You are on page 1of 14

*ขับขีเ่ สพ เป็ นความผิดตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.

2522 มาตรา 43 ทวิ


(แก้ไขเพิม ่ เติมตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2542 มาตรา 4 ,มาตรา 157/1
(แก้ไขเพิม ่ เติมตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550 มาตรา 9
อยูใ่ นอานาจศาลจังหวัด
ซึง่ นอกจากจะฟ้ องให้ลงโทษทางอาญาแล้วศาลยังสั่งให้พกั ใช้ใบอนุญาตขับขีแ ่ ละเพิกถอน
ใบอนุญาตขับขีร่ ถได้
** ขับรถเสพ+เสพ เป็ นการทีผ ่ ต
ู้ อ
้ งหาถูกดาเนินคดีในความผิดอืน ่ (พ.ร.บ.จราจรทางบก)
ซึง่ มีอตั ราโทษจาคุก จึงต้องนาตัวไปฝากขัง ไม่เข้าฟื้ นฟู
* เมือ่ มีการดาเนินคดีในข้อหาขับรถเสพ ให้พนักงานสอบสวน
สอบสวนผูต ้ อ
้ งหาว่ามีใบอนุญาตขับขีร่ ถชนิดใด หมายเลขใบอนุญาตขับรถ
และหมายเลขบัตรประจาตัวประชาชนผู้
ต้องหา (ถ่ายสาเนาใบขับขีแ ่ ละสาเนาบัตรติดสานวนด้วย)
**ตามนัยหนังสือจากสานักงานศาลยุตธ ิ รรม ที่ ศย 016/อ.147 ลง 9 เมษายน 2551 ถึง
หัวหน้าหน่ วยงานในสังกัดสานักงานศาลยุตธิ รรม และมีหนังสือเวียนแจ้งให้ ตร.ปฏิบตั ิ
2 ข้อหา (ดูจากร่างฟ้ องของอัยการนะครับ)
* ฐานความผิด... เสพยาเสพติดให้โทษประเภท 1 (เมทแอมเฟตามีน)โดยผิดกฏหมาย
และเป็ นผูข ้ บั ขีเ่ สพยาเสพติดให้โทษประเภท 1(เมทแอมเฟตามีน)โดยฝ่ าฝื นกฏหมาย
** ตัวอย่างร่างฟ้ อง
ข้อ 1. จาเลยได้บงั อาจกระทาความผิดต่อกฏหมายหลายกรรมต่างกัน กล่าวคือ
(ก) เมือ ่ ระหว่างวันที.่ ...... เวลา .... ถึงวันที่ .... เวลา ... วันเวลาใดไม่ปรากฏชัด
จาเลยได้บ ังอาจเสพเมทแอมเฟตามีนไฮโดร์คลอไรด์ ซึง่ เป็ นเกลือของเมทแอมเฟตามีน
และเป็ นอนุพน ั ธุข๋ องแอมเฟตามีน อันเป็ นยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรงในประเภท 1
ตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2528
พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 และตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ฉบับ 135 (พ.ศ.2539 เรือ่ ง ระบุชือ ่ และปรเภทยาเสพติดให้โทษ ตาม
พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ข้อ 2 ซึง่ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
และจาเลยได้ทราบประกาศแล้ว จานวน .... เม็ด น้าหนักเท่าใดไม่ปรากฏชัด
โดยสูดดมควันเข้าสูร่ า่ งกายของจาเลย อันเป็ นการฝ่ าฝื น พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ
พ.ศ.2522
(ข) เมือ ่ วันที่ .... เวลา .... ภายหลังทีจ่ าเลยเสพเมทแอมเฟตามีนไปโดรคลอไรด์
เข้าสูร่ า่ งกายดังกล่าวตามฟ้ องข้อ 1 (ก) แล้ว จาเลยได้บ ังอาจขับขีร่ ถ ...........
หมายเลขทะเบียน ....... ไปตามถนน.......... ตาบล........อาเภอ............ จังหวัด........
โดยฝ่ าฝื นต่อกฏหมาย
เหตุในฟ้ องข้อ 1(ก) และ (ข) เกิดทีต ่ าบล ....... อาเภอ ...... จังหวัด ........
ข้อ 2. ตามวันเวลาดังกล่าวในฟ้ องข้อ 1 (ข) เจ้าพนักงานจับจาเลยได้
นาส่งพนักงานสอบสวน ทาการสอบสวนแล้ว ชัน ้ สอบสวน จาเลยให้การรับสารภาพ
ขอศาลลงโทษตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522มาตรา 4,7,8,15,57,67,91
พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2528 มาตรา 4 พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ(ฉบับที่
5) พ.ศ.2545 มาตรา 26 และตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 135 (พ.ศ.2539)
เรือ่ งระบุชือ ่ และประเภทยาเสพติดให้โทษ ตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ลงวันที่
23 ก.ค.2539 ข้อ 2 พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 มาตรา 4,43 ทวิ,157/1
พ.ร.บ.จราจรทางบก (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550 มาตรา 9 ประมวลกฏหมายอาญา มาตรา 91
พ.ร.บ.แก้ไขเพิม ่ เติม ประมวลกฏหมายอาญา (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2526 มาตรา 4
ขอ เพิกถอนหรือพักใช้ใบอนุญาตขับขีข ่ องจาเลยด้วย
***การศึกษาร่างฟ้ องของอัยการเป็ นประโยชน์ กบ ั ประเด็นในการสอบสวนของพนักงานสอ
บสวน เช่น วันเวลาสถานทีเ่ สพอาจไม่ตอ ้ งปรากฏให้ชดั เจน ส่วนการขับขีร่ ถ
เป็ นรถประเภทไหน ทะเบียนอะไร ขับไปตามถนนสายไหน เป็ นสาระสาคัญ
ซึง่ ปกติคนจับก็จะไม่ยด ึ รถเป็ นของกลาง แต่ก็ควรสอบให้ปรากฏชัดเจนเกีย่ วกับรถ
จากร่างฟ้ องข้างต้น ยังขาดสาระสาคัญเกีย่ วกับใบอนุญาตขับรถ
ซึง่ ศาลจะเป็ นผูส้ ่งั พักใช้หรือถอนและจะแจ้งไปยังขนส่ง..
**ความผิดเกีย ่ วกับคดีบางประเภทยาเสพติด ศุลกากร บัตรประชาชน ป่ าไม้ บางครัง้ ศาล
หรืออัยการ ก็ไม่รู ้ (เคยทามาอย่างไร ก็ทาไปอย่างนัน ้ ฟ้ องมาแค่ไหน ก็ลงแค่นน
้ั )
พนักงานสอบสวนอาจจะรูไ้ ด้มากกว่า บางครัง้ ต้องโต้แย้งไว้บา้ ง ตอนเรียน ป.ตรี
เนติบณ ั ฑิต วิชาดังกล่าวไม่มส ี อนครับ
พนักงานสอบสวนเราอบรมเกีย่ วกับเรือ ่ งนี้มามากกว่า แต่ในข้อปัญหากฏหมายเรือ ่ ง
ตัวการ ผูส้ นับสนุน พยายามกระทาผิด อันนัน ้ ต้องฟังท่านวินิจฉัยครับ

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2977/2548
พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 มาตรา 43 ทวิ วรรคหนึ่ง, 157 ทวิ วรรคสอง
ความผิดฐานเสพเมทแอมเฟตามีนขณะขับรถตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522
มาตรา 43 ทวิ วรรคหนึ่ง และ 157 ทวิ วรรคสอง นัน ้
กฎหมายมีเจตนารมณ์ ทจี่ ะห้ามมิให้ผูข ้ บั ขีร่ ถจักรยานยนต์เสพยาเสพติดให้โทษตามกฎหม
ายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ
เนื่องจากฤทธิข์ องยาเสพติดให้โทษทาให้เกิดปฏิกริ ยิ าต่อสมองซึง่ ควบคุมระบบประสาทขอ
งผูข้ บั ขี่ ซึง่ จะทาให้สมรรถภาพในการควบคุมยานพาหนะด้อยประสิทธิภาพลง
อันอาจก่อให้เกิดภยันตรายแก่ชีวต ิ และทรัพย์สน ิ ของบุคคลอืน
่ ได้ ดังนัน ้
จึงต้องพิจารณาถึงสารเสพติดทีย่ งั คงตกค้างอยูใ่ นร่างกายของผูข ้ บั ขีเ่ ป็ นสาคัญ
หากมีการตรวจพบว่าในขณะทีข ่ บั ขีม
่ สี ารเสพติดของยาเสพติดให้โทษตกค้างอยูใ่ นร่างกา
ยแล้ว ไม่วา่ ผูข ้ บั ขีจ่ ะเสพยาเสพติดให้โทษก่อนหน้านี้เมือ่ ใด
ผูน
้ น้ ั ก็ได้กระทาความผิดในข้อหาดังกล่าวแล้ว
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจาเลยตาม พ.ร.บ. คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 มาตรา 11, 18, 37, 62,
64, 76 พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 4, 7, 8, 15, 57, 65 วรรคสอง, 66, 91,
102 พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43 ทวิ, 157 ทวิ วรรคสอง ป.อ. มาตรา 83, 91
ริบเมทแอมเฟตามีนของกลาง
จาเลยที่ 1
ให้การรับสารภาพเฉพาะข้อหาเดินทางออกไปและเข้ามาในราชอาณาจักรโดยไม่ผา่ นช่อง
ทางด่านตรวจคนเข้าเมือง ข้อหาเสพเมทแอมเฟตามีน
และรับว่ามีเมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รบั อนุญาต
ส่วนข้อหาอืน ่ ให้การปฏิเสธ จาเลยที่ 2
ให้การรับสารภาพเฉพาะข้อหาเดินทางออกไปและเข้ามาในราชอาณาจักรโดยไม่ผา่ นช่อง
ทางด่านตรวจคนเข้าเมือง และข้อหาเสพเมทแอมเฟตามีน ส่วนข้อหาอืน ่ ให้การปฏิเสธ
ศาลชัน ้ ต้นพิพากษาว่า จาเลยทัง้ สองมีความผิดตาม พ.ร.บ. คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522
มาตรา 11, 62 วรรคสอง (ทีถ ่ ูกต้องปรับบทด้วยมาตรา 18 วรรคสอง ด้วย) พ.ร.บ.
ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 15 วรรคหนึ่ง, 57, 67, 91 (ทีถ ่ ูก มาตรา 15 วรรคหนึ่ง
(เดิม), 57, 67 (เดิม), 91 (ทีแ ่ ก้ไขใหม่)) ประกอบ ป.อ. มาตรา 83
เป็ นความผิดหลายกรรมต่างกัน ให้เรียงกระทงลงโทษตาม ป.อ. มาตรา 91
ฐานเดินทางออกไปและเข้ามาในราชอาณาจักรโดยไม่ผา่ นช่องทางด่านตรวจคนเข้าเมือง
ปรับกระทงละ 500 บาท รวมปรับคนละ 1,000 บาท ฐานเสพเมทแอมเฟตามีน จาคุกคนละ
6 เดือน ฐานร่วมกันมีเมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รบ ั อนุญาต จาคุกคนละ
6 ปี จาเลยที่ 1 ให้การรับสารภาพเป็ นประโยชน์ แก่การพิจารณามีเหตุบรรเทาโทษ
ลดโทษให้กระทงละกึง่ หนึ่ง สาหรับจาเลยที่ 2
ให้การรับสารภาพในความผิดฐานเดินทางออกไปและเข้ามาในราชอาณาจักรโดยไม่ผา่ น
ช่องทางด่านตรวจคนเข้าเมืองและฐานเสพเมทแอมเฟตามีน
เป็ นประโยชน์ แก่การพิจารณา ลดโทษให้กระทงละกึง่ หนึ่ง
ส่วนความผิดฐานร่วมกันมีเมทแอมเฟตามีนคาให้การในชัน ้ จับกุมและสอบสวนเป็ นประโ
ยชน์ แก่การพิจารณา มีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษให้หนึ่งในสาม ตาม ป.อ. มาตรา 78
คงจาคุกจาเลยที่ 1 มีกาหนด 3 ปี 3 เดือน และปรับ 500 บาท จาคุกจาเลยที่ 2 มีกาหนด 4 ปี
3 เดือน และปรับ 500 บาท ไม่ชาระค่าปรับให้จด ั การตาม ป.อ. มาตรา 29, 30
ริบเมทแอมเฟตามีนของกลาง ให้คน ื รถจักรยานยนต์ของกลางแก่เจ้าของ
ข้อหาอืน ่ นอกจากนี้ให้ยก
โจทก์และจาเลยที่ 2 อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ ภาค 3 พิพากษาแก้เป็ นว่า จาเลยที่ 1 มีความผิดตาม พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ
พ.ศ. 2522 มาตรา 15 วรรคหนึ่ง (เดิม), 65 วรรคสอง (เดิม), 66 วรรคหนึ่ง (ทีแ ่ ก้ไขใหม่),
91 (ทีแ ่ ก้ไขใหม่) พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43 ทวิ วรรคหนึ่ง, 157 ทวิ
วรรคสอง
ฐานนาเข้าเมทแอมเฟตามีนเพือ ่ จาหน่ ายและฐานมีเมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครองเพือ ่
จาหน่ ายเป็ นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท
ให้ลงโทษฐานนาเข้าซึง่ เมทแอมเฟตามีนเพือ ่ จาหน่ ายอันเป็ นบทหนักทีส่ ด ุ
วางโทษประหารชีวต ิ ฐานเสพเมทแอมเฟตามีนขณะขับรถ จาคุก 8 เดือน
คารับของจาเลยที่ 1 เป็ นประโยชน์ แก่การพิจารณา ลดโทษให้กงึ่ หนึ่ง ตาม ป.อ. มาตรา
78 ประกอบ ป.อ. มาตรา 52 (2) จาคุกจาเลยที่ 1 มีกาหนด 25 ปี 4 เดือน
เมือ่ รวมกับโทษตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง ฯ ตามคาพิพากษาศาลชัน ้ ต้น
คงจาคุกจาเลยที่ 1 มีกาหนด 25 ปี 4 เดือน และปรับ 500 บาท ให้ยกฟ้ องสาหรับจาเลยที่ 2
ในความผิดฐานร่วมกันมีเมทแอมเฟตามีนไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รบั อนุญาต
คงจาคุกจาเลยที่ 2 มีกาหนด 3 เดือน และปรับ 500 บาท
นอกจากทีแ ่ ก้ให้เป็ นไปตามคาพิพากษาศาลชัน ้ ต้น
โจทก์และจาเลยที่ 1ฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า ตาม พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43 ทวิ วรรคหนึ่ง และ
157 ทวิ วรรคสอง นัน ้
กฎหมายมีเจตนารมณ์ ทจี่ ะห้ามมิให้ผูข ้ บั ขีเ่ สพยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพ
ติดให้โทษเนื่องจากฤทธิของยาเสพติดให้โทษทาให้เกิดปฏิกริ ยิ าต่อสมองซึง่ ควบคุมระบบ
ประสาทของผูข ้ บั ขี่
ซึง่ จะทาให้สมรรถภาพในการควบคุมยานพาหนะด้อยประสิทธิภาพลงอันอาจก่อให้เกิดภยั
นตรายแก่ชีวต ิ และทรัพย์สน ิ ของบุคคลอืน ่ ได้ ดังนัน ้
จึงต้องพิจารณาถึงสารเสพติดทีย่ งั คงตกค้างอยูใ่ นร่างกายของผูข ้ บั ขีเ่ ป็ นสาคัญ
หากมีการตรวจพบว่าในขณะทีข ่ บั ขีม
่ สี ารเสพติดของยาเสพติดให้โทษตกค้างอยูใ่ นร่างกา
ยแล้ว ไม่วา่ ผูข ้ บั ขีจ่ ะเสพยาเสพติดให้โทษก่อนหน้านี้เมือ่ ใด
ผูน
้ น ้ ั ก็ได้กระทาความผิดในข้อหาดังกล่าวแล้ว
พิพากษายืน.

กฎหมายยาเสพติดและบทลงโทษ

ปั จจุบน ั ปั ญหายาเสพติดได ้แผ่ขยายวงกว ้างไปทัว่ ทุกหนแห่ง แพร่กระจายอย่างรวดเร็วราวเกิดโรคระบาด


มีการคิดค ้นตัวยาแปลกๆออกมาขายกันเกร่อ
ก่อให ้เกิดปั ญหาทีส ่ ง่ ผลกระทบต่อสังคมทุกด ้านโดยเฉพาะอย่างยิง่ สังคมครอบครัว มีขา่ วการจับกุม
ข่าวเภทภัยของยาเสพติดให ้เห็นทุกวันทางทีว ี หนังสือพิมพ์ แต่เหตุใดยิง่ ปราบก็ยงิ่ มีมากขึน
้ ทวีความรุนแรงขึน
้ ทุกที
จึงคิดว่าควรนาเสนอให ้เห็นบทกาหนดโทษของกฎหมายยาเสพติดซึง่ ไม่คอ ่ ยจะมีใครนามาเสนอให ้อ่านกัน
พระราชบ ัญญ ัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ทีใ่ ช ้เป็ นหลักอยู่
และได ้มีการแก ้ไขเพิม ่ เติมมาหลายครัง้ จนกระทัง่ ล่าสุดจึงมี พระราชบ ัญญ ัติ ยาเสพติดให้โทษ
(ฉบ ับที่ 5) พ.ศ.2545 เพือ ่ ปรับปรุงพระราชบัญญัตย ิ าเสพติดให ้โทษ พ.ศ.2522 ให ้เหมาะสมกับปั ญหา
โดยแก ้ไขโทษในความผิดเกีย ่ วกับการมีไว ้ในครอบครอง มีไว ้ในครอบครองเพือ ่ จาหน่าย
และจาหน่ายซึง่ ยาเสพติดให ้โทษจานวนเล็กน ้อยให ้มีโทษขัน ้ สูงลดลง
เพือ่ ให ้บุคคลซึง่ ต ้องหาว่าเสพเข ้าสูก ่ ระบวนการฟื้ นฟูสมรรถภาพตาม กฎหมายว่าด้วยการฟื้ นฟูสมรรถภาพผูต ้ ด

ยาเสพติด
พ.ศ 2545 และเพิม ่ มาตรการในการป้ องกันและปราบปรามยาเสพติดให ้โทษโดยให ้มีการค ้นได ้โดยไม่ต ้องมีหมาย
ค ้น การให ้อานาจสัง่ ตรวจหรือทดสอบว่าบุคคลใดมียาเสพติดให ้โทษอยูใ่ นร่างกายหรือไม่ ฯลฯ
ยาเสพติดให้โทษ หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุใดๆ ซึง่ เมือ ่ เสพเข ้าสูร่ ่างกาย ไม่วา่ จะโดยการกิน ดม สูบ ฉีด
หรือด ้วยวิธก
ี ารใด ๆ แล ้วจะทาให ้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ
รวมตลอดถึงพืชทีเ่ ป็ นหรือให ้ผลผลิตเป็ นหรืออาจใช ้ผลิตเป็ นยาเสพติด
และสารเคมีทใี่ ช ้ในการผลิตยาเสพติดให ้โทษด ้วย

ยาเสพติดมีหลายประเภท ในทีน
่ จ
ี้ ะกล่าวถึงเฉพาะการแบ่งตามกฎหมาย เช่น
1. พระราชบัญญัตย
ิ าเสพติดให ้โทษ พ.ศ. 2522 เช่น แอมเฟตามีน เฮโรอีน LSD ยาอี ฯลฯ
2. พระราชบัญญัตวิ ต
ั ถุทอ
ี่ อกฤทธิต
์ อ
่ จิตและประสาท พ.ศ. 2518 เช่น อีเฟดรีน
3. พระราชกาหนดป้ องกันการใช ้สารระเหย พ.ศ. 2533 เช่น ทินเนอร์ กาว แล็กเกอร์

1.พระราชบ ัญญ ัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ได ้แบ่งยาเสพติดให ้โทษออกเป็ น 5 ประเภท ดังนี้


ประเภทที่ 1 ยาเสพติดให ้โทษชนิดร ้ายแรงมี 38 รายการ เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน แมทแอมเฟตามีน
(ยาบ ้า) เอ็กซ์ตาซี และแอลเอสดี
ประเภทที่ 2 ยาเสพติดให ้โทษทัว่ ไป มี 102 รายการ เช่น ใบโคคา โคคาอีน โคเดอีน
ยาสกัดเข ้มข ้นของต ้นฝิ่ นแห ้ง เมทาโดน มอร์ฟีน ฝิ่ นยา (ฝิ่ นทีผ
่ ่านกรรมวิธป ่ ใช ้ในทางยา) ฝิ่ น (ฝิ่ นดิบ
ี รุงแต่งเพือ
ฝิ่ นสุก มูลฝิ่ น)
ประเภทที่ 3 ยาเสพติดให ้โทษทีม่ ล
ี ักษณะเป็ นต ้นตารับยาและมียาเสพติดให ้โทษประเภท 2 ผสมอยู่ คือ
ยารักษาโรคทีม
่ ย
ี าเสพติดประเภท 2 เป็ นส่วนประกอบอยูใ่ นสูตร เช่น ยาแก ้ไอ ยาแก ้ท ้องเสีย
ประเภทที่ 4 สารเคมีทใี่ ช ้ในการผลิตยาเสพติดให ้โทษประเภท 1 หรือ 2 มี 32 รายการ เช่น
อาเซติคแอนไฮไดรด์ อาเซติล คลอไรด์
ประเภทที่ 5 ยาเสพติดให ้โทษทีไ่ ม่เข ้าอยูใ่ นประเภท 1 ถึง 4 มี 4 รายการ คือ กัญชา พืชกระท่อม พืชฝิ่ น
ทุกส่วนของพืชกัญชา ทุกส่วนของพืชกระท่อม และพืชเห็ดขีค ้ วาย

การแยกประเภทยาเสพติดให้โทษและบทลงโทษ

ข้อหา ยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ยาเสพติดให้โทษประเภท 2

 จาคุกตลอดชีวต
ิ และปรับ 1,000,000-
5,000,000 บาท
 คานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิ์ 3 กรัม ขึน
้ ไป
ถือว่ากระทาเพือ
่ จาหน่าย โทษประหารชีวต ิ  จาคุก 1-10 ปี และปรับ 100,000 -
1,000,000 บาท
 ผลิตโดยแบ่งบรรจุ รวมบรรจุ
 ถ ้าเป็ นมอร์ฟีน ฝิ่ น โคคาอีน จาคุก 20 ปี
ผลิต นาเข ้า ส่งออก คานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิไ์ ม่เกิน 3 กรัม
จาคุก 4-15 ปี หรือปรับ 80,000- ถึงตลอดชีวต ิ และปรับ 2,000,000-
300,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ 5,000,000 บาท
 ผลิตเพือ ่ จาหน่าย
คานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิไ์ ม่เกิน 3 กรัม
จาคุก 4 ปี ถงึ ตลอดชีวต
ิ และปรับ 400,000-
5,000,000 บาท

 คานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิไ์ ม่เกิน 3 กรัม  จาคุก 1-10 ปี หรือปรับ 20,000 -


จาคุก 4-15 ปี หรือปรับ 80,000- 200,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
300,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
 ถ ้าเป็ นมอร์ฟีน ฝิ่ น โคคาอีน
จาหน่าย  คานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิต
์ งั ้ แต่ 3 กรัม- 20 คานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิไ์ ม่เกิน 100 กรัม
ครอบครองเพือ
่ จาหน่ กรัม จาคุก 4 ปี ถึงตลอดชีวต ิ จาคุก 3-20 ปี หรือปรับ 60,000-
าย และปรับ 400,000-5,000,000 บาท 400,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
 คานวณเป็ นสารบริสท
ุ ธิ์ 20 กรัมขึน
้ ไป ถ ้าคานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิเ์ กิน100 กรัม
จาคุกตลอดชีวต
ิ และปรับ 1,000,000- จาคุก 5 ปี ถึงตลอดชีวต ิ
5,000,000 บาท หรือประหารชีวต ิ และปรับ 500,000-5,000,000 บาท
 จาคุกไม่เกิน 5 ปี
 คานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิไ์ ม่ถงึ 3 กรัม หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท
ครอบครอง จาคุก 1-10 ปี หรือปรับ 20,000- หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
200,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ  คานวณเป็ นสารบริสทุ ธิ์ 100 กรัมขึน
้ ไป
ถือว่าครอบครองเพือ
่ จาหน่าย

 จาคุก 6 เดือน - 3 ปี หรือปรับ 10,000-  จาคุก 6 เดือน - 3 ปี หรือปรับ 10,000-


เสพ
60,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ 60,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

 จาคุก 1-10 ปี และปรับ 100,000-  จาคุก 1-10 ปี และปรับ 100,000-


1,000,000 บาท 1,000,000 บาท
 ถ ้าทาโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนขึน
้ ไป  ถ ้าทาโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนขึน
้ ไป
จาคุก 2-15 ปี และปรับ 200,000- จาคุก 2-15 ปี และปรับ 200,000-
1,500,000บาท 1,500,000บาท
 ถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต ิ ภ
ิ าว  ถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต ิ ภ
ิ า
ะ หรือเพือ
่ จูงใจให ้ผู ้อืน
่ ทาผิดอาญา วะ หรือเพือ
่ จูงใจให ้ผู ้อืน
่ ทาผิดอาญา
ใช ้อุบายหลอกลวง หรือเพือ
่ ประโยชน์ในการทาผิดอาญา หรือเพือ
่ ประโยชน์ในการทาผิดอาญา
ขูเ่ ข็ญ ใช ้กาลัง จาคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวต ิ และปรับ 300,000 จาคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวต ิ และปรับ 300,000
ประทุษร ้าย -500,000บาท -500,000บาท
ข่มขืนใจให ้ผู ้อืน
่ เสพ  ถ ้าเป็ นมอร์ฟีน โคคาอีน  ถ ้าเป็ นมอร์ฟีน โคคาอีน
เพิม
่ โทษขึน ้ กึง่ หนึง่ เพิม
่ โทษขึน ้ กึง่ หนึง่
และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนติ ภ
ิ า และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต ิ ภ

วะ จาคุกตลอดชีวต ิ และปรับ 1,000,000- าวะ จาคุกตลอดชีวต ิ และปรับ 1,000,000-
5,000,000 บาท 5,000,000 บาท
 ถ ้าเป็ นเฮโรอีน โทษเป็ น 2 เท่า  ถ ้าเป็ นเฮโรอีน โทษเป็ น 2 เท่า
และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต
ิ ภ
ิ า และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต
ิ ภ

วะ โทษประหารชีวต ิ าวะ โทษประหารชีวต ิ

ใช ้อุบายหลอกลวง
ขูเ่ ข็ญ ใช ้กาลัง
ประทุษร ้าย  โทษเป็ น 2 เท่าของความผิดนัน
้ ๆ  โทษเป็ น 2 เท่าของความผิดนัน
้ ๆ
ข่มขืนใจให ้ผู ้อืน่ ผลิต
นาเข ้า ส่งออก
จาหน่าย
ครอบครองเพือ ่ จาหน่
าย ครอบครอง

่ เส  จาคุก 1-5 ปี หรือปรับ 20,000-


ยุยงส่งเสริมให ้ผู ้อืน  จาคุก 1-5 ปี หรือปรับ 20,000-
พ 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

ข้อหา ยาเสพติดให้โทษประเภท 3

ผลิต นาเข ้า  จาคุก 1-3 ปี และปรับ 100,000- 300,000บาท

จาหน่าย  จานวนไม่เกินกฎกระทรวงกาหนด จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท


ครอบครองเพือ
่ จาหน่าย หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ส่งออก จานวนเกินกฎกระทรวงกาหนด จาคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท

 จาคุก 1-10 ปี และปรับ 100,000-1,000,000 บาท


 ถ ้าทาโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนขึน
้ ไป จาคุก 2-15 ปี และปรับ 200,000-
1,500,000บาท
 ถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต ิ ภิ าวะ หรือเพือ
่ จูงใจให ้ผู ้อืน
่ ทาผิดอาญา
ใช ้อุบายหลอกลวง ขูเ่ ข็ญ หรือเพือ่ ประโยชน์ในการทาผิดอาญา จาคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวต ิ และปรับ 300,000 -
ใช ้กาลังประทุษร ้าย 500,000บาท
ข่มขืนใจให ้ผู ้อืน
่ เสพ  ถ ้าเป็ นมอร์ฟีน โคคาอีน เพิม
่ โทษขึน้ กึง่ หนึง่
และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต ิ ภิ าวะ จาคุกตลอดชีวต ิ
และปรับ 1,000,000-5,000,000 บาท
 ถ ้าเป็ นเฮโรอีน โทษเป็ น 2 เท่า และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต
ิ ภ
ิ าวะ
โทษประหารชีวต ิ

ใช ้อุบายหลอกลวง ขูเ่ ข็ญ  โทษเป็ น 2 เท่าของความผิดนัน


้ ๆ
ใช ้กาลัง ประทุษร ้าย
ข่มขืนใจให ้ผู ้อืน
่ ผลิต
นาเข้า ส่งออก จาหน่าย
ครอบครองเพือ ่ จาหน่าย
ครอบครอง

ข้อหา ยาเสพติดให้โทษประเภท 4

ผลิต นาเข ้า ส่งออก  จาคุกตัง้ แต่ 1-10 ปี และปรับ 20,000-200,000 บาท


จาหน่าย
ครอบครองเพือ ่ จาหน่าย  10 กก.ขึน
้ ไป จาคุก 1 -15 ปี และปรับ 100,000-1,500,000 บาท

 จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ


ครอบครอง
 10 กก.ขึน
้ ไป ถือว่าครอบครองเพือ
่ จาหน่าย

 จาคุก 1-10 ปี และปรับ 100,000-1,000,000 บาท


 ถ ้าทาโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนขึน
้ ไป จาคุก 2-15 ปี และปรับ 200,000-
1,500,000บาท
 ถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต
ิ ภ
ิ าวะ หรือเพือ
่ จูงใจให ้ผู ้อืน
่ ทาผิดอาญา
ใช ้อุบายหลอกลวง
หรือเพือ
่ ประโยชน์ในการทาผิดอาญา จาคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวต ิ และปรับ 300,000 -
ขูเ่ ข็ญ
500,000บาท
ใช ้กาลังประทุษร ้าย
ข่มขืนใจให ้ผู ้อืน
่ เสพ  ถ ้าเป็ นมอร์ฟีน โคคาอีน เพิม
่ โทษขึน
้ กึง่ หนึง่
และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนติ ภ ิ าวะ จาคุกตลอดชีวต
ิ และปรับ 1,000,000-
5,000,000 บาท
 ถ ้าเป็ นเฮโรอีน โทษเป็ น 2 เท่า และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต
ิ ภ
ิ าวะ
โทษประหารชีวต ิ

ใช ้อุบายหลอกลวง
ขูเ่ ข็ญ ใช ้กาลัง
ประทุษร ้าย  โทษเป็ น 2 เท่าของความผิดนัน
้ ๆ
ข่มขืนใจให ้ผู ้อืน
่ ผลิต
นาเข ้า ส่งออก จาหน่าย
ครอบครองเพือ ่ จาหน่าย
ครอบครอง

ยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษประเภท 5
ข้อหา
้ วาย)
(ก ัญชา ฝิ่ น เห็ดขีค (พืชกระท่อม)

 จาคุกตัง้ แต่ 2-15 ปี และปรับ 200,000-  จาคุกไม่เกิน 2 ปี


ผลิต นาเข ้า ส่งออก
1,500,000 บาท และปรับไม่เกิน 200,000 บาท

 จาคุกไม่เกิน 5 ปี
หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท  -จาคุกไม่เกิน 1 ปี
ครอบครอง หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท
 10 กก.ขึน
้ ไป หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ถือว่าครอบครองเพือ
่ จาหน่าย

 ไม่ถงึ 10 กก. จาคุก 2-10 ปี  ไม่ถงึ 10 กก. จาคุกไม่เกิน 2 ปี


จาหน่าย หรือปรับ 40,000-200,000 บาท และปรับไม่เกิน 40,000 บาท
่ จาหน่า หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ครอบครองเพือ หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ย  10 กก.ขึน ้ ไป จาคุก 2 -15 ปี  10 กก.ขึน้ ไป จาคุกไม่เกิน 2 ปี
และปรับ 200,000- 1,500,000 บาท และปรับไม่เกิน 200,000 บาท

 จาคุกไม่เกิน 1 ปี
 จาคุกไม่เกิน 1 เดือน
เสพ หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท
หรือปรับไม่เกิน 2,000 บาท
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

 จาคุก 1-10 ปี และปรับ 100,000-  จาคุก 1-10 ปี และปรับ 100,000-


ใช ้อุบายหลอกลวง 1,000,000 บาท 1,000,000 บาท
ขูเ่ ข็ญ
ใช ้กาลังประทุษร ้าย  ถ ้าทาโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนขึน
้ ไป  ถ ้าทาโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนขึน
้ ไป
ข่มขืนใจให ้ผู ้อืน
่ เสพ จาคุ
ก 2-15 ปี และปรั บ 200,000- จาคุก 2-15 ปี และปรับ 200,000-
1,500,000บาท 1,500,000บาท
 ถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต ิ ภ
ิ า  ถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต ิ ภ
ิ า
วะ หรือเพือ
่ จูงใจให ้ผู ้อืน
่ ทาผิดอาญา วะ หรือเพือ
่ จูงใจให ้ผู ้อืน
่ ทาผิดอาญา
หรือเพือ
่ ประโยชน์ในการทาผิดอาญา หรือเพือ
่ ประโยชน์ในการทาผิดอาญา
จาคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวต ิ และปรับ 300,000 จาคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวต ิ และปรับ 300,000
-500,000บาท -500,000บาท
 ถ ้าเป็ นมอร์ฟีน โคคาอีน  ถ ้าเป็ นมอร์ฟีน โคคาอีน
เพิม
่ โทษขึน ้ กึง่ หนึง่ เพิม
่ โทษขึน ้ กึง่ หนึง่
และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต ิ ภ
ิ และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต ิ ภ

าวะ จาคุกตลอดชีวต ิ และปรับ 1,000,000- าวะ จาคุกตลอดชีวต ิ และปรับ 1,000,000-
5,000,000 บาท 5,000,000 บาท
 ถ ้าเป็ นเฮโรอีน โทษเป็ น 2 เท่า  ถ ้าเป็ นเฮโรอีน โทษเป็ น 2 เท่า
และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต
ิ ภ
ิ และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือผู ้ยังไม่บรรลุนต
ิ ภ

าวะ โทษประหารชีวต ิ าวะ โทษประหารชีวต ิ

 จาคุกไม่เกิน 1 ปี  จาคุกไม่เกิน 1 ปี
ยุยงส่งเสริมให ้ผู ้อืน
่ เส
หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท

หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

ใช ้อุบายหลอกลวง
ขูเ่ ข็ญ ใช ้กาลัง
ประทุษร ้าย  โทษเป็ น 2 เท่าของความผิดนัน
้ ๆ  โทษเป็ น 2 เท่าของความผิดนัน
้ ๆ
ข่มขืนใจให ้ผู ้อืน
่ ผลิต
นาเข ้า ส่งออก
จาหน่าย
ครอบครองเพือ ่ จาหน่า
ย ครอบครอง

2.พระราชบ ัญญ ัติว ัตถุทอ


ี่ อกฤทธิต
์ อ
่ จิตและประสาท พ.ศ. 2518
1. ห ้ามผู ้ใด ผลิต ขาย
นาเข ้าหรือส่งออกวัตถุออกฤทธิต ์ อ
่ จิตประสาทประเภทที่ 1 และ 2 นอกจากกระทรวงสาธารณสุข
หรือผู ้ทีไ่ ด ้รับมอบหมายวัตถุออกฤทธิต ์ อ
่ จิตประสาทประเภทที่ 2 ขายได ้โดยแพทย์ สัตวแพทย์ ทันตแพทย์
เฉพาะผู ้ป่ วยของตน หรือกระทาโดยกระทรวง ทบวง กรม สภากาชาดไทย องค์การเภสัช
หรือสถานทีท ่ รี่ าชการกาหนด โทษจาคุก 5 - 20 ปี และปรับ 100,000 - 400,000 บาท
2. ห ้ามผู ้ใดผลิต ขาย
นาเข ้าหรือส่งออกวัตถุออกฤทธิต ่ จิตประสาทประเภทที่ 3 และ 4 เว ้นแต่ได ้ขออนุญาตแล ้วตามกฎหมายซึง่ ต ้องมีเ
์ อ
ภสัชกรเป็ นผู ้รับผิดชอบควบคุม โทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 100,000 บาท
3. ห ้ามผู ้ใดเสพวัตถุออกฤทธิต
์ อ
่ จิตประสาทประเภทที่ 1 ห ้ามผู ้ใดเสพวัตถุออกฤทธิต
์ อ
่ จิตประสาทประเภทที่ 2
เว ้นแต่สงั่ โดยแพทย์, ทันตแพทย์ผู ้ให ้การรักษา
ห ้ามผู ้ใดครอบครองหรือใช ้ประโยชน์วต ั ถุออกฤทธิต
์ อ
่ จิตประสาทประเภทที่ 1-2 โดยมิได ้รับอนุญาต โทษจาคุก 1 -
5 ปี และปรับ 20,000 - 100,000 บาท
4. ห ้ามผู ้ใดจูงใจ ชักนา ยุยงส่งเสริมหรือใช ้อุบายล่อลวงขูเ่ ข็ญให ้ผู ้อืน
่ เสพวัตถุออกฤทธิต ์ อ
่ จิตประสาท
โทษจาคุก 2 - 10 ปี และปรับ 40,000 - 100,000 บาท และถ ้ากระทาต่อหญิงหรือบุคคลทีย ่ ังไม่บรรลุนติ ภ
ิ าวะ
หรือจูงใจเพือ่ ให ้ผู ้อืน
่ กระทาความผิดอาญา หรือเพือ่ ประโยชน์แก่ตนเองหรือผู ้อืน ่ ในการกระทาผิดอาญา
โทษจะเพิม ่ ขึน้ เป็ นจาคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวติ และปรับ 60,000 - 500,000 บาท

้ ารระเหย ปี พ.ศ. 2533


3.พระราชกาหนดป้องก ันการใชส
1. ขายสารระเหยแก่ผู ้มีอายุไม่เกิน 17 ปี (โดยไม่ใช่นาไปใช ้เพือ
่ การศึกษา) จาคุกไม่เกิน 1 ปี
หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
2. จัดหาหรือขายสารระเหยแก่ผู ้ติดสารระเหย เสพสารระเหย ชักจูง หลอกลวง บังคับให ้ผู ้อืน
่ เสพสารระเหย
จาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ถ ้าผู ้สูดดมอายุไม่เกิน 17 ปี ศาลอาจเรียกตัวพร ้อมผู ้ปกครองมาว่ากล่าวตักเตือน และปล่อยตัวไป
แต่ถ ้าเห็นว่าเป็ นผู ้ติดสารระเหยอาจส่งไปบาบัดรักษา ถ ้าอายุเกิน 17 ปี และติดสารระเหยด ้วย
ศาลอาจส่งไปบาบัดรักษาเช่นกัน โดยชดเชยระยะเวลาบาบัดทดแทนค่าปรับหรือการจาคุก
การบาบัดรักษาไม่ครบตามกาหนดโดยหลบหนีออกไปจากสถานบาบัด หากถูกจับได ้ซ้าจะได ้รับโทษเพิม ่ ขึน

การนาเสนอบทลงโทษตามกฎหมายยาเสพติด หวังว่าคงจะเป็ นประโยชน์ในการเตือนให ้เห็นว่า
การเกีย่ วข ้องกับยาเสพติดนัน
้ มีโทษถึงประหารชีวต
ิ ทีเดียว ้ ไป
เราจะต ้องช่วยกันขจัดยาเสพติดให ้สิน
โดยการแจ ้งเบาะแสของผู ้เสพ ผู ้ขาย แหล่งผลิตต่อเจ ้าหน ้าทีใ่ นการทีจ
่ ะดาเนินการปราบปราม ทัง้ นี้
เพือ
่ อนาคตของบุตรหลานของเราเอง
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1
ความผิดเกีย่ วกับยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 บทกาหนดโทษ
ผลิต นาเข้า หรือส่งออก ( ฝ่ าฝื นมาตรา 15 ) จาคุกตลอดชีวต ิ
และปรับตัง้ แต่1,000,000-
5,000,000 บาท
ผลิตโดยการแบ่งบรรจุ จาคุกตัง้ แต่ 4-15 ปี
หรือรวมบรรจุและมีปริมาณคานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิ ์ หรือปรับตัง้ แต่ 80,000-
หรือมีจานวนหน่ วยการใช้หรือมีน้าหนักสุทธิ ไม่เกินปริมาณ 300,000 บาท
ทีก ่ าหนด ตามมาตรา15วรรค3 หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ผลิต นาเข้า ส่งออก จาคุกตัง้ แต่ 4 ปี – ตลอดชีวติ
หรือมีไว้ในครอบครอง เกินปริมาณทีก ่ าหนด และปรับตัง้ แต่ 400,000 –
ตามมาตรา15วรรค3 จะถือว่า เป็ นการ ผลิต นาเข้า ส่งออก 5,000,000 บาท
หรือมีไว้ในครอบครอง เพือ ่ จาหน่ าย
จาหน่ ายหรือมีไว้ในครอบครองเพือ ่ จาหน่ าย จาคุกตัง้ แต่ 4 ปี – 15 ปี
และมีปริมาณคานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิ ์ หรือปรับตัง้ แต่ 80,000 –
หรือมีจานวนหน่ วยการใช้หรือมีน้าหนักสุทธิ ไม่เกินปริมาณ 300,000 บาท
ทีก ่ าหนด ตามมาตรา15วรรค3 หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
จาหน่ ายหรือมีไว้ในครอบครองเพือ ่ จาหน่ าย จาคุกตัง้ แต่ 4 ปี
และมีปริมาณคานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิ ์ ถึงจาคุกตลอดชีวต ิ
หรือมีจานวนหน่ วยการใช้หรือมีน้าหนักสุทธิ เกินปริมาณที่ และปรับตัง้ แต่ 400,000 –
กาหนด ตามมาตรา15วรรค3แต่ไม่ถงึ 20 กรัม 5,000,000 บาท
จาหน่ ายหรือมีไว้ในครอบครองเพือ ่ จาหน่ าย จาคุกตลอดชีวต ิ และ
และมีปริมาณคานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิ ์ ปรับตัง้ แต่ 1,000,000 –
หรือมีจานวนหน่ วยการใช้หรือมีน้าหนักสุทธิ เกิน20 5,000,000 บาท
กรัมขึน ้ ไป หรือประหารชีวต ิ
ครอบครองโดยไม่ได้รบั อนุญาต จาคุกตัง้ แต่ 1-10ปี
และมีปริมาณคานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิ ์ หรือปรับตัง้ แต่ 20,000 –
หรือมีจานวนหน่ วยการใช้หรือมีน้าหนักสุทธิ ไม่เกินปริมาณ 200,000 บาท
ทีก ่ าหนด ตามมาตรา15วรรค3 หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ผูใ้ ดเสพ อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 57 จาคุกตัง้ แต่ 6 เดือน – 3 ปี
หรือปรับตัง้ แต่ 10,000 –
60,000 บาท
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ ( มาตรา
91)
ผูใ้ ดยุยงส่งเสริมให้ผูอ
้ น
ื่ เสพ จาคุกตัง้ แต่ 1 ปี – 5 ปี
หรือ ปรับตัง้ แต่ 20,000 –
100,000 บาท
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ ( มาตรา
93/1 วรรค 1)
ผูใ้ ดใช้อบ
ุ ายหลอกลวง ขูเ่ ข็ญ ใช้กาลังประทุษร้าย ต้องระวางโทษเป็ น 2
หรือข่มขืนใจ ให้ผูอ
้ น
ื่ กระทาความผิดฐานผลิต นาเข้า เท่าของโทษทีก ่ ฎหมายบัญญั
ติไว้
ส่งออก จาหน่ าย ครอบครองเพือ
่ จาหน่ าย สาหรับความผิดนัน
้ (
หรือครอบครองซึง่ ยาเสพติดให้โทษ มาตรา 93/2)

การผลิต นาเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึง่ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1


ตามปริมาณดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็ นการผลิต นาเข้า ส่งออก
หรือมีไว้ในครอบครองเพือ ่ จาหน่ าย (ตามมาตรา 15 วรรค 3)
หรือมียาเสพติดทีม
่ ส
ี ารดัง
ชือ
่ ยาเสพติดให้โท มีปริมาณคานวณเป็ นสาร หรือมีน้าหนักสุ
์ กล่าวผสมอยู่
ษ บริสท
ุ ธิตง้ ั แต่ ทธิตง้ ั แต่
จานวนหน่ วยการใช้
1.
เด็กซ์โตรไลเซอร์ไ
้ ้ึ ไป ้ ไป
ยด์ หรือ แอล เอส 0.75 มก.ขึนไป 15 หน่ วยการใช้ขน 300 มก.ขึน

ดี
2. แอมเฟตามีน
หรืออนุพน ้ ไป
ั ธ์แอมเ 375 มก.ขึน ึ้ ไป
15 หน่ วยการใช้ขน 1.5 กรัม ้ ไป
ขึน
ฟตามีน
3.
ยาเสพติดให้โทษใ
3 กรัม ้ ไป
ขึน
นประเภท 1
นอกจากข้อ1และ2

ยาเสพติดให้โทษในประเภท 2
ความผิด บทกาหนดโทษ มาตรา
จาคุกตัง้ แต่ 1 ปี – 10 ปี
• ผลิต นาเข้า หรือส่งออก มาตรา 68 วรรค
และปรับตัง้ แต่ 100,000 –
อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 16 1
1,000,000 บาท
จาคุกตัง้ แต่ 20 ปี – ตลอดชีวต

• ผลิต นาเข้า หรือส่งออก ซึง่ มอร์ฟีน มาตรา 68 วรรค
และปรับตัง้ แต่ 2,000,000 –
ฝิ่ น หรือโคคาอีน 2
5,000,000 บาท
จาคุกไม่เกิน 5 ปี
• ครอบครอง อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา มาตรา 69 วรรค
หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท
17 1
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
จาคุกตัง้ แต่ 1 ปี – 10 ปี
• จาหน่ ายหรือครอบครองเพือ ่ จาหน่ าย หรือปรับตัง้ แต่ 20,000 – มาตรา 69 วรรค
อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 17 200,000 บาท 2
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
• จาหน่ าย หรือครอบครองเพือ ่ จาหน่ าย จาคุกตัง้ แต่ 3 ปี – 20 ปี
ซึง่ มอร์ฟีน ฝิ่ น หรือโคคาอีน หรือปรับตัง้ แต่ 60,000 – มาตรา 69 วรรค
มีปริมาณคานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิไ์ ม่ถงึ 400,000 บาท 3
100 กรัม หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
• จาหน่ าย หรือครอบครองเพือ ่ จาหน่ าย
จาคุกตัง้ แต่ 5 ปี – ตลอดชีวติ
ซึง่ มอร์ฟีน ฝิ่ น หรือโคคาอีน มาตรา 69 วรรค
และปรับตัง้ แต่ 500,000 –
มีปริมาณคานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิต์ ง้ ั แต่ 3
5,000,000 บาท
100 กรัมขึน ้ ไป
• ผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาตจาหน่ าย
หรือมีไว้ในครอบครอง ตามมาตรา 17 จาคุกไม่เกิน 5 ปี มาตรา 69 วรรค
กระทาการฝ่ าฝื นตามวรรคหนึ่ง และปรับไม่เกิน 100,000 บาท 4
วรรคสอง หรือวรรคสาม
จาคุกตัง้ แต่ 6 เดือน – 3 ปี
• ผูใ ้ ดเสพ อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 58 หรือปรับตัง้ แต่ 10,000 – 60,000 มาตรา 91
บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
• ผูใ ้ ดใช้อบ ุ ายหลอกลวง ขูเ่ ข็ญ
ใช้กาลังประทุษร้าย จาคุกตัง้ แต่ 1 ปี – 10 ปี
ใช้อานาจครอบงาผิดคลองธรรม และปรับตัง้ แต่ 100,000 – มาตรา 93
หรือใช้วธิ ีขม ่ ขืนใจด้วยประการอืน ่ ใด 1,000,000 บาท
ให้ผูอ ้ น
ื่ เสพ
จาคุกตัง้ แต่ 1ปี – 5 ปี
มาตรา 93/1
• ยุยงส่งเสริมให้ผูอ ้ น
ื่ เสพ หรือปรับตัง้ แต่ 20,000 –
วรรค 1
100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

ยาเสพติดให้โทษประเภท 3
มาตร
ความผิด บทกาหนดโทษ

• ผลิต หรือนาเข้า โดยมิได้รบั อนุญาต จาคุกตัง้ แต่ 1 ปี – 3 ปี มาตร
อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 20 และปรับตัง้ แต่ 100,000 – 300,000 บาท า 70
• จาหน่ าย ครอบครองเพือ ่ จาหน่ าย
จาคุกไม่เกิน 1 ปี มาตร
หรือส่งออก โดยมิได้รบั อนุญาต
หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท า 71
โดยมีจานวนยาเสพติดให้โทษ
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ วรรค
ไม่เกินทีก
่ าหนดตาม มาตรา 20 วรรค 1
4
• จาหน่ าย ครอบครองเพือ ่ จาหน่ าย มาตร
หรือส่งออก โดยมิได้รบั อนุญาต จาคุกไม่เกิน 2 ปี า 71
โดยมีจานวนยาเสพติดให้โทษ และปรับไม่เกิน 200,000 บาท วรรค
เกินจานวนตามมาตรา 20 วรรค 4 2
• นาเข้า หรือส่งออก
อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 22 จาคุกไม่เกิน 1 ปี มาตร
(ผูร ้ บั อนุญาตจะต้องได้รบั ใบอนุญาตทุ และปรับไม่เกิน 100,000 บาท า 72
กครัง้ ทีม ่ ก
ี ารนาเข้า หรือส่งออก)
• ผลิต นาเข้า หรือส่งออก ซึง ่ ยาปลอม จาคุกตัง้ แต่ 3 ปี – 20 ปี มาตร
อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 39(1) และปรับตัง้ แต่ 300,000 – 2,000,000 บาท า 82
• จาหน่ ายซึง ่ ยาปลอม จาคุกไม่เกิน 5 ปี มาตร
อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 39(1) และปรับไม่เกิน 500,000 บาท า 83
• ผลิต นาเข้า หรือส่งออก จาคุกไม่เกิน 3 ปี
มาตร
ซึง่ ยาผิดมาตรฐาน หรือเสือ่ มคุณภาพ หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท
า 84
อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 39(2) หรือ (3) หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
• จาหน่ ายซึง ่ ยาผิดมาตรฐาน จาคุกไม่เกิน 1 ปี
มาตร
หรือเสือ่ มคุณภาพ หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท
า 85
อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 39(2) หรือ (3) หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
• ผลิต นาเข้า หรือส่งออก
ซึง่ ยาทีไ่ ม่ได้ขน ึ้ ทะเบียนตารับยา จาคุกไม่เกิน 5 ปี มาตร
หรือเพิกถอนทะเบียนตารับยา และปรับไม่เกิน 500,000 บาท า 86
อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 39(4) หรือ (5)
• จาหน่ ายยาทีม ึ้ ทะเบียนตารับยา
่ ไิ ด้ขน
จาคุกไม่เกิน 3 ปี มาตร
หรือเพิกถอนทะเบียนตารับยา
และปรับไม่เกิน 300,000 บาท า 87
อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 39(4) หรือ (5)
ผูอ
้ นุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรร
• ผูร
้ บั อนุญาตฝ่ าฝื น
มการ มีอานาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตได้ มาตร
หรือไม่ปฏิบตั ต
ิ ามกฎกระทรวง
โดยมีกาหนดครัง้ ละไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิ า 52
ตามมาตรา 20
บวัน
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 4
ความผิด บทกาหนดโทษ มาตรา
จาคุกตัง้ แต่ 1 ปี – 10 ปี
• ผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่ าย
และปรับตัง้ แต่ 20,000 – 200,000 มาตรา 73 วรรค
อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 26 1
บาท
จาคุกตัง้ แต่ 1 ปี – 15 ปี
• ผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่ าย ตัง้ แต่ มาตรา 73 วรรค
และปรับตัง้ แต่ 100,000 –
10 กิโลกรัมขึน้ ไป 2
1,500,000 บาท
จาคุกไม่เกิน 5 ปี
• ครอบครอง หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท มาตรา 74
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5
ความผิด บทกาหนดโทษ มาตรา
จาคุกตัง้ แต่ 2 ปี – 15 ปี
• ผลิต นาเข้า หรือส่งออก มาตรา 75 วรรค
และปรับตัง้ แต่ 200,000 –
อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 26 1
1,500,000 บาท
จาคุกไม่เกิน 2 ปี มาตรา 75 วรรค
• ผลิต นาเข้า หรือส่งออกพืชกระท่อม
และปรับไม่เกิน 200,000 บาท 2
จาคุกไม่เกิน 5 ปี
• ครอบครอง หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท มาตรา 76 วรรค
1
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
จาคุกไม่เกิน 1 ปี
• ครอบครองพืชกระท่อม หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท มาตรา 76 วรรค
2
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
• จาหน่ าย จาคุกตัง้ แต่ 2 ปี – 10 ปี
มาตรา 76/1
หรือมีไว้ในครอบครองเพือ ่ จาหน่ าย หรือปรับตัง้ แต่ 40,000 –
วรรค 1
โดยมีจานวนไม่ถงึ 10 กิโลกรัม 200,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
• จาหน่ าย จาคุกตัง้ แต่ 2 ปี – 15 ปี
มาตรา 76/1
หรือมีไว้ในครอบครองเพือ ่ จาหน่ าย และปรับตัง้ แต่ 200,000 -
วรรค 2
โดยมีจานวนตัง้ แต่ 10 กิโลกรัมขึน ้ ไป 1,500,000 บาท
• จาหน่ าย หรือมีไว้ในครอบครอง จาคุกไม่เกิน 2 ปี
มาตรา 76/1
เพือ่ จาหน่ ายพืชกระท่อม หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท
วรรค 3
โดยมีจานวนไม่ถงึ 10 กิโลกรัม หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
• จาหน่ าย หรือมีไว้ในครอบครอง
จาคุกไม่เกิน 2 ปี มาตรา 76/1
เพือ ่ จาหน่ ายพืชกระท่อม
และปรับไม่เกิน 200,000 บาท วรรค 4
โดยมีจานวนตัง้ แต่ 10 กิโลกรัมขึน ้ ไป
จาคุกไม่เกิน 1 ปี
• ผูใ ้ ดเสพ อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 57 หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท มาตรา 92 วรรค
1
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
จาคุกไม่เกิน 1 เดือน มาตรา 92 วรรค
• ผูใ ้ ดเสพพืชกระท่อม
หรือปรับไม่เกิน 2,000 บาท 2
จาคุกไม่เกิน 1 ปี
มาตรา 93/1
• ยุยงส่งเสริมให้ผูอ ้ น
ื่ เสพ หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท
วรรค 2
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
บทกาหนดโทษนี้เป็ นเพียงส่วนหนึ่งจากหนังสือ พระราชบัญญัตยิ าเสพติดให้โทษ พ.ศ.
2522 และพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545

กรณี ชุดจับกุมจับกุมผูต
้ อ้ งหายาบ้า จานวน 400 เม็ด พงส. กล่าวหาว่า
“มียาเสพติดให้ประเภท ประเภท 1
(ยาบ้า)ไว้ในครอบครองเพือ ่ จาหน่ ายโดยไม่ได้รบั อนุญาต” พงส. รับตัวแจ้งข้อหา
“มียาเสพติดให้ประเภท ประเภท 1
(ยาบ้า)ไว้ในครอบครองเพือ ่ จาหน่ ายโดยไม่ได้รบั อนุญาต”
ต่อมาได้รบั ผลการตรวจพิสจู น์จาก พฐ. แจ้งผลการตรวจพิสจู น์ วา่ น้าหนักของกลาง 43
กรัม คานวณน้าหนักสารบริสท ุ ธิ ์ 8 กรัม
ถามว่า พงส. จะต้องแจ้งข้อหาผูต ้ อ ้ งหาเพิม
่ เติม ในข้อหาว่า “มียาเสพติดให้โทษประเภท 1
(ยาบ้า) ไว้ในครอบครองคานวณเป็ นสารบริสท ์ ง้ ั แต่ 375 มิลลิกรัม
ุ ธิต
มีปริมาณของกลางเกิน 15 หน่ วยการใช้ขน ึ้ ไป หรือมีน้าหนักสุทธิตง้ ั แต่ 1.5 กรัมขึน
้ ไป
ไว้ในครอบครองเพือ ่ จาหน่ ายโดยไม่ได้รบั อนุญาต” อีกหรือไม่
..หรือใช้ขอ
้ หาเดิม เนื่องจากของกลางมีปริมาณหน่ วยการใช้เกิน 15 เม็ดอยูแ
่ ล้ว
แต่ทา้ ยรายงานสรุปฟ้ องตาม ม.66วรรคสอง ขอคาชี้แนะด้วยครับ
ข้อหาเดิม ชอบแล้ว สรุปท้ายรายงานสอบสวนก็อา้ ง 66 ว.2
ข้อหาเดิม แต่แจ้งข้อเท็จจริงเพิม
่ เติมนะครับ

ตาม ว.1 และ ว.2 อัตราโทษต่างกัน ข้อเท็จจริงเรือ ่ งปริมาณสารบริสท ุ ธิเ์ ป็ นสาระสาคัญที่


ผตห.ต้องรุต ้ าม ป.วิอาญา ม.134 อาจเป็ นปัญหาข้อกฎหมาย
หากไม่แจ้งอาจมีผลต่ออานาจฟ้ องของอัยการ หากฟ้ องไปศาลอาจยกฟ้ องตามมาตรา 66
ว.2 และลงโทษเพียง 66 ว.1ได้ ฉะนัน ้
เพือ่ ความรอบครอบปกติแล้วอัยการจะให้แจ้งข้อเท็จจริงดังกล่าวด้วย
ท้องทีไ่ หนไม่แจ้งก็สมุ่ เสียง
เช่นกัน หากว่า ผตห. ครอบครองยาบ้า 20 เม็ด แจ้งข้อหาครอบครองเพือ่ จาหน่ าย
เนื่องจากเป็ นการครอบครองตัง้ แต่ 15 หน่ วยการใช้ขน ึ้ ไป
แต่เมือ่ คานวณสารบริสท ุ ธิอ์ อกมาแล้วจะไม่ถงึ 375 มิลก ิ รัมละ ผตห.จะต้องรับโทษตาม
ม.66 วรรคไหนแน่ จะว่าวรรคแรกก็ไม่เข้า
เพราะวรรคแรกนัน ้ ต้องเป็ นกรณี มป ี ริมาณไม่ถงึ มาตรา 15 วรรคสาม คือ ไม่ถงึ 15
หน่ วยการใช้ เพราะมี 20 เม็ด เป็ นปริมาณตาม ม.15 วรรคสามแล้ว ส่วน 66 วรรคสอง
ก็ไม่อยูใ่ นข่าย เพราะคานวณสารบริสท ุ ธิ ไม่เกิน 375 กรัม แล้วจะปรับบทวรรคไหนกันละ

****มาตรา ๖๖
ผูใ้ ดจาหน่ ายหรือมีไว้ในครอบครองเพือ ่ จาหน่ ายซึง่ ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑
โดยไม่ได้รบั อนุญาตและมีปริมาณคานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิ ์ หรือ
***มีจานวนหน่ วยการใช้***หรือมีน้าหนักสุทธิ ***ไม่ถงึ ปริมาณทีก ่ าหนดตามมาตรา ๑๕
วรรคสาม***ต้องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่สป ี่ ี ถึงสิบห้าปี
หรือปรับตัง้ แต่แปดหมืน ่ บาทถึงสามแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
...วรรคสอง....ถ้ายาเสพติดให้โทษตามวรรคหนึ่ง***มีปริมาณคานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิ*์ **ตั้
งแต่ปริมาณทีก ่ าหนดตามมาตรา ๑๕ วรรคสาม แต่ไม่เกินยีส ่ บ
ิ กรัม
ต้องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่สป ี่ ี ถึงจาคุกตลอดชีวต ิ และปรับตัง้ แต่สแ ี่ สนบาทถึงห้าล้านบาท
...วรรคสาม....ถ้ายาเสพติดให้โทษตามวรรคหนึ่งมีปริมาณคานวณเป็ นสารบริสท ุ ธิเ์ กินยีส่ ิ
บกรัม
ขึน ้ ไปต้องระวางโทษจาคุกตลอดชีวต ิ และปรับตัง้ แต่หนึ่งล้านบาทถึงห้าล้านบาท
หรือประหารชีวต ิ
วรรคแรก ไม่ถงึ ปริมาณ ตาม ม.15 วรรคสาม
วรรคสอง คานวณสารบริสท ุ ธิไ์ ด้ตง้ ั 375 มก. แต่ไม่ถงึ 20 กรัม
วรรคท้าย คานวณสารบริสท ุ ธิ ์ 20 กรัมขึน ้ ไป
แล้วยาบ้า 20 เม็ด คานวณสารบริสท ุ ธิไ์ ม่ถงึ 375 กรัม ละโทษอยูว่ รรคไหน

นาย ก. สายลับ ติดต่อสัง่ ซื้อยาบ้าจานวน 5 เม็ด จากนาย ข.


โดยตกลงกันส่งมอบยาบ้าทีป ั น้ามันแห่งหนึ่ง นัดส่งมอบ เวลา15.00น.
่ ๊ม
เจ้าหน้าทีต
่ ารวจจึงวางกาลังภายในบริเวณปั๊มน้ามันทีต ่ กลงส่งมอบยาบ้า ถึงเวลา 15.00น.
นาย ข. เข้ามาภายในบริเวณปั๊มน้ามัน เจ้าหน้าทีต ่ ารวจจึงแสดงตัวขอตรวจค้นตัวนาย ข
พบยาบ้าจานวน 30 เม็ด (ไม่มก ี ารส่งมอบให้นาย ก. (ถูกจับก่อน))
อยากทราบตัง้ ข้อหาพยายามจาหน่ ายทัง้ 30 เม็ดเลยหรือไม่ อย่างไร
มีไว้ในครอบครองเพือ ่ จาหน่ ายและพยายามจาหน่ าย
แจ้งข้อกล่าวหาว่า นาย ก. มียาบ้า 30 เม็ด ไว้ในความครอบครองเพือ ่ จาหน่ าย
และพยายามจาหน่ ายยาบ้า 5 เม็ด ใน 30 เม็ด ดังกล่าวให้กบั ผูอ ้ น
ื่
อใดก็ตามทีม ่ ก
ี ารตัง้ ข้อหา พยายามจาหน่ ายยาเสพติดให้โทษ
ท่านต้องอ้าง ม.7
พรบ.มาตรการในการปราบปรามผูก ้ ระทาผิดเกีย่ วกับยาเสพติดฯเข้าไปด้วยนะ
(ผูใ้ ดต้องหาว่าพยายามกระทาผิดเกีย่ วกับยาเสพติด ต้องระวางโทษเสมือนความผิดสาเร็จ)
พงส.ต้องสอบสวนตารวจทีล่ อ ่ ซื้อเป็ นสายลับประกอบสานวนเลยครับ
จึงจะดาเนินคดีพยายามจาหน่ ายยาบ้าได้และมีหลักฐานพอฟ้ อง
เพราะถ้าอ้างสายลับโดยไม่ได้สอบสวนสายลับตัวจริงไว้เป็ นพยานประกอบสานวน
เพือ ่ ไปนาสืบในชัน ้ ศาลได้ ศาลจะไม่เชือ ่ ว่ามีสายลับจริง
เป็ นการกล่าวอ้างลอยๆของตารวจผูจ้ บั กุมเท่านัน ้
พยานหลักฐานจะไม่พอฟ้ องหรือฟ้ องไปศาลก็ยกฟ้ อง
เพราะในทางกฎหมายแล้วการจะผิดพยายามจาหน่ ายยาบ้าได้
การกระทาต้องใกล้ชด ิ ต่อผลแล้ว หมายถึงพร้อมทีจ่ ะส่งมอบยาบ้าให้ผูซ ้ ื้อแล้ว
เพราะฉะนัน ้ ตัวผูซ
้ ื้อจึงเป็ นข้อเท็จจริงทีถ ่ ือเป็ นสาระสาคัญทีเ่ ป็ นองค์ประกอบของความผิด
ฐาน พยายามจาหน่ ายยาบ้า ครับ
ถ้าไม่สอบสวนตามทีก ่ ล่าวมาพยานหลักฐานจะไม่พอฟ้ อง อัยการจะสัง่ ไม่ฟ้อง
สานวนจะถูกส่งมา ผบช.ภาค ต่างๆแน่ นอน
ส่วนการกระทาเป็ นความผิดฐานพยายามจาหน่ ายหรือไม่ เป็ นปัญหาข้อกฎหมายครับ
คนทีถ ่ ามและยกข้อเท็จจริงมาได้ดี จะดูเพียงยาบ้า 15 เม็ดขึน ้ ไป ก็คงไม่มป ี ญ
ั หากับข้อหา
มีไว้เพือ ่ จาหน่ าย แต่พยายามจาหน่ ายข้อเท็จจริงต้องเพียงพอครับ

You might also like