๆ ที่ กล่าวในวรรคแรก ผู้ก ระท า
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ า
ทังปรั
้ บ

หมวด ๒
ความผิดเกี่ยวกับดวงตรา แสตมป์และตั๋ว

* มาตรา ๒๕๐ ผู้ใดทาปลอมขึ ้นซึง่ ดวงตราแผ่นดิน รอยตราแผ่นดิน


หรื อพระปรมาภิ ไธย ต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่ห้าปี ถึงยี่ สิบปี และปรั บ
ตังแต่
้ หนึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท

* มาตรา ๒๕๑ ผู้ใดทาปลอมขึน้ ซึ่งดวงตราหรื อรอยตราของทบวง


การเมือง ขององค์ ก ารสาธารณะ หรื อของเจ้ าพนัก งาน ต้ องระวางโทษ

____________________________________
*มาตรา ๒๔๙ ถึงมาตรา ๒๕๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
117

จาคุกตังแต่
้ หนึ่งปี ถึงเจ็ดปี และปรับตังแต่
้ สองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนสี่หมื่น
บาท

มาตรา ๒๕๒ ผู้ใดใช้ ดวงตรา รอยตราหรื อพระปรมาภิไธย ดังกล่าว


มาในมาตรา ๒๕๐ หรื อ มาตรา ๒๕๑ อัน เป็ นดวงตรา รอยตราหรื อ
พระปรมาภิไธยที่ทาปลอมขึ ้น ต้ องระวางโทษดังที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรานัน้ ๆ

มาตรา ๒๕๓ ผู้ใดได้ มาซึ่งดวงตราหรื อรอยตราดังกล่าวในมาตรา


๒๕๐ หรื อ มาตรา ๒๕๑ ซึ่ ง เป็ นดวงตราหรื อ รอยตราอัน แท้ จริ ง และ
ใช้ ด วงตราหรื อรอยตรานัน้ โดยมิชอบ ในประการที่ น่าจะท าให้ ผ้ ูอื่น หรื อ
ประชาชนเสีย หาย ต้ องระวางโทษสองในสามส่วนของโทษที่ บัญ ญัติไ ว้
ในมาตรา ๒๕๐ หรื อมาตรา ๒๕๑ นัน้

* มาตรา ๒๕๔ ผู้ใดทาปลอมขึน้ ซึ่งแสตมป์รั ฐบาล ซึง่ ใช้ สาหรับการ


ไปรษณี ย์ การภาษี อากรหรื อ การเก็ บ ค่า ธรรมเนี ย ม หรื อ แปลงแสตมป์
รัฐบาล ซึ่งใช้ ในการเช่นว่านัน้ ให้ ผิดไปจากเดิม เพื่อให้ ผ้ ูอื่นเชื่อว่ามีมูลค่า
สูง กว่ า จริ ง ต้ อ งระวางโทษจ าคุ ก ตัง้ แต่ ห นึ่ ง ปี ถึ ง เจ็ ด ปี และปรั บ ตัง้ แต่
สองหมื่นบาทถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท

* มาตรา ๒๕๕ ผู้ ใดน าเข้ าในราชอาณาจั ก รซึ่ง ดวงตราแผ่ น ดิ น


รอยตราแผ่นดิน พระปรมาภิไธย ดวงตราหรื อรอยตราของทบวงการเมือง
____________________________________
*มาตรา ๒๕๔ และมาตรา ๒๕๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
118

ขององค์ ก ารสาธารณะ หรื อ ของเจ้ าพนั ก งาน หรื อ แสตมป์ ซึ่ ง ระบุ ไ ว้
ในมาตรา ๒๕๐ มาตรา ๒๕๑ หรื อมาตรา ๒๕๔ อันเป็ นของปลอม หรื อ
ของแปลง ต้ อ งระวางโทษจ าคุ ก ตัง้ แต่ ห นึ่ ง ปี ถึ ง สิ บ ปี และปรั บ ตั ง้ แต่
สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท

* มาตรา ๒๕๖ ผู้ใดลบ ถอนหรื อกระทาด้ วยประการใด ๆ แก่แสตมป์


รัฐบาลซึง่ ระบุไว้ ในมาตรา ๒๕๔ และมีเครื่ องหมายหรื อการกระทาอย่างใด
แสดงว่าใช้ ไ ม่ได้ แล้ ว เพื่ อให้ ใช้ ได้ อีก ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่เกิ นสามปี
หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๕๗ ผู้ ใดใช้ ขาย เสนอขาย แลกเปลี่ ย น หรื อ เสนอ


แลกเปลี่ ย นซึ่ง แสตมป์ อัน เกิ ด จากการกระท าดัง กล่ าวในมาตรา ๒๕๔
หรื อมาตรา ๒๕๖ ไม่ว่าการกระทาตามมาตรานัน้ ๆ จะได้ กระทาภายใน
หรื อนอกราชอาณาจักร ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกิน
หกหมื่นบาท หรื อทังจ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๕๘ ผู้ใ ดท าปลอมขึ น้ ซึ่งตั๋วโดยสารซึ่งใช้ ใ นการขนส่ ง


สาธารณะ หรื อ แปลงตั๋วโดยสารซึ่งใช้ ใ นการขนส่ ง สาธารณะให้ ผิ ด ไป
จากเดิม เพื่ อให้ ผ้ ูอื่นเชื่ อว่ามีมูลค่าสูงกว่าจริ ง หรื อลบ ถอน หรื อกระท า
ด้ วยประการใด ๆ แก่ตวั๋ เช่นว่านัน้ ซึง่ มีเครื่ องหมายหรื อการกระทาอย่างใด
แสดงว่าใช้ ไม่ได้ แล้ ว เพื่ อให้ ใช้ ได้ อีก ต้ องระวางโทษจ าคุกไม่เกิ น สองปี
____________________________________
*มาตรา ๒๕๖ ถึงมาตรา ๒๕๘ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
119

หรื อปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรื อทังจ


้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๕๙ ถ้ า การกระท าตามมาตรา ๒๕๘ เป็ นการกระท า


เกี่ ย วกับ ตั๋วที่ จ าหน่ ายแก่ ป ระชาชน เพื่ อ ผ่ านเข้ าสถานที่ ใ ด ๆ ผู้ กระท า
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทังจ ้ า
ทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๖๐ ผู้ ใดใช้ ขาย เสนอขาย แลกเปลี่ ย นหรื อเสนอ


แลกเปลี่ ย นซึ่ ง ตั๋ ว อั น เกิ ด จากการกระท าดั ง กล่ า วในมาตรา ๒๕๘
หรื อ มาตรา ๒๕๙ ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ไม่ เ กิ น หนึ่ ง ปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น
สองหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๖๑ ผู้ใ ดท าเครื่ องมือหรื อวัตถุสาหรั บปลอมหรื อแปลง


สิ่งใด ๆ ซึ่งระบุไว้ ใ นมาตรา ๒๕๔ มาตรา ๒๕๘ หรื อมาตรา ๒๕๙ หรื อ
มีเครื่ องมือหรื อวัตถุเช่นว่านัน้ เพื่อใช้ ในการปลอมหรื อแปลง ต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรื อทังจ้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๒๖๒ ถ้ าการกระทาดังกล่าวในมาตรา ๒๕๔ มาตรา ๒๕๖


มาตรา ๒๕๗ หรื อมาตรา ๒๖๑ เป็ นการกระทาเกี่ ยวกับแสตมป์รั ฐบาล
ต่างประเทศ ผู้กระทาต้ องระวางโทษกึ่งหนึ่งของโทษที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรา
นัน้ ๆ
____________________________________
*มาตรา ๒๕๙ ถึงมาตรา ๒๖๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
120

มาตรา ๒๖๓ ถ้ าผู้กระทาความผิดตามมาตรา ๒๕๐ มาตรา ๒๕๑


มาตรา ๒๕๔ มาตรา ๒๕๖ มาตรา ๒๕๘ มาตรา ๒๕๙ หรื อมาตรา ๒๖๒
ได้ กระทาความผิ ดตามมาตราอื่นที่ บัญญั ติไว้ ในหมวดนี ้ อันเกี่ยวกับสิ่งที่
เกิ ด จากการกระท าความผิ ด นัน้ ด้ วย ให้ ล งโทษผู้นัน้ ตามมาตรา ๒๕๐
มาตรา ๒๕๑ มาตรา ๒๕๔ มาตรา ๒๕๖ มาตรา ๒๕๘ มาตรา ๒๕๙ หรื อ
มาตรา ๒๖๒ แต่กระทงเดียว

หมวด ๓
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
* มาตรา ๒๖๔ ผู้ใ ดท าเอกสารปลอมขึ น้ ทัง้ ฉบับ หรื อแต่ส่ วนหนึ่ ง
ส่วนใด เติมหรื อตัดทอนข้ อความ หรื อแก้ ไขด้ วยประการใด ๆ ในเอกสาร
ที่ แ ท้ จริ ง หรื อ ประทั บ ตราปลอมหรื อ ลงลายมื อ ชื่ อ ปลอมในเอกสาร
โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผ้ ูอื่นหรื อประชาชน ถ้ าได้ กระทา
เพื่ อให้ ผ้ ูห นึ่ง ผู้ใ ดหลงเชื่ อว่าเป็ นเอกสารที่ แ ท้ จริ ง ผู้นั น้ กระท าความผิ ด
ฐานปลอมเอกสาร ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ไม่ เกิ น สามปี หรื อปรั บ ไม่เกิ น
หกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ผู้ใดกรอกข้ อความลงในแผ่นกระดาษหรื อวัตถุอื่นใด ซึง่ มีลายมือชื่อ
ของผู้อื่นโดยไม่ได้ รับความยินยอม หรื อโดยฝ่ าฝื นคาสัง่ ของผู้อื่นนัน้ ถ้ าได้
กระทาเพื่อนาเอาเอกสารนันไปใช้ ้ ในกิจการที่อาจเกิดเสียหายแก่ผ้ หู นึ่งผู้ใด
หรื อประชาชน ให้ ถือว่าผู้นนปลอมเอกสาร
ั้ ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกัน
____________________________________
*มาตรา ๒๖๔ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
121

* มาตรา ๒๖๕ ผู้ ใดปลอมเอกสารสิ ท ธิ ห รื อเอกสารราชการ


ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ หกเดือนถึงห้ าปี และปรั บตังแต่
้ หนึ่งหมื่นบาท
ถึงหนึง่ แสนบาท

** มาตรา ๒๖๖ ผู้ใดปลอมเอกสารดังต่อไปนี ้


(๑) เอกสารสิทธิอนั เป็ นเอกสารราชการ
(๒) พินยั กรรม
(๓) ใบหุ้น ใบหุ้นกู้ หรื อใบสาคัญของใบหุ้นหรื อใบหุ้นกู้
(๔) ตัว๋ เงิน หรื อ
(๕) บัตรเงินฝาก
ต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่หนึ่งปี ถึงสิบปี และปรั บตัง้ แต่สองหมื่น
บาทถึงสองแสนบาท

***มาตรา ๒๖๗ ผู้ ใดแจ้ ง ให้ เ จ้ า พนัก งานผู้ ก ระท าการตามหน้ า ที่
จดข้ อความอั น เป็ นเท็ จ ลงในเอกสารมหาชนหรื อเอกสารราชการ
ซึ่งมีวัตถุประสงค์ สาหรั บใช้ เป็ นพยานหลักฐาน โดยประการที่ น่าจะเกิ ด
ความเสี ยหายแก่ ผ้ ูอื่น หรื อประชาชน ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่เกิ นสามปี
หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ้ าทังปรั
้ บ

____________________________________
*มาตรา ๒๖๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๒๖๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓
***มาตรา ๒๖๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
122

มาตรา ๒๖๘ ผู้ ใดใช้ หรื อ อ้ า งเอกสารอั น เกิ ด จากการกระท า


ความผิดตามมาตรา ๒๖๔ มาตรา ๒๖๕ มาตรา ๒๖๖ หรื อมาตรา ๒๖๗
ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผ้ อู ื่นหรื อประชาชน ต้ องระวางโทษ
ดังที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรานัน้ ๆ
ถ้ า ผู้ก ระท าความผิ ดตามวรรคแรกเป็ นผู้ป ลอมเอกสารนัน้ หรื อ
เป็ นผู้ แ จ้ งให้ เจ้ าพนั ก งานจดข้ อความนั น้ เอง ให้ ลงโทษตามมาตรานี ้
แต่กระทงเดียว

* มาตรา ๒๖๙ ผู้ใดในการประกอบการงานในวิชาแพทย์ กฎหมาย


บัญชีหรื อวิชาชี พอื่นใด ทาคารั บรองเป็ นเอกสารอันเป็ นเท็จ โดยประการ
ที่ น่ า จะเกิ ด ความเสี ย หายแก่ ผ้ ู อื่น หรื อ ประชาชน ต้ อ งระวางโทษจ าคุก
ไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ผู้ใดโดยทุจริ ตใช้ หรื ออ้ างคารั บรองอันเกิดจากการกระทาความผิด
ตามวรรคแรก ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกัน

____________________________________
*มาตรา ๒๖๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
123

*หมวด ๔
ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์

มาตรา ๒๖๙/๑ ผู้ใดทาบัตรอิเล็กทรอนิ กส์ ปลอมขึน้ ทัง้ ฉบับหรื อ


แต่ส่วนหนึ่งส่วนใด เติมหรื อตัดทอนข้ อความ หรื อแก้ ไขด้ วยประการใด ๆ
ในบัต รอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ แ ท้ จ ริ ง โดยประการที่ น่ า จะเกิ ด ความเสี ย หาย
แก่ ผ้ ู อื่ น หรื อ ประชาชน ถ้ าได้ ก ระท าเพื่ อ ให้ ผู้ หนึ่ ง ผู้ ใดหลงเชื่ อ ว่ า เป็ น
บั ต รอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ แ ท้ จริ ง หรื อ เพื่ อ ใช้ ประโยชน์ อ ย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใด
ผู้นนั ้ กระทาความผิ ดฐานปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ต้ องระวางโทษจาคุก
ตังแต่
้ หนึง่ ปี ถึงห้ าปี และปรับตังแต่ ้ สองหมื่นบาทถึงหนึง่ แสนบาท

มาตรา ๒๖๙/๒ ผู้ใดทาเครื่ องมือหรื อวัตถุสาหรั บปลอมหรื อแปลง


หรื อสาหรั บให้ ได้ ข้อมูลในการปลอมหรื อแปลงสิ่งใด ๆ ซึง่ ระบุไว้ ในมาตรา
๒๖๙/๑ หรื อมีเครื่ องมือหรื อวัตถุเช่นว่านัน้ เพื่อใช้ หรื อให้ ได้ ข้อมูลในการ
ปลอมหรื อแปลง ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ หนึ่งปี ถึงห้ าปี และปรับตังแต่ ้
สองหมื่นบาทถึงหนึง่ แสนบาท

มาตรา ๒๖๙/๓ ผู้ใ ดนาเข้ าในหรื อส่งออกไปนอกราชอาณาจัก ร


ซึง่ สิ่งใด ๆ ตามมาตรา ๒๖๙/๑ หรื อมาตรา ๒๖๙/๒ ต้ องระวางโทษจาคุก
ตังแต่
้ สามปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่
้ หกหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
____________________________________
*หมวด ๔ ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์ มาตรา ๒๖๙/๑ ถึงมาตรา ๒๖๙/๗ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.
แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๕
124

มาตรา ๒๖๙/๔ ผู้ ใ ดใช้ ห รื อ มี ไ ว้ เ พื่ อ ใช้ ซึ่ ง สิ่ ง ใด ๆ ตามมาตรา


๒๖๙/๑ อันได้ มาโดยรู้ ว่าเป็ นของที่ทาปลอมหรื อแปลงขึน้ ต้ องระวางโทษ
จาคุกตังแต่
้ หนึ่งปี ถึงเจ็ดปี หรื อปรับตังแต่ ้ สองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนสี่หมื่น
บาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ผู้ ใดจ าหน่ า ยหรื อ มี ไ ว้ เ พื่ อ จ าหน่ า ยซึ่ ง สิ่ ง ใด ๆ ที่ ท าปลอมหรื อ
แปลงขึน้ ตามมาตรา ๒๖๙/๑ ต้ องระวางโทษจาคุก ตัง้ แต่ห นึ่งปี ถึงสิ บ ปี
หรื อปรับตังแต่
้ สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าผู้กระทาความผิดตามวรรคแรกหรื อวรรคสองเป็ นผู้ปลอมซึง่ บัตร
อิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรา ๒๖๙/๑ ให้ ลงโทษตามมาตรานี ้แต่กระทงเดียว

มาตรา ๒๖๙/๕ ผู้ ใ ดใช้ บั ต รอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข องผู้ อื่ น โดยมิ ช อบ


ในประการที่น่าจะก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ผ้ อู ื่นหรื อประชาชน ต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั้ บ

มาตรา ๒๖๙/๖ ผู้ ใดมี ไ ว้ เ พื่ อ น าออกใช้ ซึ่ ง บั ต รอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์


ของผู้ อื่ น โดยมิ ช อบตามมาตรา ๒๖๙/๕ ในประการที่ น่ า จะก่ อ ให้ เ กิ ด
ความเสี ยหายแก่ ผ้ ูอื่น หรื อประชาชน ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่เกิ นสามปี
หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๒๖๙/๗ ถ้ าการกระทาดังกล่าวในหมวดนี ้ เป็ นการกระทา


เกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่ผ้ อู อกได้ ออกให้ แก่ผ้ มู ีสิทธิใช้ เพื่อใช้ ประโยชน์
ในการช าระค่ า สิ น ค้ า ค่ า บริ ก ารหรื อ หนี อ้ ื่ น แทนการช าระด้ ว ยเงิ น สด
หรื อ ใช้ เบิ ก ถอนเงิ น สด ผู้ กระท าต้ อ งระวางโทษหนั ก กว่ า ที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้
ในมาตรานัน้ ๆ กึง่ หนึง่
125

*หมวด ๕
ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง

มาตรา ๒๖๙/๘ ผู้ ใดท าหนัง สื อ เดิ น ทางปลอมขึ น้ ทัง้ ฉบับ หรื อ
แต่ส่วนหนึ่งส่วนใด เติมหรื อตัดทอนข้ อความ หรื อแก้ ไขด้ วยประการใด ๆ
ในหนังสือเดินทางที่แท้ จริ ง หรื อประทับตราปลอมหรื อลงลายมือชื่อปลอม
ในหนัง สื อเดิ น ทาง โดยประการที่ น่ า จะเกิ ดความเสี ย หายแก่ ผ้ ู อื่ น หรื อ
ประชาชน ถ้ าได้ กระทาเพื่ อให้ ผ้ ูหนึ่งผู้ใ ดหลงเชื่ อว่าเป็ นหนังสือเดินทาง
ที่แท้ จริ ง ผู้นนั ้ กระทาความผิ ดฐานปลอมหนังสือเดินทาง ต้ องระวางโทษ
จาคุกตังแต่้ หนึง่ ปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่
้ สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท

มาตรา ๒๖๙/๙ ผู้ใดใช้ ห รื อมีไ ว้ เพื่ อใช้ ซึ่งหนังสื อเดินทางปลอม


ตามมาตรา ๒๖๙/๘ ต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่หนึ่งปี ถึงสิบปี และปรั บ
ตังแต่
้ สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
ผู้ ใดจ าหน่ า ยหรื อ มี ไ ว้ เพื่ อ จ าหน่ า ยซึ่ ง หนั ง สื อ เดิ น ทางปลอม
ตามมาตรา ๒๖๙/๘ ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สามปี ถึงยี่สิบปี และปรั บ
ตังแต่
้ หกหมื่นบาทถึงสี่แสนบาท
การมี ห นัง สื อ เดิ น ทางปลอมตามมาตรา ๒๖๙/๘ จ านวนตัง้ แต่
สองฉบับขึ ้นไป ให้ สนั นิษฐานไว้ ก่อนว่ามีไว้ เพื่อจาหน่าย
ถ้ าผู้ก ระท าความผิ ดตามวรรคหนึ่งหรื อวรรคสองเป็ นผู้ป ลอมซึ่ง
หนังสือเดินทางตามมาตรา ๒๖๙/๘ ให้ ลงโทษตามมาตรานี ้แต่กระทงเดียว
____________________________________
*หมวด ๕ ความผิ ดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง มาตรา ๒๖๙/๘ ถึงมาตรา ๒๖๙/๑๕ เพิ่มเติ มโดย พ.ร.บ.
แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๘) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕
126

มาตรา ๒๖๙/๑๐ ผู้ใดนาเข้ าในหรื อส่งออกไปนอกราชอาณาจักร


ซึ่งหนังสือเดินทางปลอมตามมาตรา ๒๖๙/๘ ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้
หนึง่ ปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่
้ สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
ถ้ า การกระท าความผิ ด ตามวรรคหนึ่ งได้ ก ระท าไปเพื่ อจ าหน่ า ย
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สามปี ถึงยี่สิบปี และปรั บตังแต่
้ หกหมื่นบาทถึง
สี่แสนบาท

มาตรา ๒๖๙/๑๑ ผู้ ใดใช้ หนั ง สื อ เดิ น ทางของผู้ อื่ น โดยมิ ช อบ


ในประการที่น่าจะก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ผ้ อู ื่นหรื อประชาชน ต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
ผู้ ใดจั ด หาหนั ง สื อ เดิ น ทางให้ ผู้ กระท าความผิ ด ตามวรรคหนึ่ ง
ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกัน

มาตรา ๒๖๙/๑๒ ผู้ ใดท าปลอมขึ น้ ซึ่ ง ดวงตรา รอยตรา หรื อ


แผ่นปะตรวจลงตราอันใช้ ในการตรวจลงตราสาหรั บการเดินทางระหว่าง
ประเทศ ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ หนึ่งปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่
้ สองหมื่น
บาทถึงสองแสนบาท

มาตรา ๒๖๙/๑๓ ผู้ใดใช้ ดวงตรา รอยตรา หรื อแผ่นปะตรวจลงตรา


ที่ ท าปลอมขึ น้ ตามมาตรา ๒๖๙/๑๒ ต้ องระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่ห นึ่ง ปี
ถึงสิบปี และปรับตังแต่
้ สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
127

ถ้ าผู้กระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็ นผู้ปลอมซึง่ ดวงตรา รอยตรา


หรื อแผ่น ปะตรวจลงตราตามมาตรา ๒๖๙/๑๒ ให้ ล งโทษตามมาตรานี ้
แต่กระทงเดียว

มาตรา ๒๖๙/๑๔ ผู้ใดนาเข้ าในหรื อส่งออกไปนอกราชอาณาจักร


ซึง่ ดวงตรา รอยตรา หรื อแผ่นปะตรวจลงตราซึง่ ระบุไว้ ในมาตรา ๒๖๙/๑๒
อันเป็ นของปลอม ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ หนึ่งปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่

สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท

มาตรา ๒๖๙/๑๕ ผู้ใดใช้ ดวงตรา รอยตรา หรื อแผ่นปะตรวจลงตรา


อัน แท้ จ ริ ง ที่ ใ ช้ ใ นการตรวจลงตราส าหรั บ การเดิ น ทางระหว่า งประเทศ
โดยมิชอบ ในประการที่น่าจะก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ผ้ อู ื่นหรื อประชาชน
ต้ องระวางโทษสองในสามส่วนของโทษที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา ๒๖๙/๑๓
128

ลักษณะ ๘
ความผิดเกี่ยวกับการค้ า

* มาตรา ๒๗๐ ผู้ใดใช้ ห รื อมีไว้ เพื่ อใช้ ซึ่งเครื่ องชั่ง เครื่ องตวง หรื อ
เครื่ องวัด ที่ ผิ ด อัต ราเพื่ อเอาเปรี ย บในการค้ า หรื อมีเครื่ องเช่ น ว่านัน้ ไว้
เพื่ อขาย ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บไม่เกินหกหมื่นบาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

** มาตรา ๒๗๑ ผู้ใดขายของโดยหลอกลวงด้ วยประการใด ๆ ให้ ผู้ซื ้อ


หลงเชื่อในแหล่งกาเนิด สภาพ คุณภาพหรื อปริ มาณแห่งของนันอั ้ นเป็ นเท็จ
ถ้ าการกระทานัน้ ไม่เป็ นความผิ ดฐานฉ้ อ โกง ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ น
สามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

***มาตรา ๒๗๒ ผู้ใด


(๑) เอาชื่ อ รู ป รอยประดิษฐ์ หรื อข้ อความใด ๆ ในการประกอบ
การค้ าของผู้อื่นมาใช้ หรื อทาให้ ป รากฏที่ สินค้ า หี บ ห่ อ วัตถุที่ ใช้ ห้ ุมห่ อ
แจ้ งความ รายการแสดงราคา จดหมายเกี่ ยวกับการค้ าหรื อสิ่งอื่นทานอง
เดียวกัน เพื่อให้ ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็ นสินค้ าหรื อการค้ าของผู้อื่นนัน้
(๒) เลียนป้าย หรื อสิ่งอื่นทานองเดียวกันจนประชาชนน่าจะหลง
____________________________________
*มาตรา ๒๗๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๒๗๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๘
***มาตรา ๒๗๒ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
129

เชื่อว่าสถานที่การค้ าของตนเป็ นสถานที่การค้ าของผู้อื่นที่ตงอยูั ้ ่ใกล้ เคียง


(๓) ไขข่ า วแพร่ ห ลายซึ่ ง ข้ อความเท็ จ เพื่ อ ให้ เสี ย ความเชื่ อ ถื อ
ในสถานที่ ก ารค้ า สิ น ค้ า อุต สาหกรรมหรื อ พาณิ ช ยการของผู้ ห นึ่ง ผู้ ใ ด
โดยมุง่ ประโยชน์แก่การค้ าของตน
ต้ องระวางโทษจาคุก ไม่เกิ น หนึ่งปี หรื อปรั บไม่เกิ น สองหมื่นบาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ความผิดตามมาตรานี ้เป็ นความผิดอันยอมความได้

* มาตรา ๒๗๓ ผู้ ใดปลอมเครื่ อ งหมายการค้ าของผู้ อื่ น ซึ่ ง ได้


จดทะเบี ย นแล้ ว ไม่ว่าจะได้ จ ดทะเบี ย นภายในหรื อนอกราชอาณาจัก ร
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั ง้ จา
ทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๗๔ ผู้ ใดเลี ย นเครื่ องหมายการค้ าของผู้ อื่ น ซึ่ ง ได้
จดทะเบี ย นแล้ ว ไม่ว่าจะได้ จ ดทะเบี ย นภายในหรื อนอกราชอาณาจัก ร
เพื่อให้ ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็ นเครื่ องหมายการค้ าของผู้อื่นนัน้ ต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทังจ้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๒๗๕ ผู้ ใ ดน าเข้ าในราชอาณาจัก ร จ าหน่ า ยหรื อ เสนอ


จาหน่าย ซึง่ สินค้ าอันเป็ นสินค้ าที่มีชื่อ รู ป รอยประดิษฐ์ หรื อข้ อความใด ๆ
ดังบัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๗๒ (๑) หรื อสินค้ าอันเป็ นสินค้ าที่มีเครื่ องหมาย
____________________________________
*มาตรา ๒๗๓ และมาตรา ๒๗๔ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
130

การค้ าปลอมหรื อเลียนเครื่ องหมายการค้ าของผู้อื่นตามความในมาตรา


๒๗๓ หรื อมาตรา ๒๗๔ ต้ องระวางโทษดังที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรานัน้ ๆ

ลักษณะ ๙
ความผิดเกี่ยวกับเพศ

* มาตรา ๒๗๖ ผู้ใดข่มขืนกระทาชาเราผู้อื่นโดยขู่เข็ญด้ วยประการ


ใด ๆ โดยใช้ กาลังประทุษร้ าย โดยผู้อื่นนันอยู ้ ่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้
หรื อโดยทาให้ ผ้ ูอื่นนัน้ เข้ าใจผิดว่าตนเป็ นบุคคลอื่น ต้ องระวางโทษจาคุก
ตังแต่
้ สี่ปีถึงยี่สิบปี และปรับตังแต่
้ แปดหมื่นบาทถึงสี่แสนบาท
ถ้ า การกระท าความผิ ด ตามวรรคหนึ่ ง ได้ ก ระท าโดยท าให้ ผ้ ู ถู ก
กระทาเข้ าใจว่าผู้กระทามีอาวุธปื นหรื อวัตถุระเบิด ต้ องระวางโทษจาคุก
ตังแต่
้ เจ็ดปี ถึงยี่สิบปี และปรับตังแต่
้ หนึง่ แสนสี่หมื่นบาทถึงสี่แสนบาท
ถ้ า การกระท าความผิ ด ตามวรรคหนึ่ ง ได้ ก ระท าโดยมี อ าวุธ ปื น
หรื อ วัต ถุ ร ะเบิ ด หรื อโดยใช้ อาวุธ หรื อ โดยร่ ว มกระท าความผิ ดด้ ว ยกัน
อัน มีลัก ษณะเป็ นการโทรมหญิ งหรื อกระทากับชายในลัก ษณะเดีย วกัน
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สิบห้ าปี ถึงยี่สิบปี และปรั บตังแต่
้ สามแสนบาท
ถึงสี่แสนบาท หรื อจาคุกตลอดชีวิต
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง เป็ นกระทาความผิดระหว่าง

____________________________________
*มาตรา ๒๗๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบั บ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๔
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
131

คู่ส มรส และคู่ส มรสนัน้ ยังประสงค์ จ ะอยู่กิ น ด้ ว ยกัน ฉัน สามีภ ริ ย า ศาล
จะลงโทษน้ อยกว่าที่กฎหมายกาหนดไว้ เพียงใดก็ได้ หรื อจะกาหนดเงื่อนไข
เพื่ อคุมความประพฤติแทนการลงโทษก็ได้ ในกรณี ที่ ศาลมีคาพิ พากษา
ให้ ลงโทษจาคุก และคู่สมรสฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งไม่ประสงค์จะอยู่กินด้ วยกัน
ฉันสามีภริ ยาต่อไป และประสงค์จะหย่า ให้ คสู่ มรสฝ่ ายนันแจ้ ้ งให้ ศาลทราบ
และให้ ศาลแจ้ งพนักงานอัยการให้ ดาเนินการฟ้องหย่าให้

* มาตรา ๒๗๗ ผู้ใดกระทาชาเราเด็กอายุยังไม่เกิ นสิบห้ าปี ซึ่งมิใช่


ภริ ยาหรื อสามีของตน โดยเด็กนัน้ จะยินยอมหรื อไม่ก็ตาม ต้ องระวางโทษ
จาคุกตังแต่
้ ห้าปี ถึงยี่สิบปี และปรับตังแต่
้ หนึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท
ถ้ าการกระทาความผิ ดตามวรรคหนึ่ง เป็ นการกระทาแก่ เด็กอายุ
ยังไม่เกิ น สิบสามปี ต้ องระวางโทษจ าคุกตัง้ แต่เจ็ ดปี ถึงยี่ สิบ ปี และปรั บ
ตังแต่
้ หนึง่ แสนสี่หมื่นบาทถึงสี่แสนบาท หรื อจาคุกตลอดชีวิต
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งหรื อวรรคสอง ได้ กระทาโดย
ทาให้ ผ้ ูถูกกระทาเข้ าใจว่าผู้กระทามีอาวุธปื นหรื อวัตถุระเบิด ต้ องระวาง
โทษจาคุกตังแต่ ้ สิบปี ถึงยี่สิบปี และปรั บตังแต่
้ สองแสนบาทถึงสี่แสนบาท
หรื อจาคุกตลอดชีวิต
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งหรื อวรรคสอง ได้ กระทาโดย
มีอาวุธปื นหรื อวัตถุระเบิด หรื อโดยใช้ อาวุธ หรื อโดยร่ วมกระทาความผิ ด
ด้ วยกั น อั น มี ลั ก ษณะเป็ นการโทรมเด็ ก หญิ ง หรื อ กระท ากั บ เด็ ก ชาย
____________________________________
*มาตรา ๒๗๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบั บ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๕
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
132

ในลักษณะเดียวกัน ต้ องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต
ความผิดตามที่บญ ั ญัติไว้ ในวรรคหนึ่ง ถ้ าเป็ นการกระทาโดยบุคคล
อายุไม่เกินสิบแปดปี กระทาต่อเด็กซึง่ มีอายุกว่าสิบสามปี แต่ยงั ไม่เกินสิบห้ า
ปี โดยเด็กนัน้ ยินยอม ศาลที่มีอานาจพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครั ว
จะพิจารณาให้ มีการคุ้มครองสวัสดิภาพของเด็ก ผู้ถูกกระทาหรื อผู้กระทา
ความผิดตามกฎหมายว่าด้ วยการคุ้มครองเด็กแทนการลงโทษก็ได้ ในการ
พิ จ ารณาของศาล ให้ คานึง ถึ งอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติ ปั ญ ญา
การศึ ก ษาอบรม สุ ข ภาพ ภาวะแห่ ง จิ ต นิ สัย อาชี พ สิ่ ง แวดล้ อ มของ
ผู้ก ระท าความผิ ด และเด็ ก ผู้ ถู ก กระท า ความสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งผู้ กระท า
ความผิ ด กั บ เด็ ก ผู้ ถู ก กระท า หรื อเหตุ อื่ น อั น ควรเพื่ อ ประโยชน์ ข อง
เด็กผู้ถกู กระทาด้ วย
ในกรณีที่ได้ มีการดาเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพของเด็กผู้ถูกกระทา
หรื อผู้กระทาความผิดตามกฎหมายว่าด้ วยการคุ้มครองเด็กแล้ ว ผู้กระทา
ความผิ ดไม่ต้องรั บโทษ แต่ถ้าการคุ้มครองสวัส ดิภ าพดังกล่าวไม่สาเร็ จ
ศาลจะลงโทษผู้ก ระท าความผิ ด น้ อยกว่ า ที่ ก ฎหมายก าหนดไว้ ส าหรั บ
ความผิ ด นัน้ เพี ย งใดก็ ไ ด้ ในการพิ จารณาของศาล ให้ คานึงถึงเหตุตาม
วรรคห้ าด้ วย

* มาตรา ๒๗๗ ทวิ ถ้ าการกระท าความผิ ด ตามมาตรา ๒๗๖


วรรคหนึง่ หรื อมาตรา ๒๗๗ วรรคหนึง่ หรื อวรรคสอง เป็ นเหตุให้ ผ้ ถู ูกกระทา

____________________________________
*มาตรา ๒๗๗ ทวิ แก้ ไ ขโดย พ.ร.บ. แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบับ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๖
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
133

(๑) รั บอันตรายสาหัส ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตั ง้ แต่สิบห้ าปี


ถึงยี่สิบปี และปรับตังแต่
้ สามแสนบาทถึงสี่แสนบาท หรื อจาคุกตลอดชีวิต
(๒) ถึงแก่ความตาย ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชีวิต หรื อจาคุก
ตลอดชีวิต

* มาตรา ๒๗๗ ตรี ถ้ าการกระท าความผิ ด ตามมาตรา ๒๗๖


วรรคสาม หรื อมาตรา ๒๗๗ วรรคสี่ เป็ นเหตุให้ ผ้ ถู กู กระทา
(๑) รั บ อั น ตรายสาหั ส ผู้ กระท าต้ องระวางโทษประหารชี วิ ต
หรื อจาคุกตลอดชีวิต
(๒) ถึงแก่ความตาย ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชีวิต

** มาตรา ๒๗๘ ผู้ใดกระทาอนาจารแก่บุคคลอายุกว่าสิบห้ าปี โดย


ขู่เข็ญด้ วยประการใด ๆ โดยใช้ กาลังประทุษร้ าย โดยบุคคลนันอยู ้ ่ ในภาวะ
ที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรื อโดยทาให้ บุคคลนันเข้
้ าใจผิดว่าตนเป็ นบุคคลอื่น
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี หรื อปรั บไม่เกินสองแสนบาท หรื อทัง้ จา
ทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคหนึง่ เป็ นการกระทาโดยใช้ วตั ถุหรื อ
อวัยวะอื่นซึง่ มิใช่อวัยวะเพศล่วงล ้าอวัยวะเพศหรื อทวารหนักของบุคคลนัน้
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สี่ปีถึงยี่สิบปี และปรั บตังแต่
้ แปดหมื่น
____________________________________
*มาตรา ๒๗๗ ตรี แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบั บ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๗
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
**มาตรา ๒๗๘ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๑ และต่อมาเฉพาะ
มาตรา ๒๗๘ วรรคสองถึงวรรคสี่ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติ ม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๘
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
134

บาทถึงสี่แสนบาท
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคสอง ได้ กระทาโดยทาให้ ผ้ ถู กู กระทา
เข้ าใจว่าผู้กระท ามีอาวุธปื นหรื อวัตถุระเบิ ด ต้ องระวางโทษจ าคุกตัง้ แต่
เจ็ดปี ถึงยี่สิบปี และปรับตังแต่
้ หนึง่ แสนบาทสี่หมื่นบาทถึงสี่แสนบาท
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคสอง ได้ กระทาโดยมีอาวุธปื นหรื อ
วั ต ถุ ร ะเบิ ด หรื อ โดยใช้ อาวุ ธ หรื อโดยร่ ว มกระท าความผิ ด ด้ วยกั น
อัน มีลัก ษณะเป็ นการโทรมหญิ งหรื อกระทากับชายในลัก ษณะเดีย วกัน
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สิบห้ าปี ถึงยี่สิบปี และปรั บตังแต่
้ สามแสนบาท
ถึงสี่แสนบาท หรื อจาคุกตลอดชีวิต

* มาตรา ๒๗๙ ผู้ใ ดกระท าอนาจารแก่ เด็ก อายุยังไม่ เกิ น สิ บ ห้ า ปี


โดยเด็ ก นั น้ จะยิ น ยอมหรื อ ไม่ ก็ ต าม ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ไม่ เ กิ น สิ บ ปี
หรื อปรับไม่เกินสองแสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระทาความผิ ดตามวรรคหนึ่ง เป็ นการกระทาแก่ เด็กอายุ
ไม่เกินสิบสามปี ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ หนึ่งปี ถึงสิบปี หรื อปรั บตังแต่

สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระท าความผิ ด ตามวรรคหนึ่ ง หรื อ วรรคสอง ผู้ กระท า
ได้ กระทาโดยขู่เข็ญด้ วยประการใด ๆ โดยใช้ กาลังประทุษร้ าย โดยเด็กนัน้
อยู่ใ นภาวะที่ ไม่ส ามารถขัดขื น ได้ หรื อโดยท าให้ เด็ก นัน้ เข้ าใจผิ ดว่าตน
เป็ นบุคคลอื่น ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ หนึ่งปี ถึงสิบห้ าปี หรื อปรับตังแต่

____________________________________
*มาตรา ๒๗๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบั บ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๙
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
135

สองหมื่นบาทถึงสามแสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั


้ บ
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งหรื อวรรคสาม เป็ นการกระทา
โดยใช้ วั ต ถุ ห รื อ อวั ย วะอื่ น ซึ่ ง มิ ใ ช่ อ วั ย วะเพศล่ ว งล า้ อวั ย วะเพศหรื อ
ทวารหนักของเด็กนัน้ ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่ห้าปี ถึงยี่ สิบปี
และปรับตังแต่ ้ หนึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท
ถ้ า การกระท าความผิ ด ตามวรรคสี่ เป็ นการกระท าแก่ เ ด็ ก อายุ
ยังไม่เกิ น สิบสามปี ต้ องระวางโทษจ าคุกตัง้ แต่เจ็ ดปี ถึงยี่ สิบ ปี และปรั บ
ตังแต่
้ หนึง่ แสนสี่หมื่นบาทถึงสี่แสนบาท หรื อจาคุกตลอดชีวิต
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคสี่หรื อวรรคห้ า ได้ กระทาโดยทาให้
ผู้ถูก กระท าเข้ าใจว่าผู้ก ระทามีอาวุ ธปื นหรื อวัตถุระเบิ ด ต้ องระวางโทษ
จ าคุก ตัง้ แต่ สิ บ ปี ถึ ง ยี่ สิ บ ปี และปรั บ ตัง้ แต่ ส องแสนบาทถึ ง สี่ แ สนบาท
หรื อจาคุกตลอดชีวิต
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคสี่หรื อวรรคห้ า ได้ กระทาโดยมีอาวุธ
ปื นหรื อวัตถุระเบิด หรื อโดยใช้ อาวุธ หรื อโดยร่ วมกระทาความผิดด้ วยกัน
อัน มีลัก ษณะเป็ นการโทรมเด็ก หญิ งหรื อกระท ากับ เด็ก ชายในลัก ษณะ
เดียวกัน ต้ องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต

* มาตรา ๒๘๐ ถ้ าการกระทาความผิดตามมาตรา ๒๗๘ หรื อมาตรา


๒๗๙ เป็ นเหตุให้ ผ้ ถู กู กระทา
(๑) รั บอันตรายสาหัส ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่ห้าปี ถึง
____________________________________
*มาตรา ๒๘๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบั บ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๙
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
136

ยี่สิบปี และปรับตังแต่
้ หนึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท หรื อจาคุกตลอดชีวิต
(๒) ถึงแก่ความตาย ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชีวิต หรื อจาคุก
ตลอดชีวิต

* มาตรา ๒๘๐/๑ ถ้ า ผู้ก ระท าความผิ ด ตามมาตรา ๒๗๖ มาตรา


๒๗๗ มาตรา ๒๗๘ หรื อมาตรา ๒๗๙ ได้ บันทึกภาพหรื อเสียงการกระทา
ช าเราหรื อ การกระท าอนาจารนัน้ ไว้ เพื่ อแสวงหาประโยชน์ โ ดยมิ ช อบ
สาหรับตนเองหรื อผู้อื่น ต้ องระวางโทษหนักกว่าที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรานัน้ ๆ
หนึง่ ในสาม
ถ้ าผู้กระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง เผยแพร่ หรื อส่งต่อซึ่งภาพหรื อ
เสียงการกระทาชาเราหรื อการกระทาอนาจารที่ บันทึกไว้ ต้ องระวางโทษ
หนักกว่าที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรานัน้ ๆ กึง่ หนึง่

** มาตรา ๒๘๑ ความผิ ด ตามมาตราดั ง ต่ อ ไปนี ้ เป็ นความผิ ด


อันยอมความได้
(๑) มาตรา ๒๗๖ วรรคหนึง่ และมาตรา ๒๗๘ วรรคสอง ซึง่ เป็ นการ
กระท าระหว่างคู่ส มรส ถ้ ามิได้ เกิ ดต่อหน้ าธารก านัล หรื อไม่เป็ นเหตุใ ห้
ผู้ถกู กระทารับอันตรายสาหัสหรื อถึงแก่ความตาย
(๒) มาตรา ๒๗๘ วรรคหนึ่ ง ถ้ ามิ ไ ด้ เกิ ด ต่ อ หน้ าธารก านั ล
____________________________________
*มาตรา ๒๘๐/๑ เพิ่ ม เติ ม โดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบับ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๐
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
**มาตรา ๒๘๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบั บ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๑
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
137

ไม่ เ ป็ นเหตุใ ห้ ผู้ ถู ก กระท ารั บ อัน ตรายสาหั ส หรื อ ถึ ง แก่ ค วามตาย หรื อ
มิได้ เป็ นการกระทาแก่บคุ คลดังระบุไว้ ในมาตรา ๒๘๕ และมาตรา ๒๘๕/๒

* มาตรา ๒๘๒ ผู้ใดเพื่อสนองความใคร่ ของผู้อื่น เป็ นธุระจัดหา ล่อไป


หรื อ พาไปเพื่ อ การอนาจารซึ่ง ชายหรื อ หญิ ง แม้ ผ้ ู นัน้ จะยิ น ยอมก็ ต าม
ต้ องระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่ห นึ่งปี ถึงสิ บ ปี และปรั บ ตัง้ แต่ส องหมื่น บาท
ถึงสองแสนบาท
ถ้ า การกระท าความผิ ด ตามวรรคแรกเป็ นการกระท าแก่ บุ ค คล
อายุเกินสิบห้ าปี แต่ยงั ไม่เกินสิบแปดปี ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้
สามปี ถึงสิบห้ าปี และปรับตังแต่ ้ หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท
ถ้ าการกระท าความผิ ดตามวรรคแรกเป็ นการกระท าแก่ เด็ก อายุ
ยั ง ไม่ เ กิ น สิ บ ห้ าปี ผู้ กระท าต้ อ งระวางโทษจ าคุ ก ตัง้ แต่ ห้ าปี ถึ ง ยี่ สิ บ ปี
และปรับตังแต่ ้ หนึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท
ผู้ใดเพื่ อสนองความใคร่ ของผู้อื่น รั บ ตัวบุค คลซึ่งมีผ้ ูจัดหา ล่อไป
หรื อพาไปตามวรรคแรก วรรคสอง หรื อวรรคสาม หรื อสนับสนุน ในการ
กระท าความผิ ด ดัง กล่ าว ต้ อ งระวางโทษตามที่ บัญ ญั ติ ไ ว้ ใ นวรรคแรก
วรรคสอง หรื อวรรคสาม แล้ วแต่กรณี

* มาตรา ๒๘๓ ผู้ ใ ดเพื่ อ สนองความใคร่ ข องผู้ อื่ น เป็ นธุ ร ะจัด หา
ล่อไป หรื อพาไปเพื่อการอนาจารซึง่ ชายหรื อหญิง โดยใช้ อุบายหลอกลวง
ขู่เข็ ญ ใช้ ก าลัง ประทุษร้ าย ใช้ อานาจครอบงาผิ ดคลองธรรม หรื อใช้ วิธี
____________________________________
*มาตรา ๒๘๒ และมาตรา ๒๘๓ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๒
138

ข่ ม ขื น ใจด้ ว ยประการอื่ น ใด ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่ ห้ า ปี ถึ ง ยี่ สิ บ ปี


และปรับตังแต่ ้ หนึง่ แสนบาทถึงสี่แสนบาท
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคแรกเป็ นการกระทาแก่บุคคลอายุ
เกินสิบห้ าปี แต่ยงั ไม่เกินสิบแปดปี ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ เจ็ดปี
ถึง ยี่ สิ บ ปี และปรั บ ตัง้ แต่ห นึ่ง แสนสี่ ห มื่น บาทถึ งสี่ แ สนบาท หรื อจ าคุก
ตลอดชีวิต
ถ้ าการกระท าความผิ ดตามวรรคแรกเป็ นการกระท าแก่ เด็ก อายุ
ยัง ไม่ เ กิ น สิ บ ห้ าปี ผู้ กระท าต้ อ งระวางโทษจ าคุ ก ตัง้ แต่ สิ บ ปี ถึ ง ยี่ สิ บ ปี
และปรั บ ตัง้ แต่ ส องแสนบาทถึ ง สี่ แ สนบาท หรื อ จ าคุก ตลอดชี วิ ต หรื อ
ประหารชีวิต
ผู้ใดเพื่ อสนองความใคร่ ของผู้อื่น รั บ ตัวบุคคลซึ่งมีผ้ ูจัดหา ล่อไป
หรื อพาไปตามวรรคแรก วรรคสอง หรื อวรรคสาม หรื อสนับสนุน ในการ
กระท าความผิ ด ดัง กล่ าว ต้ อ งระวางโทษตามที่ บัญ ญั ติ ไ ว้ ใ นวรรคแรก
วรรคสอง หรื อวรรคสาม แล้ วแต่กรณี

* มาตรา ๒๘๓ ทวิ ผู้ ใ ดพาบุ ค คลอายุ เ กิ น สิ บ ห้ าปี แต่ ยั ง ไม่ เ กิ น


สิบ แปดปี ไปเพื่ อการอนาจาร แม้ ผ้ ูนัน้ จะยิ น ยอมก็ ตาม ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระท าความผิ ดตามวรรคแรกเป็ นการกระท าแก่ เด็ก อายุ
ยังไม่เกินสิบห้ าปี ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี หรื อปรับไม่เกิน
หนึง่ แสนสี่หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
____________________________________
*มาตรา ๒๘๓ ทวิ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๒
139

ผู้ ใดซ่ อ นเร้ นบุ ค คลซึ่ ง ถู ก พาไปตามวรรคแรกหรื อวรรคสอง


ต้ องระวางโทษตามที่บญ ั ญัติในวรรคแรกหรื อวรรคสอง แล้ วแต่กรณี
ความผิดตามวรรคแรกและวรรคสามเฉพาะกรณีที่กระทาแก่บุคคล
อายุเกินสิบห้ าปี เป็ นความผิดอันยอมความได้

* มาตรา ๒๘๔ ผู้ ใดพาผู้ อื่ น ไปเพื่ อ การอนาจาร โดยใช้ อุ บ าย


หลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้ กาลังประทุษร้ าย ใช้ อานาจครอบงาผิดคลองธรรม หรื อ
ใช้ วิธีข่มขืนใจด้ วยประการอื่นใด ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ หนึ่งปี ถึงสิบปี
และปรับตังแต่ ้ สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
ผู้ ใดซ่ อ นเร้ นบุ ค คลซึ่ ง ถู ก พาไปตามวรรคแรก ต้ อ งระวางโทษ
เช่นเดียวกับผู้พาไปนัน้
ความผิดตามมาตรานี ้ เป็ นความผิดอันยอมความได้

* มาตรา ๒๘๕ ถ้ า การกระท าความผิ ดตามมาตรา ๒๗๖ มาตรา


๒๗๗ มาตรา ๒๗๗ ทวิ มาตรา ๒๗๗ ตรี มาตรา ๒๗๘ มาตรา ๒๗๙
มาตรา ๒๘๐ มาตรา ๒๘๒ หรื อมาตรา ๒๘๓ เป็ นการกระทาแก่บุพการี
ผู้ สื บ สั น ดาน พี่ น้ องร่ วมบิ ด ามารดาหรื อร่ วมแต่ บิ ด าหรื อมารดา
ญาติสืบสายโลหิต ศิษย์ซงึ่ อยู่ในความดูแล ผู้อยู่ในความควบคุมตามหน้ าที่
ราชการ ผู้อยู่ในความปกครอง ในความพิทักษ์ หรื อในความอนุบาล หรื อ
ผู้อยู่ภายใต้ อานาจด้ วยประการอื่น ใด ผู้ก ระท าต้ องระวางโทษหนัก กว่า
____________________________________
*มาตรา ๒๘๔ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๒
**มาตรา ๒๘๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบั บ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๒
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
140

ที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรานัน้ ๆ หนึง่ ในสาม

* มาตรา ๒๘๕/๑ การกระท าความผิ ดตามมาตรา ๒๗๗ มาตรา


๒๗๙ มาตรา ๒๘๒ วรรคสาม มาตรา ๒๘๓ วรรคสาม และมาตรา
๒๘๓ ทวิ วรรคสอง หากเป็ นการกระท าต่ อ เด็ ก อายุ ไ ม่ เ กิ น สิ บ สามปี
ห้ ามอ้ างความไม่ร้ ู อายุของเด็กเพื่อให้ พ้นจากความผิดนัน้

** มาตรา ๒๘๕/๒ ถ้ าการกระทาความผิ ดตามมาตรา ๒๗๖ มาตรา


๒๗๗ มาตรา ๒๗๗ ทวิ มาตรา ๒๗๗ ตรี มาตรา ๒๗๘ หรื อมาตรา ๒๗๙
เป็ นการกระทาแก่บุคคลซึ่งไม่สามารถปกป้องตนเองอันเนื่ องมาจากเป็ น
ผู้ทุพพลภาพ ผู้มีจิตบกพร่ อง โรคจิต หรื อจิตฟั่ นเฟื อน คนป่ วยเจ็บ คนชรา
สตรี มีครรภ์ หรื อผู้ซึ่งอยู่ในภาวะไม่สามารถรู้ ผิดชอบ ผู้กระทาต้ องระวาง
โทษหนักกว่าที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรานัน้ ๆ หนึง่ ในสาม

***มาตรา ๒๘๖ ผู้ใดกระทาด้ วยประการใด ๆ ดังต่อไปนี ้ ต้ องระวาง


โทษจาคุกไม่เกินยี่สิบปี และปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรื อจาคุกตลอดชีวิต
(๑) ช่ ว ยเหลื อ ให้ ความสะดวก หรื อ คุ้ ม ครองการค้ า ประเวณี
ของผู้อื่น
____________________________________
*มาตรา ๒๘๕/๑ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔
**มาตรา ๒๘๕/๒ เพิ่ ม เติ ม โดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบับ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๓
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
***มาตรา ๒๘๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบั บ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๔
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
141

(๒) รั บประโยชน์ ไม่ว่ารู ปแบบใดจากการค้ าประเวณี ของผู้อื่นหรื อ


จากผู้ซงึ่ ค้ าประเวณี
(๓) บังคับ ขู่เข็ญ หลอกลวง หรื อใช้ อานาจครอบงาผู้อื่น หรื อรับผู้อื่น
เข้ าทางานเพื่อการค้ าประเวณี
(๔) จัดให้ มีการค้ าประเวณีระหว่างผู้ซงึ่ ค้ าประเวณีกบั ผู้ใช้ บริ การ
(๕) ปกปิ ดหรื ออาพรางแหล่งที่มาของรายได้ หรื อทรัพย์สินซึง่ ได้ มา
จากการค้ าประเวณี
(๖) อยู่ ร่ ว มกั บ ผู้ ซึ่ ง ค้ า ประเวณี ห รื อ สมาคมกั บ ผู้ ซึ่ ง ค้ า ประเวณี
คนเดี ย วหรื อหลายคนเป็ นอาจิ ณ และไม่ส ามารถแสดงที่ มาของรายได้
ในการดารงชีพของตน
(๗) ขัด ขวางการดาเนิ น การของหน่ ว ยงานที่ ดูแ ลในการป้ องกัน
ควบคุม ช่วยเหลื อ หรื อให้ ก ารศึก ษาแก่ ผ้ ูซึ่งค้ าประเวณี ผู้ซึ่งจะเข้ าร่ วม
ในการค้ าประเวณี หรื อผู้ซงึ่ อาจได้ รับอันตรายจากการค้ าประเวณี
ความในวรรคหนึ่ง (๒) และ (๖) มิ ใ ห้ ใ ช้ บัง คับ แก่ ผ้ ูรั บ ประโยชน์
ไม่วา่ รู ปแบบใด ซึง่ พึงได้ รับตามกฎหมายหรื อตามธรรมจรรยา

* มาตรา ๒๘๗ ผู้ใด


(๑) เพื่อความประสงค์แห่งการค้ า หรื อโดยการค้ า เพื่อการแจกจ่าย
หรื อเพื่อการแสดงอวดแก่ประชาชน ทา ผลิต มี ไว้ นาเข้ าหรื อยังให้ นาเข้ า
ในราชอาณาจักร ส่งออกหรื อยังให้ สง่ ออกไปนอกราชอาณาจักร พาไปหรื อ
ยังให้ พาไป หรื อทาให้ แพร่ หลายโดยประการใด ๆ ซึ่งเอกสาร ภาพเขี ยน
____________________________________
*มาตรา ๒๘๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐
142

ภาพพิมพ์ ภาพระบายสี สิ่งพิมพ์ รู ปภาพ ภาพโฆษณา เครื่ องหมาย รู ปถ่าย


ภาพยนตร์ แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพหรื อสิ่งอื่นใดอันลามก
(๒) ประกอบการค้ า หรื อมีส่วนหรื อเข้ าเกี่ยวข้ องในการค้ าเกี่ยวกับ
วัตถุหรื อสิ่งของลามกดังกล่าวแล้ ว จ่ายแจกหรื อแสดงอวดแก่ประชาชน
หรื อให้ เช่าวัตถุหรื อสิ่งของเช่นว่านัน้
(๓) เพื่ อจะช่วยการท าให้ แ พร่ ห ลาย หรื อการค้ าวัตถุห รื อสิ่งของ
ลามกดังกล่าวแล้ ว โฆษณาหรื อไขข่าวโดยประการใด ๆ ว่ามีบุคคลกระทา
การอัน เป็ นความผิ ดตามมาตรานี ้ หรื อ โฆษณาหรื อไขข่ าวว่าวัตถุ หรื อ
สิ่งของลามกดังกล่าวแล้ วจะหาได้ จากบุคคลใด หรื อโดยวิธีใด
ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่เกิ น สามปี หรื อ ปรั บ ไม่เ กิ น หกหมื่น บาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๘๗/๑ ผู้ใดครอบครองสื่อลามกอนาจารเด็ก เพื่อแสวงหา


ประโยชน์ ในทางเพศสาหรั บตนเองหรื อผู้อื่น ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ น
ห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าผู้กระทาความผิ ดตามวรรคหนึ่งส่งต่อซึ่งสื่อลามกอนาจารเด็ก
แก่ผ้ อู ื่น ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งแสนสี่หมื่น
บาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๘๗/๒ ผู้ใด


(๑) เพื่อความประสงค์แห่งการค้ า หรื อโดยการค้ า เพื่อการแจกจ่าย
____________________________________
*มาตรา ๒๘๗/๑ และมาตรา ๒๘๗/๒ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔
143

หรื อเพื่อการแสดงอวดแก่ประชาชน ทา ผลิต มีไว้ นาเข้ าหรื อยังให้ นาเข้ า


ในราชอาณาจักร ส่งออกหรื อยังให้ สง่ ออกไปนอกราชอาณาจักร พาไปหรื อ
ยังให้ พาไป หรื อทาให้ แพร่ หลายโดยประการใด ๆ ซึง่ สื่อลามกอนาจารเด็ก
(๒) ประกอบการค้ า หรื อมีส่วนหรื อเข้ าเกี่ยวข้ องในการค้ าเกี่ยวกับ
สื่ อ ลามกอนาจารเด็ก จ่ า ยแจกหรื อแสดงอวดแก่ ป ระชาชนหรื อ ให้ เ ช่ า
สื่อลามกอนาจารเด็ก
(๓) เพื่ อจะช่วยการทาให้ แพร่ หลาย หรื อการค้ าสื่อลามกอนาจาร
เด็กแล้ ว โฆษณาหรื อไขข่าวโดยประการใด ๆ ว่ามีบุคคลกระทาการอันเป็ น
ความผิ ด ตามมาตรานี ้ หรื อโฆษณาหรื อไขข่าวว่าสื่ อลามกอนาจารเด็ก
ดังกล่าวแล้ วจะหาได้ จากบุคคลใด หรื อโดยวิธีใด
ต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่ส ามปี ถึงสิบ ปี และปรั บ ตัง้ แต่ห กหมื่น
บาทถึงสองแสนบาท
144

ลักษณะ ๑๐
ความผิดเกี่ยวกับชีวติ และร่ างกาย
หมวด ๑
ความผิดต่ อชีวิต
มาตรา ๒๘๘ ผู้ ใดฆ่ า ผู้ อื่ น ต้ อ งระวางโทษประหารชี วิ ต จ าคุ ก
ตลอดชีวิต หรื อจาคุกตังแต่
้ สิบห้ าปี ถึงยี่สิบปี

มาตรา ๒๘๙ ผู้ใด


(๑) ฆ่าบุพการี
(๒) ฆ่าเจ้ าพนักงาน ซึง่ กระทาการตามหน้ าที่ หรื อเพราะเหตุที่จะ
กระทา หรื อได้ กระทาการตามหน้ าที่
(๓) ฆ่าผู้ช่วยเหลื อเจ้ าพนักงาน ในการที่ เจ้ าพนักงานนัน้ กระท า
ตามหน้ า ที่ หรื อ เพราะเหตุที่ บุ ค คลนัน้ จะช่ ว ยหรื อ ได้ ช่ ว ยเจ้ า พนัก งาน
ดังกล่าวแล้ ว
(๔) ฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ ตรองไว้ ก่อน
(๕) ฆ่าผู้อื่นโดยทรมานหรื อโดยกระทาทารุ ณโหดร้ าย
(๖) ฆ่าผู้อื่นเพื่อตระเตรี ยมการ หรื อเพื่อความสะดวกในการที่จะ
กระทาความผิดอย่างอื่น หรื อ
(๗) ฆ่าผู้อื่นเพื่อจะเอาหรื อเอาไว้ ซงึ่ ผลประโยชน์อนั เกิดแต่การที่ตน
ได้ กระทาความผิ ดอื่น เพื่ อปกปิ ดความผิ ดอื่นของตน หรื อเพื่ อหลีกเลี่ยง
ให้ พ้นอาญาในความผิดอื่นที่ตนได้ กระทาไว้
ต้ องระวางโทษประหารชีวิต
145

มาตรา ๒๙๐ ผู้ใดมิไ ด้ มีเจตนาฆ่า แต่ทาร้ ายผู้อื่น จนเป็ นเหตุใ ห้


ผู้นนถึ
ั ้ งแก่ความตาย ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ สามปี ถึงสิบห้ าปี
ถ้ าความผิ ด นัน้ มีลัก ษณะประการหนึ่งประการใดดังที่ บัญ ญัติไ ว้
ในมาตรา ๒๘๙ ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สามปี ถึงยี่สิบปี

* มาตรา ๒๙๑ ผู้ใดกระทาโดยประมาท และการกระทานัน้ เป็ นเหตุ


ให้ ผ้ ูอื่นถึงแก่ความตาย ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี และปรั บไม่เกิน
สองแสนบาท

* มาตรา ๒๙๒ ผู้ใดกระทาด้ วยการปฏิบัติอนั ทารุ ณ หรื อด้ วยปั จจัย


คล้ า ยคลึง กัน แก่ บุ ค คลซึ่ง ต้ อ งพึ่ง ตน ในการด ารงชี พ หรื อ ในการอื่ น ใด
เพื่ อ ให้ บุค คลนัน้ ฆ่ า ตนเอง ถ้ า การฆ่ า ตนเองนัน้ ได้ เ กิ ด ขึน้ หรื อได้ มี ก าร
พยายามฆ่ า ตนเอง ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่ เกิ น เจ็ ด ปี และปรั บไม่เ กิ น
หนึง่ แสนสี่หมื่นบาท

* มาตรา ๒๙๓ ผู้ใดช่วยหรื อยุยงเด็กอายุยงั ไม่เกินสิบหกปี หรื อผู้ซึ่ง


ไม่สามารถเข้ าใจว่าการกระทาของตนมีส ภาพหรื อสาระส าคัญ อย่ างไร
หรื อไม่สามารถบังคับการกระทาของตนได้ ให้ ฆ่าตนเอง ถ้ าการฆ่าตนเอง
นัน้ ได้ เกิดขึน้ หรื อได้ มีการพยายามฆ่าตนเอง ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ น
ห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

____________________________________
*มาตรา ๒๙๑ ถึงมาตรา ๒๙๓ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
146

* มาตรา ๒๙๔ ผู้ใดเข้ าร่ วมในการชุลมุนต่อสู้ระหว่างบุคคลตัง้ แต่


สามคนขึน้ ไป และบุคคลหนึ่งบุคคลใดไม่ว่าจะเป็ นผู้ที่เข้ าร่ วมในการนัน้
หรื อไม่ ถึงแก่ความตายโดยการกระทาในการชุลมุนต่อสู้นนั ้ ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าผู้ที่เข้ าร่ วมในการชุลมุนต่อสู้นนแสดงได้
ั้ ว่า ได้ กระทาไปเพื่อห้ าม
การชุล มุน ต่อสู้นัน้ หรื อเพื่ อ ป้ องกัน โดยชอบด้ วยกฎหมาย ผู้นัน้ ไม่ต้อ ง
รับโทษ

____________________________________
*มาตรา ๒๙๔ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
147

หมวด ๒
ความผิดต่ อร่ างกาย

* มาตรา ๒๙๕ ผู้ใดทาร้ ายผู้อื่นจนเป็ นเหตุให้ เกิ ดอันตรายแก่กาย


หรื อจิตใจของผู้อื่นนัน้ ผู้นนกระท
ั้ าความผิดฐานทาร้ ายร่ างกาย ต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๙๖ ผู้ใดกระทาความผิดฐานทาร้ ายร่ างกาย ถ้ าความผิด


นัน้ มี ลัก ษณะประการหนึ่ ง ประการใดดัง ที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ นมาตรา ๒๘๙
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ า
ทังปรั
้ บ

* มาตรา ๒๙๗ ผู้ใดกระทาความผิดฐานทาร้ ายร่ างกาย จนเป็ นเหตุ


ให้ ผ้ ูถูกกระทาร้ ายรั บอันตรายสาหัส ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ หกเดือน
ถึงสิบปี และปรับตังแต่ ้ หนึง่ หมื่นบาทถึงสองแสนบาท
อันตรายสาหัสนัน้ คือ
(๑) ตาบอด หูหนวก ลิ ้นขาด หรื อเสียฆานประสาท
(๒) เสียอวัยวะสืบพันธุ์หรื อความสามารถสืบพันธุ์
(๓) เสียแขน ขา มือ เท้ า นิ ้วหรื ออวัยวะอื่นใด
(๔) หน้ าเสียโฉมอย่างติดตัว
(๕) แท้ งลูก
____________________________________
*มาตรา ๒๙๕ ถึงมาตรา ๒๙๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
148

(๖) จิตพิการอย่างติดตัว
(๗) ทุพพลภาพ หรื อป่ วยเจ็บเรื อ้ รังซึง่ อาจถึงตลอดชีวิต
(๘) ทุ พ พลภาพ หรื อ ป่ วยเจ็ บ ด้ ว ยอาการทุ ก ขเวทนาเกิ น กว่ า
ยี่สิบวัน หรื อจนประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้ เกินกว่ายี่สิบวัน

* มาตรา ๒๙๘ ผู้ใดกระทาความผิดตามมาตรา ๒๙๗ ถ้ าความผิ ด


นัน้ มี ลัก ษณะประการหนึ่ ง ประการใดดัง ที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ นมาตรา ๒๘๙
ต้ องระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่ ส องปี ถึ งสิ บ ปี และปรั บ ตัง้ แต่สี่ ห มื่น บาทถึ ง
สองแสนบาท

* มาตรา ๒๙๙ ผู้ใดเข้ าร่ วมในการชุลมุนต่อสู้ระหว่างบุคคลตัง้ แต่


สามคนขึน้ ไป และบุคคลหนึ่งบุคคลใดไม่ว่าจะเป็ นผู้ที่เข้ าร่ วมในการนัน้
หรื อไม่รับอันตรายสาหัส โดยการกระทาในการชุลมุนต่อสู้นนั ้ ต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าผู้ที่เข้ าร่ วมในการชุลมุนต่อสู้นนแสดงได้
ั้ ว่า ได้ กระทาไปเพื่อห้ าม
การชุล มุน ต่อสู้นัน้ หรื อเพื่ อ ป้ องกัน โดยชอบด้ วยกฎหมาย ผู้นัน้ ไม่ต้อ ง
รับโทษ

* มาตรา ๓๐๐ ผู้ใดกระทาโดยประมาท และการกระทานันเป็ ้ นเหตุให้


ผู้อื่นรั บอันตรายสาหัส ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บไม่เกิน
หกหมื่นบาท หรื อทังจ้ าทังปรั
้ บ
____________________________________
*มาตรา ๒๙๘ ถึงมาตรา ๓๐๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
149

หมวด ๓
ความผิดฐานทาให้ แท้ งลูก
* มาตรา ๓๐๑ หญิ งใดทาให้ ตนเองแท้ งลูกหรื อยอมให้ ผ้ อู ื่นทาให้ ตน
แท้ งลูก ขณะมีอายุครรภ์ เกิ นสิบสองสัปดาห์ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ น
หกเดือน หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
** มาตรา ๓๐๒ ผู้ใดทาให้ หญิงแท้ งลูกโดยหญิงนันยิ ้ นยอม ต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระท านัน้ เป็ นเหตุใ ห้ ห ญิ งรั บ อัน ตรายสาหัส อย่ างอื่น ด้ วย
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งแสนสี่หมื่น
บาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระท านั น้ เป็ นเหตุ ใ ห้ หญิ ง ถึ ง แก่ ค วามตาย ผู้ กระท า
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
** มาตรา ๓๐๓ ผู้ ใดท าให้ หญิ ง แท้ งลู ก โดยหญิ ง นั น้ ไม่ ยิ น ยอม
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่หมื่นบาท หรื อ
ทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระท านัน้ เป็ นเหตุใ ห้ ห ญิ งรั บ อัน ตรายสาหัส อย่ างอื่น ด้ วย
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ หนึ่งปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่ ้ สองหมื่น
บาทถึงสองแสนบาท
ถ้ าการกระท านัน้ เป็ นเหตุใ ห้ ห ญิ ง ถึง แก่ ค วามตาย ผู้ก ระท าต้ อง
ระวางโทษจ าคุ ก ตั ง้ แต่ ห้ าปี ถึ ง ยี่ สิ บ ปี และปรั บ ตั ง้ แต่ ห นึ่ ง แสนบาท
ถึงสี่แสนบาท
____________________________________
*มาตรา ๓๐๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๘) พ.ศ. ๒๕๖๔ มาตรา ๓ ใช้ บงั คับตัง้ แต่
วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ (ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔)
**มาตรา ๓๐๒ และมาตรา ๓๐๓ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
150

มาตรา ๓๐๔ ผู้ใ ดเพี ย งแต่พ ยายามกระท าความผิ ดตามมาตรา


๓๐๑ หรื อมาตรา ๓๐๒ วรรคแรก ผู้นนไม่
ั ้ ต้องรับโทษ

* มาตรา ๓๐๕ ถ้ าการกระทาความผิดตามมาตรา ๓๐๑ หรื อมาตรา


๓๐๒ เป็ นการกระทาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมและตามหลักเกณฑ์
ของแพทยสภาในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ผู้กระทาไม่มีความผิด
(๑) จาเป็ นต้ องกระทาเนื่องจากหากหญิงตังครรภ์ ้ ต่อไปจะเสี่ยงต่อ
การได้ รับอันตรายต่อสุขภาพทางกายหรื อจิตใจของหญิ งนัน้
(๒) จ าเป็ นต้ องกระท าเนื่ อ งจากมี ค วามเสี่ ย งอย่ า งมากหรื อ
มี เ หตุ ผ ลทางการแพทย์ อัน ควรเชื่ อ ได้ ว่ า หากทารกคลอดออกมาจะมี
ความผิดปกติถงึ ขนาดทุพพลภาพอย่างร้ ายแรง
(๓) หญิ ง ยื น ยั น ต่ อ ผู้ ประกอบวิ ช าชี พ เวชกรรมว่ า ตนมี ค รรภ์
เนื่องจากมีการกระทาความผิดเกี่ยวกับเพศ
(๔) หญิ งซึ่ง มีอายุครรภ์ ไม่เกิ นสิบ สองสัป ดาห์ ยืน ยันที่ จะยุติการ
ตังครรภ์

(๕) หญิงซึง่ มีอายุครรภ์เกินสิบสองสัปดาห์ แต่ไม่เกินยี่สิบสัปดาห์
ยืนยันที่จะยุติการตัง้ ครรภ์ ภายหลังการตรวจและรั บคาปรึ กษาทางเลือก
จากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมและผู้ประกอบวิชาชีพอื่นตามหลักเกณฑ์
และวิ ธี ก ารที่ รั ฐ มนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประกาศก าหนดโดย
คาแนะนาของแพทยสภาและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้ องตามกฎหมายว่าด้ วย
การป้องกันและแก้ ไขปั ญหาการตังครรภ์ ้ ในวัยรุ่ น
____________________________________
*มาตรา ๓๐๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๘) พ.ศ. ๒๕๖๔ มาตรา ๔ ใช้ บงั คับตัง้ แต่
วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ (ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔)
151

หมวด ๔
ความผิดฐานทอดทิง้ เด็ก คนป่ วยเจ็บหรื อคนชรา

* มาตรา ๓๐๖ ผู้ใดทอดทิ ง้ เด็ก อายุยังไม่เกิ นเก้ าปี ไว้ ณ ที่ ใ ด เพื่ อ
ให้ เด็กนัน้ พ้ นไปเสี ยจากตน โดยประการที่ ทาให้ เด็ก นัน้ ปราศจากผู้ดูแ ล
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ า
ทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๐๗ ผู้ใดมีหน้ าที่ตามกฎหมายหรื อตามสัญญา ต้ องดูแล


ผู้ซึ่ง พึ่ ง ตนเองมิ ไ ด้ เพราะอายุ ความป่ วยเจ็ บ กายพิ ก ารหรื อ จิ ต พิ การ
ทอดทิ ง้ ผู้ ซึ่ ง พึ่ ง ตนเองมิ ไ ด้ นัน้ เสี ย โดยประการที่ น่ า จะเป็ นเหตุ ใ ห้ เกิ ด
อันตรายแก่ชีวิต ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่น
บาท หรื อทังจ ้ าทังปรั้ บ

มาตรา ๓๐๘ ถ้ าการกระทาความผิดตามมาตรา ๓๐๖ หรื อมาตรา


๓๐๗ เป็ นเหตุ ใ ห้ ผู้ ถู ก ทอดทิ ง้ ถึ ง แก่ ค วามตายหรื อ รั บ อัน ตรายสาหั ส
ผู้กระทาต้ องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๙๐ มาตรา ๒๙๗ หรื อ
มาตรา ๒๙๘ นัน้

____________________________________
*มาตรา ๓๐๖ และมาตรา ๓๐๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
152

ลักษณะ ๑๑
ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง
หมวด ๑
ความผิดต่ อเสรี ภาพ

* มาตรา ๓๐๙ ผู้ใดข่มขื นใจผู้อื่นให้ กระทาการใด ไม่กระทาการใด


หรื อจ ายอมต่อสิ่ ง ใด โดยท าให้ ก ลัว ว่าจะเกิ ด อัน ตรายต่ อชี วิ ต ร่ า งกาย
เสรี ภ าพ ชื่ อ เสี ย งหรื อ ทรั พ ย์ สิ น ของผู้ ถู ก ข่ ม ขื น ใจนั น้ เองหรื อ ของผู้ อื่ น
หรื อโดยใช้ กาลังประทุษร้ ายจนผู้ถูกข่มขืนใจต้ องกระทาการนัน้ ไม่กระทา
การนัน้ หรื อจายอมต่อสิ่งนัน้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บ
ไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าความผิดตามวรรคแรกได้ กระทาโดยมีอาวุธ หรื อโดยร่ วมกระทา
ความผิ ด ด้ วยกัน ตัง้ แต่ ห้ า คนขึ น้ ไป หรื อได้ ก ระท าเพื่ อให้ ผ้ ูถู ก ข่ ม ขื น ใจ
ท า ถอน ท าให้ เสี ย หาย หรื อ ท าลายเอกสารสิ ท ธิ อ ย่ า งใด ผู้ กระท า
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทัง้ จา
ทังปรั
้ บ
ถ้ ากระทาโดยอ้ างอานาจอังยี ้ ่หรื อซ่องโจร ไม่ว่าอังยี ้ ่หรื อซ่องโจรนัน้
จะมีอยู่ห รื อ ไม่ ผู้ก ระท าต้ องระวางโทษจาคุก ตัง้ แต่ห นึ่งปี ถึงเจ็ ดปี และ
ปรับตังแต่
้ สองหมื่นบาทถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท

____________________________________
*มาตรา ๓๐๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
153

* มาตรา ๓๑๐ ผู้ ใ ดหน่ ว งเหนี่ ย วหรื อ กัก ขังผู้ อื่ น หรื อ กระท าด้ ว ย
ประการใดให้ ผ้ ูอื่ น ปราศจากเสรี ภ าพในร่ า งกาย ต้ องระวางโทษจ าคุก
ไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคแรก เป็ นเหตุให้ ผ้ ูถูกหน่วงเหนี่ยว
ถูกกักขัง หรื อต้ องปราศจากเสรี ภาพในร่ างกายนัน้ ถึงแก่ ความตาย หรื อ
รั บอันตรายสาหัส ผู้กระทาต้ องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๙๐
มาตรา ๒๙๗ หรื อมาตรา ๒๙๘ นัน้

** มาตรา ๓๑๐ ทวิ ผู้ ใ ดหน่ ว งเหนี่ ย วหรื อ กัก ขัง ผู้อื่ น หรื อ กระท า
ด้ วยประการใดให้ ผ้ อู ื่นปราศจากเสรี ภาพในร่ างกาย และให้ ผ้ อู ื่นนันกระท
้ า
การใดให้ แก่ ผ้ ู กระท าหรื อ บุ ค คลอื่ น ต้ อ งระวางโทษจ าคุ ก ไม่ เ กิ น ห้ าปี
และปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท

***มาตรา ๓๑๑ ผู้ใดกระทาโดยประมาท และการกระทานัน้ เป็ นเหตุ


ให้ ผ้ ูอื่น ถูก หน่วงเหนี่ ยว ถูก กักขังหรื อต้ องปราศจากเสรี ภ าพในร่ างกาย
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทังจ ้ า
ทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคแรก เป็ นเหตุให้ ผ้ ูถูกหน่วงเหนี่ยว
ถูกกักขัง หรื อต้ องปราศจากเสรี ภ าพในร่ างกายนัน้ ถึงแก่ความตายหรื อ

____________________________________
*มาตรา ๓๑๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๓๑๐ ทวิ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๔
***มาตรา ๓๑๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
154

รั บอันตรายสาหัส ผู้กระทาต้ องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๙๑


หรื อมาตรา ๓๐๐

* มาตรา ๓๑๒ ผู้ ใดเพื่ อ จะเอาคนลงเป็ นทาส หรื อให้ มี ฐ านะ


คล้ ายทาส นาเข้ าในหรื อส่งออกไปนอกราชอาณาจักร พามาจากที่ใด ซื ้อ
ขาย จาหน่าย รั บหรื อหน่วงเหนี่ยวซึง่ บุคคลหนึ่งบุคคลใด ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท

** มาตรา ๓๑๒ ทวิ ถ้ าการกระทาความผิดตามมาตรา ๓๑๐ ทวิ หรื อ


มาตรา ๓๑๒ เป็ นการกระทาต่อเด็กอายุยังไม่เกิ นสิบห้ าปี ผู้กระทาต้ อง
ระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สามปี ถึงสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
ถ้ าการกระท าความผิ ดตามวรรคแรก หรื อมาตรา ๓๑๐ ทวิ หรื อ
มาตรา ๓๑๒ เป็ นเหตุให้ ผ้ ถู กู กระทา
(๑) รั บอัน ตรายแก่กายหรื อจิ ตใจ ผู้ก ระทาต้ องระวางโทษจาคุก
ตังแต่
้ ห้าปี ถึงสิบห้ าปี และปรับไม่เกินสามแสนบาท
(๒) รั บ อัน ตรายสาหัส ผู้ก ระท าต้ องระวางโทษจาคุก ตลอดชี วิต
หรื อจาคุกตังแต่
้ เจ็ดปี ถึงยี่สิบปี
(๓) ถึงแก่ความตาย ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชี วิต จาคุก
ตลอดชีวิต หรื อจาคุกตังแต่
้ สิบห้ าปี ถึงยี่สิบปี

____________________________________
*มาตรา ๓๑๒ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๓๑๒ ทวิ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๔
155

* มาตรา ๓๑๒ ตรี ผู้ใดโดยทุจริ ตรับไว้ จาหน่าย เป็ นธุระจัดหา ล่อไป


หรื อ พาไปซึ่ ง บุ ค คลอายุ เ กิ น สิ บ ห้ าปี แต่ ยั ง ไม่ เ กิ น สิ บ แปดปี แม้ ผู้ นั น้
จะยิ น ยอมก็ ต าม ต้ องระวางโทษจ าคุ ก ไม่ เ กิ นห้ าปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น
หนึง่ แสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระท าความผิ ดตามวรรคแรก เป็ นการกระทาแก่เด็ก อายุ
ยังไม่เกินสิบห้ าปี ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี หรื อปรับไม่เกิน
หนึง่ แสนสี่หมื่นบาท หรื อทังจ้ าทังปรั
้ บ

** มาตรา ๓๑๓ ผู้ใดเพื่อให้ ได้ มาซึง่ ค่าไถ่


(๑) เอาตัวเด็กอายุไม่เกินสิบห้ าปี ไป
(๒) เอาตัวบุคคลอายุกว่าสิบห้ าปี ไป โดยใช้ อบุ ายหลอกลวง ขู่เข็ญ
ใช้ กาลังประทุษร้ าย ใช้ อานาจครอบงาผิ ดคลองธรรม หรื อใช้ วิธีข่มขื นใจ
ด้ วยประการอื่นใด หรื อ
(๓) หน่วงเหนี่ยวหรื อกักขังบุคคลใด
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ สิบห้ าปี ถึงยี่สิบปี และปรับตังแต่
้ สามแสน
บาทถึงสี่แสนบาท หรื อจาคุกตลอดชีวิต หรื อประหารชีวิต
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคแรกเป็ นเหตุให้ ผ้ ถู ูกเอาตัวไป ผู้ถูก
หน่วงเหนี่ยวหรื อผู้ถูกกักขังนัน้ รั บอันตรายสาหัส หรื อเป็ นการกระทาโดย
ทรมาน หรื อโดยทารุ ณโหดร้ าย จนเป็ นเหตุให้ ผ้ ูถูกกระทานัน้ รั บอันตราย
แก่กายหรื อจิตใจ ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชีวิตหรื อจาคุกตลอดชีวิต
____________________________________
*มาตรา ๓๑๒ ตรี แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๒
**มาตรา ๓๑๓ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๑
156

ถ้ าการกระท าความผิ ด นั น้ เป็ นเหตุ ใ ห้ ผู้ ถู ก เอาตั ว ไป ผู้ ถู ก


หน่วงเหนี่ ย วหรื อผู้ถูกกักขังนัน้ ถึงแก่ความตาย ผู้กระท าต้ องระวางโทษ
ประหารชีวิต

มาตรา ๓๑๔ ผู้ใดเป็ นผู้สนับสนุนในการกระทาความผิดตามมาตรา


๓๑๓ ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกับตัวการในความผิดนัน้

* มาตรา ๓๑๕ ผู้ใดกระทาการเป็ นคนกลาง โดยเรี ยก รั บหรื อยอม


จะรับทรัพย์สินหรื อประโยชน์อย่างใดที่มิควรได้ จากผู้กระทาความผิดตาม
มาตรา ๓๑๓ หรื อจากผู้ที่จะให้ ค่าไถ่ ต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่สิบห้ าปี
ถึงยี่สิบปี และปรั บตังแต่
้ สามแสนบาทถึงสี่แสนบาท หรื อจาคุกตลอดชีวิต

มาตรา ๓๑๖ ถ้ าผู้กระทาความผิดตามมาตรา ๓๑๓ มาตรา ๓๑๔


หรื อมาตรา ๓๑๕ จัดให้ ผ้ ูถูก เอาตัวไป ผู้ถูก หน่ วงเหนี่ ย วหรื อผู้ถูก กัก ขัง
ได้ รับเสรี ภาพก่อนศาลชันต้
้ นพิพากษา โดยผู้นนมิ ั ้ ได้ รับอันตรายสาหัสหรื อ
ตกอยู่ในภาวะอันใกล้ จะเป็ นอันตรายต่อชีวิต ให้ ลงโทษน้ อยกว่าที่กฎหมาย
กาหนดไว้ แต่ไม่น้อยกว่ากึง่ หนึง่

**มาตรา ๓๑๗ ผู้ใดโดยปราศจากเหตุอันสมควร พรากเด็กอายุยัง


ไม่เกินสิบห้ าปี ไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรื อผู้ดแู ล ต้ องระวางโทษ
____________________________________
*มาตรา ๓๑๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐
**มาตรา ๓๑๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๑
157

จาคุกตังแต่
้ สามปี ถึงสิบห้ าปี และปรับตังแต่้ หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท
ผู้ใดโดยทุจริ ต ซื ้อ จาหน่าย หรื อรับตัวเด็กซึง่ ถูกพรากตามวรรคแรก
ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้พรากนัน้
ถ้ าความผิดตามมาตรานี ้ได้ กระทาเพื่อหากาไร หรื อเพื่อการอนาจาร
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ ห้า ปี ถึงยี่สิบปี และปรั บตังแต่
้ หนึ่งแสน
บาทถึงสี่แสนบาท

* มาตรา ๓๑๘ ผู้ใดพรากผู้เยาว์อายุกว่าสิบห้ าปี แต่ยงั ไม่เกินสิบแปด


ปี ไปเสีย จากบิ ด ามารดา ผู้ป กครอง หรื อผู้ดูแ ล โดยผู้เยาว์ นัน้ ไม่เต็มใจ
ไปด้ วย ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สองปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่ ้ สี่หมื่นบาท
ถึงสองแสนบาท
ผู้ ใ ดโดยทุ จ ริ ต ซื อ้ จ าหน่ า ย หรื อ รั บ ตัว ผู้ เยาว์ ซึ่ ง ถู ก พรากตาม
วรรคแรก ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้พรากนัน้
ถ้ าความผิดตามมาตรานี ้ได้ กระทาเพื่อหากาไร หรื อเพื่อการอนาจาร
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สามปี ถึงสิบห้ าปี และปรับตังแต่ ้ หกหมื่น
บาทถึงสามแสนบาท

* มาตรา ๓๑๙ ผู้ใดพรากผู้เยาว์อายุกว่าสิบห้ าปี แต่ยงั ไม่เกินสิบแปด


ปี ไปเสียจากบิ ดามารดา ผู้ปกครอง หรื อผู้ดูแล เพื่ อหากาไรหรื อเพื่ อการ
อนาจาร โดยผู้เยาว์นนั ้ เต็มใจไปด้ วย ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ สองปี ถึง
สิบปี และปรับตังแต่
้ สี่หมื่นบาทถึงสองแสนบาท
____________________________________
*มาตรา ๓๑๘ และมาตรา ๓๑๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๑
158

ผู้ ใ ดโดยทุ จ ริ ต ซื อ้ จ าหน่ า ย หรื อ รั บ ตัว ผู้ เยาว์ ซึ่ ง ถู ก พรากตาม


วรรคแรก ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้พรากนัน้

* มาตรา ๓๒๐ ผู้ใดใช้ อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้ กาลังประทุษร้ าย


ใช้ อานาจครอบงาผิ ดคลองธรรม หรื อใช้ วิธี ข่ มขื น ใจด้ วยประการอื่น ใด
พาหรื อส่งคนออกไปนอกราชอาณาจักร ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สองปี
ถึงสิบปี หรื อปรับตังแต่
้ สี่หมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระทาความผิ ดตามวรรคแรกได้ กระทาเพื่ อให้ ผ้ ูถูกพาหรื อ
ส่งไปนัน้ ตกอยู่ในอานาจของผู้อื่นโดยมิชอบด้ วยกฎหมาย หรื อเพื่อละทิ ง้
ให้ เป็ นคนอนาถา ผู้ก ระท าต้ องระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่ส ามปี ถึงสิบ ห้ าปี
และปรับตังแต่ ้ หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท

มาตรา ๓๒๑ ความผิดตามมาตรา ๓๐๙ วรรคแรก มาตรา ๓๑๐


วรรคแรก และมาตรา ๓๑๑ วรรคแรก เป็ นความผิดอันยอมความได้

** มาตรา ๓๒๑/๑ การกระทาความผิดตามมาตรา ๓๑๒ ตรี วรรคสอง


และมาตรา ๓๑๗ หากเป็ นการกระทาต่อเด็กอายุไม่เกินสิบสามปี ห้ ามอ้ าง
ความไม่ร้ ู อายุของเด็กเพื่อให้ พ้นจากความผิดนัน้

____________________________________
*มาตรา ๓๒๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐
**มาตรา ๓๒๑/๑ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๕
159

หมวด ๒
ความผิดฐานเปิ ดเผยความลับ

* มาตรา ๓๒๒ ผู้ใดเปิ ดผนึกหรื อเอาจดหมาย โทรเลขหรื อเอกสาร


ใด ๆ ซึ่ ง ปิ ดผนึ ก ของผู้ อื่ น ไป เพื่ อ ล่ ว งรู้ ข้ อความก็ ดี เพื่ อ น าข้ อความ
ในจดหมาย โทรเลขหรื อเอกสารเช่นว่านันออกเปิ ้ ดเผยก็ดี ถ้ าการกระทานัน้
น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผ้ ูหนึ่งผู้ใด ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน
หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๒๓ ผู้ใ ดล่วงรู้ หรื อได้ มาซึ่งความลับ ของผู้ อื่น โดยเหตุ
ที่เป็ นเจ้ าพนักงานผู้มีหน้ าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็ นแพทย์ เภสัชกร
คนจาหน่ายยา นางผดุงครรภ์ ผู้พยาบาล นักบวช หมอความ ทนายความ
หรื อ ผู้ สอบบั ญ ชี หรื อ โดยเหตุ ที่ เ ป็ นผู้ ช่ ว ยในการประกอบอาชี พ นั น้
แล้ วเปิ ดเผยความลับนันในประการที
้ ่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผ้ หู นึ่งผู้ใด
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ นหกเดือน หรื อปรั บไม่เกิ นหนึ่งหมื่นบาท หรื อ
ทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิ ดเผยความลับ
ของผู้อื่น อันตนได้ ลว่ งรู้ หรื อได้ มาในการศึกษาอบรมนัน้ ในประการที่น่าจะ
เกิดความเสียหายแก่ผ้ หู นึง่ ผู้ใด ต้ องระวางโทษเช่นเดียวกัน

* มาตรา ๓๒๔ ผู้ใดโดยเหตุที่ตนมีตาแหน่งหน้ าที่ วิชาชีพหรื ออาชีพ


____________________________________
*มาตรา ๓๒๒ ถึงมาตรา ๓๒๔ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
160

อันเป็ นที่ไว้ วางใจ ล่วงรู้ หรื อได้ มาซึง่ ความลับของผู้อื่นเกี่ยวกับอุตสาหกรรม


การค้ น พบ หรื อ การนิ มิ ต ในวิ ท ยาศาสตร์ เปิ ดเผยหรื อใช้ ค วามลับ นั น้
เพื่ อ ประโยชน์ ต นเองหรื อ ผู้ อื่ น ต้ อ งระวางโทษจ าคุ ก ไม่ เ กิ น หกเดื อ น
หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๓๒๕ ความผิดในหมวดนี ้เป็ นความผิดอันยอมความได้

หมวด ๓
ความผิดฐานหมิ่นประมาท

* มาตรา ๓๒๖ ผู้ใดใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะ


ทาให้ ผ้ อู ื่นนันเสี
้ ยชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรื อถูกเกลียดชัง ผู้นนกระท
ั้ าความผิด
ฐานหมิ่ น ประมาท ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่เ กิ น หนึ่ ง ปี หรื อปรั บ ไม่ เ กิ น
สองหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๓๒๗ ผู้ใดใส่ความผู้ตายต่อบุคคลที่สามและการใส่ ความ


นัน้ น่าจะเป็ นเหตุให้ บิดา มารดา คู่สมรสหรื อบุตรของผู้ตายเสียชื่ อเสียง
ถู ก ดู ห มิ่ น หรื อ ถู ก เกลี ย ดชั ง ผู้ นั น้ กระท าความผิ ด ฐานหมิ่ น ประมาท
ต้ องระวางโทษดังบัญญัติไว้ ในมาตรา ๓๒๖ นัน้

____________________________________
*มาตรา ๓๒๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓
161

* มาตรา ๓๒๘ ถ้ า ความผิ ด ฐานหมิ่ น ประมาทได้ ก ระท าโดยการ


โฆษณาด้ วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรื อตัวอักษร
ที่ทาให้ ปรากฏไม่ว่าด้ วยวิธีใด ๆ แผ่นเสียง หรื อสิ่งบันทึกเสียง บันทึกภาพ
หรื อ บัน ทึ ก อัก ษร กระท าโดยการกระจายเสี ย ง หรื อ การกระจายภาพ
หรื อโดยกระทาการป่ าวประกาศด้ วยวิธีอื่น ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินสองปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท

มาตรา ๓๒๙ ผู้ใดแสดงความคิดเห็นหรื อข้ อความใดโดยสุจริ ต


(๑) เพื่อความชอบธรรม ป้องกันตนหรื อป้องกันส่วนได้ เสียเกี่ย วกับ
ตนตามคลองธรรม
(๒) ในฐานะเป็ นเจ้ าพนักงานปฏิบตั ิการตามหน้ าที่
(๓) ติชมด้ วยความเป็ นธรรม ซึ่งบุคคลหรื อสิ่งใดอันเป็ นวิสัยของ
ประชาชนย่อมกระทา หรื อ
(๔) ในการแจ้ งข่ า วด้ วยความเป็ นธรรมเรื่ อ งการด าเนิ น การ
อันเปิ ดเผยในศาลหรื อในการประชุม
ผู้นนไม่
ั ้ มีความผิดฐานหมิ่นประมาท

มาตรา ๓๓๐ ในกรณี หมิ่นประมาท ถ้ าผู้ถูกหาว่ากระทาความผิ ด


พิ สูจ น์ ไ ด้ ว่ าข้ อที่ ห าว่ าเป็ นหมิ่น ประมาทนัน้ เป็ นความจริ ง ผู้ นัน้ ไม่ ต้อ ง
รับโทษ

____________________________________
*มาตรา ๓๒๘ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔
162

แต่ ห้ ามไม่ใ ห้ พิ สูจ น์ ถ้ า ข้ อ ที่ ห าว่ าเป็ นหมิ่ น ประมาทนัน้ เป็ นการ
ใส่ความในเรื่ องส่วนตัว และการพิสจู น์จะไม่เป็ นประโยชน์แก่ประชาชน

มาตรา ๓๓๑ คู่ความ หรื อทนายความของคู่ความ ซึ่งแสดงความ


คิ ด เห็ น หรื อ ข้ อความในกระบวนพิ จ ารณาคดี ใ นศาล เพื่ อประโยชน์
แก่คดีของตน ไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท

มาตรา ๓๓๒ ในคดี ห มิ่ น ประมาทซึ่ ง มี ค าพิ พ ากษาว่ า จ าเลย


มีความผิด ศาลอาจสัง่
(๑) ให้ ยึ ด และท าลายวัต ถุ ห รื อ ส่ ว นของวัต ถุ ที่ มี ข้ อความหมิ่ น
ประมาท
(๒) ให้ โฆษณาค าพิ พ ากษาทั ง้ ห มด ห รื อแ ต่ บ าง ส่ ว นใ น
หนังสือพิมพ์หนึง่ ฉบับหรื อหลายฉบับ ครัง้ เดียวหรื อหลายครัง้ โดยให้ จาเลย
เป็ นผู้ชาระค่าโฆษณา

มาตรา ๓๓๓ ความผิดในหมวดนี ้เป็ นความผิดอันยอมความได้


ถ้ าผู้เสีย หายในความผิ ดฐานหมิ่นประมาทตายเสีย ก่อนร้ องทุก ข์
ให้ บิดา มารดา คูส่ มรสหรื อบุตรของผู้เสียหายร้ องทุกข์ได้ และให้ ถือว่าเป็ น
ผู้เสียหาย
163

ลักษณะ ๑๒
ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
หมวด ๑
ความผิดฐานลักทรั พย์ และวิ่งราวทรัพย์

* มาตรา ๓๓๔ ผู้ใดเอาทรั พย์ ของผู้อื่น หรื อที่ ผ้ ูอื่นเป็ นเจ้ าของรวม
อยู่ด้วยไปโดยทุจริ ต ผู้นัน้ กระท าความผิ ดฐานลักทรั พย์ ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินหกหมื่นบาท

** มาตรา ๓๓๕ ผู้ใดลักทรัพย์


(๑) ในเวลากลางคืน
(๒) ในที่ ห รื อบริ เวณที่ มีเ หตุเพลิ งไหม้ การระเบิ ด อุท กภัย หรื อ
ในที่ ห รื อบริ เวณที่ มีอุบัติเ หตุ เหตุทุ ก ขภัย แก่ ร ถไฟ หรื อ ยานพาหนะอื่ น
ที่ ป ระชาชนโดยสาร หรื อภัย พิ บัติอื่ น ท านองเดี ย วกัน หรื ออาศัย โอกาส
ที่มีเหตุเช่นว่านัน้ หรื ออาศัยโอกาสที่ประชาชนกาลังตื่นกลัวภยันตรายใด ๆ
(๓) โดยทาอันตรายสิ่งกีดกันส ้ าหรับคุ้มครองบุคคลหรื อทรัพย์ หรื อ
โดยผ่านสิ่งเช่นว่านันเข้
้ าไปด้ วยประการใด ๆ
(๔) โดยเข้ า ทางช่ องทางซึ่ง ได้ ท าขึ น้ โดยไม่ไ ด้ จ านงให้ เ ป็ นทาง
คนเข้ า หรื อเข้ าทางช่องทางซึง่ ผู้เป็ นใจเปิ ดไว้ ให้
(๕) โดยแปลงตัว หรื อ ปลอมตัว เป็ นผู้ อื่ น มอมหน้ า หรื อ ท าด้ ว ย
____________________________________
*มาตรา ๓๓๔ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๓๓๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๕
164

ประการอื่นเพื่อไม่ให้ เห็นหรื อจาหน้ าได้


(๖) โดยลวงว่าเป็ นเจ้ าพนักงาน
(๗) โดยมีอาวุธ หรื อโดยร่ วมกระทาความผิดด้ วยกันตังแต่ ้ สองคน
ขึ ้นไป
(๘) ในเคหสถาน สถานที่ราชการหรื อสถานที่ที่จดั ไว้ เพื่อให้ บริ การ
สาธารณะที่ ตนได้ เข้ าไปโดยไม่ได้ รับ อนุญาต หรื อซ่อนตัวอยู่ในสถานที่
นัน้ ๆ
(๙) ในสถานที่บชู าสาธารณะ สถานีรถไฟ ท่าอากาศยาน ที่จอดรถ
หรื อเรื อสาธารณะ สาธารณสถานสาหรั บขนถ่ายสินค้ า หรื อในยวดยาน
สาธารณะ
(๑๐) ที่ใช้ หรื อมีไว้ เพื่อสาธารณประโยชน์
(๑๑) ที่เป็ นของนายจ้ างหรื อที่อยู่ในความครอบครองของนายจ้ าง
(๑๒) ที่เป็ นของผู้มีอาชีพกสิกรรม บรรดาที่เป็ นผลิตภัณฑ์ พืชพันธุ์
สัต ว์ ห รื อ เครื่ อ งมื อ อัน มี ไ ว้ ส าหรั บ ประกอบกสิ ก รรมหรื อ ได้ ม าจากการ
กสิกรรมนัน้
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ หนึ่งปี ถึงห้ าปี และปรั บตัง้ แต่สองหมื่ น
บาทถึงหนึง่ แสนบาท
ถ้ าความผิ ดตามวรรคแรกเป็ นการกระทาที่ ประกอบด้ วยลักษณะ
ดังที่บญั ญัติไว้ ในอนุมาตราดังกล่าวแล้ วตังแต่ ้ สองอนุมาตราขึ ้นไป ผู้กระทา
ต้ องระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่ห นึ่งปี ถึงเจ็ ดปี และปรั บตัง้ แต่สองหมื่นบาท
ถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท
ถ้ าความผิดตามวรรคแรกเป็ นการกระทาต่อทรัพย์ที่เป็ นโค กระบือ
เครื่ องกลหรื อเครื่ องจักรที่ ผ้ ูมีอาชีพกสิกรรมมีไว้ สาหรั บประกอบกสิกรรม
165

ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่
้ สามปี ถึงสิบปี และปรั บตังแต่
้ หกหมื่น
บาทถึงสองแสนบาท
ถ้ าการกระท าความผิ ด ดังกล่า วในมาตรานี ้ เป็ นการกระท าโดย
ความจาใจหรื อความยากจนเหลือทนทาน และทรั พย์ นัน้ มีราคาเล็กน้ อย
ศาลจะลงโทษผู้กระทาความผิดดังที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา ๓๓๔ ก็ได้

* มาตรา ๓๓๕ ทวิ ผู้ใดลักทรั พย์ ที่เป็ นพระพุทธรู ปหรื อวัตถุในทาง


ศาสนา ถ้ าทรั พย์ นัน้ เป็ นที่ สัก การะบูช าของประชาชน หรื อเก็บ รั ก ษาไว้
เป็ นสมบัติของชาติ หรื อส่วนหนึ่งส่วนใดของพระพุทธรู ป หรื อวัตถุดงั กล่าว
ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่ส ามปี ถึ ง สิ บ ปี และปรั บ ตัง้ แต่ ห กหมื่ น บาท
ถึงสองแสนบาท
ถ้ าการกระท าความผิ ดตามวรรคแรก ได้ กระท าในวัด สานักสงฆ์
สถานอั น เป็ นที่ เ คารพในทางศาสนา โบราณสถานอั น เป็ นทรั พ ย์ สิ น
ของแผ่นดิ น สถานที่ ราชการหรื อพิ พิธภัณฑสถานแห่งชาติ ผู้กระทาต้ อง
ระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่ ห้ าปี ถึง สิ บ ห้ าปี และปรั บ ตัง้ แต่ ห นึ่งแสนบาทถึ ง
สามแสนบาท

** มาตรา ๓๓๖ ผู้ใ ดลัก ทรั พ ย์ โดยฉกฉวยเอาซึ่ง หน้ า ผู้ นัน้ กระท า
ความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี และปรั บไม่เกิน
หนึง่ แสนบาท
____________________________________
*มาตรา ๓๓๕ ทวิ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐
**มาตรา ๓๓๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
166

ถ้ าการวิ่ง ราวทรั พ ย์ เป็ นเหตุให้ ผ้ ูอื่น รั บอัน ตรายแก่ กายหรื อจิ ตใจ
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่สองปี ถึงเจ็ดปี และปรั บตัง้ แต่สี่หมื่น
บาทถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท
ถ้ า การวิ่ ง ราวทรั พ ย์ เ ป็ นเหตุใ ห้ ผ้ ู อื่ น รั บ อัน ตรายสาหัส ผู้ ก ระท า
ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่ส ามปี ถึ ง สิ บ ปี และปรั บ ตั ง้ แต่ ห กหมื่ น บาท
ถึงสองแสนบาท
ถ้ าการวิ่ ง ราวทรั พ ย์ เ ป็ นเหตุ ใ ห้ ผู้ อื่ น ถึ ง แก่ ค วามตาย ผู้ กระท า
ต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่ห้าปี ถึงสิบห้ าปี และปรั บตัง้ แต่หนึ่งแสนบาท
ถึงสามแสนบาท

* มาตรา ๓๓๖ ทวิ ผู้ใ ดกระทาความผิ ดตามมาตรา ๓๓๔ มาตรา


๓๓๕ มาตรา ๓๓๕ ทวิ หรื อ มาตรา ๓๓๖ โดยแต่ ง เครื่ อ งแบบทหาร
หรื อตารวจหรื อแต่งกายให้ เข้ าใจว่าเป็ นทหารหรื อตารวจ หรื อโดยมีหรื อ
ใช้ อ าวุธ ปื นหรื อ วัต ถุ ร ะเบิ ด หรื อ โดยใช้ ย านพาหนะเพื่ อ สะดวกแก่ ก าร
กระทาผิดหรื อการพาทรัพย์นนไป ั ้ หรื อเพื่อให้ พ้นการจับกุม ต้ องระวางโทษ
หนักกว่าที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรานัน้ ๆ กึง่ หนึง่

____________________________________
*มาตรา ๓๓๖ ทวิ เพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๑๔ ข้ อ ๑๓
167

หมวด ๒
ความผิดฐานกรรโชก รี ดเอาทรั พย์ ชิงทรัพย์
และปล้ นทรัพย์
* มาตรา ๓๓๗ ผู้ใดข่มขื นใจผู้อื่นให้ ยอมให้ หรื อยอมจะให้ ตนหรื อ
ผู้อื่นได้ ประโยชน์ ในลักษณะที่เป็ นทรั พย์ สิน โดยใช้ กาลังประทุษร้ ายหรื อ
โดยขู่เข็ญว่าจะทาอันตรายต่อชีวิต ร่ างกาย เสรี ภาพ ชื่อเสียงหรื อทรัพย์สิน
ของผู้ถูกขู่เข็ญหรื อของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านัน้ ผู้นนั ้
กระท าความผิ ด ฐานกรรโชก ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่เกิ นห้ าปี และปรั บ
ไม่เกินหนึง่ แสนบาท
ถ้ าความผิดฐานกรรโชกได้ กระทาโดย
(๑) ขู่ว่า จะฆ่ า ขู่ว่ าจะท าร้ ายร่ า งกายให้ ผ้ ูถู ก ข่ มขื น ใจหรื อ ผู้อื่ น
ให้ ได้ รั บ อัน ตรายสาหั ส หรื อ ขู่ ว่ า จะท าให้ เกิ ด เพลิ ง ไหม้ แ ก่ ท รั พ ย์ ข อง
ผู้ถกู ข่มขืนใจหรื อผู้อื่น หรื อ
(๒) มีอาวุธติดตัวมาขู่เข็ญ
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตังแต่ ้
หนึง่ หมื่นบาทถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท

* มาตรา ๓๓๘ ผู้ใดข่มขื นใจผู้อื่น ให้ ยอมให้ หรื อยอมจะให้ ตนหรื อ


ผู้ อื่ น ได้ ป ระโยชน์ ใ นลัก ษณะที่ เ ป็ นทรั พ ย์ สิ น โดยขู่ เ ข็ ญ ว่ า จะเปิ ดเผย
____________________________________
*มาตรา ๓๓๗ และมาตรา ๓๓๘ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
168

ความลับ ซึ่งการเปิ ดเผยนัน้ จะทาให้ ผ้ ูถูกขู่เข็ญหรื อบุคคลที่ สามเสียหาย


จนผู้ ถูก ข่ ม ขื น ใจยอมเช่ น ว่ านัน้ ผู้ นัน้ กระท าความผิ ด ฐานรี ด เอาทรั พ ย์
ต้ องระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่ห นึ่งปี ถึงสิ บ ปี และปรั บ ตัง้ แต่ส องหมื่น บาท
ถึงสองแสนบาท

* มาตรา ๓๓๙ ผู้ใดลักทรั พย์ โดยใช้ กาลังประทุษร้ าย หรื อขู่เข็ญว่า


ในทันใดนันจะใช้ ้ กาลังประทุษร้ าย เพื่อ
(๑) ให้ ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรื อการพาทรัพย์นนไป ั้
(๒) ให้ ยื่นให้ ซงึ่ ทรัพย์นนั ้
(๓) ยึดถือเอาทรัพย์นนไว้ ั้
(๔) ปกปิ ดการกระทาความผิดนัน้ หรื อ
(๕) ให้ พ้นจากการจับกุม
ผู้นนั ้ กระทาความผิดฐานชิงทรั พย์ ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ ห้าปี
ถึงสิบปี และปรับตังแต่ ้ หนึง่ แสนบาทถึงสองแสนบาท
ถ้ าความผิดนัน้ เป็ นการกระทาที่ประกอบด้ วยลักษณะดังที่บัญญัติ
ไว้ ในอนุมาตราหนึ่งอนุมาตราใดแห่งมาตรา ๓๓๕ หรื อเป็ นการกระทาต่อ
ทรั พ ย์ ที่ เ ป็ นโค กระบื อ เครื่ อ งกลหรื อ เครื่ อ งจั ก รที่ ผ้ ู มี อ าชี พ กสิ ก รรม
มีไ ว้ ส าหรั บ ประกอบกสิ ก รรม ผู้ก ระท าต้ องระวางโทษจ าคุก ตัง้ แต่สิ บ ปี
ถึงสิบห้ าปี และปรับตังแต่ ้ สองแสนบาทถึงสามแสนบาท
ถ้ าการชิ ง ทรั พ ย์ เ ป็ นเหตุ ใ ห้ ผู้ อื่ น รั บ อั น ตรายแก่ ก ายหรื อ จิ ต ใจ
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สิบปี ถึงยี่สิบปี และปรับตังแต่ ้ สองแสน
____________________________________
*มาตรา ๓๓๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐
169

บาทถึงสี่แสนบาท
ถ้ าการชิ ง ทรั พ ย์ เ ป็ นเหตุ ใ ห้ ผู้ อื่ น รั บ อั น ตรายสาหั ส ผู้ กระท า
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สิบห้ าปี ถึงยี่สิบปี และปรั บตังแต่ ้ สามแสนบาท
ถึงสี่แสนบาท
ถ้ าการชิงทรัพย์เป็ นเหตุให้ ผ้ อู ื่นถึงแก่ความตาย ผู้กระทาต้ องระวาง
โทษประหารชีวิตหรื อจาคุกตลอดชีวิต

* มาตรา ๓๓๙ ทวิ ถ้ าการชิ งทรั พย์ ได้ กระทาต่อทรั พย์ ตามมาตรา
๓๓๕ ทวิ วรรคแรก ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุก ตัง้ แต่สิ บปี ถึงสิบห้ าปี
และปรับตังแต่ ้ สองแสนบาทถึงสามแสนบาท
ถ้ า การชิ ง ทรั พ ย์ นัน้ เป็ นการกระท าในสถานที่ ดัง ที่ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ น
มาตรา ๓๓๕ ทวิ วรรคสองด้ วย ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สิบปี
ถึงยี่สิบปี และปรับตังแต่ ้ สองแสนบาทถึงสี่แสนบาท
ถ้ าการชิ ง ทรั พ ย์ ต ามวรรคแรกหรื อวรรคสองเป็ นเหตุ ใ ห้ ผู้ อื่ น
รับอันตรายแก่กายหรื อจิตใจ ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตั ง้ แต่สิบห้ าปี
ถึงยี่สิบปี และปรับตังแต่ ้ สามแสนบาทถึงสี่แสนบาท
ถ้ าการชิ ง ทรั พ ย์ ต ามวรรคแรกหรื อวรรคสองเป็ นเหตุ ใ ห้ ผู้ อื่ น
รับอันตรายสาหัส ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต หรื อจาคุกตังแต่ ้
สิบห้ าปี ถึงยี่สิบปี
ถ้ าการชิ งทรั พย์ ตามวรรคแรกหรื อวรรคสองเป็ นเหตุใ ห้ ผ้ ูอื่นถึงแก่
ความตาย ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชีวิต
____________________________________
*มาตรา ๓๓๙ ทวิ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐
170

* มาตรา ๓๔๐ ผู้ใดชิงทรัพย์โดยร่ วมกันกระทาความผิดด้ วยกันตังแต่ ้


สามคนขึน้ ไป ผู้นนั ้ กระทาความผิดฐานปล้ นทรั พย์ ต้ องระวางโทษจาคุก
ตังแต่
้ สิบปี ถึงสิบห้ าปี และปรับตังแต่ ้ สองแสนบาทถึงสามแสนบาท
ถ้ า ในการปล้ น ทรั พ ย์ ผ้ ู ก ระท าแม้ แ ต่ ค นหนึ่ ง คนใดมี อ าวุธ ติ ด ตัว
ไปด้ วย ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่สิบสองปี ถึงยี่ สิบปี และปรั บ
ตังแต่
้ สองแสนสี่หมื่นบาทถึงสี่แสนบาท
ถ้ าการปล้ น ทรั พ ย์ เ ป็ นเหตุ ใ ห้ ผู้ อื่ น รั บ อั น ตรายสาหั ส ผู้ กระท า
ต้ องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต หรื อจาคุกตังแต่ ้ สิบห้ าปี ถึงยี่สิบปี
ถ้ าการปล้ นทรัพย์ได้ กระทาโดยแสดงความทารุ ณจนเป็ นเหตุให้ ผ้ อู ื่น
รั บอันตรายแก่กายหรื อจิ ตใจ ใช้ ปืนยิง ใช้ วัตถุระเบิ ด หรื อกระทาทรมาน
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต หรื อจาคุกตังแต่ ้ สิบห้ าปี ถึงยี่สิบปี
ถ้ าการปล้ นทรั พ ย์ เ ป็ นเหตุ ใ ห้ ผู้ อื่ น ถึ ง แก่ ค วามตาย ผู้ กระท า
ต้ องระวางโทษประหารชีวิต

** มาตรา ๓๔๐ ทวิ ถ้ าการปล้ นทรั พย์ ได้ กระทาต่อทรัพย์ ตามมาตรา


๓๓๕ ทวิ วรรคแรก ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สิบปี ถึงยี่สิบปี และ
ปรับตังแต่
้ สองแสนบาทถึงสี่แสนบาท
ถ้ าการปล้ นทรั พย์ นัน้ เป็ นการกระท าในสถานที่ ดังที่ บัญญัติไ ว้ ใ น
มาตรา ๓๓๕ ทวิ วรรคสองด้ วย ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่ ้ สิบห้ าปี
ถึงยี่สิบปี และปรับตังแต่
้ สามแสนบาทถึงสี่แสนบาท
____________________________________
*มาตรา ๓๔๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖
**มาตรา ๓๔๐ ทวิ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖
171

ถ้ าการปล้ นทรัพย์ตามวรรคแรกหรื อวรรคสอง ผู้กระทาแม้ แต่คนหนึง่


คนใดมีอาวุธติดตัวไปด้ วย ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต หรื อ
จาคุกตังแต่
้ สิบห้ าปี ถึงยี่สิบปี
ถ้ า การปล้ น ทรั พ ย์ ต ามวรรคแรกหรื อ วรรคสองเป็ นเหตุ ใ ห้ ผู้ อื่ น
รับอันตรายสาหัส ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต
ถ้ าการปล้ นทรั พย์ ตามวรรคแรกหรื อวรรคสองได้ กระทาโดยแสดง
ความทารุ ณ จนเป็ นเหตุใ ห้ ผ้ ูอื่ น รั บ อัน ตรายแก่ ก ายหรื อจิ ต ใจ ใช้ ปื นยิ ง
ใช้ วัต ถุร ะเบิ ด หรื อกระท าทรมาน ผู้ ก ระท าต้ อ งระวางโทษประหารชี วิ ต
หรื อจาคุกตลอดชีวิต
ถ้ า การปล้ น ทรั พ ย์ ต ามวรรคแรกหรื อ วรรคสองเป็ นเหตุ ใ ห้ ผู้ อื่ น
ถึงแก่ความตาย ผู้กระทาต้ องระวางโทษประหารชีวิต

* มาตรา ๓๔๐ ตรี ผู้ใ ดกระทาความผิ ดตามมาตรา ๓๓๙ มาตรา


๓๓๙ ทวิ มาตรา ๓๔๐ หรื อมาตรา ๓๔๐ ทวิ โดยแต่งเครื่ องแบบทหาร
หรื อตารวจหรื อแต่งกายให้ เข้ าใจว่าเป็ นทหารหรื อตารวจ หรื อโดยมีหรื อ
ใช้ อาวุ ธ ปื นหรื อวั ต ถุ ร ะเบิ ด หรื อโดยใช้ ยานพาหนะเพื่ อ กระท าผิ ด
หรื อพาทรั พ ย์ นัน้ ไป หรื อเพื่ อ ให้ พ้ น การจับ กุม ต้ องระวางโทษหนัก กว่ า
ที่บญ
ั ญัติไว้ ในมาตรานัน้ ๆ กึง่ หนึง่

____________________________________
*มาตรา ๓๔๐ ตรี เพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๑๔ ข้ อ ๑๕
172

หมวด ๓
ความผิดฐานฉ้ อโกง
* มาตรา ๓๔๑ ผู้ใดโดยทุจริ ต หลอกลวงผู้อื่นด้ วยการแสดงข้ อความ
อัน เป็ นเท็ จ หรื อ ปกปิ ดข้ อความจริ ง ซึ่ ง ควรบอกให้ แจ้ ง และโดยการ
หลอกลวงดังว่านัน้ ได้ ไปซึ่งทรั พย์ สินจากผู้ถูกหลอกลวงหรื อบุคคลที่สาม
หรื อทาให้ ผ้ ถู ูกหลอกลวงหรื อบุคคลที่สามทา ถอนหรื อทาลายเอกสารสิทธิ
ผู้ นั น้ กระท าความผิ ด ฐานฉ้ อโกง ต้ องระวางโทษจ าคุ ก ไม่ เ กิ น สามปี
หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๔๒ ถ้ าในการกระทาความผิดฐานฉ้ อโกง ผู้กระทา


(๑) แสดงตนเป็ นคนอื่น หรื อ
(๒) อาศัย ความเบาปั ญ ญาของผู้ถูก หลอกลวงซึ่ ง เป็ นเด็ก หรื อ
อาศัยความอ่อนแอแห่งจิตของผู้ถกู หลอกลวง
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งแสน
บาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๔๓ ถ้ าการกระทาความผิดตามมาตรา ๓๔๑ ได้ กระทา


ด้ ว ยการแสดงข้ อความอัน เป็ นเท็ จ ต่ อ ประชาชน หรื อ ด้ ว ยการปกปิ ด
ความจริ ง ซึ่งควรบอกให้ แจ้ งแก่ประชาชน ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
____________________________________
*มาตรา ๓๔๑ ถึงมาตรา ๓๔๓ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
173

ถ้ า การกระท าความผิ ด ดัง กล่ า วในวรรคแรก ต้ อ งด้ ว ยลัก ษณะ


ดัง กล่ า วในมาตรา ๓๔๒ อนุ ม าตราหนึ่ ง อนุ ม าตราใดด้ ว ย ผู้ กระท า
ต้ องระวางโทษจาคุกตังแต่้ หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรั บตังแต่
้ หนึ่งหมื่นบาท
ถึงหนึง่ แสนสี่หมื่นบาท

* มาตรา ๓๔๔ ผู้ใ ดโดยทุจริ ต หลอกลวงบุค คลตัง้ แต่สิ บคนขึน้ ไป


ให้ ประกอบการงานอย่างใด ๆ ให้ แก่ตนหรื อให้ แก่บุคคลที่สาม โดยจะไม่ใช้
ค่าแรงงานหรื อค่าจ้ างแก่ บุคคลเหล่ านัน้ หรื อโดยจะใช้ ค่า แรงงานหรื อ
ค่าจ้ างแก่ บุคคลเหล่านัน้ ต่ากว่าที่ ตกลงกัน ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ น
สามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทัง้ จาทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๔๕ ผู้ใดสัง่ ซื ้อและบริ โภคอาหารหรื อเครื่ องดื่ม หรื อเข้ าอยู่
ในโรงแรม โดยรู้ ว่าตนไม่สามารถช าระเงิ น ค่าอาหาร ค่าเครื่ องดื่ม หรื อ
ค่าอยู่ในโรงแรมนัน้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามเดือน หรื อปรั บไม่เกิน
ห้ าพันบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๔๖ ผู้ ใดเพื่ อ เอาทรั พ ย์ สิ น ของผู้ อื่ น เป็ นของตนหรื อ


ของบุคคลที่ สาม ชักจูงผู้หนึ่งผู้ใดให้ จาหน่ายโดยเสียเปรี ยบซึ่งทรั พย์ สิน
โดยอาศั ย เหตุ ที่ ผ้ ู ถู ก ชั ก จู ง มี จิ ต อ่ อ นแอหรื อ เป็ นเด็ ก เบาปั ญ ญา และ
ไม่สามารถเข้ าใจตามควรซึ่งสาระสาคัญแห่งการกระทาของตน จนผู้ถูก

____________________________________
*มาตรา ๓๔๔ ถึงมาตรา ๓๔๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
174

ชักจูงจาหน่ายซึ่งทรัพย์ สินนัน้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรั บ


ไม่เกินสี่หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๔๗ ผู้ใดเพื่ อให้ ตนเองหรื อผู้อื่นได้ รับประโยชน์ จากการ


ประกัน วิ น าศภัย แกล้ งท าให้ เกิ ดเสีย หายแก่ ท รั พ ย์ สิ นอัน เป็ นวัตถุที่ เอา
ประกันภัย ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๓๔๘ ความผิ ดในหมวดนี ้ นอกจากความผิ ดตามมาตรา


๓๔๓ เป็ นความผิดอันยอมความได้

____________________________________
*มาตรา ๓๔๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
175

หมวด ๔
ความผิดฐานโกงเจ้ าหนี ้

* มาตรา ๓๔๙ ผู้ใดเอาไปเสีย ทาให้ เสียหาย ทาลาย ทาให้ เสื่อมค่า


หรื อท าให้ ไ ร้ ประโยชน์ ซึ่งทรั พ ย์ อัน ตนจ าน าไว้ แก่ ผ้ ูอื่น ถ้ าได้ ก ระท าเพื่ อ
ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายแก่ ผ้ ู รั บ จ าน า ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ไม่ เ กิ น สองปี
หรื อปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๕๐ ผู้ใดเพื่อมิให้ เจ้ าหนี ้ของตนหรื อของผู้อื่นได้ รับชาระหนี ้


ทังหมดหรื
้ อแต่บางส่วน ซึง่ ได้ ใช้ หรื อจะใช้ สิทธิเรี ยกร้ องทางศาลให้ ชาระหนี ้
ย้ ายไปเสีย ซ่อนเร้ นหรื อโอนไปให้ แก่ ผ้ ูอื่นซึ่งทรั พย์ ใดก็ดี แกล้ งให้ ตนเอง
เป็ นหนี ้จานวนใดอันไม่เป็ นความจริ งก็ดี ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี
หรื อปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๓๕๑ ความผิดในหมวดนี ้เป็ นความผิดอันยอมความได้

____________________________________
*มาตรา ๓๔๙ และมาตรา ๓๕๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
176

หมวด ๕
ความผิดฐานยักยอก

* มาตรา ๓๕๒ ผู้ใดครอบครองทรั พย์ ซึ่งเป็ นของผู้อื่น หรื อซึ่งผู้อื่น


เป็ นเจ้ าของรวมอยู่ด้วย เบียดบังเอาทรัพย์นนั ้ เป็ นของตนหรื อบุคคลที่สาม
โดยทุจริ ต ผู้นัน้ กระทาความผิ ดฐานยักยอก ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ น
สามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าทรั พย์ นัน้ ได้ ตกมาอยู่ในความครอบครองของผู้กระทาความผิ ด
เพราะผู้อื่นส่งมอบให้ โดยสาคัญผิดไปด้ วยประการใด หรื อเป็ นทรั พย์ สิน
หายซึง่ ผู้กระทาความผิดเก็บได้ ผู้กระทาต้ องระวางโทษแต่เพียงกึง่ หนึง่

* มาตรา ๓๕๓ ผู้ ใ ดได้ รั บ มอบหมายให้ จัดการทรั พ ย์ สิ น ของผู้อื่ น


หรื อ ทรั พ ย์ สิ น ซึ่ง ผู้ อื่ น เป็ นเจ้ า ของรวมอยู่ ด้ ว ย กระท าผิ ด หน้ าที่ ข องตน
ด้ วยประการใด ๆ โดยทุจริ ต จนเป็ นเหตุให้ เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์
ในลัก ษณะที่ เป็ นทรั พ ย์ สิ น ของผู้ นัน้ ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่ เกิ น สามปี
หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๕๔ ถ้ าการกระทาความผิดตามมาตรา ๓๕๒ หรื อมาตรา


๓๕๓ ได้ กระทาในฐานที่ผ้ กู ระทาความผิดเป็ นผู้จัดการทรั พย์ สินของผู้อื่น
ตามคาสัง่ ของศาล หรื อตามพินยั กรรม หรื อในฐานเป็ นผู้มีอาชีพหรื อธุรกิจ
อันย่อมเป็ นที่ไว้ วางใจของประชาชน ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
____________________________________
*มาตรา ๓๕๒ ถึงมาตรา ๓๕๔ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
177

ห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ


้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๕๕ ผู้ใดเก็บได้ ซงึ่ สังหาริ มทรัพย์อนั มีค่า อันซ่อนหรื อฝั งไว้
โดยพฤติการณ์ ซงึ่ ไม่มีผ้ ูใดอ้ างว่าเป็ นเจ้ าของได้ แล้ วเบียดบังเอาทรัพย์นนั ้
เป็ นของตนหรื อของผู้อื่น ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกิน
สองหมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั้ บ

มาตรา ๓๕๖ ความผิดในหมวดนี ้เป็ นความผิดอันยอมความได้

หมวด ๖
ความผิดฐานรั บของโจร

** มาตรา ๓๕๗ ผู้ใ ดช่ วยซ่อนเร้ น ช่ วยจ าหน่ าย ช่ วยพาเอาไปเสี ย


ซื อ้ รั บ จ าน าหรื อ รั บ ไว้ โดยประการใดซึ่ง ทรั พ ย์ อัน ได้ ม าโดยการกระท า
ความผิ ด ถ้ า ความผิ ด นั น้ เข้ าลัก ษณะลัก ทรั พ ย์ วิ่ ง ราวทรั พ ย์ กรรโชก
รี ดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้ นทรัพย์ ฉ้ อโกง ยักยอกหรื อเจ้ าพนักงานยักยอก
ทรัพย์ ผู้นนกระท
ั้ าความผิดฐานรับของโจร ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี
หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระท าความผิ ดฐานรั บ ของโจรนัน้ ได้ ก ระท าเพื่ อค้ าก าไร
หรื อได้ กระทาต่อทรั พย์ อนั ได้ มาโดยการลักทรั พย์ ตามมาตรา ๓๓๕ (๑๐)
____________________________________
*มาตรา ๓๕๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๓๕๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๖
178

ชิ ง ทรั พ ย์ หรื อปล้ น ทรั พ ย์ ผู้ก ระท าต้ องระวางโทษจ าคุก ตั ง้ แต่ห กเดือ น
ถึงสิบปี และปรับตังแต่ ้ หนึง่ หมื่นบาทถึงสองแสนบาท
ถ้ าการกระท าความผิ ด ฐานรั บ ของโจรนั น้ ได้ ก ระท าต่ อ ทรั พ ย์
อันได้ มาโดยการลักทรั พย์ ตามมาตรา ๓๓๕ ทวิ การชิงทรั พย์ ตามมาตรา
๓๓๙ ทวิ หรื อการปล้ นทรัพย์ตามมาตรา ๓๔๐ ทวิ ผู้กระทาต้ องระวางโทษ
จาคุกตังแต่้ ห้าปี ถึงสิบห้ าปี และปรับตังแต่ ้ หนึง่ แสนบาทถึงสามแสนบาท

หมวด ๗
ความผิดฐานทาให้ เสียทรัพย์

* มาตรา ๓๕๘ ผู้ใดทาให้ เสียหาย ทาลาย ทาให้ เสื่อมค่าหรื อทาให้


ไร้ ประโยชน์ ซึง่ ทรัพย์ของผู้อื่นหรื อผู้อื่นเป็ นเจ้ าของรวมอยู่ด้วย ผู้นนกระท
ั้ า
ความผิดฐานทาให้ เสียทรั พย์ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บ
ไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๕๙ ถ้ าการกระทาความผิดตามมาตรา ๓๕๘ ได้ กระทา


ต่อ
(๑) เครื่ อ งกลหรื อ เครื่ อ งจัก รที่ ใ ช้ ใ นการประกอบกสิ ก รรมหรื อ
อุตสาหกรรม
(๒) ปศุสตั ว์
____________________________________
*มาตรา ๓๕๘ และมาตรา ๓๕๙ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
179

(๓) ยวดยานหรื อ สัต ว์ พ าหนะที่ ใ ช้ ใ นการขนส่ ง สาธารณะหรื อ


ในการประกอบกสิกรรมหรื ออุตสาหกรรม หรื อ
(๔) พืชหรื อพืชผลของกสิกร
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งแสน
บาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๖๐ ผู้ใดทาให้ เสียหาย ทาลาย ทาให้ เสื่อมค่าหรื อทาให้


ไร้ ประโยชน์ ซึ่งทรั พย์ ที่ใช้ หรื อมีไว้ เพื่อสาธารณประโยชน์ ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

** มาตรา ๓๖๐ ทวิ ผู้ใดทาให้ เสียหาย ทาลาย ทาให้ เสื่อมค่า หรื อ


ทาให้ ไร้ ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ตามมาตรา ๓๓๕ ทวิ วรรคหนึ่ง ที่ประดิษฐาน
อยู่ ใ นสถานที่ ต ามมาตรา ๓๓๕ ทวิ วรรคสอง ต้ อ งระวางโทษจ าคุ ก
ไม่เกินสิบปี หรื อปรับไม่เกินสองแสนบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๓๖๑ ความผิ ด ตามมาตรา ๓๕๘ และมาตรา ๓๕๙


เป็ นความผิดอันยอมความได้

____________________________________
*มาตรา ๓๖๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
**มาตรา ๓๖๐ ทวิ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๖
180

หมวด ๘
ความผิดฐานบุกรุ ก

* มาตรา ๓๖๒ ผู้ใ ดเข้ าไปในอสังหาริ มทรั พย์ ของผู้อื่น เพื่ อถื อการ
ครอบครองอสังหาริ มทรัพย์ นนั ้ ทัง้ หมดหรื อแต่บางส่วน หรื อเข้ าไปกระทา
การใด ๆ อันเป็ นการรบกวนการครอบครองอสังหาริ มทรั พย์ ของเขาโดย
ปกติสุข ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ นหนึ่งปี หรื อปรั บไม่เกินสองหมื่นบาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๖๓ ผู้ ใดเพื่ อ ถื อ เอาอสั ง หาริ มทรั พ ย์ ข องผู้ อื่ น เป็ น
ของตนหรื อ ของบุ ค คลที่ ส าม ยัก ย้ า ยหรื อ ท าลายเครื่ อ งหมายเขตแห่ ง
อสังหาริ มทรั พย์ นัน้ ทัง้ หมดหรื อแต่บางส่ว น ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ น
สามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๖๔ ผู้ใดโดยไม่มีเหตุอนั สมควร เข้ าไปหรื อซ่อนตัวอยู่ใน


เคหสถาน อาคารเก็ บ รั ก ษาทรั พ ย์ ห รื อ ส านัก งานในความครอบครอง
ของผู้อื่น หรื อไม่ยอมออกไปจากสถานที่ เช่น ว่านัน้ เมื่อผู้ มีสิทธิ ที่ จะห้ าม
มิให้ เข้ าไปได้ ไล่ให้ ออก ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรั บไม่เกิน
สองหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

____________________________________
*มาตรา ๓๖๒ ถึงมาตรา ๓๖๔ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
181

* มาตรา ๓๖๕ ถ้ าการกระท าความผิ ด ตามมาตรา ๓๖๒ มาตรา


๓๖๓ หรื อมาตรา ๓๖๔ ได้ กระทา
(๑) โดยใช้ กาลังประทุษร้ าย หรื อขู่เข็ญว่าจะใช้ กาลังประทุษร้ าย
(๒) โดยมีอาวุธหรื อโดยร่ วมกระทาความผิดด้ วยกันตังแต่ ้ สองคน
ขึ ้นไป หรื อ
(๓) ในเวลากลางคืน
ผู้กระทาต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งแสน
บาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๓๖๖ ความผิ ดในหมวดนี ้ นอกจากความผิ ดตามมาตรา


๓๖๕ เป็ นความผิดอันยอมความได้

____________________________________
*มาตรา ๓๖๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
182

*ลักษณะ ๑๓
ความผิดเกี่ยวกับศพ
** มาตรา ๓๖๖/๑ ผู้ใดกระทาเพื่อสนองความใคร่ ของตน โดยการใช้
อวัย วะเพศของตนล่ว งล า้ อวัย วะเพศ ทวารหนัก หรื อ ช่ องปากของศพ
ต้ องระวางโทษจ าคุ ก ไม่ เ กิ น สามปี หรื อปรั บ ไม่ เ กิ น หกหมื่ น บาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๓๖๖/๒ ผู้ใดกระทาอนาจารแก่ศพ ต้ องระวางโทษจาคุก


ไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๓๖๖/๓ ผู้ ใดโดยไม่ มี เ หตุ อั น สมควร ท าให้ เสี ย หาย


เคลื่อนย้ าย ทาลาย ทาให้ เสื่อมค่า หรื อทาให้ ไร้ ประโยชน์ ซึ่งศพ ส่วนของ
ศพ อัฐิ หรื อเถ้ าของศพ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกิน
หกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

มาตรา ๓๖๖/๔ ผู้ใดกระทาด้ วยประการใด ๆ อันเป็ นการดูหมิ่น


เหยี ยดหยามศพ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ นสามเดือน หรื อปรั บไม่เกิ น
ห้ าพันบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
____________________________________
*ลักษณะ ๑๓ ความผิดเกี่ยวกับศพ มาตรา ๓๖๖/๑ ถึงมาตรา ๓๖๖/๔ เพิ่มเติม โดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม
ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๕
**มาตรา ๓๖๖/๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ป.อ. (ฉบับ ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๕
ราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
183

ภาค ๓
ลหุโทษ
* มาตรา ๓๖๗ ผู้ใดเมื่อเจ้ าพนักงานถามชื่อหรื อที่อยู่ เพื่อปฏิบตั ิการ
ตามกฎหมาย ไม่ ย อมบอกหรื อแกล้ งบอกชื่ อ หรื อที่ อ ยู่ อั น เป็ นเท็ จ
ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินหนึง่ พันบาท

* มาตรา ๓๖๘ ผู้ใดทราบคาสัง่ ของเจ้ าพนักงานซึง่ สัง่ การตามอานาจ


ที่ มี ก ฎหมายให้ ไว้ ไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามค าสั่ ง นั น้ โดยไม่ มี เ หตุ ห รื อ ข้ อแก้ ตั ว
อันสมควร ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบวัน หรื อปรั บไม่เกิ นห้ าพันบาท
หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการสั่ ง เช่ น ว่ า นั น้ เป็ นค าสั่ ง ให้ ช่ ว ยท ากิ จ การในหน้ าที่ ข อง
เจ้ าพนักงานซึง่ กฎหมายกาหนดให้ สงั่ ให้ ช่วยได้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
หนึง่ เดือน หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๖๙ ผู้ ใดกระท าด้ วยประการใด ๆ ให้ ประกาศ


ภาพโฆษณา หรื อเอกสารใดที่ เจ้ า พนัก งานผู้ก ระท าการตามหน้ า ที่ ปิ ด
หรื อแสดงไว้ หรื อสั่ ง ให้ ปิ ด หรื อแสดงไว้ หลุ ด ฉี ก หรื อ ไร้ ประโยชน์
ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าพันบาท

* มาตรา ๓๗๐ ผู้ใดส่งเสียง ทาให้ เกิ ดเสียงหรื อกระทาความอือ้ อึง


โดยไม่มีเหตุอนั สมควร จนทาให้ ประชาชนตกใจหรื อเดือดร้ อน ต้ องระวาง
____________________________________
*มาตรา ๓๖๗ ถึงมาตรา ๓๗๐ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๖
184

โทษปรับไม่เกินหนึง่ พันบาท

* มาตรา ๓๗๑ ผู้ใดพาอาวุธไปในเมือง หมู่บ้านหรื อทางสาธารณะ


โดยเปิ ดเผยหรื อโดยไม่มี เ หตุส มควร หรื อ พาไปในชุ ม นุ มชนที่ ไ ด้ จัด ให้
มีขึน้ เพื่ อนมัส การ การรื่ น เริ งหรื อ การอื่น ใด ต้ องระวางโทษปรั บ ไม่เกิ น
หนึง่ พันบาท และให้ ศาลมีอานาจสัง่ ให้ ริบอาวุธนัน้

* มาตรา ๓๗๒ ผู้ใ ดทะเลาะกันอย่ างอือ้ อึงในทางสาธารณะ หรื อ


สาธารณสถาน หรื อกระทาโดยประการอื่นใดให้ เสียความสงบเรี ยบร้ อย
ในทางสาธารณะหรื อสาธารณสถาน ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าพันบาท

* มาตรา ๓๗๓ ผู้ใดควบคุมดูแลบุคคลวิกลจริ ต ปล่อยปละละเลย


ให้ บุค คลวิ ก ลจริ ต นัน้ ออกเที่ ยวไปโดยล าพัง ต้ องระวางโทษปรั บ ไม่เกิ น
ห้ าพันบาท

* มาตรา ๓๗๔ ผู้ใ ดเห็ น ผู้ อื่ น ตกอยู่ ใ นภยัน ตรายแห่ ง ชี วิ ต ซึ่ง ตน
อาจช่วยได้ โดยไม่ควรกลัวอันตรายแก่ตนเองหรื อผู้อื่น แต่ไม่ช่วยตามความ
จาเป็ น ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึง่ เดือน หรื อปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๗๕ ผู้ใดทาให้ รางระบายนา้ ร่ องนา้ หรื อ ท่อระบายของ


โสโครก อันเป็ นสิ่งสาธารณะเกิดขัดข้ องหรื อไม่สะดวก ต้ องระวางโทษปรับ
ไม่เกินห้ าพันบาท
____________________________________
*มาตรา ๓๗๑ ถึงมาตรา ๓๗๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๖
185

* มาตรา ๓๗๖ ผู้ใดยิงปื นซึง่ ใช้ ดินระเบิดโดยใช่เหตุในเมือง หมู่บ้าน


หรื อที่ชุมนุมชน ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบวัน หรื อปรั บไม่เกินห้ าพัน
บาท หรื อทังจ้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๗๗ ผู้ใดควบคุมสัตว์ ดุหรื อสัตว์ ร้าย ปล่อยปละละเลย


ให้ สัตว์ นัน้ เที่ ยวไปโดยลาพัง ในประการที่ อาจทาอันตรายแก่บุคคลหรื อ
ทรัพย์ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรื อปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
หรื อทังจ
้ าทังปรั้ บ

* มาตรา ๓๗๘ ผู้ ใดเสพสุ ร าหรื อ ของเมาอย่ า งอื่ น จนเป็ นเหตุ


ให้ ตนเมา ประพฤติวุ่น วายหรื อครองสติไ ม่ได้ ขณะอยู่ในถนนสาธารณะ
หรื อสาธารณสถาน ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าพันบาท

* มาตรา ๓๗๙ ผู้ใดชักหรื อแสดงอาวุธในการวิวาทต่อสู้ ต้ องระวาง


โทษจาคุกไม่เกินสิบวัน หรื อปรับไม่เกินห้ าพันบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๘๐ ผู้ใ ดท าให้ เ กิ ดปฏิ กู ล แก่ น า้ ในบ่ อ สระหรื อที่ ขังน า้
อัน มีไ ว้ ส าหรั บ ประชาชนใช้ ส อย ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่เกิ น หนึ่งเดือน
หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๘๑ ผู้ใดกระทาการทารุ ณต่อสัตว์ หรื อฆ่าสัตว์โดยให้ ได้ รับ


ทุกขเวทนาอันไม่จาเป็ น ต้ องระวางโทษจาคุ กไม่เกิ นหนึ่งเดือน หรื อปรั บ
ไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
____________________________________
*มาตรา ๓๗๖ ถึงมาตรา ๓๘๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๖
186

* มาตรา ๓๘๒ ผู้ใดใช้ ให้ สตั ว์ทางานจนเกินสมควรหรื อใช้ ให้ ทางาน


อันไม่สมควร เพราะเหตุที่สตั ว์นนป่
ั ้ วยเจ็บ ชราหรื ออ่อนอายุ ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินหนึง่ เดือน หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๘๓ ผู้ ใดเมื่ อ เกิ ด เพลิ ง ไหม้ ห รื อ สาธารณภั ย อื่ น และ
เจ้ าพนักงานเรี ยกให้ ช่วยระงับ ถ้ าผู้นนสามารถช่
ั้ วยได้ แต่ไม่ช่วย ต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินหนึง่ เดือน หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๘๔ ผู้ใดแกล้ งบอกเล่าความเท็จให้ เลื่องลือจนเป็ นเหตุ


ให้ ป ระชาชนตื่ น ตกใจ ต้ องระวางโทษจ าคุก ไม่ เกิ น หนึ่งเดือน หรื อปรั บ
ไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๘๕ ผู้ ใดโดยไม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตอัน ชอบด้ ว ยกฎหมาย


กีดขวางทางสาธารณะ จนอาจเป็ นอุปสรรคต่อความปลอดภัยหรื อความ
สะดวกในการจราจร โดยวางหรื อทอดทิ ง้ สิ่ ง ของ หรื อ โดยกระท าด้ ว ย
ประการอื่นใด ถ้ าการกระทานัน้ เป็ นการกระทาโดยไม่จาเป็ น ต้ องระวาง
โทษปรับไม่เกินห้ าพันบาท

* มาตรา ๓๘๖ ผู้ ใ ดขุด หลุมหรื อ ราง หรื อปลูก ปั ก หรื อวางสิ่ ง ของ
เกะกะไว้ ใ นทางสาธารณะ โดยไม่ ไ ด้ รั บ อนุญ าตอัน ชอบด้ วยกฎหมาย
หรื อทาได้ โดยชอบด้ วยกฎหมาย แต่ละเลยไม่แสดงสัญญาณตามสมควร
เพื่อป้องกันอุปัทวเหตุ ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าพันบาท

____________________________________
*มาตรา ๓๘๒ ถึงมาตรา ๓๘๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๖
187

* มาตรา ๓๘๗ ผู้ใดแขวน ติดตังหรื ้ อวางสิ่งใดไว้ โดยประการที่น่าจะ


ตกหรื อพังลง ซึง่ จะเป็ นเหตุอนั ตราย เปรอะเปื อ้ นหรื อเดือดร้ อนแก่ผ้ สู ญ
ั จร
ในทางสาธารณะ ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าพันบาท

* มาตรา ๓๘๘ ผู้ใ ดกระท าการอัน ควรขายหน้ าต่อหน้ าธารก านัล


โดยเปลือยหรื อเปิ ดเผยร่ างกาย หรื อกระทาการลามกอย่างอื่น ต้ องระวาง
โทษปรับไม่เกินห้ าพันบาท

* มาตรา ๓๘๙ ผู้ใ ดกระทาด้ วยประการใด ๆ ให้ ของแข็ งตกลง ณ


ที่ ใด ๆ โดยประการที่ น่ าจะเป็ นอัน ตรายหรื อเดือดร้ อนราคาญแก่บุคคล
หรื อเป็ นอันตรายแก่ทรั พย์ หรื อกระท าด้ วยประการใด ๆ ให้ ของโสโครก
เปรอะเปื ้อนหรื อน่าจะเปรอะเปื ้อน ตัวบุคคล หรื อทรั พย์ หรื อแกล้ งทาให้
ของโสโครกเป็ นที่เดือดร้ อนราคาญ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน
หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๙๐ ผู้ใดกระทาโดยประมาท และการกระทานัน้ เป็ นเหตุ


ให้ ผ้ อู ื่นรับอันตรายแก่กายหรื อจิตใจ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน
หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

* มาตรา ๓๙๑ ผู้ใดใช้ กาลังทาร้ ายผู้อื่นโดยไม่ถึงกับเป็ นเหตุให้ เกิด


อันตรายแก่กายหรื อจิตใจ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรื อ ปรั บ
ไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
____________________________________
*มาตรา ๓๘๗ ถึงมาตรา ๓๙๑ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๖
188

* มาตรา ๓๙๒ ผู้ ใดท าให้ ผู้ อื่ น เกิ ด ความกลั ว หรื อ ความตกใจ
โดยการขู่ เ ข็ ญ ต้ อ งระวางโทษจ าคุก ไม่ เ กิ น หนึ่ง เดื อ น หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น
หนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

** มาตรา ๓๙๓ ผู้ ใดดู ห มิ่ น ผู้ อื่ น ซึ่ ง หน้ าหรื อด้ วยการโฆษณา
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรื อ
ทังจ
้ าทังปรั
้ บ

***มาตรา ๓๙๔ ผู้ใดไล่ ต้ อนหรื อทาให้ สตั ว์ใด ๆ เข้ าในสวน ไร่ หรื อนา
ของผู้ อื่ น ที่ ไ ด้ แ ต่ ง ดิ น ไว้ เพาะพั น ธุ์ ไ ว้ หรื อ มี พื ช พั น ธุ์ หรื อ ผลิ ต ผลอยู่
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรื อปรั บไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรื อ
ทังจ
้ าทังปรั
้ บ

***มาตรา ๓๙๕ ผู้ใดควบคุมสัตว์ ใด ๆ ปล่อยปละละเลยให้ สัตว์ นัน้


เข้ าในสวน ไร่ หรื อนาของผู้อื่นที่ ได้ แต่งดินไว้ เพาะพันธุ์ไว้ หรื อมีพืชพันธุ์
หรื อผลิตผลอยู่ ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าพันบาท

*** มาตรา ๓๙๖ ผู้ ใดทิ ง้ ซากสัต ว์ ซึ่ ง อาจเน่ า เหม็ น ในหรื อ ริ ม ทาง
สาธารณะ ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าพันบาท
____________________________________
*มาตรา ๓๙๒ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๖
**มาตรา ๓๙๓ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๗
***มาตรา ๓๙๔ ถึงมาตรา ๓๙๖ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๖
189

* มาตรา ๓๙๗ ผู้ใดกระทาด้ วยประการใด ๆ ต่อผู้อื่น อัน เป็ นการ


รั ง แก ข่ มเหง คุก คาม หรื อ กระท าให้ ไ ด้ รั บ ความอับ อายหรื อเดื อดร้ อน
ราคาญ ต้ องระวางโทษปรับไม่เกินห้ าพันบาท
ถ้ าการกระท าความผิ ด ตามวรรคหนึ่ ง เป็ นการกระท าในที่
สาธารณสถานหรื อต่อหน้ าธารก านัล หรื อเป็ นการกระทาอันมีลักษณะ
ส่อไปในทางที่จะล่วงเกิ นทางเพศ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ นหนึ่งเดือน
หรื อปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ถ้ าการกระทาความผิดตามวรรคสองเป็ นการกระทาโดยอาศัยเหตุ
ที่ผ้ ูกระทามีอานาจเหนื อผู้ถูกกระทา อันเนื่องจากความสัมพันธ์ ในฐานะ
ที่เป็ นผู้บงั คับบัญชา นายจ้ าง หรื อผู้มีอานาจเหนือประการอื่น ต้ องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินหนึง่ เดือน และปรับไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท

** มาตรา ๓๙๘ ผู้ ใ ดกระท าด้ ว ยประการใด ๆ อัน เป็ นการทารุ ณ


ต่อเด็กอายุยงั ไม่เกินสิบห้ าปี คนป่ วยเจ็บหรื อคนชรา ซึง่ ต้ องพึ่งผู้นนในการ
ั้
ดารงชี พ หรื อการอื่น ใด ต้ องระวางโทษจ าคุกไม่เกิ น หนึ่งเดือน หรื อปรั บ
ไม่เกินหนึง่ หมื่นบาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ

______________________

____________________________________
*มาตรา ๓๙๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๘
**มาตรา ๓๙๘ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๙
190

ระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุตธิ รรม


ว่ าด้ วยการกาหนดจานวนชั่วโมงที่ถือเป็ นการทางานหนึ่งวัน
และแนวปฏิบัตใิ นการให้ ทางานบริการสังคมหรื อสาธารณประโยชน์
แทนค่ าปรั บ และการเปลี่ยนสถานที่กักขัง พ.ศ. ๒๕๔๖
________________
โดยที่ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๔ วรรคสาม และมาตรา
๓๐/๑ แก้ ไขเพิ่ มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ ไขเพิ่มเติ มประมวลกฎหมาย
อาญา (ฉบับ ที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ก าหนดให้ ศาลมี อานาจสั่งให้ ผ้ ู ต้อ ง
โทษปรั บทางานบริ การสังคมหรื อทางานสาธารณประโยชน์ แทนค่าปรั บ
ในกรณีที่ผ้ นู นไม่ ั ้ มีเงินชาระค่าปรับ และให้ ประธานศาลฎีกากาหนดจานวน
ชั่วโมงการทางานของผู้ต้องโทษปรั บ ที่ ถือเป็ นการทางานหนึ่งวัน โดยมี
วัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ สร้ างจิ ตส านึก ที่ ดี ใ ห้ แ ก่ ผ้ ู ต้ องโทษปรั บ เพื่ อ ให้ เ ข้ า มา
มี บ ทบาทช่ ว ยเหลื อ สร้ างคุ ณ ประโยชน์ แ ก่ สัง คม และก าหนดให้ ศาล
มีอานาจเปลี่ ยนแปลงสถานที่ กัก ขังผู้ต้องโทษกักขังหรื อผู้ถูก กักขังแทน
ค่าปรับ หากมีเหตุตามที่กฎหมายบัญญัติ อันเป็ นมาตรการในการคุ้มครอง
สวัสดิภาพความปลอดภัยให้ แก่ผ้ ตู ้ องโทษกักขังหรื อผู้ถูกกักขังแทนค่าปรับ
เพื่ อ ก าหนดจ านวนชั่วโมงที่ ถื อ เป็ นการท างานหนึ่ ง วัน และเพื่ อ
ให้ การทางานบริ การสังคมหรื อทางานสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับและ
การเปลี่ยนสถานที่กกั ขังตามคาสัง่ ศาลเป็ นไปโดยเรี ยบร้ อย อาศัยอานาจ
ตามความในมาตรา ๓๐/๑ วรรคหก แห่ งประมวลกฎหมายอาญา และ
มาตรา ๕ แห่งพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ประธานศาลฎีกาออกระเบียบไว้
ดังนี ้
191

หมวด ๑
บททั่วไป
ข้ อ ๑ ระเบียบนี ้เรี ยกว่า “ระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุติธรรม
ว่าด้ วยการก าหนดจ านวนชั่วโมงที่ ถื อเป็ นการท างานหนึ่ง วัน และแนว
ปฏิบตั ิในการให้ ทางานบริ การสังคมหรื อสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับและ
การเปลี่ยนสถานที่กกั ขัง พ.ศ. ๒๕๕๖”
ข้ อ ๒ ระเบียบนีใ้ ห้ ใช้ บังคับตังแต่
้ วนั ที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๖
เป็ นต้ นไป

หมวด ๒
จานวนชั่วโมงที่ถือเป็ นการทางานหนึ่งวัน
ข้ อ ๓ เพื่ อประโยชน์ ใ นการก าหนดจ านวนชั่วโมงท างานบริ ก าร
สัง คมหรื อ ท างานสาธารณประโยชน์ แ ทนค่ า ปรั บ ตามมาตรา ๓๐/๑
วรรคหก แห่งประมวลกฎหมายอาญา ให้ ถือว่า
๓.๑ การทางานช่ วยเหลื อดูแลอานวยความสะดวกหรื อให้ ความ
บันเทิงแก่คนพิการ คนชรา เด็กกาพร้ าหรื อผู้ป่วยในสถานสงเคราะห์ หรื อ
สถานพยาบาล งานวิชาการหรื องานบริ การด้ านการศึกษา เช่น การสอน
หนังสือ การค้ นคว้ าวิจยั หรื อการแปลเอกสาร เป็ นต้ น จานวน ๒ ชัว่ โมงเป็ น
การทางานหนึง่ วัน
๓.๒ การทางานวิชาชีพ งานช่างฝี มือหรื องานที่ต้องใช้ ความรู้ ความ
เชี่ยวชาญ เช่น งานช่างฝี มือเครื่ องยนต์ ก่อสร้ าง คอมพิวเตอร์ หรื อวิชาชีพ
อย่างอื่น เป็ นต้ น จานวน ๓ ชัว่ โมง เป็ นการทางานหนึง่ วัน
๓.๓ การท างานบริ ก ารสังคมหรื อ บ าเพ็ ญ สาธารณประโยชน์ อื่ น
192

ที่ ไ ม่ ต้ อ งใช้ ความรู้ ความเชี่ ย วชาญหรื อ งานอื่ น นอกจากที่ ก าหนดไว้


เช่น งานทาความสะอาดหรื อพัฒนาสถานที่สาธารณะ งานปลูกป่ า หรื อ
ดูแ ลสวนป่ าหรื อ สวนสาธารณะ งานจราจร เป็ นต้ น จ านวน ๔ ชั่ว โมง
เป็ นการทางานหนึง่ วัน
ในกรณี มีเหตุอนั สมควร ศาลอาจกาหนดจานวนชั่วโมงการทางาน
ตามวรรคหนึง่ ให้ ลดน้ อยลงได้ ทังนี ้ ้ โดยคานึงถึงหลักเกณฑ์ตามข้ อ ๗ และ
ให้ ระบุเหตุผลไว้ โดยชัดแจ้ งด้ วย

หมวด ๓
แนวปฏิบัตใิ นการมีคาสั่งให้ ทางานบริการสังคม
หรื อสาธารณประโยชน์
ข้ อ ๔ ผู้ต้ องโทษปรั บ ซึ่งไม่มี เงิ น ช าระค่าปรั บ อาจร้ องขอท างาน
บริ ก ารสัง คมหรื อ ท างานสาธารณประโยชน์ แ ทนค่ า ปรั บ ต่ อ ศาลชัน้ ต้ น
ที่ พิพากษาคดี โดยระบุรายละเอียดและประวัติของผู้ร้องตามแบบพิ มพ์
ที่กาหนดไว้ ท้ายระเบียบนี ้
ข้ อ ๕ ในคดีที่ศาลมีคาพิพากษาปรับไม่เกินแปดหมื่นบาท ศาลอาจ
สอบถามว่าผู้ต้องโทษปรั บมีเงินชาระค่าหรั บหรื อไม่ และแจ้ งให้ ทราบถึง
สิทธิที่จะขอทางานบริ การสังคมหรื อทางานสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับ
ก็ได้
ให้ ศาลจัดให้ มีการช่วยเหลือหรื ออานวยความสะดวกในการจัดทา
และยื่นคาร้ องตามข้ อ ๔ ด้ วย
ข้ อ ๖ ในการพิ จารณาว่าสมควรให้ ผ้ ูต้องโทษปรั บทางานบริ การ
สังคมหรื อทางานสาธารณประโยชน์ แทนค่าปรั บหรื อไม่ ศาลควรคานึงถึง
193

ประโยชน์ที่จะเกิดจากมาตรการบริ การสังคมและสาธารณประโยชน์ให้ มาก


และพึงให้ ความสาคัญแก่ข้อมูลที่เกี่ยวกับฐานะการเงิน ประวัติและสภาพ
ความผิดของผู้ต้องโทษปรั บ และเพื่ อการนี ้ ศาลอาจสอบถามหรื อไต่สวน
ข้ อเท็จจริ งเพิ่มเติมเพื่อให้ ได้ ข้อมูลประกอบการพิจารณาครบถ้ วน รวมทัง้
อาจขอความร่ ว มมื อ จากพนั ก งานอั ย การหรื อหน่ ว ยงานอื่ น ในการ
สืบเสาะหาข้ อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาก็ได้
ฐานะการเงินของผู้ต้องโทษปรั บ ให้ พิจารณาจากรายได้ ทรั พย์ สิน
ความเป็ นอยู่ ภาระหนี ส้ ิ น ต่ า ง ๆ เพื่ อ ให้ ได้ ข้ อเท็ จ จริ ง ปรากฏว่ า ผู้ นั น้
มีเงินพอที่จะชาระค่าปรับได้ ในเวลาที่ยื่นคาร้ องหรื อไม่
ประวัติของผู้ต้องโทษปรับให้ พิจารณาถึงประวัติการกระทาความผิด
การศึกษา อาชีพ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ครอบครั ว และสภาพแวดล้ อม
รวมทังข้ ้ อมูลส่วนบุคคลประการอื่น
สภาพความผิ ด ให้ พิ จ ารณาถึ ง ความหนัก เบาแห่ ง ข้ อ หา ความ
รุ น แรงของการกระท าความผิ ด สภาวะทางจิ ตใจ การกระท าความผิ ด
โดยเจตนาหรื อ ประมาท ความเสี ย หายที่ เ กิ ด จากการกระท าความผิ ด
สภาพความผิดที่ไม่ควรอนุญาตให้ ทางานแทนค่าปรับ ได้ แก่ ความผิดที่ได้
กระทาไปด้ วยเจตนาร้ ายหรื อทุจริ ตฉ้ อฉล อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน
ส่วนรวม หรื อความผิ ดที่ กฎหมายมุ่งประสงค์ จะลงโทษในทางทรั พย์ สิ น
ต่ อ ผู้ กระท าผิ ด เพื่ อ มิ ใ ห้ ผ้ ู นั น้ ได้ รั บ ประโยชน์ จ ากการกระท าความผิ ด
เช่ น ความผิ ด ฐานฉ้ อโกงประชาชน ความผิ ดเกี่ ย วกับ การค้ ายาเสพติด
ความผิดเกี่ยวกับการฟอกเงิน ความผิดตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ ความผิดตามกฎหมายว่าด้ วยการประกอบกิจการสถาบัน
การเงิน หรื อความผิดตามกฎหมายศุลกากร เป็ นต้ น
194

ข้ อ ๗ ก าหนดระยะเวลา สถานที่ และประเภทของการท างาน


บริ ก ารสัง คมหรื อการท างานสาธารณประโยชน์ นอกจากปั จ จัย ต่า ง ๆ
ตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๓๐/๑ วรรคสาม แห่งประมวลกฎหมายอาญา
แล้ ว ศาลควรพิ จารณาด้ วยว่าการทางานนัน้ ต้ องไม่ก่อความเสียหายแก่
สังคมหรื อบุคคลอื่น และต้ องไม่ก่อให้ เกิ ดภาระเกิ นสมควรแก่ผ้ ูต้องโทษ
ปรับ ทังนี ้ ้ ให้ พิจารณาจากวิถีชีวิต การดารงชีพ การศึกษาเล่าเรี ยน ความ
รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ครอบครั ว ระยะทางและความสะดวกในการเดิ น ทาง
ไปทางาน ความเป็ นผู้ป่วยเจ็บหรื อเป็ นโรคติดต่ออย่างร้ ายแรง การติดยา
เสพติดหรื อสุราเรื อ้ รั ง ประวัติในการกระทาผิดทางเพศ พฤติกรรมในทาง
ก้ าวร้ าวรุ นแรง ปั ญหาทางอารมณ์หรื อความบกพร่ องทางจิตของผู้ต้องโทษ
ปรับด้ วย
ข้ อ ๘ ระยะเวลาการทางานของผู้ต้องโทษปรับในแต่ละวัน ไม่ควร
กาหนดให้ เกินวันละ ๖ ชัว่ โมง โดยพิจารณาจากลักษณะหรื อประเภท และ
ความเหมาะสมของงาน ความจ าเป็ นของผู้ต้องโทษปรั บ รวมถึงปั จ จัย
แวดล้ อมอื่นประกอบด้ วย
เมื่อผู้ต้องโทษปรั บทางานครบจานวนชั่วโมงที่กาหนดไว้ ตามข้ อ ๓
ก็ ใ ห้ ถื อว่ าได้ ท างานหนึ่ งวัน และให้ นับ เช่ น นัน้ ไปจนครบจ านวนชั่วโมง
ที่ได้ ทางานทังหมดรวมกั
้ น
ข้ อ ๙ ศาลจะก าหนดให้ ผ้ ู ต้ อ งโทษปรั บ ท างานติ ด ต่ อ กัน ทุ ก วัน
หรื อไม่ก็ได้ แต่ควรกาหนดให้ ทางานอย่างน้ อยสัปดาห์ละ ๑ วัน และไม่เกิน
๕ วัน ในแต่ ล ะสั ป ดาห์ เว้ นแต่ มี พ ฤติ ก ารณ์ พิ เ ศษตามค าร้ องขอของ
ผู้ต้องโทษปรับ ศาลอาจกาหนดหรื อเปลี่ยนแปลงคาสัง่ เป็ นอย่างอื่นก็ได้
ข้ อ ๑๐ ให้ สานักงานศาลยุติธรรมติดต่อประสานงานกับกระทรวง
195

การพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ กระทรวงยุติธรรม กระทรวง


แรงงาน องค์ ก รส่ ว นท้ องถิ่ น หรื อ หน่ ว ยงานอื่ น ของรั ฐ หรื อ องค์ การ
ซึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ การบริ การสั ง คม การกุ ศ ลสาธารณะหรื อ
สาธารณประโยชน์ เช่ น องค์ ก รที่ ท างานเกี่ ยวกับ เด็ก หน่วยงานบริ ก าร
ข่ า วสาร บริ ก ารสุข าภิ บ าล หน่ วยงานควบคุม ป้ องกัน อัคคี ภัย ควบคุม
มลภาวะ บรรเทาสาธารณภัย ดูแลรั กษาหรื อทาความสะอาด ดูแลรั กษา
สวนสาธารณะ จราจร หน่วยงานจัดทาโครงการฝึ กอบรมหรื อฝึ กหัดงาน
แก่เยาวชน สถานศึกษา หรื อโรงพยาบาลหรื อสถานพยาบาลที่ดูแลรั กษา
คนพิ ก าร เด็ ก คนชรา เป็ นต้ น เพื่ อให้ รั บ เป็ นผู้ ดูแ ลการท างาน รวมทัง้
ให้ จดั ระบบการติดต่อประสานงานระหว่างศาลกับหน่วยงานดังกล่าว และ
ก าหนดประเภทและลัก ษณะการท างาน เพื่ อ ให้ ศ าลน ามาตรการการ
ท างานบริ ก ารสัง คมและสาธารณประโยชน์ แ ทนค่ า ปรั บ มาใช้ ให้ เกิ ด
ประโยชน์สงู สุด
ข้ อ ๑๑ เมื่อได้ สงั่ ให้ ผ้ ูต้องโทษปรับทางานบริ การสังคมหรื อทางาน
สาธารณประโยชน์ ศาลอาจกาหนดเงื่ อนไขให้ ผ้ ูต้องโทษปรั บปฏิ บัติเพื่ อ
แก้ ไขฟื น้ ฟูหรื อป้องกันมิให้ ผ้ นู นกระท
ั้ าความผิดขึ ้นอีกก็ได้ เช่น
๑๑.๑ การเข้ าร่ วมโครงการฝึ กอบรมทางศีลธรรมหรื อฝึ กวินัย หรื อ
โครงการอื่นตามที่ศาลเห็นสมควร
๑๑.๒ การละเว้ น การคบหาสมาคมหรื อการประพฤติใดอัน อาจ
นาไปสูก่ ารกระทาความผิดในทานองเดียวกันอีก
๑๑.๓ การห้ ามเสพสิ่งเสพติดทุกชนิด
ข้ อ ๑๒ เมื่อศาลมีคาสัง่ อนุญาตให้ ทางานแทนค่าปรั บ ให้ ศาลแจ้ ง
คาสัง่ ไปยังผู้ที่ยินยอมรับดูแลและให้ แจ้ งด้ วยว่าเมื่อการทางานเสร็ จสิ ้นลง
196

หรื อมีพฤติการณ์ เปลี่ยนแปลงไป ให้ ผ้ ูดูแลรายงานเกี่ยวกับการทางานให้


ศาลทราบด้ วย

หมวด ๔
แนวปฏิบัตใิ นการสั่งเปลี่ยนสถานที่กักขัง
ข้ อ ๑๓ ในการใช้ ดุล พิ นิ จ เปลี่ ย นสถานที่ กัก ขัง ตามมาตรา ๒๔
วรรคสาม แห่ ง ประมวลกฎหมายอาญา ศาลอาจขอความร่ วมมื อจาก
กระทรวงการพัฒ นาสัง คมและความมั่น คงของมนุ ษ ย์ กรมราชทัณ ฑ์
กรมคุม ประพฤติ หรื อ หน่ ว ยงานอื่ น ตามที่ ก าหนดไว้ ใ นข้ อ ๑๐ ในการ
สืบเสาะหาข้ อมูลเพื่อประกอบการใช้ ดุลพิ นิจ รวมทัง้ ความร่ วมมือในการ
จัดหาสถานที่กกั ขังที่เหมาะสมและผู้ที่ยินยอมรับควบคุมดูแลก็ได้
ข้ อ ๑๔ เพื่อให้ การปฏิบตั ิตามระเบียบนี ้เป็ นไปด้ วยความเรี ยบร้ อย
ศาลอาจก าหนดแนวทางปฏิ บั ติ ข องแต่ ล ะศาลได้ เ ท่ า ที่ ไ ม่ ขัด หรื อ แย้ ง
กับระเบียบนี ้ เช่น ระบบการประสานงานกับหน่วยงานตามข้ อ ๑๐ เป็ นต้ น
ข้ อ ๑๕ ในกรณี ที่ต้องมีวิธี การใดในทางธุ รการเพื่ อให้ การปฏิ บัติ
ตามระเบี ย บนี เ้ ป็ นไปด้ วยความเรี ย บร้ อย ให้ เลขาธิ ก ารส านัก งานศาล
ยุติธรรมเป็ นผู้กาหนดวิธีการนัน้

ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๖


อรรถนิติ ดิษฐอานาจ
ประธานศาลฎีกา
197

พระราชบัญญัติ
ค่ าตอบแทนผู้เสียหาย และค่ าทดแทน
และค่ าใช้ จ่ายแก่ จาเลยในคดีอาญา
พ.ศ. ๒๕๔๔
_________________
ภูมพ
ิ ลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ ไว้ ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔
เป็ นปี ที่ ๕๖ ในรั ชกาลปั จจุบัน
พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุล ยเดช มี พ ระบรม
ราชโองการโปรดเกล้ าฯ ให้ ประกาศว่า
โดยที่ เป็ นการสมควรให้ มีก ฎหมายว่าด้ วยค่าตอบแทนผู้เสี ยหาย
และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา
พระราชบัญญัตินี ้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิ
และเสรี ภาพของบุคคล ซึง่ มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๔
มาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๙ ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจัก รไทย
บัญญัติให้ กระทาได้ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
จึง ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ าฯ ให้ ต ราพระราชบัญ ญัติ ขึ น้ ไว้ โ ดย
คาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี ้
198

มาตรา ๑ พ ร ะ ร าช บั ญ ญั ติ นี เ้ รี ย ก ว่ า “ พ ระร า ช บั ญ ญั ติ
ค่ าตอบแทนผู้ เสี ยหาย และค่ าทดแทนและค่ า ใช้ จ่ายแก่ จาเลยใน
คดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔”
* มาตรา ๒ พระราชบั ญ ญั ติ นี ใ้ ห้ ใช้ บั ง คั บ ตั ง้ แต่ วั น ถั ด จากวั น
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี ้
“ผู้เสียหาย” หมายความว่า บุคคลซึง่ ได้ รับความเสียหายถึงแก่ชีวิต
หรื อร่ างกายหรื อจิตใจเนื่องจากการกระทาความผิดอาญาของผู้อื่ น โดยตน
มิได้ มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับการกระทาความผิดนัน้
“จ าเลย” หมายความว่ า บุ ค คลซึ่ง ถู ก ฟ้ องต่ อ ศาลว่ า ได้ ก ระท า
ความผิดอาญา
“ค่ าตอบแทน” หมายความว่า เงิน ทรั พย์ สิน หรื อประโยชน์ อื่นใด
ที่ ผ้ ู เ สี ย หายมี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ เพื่ อ ตอบแทนความเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ น้ จากหรื อ
เนื่องจากมีการกระทาความผิดอาญาของผู้อื่น
“ค่ า ทดแทน” หมายความว่า เงิ น ทรั พย์ สิ น หรื อประโยชน์ อื่นใด
ที่จาเลยมีสิทธิ ได้ รับเนื่องจากการตกเป็ นจาเลยในคดีอาญาและถูกคุมขัง
ระหว่ า งการพิ จ ารณาคดี และปรากฏว่ า ค าพิ พ ากษาถึ ง ที่ สุด ในคดี นัน้
ฟั งเป็ นยุติว่าจาเลยมิได้ เป็ นผู้กระทาความผิ ดหรื อการกระทาของจาเลย
ไม่เป็ นความผิด
“ส านั ก งาน” หมายความว่า ส านัก งานช่ วยเหลือทางการเงิ น แก่
ผู้เสียหายและจาเลยในคดีอาญา
“คณะกรรมการ” หมายความว่ า คณะกรรมการพิ จ ารณา
____________________________________
*ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๘ ตอนที่ ๑๐๔ ก หน้ า ๒๓ วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
199

ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา


“กรรมการ” หมายความว่ า กรรมการพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน
ผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายในคดีอาญา
“พนั กงานอัยการ” หมายความว่า พนักงานอัยการตามกฎหมาย
ว่าด้ วยพนักงานอัยการหรื ออัยการทหารตามกฎหมายว่าด้ วยธรรมนูญศาล
ทหาร
“พนั ก งานเจ้ า หน้ าที่ ” หมายความว่ า ผู้ ซึ่ ง รั ฐ มนตรี แ ต่ ง ตัง้ ให้
ปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัตินี ้
“รั ฐมนตรี ” หมายความว่า รัฐมนตรี ผ้ รู ักษาการตามพระราชบัญญัติ
นี ้
มาตรา ๔ ให้ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงยุติธรรมและรัฐมนตรี ว่าการ
กระทรวงการคลังรั กษาการตามพระราชบัญญัตินี ้ และให้ มีอานาจออก
กฎกระทรวง ระเบี ย บ และประกาศแต่ ง ตั ง้ พนั ก งานเจ้ าหน้ าที่ เ พื่ อ
ปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัตินี ้
กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนัน้ เมื่อได้ ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาแล้ ว ให้ ใช้ บงั คับได้

หมวด ๑
บททั่วไป
มาตรา ๕ การเรี ยกร้ องหรื อการได้ มาซึ่งสิทธิ หรื อประโยชน์ ตาม
พระราชบัญญัตินี ้ ไม่เป็ นการตัดสิทธิ หรื อประโยชน์ที่ผ้ ูเสียหายหรื อจาเลย
พึงได้ ตามกฎหมายอื่น
มาตรา ๖ ในกรณีที่ผ้ เู สียหายหรื อจาเลยถึงแก่ความตายก่อนที่จะ
200

ได้ รับค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรื อค่าใช้ จ่าย แล้ วแต่กรณี ให้ สิทธิ ในการ
เรี ยกร้ องและการรั บค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรื อค่าใช้ จ่ายตกแก่ทายาท
ซึ่ง ได้ รั บ ความเสี ย หายของผู้เสี ย หายหรื อจ าเลยนัน้ ทัง้ นี ้ ตามระเบี ย บ
ที่คณะกรรมการกาหนด
* มาตรา ๖/๑ ในคดี ที่ มี ก ารร้ องทุ ก ข์ ต่ อ พนั ก งานสอบสวนตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจ ารณาความอาญา ให้ พ นักงานสอบสวนแจ้ งให้
ผู้เสียหายหรื อทายาทซึง่ ได้ รับความเสียหายที่มาร้ องทุกข์ดงั กล่าวทราบถึง
สิทธิการได้ รับค่าตอบแทนตามพระราชบัญญัตินี ้
ในคดี ที่ พ นั ก งานอั ย การเป็ นโจทก์ แ ละศาลมี ค าสั่ ง อนุ ญ าต
ให้ ถอนฟ้ อง หรื อ ศาลมี ค าพิ พ ากษายกฟ้ อง และจ าเลยถู ก คุ ม ขั ง อยู่
ให้ เจ้ าพนักงานผู้มีหน้ าที่ปล่อยตัวจาเลยในคดีดงั กล่าวแจ้ งให้ จาเลยทราบ
ถึงสิทธิ การได้ รับค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายในกรณี ที่ศาลมีคาสั่งอนุญาต
ให้ ถ อนฟ้ อง หรื อศาลมี คาพิ พ ากษาถึง ที่ สุด ว่ าจ าเลยมิ ไ ด้ เ ป็ นผู้ ก ระท า
ความผิด หรื อการกระทาของจาเลยไม่เป็ นความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้
เมื่ อ ได้ มี ก ารแจ้ ง ตามวรรคหนึ่ ง หรื อ วรรคสองแล้ ว ให้ พ นัก งาน
สอบสวนหรื อเจ้ าพนักงานผู้มีหน้ าที่ ปล่อยตัวจาเลย บัน ทึกรายละเอีย ด
การแจ้ งนันไว้ ้ ในสานวนคดีหรื อทะเบียนประวัติของจาเลยซึง่ ตนรับผิดชอบ
ด้ วย แล้ วแต่กรณี

____________________________________
*มาตรา ๖/๑ เพิ่ มเติ ม โดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่ มเติ ม พ.ร.บ. ค่ าตอบแทนผู้เ สีย หาย และค่า ทดแทนและ
ค่าใช้ จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๓
201

หมวด ๒
คณะกรรมการพิจารณาค่ าตอบแทนผู้เสียหาย และค่ าทดแทนและ
ค่ าใช้ จ่ายแก่ จาเลยในคดีอาญา
* มาตรา ๗ ให้ มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรี ยกว่า "คณะกรรมการ
พิ จารณาค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่จาเลย
ในคดีอาญา" ประกอบด้ วย ปลัดกระทรวงยุติธรรมเป็ นประธานกรรมการ
ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คง
ของมนุษย์ ผู้แทนกรมการปกครอง ผู้แทนกรมคุ้มครองสิทธิ และเสรี ภาพ
ผู้แ ทนกรมพระธรรมนู ญ ผู้แ ทนกรมราชทัณ ฑ์ ผู้ แ ทนส านัก งานตารวจ
แห่งชาติ ผู้แทนสานักงานศาลยุติธรรม ผู้แทนสานักงานอัยการสูงสุด ผู้แทน
สภาทนายความ เป็ นกรรมการโดยต าแหน่ ง และผู้ท รงคุณ วุฒิ จ านวน
ไม่ เ กิ น ห้ าคนซึ่ ง คณะรั ฐ มนตรี แ ต่ ง ตัง้ โดยค าแนะน าของรั ฐ มนตรี ซึ่ ง
ในจานวนนี ้ต้ องเป็ นผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์ ด้ านสังคมสงเคราะห์ และ
ด้ านการคุ้มครองสิทธิเสรี ภาพของประชาชนเป็ นที่ประจักษ์ อย่างน้ อยด้ าน
ละหนึง่ คน เป็ นกรรมการ
ให้ ผ้ ูอานวยการสานักงานช่วยเหลือทางการเงิ นแก่ผ้ ูเสียหายและ
จาเลยในคดีอาญา กรมคุ้มครองสิท ธิ และเสรี ภาพ เป็ นเลขานุการ และ
ให้ ประธานกรรมการแต่งตังข้ ้ าราชการในสานักงานช่วยเหลือทางการเงิน
แก่ผ้ ูเสียหายและจาเลยในคดีอาญา เป็ นผู้ช่วยเลขานุการจานวนไม่เกิ น
สองคน

____________________________________
*มาตรา ๗ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่
จาเลยในคดีอาญา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๔
202

มาตรา ๘ คณะกรรมการมีอานาจหน้ าที่ ดังต่อไปนี ้


(๑) พิ จารณาอนุมัติค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรื อค่าใช้ จ่ ายตาม
พระราชบัญญัตินี ้
(๒) เสนอความเห็นต่อรั ฐมนตรี เกี่ยวกับมาตรการในการคุ้มครอง
สิทธิ ของผู้เสียหายและจาเลยในคดีอาญา ตลอดจนการออกกฎกระทรวง
ระเบียบ และประกาศต่าง ๆ เพื่อดาเนินการตามพระราชบัญญัตินี ้
(๓) มีหนังสือสอบถามหรื อเรี ยกบุคคลใดมาให้ ถ้อยคา หรื อให้ ส่ง
เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้ องหรื อข้ อมูลหรื อสิ่งอื่นที่จาเป็ นมาเพื่อประกอบ
การพิจารณา
(๔) ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดเพื่ อ บรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ต ามที่ ก าหนด
ไว้ ในพระราชบัญญัตินี ้
ในการปฏิ บัติ ห น้ าที่ ตามมาตรานี ้ คณะกรรมการอาจมอบหมาย
ให้ สานักงานเป็ นผู้ปฏิบตั ิแทนได้
มาตรา ๙ กรรมการผู้ท รงคุณ วุฒิ มีว าระอยู่ ใ นต าแหน่ ง คราวละ
สองปี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ พ้ นจากตาแหน่งอาจได้ รับแต่งตังอี ้ กได้
มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้ นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๙
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่ง เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) คณะรั ฐ มนตรี ใ ห้ ออกโดยค าแนะน าของรั ฐ มนตรี เพราะ
บกพร่ อ งหรื อ ไม่ สุ จ ริ ต ต่ อ หน้ า ที่ มี ค วามประพฤติ เ สื่ อ มเสี ย หรื อ หย่ อ น
ความสามารถ
(๔) เป็ นบุคคลล้ มละลาย
203

(๕) เป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้ ความสามารถ


(๖) ได้ รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้ จาคุก เว้ นแต่เป็ น
โทษสาหรับความผิดที่ได้ กระทาโดยประมาทหรื อความผิดลหุโทษ
มาตรา ๑๑ ในกรณีที่มีการแต่งตังกรรมการผู ้ ้ ทรงคุณวุฒิในระหว่าง
ที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ แต่งตังไว้ ้ แล้ วยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ ผ้ ไู ด้ รับ
การแต่ ง ตั ง้ นั น้ อยู่ ใ นต าแหน่ ง เท่ า กั บ วาระที่ เ หลื อ อยู่ ข องกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ แต่งตังไว้้ แล้ วนัน้
มาตรา ๑๒ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิดารงตาแหน่งครบวาระ
แล้ ว แต่ยัง มิไ ด้ มีก ารแต่งตัง้ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ขึน้ ใหม่ ให้ กรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ พ้ นจากตาแหน่งตามวาระปฏิบตั ิหน้ าที่ไปพลางก่อนจนกว่า
จะมีการแต่งตังกรรมการผู
้ ้ ทรงคุณวุฒิขึ ้นใหม่
มาตรา ๑๓ การประชุ ม ของคณะกรรมการต้ องมี ก รรมการมา
ประชุ ม ไม่ น้ อยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของจ านวนกรรมการทั ง้ หมด จึ ง จะเป็ น
องค์ประชุม
ในการประชุมคราวใด ถ้ าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรื อ
ไม่ อาจปฏิ บัติ ห น้ า ที่ ไ ด้ ใ ห้ ก รรมการที่ มาประชุ ม เลื อกกรรมการคนหนึ่ ง
เป็ นประธานในที่ประชุม
มติในที่ ประชุมให้ ถือเสียงข้ างมากของผู้เข้ าร่ วมประชุม กรรมการ
คนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้ าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ ประธาน
ในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ ้นอีกเสียงหนึง่ เป็ นเสียงชี ้ขาด
มาตรา ๑๔ คณะกรรมการจะแต่งตังคณะอนุ ้ กรรมการเพื่อพิจารณา
หรื อปฏิบตั ิการอย่างใดอย่างหนึง่ ตามที่คณะกรรมการมอบหมายก็ได้
ในการประชุมของคณะอนุกรรมการให้ นามาตรา ๑๓ มาใช้ บังคับ
204

โดยอนุโลม
* มาตรา ๑๔/๑ คณะกรรมการอาจแต่งตังคณะอนุ ้ กรรมการพิจารณา
ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา
คณะหนึ่ ง หรื อหลายคณะ ตามความเหมาะสม โดยในแต่ ล ะคณะ
มีอนุกรรมการจานวนไม่น้อยกว่าห้ าคนแต่ไม่เกินเก้ าคน ทังนี ้ ้ องค์ประกอบ
คุ ณ สมบั ติ แ ละวาระการด ารงต าแหน่ ง ให้ เป็ นไปตามระเบี ย บที่
คณะกรรมการกาหนด และให้ มีอานาจหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้
(๑) พิ จ ารณาอนุมัติค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรื อค่าใช้ จ่ ายตาม
พระราชบั ญ ญั ติ นี ้ ทัง้ นี ้ หลัก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขการพิ จ ารณา
ให้ เป็ นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด
(๒) มีหนัง สือสอบถามหรื อเรี ย กบุคคลใดมาให้ ถ้อยคาหรื อให้ ส่ง
เอกสาร หลัก ฐานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง หรื อ ข้ อ มูล หรื อ สิ่ ง อื่ น ใดที่ จ าเป็ นมาเพื่ อ
ประกอบการพิจารณา
(๓) ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
ให้ นามาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ และมาตรา
๒๑ มาใช้ บังคับกับการพิจารณาและการดาเนินการของคณะอนุกรรมการ
ตามวรรคหนึง่ ด้ วย
ในการประชุมของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่งให้ นามาตรา ๑๓
มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม
____________________________________
*มาตรา ๑๔/๑ เพิ่มเติ มโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติ ม พ.ร.บ. ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและ
ค่าใช้ จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๕
205

หมวด ๓
สานักงานช่ วยเหลือทางการเงินแก่ ผ้ ูเสียหาย
และจาเลยในคดีอาญา
มาตรา ๑๕ ให้ จัดตัง้ สานักงานช่วยเหลือทางการเงิ นแก่ผ้ ูเสียหาย
และจ าเลยในคดี อาญาขึน้ ในกระทรวงยุติธ รรม และให้ มีอานาจหน้ าที่
ดังต่อไปนี ้
(๑) ปฏิ บัติงานธุ รการของคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการ
ตามพระราชบัญญัตินี ้
(๒) รับคาขอรับค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรื อค่าใช้ จ่าย พร้ อมทังท ้ า
ความเห็นเสนอต่อคณะกรรมการหรื อคณะอนุกรรมการ
(๓) ประสานงานกับ หน่ วยงานราชการอื่ น หรื อบุค คลใด ๆ เพื่ อ
ขอทราบข้ อเท็จจริ งหรื อความเห็นเกี่ยวกับการขอรับค่าตอบแทน ค่าทดแทน
หรื อค่าใช้ จ่าย
(๔) เก็บ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจ่ายค่าตอบแทน
ค่าทดแทน หรื อค่าใช้ จ่าย
(๕) กระท ากิ จ การตามที่ รั ฐ มนตรี คณะกรรมการ หรื อ คณะ
อนุกรรมการมอบหมาย
มาตรา ๑๖ ในกรณี ที่ ส านั ก งานเห็ น ว่ า มี ค วามจ าเป็ นที่ จ ะต้ อ ง
ดาเนินคดีตามพระราชบัญญัตินี ้ กระทรวงยุติธรรมอาจแต่งตังข้ ้ าราชการ
ในสังกัดกระทรวงยุติธรรมซึง่ มีคณ ุ วุฒิไม่ต่ากว่าปริ ญญาตรี ทางนิติศาสตร์
เพื่ อให้ มีอานาจด าเนิ น คดีห รื อดาเนิ น การใด ๆ ที่ เกี่ ย วข้ องกับ คดีตามที่
กระทรวงยุติธรรมมอบหมายก็ได้ และให้ แจ้ งศาลทราบ
การดาเนินคดีตามมาตรานี ้ ให้ ได้ รับยกเว้ นค่าธรรมเนียมศาล
206

หมวด ๔
การจ่ ายค่ าตอบแทนผู้เสียหายในคดีอาญา
มาตรา ๑๗ ค ว าม ผิ ด ที่ ก ร ะ ท าต่ อ ผู้ เ สี ย ห า ย อั น อ าจ ข อ รั บ
ค่าตอบแทนได้ ต้องเป็ นความผิดตามรายการที่ระบุไว้ ท้ายพระราชบัญญัตินี ้
มาตรา ๑๘ ค่าตอบแทนตามมาตรา ๑๗ ได้ แก่
(๑) ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ จ าเป็ นในการรั ก ษาพยาบาล รวมทั ง้ ค่ า ฟื ้ น ฟู
สมรรถภาพทางร่ างกายและจิตใจ
(๒) ค่าตอบแทนในกรณีที่ผ้ เู สียหายถึงแก่ความตาย จานวนไม่เกิน
ที่กาหนดในกฎกระทรวง
(๓) ค่ า ขาดประโยชน์ ท ามาหาได้ ในระหว่ า งที่ ไ ม่ ส ามารถ
ประกอบการงานได้ ตามปกติ
(๔) ค่าตอบแทนความเสียหายอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
ทังนี้ ้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราที่กาหนดในกฎกระทรวง
คณะกรรมการจะก าหนดให้ ผ้ ูเสีย หายได้ รั บค่าตอบแทนเพี ยงใด
หรื อ ไม่ ก็ ไ ด้ โดยค านึ ง ถึ ง พฤติ ก ารณ์ แ ละความร้ ายแรงของการกระท า
ความผิ ด และสภาพความเสี ย หายที่ ผ้ ู เ สี ย หายได้ รั บ รวมทั ง้ โอกาสที่
ผู้เสียหายจะได้ รับการบรรเทาความเสียหายโดยทางอื่นด้ วย
มาตรา ๑๙ หากปรากฏในภายหลังว่าการกระทาที่ผ้ ูเสียหายอาศัย
เป็ นเหตุในการขอรั บค่าตอบแทนนัน้ ไม่เป็ นความผิ ดอาญาหรื อไม่มีการ
กระท าเช่ น ว่ า นั น้ ให้ คณะกรรมการมี ห นั ง สื อ แจ้ งให้ ผู้ เสี ย หายคื น
ค่าตอบแทนที่ได้ รับไปแก่กระทรวงยุติธรรมภายในสามสิบวันนับแต่วันที่
ได้ รับแจ้ ง
207

หมวด ๕
การจ่ ายค่ าทดแทนและค่ าใช้ จ่ายแก่ จาเลยในคดีอาญา
มาตรา ๒๐ จ าเลยที่ มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ ค่ า ทดแทนและค่ า ใช้ จ่ า ยตาม
พระราชบัญญัตินี ้ ต้ อง
(๑) เป็ นจาเลยที่ถกู ดาเนินคดีโดยพนักงานอัยการ
(๒) ถูกคุมขังในระหว่างการพิจารณาคดี และ
(๓) ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าจาเลยมิได้ เป็ นผู้กระทาความผิดและ
มีการถอนฟ้องในระหว่างดาเนินคดี หรื อปรากฏตามคาพิพากษาอันถึงที่ สดุ
ในคดีนนั ้ ว่าข้ อเท็จจริ งฟั งเป็ นยุติว่าจาเลยมิได้ เป็ นผู้กระทาความผิดหรื อ
การกระทาของจาเลยไม่เป็ นความผิด
ในคดี ที่ มี จ าเลยหลายคน จ าเลยคนใดถึ ง แก่ ค วามตายก่ อ นมี
คาพิ พ ากษาถึง ที่ สุด และคณะกรรมการเห็ นสมควรจ่ายค่าทดแทนและ
ค่ า ใช้ จ่ า ยให้ แก่ จ าเลยอื่ น ที่ ยั ง มี ชี วิ ต อยู่ ถ้ าเป็ นเหตุ อ ยู่ ใ นลัก ษณะคดี
จ าเลยที่ ถึ ง แก่ ค วามตายนัน้ มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ ค่ า ทดแทนและค่ า ใช้ จ่ า ยตาม
พระราชบัญญัตินี ้ได้ ด้วย
มาตรา ๒๑ การกาหนดค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายตามมาตรา ๒๐
ให้ กาหนดตามหลักเกณฑ์ ดังนี ้
(๑) ค่าทดแทนการถูกคุมขัง ให้ คานวณจากจานวนวันที่ถูกคุมขัง
ในอัตราที่ กาหนดไว้ สาหรั บการกักขังแทนค่าปรั บตามประมวลกฎหมาย
อาญา
(๒) ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ จ าเป็ นในการรั ก ษาพยาบาล รวมทั ง้ ค่ า ฟื ้ น ฟู
สมรรถภาพทางร่ างกายและจิ ตใจ หากความเจ็บป่ วยของจาเลยเป็ นผล
โดยตรงจากการถูกดาเนินคดี
208

(๓) ค่าทดแทนในกรณี ที่จาเลยถึงแก่ความตาย และความตายนัน้


เป็ นผลโดยตรงจากการถู ก ด าเนิ น คดี จ านวนไม่ เ กิ น ที่ ก าหนดไว้ ใน
กฎกระทรวง
(๔) ค่าขาดประโยชน์ทามาหาได้ ในระหว่างถูกดาเนินคดี
(๕) ค่าใช้ จ่ายที่จาเป็ นในการดาเนินคดี
ทัง้ นี ้ ตามหลักเกณฑ์ วิ ธี การ และอัตราที่ กาหนดในกฎกระทรวง
เว้ นแต่ที่มีกฎหมายกาหนดไว้ เป็ นอย่างอื่นแล้ ว
ในกรณี ที่ มี ค าขอให้ ได้ รั บสิ ท ธิ ที่ เ สี ย ไปอั น เป็ นผลโดยตรง
จากค าพิ พ ากษานั น้ คื น การสั่ ง ให้ ได้ รั บ สิ ท ธิ คื น ตามค าขอดั ง กล่ า ว
ถ้ าไม่ส ามารถคืนสิ ทธิ อย่างหนึ่งอย่างใดเช่ นว่านัน้ ได้ ให้ คณะกรรมการ
กาหนดค่าทดแทนเพื่อสิทธินนให้ ั ้ ตามที่เห็นสมควร
คณะกรรมการอาจกาหนดให้ จาเลยได้ รับค่าทดแทนและค่าใช้ จ่าย
เพียงใดหรื อไม่ก็ได้ โดยคานึงถึงพฤติการณ์แห่งคดี ความเดือดร้ อนที่จาเลย
ได้ รับและโอกาสที่จาเลยจะได้ รับการชดเชยความเสียหายจากทางอื่นด้ วย

หมวด ๖
การยื่นคาขอ การพิจารณาคาขอ และการอุทธรณ์
* มาตรา ๒๒ ให้ ผ้ เู สียหาย จาเลย หรื อทายาทซึง่ ได้ รับความเสียหาย
ที่มีสิทธิขอรับค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรื อค่าใช้ จ่ายตามพระราชบัญญัตินี ้
ยื่นคาขอต่อคณะกรรมการหรื อคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๑๔/๑ ตาม
แบบที่ ส านั ก งานก าหนดภายในหนึ่ ง ปี นั บ แต่ วั น ที่ ผ้ ู เสี ย หายได้ รู้ ถึ ง
____________________________________
*มาตรา ๒๒ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่าย
แก่จาเลยในคดีอาญา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๖
209

การกระท าความผิ ด หรื อ วัน ที่ ศ าลมี ค าสั่งอนุ ญ าตให้ ถ อนฟ้ อง เพราะ
ปรากฏหลักฐานว่าจาเลยมิได้ เป็ นผู้กระทาความผิด หรื อวันที่มีคาพิพากษา
อันถึงที่สดุ ว่าข้ อเท็จจริ งฟั งเป็ นยุติว่าจาเลยมิได้ เป็ นผู้กระทาความผิดหรื อ
การกระทาของจาเลยไม่เป็ นความผิด แล้ วแต่กรณี
การยื่นคาขอตามวรรคหนึ่ง ผู้เสียหาย จาเลย หรื อทายาทดังกล่าว
จะยื่ น ต่ อ หน่ ว ยงานอื่ น ตามที่ ค ณะกรรมการประกาศก าหนดก็ ไ ด้ และ
ให้ ถื อ ว่ า เป็ นการยื่ น ค าขอต่ อ คณะกรรมการหรื อคณะอนุ ก รรมการ
ตามมาตรา ๑๔/๑ แล้ วแต่กรณี
มาตรา ๒๓ ในกรณี ที่ผ้ ูเสียหาย จาเลย หรื อทายาทซึ่งได้ รับความ
เสี ย หายเป็ นผู้ไ ร้ ความสามารถ หรื อไม่ ส ามารถยื่ น คาขอด้ วยตนเองได้
ผู้แทนโดยชอบธรรมหรื อผู้อนุบาล ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน สามีห รื อภริ ยา
หรื อ บุค คลหนึ่ ง บุ ค คลใดซึ่ง ได้ รั บ การแต่ง ตัง้ เป็ นหนังสื อจากผู้เ สี ย หาย
จ าเลย หรื อ ทายาทซึ่ง ได้ รั บ ความเสี ย หาย แล้ ว แต่ ก รณี อาจยื่ น ค าขอ
รั บ ค่ า ตอบแทน ค่ า ทดแทน หรื อ ค่ า ใช้ จ่ า ยแทนได้ ทัง้ นี ้ ตามระเบี ย บ
ที่คณะกรรมการกาหนด
มาตรา ๒๔ หลัก เกณฑ์ วิ ธี ก ารยื่ น ค าขอ และวิ ธี พิ จ ารณาค าขอ
ให้ เป็ นไปตามระเบี ย บที่ คณะกรรมการก าหนด โดยความเห็ น ชอบของ
รัฐมนตรี
* มาตรา ๒๕ ในกรณี ที่ ผ้ ู ยื่ น ค าขอไม่ เ ห็ น ด้ วยกั บ ค าวิ นิ จ ฉั ย ของ
คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๑๔/๑ ให้ มีสิทธิ อุทธรณ์ ต่อคณะกรรมการ
ภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ งคาวินิจฉัย ทั ง้ นี ้ หลักเกณฑ์ วิธีการ
____________________________________
*มาตรา ๒๕ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่าย
แก่จาเลยในคดีอาญา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๗
210

ยื่นอุทธรณ์ และวิธีพิจารณาอุทธรณ์ ให้ เป็ นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ


กาหนด
ในกรณีที่ผ้ ยู ื่นคาขอไม่เห็นด้ วยกับคาวินิจฉัยของคณะกรรมการตาม
วรรคหนึ่ง หรื อตามมาตรา ๘ (๑) ให้ มีสิทธิอุทธรณ์ ต่อศาลอุทธรณ์ ภายใน
สามสิ บ วัน นับ แต่วัน ที่ ไ ด้ รั บ แจ้ งค าวิ นิ จ ฉัย ค าวิ นิ จ ฉัย ของศาลอุท ธรณ์
ให้ เป็ นที่สดุ
การยื่นอุทธรณ์ตามวรรคสอง ผู้อทุ ธรณ์ จะยื่นต่อสานักงานหรื อศาล
จังหวัดที่ผ้ นู นมี
ั ้ ภมู ิลาเนาอยู่ในเขตเพื่อส่งให้ แก่ศาลอุทธรณ์ ก็ได้ และให้ ถือ
ว่าเป็ นการยื่นอุทธรณ์ตอ่ ศาลอุทธรณ์ตามวรรคสองแล้ ว
ในการวินิจฉัยอุทธรณ์ ตามวรรคสอง ศาลอุทธรณ์ มีอานาจไต่สวน
หลักฐานเพิ่มเติมโดยสืบพยานเองหรื ออาจให้ ศาลชัน้ ต้ นตามที่เห็นสมควร
ทาแทนก็ได้

หมวด ๗
พนักงานเจ้ าหน้ าที่
มาตรา ๒๖ ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามพระราชบัญญัตินี ้ ให้ พนักงาน
เจ้ าหน้ าที่มีอานาจดังต่อไปนี ้
(๑) สอบปากคาผู้ยื่นคาขอเกี่ยวกับข้ อเท็จจริ งต่าง ๆ ตามคาขอ
(๒) มีหนังสือสอบถามหรื อเรี ยกบุคคลใดมาให้ ถ้ อยคา หรื อให้ ส่ง
เอกสารหลั ก ฐานที่ เ กี่ ย วข้ องหรื อข้ อมู ล หรื อสิ่ ง อื่ น ที่ จ าเป็ นมาเพื่ อ
ประกอบการพิจารณา
มาตรา ๒๗ ในการปฏิ บัติการตามพระราชบัญญัตินี ้ ให้ พนักงาน
เจ้ าหน้ าที่เป็ นเจ้ าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
211

หมวด ๘
บทกาหนดโทษ
มาตรา ๒๘ ผู้ใดยื่นคาขอรับค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรื อค่าใช้ จ่าย
โดยแสดงข้ อความอันเป็ นเท็จ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บ
ไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ
มาตรา ๒๙ ผู้ใ ดให้ ถ้ อยค าหรื อแสดงพยานหลัก ฐานอัน เป็ นเท็ จ
เกี่ ย วกับ การขอรั บ ค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรื อค่าใช้ จ่ า ยตามพระราช
บัญ ญัติ นี ต้ ่อคณะกรรมการ คณะอนุ ก รรมการ หรื อพนัก งานเจ้ าหน้ า ที่
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรั บไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทังจ ้ า
ทังปรั
้ บ
มาตรา ๓๐ ผู้ใดไม่ให้ ถ้อยคาหรื อไม่สง่ หนังสือตอบหนังสือสอบถาม
เอกสาร หลัก ฐาน หรื อ ข้ อมู ล หรื อ สิ่ ง อื่ น ที่ จ าเป็ นตามค าสั่ง ของคณะ
กรรมการ คณะอนุกรรมการ หรื อพนักงานเจ้ าหน้ าที่โดยไม่มีเหตุอนั สมควร
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ นหกเดือน หรื อปรั บไม่เกิ นหนึ่งหมื่นบาท หรื อ
ทังจ้ าทังปรั
้ บ
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๓๑ ในวาระเริ่ มแรก ให้ กระทรวงยุ ติ ธ รรมก าหนดให้
หน่วยงานใดหน่วยงานหนึง่ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรมดาเนินการในอานาจ
หน้ าที่ของสานักงานจนกว่าจะตังส ้ านักงานแล้ วเสร็ จ ทังนี ้ ้ ภายในกาหนด
หนึง่ ปี นับแต่วนั ที่พระราชบัญญัตินี ้ใช้ บงั คับ
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พันตารวจโท ทักษิ ณ ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี
212

*รายการท้ ายพระราชบัญญัตคิ ่ าตอบแทนผู้เสียหาย


และค่ าทดแทนและค่ าใช้ จ่ายแก่ จาเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔
____________________
ความผิ ด ที่ ก ระท าต่ อ ผู้ เสี ย หายซึ่ ง ท าให้ ผู้ เสี ย หายอาจขอรั บ
ค่าตอบแทนได้ ต ามมาตรา ๑๗ ได้ แ ก่ ความผิ ดตามประมวลกฎหมาย
อาญา ภาค ๒ ดังต่อไปนี ้
ลักษณะ ๖ ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้ เกิดภยันตรายต่อประชาชน
มาตรา ๒๒๔
มาตรา ๒๓๘
ลักษณะ ๙ ความผิดเกี่ยวกับเพศ
มาตรา ๒๗๖ ถึงมาตรา ๒๘๗
ลักษณะ ๑๐ ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่ างกาย
หมวด ๑ ความผิดต่อชีวิต
มาตรา ๒๘๘ ถึงมาตรา ๒๙๔
หมวด ๒ ความผิดต่อร่ างกาย
มาตรา ๒๙๕ ถึงมาตรา ๓๐๐
หมวด ๓ ความผิดฐานทาให้ แท้ งลูก
มาตรา ๓๐๑ ถึงมาตรา ๓๐๕
หมวด ๔ ความผิดฐานทอดทิ ้งเด็ก คนป่ วยเจ็บ หรื อคนชรา
มาตรา ๓๐๖ ถึงมาตรา ๓๐๘
____________________________________
*รายการท้ ายพระราชบัญญัติ ฯ แก้ ไขโดย พ.ร.บ. แก้ ไ ขเพิ่ มเติ ม พ.ร.บ. ค่ าตอบแทนผู้เสี ย หาย และ
ค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๘
213

ลักษณะ ๑๑ ความผิดเกี่ยวกับเสรี ภาพและชื่อเสียง


หมวด ๑ ความผิดต่อเสรี ภาพ
มาตรา ๓๐๙
มาตรา ๓๑๐
มาตรา ๓๑๑
มาตรา ๓๑๒ ทวิ
มาตรา ๓๑๓
ลักษณะ ๑๒ ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
หมวด ๑ ความผิดฐานลักทรัพย์และวิ่งราวทรัพย์
มาตรา ๓๓๖
หมวด ๒ ความผิดฐานกรรโชก รี ดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์
และปล้ นทรัพย์
มาตรา ๓๓๗
มาตรา ๓๓๙
มาตรา ๓๓๙ ทวิ
มาตรา ๓๔๐
มาตรา ๓๔๐ ทวิ
หมวด ๘ ความผิดฐานบุกรุ ก
มาตรา ๓๖๕
214

____________________________________________________________
หมายเหตุ :- เหตุ ผ ลในการประกาศใช้ พระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี ้ คื อ
โดยที่ บ ทบัญ ญั ติ มาตรา ๒๔๕ และมาตรา ๒๔๖ ของรั ฐ ธรรมนูญ แห่ ง
ราชอาณาจักรไทย บัญญัติรับรองสิทธิในการได้ รับความช่วยเหลือจากรั ฐ
ของบุคคล ซึ่งได้ รับความเสียหายเนื่องจากการกระทาความผิดอาญาของ
ผู้อื่นโดยตนมิได้ มีส่วนเกี่ยวข้ องกับการกระทาความผิดนัน้ และไม่มีโอกาส
ได้ รับการบรรเทาความเสียหายโดยทางอื่น รวมทัง้ การรั บรองสิทธิ ในการ
ได้ รั บค่าทดแทนในกรณี ข องบุคคลซึ่งตกเป็ นจ าเลยในคดีอาญาและถูก
คุมขัง ระหว่างการพิ จารณาคดี หากปรากฏตามคาพิ พ ากษาอันถึงที่ สุด
ในคดีนนั ้ ว่าข้ อเท็จจริ งฟั งเป็ นที่ยุติว่าจาเลยมิได้ เป็ นผู้กระทาความผิดหรื อ
การกระทาของจาเลยไม่เป็ นความผิด ดังนัน้ เพื่อให้ การรับรองสิทธิดงั กล่าว
เป็ นไปตามบทบัญญัติของรั ฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงจาเป็ น
ต้ องตราพระราชบัญญัตินี ้
215

กฎกระทรวง
กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราในการจ่ ายค่ าตอบแทน
ผู้เสียหาย และค่ าทดแทนและค่ าใช้ จ่ายแก่ จาเลยในคดีอาญา
พ.ศ. ๒๕๔๖
__________________
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๔ มาตรา ๑๘ และมาตรา ๒๑
แห่งพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่าย
แก่จาเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ อันเป็ นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติ
บางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิ และเสรี ภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙
ประกอบกับ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๙ ของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้ กระทาได้ โดยอาศัยอานาจ
ตามบทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง กฎหมาย รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรมและ
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี ้
ข้ อ ๑ ในกฎกระทรวงนี ้
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการพิจารณา
ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา
ข้ อ ๒ ในการพิ จ ารณาจ่ า ยค่ า ตอบแทนผู้ เสี ย หายในคดี อ าญา
ให้ ค ณะกรรมการคานึงถึงพฤติก ารณ์ และความร้ ายแรงของการกระท า
ความผิ ด และสภาพความเสี ย หายที่ ผ้ ู เสี ย หายได้ รั บ รวมถึ ง โอกาส
216

ที่ผ้ เู สียหายจะได้ รับการบรรเทาความเสียหายโดยทางอื่นด้ วย


* ข้ อ ๓ ให้ คณะกรรมการพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนให้ แก่ผ้ ูเสียหาย
ในคดีอาญา ดังต่อไปนี ้
(๑) ค่าใช้ จ่ายที่จาเป็ นในการรั กษาพยาบาล ให้ จ่ายเท่าที่จ่ายจริ ง
แต่ไม่เกินสี่หมื่นบาท
(๒) ค่าฟื น้ ฟูสมรรถภาพทางร่ างกายและจิตใจ ให้ จ่ายเท่าที่จ่ายจริ ง
แต่ไม่เกินสองหมื่นบาท
(๓) ค่าขาดประโยชน์ ทามาหาได้ ในระหว่างที่ไม่สามารถประกอบ
การงานได้ ตามปกติ ให้ จ่ายในอัตราค่าจ้ างขันต ้ ่าในท้ องที่จงั หวัดที่ประกอบ
การงาน ณ วันที่ไม่สามารถประกอบการงานได้ เป็ นระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปี
นับแต่วนั ที่ไม่สามารถประกอบการงานได้ ตามปกติ
(๔) ค่าตอบแทนความเสียหายอื่นนอกจาก (๑) (๒) และ (๓)
ให้ จ่ายเป็ นเงินตามจานวนที่คณะกรรมการเห็นสมควร แต่ไม่เกินห้ าหมื่น
บาท
ค่าตอบแทนตาม (๑) และ (๒) ให้ รวมถึงค่าใช้ จ่ายเกี่ยวกับค่าห้ อง
และค่าอาหารในอัตราวันละไม่เกินหนึง่ พันบาท
** ข้ อ ๔ ในกรณี ที่ ผ้ ู เสี ย หายในคดี อ าญาถึ ง แก่ ค วามตาย ให้
คณะกรรมการพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนให้ แก่ผ้ เู สียหายนัน้ ดังต่อไปนี ้
(๑) ค่ า ตอบแทน ให้ จ่ า ยเป็ นเงิ น จ านวนตั ง้ แต่ ส ามหมื่ น บาท
แต่ไม่เกินหนึง่ แสนบาท
(๒) ค่าจัดการศพ ให้ จ่ายเป็ นเงินจานวนสองหมื่นบาท
____________________________________
*ข้ อ ๓ แก้ ไขโดยกฎกระทรวง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
**ข้ อ ๔ (๓) (๔) แก้ ไขโดยกฎกระทรวง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
217

(๓) ค่าขาดอุปการะเลี ้ยงดู ให้ จ่ายเป็ นเงินจานวนไม่เกินสี่หมื่นบาท


(๔) ค่าเสียหายอื่นนอกจาก (๑) (๒) และ (๓) ให้ จ่ายเป็ นเงินตาม
จานวนที่คณะกรรมการเห็นสมควร แต่ไม่เกินสี่หมื่นบาท
ข้ อ ๕ ในการพิ จ ารณาจ่ า ยค่ า ทดแทนและค่ า ใช้ จ่ า ยแก่ จ าเลย
ในคดีอาญา ให้ คณะกรรมการคานึงถึงพฤติการณ์ของคดี ความเดือดร้ อนที่
ได้ รับ และโอกาสที่จาเลยจะได้ รับการชดเชยความเสียหายจากทางอื่นด้ วย
* ข้ อ ๖ ให้ คณะกรรมการพิจารณาจ่ายค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายให้ แก่
จาเลยในคดีอาญา ดังต่อไปนี ้
(๑) ค่าใช้ จ่ายที่จาเป็ นในการรั กษาพยาบาล ให้ จ่ายเท่าที่จ่ายจริ ง
แต่ไม่เกินสี่หมื่นบาท หากความเจ็บป่ วยของจาเลยเป็ นผลโดยตรงจากการ
ถูกดาเนินคดี
(๒) ค่าฟื น้ ฟูสมรรถภาพทางร่ างกายและจิตใจ ให้ จ่ายเท่าที่จ่ายจริ ง
แต่ไม่เกินห้ าหมื่นบาท หากความเจ็บป่ วยของจาเลยเป็ นผลโดยตรงจาก
การถูกดาเนินคดี
(๓) ค่าขาดประโยชน์ ทามาหาได้ ในระหว่างถูกดาเนิ นคดี ให้ จ่าย
ในอัตราค่าจ้ างขันต ้ ่าในท้ องที่จงั หวัดที่ประกอบการงาน ณ วันที่ไม่สามารถ
ประกอบการงานได้ นับแต่วนั ที่ไม่สามารถประกอบการงานได้ ตามปกติ
(๔) ค่าใช้ จ่ายที่จาเป็ นในการดาเนินคดี
(ก) ค่า ทนายความ ให้ จ่ ายเท่ าที่ จ่ ายจริ ง แต่ ไ ม่เ กิ น อัตราที่
กาหนดในตารางท้ ายกฎกระทรวงนี ้
(ข) ค่าใช้ จ่ายอื่น ๆ ในการดาเนินคดี ให้ จ่ายเท่าที่จ่ายจริ ง แต่
____________________________________
* ข้ อ ๖ แก้ ไขโดยกฎกระทรวง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
218

ไม่เกินสามหมื่นบาท
ค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ ายตาม (๑) และ (๒) ให้ ร วมถึงค่าใช้ จ่ าย
เกี่ยวกับค่าห้ องและค่าอาหารในอัตราวันละไม่เกินหนึง่ พันบาท
* ข้ อ ๗ ในกรณี ที่ จ าเลยในคดี อ าญาถึ ง แก่ ค วามตาย อัน เป็ นผล
โดยตรงจากการถูกดาเนินคดี ให้ คณะกรรมการพิจารณาจ่ายค่าทดแทน
ให้ แก่จาเลยนัน้ ดังต่อไปนี ้
(๑) ค่าทดแทน ให้ จ่ายเป็ นเงินจานวนหนึง่ แสนบาท
(๒) ค่าจัดการศพ ให้ จ่ายเป็ นเงินจานวนสองหมื่นบาท
(๓) ค่าขาดอุปการะเลี ้ยงดู ให้ จ่ายเป็ นเงินจานวนไม่เกินสี่หมื่นบาท
(๔) ค่าเสียหายอื่นนอกจาก (๑) (๒) และ (๓) ให้ จ่ายเป็ นเงินตาม
จานวนที่คณะกรรมการเห็นสมควร แต่ไม่เกินสี่หมื่นบาท
ข้ อ ๘ เมื่อคณะกรรมการอนุมตั ิให้ จ่ายเงินค่าตอบแทนผู้เสียหาย
หรื อเงิ นค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา ให้ ผ้ ูยื่นคาขอรั บ
ค่าตอบแทนหรื อค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ าย แล้ วแต่กรณี ยื่ นคาขอรั บเงิ น
ค่ า ตอบแทนหรื อ เงิ น ค่ า ทดแทนและค่ า ใช้ จ่ า ยตามแบบที่ ส านั ก งาน
ช่วยเหลือทางการเงินแก่ผ้ เู สียหายและจาเลยในคดีอาญากาหนด
ให้ ไว้ ณ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
พงศ์เทพ เทพกาญจนา
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงยุติธรรม
ร้ อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
____________________________________
*ข้ อ ๗ (๓) (๔) แก้ ไขโดยกฎกระทรวง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
219

____________________________________
*ตารางอัตราค่าทนายความฯ แก้ ไขโดยกฎกระทรวง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
220

______________________________________________________
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้ กฎกระทรวงฉบับนี ้ คือ โดยที่มาตรา
๑๘ และมาตรา ๒๑ แห่ ง พระราชบัญ ญั ติ ค่ า ตอบแทนผู้ เ สี ย หาย และ
ค่า ทดแทนและค่ า ใช้ จ่ ายแก่ จ าเลยในคดีอ าญา พ.ศ. ๒๕๔๔ บัญ ญั ติ
ให้ การจ่ายค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่จาเลย
ในคดี อ าญาเป็ นไปตามหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และอั ต ราที่ ก าหนดใน
กฎกระทรวง จึงจาเป็ นต้ องออกกฎกระทรวงนี ้
221

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
222

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
223

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
224

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

You might also like