You are on page 1of 9

ขอสอบพรอมธงคําตอบ

ในการทดสอบความรูเ พื่อบรรจุเปนขาราชการตุลาการในตําแหนงผูชว ยผูพิพากษา ประจําป พ.ศ.


2565
เฉพาะผูส มัครตามความในมาตรา 28 (2) (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ช)
วิชา กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
วันเสารที่ 2 กรกฎาคม 2565
เวลา 13.00 น. - 15.30 น.
(เวลาสอบ 2 ชั่วโมง 30 นาที)
ใหยกเหตุผลประกอบคําตอบดวย

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มี 3 ขอ (ขอ 1 - 3)

คําถามขอ 1 เมื่อตนเดือนสิงหาคม 2559 นายพูนเขาไปหาเรือ่ งและตบหนานายสม นายสม


ใชทอนเหล็กตีศีรษะนายพูนอยางแรงจนลมลงหมดสติและสมองไดรับความเสียหายรุนแรงตองทุพพลภาพ
ถาวร และใชทอ นเหล็กตีรถจักรยานยนตที่นายพิศขับมาจอดในบริเวณนั้นเสียหาย เหตุเกิดในเขตทองที่
สถานีตํารวจภูธรสันกําแพง หลังเกิดเหตุ นายสมขับรถกระบะหลบหนีโดยประมาทชนนายจุนถึงแกความตาย
เหตุเกิดในเขตทองที่สถานีตํารวจภูธรสารภี ครั้นตนเดือนตุลาคม 2559 เจาพนักงานตํารวจสถานีตํารวจภูธร
สารภีจับนายสมไดท่ีบานในอําเภอสารภีตามหมายจับของศาลชั้นตน ขอหาปลนทรัพยซึ่งเหตุเกิด
เดือนมกราคม 2559 ในเขตทองที่สถานีตํารวจภูธรสารภี นายพิศเห็นขาวการจับนายสมในหนังสือพิมพ
จําไดวา นายสมเปนคนรายใชทอนเหล็กตีรถจักรยานยนตจึงไปรองทุกขตอพนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภูธร
สันกําแพง ใหดาํ เนินคดีแกนายสมในขอหาทําใหเสียทรัพย พนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภูธรสันกําแพง
ทําการสอบสวนแลวไดความวา นางเอเปนเจาของรถจักรยานยนตและนางเอใหนายบียมื รถจักรยานยนตไป
วันเกิดเหตุนายพิศขอยืมรถจักรยานยนตจากนายบีขบั มาจอดบริเวณทีเ่ กิดเหตุ และในวันดังกลาวนายสม
ใชทอนเหล็กตีศีรษะนายพูนดวย จึงทําหนังสือขอใหสถานีตาํ รวจภูธรสารภีสงตัวนายสมมาเพื่อทําการ
สอบสวน จากการสอบสวนพบวานายสมขับรถโดยประมาทชนนายจุนถึงแกความตายในเขตทองที่สถานี
ตํารวจภูธรสารภีดว ย พนักงานสอบสวนสถานีตาํ รวจภูธรสันกําแพงสรุปสํานวนการสอบสวนใหดําเนินคดี
แกนายสมขอหาพยายามฆานายพูนโดยบันดาลโทสะ ทําใหเสียทรัพยและกระทําโดยประมาทเปนเหตุให
นายจุนถึงแกความตาย ตอมาพนักงานอัยการโจทกฟองนายสมตอศาลชั้นตนทัง้ สามขอหา ขอใหลงโทษ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 72, 80, 288, 291, 358 นายสมใหการปฏิเสธ นางพรมารดา
ของนายพูนยื่นคํารองขอใหนายสมใชคารักษาพยาบาลและคาขาดรายได เปนเงิน 3,000,000 บาท
แกนายพูนเนือ่ งจากนายพูนไมสามารถจัดการเองได ศาลชั้นตน
มีคําสั่งรับคํารองของนางพร
ใหวินิจฉัยวา
(ก) พนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภูธรสันกําแพงมีอํานาจสอบสวนทั้งสามขอหา
และเปนพนักงานสอบสวนผูร ับผิดชอบคดีนหี้ รือไม
(ข) คําสั่งศาลชั้นตนใหรับคํารองเรียกคาเสียหายของนางพรชอบดวยกฎหมาย
หรือไม
-2-

ธงคําตอบขอ 1 (ก) นายสมกระทําความผิดขอหาพยายามฆานายพูนโดยบันดาลโทสะ และขอหา


ทําใหเสียทรัพยในเขตทองที่สถานีตํารวจภูธรสันกําแพง กับกระทําความผิดขอหากระทําโดยประมาทเปนเหตุ
ใหผูอื่นถึงแกความตายในเขตทองที่สถานีตํารวจภูธรสารภี จึงเปนการกระทําความผิดหลายกรรม กระทําลงใน
ทองที่ตาง ๆ กัน พนักงานสอบสวนในทองที่หนึ่งทองที่ใดที่เกี่ยวของมีอํานาจสอบสวนตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 19 วรรคหนึ่ง (4) แตความผิดขอหาทําใหเสียทรัพยตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 358 ตองกระทําตอทรัพยของผูอื่นหรือผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดว ย ซึ่งคําวา
“ทรัพยของผูอื่น” หมายความรวมถึงบุคคลที่ไดรบั มอบหมายโดยตรงจากเจาของทรัพยใหเปนผูครอบครอง
ดูแลทรัพยนั้น นางเอเปนเจาของรถจักรยานยนต นายพิศขอยืมรถจักรยานยนตจากนายบีโดยไมปรากฏ
วานางเอมอบหมายโดยตรงใหนายพิศครอบครองดูแลรักษารถจักรยานยนตโดยอาศัยสิทธิของนางเอได
นายพิศจึงไมใชผูเสียหายในความผิดขอหาทําใหเสียทรัพย อันเปนความผิดอันยอมความได เมื่อนางเอซึ่งเปน
ผูเสียหายไมไดรองทุกข พนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภูธรสันกําแพง จึงไมมีอาํ นาจสอบสวนความผิด
ขอหานี้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 121 วรรคสอง คงมีอํานาจสอบสวน
เฉพาะความผิดขอหาพยายามฆานายพูนโดยบันดาลโทสะ และขอหากระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอนื่ ถึง
แกความตาย (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3578/2564) ความผิดขอหาปลนทรัพยเปนการกระทํา
ความผิดคนละกรรมกับความผิดในคดีนี้ นายสมถูกจับในขอหาปลนทรัพยที่อําเภอสารภีก็ไมถือวาถูกจับ
ในคดีนี้ดว ยตามมาตรา 19 วรรคสอง (ก) (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 625/2552) แตการที่พนักงาน
สอบสวนสถานีตาํ รวจภูธรสันกําแพงไดรบั ตัวนายสมจากสถานีตาํ รวจภูธรสารภีแลวทําการสอบสวนพบวานายสม
เปนคนรายพยายามฆานายพูนโดยบันดาลโทสะ และกระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย
เทากับวาพบการกระทําความผิดดังกลาวกอน จึงเปนพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบคดีนี้ตามมาตรา 19
วรรคสอง (ข) (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9321/2559)
(ข) ผูเสียหายที่มีสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณา
ความอาญา มาตรา 44/1 มีความหมายแตกตางกับความหมายของผูเสียหายตามมาตรา 2 (4) ผูมีสิทธิ
เรียกคาสินไหมทดแทนในทางแพงไมจําตองเปนผูเสียหายโดยนิตินัย ซึ่งการตีความการใชสิทธิเรียกรอง
คดีสวนแพงใชกับผูม ีอํานาจจัดการแทนตามมาตรา 5 (2) ดวย แมจะมิใชผเู สียหายโดยนิตนิ ัย แตหากถูกทําราย
ถึงบาดเจ็บจนไมสามารถจัดการเองได ผูบุพการีของผูเ สียหายก็ใชสิทธิทางแพงเรียกรองคาสินไหมทดแทน
จากผูกระทําความผิดได แมนายพูนลงมือทํารายนายสมกอนอันเปนการขมเหงอยางรายแรงดวยเหตุ
อันไมเปนธรรมทําใหนายพูนไมเปนผูเ สียหายโดยนิตินัย แตนายพูนถูกทํารายจนบาดเจ็บไมสามารถจัดการเองได
นางพรซึ่งเปนมารดาก็มีอํานาจจัดการแทนนายพูนไดสําหรับการใชสิทธิเรียกรองทางแพง คําสัง่ ศาลชัน้ ตน
ใหรับคํารองเรียกคาเสียหายของนางพรจึงชอบดวยกฎหมาย (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3558/2564)
-3-

คําถามขอ 2 นายขาวเปนโจทกยื่นฟองนายดําเปนจําเลยตอศาลอาญา โดยระบุชื่อบุคคลที่เปน


จําเลยวา นายแดงรวมมากับชื่อนายดําซึ่งเปนชื่อจําเลย และระบุอายุ ที่อยู เลขประจําตัวประชาชน
ของนายแดงแตเพียงผูเดียวมาในฟอง โดยบรรยายฟองวา เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2565 เวลากลางวัน
นายแดงหรือนายดําหมิน่ ประมาทนายขาวโดยการโฆษณา ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 326, 328 ในการสงหมายนัดและสําเนาคําฟองใหแกจําเลย นายขาวขอใหมีการสงหมายนัดและ
สําเนาคําฟองแกนายแดงแตเพียงผูเดียว ตอมานายขาวทราบวา นายแดงและนายดําไมใชบุคคลคนเดียวกัน
นายขาวจึงขอแกฟองเกี่ยวกับบุคคลที่เปนจําเลยเปนนายดํา ศาลอาญามีคาํ สั่งอนุญาตใหนายขาวแกฟอ ง
ในสวนนี้ได ตอมาศาลอาญาไตสวนมูลฟองแลว เห็นวาคดีมีมูล จึงมีคาํ สั่งใหประทับฟองไวพิจารณา
แลวกําหนดวันนัดสืบพยานโจทกพรอมกับออกหมายเรียกนายดํามาศาล เมื่อสืบพยานโจทกไปได 2 ปาก
นายขาวยื่นคํารองขอแกฟองจากขอความวา “เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2565 เวลากลางวัน” เปน
“เมื่อระหวางวันที่ 1 มกราคม 2565 เวลากลางวัน ถึงวันที่ 16 มกราคม 2565 เวลากลางวัน
ตอเนื่องกันวันเวลาใดไมปรากฏชัด” นายดําแถลงคัดคานวา นายขาวขอแกฟองทําใหนายดําเสียเปรียบ
หรือหลงตอสูคดี ขอใหยกคํารอง ศาลอาญามีคําสั่งอนุญาตใหนายขาวแกฟองไดแลวใหนายขาวนําพยาน
เขาสืบตอ นายขาวและนายดําแถลงวา ประสงคจะไปเจรจากันกอน ศาลอาญาจึงเลื่อนไปนัดสืบพยาน
โจทกตอ ในวันที่ 6 พฤษภาคม 2565 เวลา 9 นาฬิกา ครัน้ ถึงวันนัดนายขาวไมมาศาลโดยไมแจง
เหตุขดั ของ ศาลอาญามีคําสั่งยกฟองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 166 ประกอบ
มาตรา 181 วันที่ 1 มิถนุ ายน 2565 นายขาวขอตรวจดูสํานวนและทราบวาศาลอาญามีคําพิพากษา
ยกฟอง ตอมาวันที่ 8 มิถนุ ายน 2565 นายขาวยืน่ คํารองขอใหยกคดีขึ้นพิจารณาใหม ศาลอาญาเห็นวา
นายขาวยื่นคํารองขอใหยกคดีขึ้นพิจารณาใหมเกินกําหนดเวลาตามที่กฎหมายกําหนด จึงมีคําสั่งใหยกคํารอง
ใหวินิจฉัยวา คําสั่งศาลอาญาที่อนุญาตใหนายขาวแกฟองทั้งสองกรณีและคําสั่ง
ยกคํารองขอใหยกคดีขนึ้ พิจารณาใหมชอบหรือไม

ธงคําตอบขอ 2 การที่นายขาวยื่นฟองโดยระบุชื่อบุคคลที่เปนจําเลยวา นายแดงรวมมากับชื่อนายดํา


ซึ่งเปนชื่อจําเลย และระบุอายุ ที่อยู เลขประจําตัวประชาชนของนายแดงแตเพียงผูเดียวมาในฟอง
ทั้งยังขอใหมีการสงหมายนัดและสําเนาคําฟองแกนายแดงแตเพียงผูเดียวดวยเพราะนายขาวเขาใจวานายแดง
และนายดําเปนบุคคลคนเดียวกัน ดังนั้น การที่นายขาวขอแกฟองเกี่ยวกับบุคคลที่เปนจําเลยเปน
นายดํา หลังจากนายขาวทราบวานายแดงและนายดําเปนคนละคนกันแลว จึงไมเปนการขอแกฟอง
โดยเปลี่ยนตัวบุคคลที่เปนจําเลย แตเปนการขอแกไขในรายละเอียดทีก่ ลาวไวในฟองแลวและกรณี
มีเหตุอันควร ตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา มาตรา 163 วรรคหนึ่ง และมาตรา 164
ที่ศาลอาญามีคําสัง่ อนุญาตใหนายขาวแกฟองในสวนนี้ชอบแลว (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3694/2563)
การที่นายขาวยื่นคํารองขอแกฟองจากขอความวา “เมื่อวันที่ 16 มกราคม
2565 เวลากลางวัน” เปน “เมื่อระหวางวันที่ 1 มกราคม 2565 เวลากลางวัน ถึงวันที่ 16 มกราคม
2565 เวลากลางวันตอเนื่องกันวันเวลาใดไมปรากฏชัด” เปนการแกฟองเฉพาะวันและเวลาที่อางวานายดํา
กระทําผิดอันเปนรายละเอียดซึง่ ตองแถลงในฟอง โดยวันและเวลาที่ขอแกใหมยังครอบคลุมถึงวันและเวลา
ตามฟองเดิมดวย ทัง้ นายขาวยื่นคํารองขอแกฟองเมื่อสืบพยานโจทกไปเพียง 2 ปาก ยอมไมทําใหนายดํา
-4-

เสียเปรียบในการตอสูคดีหรือหลงตอสูคดี ที่ศาลอาญาอนุญาตใหนายขาวแกฟองจึงชอบแลวตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 163 วรรคหนึ่ง และมาตรา 164 (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่
9860/2552)
การทีน่ ายขาวและนายดําแถลงวา ประสงคจะไปเจรจากันกอนและศาลอาญา
เลื่อนไปนัดสืบพยานโจทกตอ ในวันที่ 6 พฤษภาคม 2565 เวลา 9 นาฬิกา เมือ่ ถึงวันนัดนายขาว
ไมมาศาลโดยไมแจงเหตุขัดของ ศาลอาญาจึงมีคาํ สั่งยกฟองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา 166 ประกอบมาตรา 181 ตอมาวันที่ 1 มิถุนายน 2565 นายขาวขอตรวจ
ดูสาํ นวนและทราบวาศาลอาญามีคําพิพากษายกฟอง และวันที่ 8 มิถุนายน 2565 นายขาวจึงยื่นคํารอง
ขอใหยกคดีขึ้นพิจารณาใหม คํารองขอใหยกคดีขนึ้ พิจารณาใหมตามมาตรา 166 วรรคสอง นั้น จะตอง
รองขอภายใน 15 วัน นับแตวนั ที่ศาลยกฟอง มิใชนับแตวนั ที่นายขาวทราบคําสั่ง เมื่อปรากฏวาศาลอาญา
มีคําสั่งยกฟองเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2565 นายขาวมายื่นคํารองเมือ่ วันที่ 8 มิถุนายน 2565 จึงเกิน
กําหนดเวลาตามมาตรา 166 วรรคสอง ประกอบมาตรา 181 ทีศ่ าลอาญามีคําสัง่ ยกคํารองขอใหยกคดี
ขึ้นพิจารณาใหมจึงชอบแลว (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 2595/2539)
-5-

คําถามขอ 3 สํานวนแรก พนักงานอัยการโจทกฟองวา จําเลยทั้งสองรวมกันปลอมหนังสือ


มอบอํานาจของนายดําและเขาไปในเคหสถานของผูอนื่ โดยไมมีเหตุอนั สมควร จําเลยที่ 1 ใชอาวุธมีดแทง
นายดําที่ทองโดยมีเจตนาฆาเปนเหตุใหถึงแกความตาย ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
83, 91, 264, 288, 364, 365 สํานวนที่สอง นางแดงซึ่งเปนมารดาของนายดําเปนโจทกฟองวา จําเลยที่ 1
ใชอาวุธมีดแทงนายดําที่ทองโดยมีเจตนาฆาเปนเหตุใหถึงแกความตาย ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 288 และชดใชคาสินไหมทดแทน 600,000 บาท แกนางแดง ศาลชั้นตนไตสวนมูลฟองคดีสํานวน
ที่สองแลว มีคําสัง่ ประทับฟอง หลังจากนัน้ ศาลชัน้ ตนมีคําสั่งใหรวมพิจารณาพิพากษาคดีทงั้ สองสํานวน
โดยเรียกพนักงานอัยการโจทกวา โจทกที่ 1 นางแดงวา โจทกที่ 2 จําเลยทั้งสองใหการปฏิเสธ ศาลชั้นตน
พิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยที่ 2 มีความผิดฐานบุกรุกเขาไปในเคหสถานของผูอ่ืนตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 364 จําคุก 2 เดือน เปลี่ยนโทษจําคุกเปนกักขังแทนตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 23 ขอหาอืน่ ใหยก และใหยกฟองจําเลยที่ 1
โจทกที่ 1 อุทธรณวา พยานหลักฐานรับฟงไดวาจําเลยที่ 1 ฆานายดําโดยเจตนา
และปลอมเอกสาร และขอใหลงโทษจําเลยที่ 2 หนักขึ้น ศาลอุทธรณพิพากษาแกเปนวา จําเลยที่ 1
มีความผิดฐานฆาผูอนื่ โดยเจตนาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 จําคุก 15 ป ใหจําเลยที่ 1
ชดใชคาสินไหมทดแทน 600,000 บาท แกโจทกที่ 2 และความผิดฐานบุกรุกเขาไปในเคหสถานของผูอื่น
ไมเปลี่ยนโทษจําคุกจําเลยที่ 2 เปนโทษกักขัง นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลชัน้ ตน สวน
ความผิดฐานปลอมเอกสาร โจทกที่ 1 อุทธรณวา พยานหลักฐานรับฟงไดวาจําเลยที่ 1 ปลอมเอกสาร
เปนอุทธรณในปญหาขอเท็จจริง ตองหามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 193 ทวิ
จึงใหยกอุทธรณ
จําเลยที่ 2 ฎีกาขอใหลงโทษฐานบุกรุกเขาไปในเคหสถานของผูอื่นในสถานเบา
โจทกที่ 1 ฎีกาวา พยานหลักฐานรับฟงไดวา จําเลยที่ 1 ปลอมเอกสาร
ใหวินิจฉัยวา
(ก) ที่ศาลอุทธรณพิพากษาใหจําเลยที่ 1 ชดใชคาสินไหมทดแทนแกโจทกที่ 2
ชอบหรือไม
(ข) ฎีกาของจําเลยที่ 2 ชอบหรือไม
(ค) ฎีกาของโจทกที่ 1 ชอบหรือไม

ธงคําตอบขอ 3 (ก) โจทกที่ 2 เปนโจทกฟองจําเลยที่ 1 เปนจําเลยในสํานวนที่สอง แมศาลชั้นตน


มีคาํ สั่งใหรวมพิจารณาพิพากษาเขาดวยกันกับสํานวนแรกก็ตาม แตเมื่อศาลชั้นตนพิพากษายกฟอง
ทั้งสองสํานวน โจทกที่ 2 ไมไดอุทธรณ คดีสํานวนที่สองสําหรับจําเลยที่ 1 ยอมยุติไปตามคําพิพากษา
ศาลชั้นตน ไมเปนปญหาที่จะตองพิจารณาในชั้นอุทธรณ ทั้งการที่ศาลอุทธรณพิพากษาลงโทษจําคุก
จําเลยที่ 1 ก็เปนการลงโทษจําคุกจําเลยที่ 1 ในสํานวนแรกทีม่ ีการอุทธรณขนึ้ มาเทานัน้ หาไดเกี่ยวของ
กับสํานวนที่สองที่ยุติไปแลวไม จึงไมอาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยกําหนดคาสินไหมทดแทนใหจาํ เลยที่ 1
ชดใชแกโจทกที่ 2 ตามที่โจทกที่ 2 มีคาํ ขอในสํานวนที่สองที่ยตุ ิไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตนแลวได
คําพิพากษาศาลอุทธรณในสวนนี้จึงไมชอบ (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6020/2559)
-6-

(ข) ศาลชั้นตนพิพากษาวา จําเลยที่ 2 มีความผิดฐานบุกรุกเขาไปในเคหสถาน


ของผูอื่น ลงโทษจําคุก 2 เดือน เปลี่ยนโทษจําคุกเปนกักขังแทน การที่ศาลอุทธรณมีคําพิพากษาไมเปลี่ยน
โทษจําคุกเปนกักขังแทนนั้น ศาลอุทธรณยังพิพากษาวาจําเลยที่ 2 มีความผิดฐานบุกรุกเขาไปในเคหสถาน
ของผูอื่นอยู เพียงแตลงโทษแตกตางไปจากศาลชั้นตนเทานั้น คําพิพากษาศาลอุทธรณจึงเปนการพิพากษาแก
คําพิพากษาศาลชั้นตน มิใชพิพากษากลับ จึงหามมิใหคคู วามฎีกาในปญหาขอเท็จจริงตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219 ตรี ที่จําเลยที่ 2 ฎีกาขอใหลงโทษฐานบุกรุกเขาไปในเคหสถาน
ของผูอ่นื ในสถานเบา เปนฎีกาในปญหาขอเท็จจริง ตองหามมิใหฎีกาตามบทบัญญัติดังกลาว
(เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12840/2558)
(ค) ความผิดฐานปลอมเอกสาร ศาลชั้นตนพิพากษายกฟองจําเลยที่ 1 ศาลอุทธรณ
พิพากษาใหยกอุทธรณของโจทกท่ี 1 เพราะเปนอุทธรณท่ีตองหามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา 193 ทวิ จึงมิใชกรณีที่ศาลชั้นตนและศาลอุทธรณพิพากษายกฟองโจทกที่ 1
ไมตองหามฎีกาตามมาตรา 220 แตเมื่อศาลอุทธรณไมรบั วินิจฉัย โจทกที่ 1 มิไดฎีกาโตแยงการทีศ่ าลอุทธรณ
ไมรบั วินิจฉัยอุทธรณของโจทกที่ 1 กลับฎีกาวาพยานหลักฐานรับฟงไดวา จําเลยที่ 1 ปลอมเอกสาร อันเปนขอที่
โจทกที่ 1 ยกขึ้นในอุทธรณมากลาวอางในชัน้ ฎีกาอีก จึงถือไมไดวาเปนฎีกาคัดคานคําพิพากษาศาลอุทธรณ
ตามมาตรา 216 ฎีกาของโจทกที่ 1 จึงไมชอบ (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3062/2563)
-7-
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มี 3 ขอ (ขอ 4 - 6)

คําถามขอ 4 นายเอกยื่นคํารองขอใหศาลมีคาํ สั่งวา ที่ดินโฉนดเลขที่ 123 ซึ่งมีชื่อนายโท


เปนผูถ ือกรรมสิทธิ์ ตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูรอ งโดยการครอบครองปรปกษ ศาลชัน้ ตนประกาศนัดไตสวน
และใหผรู องนําสงสําเนาคํารองขอแกผมู ีชื่อในโฉนดที่ดนิ แลว ไมมีผูใดยื่นคําคัดคาน ศาลชัน้ ตนไตสวนแลว
มีคําสั่งวา ทีด่ ินโฉนดเลขที่ 123 ตกเปนกรรมสิทธิข์ องผูรอง ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 1382 คดีถึงที่สุด ระหวางที่ผูรองกําลังดําเนินการนําคําสั่งศาลไปแสดงตอเจาพนักงานที่ดิน
เพื่อขอเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน นายโทยื่นคํารองขอใหศาลชั้นตนมีคําสั่งเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่
ผิดระเบียบ โดยอางวาไมไดรับสําเนาคํารองขอที่ศาลชัน้ ตนสั่งใหสง แกนายโท จึงไมทราบวาผูร องขอแสดง
กรรมสิทธิ์ในทีด่ ินพิพาทโฉนดเลขที่ 123 ทีน่ ายโทมีชื่อถือกรรมสิทธิ์ ไมสามารถยืน่ คําคัดคานไดภายใน
ระยะเวลาทีก่ ําหนด ศาลชัน้ ตนไตสวนแลวมีคาํ สั่งใหยกคํารอง กรณีใดกรณีหนึง่ ดังตอไปนี้
(ก) นายโทยื่นคํารองสอดขอเขาเปนคูค วามอางวา นายโทเปนผูม ีชื่อถือกรรมสิทธิ์
ในที่ดินพิพาท ผูรองครอบครองทําประโยชนในทีด่ ินพิพาทโดยอาศัยสิทธิของนายโทและไมเคยบอกกลาว
วาจะไมยึดถือทีด่ ินพิพาทแทนนายโทตอไป ขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งยกคํารองขอของผูรอง
(ข) นายตรียื่นคํารองสอดขอเขาเปนคูความอางวา นายโทเจาของทีด่ ินเดิมไดเวน
ที่ดินทางดานทิศเหนือของที่ดินพิพาทไว เพื่อเปนทางเดิน นายตรีไดใชทางนี้ติดตอกันมาเกิน 10 ป
ขอใหมีคาํ สั่งวาทีด่ ินเฉพาะสวนดังกลาวตกเปนภาระจํายอม ใหผูรองไปจดทะเบียนวาทางในที่ดนิ พิพาท
เปนทางภาระจํายอมเพื่อประโยชนแกทดี่ ินโฉนดเลขที่ 456 ของนายตรี
ใหวินิจฉัยวา ศาลชัน้ ตนจะมีคําสั่งอนุญาตตามคํารองขอของนายโท ใน (ก)
และนายตรี ใน (ข) ไดหรือไม

ธงคําตอบขอ 4 (ก) แมกอนไตสวนคํารองขอครอบครองปรปกษทดี่ ินของนายเอกผูรอง ศาลชัน้ ตน


ไดสั่งใหผรู องนําสงสําเนาคํารองขอแกนายโทเพื่อใหมีโอกาสคัดคานแลวก็ตาม แตเมื่อนายโทมิไดรองคัดคาน
เขามาในคดีกอนที่ศาลชั้นตนจะมีคําสั่งใหผูรองไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทโฉนดเลขที่ 123 โดยการครอบครอง
ก็ตองถือวานายโทเปนบุคคลภายนอกคดีมีสิทธิพิสูจนในชั้นที่จะมีการบังคับตามคําพิพากษาหรือคําสั่งวา
นายโทมีสิทธิในทีด่ ินพิพาทดีกวาผูรอง คําสั่งศาลชั้นตนที่ใหผูรองไดกรรมสิทธิ์ในที่ดนิ พิพาทไมผูกพันนายโท
ตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพง มาตรา 145 (2) สวนการที่นายโทยืน่ คํารองขอใหเพิกถอน
กระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบตามมาตรา 27 ก็เปนการยื่นภายหลังจากที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งแสดงกรรมสิทธิ์
ในที่ดินพิพาทแลว ทั้งการขอใหเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบก็มิใชเปนการรองขอเพื่อยังให
ไดรับการรับรอง คุมครอง หรือบังคับตามสิทธิของตนทีม่ ีอยูตามมาตรา 57 (1) อันจะทําใหการยื่น
คํารองสอดขอเขาเปนคูความของนายโทตามคํารองขอฉบับหลังกลายเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ํา
ตามมาตรา 144 ไม นายโทในฐานะเจาของกรรมสิทธิ์ในที่ดนิ พิพาทยอมเปนผูมสี วนไดเสียในการบังคับ
ตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลและถือเปนผูที่ถูกโตแยงสิทธิจึงชอบที่จะรองขอเขาเปนคูความในชั้นบังคับ
ตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลตามมาตรา 57 (1) (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6523/2562)
ศาลชั้นตนชอบที่จะมีคําสัง่ อนุญาตใหนายโทรองสอดเขามาในคดีนี้
(ข) นายเอกผูร องยืน่ คํารองขอตอศาลเพื่อใหมีคําสัง่ วาผูร องไดกรรมสิทธิ์ในทีด่ ิน
พิพาทซึ่งเปนของนายโทโดยการครอบครอง นายตรีมไิ ดรองคัดคานในเรื่องนี้ แตรอ งขอใหศาลมีคําสั่งวา
นายตรีไดภาระจํายอมบางสวนในที่ดินพิพาท จึงเปนการตั้งสิทธิของตนขึ้นมาใหมเปนคนละเรื่องไมเกี่ยวเนื่อง
กับเรื่องทีน่ ายเอกยื่นคํารองขอตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความแพง มาตรา 57 (1) ดังนั้น นายตรี
จะเสนอมาในคดีนไี้ มได (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1812/2532) ศาลชั้นตนชอบที่จะไมอนุญาตให
นายตรีรองสอดเขามาในคดีนี้
-8-

คําถามขอ 5 โจทกทั้งสองฟองวา โจทกที่ 1 เปนภริยาโดยชอบดวยกฎหมายของนายวิบูลย


โจทกท่ี 2 จําเลยที่ 2 และที่ 3 เปนบุตรของนายวิบูลยกับโจทกที่ 1 นายวิบูลยถึงแกความตาย
ศาลมีคําสั่งตั้งจําเลยที่ 1 เปนผูจัดการมรดก จําเลยที่ 1 มิไดจัดทําบัญชีทรัพยมรดกและไมนําทรัพยมรดก
มาแบงใหแกโจทกทั้งสองซึ่งเปนทายาท และจําเลยทั้งสามรวมกันปดบังทรัพยมรดก ขอใหเพิกถอนจําเลยที่ 1
จากการเปนผูจัดการมรดกและมีคําสั่งตั้งโจทกทั้งสองเปนผูจัดการมรดกแทน และใหกําจัดจําเลยที่ 2 และ
ที่ 3 มิใหรบั มรดก จําเลยที่ 2 และที่ 3 ใหการวา จําเลยที่ 1 จัดทําบัญชีทรัพยมรดกและแบงปน
ทรัพยมรดกแกทายาทโดยถูกตองตามกฎหมาย ไมไดปด บังทรัพยมรดก โจทกที่ 2 เปนฝายปดบังทรัพย
มรดก โจทกทงั้ สองไมสมควรเปนผูจดั การมรดก ขอใหยกฟอง และจําเลยที่ 2 ฟองแยงขอใหกําจัดโจทกที่ 2
มิใหรบั มรดก สวนจําเลยที่ 3 ฟองแยงขอใหตงั้ จําเลยที่ 3 เปนผูจดั การมรดก ศาลชัน้ ตนมีคําสั่งรับคําใหการ
สวนฟองแยงรับเฉพาะของจําเลยที่ 2 ไมรับฟองแยงของจําเลยที่ 3 ตอมาหลังจากศาลฎีกามีคําพิพากษาแลว
โจทกทั้งสองเพิ่งทราบวาที่ฟองจําเลยที่ 2 ชื่อ นายสมเกียรติ ผิดไปจากความจริง ชื่อที่ถูกคือ นายสมเกียรติ์
ซึ่งเปนบุคคลคนเดียวกัน โจทกทั้งสองจึงขอแกไขคําฟองเขามาในชั้นบังคับคดี ศาลชัน้ ตนอนุญาตใหแกชื่อ
ของจําเลยที่ 2 ได โดยไมมีการสงสําเนาคํารองขอแกไขคําฟองใหจาํ เลยที่ 2 กอน ใหวนิ ิจฉัยวา
(ก) คําสัง่ ของศาลชั้นตนทีร่ บั ฟองแยงของจําเลยที่ 2 ชอบหรือไม
(ข) คําสั่งของศาลชั้นตนทีไ่ มรับฟองแยงของจําเลยที่ 3 ชอบหรือไม
(ค) คําสัง่ ของศาลชั้นตนที่อนุญาตใหโจทกทั้งสองแกชื่อของจําเลยที่ 2
ชอบหรือไม

ธงคําตอบขอ 5 (ก) สภาพแหงขอหาตามคําฟองของโจทกเปนเรื่องทีต่ องพิจารณาวา มีเหตุให


เพิกถอนจําเลยที่ 1 จากการเปนผูจัดการมรดกของนายวิบูลยและมีเหตุตามกฎหมายที่จําเลยที่ 2 และที่ 3
จะตองถูกกําจัดมิใหรบั มรดกตามฟองหรือไม แตฟองแยงของจําเลยที่ 2 ที่ขอใหกําจัดโจทกที่ 2 มิใหรบั
มรดกนัน้ เปนเรือ่ งที่จะตองพิจารณาวามีเหตุตามกฎหมายที่โจทกที่ 2 จะตองถูกกําจัดมิใหรับมรดกตาม
ฟองแยงหรือไม ฟองแยงของจําเลยที่ 2 จึงไมเกี่ยวกับคําฟองเดิมพอที่จะรวมการพิจารณาและชีข้ าด
ตัดสินเขาดวยกันไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 177 วรรคสาม และมาตรา 179 วรรคทาย
คําสั่งของศาลชั้นตนทีร่ ับฟองแยงของจําเลยที่ 2 จึงไมชอบ (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7391/2543)
(ข) ฟองแยงของจําเลยที่ 3 ที่ขอใหตั้งจําเลยที่ 3 เปนผูจดั การมรดกของนายวิบูลยนนั้
จะมีผลก็ตอเมื่อศาลเพิกถอนจําเลยที่ 1 จากการเปนผูจัดการมรดกตามฟองแลว ซึ่งยังไมแนนอนวาศาล
จะเพิกถอนจําเลยที่ 1 จากการเปนผูจดั การมรดกหรือไม ฟองแยงของจําเลยที่ 3 ในสวนนี้จงึ เปน
ฟองแยงที่มีเงื่อนไขไมเกี่ยวกับคําฟองเดิมพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเขาดวยกันได
ตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพง มาตรา 177 วรรคสาม และมาตรา 179 วรรคทาย คําสัง่
ของศาลชั้นตนที่ไมรับฟองแยงของจําเลยที่ 3 จึงชอบแลว (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7391/2543)
(ค) นายสมเกียรติ กับนายสมเกียรติ์ เปนบุคคลคนเดียวกัน การขอแกไขชื่อ
นายสมเกียรติ์ จึงมิใชเปนกรณีฟองจําเลยที่ 2 ผิดตัวหรือฟองคดีตา งบุคคลกันและมิใชเปนการเพิ่มเติม
ขอหาใหม หากแตเปนการเพิ่มเติมในรายละเอียดใหชัดเจนถูกตองตรงตามความเปนจริง แมจะอยูใน
ชั้นบังคับคดี แตก็มิไดเปนการเปลี่ยนแปลงผลของคําพิพากษาหรือเปนการบังคับคดีนอกเหนือไปจาก
คําพิพากษาแตอยางใด ทัง้ มิใชเปนการแกไขคําฟองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 179
จึงไมอยูในบังคับของมาตรา 180 และมาตรา 181 ที่จะตองถูกจํากัดระยะเวลาการยื่นคํารองวาตองยืน่ กอน
วันชี้สองสถานหรือกอนวันสืบพยาน และไมจําเปนตองสงสําเนาคํารองใหแกคูความอีกฝายหนึ่งกอน คําสั่งของ
ศาลชั้นตนที่อนุญาตใหโจทกแกชื่อของจําเลยที่ 2 จึงชอบแลว (เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15722/2558)
-9-

คําถามขอ 6 โจทกในฐานะผูจัดการมรดกของนางสมมารดาโจทกตามคําสั่งศาล ฟองขอให


บังคับจําเลยสงคืนโฉนดทีด่ นิ ของนางสมที่จําเลยยึดหนวงไวโดยไมมีมูลหนีแ้ กโจทก หากไมคืนใหถือเอา
คําพิพากษาแทนการแสดงเจตนากับใหใชคา เสียหายกอนฟอง 2 เดือน เดือนละ 4,000 บาท เปนเงิน
8,000 บาท และถัดจากวันฟองจนกวาจําเลยจะคืนโฉนดที่ดินแกโจทก จําเลยใหการวา นางสมยกที่ดิน
ใหจําเลยเขาครอบครองทําประโยชนทั้งมอบโฉนดทีด่ ินใหจําเลยตั้งแตป 2550 จําเลยครอบครองโดยสงบ
เปดเผยดวยเจตนาเปนเจาของกวา 10 ปแลว ทีด่ ินเปนของจําเลยไมใชมรดกของนางสม จําเลยมีสิทธิ
ยึดหนวงโฉนดที่ดิน โจทกไมเสียหาย ขอใหยกฟอง ชั้นพิจารณา ศาลชั้นตนตีราคาที่ดินเปนเงิน
300,000 บาท แลวพิจารณาพิพากษาใหจําเลยสงคืนโฉนดทีด่ ินและใชคาเสียหายกอนฟอง 3,000 บาท
และเดือนละ 1,500 บาท นับถัดจากวันฟองจนกวาจะคืนโฉนดทีด่ ินแกโจทก จําเลยอุทธรณโดยมิได
ขอทุเลาการบังคับวา ทีด่ ินเปนของจําเลย จําเลยมีสิทธิยึดหนวงโฉนดที่ดนิ โดยชอบ โจทกไมเสียหาย
ขอใหศาลอุทธรณยกฟอง และเมื่อพนกําหนดเวลาตามคําบังคับ จําเลยไมปฏิบัติตามคําพิพากษา
โจทกยื่นคําขอใหมีการบังคับคดีตามคําพิพากษาที่ใหจาํ เลยสงคืนโฉนดที่ดนิ โดยใหศาลมีคําสัง่ ใหถือเอา
คําพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของจําเลย
ใหวินิจฉัยวา ศาลชัน้ ตนจะมีคําสั่งรับอุทธรณของจําเลยไดหรือไม และจะกําหนด
วิธีการบังคับคดีตามคําขอของโจทกหรือไม

ธงคําตอบขอ 6 โจทกฟองเรียกโฉนดที่ดินของนางสมจากจําเลยอางวา ไมมีมูลหนี้ท่ีจําเลย


จะยึดหนวงโฉนดทีด่ ินดังกลาวไว หาไดฟองเรียกทีด่ ินคืนจากจําเลยไม แมจําเลยจะใหการตอสูว า
ที่ดินเปนของจําเลย โดยการครอบครองปรปกษมากวา 10 ปแลว ก็ถือวาเปนเพียงขอตอสูที่จะไมตอง
คืนโฉนดทีด่ ินแกโจทกเทานัน้ คําฟองของโจทกจึงเปนคดีฟองขอใหปลดเปลื้องทุกขอันไมอาจคํานวณ
เปนราคาเงินไดหรือคดีไมมีทนุ ทรัพย มิใชเปนคดีมีทุนทรัพย ไมอยูในบังคับแหงบทบัญญัติประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง มาตรา 224 วรรคหนึ่ง แตอยูในบังคับมาตรา 224 วรรคสอง (เทียบคําพิพากษา
ศาลฎีกาที่ 8676/2544)
อุทธรณของจําเลยที่วา ทีด่ นิ เปนของจําเลย จําเลยมีสทิ ธิยึดหนวงโฉนดทีด่ ิน
ไดโดยชอบ และโจทกไมเสียหาย เปนอุทธรณโตเถียงดุลพินิจของศาลในการรับฟงพยานหลักฐานและ
การกําหนดคาเสียหาย ถือเปนอุทธรณขอเท็จจริงในคดีฟองขอใหปลดเปลื้องทุกขอันไมอาจคํานวณเปนราคา
เงินได หรือคดีไมมีทนุ ทรัพย แมจําเลยจะอุทธรณในเรื่องคาเสียหายอันเปนตัวเงินมาดวย ก็ไมทาํ ใหเปนคดี
มีทุนทรัพย และถือวาทั้งคดีเปนคดีไมมีทุนทรัพย ไมตองหามมิใหอุทธรณในขอเท็จจริงตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง มาตรา 224 วรรคสอง (เทียบคําสั่งคํารองศาลฎีกาที่ 1494/2549 และคําพิพากษา
ศาลฎีกาที่ 7284/2541) ศาลชั้นตนชอบที่จะมีคําสัง่ รับอุทธรณของจําเลยไวพิจารณา
จําเลยอุทธรณโดยมิไดขอทุเลาการบังคับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
มาตรา 231 โจทกชอบที่จะขอใหมีการบังคับคดีได แตการบังคับคดีในกรณีที่คําพิพากษาของศาลที่กําหนดให
จําเลยสงคืนโฉนดที่ดินแกโจทก เปนการบังคับคดีใหจําเลยซึ่งเปนลูกหนี้ตามคําพิพากษากระทําการอยางหนึ่ง
อยางใด มิใชกระทํานิตกิ รรมตามมาตรา 357 ที่จะขอใหศาลมีคาํ สั่งใหถือเอาคําพิพากษาของศาลแทน
การแสดงเจตนาของจําเลยได ศาลชัน้ ตนจึงไมชอบที่จะกําหนดวิธกี ารบังคับคดีตามคําขอของโจทก
(เทียบคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 2140/2559 และ 167/2560)

You might also like