You are on page 1of 160

1

ถาม – ตอบ
วิ. แพง เลม ๗
เขตอํานาจศาล

ขอ ๑ คําถาม นายหนึ่งมีภูมิลําเนาอยูที่จังหวัดพิษณุโลก


สั่ง จายเช็คชําระหนี้ใหแกน ายสอง ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ขณะมา
เยี่ยมญาติที่จังหวัดนนทบุรี นายสองนําเช็คไปเขาบัญชีธนาคาร
เพื่อเรียกเก็บเงินที่จังหวัดเชียงใหมอันเปนสถานที่ซึ่งนายหนึ่ง
เปดบัญชีไว ตอมาธนาคารปฏิเสธการจายเงิน ตามเช็คที่จังหวัด
เชียงใหม
ใหวินิจฉัยวา นายสองจะฟองนายหนึ่งใหชําระเงินตาม
เช็คพรอมดอกเบี้ยไดที่ศาลใด
ขอ ๑ คําตอบ การที่นายสองจะฟองนายหนึ่ง ใหชําระ
เงิน ตามเช็คพรอ มดอกเบี้ย เปน การฟอ งเรียกหนี้เหนือ บุค คล
ตอ งเสนอคําฟอ งตอ ศาลที่ นายหนึ่งมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาล
หรือศาลที่มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาล ตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพง มาตรา ๔ (๑)
นายสองมี สิท ธิ ฟอ งต อ ศาลจั ง หวั ดพิ ษ ณุโ ลกซึ่ งนาย
หนึ่งมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาล
2

สว นศาลซึ่ ง เป น สถานที่ ที่ มูล คดี เ กิด นั้ น คํ าว า มูล คดี
หมายถึงตน เหตุอัน เปน ที่ม าแหงการโตแ ยงสิท ธิอัน จะทําให
โจทก เ กิด อํ า นาจฟ อ ง (คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๒๘๔๑/๒๕๔๗)
ในคดีหนึ่งมูลคดีอาจเกิดขึ้นไดหลายแหงได (เทียบคําพิพากษา
ฎีกาที่ ๖๕๐๘/๒๕๔๗)
นายหนึ่ ง สั่ ง จ ายเช็ คใหแ กน ายสองที่จั ง หวัด นนทบุ รี
ซึ่งเกี่ย วของกับเหตุอันเปน ที่ม าแหงการโตแ ยงสิท ธิทําใหเกิด
อํา นาจฟ อ ง ถื อ ว า มูล คดี เ กิ ดขึ้ น ที่ จั ง หวัด นนทบุ รี นายสอง
มีสิทธิฟองนายหนึ่งตอศาลจังหวัดนนทบุรีไดตามมาตรา ๔ (๑)
อีกแหงหนึ่ง (เทียบคําพิพากษาฎีกาที่ ๒๐๑๖/๒๕๕๔)
นอกจากนี้ การที่ธนาคารปฏิเสธการจายเงิน ที่จังหวัด
เชี ย งใหม เ ป น ที่ ม าแห ง การโต แ ย ง สิ ท ธิ ที่ ทํ า ให น ายสองเกิ ด
อํานาจฟอ ง ถือ วามู ล คดีเ กิดขึ้ น ที่ จั งหวัด เชีย งใหม นายสอง
มีสิทธิฟองนายหนึ่งตอศาลจังหวัดเชียงใหมไดอีกแหงหนึ่งดวย
ตามมาตรา ๔ (๑) (คําพิพากษาฎีกาที่ ๘๕๐๖/๒๕๕๑)
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๒๘๔๑/๒๕๔๗ ฎ.ส.ล.๖ น.๗๒
คําวามูลคดี หมายถึงตนเหตุอันเปนที่มาแหงการโตแยงสิทธิอัน
จะทําใหโจทกเกิดอํานาจฟอง
3

คํา พิพ ากษาฎีก าที่ ๖๕๐๘/๒๕๔๗ ฎ. ๒๓๐๘ ในคดี


หนึ่งมูลคดีอาจเกิดขึ้นไดหลายแหงได
คํา พิพ ากษาฎี ก าที่ ๒๐๑๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๒ น. ๘๒
จําเลยออกตั๋วสัญญาใชเงินใหแกบริษัท อ. ณ สํานักงานตั้งอยู
แขวงทุ ง มหาเมฆ เขตสาทร กรุง เทพมหานคร ถือ ว ามู ล คดี
เกิดขึ้น ณ สถานที่ที่จําเลยออกตั๋วสัญญาใชเงินใหแกบริษัท อ.
ซึ่งเกี่ยวของกับเหตุอันเปนที่ม าแหงการโตแยงสิทธิทําใหเกิด
อํ า นาจฟ อ ง ซึ่ ง อยู ใ นเขตอํ า นาจของศาลแพ ง กรุ ง เทพใต
โจทกซึ่งเปนผูรับโอนสิทธิเรียกรองจากบริษัท อ. จึงมีสิทธิฟอง
ตอศาลแพงกรุงเทพใตไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๔ (๑)
ขอสังเกต ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงสถานที่
ที่อ อกตั๋วสัญญาใชเ งิน ถือวามูล คดีเ กิด ตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๔ (๑) ตางกับประมวลกฎหมาย
วิ ธี พิ จ ารณาความอาญาซึ่ ง สถานที่ ที่ อ อกเช็ ค ไม ใ ช ส ถานที่
ที่ความผิดเกิด ตามประมวลกฎหมายวิธี พิจ ารณาความอาญา
มาตรา ๑๘ สถานที่ที่ความผิดฐานออกเช็คโดยเจตนาไมใชเงิน
ตามเช็คเกิดขึ้นคือสถานที่ธนาคารปฏิเสธการจายเงิน
คําพิพากษาฎีก าที่ ๘๕๐๖/๒๕๕๑ ฎ.ส.ล.๕ น.๒๒๕
โจทกฟองขอใหจําเลยรับผิดชําระเงินตามเช็ค จึงตองพิจารณา
4

วามูล คดีตามฟอ งเกิดขึ้น ในเขตอํานาจของศาลชั้น ตน ศาลใด


โจทก มี อํา นาจยื่ น ฟ อ งที่ ศ าลนั้ น ได เมื่อ ธนาคารตามเช็ค ซึ่ ง
ปฏิเสธการจายเงินตามเช็คตั้งอยูในเขตอํานาจของศาลชั้นตน
การที่โจทกยื่นฟองจําเลยที่ศาลชั้นตนจึงชอบแลว สวนเช็คจะมี
มูลหนี้หรือไม ไมเกี่ยวกับเรื่องเขตอํานาจศาล เปนเรื่องที่ศาล
จะตองวินิจฉัยจากพยานหลักฐานของคูความ

ขอ ๒ คําถาม นายแดงเลิกประกอบวิชาชีพทนายความ


ไปนานแลว แตยังมีตั๋วทนายอยู นายดําเชื่อฝมือนายแดงจึงมา
ขอรองใหนายแดงวาความให นายแดงรับวาความใหโดยตกลง
คาทนายความ ๘๐๐,๐๐๐ บาท ที่บานของนายแดงในอําเภอ
เมือง จังหวัดเชียงใหม ตอมานายดําพูดคุยปรึกษาจัดหาและสง
เอกสารให แ ก น ายแดงที่ ภู มิ ลํ าเนาของนายดํา ที่ อํ า เภอเมื อ ง
จังหวัดนครปฐม เมื่อดําเนินคดีใหแลวนายดําไมจายคาวาความ
ใหแกนายแดง หลังจากนั้นนายดํายายภูมิลําเนาไปอยูที่อําเภอ
เมือง จังหวัดนครราชสีมา
ใหวินิจฉัยวา นายแดงจะฟองนายดําใหชําระคาวาความ
ไดที่ศาลใด
5

ขอ ๒ คํ าตอบ การที่ น ายแดงจะฟ อ งนายดํา ใหชํ า ระ


คาวาความเปนการฟองเรียกหนี้เหนือบุคคล ตองเสนอคําฟอง
ตอ ศาลที่ น ายดํา มี ภูมิ ลํ าเนาอยู ในเขตศาล หรื อ ศาลที่มู ล คดี
เกิดขึ้นในเขตศาล ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
มาตรา ๔ (๑)
แม น ายดํ า เคยมี ภู มิ ลํ า เนาอยู ที่ อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด
นครปฐม แตเมื่อนายดํายายภูมิลําเนาไปอยูที่อําเภอเมือง จังหวัด
นครราชสี ม า นายแดงมี สิ ท ธิ ฟ อ งนายดํ า ต อ ศาลจั ง หวั ด
นครราชสีมาซึ่งนายดํามีภูมิลําเนาปจจุบันอยูในเขตศาล
สว นศาลซึ่ ง เป น สถานที่ ที่ มูล คดี เ กิด นั้ น คํ าว า มูล คดี
หมายถึงตน เหตุอัน เปน ที่ม าแหงการโตแ ยงสิท ธิอัน จะทําให
โจทก เ กิด อํ า นาจฟ อ ง (คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๒๘๔๑/๒๕๔๗)
การที่ น ายแดงรั บ ว า ความให น ายดํ า ที่ อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด
เชีย งใหม สัญญาจางวาความเปน สัญญาจา งทําของเมื่อตกลง
วา จ างสั ญ ญาเกิ ดขึ้ น ทั น ที ที่ ต กลง มูล คดี นี้จึ ง เกิด ขึ้ น ในเขต
อํานาจศาลจังหวัดเชียงใหม นายแดงมีสิทธิฟองนายดําตอศาล
จังหวัดเชียงใหม แตก ารที่ น ายดําพูดคุย ปรึก ษาจัดหาและสง
เอกสารใหแ กน ายแดงที่จั ง หวัด นครปฐม เปน เพียงขั้น ตอน
ปฏิบัติของนายดําและนายแดงที่กระทําภายหลังจากที่สัญญา
6

เกิ ด ขึ้ น แล ว มู ล คดี มิ ไ ด เ กิ ด ในเขตอํ า นาจของศาลจั ง หวั ด


นครปฐม นายแดงจึ ง ไม มี สิ ท ธิ ฟ อ งนายดํ า ต อ ศาลจั ง หวั ด
นครปฐม (คําพิพากษาฎีกาที่ ๔๒๔๒/๒๕๕๔)
ข อ สั ง เกต ที่ คํ า ถามระบุ ว า นายแดงเลิ ก ประกอบวิ ช าชี พ
ทนายความไปนานแล ว แต ไ ปรั บ ว า ความให น ายดํ า ก็ เ พื่ อ
ตัดปญหาที่วานายแดงเปนผูประกอบการฟองนายดําผูบริโภค
เพราะถานายแดงประกอบวิชาชีพทนายความและรับวาความ
มีคําวินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณที่ ๒๗๓/๒๕๕๓ วินิจฉัย
วาเปนคดีผูบริโภค จึงตองฟอง ณ ภูมิลําเนาของผูบริโภค
คํา ถามข อ นี้ ถ ามว า จํ าเลยเปลี่ย นภูมิ ลํ า เนาก อ นฟ อ ง
ก็ ต อ งฟ อ ง ณ ภู มิ ลํ า เนาป จ จุ บั น ของจํ า เลย ไม ใ ช ฟ อ ง ณ
ภูมิลําเนาขณะทําสัญญา แตถาหลังจากโจทกยื่นฟองแลวจําเลย
เปลี่ย นภูมิลําเนา การเปลี่ย นแปลงเชน วานี้ไมตัดอํานาจศาล
ที่รับฟองคดีไวในอันที่จะพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีนั้นตาม
มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๒)
คําพิพากษาฎีก าที่ ๔๒๔๒/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๑๔๒
จําเลยที่ ๓ ไดตกลงวาจางโจทกเปนทนายความแกตางคดีใหที่
บานของ ก. ที่จังหวัดเชียงใหม สัญญาจางวาความซึ่งมีลักษณะ
เปนสัญญาจางทําของไมมีกฎหมายบังคับวาตองทําเปนหนังสือ
จึง สมบูร ณใ ชบั ง คับ กัน ได การที่ โ จทก กับ จํา เลยที่ ๓ มีก าร
7

โทรศั พ ท พู ด คุ ย ปรึ ก ษาคดี จั ด หาและส ง เอกสาร เป น เพี ย ง


ขั้นตอนปฏิบัติของโจทกที่กระทําภายหลังจากที่สัญญาเกิดขึ้น
แล ว มู ล คดี นี้ จึ ง เกิ ด ขึ้ น ในเขตอํ า นาจศาลจั ง หวั ด เชี ย งใหม
เมื่ อ มู ล คดี มิ ไ ด เ กิ ด ในเขตอํ า นาจของศาลจั ง หวั ด นครปฐม
และภูมิลํ าเนาของจํ าเลยทั้ง สามล ว นอยู น อกเขตอํา นาจศาล
จังหวัดนครปฐม โจทกจะเสนอคําฟองตอศาลจังหวัดนครปฐม
หาไดไม
ข อ สั ง เกต ในฎี ก านี้ ไ ม มี ป ระเด็ น ว า คดี นี้ เ ป น คดี ผู บ ริ โ ภค
หรื อ ไม และอาจจะเป น การฟ อ งก อ นใช พ ระราชบั ญ ญั ติ
วิธีพิจารณาคดีผูบริโภคฯ แตปจจุบันการที่ทนายความฟองเรียก
คา ว า ความ มี คํ า วิ นิ จ ฉั ย ของประธานศาลอุ ท ธรณ ที่ ๒๗๓/
๒๕๕๓ วินิจฉัยวาเปนคดีผูบริโภค

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๗
คําพิพากษาฎีก าที่ ๒๙๘/๒๕๕๕ ฎ.๒๓๑ คํารอ งของ
โจทก อ า งว า การดํ า เนิ น กระบวนพิ จ ารณาของศาลชั้ น ต น
ไมถูกตอง ไมชอบดวยกฎหมายเปนการผิดระเบียบ เนื่องจาก
โจทกไมเคยรูจัก ว. อางวาเปนผูรับมอบอํานาจจากโจทก และ
หนั ง สื อ มอบอํ า นาจให ว. ฟ อ งคดี นี้ โจทก ไ ม เ คยรู เ รื่ อ ง
ตลอดจนการลงลายมือชื่อในชองผูมอบอํานาจไมใชลายมือชื่อ
8

ของโจทก เปนการปลอมลายมือชื่อ โดยโจทกเ พิ่งทราบเรื่อ ง


อันเปนเหตุในคดีนี้เมื่อโจทกกลับมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา
แลว ไปดูที่ดินทั้ง ไปตรวจสอบที่สํานักงานที่ดิน เพื่อ ให จ. ใช
เปนสถานที่ประกอบธุรกิจชิ้นสวนอุปกรณรถยนตในที่ดินของ
โจทกและไปขอตรวจดูสํานวนคดีนี้ โจทกไมมีนิติสัมพันธและ
ไม เ คยรู จัก กับ ผูใ ดที่ เ กี่ ย วขอ งกับ คดี นี้ซึ่ ง ไดก ระทํา การโดย
ทุจริตเปนเหตุใหโจทกไดรับความเสียหาย หากขอเท็จจริงเปน
ดังคํารองของโจทก เทากับโจทกไมทราบและไมไดเปนผูฟอง
คดีนี้ และถา ว. ไมไ ด รับมอบอํานาจจากโจทก ว. ยอ มไม มี
อํานาจดําเนินกระบวนพิจารณาแทนโจทกได การที่ศาลชั้นตน
ดํา เนิ น กระบวนพิ จ ารณาตั้ ง แต รั บ ฟ อ งคดี นี้ ไ ว จ นกระทั่ ง มี
คําพิพากษาตามยอม ยอมเปนการหลงผิดไป กระบวนพิจารณา
และคําพิพากษาของศาลชั้นตนยอมเปนการไมชอบ หากโจทก
ตอ งผูก พัน ที่จ ะถู ก บั ง คับ ตามคํ าพิ พากษาโดยไมอ าจจะรอ ง
ขอใหเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดหลงผิดระเบียบนั้นเสียได
ยอ มเห็ น ไดว าโจทกไ ดรั บความเสี ย หายและไมไ ดรั บความ
ยุติธรรม โจทกจึงชอบที่จะยื่นคํารองตอศาลชั้นตนใหเพิกถอน
การพิจารณาที่ศาลชั้นตน ดําเนิน ไปโดยผิดระเบียบนั้นเสียได
และกรณีเชน นี้ เมื่อความปรากฏตอ ศาลและศาลเห็น สมควร
ศาลยอมมีอํานาจสั่งใหเพิกถอนการพิจารณาที่ผิดระเบียบนั้น
9

เสียทั้งหมดหรือบางสวนหรือสั่งแกไขหรือมีคําสั่งในเรื่องนั้น
อยางใดอยางหนึ่งตามที่ศาลเห็นสมควร ตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจ ารณาความแพง มาตรา ๒๗ วรรคหนึ่ง ได ศาลชั้น ตน
ชอบที่จ ะตอ งทําการไตสวนใหไดความจริง เสีย กอน หากได
ความจริงตามคํารองของโจทก ก็ชอบที่จะมีคําสั่งใหเพิกถอน
กระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบนั้นเสีย
คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๖๘/๒๕๕๔ ฎ. ๑๕๑ กรณีที่โจทก
ยื่นฎีกา โจทกตองมาฟง คําสั่ง ศาลชั้น ตน ภายใน ๗ วัน ตามที่
ทนายโจทกลงชื่อรับทราบขอความที่ศาลชั้นตนสั่งไว เมื่อครบ
กําหนด ๗ วันนั้นแลว แมโจทกไมมารับทราบคําสั่งเองก็ยอม
ถือไดวาโจทกทราบคําสั่งของศาลที่ใหชําระคาขึ้นศาลเพิ่มนั้น
แลว ซึ่งโจทกก็ไมไดอุทธรณโ ตแยง คําสั่ง ศาลชั้นตนที่ใหเสีย
คาขึ้นศาลเพิ่ม นี้ และไมไดชําระคาขึ้นศาลเพิ่ม ภายในกําหนด
เวลาที่ศาลชั้น ตน มีคําสั่งไวดัง กลาว การที่ศาลชั้น ตน มีคําสั่ง
ไม รั บ ฎี ก าของโจทก จึ ง ชอบแล ว ดั ง นี้ ถึ ง แม ศ าลชั้ น ต น จะ
ดําเนินกระบวนพิจารณาผิดระเบียบในการที่ไมแจงคําสั่งไมรับ
ฎีก าของโจทกใหโ จทกทราบก็ตาม แตเ มื่อ กรณีที่ศาลชั้น ตน
ไม รั บ ฎี ก าของโจทก เ ป น ไปโดยชอบเช น นี้ การที่ จ ะแก ไ ข
กระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบของศาลชั้นตนดังกลาวโดยให
10

แจง คําสั่ง ใหโ จทกทราบเพื่อ อาจใชสิทธิอุทธรณคําสั่ง ไมรับ


ฎีกาไดก็ไมเปนประโยชนแตอยางใด จึงไมสมควรแกไข
ข อ สั ง เกต คดี นี้ ขั้ น ตอนในการสั่ ง ฎี ก าของศาลชั้ น ต น มี
๒ ขั้ น ตอน เมื่ อ ศาลชั้ น ต น ตรวจฎี ก าแลว ศาลชั้ น ต น สั่ ง ๑.
ใหโ จทกชําระคาขึ้น ศาลเพิ่ม ภายใน ๑๕ วัน ตอ มาเมื่อ โจทก
ไมชําระคาขึ้น ศาลตามคําสั่ง ศาลชั้น ตน จึง สั่ง ๒. ไมรับฎีก า
การที่ศาลชั้นตนสั่งใหโจทกมาฟงคําสั่งภายใน ๗ วัน ตั้งแตวัน
ยื่นฎีกา คือใหมาฟง คําสั่งศาลชั้น ตนที่สั่ง ใหโจทกชําระคาขึ้น
ศาลเพิ่มภายใน ๑๕ วันตาม ๑. คําสั่งนี้แมศาลชั้นตนไมแจงให
โจทกทราบ ก็ถือวาโจทกทราบแลว แตเมื่อครบกําหนด ๑๕ วัน
แลวโจทกไมชําระคาขึ้นศาลเพิ่ม การที่ศาลชั้นตนสั่ง ๒. ไมรับ
ฎีกาของโจทก (ขั้นตอนนี้ไมมีการสั่งใหโจทกมาฟงคําสั่ง ) เมื่อ
ศาลชั้น ตนสั่งไมรับฎีกา ศาลชั้นตนตองสั่งใหหมายแจงคําสั่ง
ใหโจทกทราบ เพื่อโจทกจะไดใชสิทธิอุทธรณคําสั่งไมรับฎีกา
ตามมาตรา ๒๓๔ ประกอบมาตรา ๒๔๗ ตอไป แตคดีนี้ขึ้นมา
สูก ารพิจารณาของศาลฎีก าตามฎีกาของจําเลย และศาลฎีก า
เห็นแลววาที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งไมรับฎีกาของโจทกเปนไปโดย
ชอบแล ว หากศาลฎีก ายอ นสํา นวนใหศ าลชั้ น ต น แจ ง คํา สั่ ง
ไมรับฎีก าใหโ จทกทราบและโจทกอุทธรณคําสั่ง ไมรับฎีก า
ศาลฎีกาก็เห็นดวยกับศาลชั้นตน การยอนสํานวนใหศาลชั้นตน
11

มีคําสั่งก็ไมเกิดประโยชนดังที่ศาลฎีกาวินิจฉัยไว แตคดีนี้ก็เปน
บรรทัด ฐานใหศาลชั้ น ต น ปฏิบัติ วา กรณี ที่ศาลชั้ น ต น สั่ ง ให
ผูฎีกาชําระคาขึ้นศาลเพิ่ม หากผูฎีก าไมชําระ แลว ศาลชั้น ตน
สั่งไมรับฎีกา ศาลชั้นตนตองแจงคําสั่งไมรับฎีกาใหผูฎีกาทราบ
เพื่อใหผูฎีก าใชสิทธิยื่น คํารอ งอุทธรณ คําสั่งไมรับฎีก าตอ ไป
อนึ่ง ฎีก านี้เ ปน ทางปฏิบัติที่ตอ งทราบขั้นตอนในการทํางาน
จึงจะเขาใจขอกฎหมายไดอยางชัดเจน

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๘
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๙๙๘-๑๙๙๙/๒๕๕๔ ฎ.๑๐๒๐ ศาล
ชั้นตนมีคําสั่งวาจําเลยขาดนัดยื่น คําใหก ารในคดีสํานวนแรก
แลว ตอมาจําเลยนําคดีม าฟอ งโจทกเ ปนคดีสํานวนหลัง เมื่อ
คูค วามในคดีทั้ ง สองสํ า นวนเปน รายเดี ย วกั น หากรวมการ
พิ จ ารณาคดี เ ข า ด ว ยกั น แล ว จะเป น การสะดวก โดยศาล
เห็น สมควรเองก็ดี หรือ คูค วามยื่น คํา รอ งขอใหพิ จ ารณาคดี
รวมกันก็ดี เมื่อศาลไดฟงคูความทุกฝายแลว ถาเปนที่พอใจศาล
วาคดีทั้งสองสํานวนเกี่ยวเนื่องกัน ศาลก็มีอํานาจสั่งใหพิจารณา
คดีรวมกันได ทั้งคดีทั้งสองสํานวนนี้แมขออางที่อาศัยเปนหลัก
แหงขอหาแตละสํานวนจะตางกัน แตประเด็นแหงคดีเปนเรื่อง
เดีย วกัน วา ที่ดิน พิพาทเปน ของโจทกหรือจําเลย ขอ เท็จ จริง
12

จึงเกี่ยวพันกันมา ศาลสามารถรับ ฟงพยานหลักฐานของจําเลย


ทั้งหมดที่นําสืบไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘ วรรคหนึ่ง

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๔๐
คําพิพากษาฎีก าที่ ๔๗๔๑/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๑๕๑
ตามคําฟ อ งโจทก เ รี ย กร อ งใหจํา เลยรับ ผิดชํ าระเงิน ตามเช็ ค
พรอมดอกเบี้ย ซึ่งจําเลยใหการตอสูวา โจทกแกไขวันที่สั่ง จาย
เช็คจากป ๒๕๔๑ เปน ๒๕๔๔ เปนการแกไขสาระสําคัญอัน
เปน การปลอมเช็ค และเมื่อ เช็คดังกลาวสั่งจายป ๒๕๔๑ แต
โจทกเรียกเก็บเงินป ๒๕๔๔ และ ๒๕๔๕ คดีจึงขาดอายุความ
ดังนั้น ปญหาที่วา จะมีการแกไขวันที่สั่งจายเช็คหรือไม จึงเปน
ขอสาระสําคัญและเปนประเด็นในคดี จําเลยเองก็ประสงคใหมี
การสงเช็คไปตรวจพิสูจน โดยระบุไวในบัญชีระบุพยาน ทั้งมี
คดีที่โจทกฟองจําเลยใหรับผิดชําระเงินตามเช็คอีกหลายคดีซึ่ง
จําเลยก็ใหการตอสูในทํานองเดียวกันวามีการแกไขวันที่สั่งจาย
ในเช็ค การที่จําเลยจะใชผลการตรวจพิสูจนโดยผูเชี่ยวชาญตาม
หลัก วิชาวามีก ารแกไขวัน ที่สั่งจายเช็คหรือ ไม เพื่อ ประกอบ
การซักถามพยานฝายตนหรือถามคานพยานโจทก ยอมทําให
การวินิจฉัยประเด็นในคดีไดกระจางและเปนธรรมยิ่งขึ้น กรณี
มีเหตุสมควรสงเช็คดังกลาวไปตรวจพิสูจน แมการสงตนฉบับ
13

เช็คไปตรวจพิสูจนอาจเปนเหตุใหมีการเลื่อนคดี แตเมื่อจําเลย
ไดยื่นคําแถลงขอใหมีการตรวจพิสูจนแลวกอนวันนัดสืบพยาน
โจทกนานประมาณ ๑๘ วัน และไมมีเหตุประการอื่นที่อาจสอ
วาจํ าเลยประสงคใ หก ารพิ จ ารณาคดี ลา ชา ลํ าพัง พฤติก ารณ
ดัง กลาวยัง ไมพอถือวาจําเลยมีเจตนาประวิง คดีหรือ ไมติดใจ
ที่จะสงเช็คไปตรวจพิสูจนดังที่โจทกอาง
จําเลยขอสง ตนฉบับเช็คไปตรวจพิสูจนเพื่อ นําผลการ
ตรวจพิสูจนมาประกอบในการซักถามและถามคานพยานของ
โจทก และจําเลยเมื่อ ไมไดรับอนุญาต จําเลยยอมไมมีผลการ
ตรวจพิ สู จ น ม าประกอบในการซั ก ถามและถามค า นพยาน
จําเลยจึง แถลงไมสืบพยาน การแถลงไมสืบพยานของจําเลย
ดังกลาว จึงเปนผลที่สืบเนื่องจากที่ไมมีการตรวจพิสูจนหาใช
เปนเหตุที่ทําใหไมสมควรสงเช็คไปตรวจพิสูจนแตอยางใด

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๔๒
คํา พิ พากษาฎี ก าที่ ๓๕๒/๒๕๕๔ ฎ. ๕๙๑ แมโ จทก
ไมไดเรียกผูใดเขามาแทนจําเลยที่ ๒ ผูเอาประกันภัยซึ่งมรณะ
ก็ไมทําใหสิทธิของโจทกที่จะเรียกรองเอาแกจําเลยที่ ๔ ผูรับ
ประกันภัยเสียไป จําเลยที่ ๔ ตองรับผิดตอโจทกตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๘๘๗ วรรคสอง
14

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๔๓
คํ า สั่ ง คํ า ร อ งศาลฎี ก าที่ ท.๔๖๙/๒๕๕๓ ฎ.๒๕๕๑
จํ า เลยถึ ง แก ค วามตายภายในกํ า หนดระยะเวลายื่ น ฎี ก า แม
สัญญาจางวาความระหวางจําเลยกับทนายความจะเปนอันระงับ
สิ้นไปเพราะจําเลยซึ่งเปนตัวการตาย ทนายความที่จําเลยแตงตั้ง
ไวและอยูในฐานะตัวแทนของจําเลยยังมีหนาที่ตองจัดการอัน
สมควรทุ ก อย า งเพื่ อ จะปกป ก รั ก ษาประโยชน อั น ตั ว การ
ไดม อบหมายแกตนไปจนกว า ทายาทหรือ ผูแทนของตัว การ
จะเขาปกปกรักษาประโยชนนั้น ๆ ได ตามประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย มาตรา ๘๒๘ การที่ทนายจําเลยยื่นฎีกาแทน
จํา เลยภายหลั ง เมื่ อ จํ าเลยตายแล ว นับ ว า เป น การจั ด การอั น
สมควรเพื่อ จะปกปก รัก ษาประโยชนของจําเลย ยอมมีผลให
เปน ฎีกาของผูรองซึ่งเปนทายาทของจําเลยโดยผูรองเพีย งแต
ยื่น คํารองขอเขาเปน คูความแทนจําเลยผูมรณะตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๔๓ โดยไมตองขอให
ถือเอาฎีกาดังกลาวเปนฎีกาของผูรองอีก
15

คูความ
ขอ ๓ คําถาม โจทกฟอ งวาจําเลยที่ ๑ ขับรถยนตโ ดย
ประมาทชนกับ รถยนต ของโจทก จํ าเลยที่ ๑ กระทํา ไปใน
ทางการที่จางของจําเลยที่ ๒ นายจางซึ่งไดทําประกันภัยความ
รับผิดของจําเลยที่ ๒ ไวกับจําเลยที่ ๓ ซึ่งเปนบริษัทประกันภัย
ขอใหจําเลยทั้ง สามรวมกันชําระเงิน แกโ จทก ๑๐๐,๐๐๐ บาท
พร อ มดอกเบี้ย ระหว า งพิ จ ารณาของศาลชั้ น ต น จํ า เลยที่ ๑
มรณะ โจทกยื่นคํารองขอใหศาลหมายเรียกนายเอกทายาทของ
จําเลยที่ ๑ เขาเปนคูความแทนที่จําเลยที่ ๑ ผูมรณะ ศาลไตสวน
แลวอนุญาต ตอมาจําเลยที่ ๒ มรณะ แตโจทกไมไดยื่นคํารอง
ขอใหศาลหมายเรียกบุคคลใดเขาเปนคูความแทนที่จําเลยที่ ๒
ผูม รณะจนพนกําหนด ๑ ป ศาลสั่ง จําหนายคดีโจทกสําหรับ
จําเลยที่ ๒ ออกจากสารบบความ เมื่อคดีเสร็จการพิจารณา ศาล
พิพากษาใหนายเอกและจําเลยที่ ๓ ชําระเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
พรอมดอกเบี้ยตามฟอง กับใหนายเอกและจําเลยที่ ๓ ชําระคา
ฤชาธรรมเนียมแทนโจทกโ ดยกําหนดคาทนายความ ๓,๐๐๐
บาท ทั้งนี้ นายเอกจะรับผิดตอโจทกไมเกินกวาทรัพยมรดกของ
จําเลยที่ ๑ ที่ตกทอดแกนายเอก
ใหวินิจฉัยวา คําพิพากษาของศาลชั้นตนชอบหรือไม
16

ขอ ๓ คําตอบ โจทกฟองจําเลยที่ ๑ ใหรับผิดตอ โจทก


มิไดฟองใหนายเอกรับผิดในฐานะทายาทผูรับมรดกของจําเลย
ที่ ๑ การที่น ายเอกเข ามาในคดี ก็เปน การเข ามาในฐานะเป น
คูความแทนจําเลยที่ ๑ ผูมรณะระหวางการพิจารณาคดีของศาล
ชั้นตนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๔๒
เพื่อดําเนินกระบวนพิจารณาแทนจําเลยที่ ๑ ตอไปเทานั้น การที่
ศาลชั้นตนพิพากษาใหนายเอกรับผิดตอโจทกไมเกินกวาทรัพย
มรดกของจําเลยที่ ๑ ที่ตกทอดแกน ายเอก จึงเปนการไมชอบ
ตองพิพากษาใหจําเลยที่ ๑ รับผิดตอ โจทก (คําพิพากษาฎีกาที่
๒๘๑๕/๒๕๕๔)
โจทก ไ ม ไ ด เ รี ย กผู ใ ดเข า มาแทนจํ า เลยที่ ๒ ผู เ อา
ประกัน ภั ย ซึ่ง มรณะภายใน ๑ ป เปน อํานาจศาลที่จ ะมีคําสั่ ง
จํ า หน า ยคดี เ รื่ อ งนั้ น เสี ย จากสารบบความตามมาตรา ๔๒
วรรคสอง แมศาลสั่งจําหนายคดีโจทกสําหรับจําเลยที่ ๒ ออก
จากสารบบความ ศาลไมอาจพิพากษาใหจําเลยที่ ๒ ชําระหนี้
ใหแกโจทก เพราะจําเลยที่ ๒ ไมเปนคูความในคดีอีกตอไป แต
ก็ไมทําใหอํานาจฟองของโจทกที่จะเรียกรองเอาแกจําเลยที่ ๓
ผูรับประกันภัยเสียไป ที่ศาลพิพากษาใหจําเลยที่ ๓ ตองรับผิด
ตอโจทกจึงชอบแลว (คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๕๒/๒๕๕๔)
17

คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๘๑๕/๒๕๕๔ ฎ.๑๑๔๘ โจทกมิได


ฟองให ส. และ ม. รับผิดในฐานะทายาทผูรับมรดกของจําเลย
ส. และ ม. เขามาในคดีในฐานะเปนคูความแทนจําเลยซึ่งถึงแก
ความตายระหวางการพิจ ารณาคดีของศาลชั้น ตน เพื่อ ดํา เนิน
กระบวนพิ จ ารณาแทนจํ า เลยต อ ไปเท า นั้ น ที่ ศ าลชั้ น ต น
พิพากษาให ส. และ ม. ทายาทของจําเลยรับผิดตอโจทกไมเกิน
กวาทรัพยมรดกที่ตกทอดแก ส. และ ม. จึงไมถูกตอง ศาลฎีกา
พิพากษาแกใหจําเลยเปนผูรับผิดดังกลาว
คํา พิ พากษาฎี ก าที่ ๓๕๒/๒๕๕๔ ฎ. ๕๙๑ แมโ จทก
ไมไดเรียกผูใดเขามาแทนจําเลยที่ ๒ ผูเอาประกันภัยซึ่งมรณะ
ก็ไมทําใหสิทธิของโจทกที่จะเรียกรองเอาแกจําเลยที่ ๔ ผูรับ
ประกันภัยเสียไป จําเลยที่ ๔ ตองรับผิดตอโจทกตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๘๘๗ วรรคสอง

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๕๕
คํา พิ พ ากษาฎีก าที่ ๖๑๒๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๑๐
ขณะเกิดเหตุ ช. นอ งชายโจทกอ ายุประมาณ ๑๖ ป และบิดา
โจทกถึงแกความตาย แตยังมี อ. มารดาที่ชอบดวยกฎหมายอยู
ดังนั้น อํานาจปกครองจึงตกอยูแก อ. มารดาของโจทก โจทกจึง
มิใชผูใชอํานาจปกครองดูแล ช. ตามกฎหมายและการที่โจทก
18

ฟองเรียกคาอุปการะเลี้ยงดูแทน ช. โดยมิไดรับมอบอํานาจจาก
อ. โจทก จึ ง ไม มี อํา นาจฟ อ งคดี แมจํ า เลยทั้ ง สองจะมิ ไ ด ย ก
ขอโตแยงในปญหาดังกลาวขึ้นตอสู แตปญหาเรื่องอํานาจฟอง
เปนขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบมาตรา ๒๔๗ ศาลมี
อํานาจยกขึ้นวินิจฉัยได
คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๘๑๕/๒๕๕๔ ฎ.๑๑๔๘ โจทกมิได
ฟองให ส. และ ม. รับผิดในฐานะทายาทผูรับมรดกของจําเลย
ส. และ ม. เขามาในคดีในฐานะเปนคูความแทนจําเลยซึ่งถึงแก
ความตายระหวางการพิจ ารณาคดีของศาลชั้น ตน เพื่อ ดําเนิน
กระบวนพิ จ ารณาแทนจํ า เลยต อ ไปเท า นั้ น ที่ ศ าลชั้ น ต น
พิพากษาให ส. และ ม. ทายาทของจําเลยรับผิดตอโจทกไมเกิน
กวาทรัพยมรดกที่ตกทอดแก ส. และ ม. จึงไมถูกตอง ศาลฎีกา
พิพากษาแกใหจําเลยเปนผูรับผิดดังกลาว
คํา พิพ ากษาฎีก าที่ ๒๙๙๗/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๔๑
คําฟอ งของโจทกที่ขอใหศาลมีคําพิพากษาเพิก ถอนการขาย
ทอดตลาดที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๓๔๒๒ พรอมทั้งสิ่งปลูกสราง
และใหจําเลยที่ ๑ ที่ ๓ ถอนการยึดที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๙๓๒๓
พรอ มสิ่ง ปลู ก สรา งโดย โจทกอา งวา เจา พนัก งานบัง คับคดี
ไมไดแจงประกาศขายทอดตลาดใหทราบ และขายทอดตลาด
19

ทรัพยไปในราคาต่ํากวาราคาปกติ ทําใหโ จทกมี หนี้คางชําระ


ตอ งถูก ยึดทรัพยอื่น อีก อัน เปน คําฟอ งที่อางวาการบัง คับคดี
ฝาฝนตอบทบัญญัติแหง ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๖ วรรคสอง จึงตอง
ยื่นคํารองตอศาลที่มีอํานาจในการบังคับคดี โจทกหาอาจนําคดี
มาฟองใหมไดไม และในกรณีที่โ จทกขอใหบัง คับจําเลยที่ ๑
ชําระคาเสียหายเปนคาธรรมเนีย มเจาพนัก งานบังคับคดีแทน
โจทก และใหจําเลยทั้งสามรวมกันชําระคาเสียหายแกโจทกนั้น
เมื่ อ ศาลยั ง ไม มี คํ า พิ พ ากษาหรื อ คํ า สั่ ง ให เ พิ ก ถอนการขาย
ทอดตลาดหรือเพิกถอนการยึดทรัพย ก็จะฟงวาการกระทําของ
จําเลยทั้งสามเปนการโตแยงสิทธิโจทกหาไดไม โจทกจึงไมมี
อํานาจฟองจําเลยทั้งสาม
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๑๒๒/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๑๓๔
โจทกบรรยายฟอ งว า โจทกเ ปน เจาของผูมีสิทธิครอบครอง
ที่ ดิ น พิ พ าทซึ่ ง มี เ อกสารสิ ท ธิ เ ป น หนั ง สื อ รั บ รองการทํ า
ประโยชน (น.ส.๓ ก.) ตอมาปรากฏวาไดมีก ารเปลี่ย นแปลง
ทางทะเบีย นในเอกสารสิ ทธิดั ง กล าวไปเป น ของจํา เลยและ
จํ า เลยได ยื่ น เรื่ อ งขอออกโฉนดในที่ ดิ น ดั ง กล า วพร อ มนํ า
เจาพนักงานที่ดินทําการรังวัดที่ดิน ตามคําฟองดัง กลาวโจทก
แสดงวาโจทกอางความเปนเจาของผูมีสิทธิครอบครองในที่ดิน
พิพาทซึ่งเปน ที่ดินมือเปลา แตตอมาปรากฏวามีชื่อจําเลยเปน
20

ผูครอบครองในทะเบี ย นที่ดิน แลว จํ าเลยยัง ยื่น เรื่อ งขอออก


โฉนดและนํา เจา พนั ก งานที่ ดิ น ทํา การรั ง วัด เพื่อ ออกโฉนด
ใหแกจําเลย การกระทําของจําเลยจึงเปนการอางวาที่ดินพิพาท
เปนของตน และกําลังดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ใน
ที่ดิน เชน นี้ยอมถือไดวาเปนการโตแยง สิทธิครอบครองที่ดิ น
ของโจทกโดยตรงตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๕ โจทกจึง มีอํานาจ
ฟอง

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๕๗ (๑)
คําพิพากษาฎีก าที่ ๓๖๓๒/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๗๓
พ.ร.บ.ลักษณะปกครองทองที่ ฯ มาตรา ๕ ขอ ๑๔ บัญญัติให
ผูจัดการปกครองศาลเจามีอํานาจและหนาที่จัดการทั่ว ไปใน
กิจการเพื่อ ประโยชนแกศาลเจาโดยฐานะและกาลอันสมควร
และมีอํานาจหนาที่เขาเปนโจทกหรือจําเลยในอรรถคดีทั้งแพง
และอาญาอันเกี่ยวดวยเรื่องศาลเจาทุกประการ ผูรองสอดจึงมี
อํ า นาจดํ า เนิ น คดี ใ นฐานะเป น คู ค วามตามกฎหมายได ต าม
บทบั ง คั บ แห ง กฎเสนาบดี ดั ง กล า ว แต อ ย า งไรก็ ต ามการที่
ผูรองสอดยื่นคํารองสอดวา โจทกทั้งสองและผูถือกรรมสิทธิ์ -
รวมยกที่ ดิ น พิ พ าทให แ ก ผู ร อ งสอดแล ว ผู ร อ งสอดเข า
ครอบครองทําประโยชนในที่ดินพิพาทโดยสงบ เปดเผย ดว ย
21

เจตนาเป น เจ า ของเกิ น กว า ๑๐ ป ที่ ดิ น พิ พ าทจึ ง ตกเป น


กรรมสิ ท ธิ์ ข องผู ร อ งสอด เป น การกล า วอ า งข อ พิ พ าทด ว ย
กรรมสิทธิ์ คําฟองของโจทกทั้งสองที่ขอใหบังคับจําเลยและ
บริวารรื้อถอนสิ่ง ปลูกสรางและขนยายทรัพยสินออกไปจาก
ที่ดินพิพาท ยอมมีผลกระทบกระเทือนตอสิทธิของผูรองสอด
คํารอ งสอดของผูรองสอดดังกลาวจึง เปนคํารอ งสอดเขาเปน
คูความเพื่อใหไดรับความรับรอง คุมครองสิทธิ หรือบังคับตาม
สิทธิของตนที่มีอยูตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๑) แมคํารองสอด
จะกลาววาขอเขาเปนคูความรวมก็ตาม และผูรอ งสอดมีสิทธิ
เสมื อ นหนึ่ ง ว า ตนถู ก ฟ อ งเป น คดี เ รื่ อ งใหม ดั ง บั ญ ญั ติ ไ ว ใ น
มาตรา ๕๘ วรรคหนึ่ง คํารองสอดของผูรองถือเปนคําใหการ
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง ซึ่งไดแสดงโดยชัดแจงวา
ผูรองสอดปฏิเสธขออางของโจทกทั้งสิ้น รวมทั้งเหตุแหงการ
นั้นแลว คํารองสอดจึงชอบดวยกฎหมาย

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๕๗ (๓)
คําพิพากษาฎีกาที่ ๕๐๑๖/๒๕๕๕ ฎ. ๘๖๔ ฎีกาโจทก
ในขอกฎหมายวา ต. เปนคนตางดาว มีเชื้อชาติและสัญชาติจีน
ซึ่งการไดม าซึ่งที่ดินจะตองไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงมหาดไทย ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๘๖ แต
22

ต. ถึงแกความตายเมื่อป ๒๕๓๔ โดยมิไดดําเนินการใหถูกตอง


จํ า เลยครอบครองที่ ดิ น ต อ มาจาก ต. หากถื อ ว า เป น การ
ครอบครองเพื่อตน ก็จะตองเริ่มนับระยะเวลาครอบครองใหม
นับถึงวันที่โจทกฟองคดีนี้จําเลยยังครอบครองที่ดินไมถึง ๑๐ ป
แม โ จทก ทั้ง หา เพิ่ง ยกขอ เท็ จ จริ ง ดั ง กลา วขึ้ น อา งในชั้ น ฎี ก า
ก็ ต าม แต เ ป น ป ญ หาเกี่ ย วกั บ อํ า นาจฟ อ งของ ต. จึ ง เป น
ขอ กฎหมายอัน เกี่ย วด ว ยความสงบเรี ย บรอ ยของประชาชน
โจทกยกขึ้นอางในชั้นฎีกาได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพง มาตรา ๒๔๙ วรรคสอง
ต. ซึ่งเปนคนตางดาวไมปรากฏวามีการดําเนินการตาม
เงื่อนไขของกฎหมายซึ่งจะทําให ต. สามารถถือกรรมสิทธิ์ใน
ที่ดินได แมการครอบครองที่ดินของ ต. จะไมเสียเปลาไป แตก็
จะมาขอให ศ าลแสดงกรรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ ดิ น ที่ ต. ครอบครอง
ปรปกษไมได หากศาลบังคับใหจะเปนทางให ต. ไดที่ดินอัน
เปนการฝาฝนตอกฎหมาย คําขอของผูรองสอดซึ่งเปนผูจัดการ
มรดกของ ต.ที่ขอใหศาลมีคําสั่งใหผูรองสอดในฐานะผูจัดการ
มรดกของ ต. ไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยการครอบครองปรปกษ
จึงไมอาจบังคับใหได ผูรองสอดจึงไมมีอํานาจยื่นคํารองสอด
รวมทั้งมีคําขออื่นที่อาศัยสิทธิของการเปน เจาของกรรมสิทธิ์
ดวย
23

คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๓๖๔๒/๒๕๕๕ ฎ. ๘๒๓ จํ า เลย


ทั้งสองยื่นคํารองขอแกไขคําใหการวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๓
กอนศาลชั้นตนนัดชี้สองสถานวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๓ ถือวา
จําเลยทั้ง สองไดยื่ น คํ ารอ งขอแก ไขคําใหก ารก อ นวัน ชี้ สอง
สถาน ชอบดวยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา
๑๘๐ แลว สวนคํารองขอใหหมายเรีย กบุคคลภายนอกเขามา
เปน จําเลยรว ม จําเลยทั้งสองยื่นในวัน ที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๓
พรอมกับคํารองขอแกไขคําใหการถือไดวาเปนการยื่นพรอมกับ
คําใหการชอบดวยมาตรา ๕๗ (๓)
คําพิพากษาฎีก าที่ ๒๙๙๔/๒๕๕๔ ฎ. ๒๓๒ โจทกทํา
สัญญากอ สรางอาคารยกกรรมสิทธิ์ใหกระทรวงการคลัง กับ
โจทกรวม โดยใหโจทกมีสิทธิเชาที่ราชพัสดุเปนเวลา ๓๐ ป แต
โจทกเ ขาครอบครองทําประโยชนในที่ราชพัสดุพิพาทไมได
เพราะมี บา นจํา เลยปลู ก อยู ทํ าให โ จทกร ว มผูให เ ช าสง มอบ
ที่ ร าชพั ส ดุ พิ พ าทให แ ก โ จทก ไ ม ไ ด เป น เรื่ อ งที่ โ จทก ถู ก
รอนสิทธิ โจทกไมมีอํานาจฟองขับไลจําเลยออกจากที่ราชพัสดุ
พิพาทโดยลําพัง โจทกในฐานะผูเชาซึ่งเปนผูถูกจําเลยรอนสิทธิ
ชอบที่จ ะขอใหศ าลเรีย กโจทกร ว มในฐานะผู ให เ ชา เขา เป น
โจทกรวมกับโจทกในคดีที่โจทกฟองขับไลจําเลยเพื่อศาลจะได
วินิจฉัยชี้ขาดขอพิพาทระหวางผูเปนคูกรณีทั้งหลายรวมไปเปน
24

คดี เ ดี ย วกั น ตามประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย มาตรา


๔๗๗ ประกอบมาตรา ๕๔๙ แตจําเลยกลับเปนฝายยื่นคํารอ ง
ขอให เ รีย กโจทกร ว มเขา เปน จํ าเลยตามฟ อ งแยง ของจํ าเลย
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจ ารณาความแพง มาตรา ๕๗ (๓)
เมื่อ โจทกรว มอยูในฐานะจําเลยรว มตามฟอ งแยง มิใชอ ยูใน
ฐานะเปนโจทกรวมกับโจทก จึงเขาเปนคูความในฐานะถูกฟอง
ตามมาตรา ๕๘ วรรคหนึ่ง โจทกรวมยอมไมอาจมีคําขอบังคับ
ให ขั บ ไล จํ า เลยออกจากที่ ร าชพั ส ดุ พิ พ าทได ดั ง เช น คํ า ฟ อ ง
และคงเปนเพียงคําใหการแกฟองแยงและขอใหยกฟองแยงของ
จําเลย โจทก รว มจึง ไม มีสิท ธิข อให ขับ ไล จําเลยและบริ ว าร
พรอมรื้อถอนสิ่งปลูกสรางออกจากที่ราชพัสดุพิพาท
หมายเหตุ (โดยทานอาจารยสมชัย ฑีฆาอุตมากร) การรองสอด
ดวยถูกหมายเรียกใหเขามาในคดี ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพง มาตรา ๕๗ (๓) (ข) บัญญัติใหกระทําไดโดยเมื่อศาล
นั้นเห็นสมควร หรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งมีคําขอในกรณี
ที่มีกฎหมายบังคับใหบุคคลภายนอกเขามาในคดีหรือศาลเห็น
จําเปนที่จะเรียกบุคคลภายนอกเขามาในคดีเพื่อประโยชนแหง
ความยุติธรรม และประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา
๔๗๗ ประกอบมาตรา ๕๔๙ บัญญัติใหผูเชา (ผูซื้อ) ชอบที่จ ะ
25

ขอใหศ าลเรี ย กผูใ หเ ชา (ผูข าย) เขาเปน จํา เลยร ว ม หรือ เป น
โจทกรวมกับผูเชา (ผูซื้อ) ในคดีนี้ไดเพื่อศาลจะไดวินิจฉัยชี้ขาด
ขอพิพาทระหวางผูเปนคูกรณีทั้งหลายรวมไปเปนคดีเดียวกัน
โจทกผูเ ชาไมอ าจเขาใช ประโยชนในทรัพ ยสิน ที่เ ช า
เพราะมี จํ าเลยซึ่ ง เป น บุ ค คลภายนอกรบกวนขัด สิ ท ธิ อ ยู ใ น
ทรัพยสินที่เชาอยูกอนตน การกระทําของจําเลยเชนวานั้น ยอม
เปนการโตแยงสิทธิของโจทกรวมซึ่งเปนผูใหเชา มิไ ดโตแยง
สิทธิของโจทกซึ่งเปนผูเชา เพราะโจทกยังมิไดมีสิทธิอยางใด
ในตัวทรัพยสินที่เชาเลย อยางไรก็ตาม ประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๔๗๗ ประกอบมาตรา ๕๔๙ จึง บัญญั ติ
ใหโ จทกซึ่ง เปนผูเชาชอบที่จ ะขอใหศาลเรียกผูใหเ ชาเขาเปน
จําเลยรวมหรือเปนโจทกรวมกับโจทกในคดีที่โจทกฟองขับไล
จําเลย เพื่อศาลจะไดวินิจฉัยชี้ขาดขอพิพาทระหวางผูเปนคูกรณี
ทั้งหลายรวมไปเปนคดีเดียวกัน ทั้งนี้ก็เพื่อใหโจทกซึ่งเปนผูเชา
มีอํานาจฟองบุคคลภายนอกดังกลาวได ถึงแมวาบุคคลภายนอก
จะไดเปนฝายขอใหเรีย กผูใหเ ชาเขามาในคดีแลวก็ตาม การที่
โจทกมิไดขอใหศาลเรียกโจทกรวมเขามาในคดีเชนนี้ จึงมีผล
ใหโจทกไมมีอํานาจฟองจําเลย ทั้งไมมีเหตุผลที่จะใหถือวาศาล
นั้นเห็นสมควร หรือศาลเห็นจําเปนที่จะเรียกจําเลยเขามาในคดี
26

เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมแลวได
คําพิพากษาฎีก าที่ ๓๗๘๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๑๑๕
โจทกเ ปน ผูรับจางกอ สรางโรงงาน ไดวาจางจําเลยรว มเป น
ผูรับจางชวงตามสัญญาจางทําของ มีจําเลยทําสัญญาค้ําประกัน
ตอโจทกวา หากจําเลยรวมผิดสัญญาจําเลยจะจายเงินใหโจทก
แทน ตอมาจําเลยรวมผิดสัญญากอสราง โจทกจึงฟองจําเลยให
รั บ ผิ ด ตามสั ญ ญาค้ํ า ประกั น แต ห นั ง สื อ ค้ํ า ประกั น มิ ไ ด มี
ขอ กําหนดใหตองเสนอขอ พิพาทตอ อนุญาโตตุล าการ การที่
จําเลยขอใหศาลหมายเรียกใหจําเลยรวมเขามาเปนคูความฝาย
ที่ส ามเพื่ อ จํ าเลยอาจใช สิท ธิไ ล เ บี้ ย เอาแก จํา เลยรว มไดต าม
ป.วิ . พ. มาตรา ๕๗ (๓) จํ า เลยร ว มไม อ าจยกความผู ก พั น
ระหวางโจทกกับจําเลยรวมตามสัญญาฉบับอื่นมาใชบังคับแก
โจทก สิ ท ธิ ใ นการฟ อ งคดี ข องโจทก มี อ ยู อ ย า งไรย อ มต อ ง
เปนไปตามขอตกลงในหนังสือค้ํา ประกัน เมื่อหนัง สือสัญญา
ค้ํ า ประกั น มิ ไ ด กํ า หนดให โ จทก ต อ งเสนอข อ พิ พ าทต อ
อนุญาโตตุลาการ โจทกจึงฟองจําเลยตอศาลชั้นตน ไดโดยไม
จําตองเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการกอน
หนั ง สื อ ค้ํ า ประกั น ที่ โ จทก ฟ อ งจํ า เลยกั บ สั ญ ญาจ า ง
ทํ า ของระหว า งโจทก กั บ จํ า เลยร ว มเป น สั ญ ญาคนละฉบั บ
ทั้งหนังสือค้ําประกันมิใชเอกสารประกอบสัญญาหรือแนบทาย
27

สัญญาจางทําของ หนี้ตามฟอ งจึงมีมูล หนี้คนละอยางกับหนี้


ตามสัญ ญาจา งทํ าของ การที่โ จทกอ างในฟอ งว าจํ าเลยรว ม
ปฏิบัติผิดสัญญาจางทําของและใหจําเลยชดใชเงินหลักประกัน
ตามหนั ง สื อ ค้ํ าประกัน แก โ จทก เป น เพีย งการอา งสิ ทธิ ของ
โจทกที่ จ ะเข า รับ ประโยชน ต ามสั ญ ญาค้ํ า ประกัน ไมทํ า ให
สัญญาทั้งสองฉบับเกี่ยวพันมีมูลเหตุเดียวกันแบงแยกกันมิได
คําพิพากษาฎีก าที่ ๒๘๑๔/๒๕๕๕ ฎ.๕๙๒ ผูรองเปน
เพียงบุคคลภายนอกที่อางวาไดรับโอนสิทธิและหนาที่ในหนี้
ตามคําพิพากษาจากโจทกที่มีอ ยูแกจําเลยทั้งสามไมใชคูความ
หรือบุคคลซึ่งเปนฝายชนะคดีตามคําพิพากษา จึงไมอาจรองขอ
ใหบัง คั บคดีไ ดตามประมวลกฎหมายวิ ธีพิจ ารณาความแพ ง
มาตรา ๒๗๑ การเขาสวมสิทธิแทนคูความหรือบุคคลที่เปนฝาย
ชนะคดี ตองมีบทบัญญัติของกฎหมายใหเขาสวมสิทธิแทนได
ดังเชน พระราชกําหนดการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน พ.ศ.
๒๕๔๐ พระราชกําหนดบริษัทบริหารสินทรัพย พ.ศ. ๒๕๔๑
พระราชกํา หนดบรรษัท บริหารสิน ทรัพยไทย พ.ศ. ๒๕๔๔
หรือการซื้อทรัพยจากการขายทอดตลาดที่เจาพนักงานพิทักษ -
ทรัพยดําเนินการตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
เปนตน ผูรองจึงไมอาจเขาสวมสิทธิแทนโจทก เพื่อดําเนินการ
บังคับคดีแกจําเลยทั้งสาม
28

คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๒๓๔/๒๕๕๔ ฎ.๑๓๗๐ สินทรัพย


ที่ ผู ร อ งรั บ โอนมาจากโจทก ซึ่ ง เป น สถาบั น การเงิ น เป น
สินทรัพยที่ศาลไดมีคําพิพากษาบังคับตามสิทธิเรียกรองนั้นแลว
ผูรองจึงเขาสวมสิทธิเปนเจาหนี้ตามคําพิพากษาแทนโจทกได
ตามพระราชกํ า หนดบริ ษั ท บริ ห ารสิ น ทรั พ ย พ.ศ. ๒๕๔๑
มาตรา ๗ แมจ ะไม ปรากฏวา มีก ารบอกกลา วการโอนไปยั ง
จําเลยที่ ๒ ก็มีผลเพียงยังถือไมไดวาผูรองไดบอกกลาวการโอน
สิทธิเรียกรองใหจําเลยที่ ๒ ทราบโดยชอบ แตไมทําใหการโอน
สิทธิเรีย กรอ งซึ่ง สมบูรณแลวเสียไป และไมขัดตอความสงบ
เรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๗๔๙/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๗๒
โจทกในฐานะผูรับประกันภัย ฟอ งจําเลยที่ ๒ ใหรับผิดชําระ
คาเสีย หายตามสัญญารับขน จําเลยที่ ๒ ใหการวา จําเลยที่ ๒
วาจางจําเลยรวมที่ ๒ เปนผูขนสงอีกทอดหนึ่ง จําเลยรวมที่ ๒
ใช ร ถโฟรก ลิฟ ยกเครื่อ งขั ดเรีย บลงจากรถยนต บ รรทุก โดย
เครื่อ งขัดเรีย บหลน กระแทกพื้น ไดรับความเสีย หาย และยื่น
คํารองขอใหศาลชั้น ตน ออกหมายเรียกจําเลยรว มที่ ๒ เขามา
ในคดีตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๓) (ก) เพื่อการใชสิทธิไลเบี้ย
ตอ ไปในภายหลัง หากศาลพิจ ารณาใหตนเปนฝายแพคดี การ
เรียกจําเลยรวมที่ ๒ เขามาในคดี ก็เพื่อใหผูกพันในผลแหงคดี
29

จําเลยที่ ๒ มิไดอยูในฐานะเปนคูความคนละฝายกับจําเลยรวม
ที่ ๒ จําเลยที่ ๒ จึงไมมีสิทธิอุทธรณและฎีกาในปญหาเกี่ยวกับ
ความรับผิดของจําเลยรว มที่ ๒ โดยที่โจทกมิไดอุทธรณและ
ฎี ก า แม จํ า เลยร ว มที่ ๒ จะยื่ น คํ า แก อุ ท ธรณ แ ละคํ า แก ฎี ก า
คดีก็ไมมีประเด็นปญหาเกี่ยวกับความรับผิดของจําเลยรวมที่ ๒
ในชั้นอุทธรณและฎีก า คําสั่ง ของศาลชั้น ตน ที่ใหรับอุทธรณ
ของจําเลยที่ ๒ จึงไมชอบ การที่ศาลอุทธรณพิจารณาพิพากษา
อุทธรณของจําเลยที่ ๒ ในปญหาดังกลาวและที่ศาลชั้นตนสั่ง
รับฎีกาของจําเลยที่ ๒ ก็ไมชอบเชนกัน

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๖๐
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๖๒๗๑/๒๕๕๔ ฎ.๑๓๙๔ การที่
กรรมการผูมีอํานาจรวมกันลงลายมือชื่อและประทับตราบริษัท
โจทกในใบแตงทนายความแตงตั้ง ว. เปนทนายโจทก และ ว.
ลงลายมือชื่อเปนโจทกฟองคดีนี้ ถือเปนกรณีที่โจทกฟองคดีนี้
ดวยตนเองโดยแตงตั้ง ว. เปนทนายความใหวาความและดําเนิน
กระบวนพิจารณาคดีนี้แทนตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๖๐ วรรคหนึ่ง
ไม ใ ช ก รณี ที่ โ จทก ม อบอํ า นาจให ว. เป น ผู แ ทนโจทก ต าม
มาตรา ๖๐ วรรคสอง ซึ่งตองมีหนังสือมอบอํานาจใหฟองคดีนี้
30

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๗๙
คําพิพากษาฎีก าที่ ๑๒๓๕/๒๕๕๕ ฎ.๔๘๔ ประมวล
กฎหมายวิ ธีพิ จ ารณาความแพง มาตรา ๗๙ วรรคหนึ่ ง มิไ ด
บัญญัติวาการปดหมายหรือปดประกาศจะตอ งปฏิบัติอยางไร
หรือตองระบุในรายงานการเดินหมายวาปดไว ณ ที่ใดที่แลเห็น
ได ง า ย ทั้ ง ไม มี ร ะเบี ย บกํ า หนดไว จึ ง อยู ใ นดุ ล พิ นิ จ ของ
เจ า พนั ก งานที่ จ ะป ด และรายงานให เ หมาะสมกั บ สถานที่
ที่จะปดซึ่งตองเปนที่เปดเผยใหเห็นไดงาย

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๘๔ (๓)
คําพิ พากษาฎี ก าที่ ๙๕๕๑/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๗ น.๒๐๖
เมื่อจําเลยที่ ๙ และที่ ๑๐ ขาดนัดยื่นคําใหการ ศาลตองพิจารณา
วาคําฟองของโจทกสําหรับจําเลยที่ ๙ และที่ ๑๐ มีมูลและไมขัด
ตอกฎหมายหรือไม หากเห็นวามีมูลและไมขัดตอกฎหมาย ศาล
ก็ตองพิจารณาใหโจทกเปนฝายชนะคดีไปตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๑๙๘ ทวิ วรรคหนึ่ง และเมื่อโจทกมีคําขอบังคับใหจําเลยที่ ๙
และที่ ๑๐ ชําระหนี้ เ ปน เงิน จํานวนแน น อนและโจทกไดส ง
พยานเอกสารแทนการสืบพยานตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๙๘ ทวิ
วรรคสาม (๑) แลว ศาลยอมพิพากษาใหจําเลยที่ ๙ และที่ ๑๐
รับผิดตอโจทกตามฟองได
31

สวนจําเลยที่ ๑ ถึงที่ ๘ แถลงสละประเด็นขอตอสูตาม


คํ า ให ก ารทั้ ง หมด กรณี ย อ มถื อ ได ว า จํ า เลยที่ ๑ ถึ ง ที่ ๘ ได
ยอมรั บ ว า เป น หนี้ โ จทก จ ริ ง ตามฟ อ ง โจทก ไ ม ต อ งนํ า สื บ
ขอเท็จจริงในประเด็นนี้อีกตอไปตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๔ (๓)
ขอเท็จจริงจึงรับฟงไดตามฟองและศาลยอมพิพากษาใหจําเลย
ดังกลาวชําระหนี้ตามฟองแกโจทกได
คําพิพากษาฎีกาที่ ๕๑๐๙/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๕ น.๑๗๔ ใน
วัน นัดสื บพยานผูรอ ง ผูรอ งและโจทกแ ถลงรว มกัน ว า หาก
บุคคลภายนอกซึ่งเปนสามีจําเลยที่ ๒ ชําระหนี้แทนในวงเงิน
๒๒๕,๐๐๐ บาท ภายในวัน ที่ ๓ มีนาคม ๒๕๔๘ แลว โจทก
ก็จะถอนการยึดและชําระคาธรรมเนียมในสวนที่เกี่ยวของกับ
การยึดทรัพยให แตหากบุคคลภายนอกดัง กลาวไมชําระหนี้
ใหแกโจทกภายในวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๔๘ ผูรองก็ไมติดใจนํา
พยานเขาสืบและขอสละขอตอสูตามคํารองขัดทรัพยกับยินยอม
ใหโจทกบังคับคดีตอไป คําแถลงของผูรองและโจทกดังกลาว
ถือไดวาเปนขอ ตกลงในการสละสิทธิในขอ ตอสูทั้งหมดตาม
คํารองขัดทรัพยและคําใหการของตน และยอมรับขอเท็จจริง
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๔ (๓) สามารถบังคับได แมวาประเด็น
ในชั้นรองขัดทรัพยจ ะมีเพียงวา ทรัพยที่ยึดนั้นเปน ของจําเลย
หรือลูกหนี้ตามคําพิพากษาหรือไมก็ตาม ผูรองและโจทกก็ตอง
32

ผู ก พั น ตามข อ ตกลงที่ แ ถลงรั บ กั น ดั ง กล า ว เมื่ อ ข อ เท็ จ จริ ง


ปรากฏวา สามีของจําเลยที่ ๒ ไมชําระหนี้ใหแกโจทกภายใน
วัน ที่ ๓ มีน าคม ๒๕๔๘ และผูรอ งไมติ ดใจนําพยานเขาสื บ
ทั้ง ขอสละข อ ตอ สูต ามคํ ารอ งขั ดทรั พย ตามที่ผูร อ งแถลงไว
ซึ่งมีผลทําใหขอเท็จจริงเปนยุติตามที่ตกลงกัน ผูรองจะนําสืบ
พยานหลั ก ฐานเพื่ อ พิ สู จ น เ ป น อย า งอื่ น ไม ไ ด เมื่ อ ผู ร อ ง
ไมสืบพยานซึ่งตนมีภาระการพิสูจนตามคํารอ งขั ดทรัพย ศาล
ก็ตองยกคํารองขัดทรัพย การที่ผูรองกลาวอางวาผูรองไดฟอง
จํ า เลยที่ ๒ จนศาลชั้ น ต น มี คํ า พิ พ ากษาว า ที่ ดิ น พิ พ าทเป น
กรรมสิทธิ์ของผูรองแตเพียงผูเดียวและคดีถึงที่สุดแลว คดีนี้จึง
ไมอ าจฟง ขัดกั บคํา พิพากษาซึ่ ง ถึง ที่สุด แลว ไดนั้น ลว นเป น
ข อ เท็ จ จริ ง ที่ น อกเหนื อ ไปจากข อ ตกลงที่ แ ถลงรั บ กั น
ทั้งคําพิพากษาดังกลาวโจทกมิไดเปนคูความดวยผลคําพิพากษา
จึงไมผูกพันโจทกซึ่งเปนบุคคลภายนอก

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๘๔/๑
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๑๐/๒๕๕๕ ฎ.๒๙๕ โจทกมีชื่อ
เปนเจาของกรรมสิทธิ์ในโฉนดที่ดินพิพาท จึงไดรับประโยชน
จากขอสันนิษฐานของกฎหมายวา ที่ดิน พิพาทเปนของโจทก
จํ า เลยให ก ารว า ย. ภริ ย าจํ า เลยนํ า ที่ ดิ น พิ พ าทซึ่ ง ขณะนั้ น
33

มีเ อกสารสิ ทธิ เ ปน หนั ง สือ รั บรองการทํ าประโยชน ไ ปเป น


ประกันในการกูยืมเงินจากโจทกซึ่งจําเลยไมทราบเรื่องมากอน
การที่ ย. นําหนังสือรับรองการทําประโยชนในดินพิพาทไปทํา
สัญญาขายฝากกับโจทกจึงไมชอบและไมมีผลผูกพันกับจําเลย
โจทกจึงไมมีสิทธิเปนเจาของในที่ดินพิพาทและไมมีสิทธิฟอง
ขับไล ภาระการพิสูจนจึงตกแกจําเลย
คําพิ พากษาฎีก าที่ ๒๑๕๖/๒๕๕๕ ฎ.๓๒๗ ปญ หานี้
ปรากฏวาโฉนดที่ดินพิพาทมีชื่อ ร. เปนผูถือกรรมสิทธิ์ ยอมได
ประโยชนจ ากขอสัน นิษฐานตามประมวลกฎหมายแพง และ
พาณิ ชย มาตรา ๑๓๗๓ วา ร. เป น ผู มีสิ ทธิค รอบครองที่ดิ น
พิพาท จําเลยตอสูวาเปนผูมีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาท จึงเปน
การโตแยงขอสันนิษฐานดังกลาว ภาระการพิสูจนในปญหานี้
ยอมตกแกจําเลย
คําพิ พากษาฎีก าที่ ๔๔๖๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๙๓
จําเลยใหก ารปฏิเ สธวา ไมเ คยกูและรับเงิน จากโจทก จําเลย
ไมเคยมอบอํานาจให ว. ไปจดทะเบียนจํานองที่ดินตามฟองไว
แกโจทก ลายมือชื่อผูมอบอํานาจในหนังสือมอบอํานาจไมใช
ลายมือชื่อของจําเลย แตเปนลายมือชื่อปลอม ภาระการพิสูจน
ในปญหานี้จึงตกแกโจทก
34

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๘๗
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๓๐๔/๒๕๕๔ ฎ. ๙๔๒ ศาลชั้นตนมี
คําสั่งใหเจาพนักงานที่ดินทําการรังวัดที่ดินและทําแผนที่วิวาท
ตามคําขอของโจทก แมจะมีคําสั่งภายหลังจากโจทกและจําเลย
นําสืบพยานเสร็จสิ้นแลว แตก็เพื่อใหไดขอเท็จจริงตามที่โจทก
และจําเลยโตแยงกันวาจําเลยกอสรางรั้วรุกล้ําแนวเขตที่ดินดาน
ทิ ศ ตะวั น ออกและทิ ศ ตะวั น ตกของโจทก ห รื อ ไม ซึ่ ง เป น
ประเด็นขอพิพาทในคดี คําสั่งของศาลชั้นตนจึงเปนคําสั่งเพื่อ
ประโยชนแหงความยุติธรรม ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพง มาตรา ๘๖ วรรคทาย และแมคูความจะมิไดระบุเปน
พยานเพิ่มเติม ศาลก็สามารถรับฟงเปนพยานหลักฐานเพิ่มเติม
ไดตามมาตรา ๘๗ (๒)

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๙๐
คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๗๘๓/๒๕๕๔ ฎ. ๑๑๒๙ เอกสารที่
จําเลยทั้ง สองอางเปน หลัก ฐานที่จําเลยที่ ๒ ไดซื้อ สินคาจาก
บริษัท ค. และมีการคิดบัญชีหักกลบลบหนี้กันแลว โจทกไดยื่น
คํารองคัดคานภายใน ๘ วัน นับแตวัน ที่สง เอกสารตอ ศาลวา
จําเลยทั้งสองไมสงสําเนาเอกสารใหแกโจทกกอนวันสืบพยาน
ไมนอยกวาเจ็ดวันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
35

มาตรา ๙๐ วรรคแรก และไมเขาขอยกเวนใหไมตองสงสําเนา


เอกสารให คู ค วามฝ า ยอื่ น การที่ จํ า เลยทั้ ง สองไม ส ง สํ า เนา
เอกสารที่อางเปน พยานใหแกโจทกกอนวัน สืบพยานไมนอ ย
กวาเจ็ดวัน จึงเปน การฝาฝนตอ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพง มาตรา ๙๐ จึงรับฟงเปนพยานหลักฐานไมได

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๙๓
คํา พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๕๐๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๑ น.๑๒๔
ป.รั ษ ฎากร มาตรา ๑๑๘ บั ญ ญั ติ เ พี ย งว า ตราสารใดไม ป ด
แสตมปบริบูรณจะใชตนฉบับ คูฉบับ คูฉีก หรือสําเนาตราสาร
นั้นเปนพยานหลักฐานในคดีแพงไมไดเทานั้น ไมไดบังคับถึง
เวลาที่ปด ดังนั้น แมสําเนาสัญญากูยืมเงินซึ่งเปนฉบับภาพถาย
ที่โ จทกแ นบมาเป น เอกสารทายคํ าฟอ งจะไมปรากฏการป ด
แสตมป แตเ มื่ อ ตน ฉบั บสัญญากูยืม เงิน ที่โ จทกนําสื บในชั้ น
พิจารณาไดปดแสตมปครบถวนบริบูรณมากอนแลวขณะโจทก
อางสงเปนพยานตอศาล จึงยอมใชเปนพยานหลักฐานได ทั้งนี้
โดยโจทกไ มจําตอ งได รับอนุญาตจากศาลใหป ดแสตมปอี ก
เพราะมิ ใ ช เ ป น กรณี ข ออนุ ญ าตป ด แสตมป ภ ายหลั ง อ า งส ง
เอกสารเปนพยานโดยเอกสารนั้นยังไมไดปดแสตมป ที่ศาลลาง
36

ทั้งสองรับฟงสัญญากูยืมเงินเปนพยานหลักฐานจึงไมเปนการ
ฝาฝนตอกฎหมาย
คําพิพากษาฎีกาที่ ๗๙๕๓/๒๕๕๓ ฎ.๒๒๘๒ เอกสาร
ใดจะใชเปนพยานหลักฐานไดหรือไม จะตองพิจารณาในแงวา
มีคุณ คา ตอ การพิสูจ นข อ เท็ จ จริง ตามประเด็ น ในคดี หรื อ ไม
มิใ ชพิ จ ารณาจากวั น เวลาที่ทํ าเอกสาร และแม โ จทกไ มอ า ง
เอกสารดัง กล า วเป น พยาน ท. ผู ทํา เอกสารดั ง กล าวก็ ค งจะ
เบิ ก ความไดค วามตามเอกสารอยูดี การทํา เอกสารดัง กล า ว
ขึ้น มาเป น เพี ย งพยานเอกสารประกอบคํา เบิก ความของ ท.
เทานั้น ดังนั้น แมจะทําเอกสารขึ้นในภายหลัง โจทกก็ยอมอาง
เอกสารนั้นเปนพยานเพื่อพิสูจนขอเท็จจริงที่ตนกลาวอางได

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๙๔
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๕๔๐/๒๕๕๕ ฎ.๔๖๘ โจทก ใ น
ฐานะตัว การฟอ งเรี ย กทรัพยคืน จาก ป. ในฐานะตัว แทนตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๘๑๐ เปนการพิพาท
กันระหวางตัวการและตัว แทน แมโจทกไมมีหลักฐานการตั้ง
ตัว แทนเปน หนัง สื อ ก็ฟอ งรอ งให บัง คับคดีกัน ได ไมขัดต อ
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๗๙๘
37

คํา พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๓๕๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๕ น.๕๖


จําเลยวาจางใหโจทกผลิตกลอ งกระดาษ ตกลงจายคาจางเมื่อ
ผลิตกลองกระดาษเสร็จและสงมอบใหแกผูว าจาง เขาลักษณะ
สัญญาจางทําของซึ่งตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๗ มิไดบัญญัติให
สัญญาจางทําของจะตองกระทําตามแบบหรือตอ งมีหลัก ฐาน
เปน หนัง สือ จึง จะฟอ งร อ งบั ง คับ คดี กัน ได เพีย งแต ผูรับ จา ง
ตกลงรับจะทําการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสําเร็จใหแกผูวาจาง และ
ผูวาจางตกลงจะใหสินจางเพื่อผลสําเร็จแหงการที่ทํานั้น ก็เปน
การเพีย งพอที่จะฟองรองบังคับคดีกันได ดังนั้น แมใบสั่งซื้อ
สินคาจะมีเพียงลายมือชื่อ ป. กรรมการของจําเลยคนหนึ่ง แต
ไม มีต ราประทับ ของจํ าเลยในฐานะผูว าจ าง ก็ ใ ชเ ปน พยาน
หลักฐานประกอบพยานบุคคลของโจทกเพื่อพิจารณาวาจําเลย
ไดตกลงใหโจทกกระทําการดังกลาวหรือไมได
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๓๕/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๔๐ ใน
การทําสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน โจทกวางเงินมัดจําใหแกจําเลย
เปนเงิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งตามสัญญาคูสัญญาตกลงกันใหเงิน
มัดจําดังกลาวเปนสวนหนึ่งของการชําระเงินคาที่ดินตามสัญญา
ดวย จึงถือเปนการชําระคาที่ดินบางสวน กรณีเชนนี้ไมจําตองมี
หลักฐานเปนหนังสือก็ฟองรองบังคับคดีไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๔๕๖ วรรคสอง ทั้งมิใชกรณีที่กฎหมายบังคับใหตองมีเอกสาร
38

มาแสดง จําเลยยอมมีสิทธินําสืบพยานบุคคลวาโจทกกับจําเลย
ไมมีเจตนาผูกพันกันตามขอความเกี่ยวกับการถมดินในสัญญา
ได ไมตองหามตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๔
คําพิพากษาฎีก าที่ ๓๕๔๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๔ น.๑๑๑
การที่จํ าเลยที่ ๑ อา งว ากู ยืม เงิน แทน จึง ตอ งมี หลั ก ฐานเป น
หนังสือแสดงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๙๘ วรรคสอง การนําสืบ
ถึง การตั้ง ตัว แทนจึง ตอ งมีหลักฐานเปน หนัง สือ มาแสดง แต
จํ า เลยที่ ๑ หาได มี ห ลั ก ฐานที่ บ ริ ษั ท จ. ตั้ ง จํ า เลยที่ ๑ เป น
ตัวแทนกูยืมเงินกับโจทกมาแสดงเปนพยานหลักฐานไม จําเลย
ที่ ๑ เพียงแตอางพยานบุคคลมาสืบเปนพยานคือจําเลยที่ ๒ ซึ่ง
เปนกรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนจําเลยที่ ๑ และเปนผูลง
ลายมื อ ชื่อ เป น ผู กูแ ละประทั บ ตราสํ า คั ญ ของจํ า เลยที่ ๑ ใน
สัญญากูเงินที่ทํากับโจทกมาเบิกความยืนยันวาจําเลยที่ ๑ ผูยืม
เงินแทนบริษัท จ. เพราะ ว. ซึ่งเปนกรรมการผูมีอํานาจกระทํา
การแทนบริษัทดัง กลาวขอรอ ง เนื่ อ งจากบริษัทดัง กลาวไมมี
หลักทรัพยที่จะตองใชในการค้ําประกันและจํานองเปนประกัน
สว นพยานอื่น ของจําเลยที่ ๑ ที่นําสืบก็ลว นเปน พยานบุคคล
เชน กัน การนํ าสืบ ของจํา เลยที่ ๑ ดัง กลา วจึง เป น การนํ าสื บ
พยานบุ ค คลแก ไ ขเปลี่ ย นแปลงสั ญ ญากู เ งิ น ต อ งห า มตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๙๔ (ข)
39

คําพิพากษาฎีกาที่ ๘๑๐๙/๒๕๕๕ ฎ. ๘๙๕ แมโจทกมี


พยานเอกสารสัญญาจํานองที่ระบุใหถือ วาเปน หลัก ฐานการ
กูยืมดวยมาแสดงตอศาล อันเปนกรณีที่กฎหมายบังคับใหตองมี
พยานเอกสารมาแสดง หามมิใหนําสืบพยานบุคคลเพื่อเพิ่มเติม
ตั ด ทอนหรื อ เปลี่ ย นแปลงแก ไ ขข อ ความในเอกสาร ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๙๔ (ข) ก็ตาม
แตการที่จําเลยนําสืบพยานบุคคลใหเห็นวาจําเลยนําที่ดินมาทํา
สัญญาและจดทะเบีย นจํ านองเปน ประกัน หนี้คา บริก ารและ
คาใช จายของ ส. ที่ไปทํางานต างประเทศไว แกโ จทก ตามที่
ตัวแทนบริษัทจัดหางานเปนผูแนะนํา โดยจําเลยไมไดรับมอบ
เงิน ๑๒๐,๐๐๐ บาท เปน การนําสืบถึง ที่ม าของการทําสัญญา
จํา นองและเป น หนี้ที่ ไ มส มบู ร ณ เนื่ อ งจากจํ าเลยไมไ ดเ ป น
ผูกูยืม เงิน ไปจากโจทก จึง สามารถนําสืบไดไมตอ งหามตาม
มาตรา ๙๔ วรรคทาย
จําเลยนําที่ดินมาจดทะเบียนจํานองประกันหนี้คาบริการ
และคาใชจายของ ส. ที่ไปทํางานตางประเทศไวกับโจทกตามที่
บริษั ทจัด หางานแนะนํา หาใชจํ าเลยนํ าที่ดิ น ไปจดทะเบีย น
จํานองประกันหนี้ที่จําเลยกูยืมเงินจากโจทกตามฟองไม จึงเปน
คนละเรื่ อ งกับ ที่ โ จทก ก ล าวอ า งมาในฟอ ง ศาลย อ มไม อ าจ
บังคับคดีตามฟองใหโจทกได
40

คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๓๘๒๕/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๑๒ น. ๒๐๓


โจทกฟ อ งวา จํา เลยกูยื ม เงิน จากโจทกเ มื่ อ วั น ที่ ๑๘ มีน าคม
๒๕๔๒ และจําเลยไดรับเงินกูยืมไปครบถวนแลว จําเลยใหการ
วาจําเลยไมเคยกูยืมเงินจากโจทกและไมเคยไดรับเงิน ไปจาก
โจทก จําเลยทําสัญญาจํานองที่ดิน เพื่อประกัน การทําสัญญา
นายหนาจัดสงคนงานไปทํางานที่ไตหวัน เทากับจําเลยใหการ
ว า สั ญ ญากู ยื ม เงิ น ตามคํ า ฟ อ งซึ่ ง เป น การยื ม ใช สิ้ น เปลื อ ง
ไมสมบูรณ เพราะไมมีก ารสงมอบทรัพยสินที่ยืมตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๖๕๐ จําเลยจึง ไมตอ งหามมิใหนําสืบพยานบุคคลว า
สัญญากูยืมเงินตามคําฟองไมสมบูรณตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๔ ที่
จําเลยใหการและนําสืบพยานบุคคลวาสัญญาจํานองดังกลาว
เปนประกัน การชําระหนี้ตามสัญญานายหนาสง คนไปทํางาน
ที่ดินแดนไตหวันและจําเลยไดชําระหนี้หมดแลวนั้น ก็เปนการ
นําสืบถึงที่มาแหง มูล หนี้จํานอง หาใชก ารนําสืบพยานบุคคล
แกไขเปลี่ยนแปลงเอกสารอัน จะตองหามตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๙๔ ไม และการนํา สืบพยานบุคคลวาจํา เลยไดชําระหนี้ตาม
สัญญานายหนาสงคนไปทํางานที่ตางประเทศ ก็มิใชการนําสืบ
ถึง การใชเ งิน กูยืม ที่มีหลัก ฐานเปน หนัง สือ กรณีจึง ไมอ ยูใ น
บังคับมาตรา ๖๕๓ วรรคสอง
41

คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๓๖/๒๕๕๕ ฎ. ๖๒๗ เอกสารมี


ขอความเปน หลักฐานวาจําเลยรับโฉนดที่ดิ นจาก ส. แลวยัง มี
ขอความวา เมื่อวัน ที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๓๖ จําเลยไดกูยืมเงิน
จาก ส. จํานวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท จึงเปนหลักฐานแหงการกูยืม
เปนหนังสือซึ่งลงลายมือชื่อจําเลยผูกูดวย แมจําเลยไมเจตนาให
เปนหลักฐานแหงการกูยืมและคูสัญญาไดทําสัญญากูยืมกันเปน
หนังสือไวแลว ก็หามีผลทําใหเอกสารฉบับนี้ไมเปนหลักฐาน
แหงการกูยืมไม โจทกซึ่งเปนผูจัดการมรดกของ ส. จึงใชเปน
หลั ก ฐานแห ง การกูยื ม เป น หนั ง สือ ฟ อ งใหจํ า เลยรับ ผิ ดตาม
หนังสือสัญญากูยืมเงินฉบับลงวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๓๖ ได
การกูยืม เงิน ระหวางจําเลยกับ ส. มีหลัก ฐานแหง การ
กูยืมเปน หนังสือลงลายมือ ชื่อ จําเลยซึ่งเปน ผูยืม จําเลยอางวา
ชําระหนี้แลวแตไมมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อผูใหยืม
ไมมีการเวนคืนเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมหรือได
แทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นแลว จําเลยจึงนําสืบการใชเงิน
ไมไดเ พราะตอ งหามตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย
มาตรา ๖๕๓ วรรคสอง จําเลยตอ งรับผิดชําระหนี้ตามสัญญา
กูยืมเงินใหแกโจทกซึ่งเปนผูจัดการมรดกของ ส.
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๒๔๑/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๒ น.๒๒๐
สัญ ญาระหว า งโจทกแ ละจํ า เลยเป น การจะซื้ อ ขายอสั ง หา-
42

ริม ทรัพยซึ่งกฎหมายกําหนดรูปแบบและหลัก ฐานในการทํา


สัญญากันไวตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๕๖ วรรคสอง วา สัญญาจะ
ขายหรือจะซื้ออสังหาริมทรัพย ถามิไดมีหลักฐานเปนหนังสือ
อยางหนึ่งอยางใดลงลายมือชื่อฝายผูตองรับผิดเปนสําคัญหรือ
ได ว างประจํ า ไว หรื อ ได ชํ า ระหนี้ บ างส ว นแล ว ท า นว า จะ
ฟอ งรอ งใหบัง คับคดีหาไดไม จากบทกฎหมายดัง กลาว หาก
คูสั ญ ญาจะทํา สั ญ ญาจะซื้อ ขายให มีผ ลทางกฎหมายในการ
ฟองรองบังคับคดีกันไดตองเลือกกระทําอยางใดอยางหนึ่ง คือ
ทําหลัก ฐานเปน หนัง สือ อย างหนึ่ง อยางใดลงลายมือ ชื่อ ฝา ย
ผูตองรับผิดเปนสําคัญ หรือวางประจํา หรือ มัดจํา หรือ มีก าร
ชําระหนี้บางสวน เมื่อโจทกและจําเลยเลือกรูปแบบของสัญญา
โดยทําสัญญาจะซื้อขายหรือสัญญาวางมัดจํากันไว ถือเปนกรณี
ทําหลัก ฐานเปน หนัง สือ อยางหนึ่ง อยางใดโดยลงลายมือ ชื่ อ
โจทกจํ าเลยไวเ พื่ อ ใหคูสั ญญาฟ อ งบัง คับฝายที่ผิดสั ญญาได
จึงเปนกรณีที่หากฟองรองบังคับคดีตองมีสัญญาจะซื้อขายมา
แสดงตาม ป.วิ. พ. มาตรา ๙๔ ดั ง นั้ น จํ าเลยจะขอสื บ พยาน
บุคคลประกอบขอ อางอยางใดอยางหนึ่ง เมื่อ นําสัญญาจะซื้อ
ขายหรือสัญญาวางมัดจํามาแสดงแลว อางวายังมีขอตกลงดวย
วาจาวาโจทกจ ะชําระเงินที่เ หลือ ภายใน ๑ เดือน จึง ตองหาม
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๔ (ข)
43

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๒๕
คําพิพ ากษาฎีก าที่ ๘๑๗๒/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๘๑
คําใหการของจําเลยที่ ๑ ปรากฏเพียงวา จําเลยที่ ๑ กับพวกชําระ
หนี้ใหแกโ จทกแลวไมนอยกวา ๓ ใน ๔ สว น โจทกนําบิล ที่
ชําระหนี้แลวมาฟองรองใหชําระอีก เอกสารบางฉบับมีรองรอย
ขูด ลบโดยไมมี ล ายมื อ ชื่ อ กํา กั บ โดยจํ า เลยที่ ๑ มิ ได โ ตแ ย ง
คัดคานใหชัดแจงวาสําเนาใบเสนอสินคาหรือสําเนาใบสงของ
ไมมีตนฉบับหรือตนฉบับนั้นปลอมทั้งฉบับหรือบางสวน หรือ
สําเนานั้นไมถูกตองอยางหนึ่งอยางใดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๒๕
จึง ถือ ไม ได วา จํ าเลยที่ ๑ ได คั ดค านเอกสารดั ง กลา วไวแ ล ว
ประกอบกับขอเท็จจริงไดความจากโจทกเบิกความตอบทนาย
จําเลยที่ ๑ ถามคานวาเอกสารดังกลาวเปนสําเนาเนื่องจากเมื่อ
ตอนที่ออกใบวางบิลโจทกจะคืนใบเสนอสินคาหรือใบสงของ
ซึ่ง เปนหลัก ฐานวาสง สิน คาแลว ใหแกจําเลยที่ ๑ ดว ยทุกครั้ง
แสดงวาตนฉบับเอกสารดังกลาวอยูที่จําเลยที่ ๑ กรณีเชนนี้ถือ
ไดวาโจทกไมสามารถนําตนฉบับมาไดโดยประการอื่นอันมิใช
เกิดจากพฤติการณที่โจทกตองรับผิดชอบตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๙๓ (๒) ศาลย อ มรั บ ฟ ง สํ า เนาเอกสารดั ง กล า วเป น พยาน
หลักฐานได
44

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๓๑ (๒)


คําพิ พากษาฎี ก าที่ ๑๑๔๑๗/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๙๙
ผูรองยื่นคํารองขอใหปลอยทรัพยที่อายัด ผูพิพากษาคนเดียวใน
ศาลชั้นตนตรวจคํารองขอแลวสั่งวา “กรณีการรองขอใหปลอย
ทรัพยที่ ยึดมีไดเ ฉพาะตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๘ ซึ่ง เปน การ
ยึดทรัพยของลูกหนี้ที่ตอ งมีการนําออกขายทอดตลาด ดังนั้น
ผูรอ งจึงไมอ าจรอ งขอเพิก ถอนใหปลอ ยทรัพยที่อายัด ไมรับ
คํารอง คืน คาขึ้นศาลทั้งหมด” คําสั่ง ดังกลาวเปนการวินิจฉัย
อํานาจในการยื่นคํารองขอของผูรองวาไมมีอํานาจตามกฎหมาย
อัน เปน การวิ นิจ ฉั ย ในประเด็น แหง คดี ตามความหมายแห ง
ป.วิ . พ. มาตรา ๑๓๑ (๒) แล ว ซึ่ ง มี ผ ลเป น การพิพ ากษายก
คําร อ งขอของผูรอ งทั น ที โดยมิไ ดมี คําสั่ ง รั บคํา รอ งขอของ
ผู ร อ งไว ก อ น กรณี มิ ใ ช เ รื่ อ งที่ ศ าลชั้ น ต น สั่ ง ไม รั บ หรื อ คื น
คําคูความตามที่บัญญัติไวใน ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘ เมื่อปรากฏวา
ในการสั่งคํารอ งขอของศาลชั้น ตนมีผูพิพากษาคนเดียวตรวจ
คํ า ร อ งขอแล ว มี คํ า สั่ ง ยกคํ า ร อ งขอ จึ ง เป น การไม ช อบด ว ย
พระธรรมนูญ ศาลยุติ ธรรม มาตรา ๒๔ (๒) เพราะเปน การ
วินิจ ฉัย ชี้ขาดขอพิพาทแหง คดี ซึ่ง ตอ งมีผูพิพากษาอยางนอ ย
สองคนจึงเปน องคคณะที่มีอํานาจพิจ ารณาพิพากษาคดี ตาม
พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา ๒๖
45

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๓๔
คํา พิพ ากษาฎี ก าที่ ๒๘๐๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๔ น.๘๕
โจทกฟอ งโดยกลาวถึง ขอ เท็จ จริง วา จําเลยที่ ๑ ไมสุจ ริตใช
แคชเชียรเ ช็ค ที่ไมสามารถเรี ยกเก็บเงิน ไดชําระราคาที่ดิน แก
โจทก นิติกรรมการซื้อ ขายที่ดินพิพาทจึงตกเปนโมฆียะ และ
นิติกรรมการขายฝากที่ดินพิพาทระหวางจําเลยที่ ๑ กับจําเลย
ที่ ๒ ยอมไมสุจริตและไมชอบดวยกฎหมายตามหลักผูรับโอน
ไมมีสิทธิดีกวาผูโอน ดังนี้ เปนหนาที่ของศาลที่จะตองพิจารณา
วาขอเท็จ จริง ตามที่โจทกฟอ งนั้น มีกฎหมายขอใดบัญญัติให
โจทกเกิดสิทธิในการขอใหเพิกถอนนิติกรรมดังกลาวหรือไม
หากมีบัญญัติไวศาลยอมหยิบยกขึ้นมาปรับบทแกคดีของโจทก
ได ไมจําเปน ที่ ศาลจะตอ งพิพากษาใหสิทธิ โ จทกเ ฉพาะบท
กฎหมายที่โจทกอางเทานั้น เมื่อปรากฏวานิติกรรมการซื้อขาย
ที่ดินพิพาทระหวางโจทกกับจําเลยที่ ๑ เปนโมฆะ และปญหา
วานิติกรรมใดเปนโมฆะหรือไม เปนขอกฎหมายอันเกี่ยวดวย
ความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลฎีกาจึงมีอํานาจยกขึ้น
วินิจ ฉัย ไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) จําเลยที่ ๑ ยอมไมมี
กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาท ไมอาจนําไปขายฝากแกจําเลยที่ ๒ จึง
มีเหตุใหเพิกถอนนิติกรรมการซื้อขายที่ดินพิพาทระหวางโจทก
46

กับจําเลยที่ ๑ และนิติกรรมการขายฝากระหวางจําเลยที่ ๑ กับ


จําเลยที่ ๒ ได
คําพิพากษาฎีก าที่ ๓๑๑๓/๒๕๕๔ ฎ. ๖๓๔ แมโ จทก
บรรยายฟ อ งว า โจทกไ ดรั บ ชว งสิ ท ธิจ ากสหกรณ ฯ ในการ
เรี ย กร อ งเงิ น คื น จากจํ า เลย แต คํ า ฟ อ งของโจทก ก็ บ รรยาย
ขอเท็จจริงพอเขาใจไดวาโจทกไดชดใชเงินคืนใหแกสหกรณฯ
แลว และประสงคจ ะเรีย กเงิน คืน จากจําเลยซึ่งไมมีสิทธิโ ดย
ชอบที่จะไดเงินจํานวนนั้น อัน เปนเรื่องสัญญาฝากทรัพยตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๖๗๒ และโจทกซึ่ง
เปน เจ าของกรรมสิ ทธิ์ในเงิน ใช สิทธิติด ตามและเอาคืน จาก
จําเลยซึ่ง ไมมีสิทธิโ ดยชอบที่จ ะยึด ถือ ไวตามมาตรา ๑๓๓๖
ศาลฎีก าก็มีอํานาจวินิจฉัยโดยยกบทกฎหมายที่ตอ งใชบังคับ
ปรับแกคดีได จําเลยตองรับผิดคืนเงินใหแกโจทกและดอกเบี้ย
ในระหวางผิดนัดอัตรารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ตามมาตรา ๒๒๔
วรรคหนึ่ง
47

ขอความและผลแหงคําพิพากษาและคําสั่ง
ขอ ๔ คําถาม โจทกฟองจําเลยเปนคดีนี้อางวาโจทก ซื้อ
ที่ดินจากจําเลย จําเลยปลูกสรางบานรุกล้ําในที่ดินของโจทกที่
ซื้อ มาจากจําเลย ขอใหจําเลยและบริวารหยุดกอ สรางและรื้อ
ถอนสิ่งปลูกสรางออกจากที่ดินดังกลาว จําเลยใหการและฟอง
แยงวา ที่ดินพิพาทเปนของจําเลยเพราะการจดทะเบียนซื้อขาย
เปนโมฆะ โจทกไมมีอํานาจฟอง และโจทกขัดขวางหามปราม
การกอสรางบานของจําเลยทําใหจําเลยไดรับความเสียหายอัน
เปน การทําละเมิด ตอจําเลย ขอใหย กฟองและใหโจทกชําระ
คาเสียหายแกจําเลย ๕๐๐,๐๐๐ บาท ชั้นชี้สองสถาน ศาลสอบ
คูความแลวขอเท็จจริงฟงไดวา คดีกอนโจทกและจําเลยถูกนาย
ดําฟองขอใหเพิกถอนการจดทะเบียนโอนขายที่ดิน ศาลชั้นตน
วินิจฉัยวา โจทกรับโอนที่ดินโดยรูความจริงวาจําเลยเปนหนี้
นายดําและถูกดําเนินคดีขอหาโกงเจาหนี้ เปนการรั บโอนโดย
รูเทาถึงขอเท็จจริงอันเปนทางใหเจาหนี้เสียเปรียบ ถือไมไดวา
เปนการรับโอนโดยสุจริต เปนการฉอฉลตอเจาหนี้ พิพากษาให
เพิกถอนการจดทะเบียนซื้อขายที่ดินระหวางโจทกและจําเลย
คดีถึงที่สุดโดยไมมีผูใดอุทธรณ แลวโจทกจึงมาฟองจําเลยเปน
คดีนี้
48

ใหวินิจ ฉัย วา ศาลจะดําเนินกระบวนพิจารณาอยางไร


ตอไป
ขอ ๔ คําตอบ โจทกและจําเลยถูกนายดําฟองเปนจําเลย
ในคดีกอน ศาลวินิจฉัยวา โจทกรับโอนที่ดินโดยรูความจริงวา
จําเลยเปนหนี้ น ายดํา เปน การฉอ ฉลตอ เจาหนี้ แมโ จทกและ
จําเลยคดีนี้จะเปน จําเลยดวยกันในคดีกอนก็ตาม ก็ตอ งถือ วา
โจทกและจําเลยเปนคูความในกระบวนพิจารณาของศาลในคดี
กอ นดวย คําพิพากษาในคดีดังกลาวจึงมีผลผูก พัน โจทกแ ละ
จําเลยคดีนี้ดวยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจ ารณาความแพ ง
มาตรา ๑๔๕ เมื่อศาลพิพากษาใหเพิกถอนการจดทะเบียนซื้อ
ขายที่ดินระหวางโจทกและจําเลยแลว จึงตองถือ วาโจทกและ
จําเลยไมไดทําสัญญาซื้อ ขายที่ดิน พิพาทกัน จําเลยยังคงเปน
เจาของกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาทอยู โจทกจึงไมมีอํานาจฟองขอให
ศาลบังคับจําเลยหยุดกอสรางและรื้อถอนสิ่งปลูกสรางออกจาก
ที่ดินดังกลาว (เทียบคําพิพากษาฎีกาที่ ๑๕๐๕/๒๕๕๔)
สวนฟองแยงของจําเลยนั้น โจทกฟองขอใหศาลบังคับ
จําเลยหยุดกอสรางและรื้อถอนสิ่งปลูกสรางออกจากที่ดิน สวน
จําเลยอางวาที่ดินพิพาทเปนของจําเลย หากขอเท็จจริงไดความ
วาที่ดินเปนของโจทก จําเลยก็จะตองหยุดกอสรางและรื้อถอน
49

สิ่งปลูกสรางออกจากที่ดินและจําเลยไมอาจฟองเรียกคาเสียหาย
จากการที่อางวาโจทกขัดขวางหามปรามการกอ สรางตอ เติม
บานของจําเลย หากขอเท็จจริงไดความวาที่ดินเปนของจําเลย
จึงจะมีขอพิจารณาตอไปวาการที่โจทกขัดขวางหามปรามการ
กอสรางตอเติมบานจําเลย จะเปนละเมิดและมีความเสียหายตอ
จําเลยหรือไมเพียงใด ความเสียหายตามฟองแยงของจําเลยจะ
เกิดมีขึ้นไดก็โดยอาศัยผลคดีนี้เปนสําคัญ หากยังไมปรากฏผล
คดี นี้ ข อ โต แ ย ง สิท ธิ ร ะหว า งโจทก กั บ จํา เลยจึง ยั ง ไมเ กิ ด ขึ้ น
จํ า เลยยั ง ไม อ าจนํ า คดี ม าฟ อ งได ฟ อ งแย ง ของจํ า เลยเป น
ฟองแยงที่มีเงื่อนไขซึ่งถือวาไมเกี่ยวกับฟองเดิม (คําพิพากษา
ฎีกาที่ ๖๔/๒๕๕๕)
เมื่อไดความวาโจทกไมมีอํานาจฟอง และฟองแยงของ
จําเลยไม เกี่ยวกับฟ อ งเดิม ศาลชอบที่จ ะสั่งงดสืบ พยานและ
พิพากษายกฟอง และยกฟองแยง
คําพิพากษาฎีก าที่ ๑๕๐๕/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๓๑ ใน
คดีที่โจทกและจําเลยที่ ๑ ถูก จ. ฟองนั้น ศาลฎีกาไมรับวินิจฉัย
ฎี ก าโจทก ซึ่ ง เป น จํ า เลยที่ ๒ ในคดี ดั ง กล า วไว พิ จ ารณา
ขอเท็จ จริงจึง ตอ งฟงยุติตามที่ศาลอุทธรณวินิจ ฉัยมาวาโจทก
คดีนี้รับโอนที่ดินพิพาทพรอ มสิ่งปลูกสรางโดยรูความจริงวา
50

จําเลยที่ ๑ เปน หนี้ จ. และถูกดําเนินคดีขอหาโกงเจาหนี้ เปน


การรั บ โอนโดยรู เ ท า ถึ ง ข อ เท็ จ จริ ง อั น เป น ทางให เ จ า หนี้
เสียเปรียบ ถือไมไดวาเปนการรับโอนโดยสุจริตเปนการฉอฉล
ตอ จ. เจาหนี้ แมโจทกและจําเลยที่ ๑ คดีนี้จะเปนจําเลยดวยกัน
ในคดีกอนก็ตาม ก็ตองถือวาโจทกและจําเลยที่ ๑ เปนคูความใน
กระบวนพิจ ารณาของศาลในคดีกอ นดว ย คําพิพากษาในคดี
ดังกลาวจึงมีผลผูกพันโจทกและจําเลยที่ ๑ คดีนี้ดวยตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๑๔๕ เมื่อ ศาลอุทธรณในคดีเ ดิมมีคําพิพากษายืน ตาม
คําพิพากษาศาลชั้นตนใหเพิกถอนการจดทะเบียนนิติกรรมการ
ซื้อขายที่ดินพิพาทพรอมสิ่งปลูกสรางระหวางโจทกและจําเลย
ที่ ๑ แลว จึ ง ต อ งถือ วา โจทก และจํา เลยที่ ๑ ไมไ ดทํ าสั ญญา
ซื้อขายที่ดินพิพาทพรอมสิ่งปลูกสรางกัน จําเลยที่ ๑ ยังคงเปน
เจาของกรรมสิทธิ์ที่ดิน พิพาทพรอมสิ่งปลูกสรางดังกลาวอยู
โจทกจึงไมอาจนําที่ดินพิพาทพรอมสิ่งปลูกสรางออกใหจําเลย
ที่ ๑ เชาและไมสามารถฟองเรียกคาเชาจากจําเลยที่ ๑ ได
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๖๔/๒๕๕๕ ฎ.๒๐๘ โจทก ฟ อ ง
ขับไลจําเลยโดยอางวาจําเลยปลูกสรางบานรุกล้ําในที่ดินของ
โจทก ส ว นจํ า เลยอ า งว า ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ของจํ า เลย หาก
ข อ เท็ จ จริ ง ได ค วามว า ที่ ดิ น เป น ของโจทก จํ า เลยก็ จ ะต อ ง
รื้อถอนบานสวนที่รุกล้ําออกไปและไมอาจฟองเรียกคาเสียหาย
51

จากการที่อางวาโจทกขัดขวางหามปรามการกอ สรางตอ เติม


บานของจําเลย หากขอเท็จจริงไดความวาที่ดินเปนของจําเลย
จึงจะมีขอพิจารณาตอไปวาการที่โจทกขัดขวางหามปรามการ
กอสรางตอเติมบานจําเลย จะเปนละเมิดและมีความเสียหายตอ
จําเลยหรือไมเพียงใด ความเสียหายตามฟองแยงของจําเลยจะ
เกิดมีขึ้นไดก็โดยอาศัยผลคดีนี้เปนสําคัญ หากยังไมปรากฏผล
คดี นี้ข อ โตแ ยง สิท ธิร ะหวา งโจทก กับ จํา เลยจึ ง ยั ง ไมเ กิด ขึ้ น
จําเลยยังไมอาจนําคดีมาฟองได ฟองแยงของจําเลยเปนฟองแยง
ที่มีเงื่อนไขซึ่งถือวาไมเกี่ยวกับฟองเดิม

ขอ ๕ คําถาม โจทกฟองขอใหบังคับจําเลยรื้อถอนบาน


ออกไปจากที่ดินมีโฉนดที่โจทกรับมรดกมาจากมารดา และให
จําเลยใชคาเสีย หาย จําเลยใหการวา จําเลยซื้อที่ดินจากมารดา
โจทก ตั้ ง แต ที่ ดิ น เป น ส.ค. ๑ และได เ ข า ครอบครองทํ า
ประโยชนในที่ดินติดตอกันเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน จําเลยจึงเปน
เจา ของกรรมสิทธิ์ ในที่ดิ น พิพ าท ขอใหย กฟ อ ง และภายใน
กําหนดระยะเวลายื่นคําใหการ จําเลยยื่นคํารองขอแกไขเพิ่มเติม
คําใหการและฟองแยงมาในคํารองขอแกไขเพิ่มเติมคําใหการ
ขอใหบังคับโจทกจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงสารบัญจดทะเบียน
ใหจําเลยเปนผูถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินโฉนดดังกลาว หากโจทก
52

ไมไปดําเนิ น การ ใหถือ เอาคําพิพากษาแทนการแสดงเจตนา


ของโจทก โจทกใหการแกฟองแยงวา จําเลยตองฟองแยงมาใน
คํา ใหก ารเท า นั้ น จะฟ อ งแย ง มาในคํ าร อ งขอแกไ ขเพิ่ม เติ ม
คําใหการไมได ฟองแยงจึงไมชอบดวยกฎหมาย และจําเลยเคย
ยื่นคํารองขออางวาครอบครองปรปกษที่ดินบางสวนของที่ดิ น
โฉนดดัง กลาวจนไดก รรมสิทธิ์ โจทกยื่น คํารองคัดคาน ศาล
ชั้นตนยกคํารองขอของจําเลย ฟองแยงของจําเลยจึงเปนฟองซ้ํา
กับคดีดังกลาวขอใหยกฟองแยง ขอเท็จ จริง ฟง ไดวา คดีกอ น
ศาลไดมีคําพิพากษาถึงที่สุดแลว ประเด็นวินิจฉัยในคดีกอนมีวา
จําเลยไดก รรมสิ ทธิ์ที่ดิ น พิ พาทโดยการครอบครองปรปก ษ
หรือไม ศาลในคดีกอนพิพากษาใหยกคํารองขอ โดยวินิจฉัยวา
ผูรอ ง (จําเลยในคดีนี้ ) อางวาซื้อ ที่ดิน พิพาทจากมารดาของผู
คัดคาน (โจทกในคดีนี้) และมีการสงมอบการครอบครองใหแก
ผูรองแลว ขณะนั้นที่ดินพิพาทมีเอกสารสิทธิเปน ส.ค. ๑ เทากับ
ผูรองอางวาการซื้อขายสมบูรณโดยการสงมอบการครอบครอง
แลว การที่ผูรองอางวาที่ดินพิพาทเปนของตนมาตั้งแตมีการซื้อ
ขายกันโดยมิไดอางวาเปนของผูอื่นยอมไมเขาองคประกอบใน
เรื่องครอบครองปรปกษ
ใหวินิจฉัยวา ฟองแยง ของจําเลยตองหามตามที่โ จทก
ใหการแกฟองแยงไวหรือไม
53

ขอ ๕ คําตอบ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจ ารณาความ


แพง มาตรา ๑ (๔) คําใหการ หมายความวา กระบวนพิจารณา
ใด ๆ ซึ่ ง คูค วามฝ า ยหนึ่ง ยกข อ ต อ สู เป น ขอ แก คํา ฟ อ งตามที่
บั ญ ญั ติ ไ ว ใ นประมวลกฎหมายนี้ คํ า ร อ งขอแก ไ ขเพิ่ ม เติ ม
คําใหก ารของจําเลยตามมาตรา ๑๗๙ (๓) เปน คําใหก ารตาม
มาตรา ๑ (๔) ดังกลาว จําเลยจึงฟองแยงมาในคํารองขอแกไข
เพิ่ม เติม คําใหก ารซึ่ งถือ วาเปน คําใหก ารได ตามมาตรา ๑๗๗
วรรคสาม (คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๒๙/๒๕๒๔ ประชุมใหญ)
คดีที่ไดมีคําพิพากษาหรือ คําสั่งถึงที่สุดแลว หามมิให
คูความเดียวกันรื้อรอง ฟองกันอีกในประเด็นที่ไดวินิจฉัยโดย
อาศั ย เหตุ อ ย า งเดี ย วกั น ตามมาตรา ๑๔๘ คดี ก อ นศาลได มี
คําพิพากษาถึงที่สุดแลว และคูความในคดีดังกลาวกับคูความใน
คดีนี้เปนคูความเดียวกัน แตประเด็น ในคดีกอนมีวา จําเลยได
กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น พิ พ าทโดยการครอบครองปรป ก ษ ห รื อ ไม
ประเด็ น ตามฟ อ งแย ง ของจํ า เลยคดี นี้ มี ว า จํ า เลยซื้ อ และ
ครอบครองที่ดินพิพาทจนไดสิทธิครอบครองกอ นออกโฉนด
ที่ดินแลวหรือ ไม หรืออีกนัยหนึ่งประเด็นขอพิพาทมีวา ที่ดิน
พิพาทเปนของโจทกหรือของจําเลยซึ่งตางกับประเด็นวินิจฉัย
ในคดีกอน ฟองแยงของจําเลยจึงมิใชเปนการรื้อรองฟองกันอีก
54

ในประเด็นที่ไดวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกันตามมาตรา
๑๔๘ ฟ อ งแย ง ของจํ า เลยจึ ง ไม เ ป น ฟ อ งซ้ํ า กั บ คดี ก อ น
(คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๕๗๐/๒๕๕๔)
ฟอ งแยงของจําเลยจึงไมตอ งหามตามที่โจทกใหก าร
แกฟองแยงไว
คําพิพากษาฎีก าที่ ๒๕๗๐/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๑๕
คดีแพงเดิมของศาลชั้นตน ศาลไดมีคําพิพากษาถึงที่สุดแลวและ
คูความในคดีดังกลาวกับคูความในคดีนี้เปนคูความเดียวกัน แต
ประเด็นในเรื่องกอนมีวา จําเลยที่ ๑ ไดกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาท
โดยการครอบครองปรป ก ษ ห รื อ ไม ซึ่ ง ศาลในคดี ก อ นได
พิพากษายกคํารองขอโดยวินิจฉัยวา ผูรองซึ่งหมายถึงจําเลยที่ ๑
ในคดี นี้ อ า งว า ซื้ อ ที่ ดิ น พิ พ าทจากผู คั ด ค า นที่ ๑ และมี ก าร
สง มอบการครอบครองใหแกผูรอ งแล ว ขณะนั้น ที่ดิน พิพาท
มีเอกสารสิทธิเปน ส.ค.๑ เทากับผูรองอางการซื้อขายสมบูรณ
โดยการสง มอบการครอบครองแลว การที่ผูรอ งอางวาที่ดิน
พิพาทเปนของตนมาตั้งแตมีการซื้อขายกันโดยมิไดอางวาเปน
ของผูอื่น ยอมไมเขาองคประกอบในเรื่องครอบครองปรปกษ
ครั้นเมื่อผูคัดคานที่ ๒ ในคดีกอนกลับมาเปนโจทกฟองขับไล
จําเลยที่ ๑ ซึ่ง เป น ผูรอ งในคดีกอ นกั บบริว ารในคดีนี้ จําเลย
55

ทั้งสองก็ตอสูคดีและฟองแยงโดยอาศัยเหตุเรื่องที่จําเลยที่ ๑ ซื้อ
ที่ดินจากมารดาโจทกและไดเขาครอบครองทําประโยชนใน
ที่ดินติดตอกันเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน จําเลยที่ ๑ จึงเปนเจาของ
กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทอันเปนเหตุผลเดียวกันกับคํารองในคดี
กอน ยอมเทากับจําเลยที่ ๑ ตอสูวา จําเลยที่ ๑ ซื้อ ที่ดินพิพาท
และการซื้อขายสมบูรณโดยการสงมอบการครอบครอง จําเลย
ที่ ๑ จึงเปนเจาของที่ดินโดยการครอบครองแลวดังที่ศาลชั้นตน
วิ นิ จ ฉั ย ในคดี ก อ น จํ า เลยที่ ๑ จึ ง ฟ อ งแย ง ขอให โ จทก จ ด
ทะเบียนโอนที่ดิน พิพาทใหแกจําเลยที่ ๑ เปนผูถือกรรมสิทธิ์
มาดวย ประเด็นที่จะตองวินิจฉัยตามฟองแยงของจําเลยทั้งสอง
จึง มีวา จําเลยที่ ๑ ซื้อและครอบครองที่ดิน พิพาทจนไดสิทธิ
ครอบครองกอ นออกโฉนดที่ดินแลวหรือไม หรือ อีกนัยหนึ่ง
ประเด็นขอพิพาทมีวา ที่ดินพิพาทเปนของโจทกหรือของจําเลย
ที่ ๑ ซึ่งตางกับประเด็นวินิจฉัยในเรื่องกอน ฟองแยงของจําเลย
ที่ ๑ จึงมิใชเปนการรื้อ รองฟองกันอีกในประเด็นที่ไดวินิจฉัย
โดยอาศัย เหตุอ ยางเดียวกัน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๘ กรณีจึง
ไมเปนฟองซ้ํากับคดีแพงเดิมของศาลชั้นตน
56

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๔๒
คําพิพากษาฎีกาที่ ๕๘๒/๒๕๕๔ ฎ. ๘๗๐ โจทกฟองวา
จําเลยไดโอนสิทธิใชที่ดินและบานพิพาทใหโจทกแลว จําเลย
ไมยอมขนยายทรัพยสินและบริวารออกไป ขอใหศาลบังคับให
จํา เลยขนย า ยทรั พ ย สิ น และบริว ารออกไป จํา เลยให ก ารว า
โจทกจําเลยไมมีเ จตนาโอนสิทธิใชที่ดิน และบานพิพาท แต
จําเลยกูยืมเงินโจทกและใชทรัพยดังกลาวเปนประกันหนี้เงินยืม
ประเด็นขอพิพาทมีวาโจทกรับโอนสิทธิการใชที่ดินและบาน
พิพาทจากจํา เลยหรือ ไม มิได เ ปน ประเด็น พิพาทเรื่ อ งความ
ตกลงตามประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย มาตรา ๖๕๖
วรรคสองและวรรคสาม ทั้ง คูความมิไดนําสืบถึง ขอ เท็จ จริง
เรื่อ งการตกลงใหมีการคิดหนี้เงิน ยืม เปนจํานวนเทากับราคา
ทอ งตลาดแหง สิ่ง ของหรือ ทรั พยสิน ในเวลาและ ณ สถานที่
สงมอบกันตามมาตรา ๖๕๖ วรรคสอง กันไวหรือไม การที่ศาล
อุทธรณสรุปขอเท็จจริง วาคูความไมมีการตกลงคิดหนี้เงินยืม
แลวนํามาวินิจฉัยปญหาขอกฎหมายวาเปนการขัดตอความสงบ
เรียบรอยของประชาชน จึงเปนเรื่องนอกฟองนอกประเด็นและ
นอกสํานวน ทั้งเปนขอที่ไมไดยกขึ้นวากันมาโดยชอบในศาล
ตองฟงวาจําเลยไดโอนสิทธิก ารใชที่ดินและบานพิพาทใหแก
57

โจทก โจทก ย อ มเป น เจ า ของมี สิ ท ธิ ฟ อ งให จํ า เลยขนย า ย


ทรัพยสินและบริวารออกไปได
คําพิพากษาฎี ก าที่ ๘๑๐๙/๒๕๕๕ ฎ. ๘๙๕ จํา เลยนํ า
ที่ดินมาจดทะเบีย นจํานองประกัน หนี้คาบริก ารและคาใชจาย
ของ ส. ที่ไปทํางานตางประเทศไวกับโจทกตามที่บริษัทจัดหา
งานแนะนํา หาใชจําเลยนําที่ดินไปจดทะเบีย นจํานองประกัน
หนี้ที่จําเลยกูยืมเงินจากโจทกตามฟองไม จึงเปนคนละเรื่องกับ
ที่โจทกกลาวอางมาในฟอง ศาลยอมไมอาจบังคับคดีตามฟอง
ใหโจทกได
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๓๘๙/๒๕๕๔ ฎ.๙๖๕ การพิจารณา
วาจะอนุญาตใหผูรอ งเขามาเปน ผูรอ งสอดหรือไม มีประเด็น
ตองวินิจฉัย ๒ ประเด็น คือ ประเด็นวาผูรองเปนผูมีสวนไดเสีย
ในคดีอันจะเปนเหตุใหผูรองมีอํานาจรองสอดเขามาเปนคูความ
ไดหรือไม และประเด็นวากรณีมีเหตุสมควรอนุญาตใหเขามา
ในคดีไดหรือไม การที่ศาลอุทธรณวินิจฉัยวา ผูรอ งเปน ภริย า
โดยชอบดวยกฎหมายของเจามรดกซึ่งเปนเหตุใหผูรองมีสวน
ไดเ สียในคดีนี้ จึง เปน การวินิจฉัยในประเด็นเรื่องอํานาจรอ ง
สอดของผูรอง คําวินิจฉัยของศาลอุทธรณจึงไมเปนการวินิจฉัย
นอกคํารองสอดหรือนอกประเด็น
58

คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๖๒๓๒/๒๕๕๔ ฎ. ๓๐๑ โจทก


บรรยายฟองวา จําเลยที่ ๑ เปนผูครอบครองรถยนตกระบะคัน
เกิ ด เหตุ มี ห น า ที่ ใ นการควบคุ ม ดู แ ลการใช ร ถยนต ดั ง กล า ว
วันเกิดเหตุรถยนตกระบะเฉี่ยวชนกับรถจักรยานยนตของโจทก
และบุตรโจทกทั้งสองคนไดรับบาดเจ็บสาหัส ภายหลังเกิดเหตุ
ผู ขั บ รถยนต ก ระบะขั บ หลบหนี ไ ปโดยจํ า เลยที่ ๒ แจ ง ต อ
พนักงานตํารวจวา ต. ไมทราบชื่อและชื่อสกุลจริงเปนผูขับ และ
เหตุ ล ะเมิ ด เกิ ด ขึ้ น จากการที่ ผู ขั บ รถยนต ก ระบะขั บ ไปใน
ทางการที่จางวานใชของจําเลยที่ ๑ จึงเปน ตัว แทนของจําเลย
ที่ ๑ อันเปนการบรรยายฟองไปตามขอเท็จจริงเทาที่โจทกทราบ
และมิไดยืน ยัน วา ต. เปนผูขับรถยนตก ระบะในขณะเกิดเหตุ
ละเมิด การที่โจทกบรรยายฟองวาจําเลยที่ ๑ เปนผูครอบครอง
รถยนตกระบะคันเกิดเหตุและมีหนาที่ในการควบคุมดูแลการ
ใชรถยนตดังกลาว เมื่อเกิดเหตุละเมิดจากการขับรถยนต จําเลย
ที่ ๑ จึงตองรับผิดในฐานะที่เปนตัวการ ถือไดวาฟองของโจทก
เปนฟองที่ขอใหจําเลยที่ ๑ รับผิดในฐานะที่เปนตัวการในการ
กระทําละเมิดเองโดยตรงดวย คําพิพากษาศาลอุทธรณที่วินิจฉัย
วาจําเลยที่ ๑ เปนผูขับรถยนตในขณะเกิดเหตุละเมิดจึงมิใชการ
วินิจฉัยนอกฟองนอกประเด็น
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๑๐๒/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๑๒๔
59

คําฟองโจทกทั้งสามขอใหเปดทางพิพาทเปนทางภาระจํายอม
แตประการเดีย ว แมคําฟอ งไดบรรยายวาที่ดินของโจทกที่ ๑
และที่ ๒ มีที่ดินของบุคคลอื่นลอมรอบไมมีทางออกไปสูทาง
สาธารณประโยชนก็ตาม แตโจทกทั้งสามก็มิไดขอใหเปดทาง
พิพ าทเปน ทางจํา เปน ดว ย ทั้ ง ในชั้น ชี้ สองสถานศาลชั้น ต น
กําหนดประเด็น ขอพิพาทแตเพียงวาทางพิพาทเปน ทางภาระ
จํายอมหรือไม และจําเลยตองรื้อถอนประตูเหล็กและรั้วออกไป
หรือไม การที่ศาลอุทธรณวินิจฉัยวาทางพิพาทเปนทางจํา เปน
จึงเปนการวินิจฉัยนอกประเด็นมิชอบดวยกฎหมาย
คําพิพากษาฎีก าที่ ๘๑๘๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๗ น. ๑๘๔
โจทกบรรยายฟองวา ที่ดินจําเลยอยูติดกับที่ดินโจทกทางดาน
ทิ ศ ตะวั น ตก โจทก ใ ช ที่ ดิ น ของจํ า เลยกว า ง ๔ เมตร ยาว
ประมาณ ๒๐๐ เมตร เปนทางเขาออกสูที่ดินโจทกโดยสงบและ
โดยเปดเผยเปนเวลากวา ๔๐ ป เนื่องจากไมมีทางเขาออกทาง
อื่น ทางดังกลาวจึงเปนทางภาระจํายอมตามกฎหมายและทาง
จําเปน ตอมาจําเลยทําคันดินปดกั้นทางดังกลาว ขอใหพิพากษา
วาทางพิพาทในที่ดินของจําเลยโฉนดเลขที่ ๒๘๒๐ ตกเปนทาง
ภาระจํายอมของที่ดินโจทก ใหจําเลยจดทะเบียนภาระจํายอม
โดยคําฟอ งโจทกมิไดบรรยายฟองเรื่องทางจําเปนตามมาตรา
๑๓๔๙ วาที่ดินโจทกมีที่ดินแปลงอื่นลอมอยูจนไมมีทางออกสู
60

ทางสาธารณะได คงบรรยายแตเ ฉพาะวาที่ดิน โจทกไมมีทาง


เขาออกทางอื่ น และมิไดมี คําขอใหศาลมีคําพิ พากษาวาทาง
พิพาทเปนทางจําเปนแกที่ดินของโจทก ขอเท็จจริงในคําฟอ ง
ที่โจทกบรรยายไวเปนขออางและคําขอบังคับที่โจทกตองการ
ใหศาลวินิจ ฉัย จึ ง มีประเด็น เฉพาะเรื่ อ งภาระจํา ยอมเทานั้ น
ปญหาที่วา ที่ดินของจําเลยตกเปนทางจําเปนแกที่ดินของโจทก
หรือไม จึงไมเปนประเด็นแหงคดี
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๑๖๒/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๑๓๙
การที่โ จทกซึ่ง เปน เจาของกรรมสิทธิ์ร ถยนตคัน พิพาท มิไ ด
มอบอํานาจใหจําเลยที่ ๑ ไปจดทะเบียนโอนรถยนตคันพิพาท
จําเลยที่ ๒ รับซื้อรถยนตคันพิพาทจากจําเลยที่ ๑ ที่กระทําโดย
ไมชอบดว ยกฎหมาย แมตามคําขอทายฟอ ง โจทกจ ะขอให
เพิก ถอนชื่อ จําเลยที่ ๒ ออกจากการเป น ผูถือ กรรมสิทธิ์ทาง
ทะเบียนในรถยนตคันพิพาทเปนชื่อของโจทกก็ตาม เมื่อปรากฏ
วาใบแทนใบคูมื อ จดทะเบี ย นรถสําหรับรถยนต คัน พิ พาทที่
นายทะเบียนขนสงจังหวัดขอนแกนออกใหแทนฉบับเดิม ก็เปน
การดําเนินการของนายทะเบียนขนสงจังหวัดขอนแกนตามที่
ไดรับแจงขอความเท็จจากจําเลยที่ ๒ ถือวาใบแทนคูมือการจด
ทะเบียนเปนการออกโดยไมชอบดวยกฎหมาย แมโจทกจะมิได
ขอใหเพิกถอน แตโจทกก็มีคําขอใหใบคูมือจดทะเบียนรถฉบับ
61

ของโจทกมีผลบังคับใชอยูตามเดิม ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให
เพิกถอนใบแทนใบคูมือจดทะเบียนรถสําหรับรถยนตคันพิพาท
ที่อ อกโดยไมชอบนั้ น ได คํา พิพ ากษาศาลอุ ทธรณจึ ง ไม เ กิ น
คําขอ

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๔๒ (๕)


คํา พิพ ากษาฎี ก าที่ ๒๘๐๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๔ น.๘๕
โจทกฟอ งโดยกลาวถึง ขอ เท็จ จริง วา จําเลยที่ ๑ ไมสุจ ริตใช
แคชเชียรเ ช็ค ที่ไมสามารถเรียกเก็บเงิน ไดชําระราคาที่ดิน แก
โจทก นิติกรรมการซื้อ ขายที่ดินพิพาทจึงตกเปนโมฆียะ และ
นิติกรรมการขายฝากที่ดินพิพาทระหวางจําเลยที่ ๑ กับจําเลย
ที่ ๒ ยอมไมสุจริตและไมชอบดวยกฎหมายตามหลักผูรับโอน
ไมมีสิทธิดีกวาผูโอน ดังนี้ เปนหนาที่ของศาลที่จะตองพิจารณา
วาขอเท็จ จริง ตามที่โจทกฟอ งนั้น มีกฎหมายขอใดบัญญัติให
โจทกเกิดสิทธิในการขอใหเพิกถอนนิติกรรมดังกลาวหรือไม
หากมีบัญญัติไวศาลยอมหยิบยกขึ้นมาปรับบทแกคดีของโจทก
ได ไมจําเปน ที่ ศาลจะตอ งพิพากษาใหสิทธิ โ จทกเ ฉพาะบท
กฎหมายที่โจทกอางเทานั้น เมื่อปรากฏวานิติกรรมการซื้อขาย
ที่ดินพิพาทระหวางโจทกกับจําเลยที่ ๑ เปนโมฆะ และปญหา
วานิติกรรมใดเปนโมฆะหรือไม เปนขอกฎหมายอันเกี่ยวดวย
62

ความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลฎีกาจึงมีอํานาจยกขึ้น
วินิจ ฉัย ไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) จําเลยที่ ๑ ยอมไมมี
กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาท ไมอาจนําไปขายฝากแกจําเลยที่ ๒ จึง
มีเหตุใหเพิกถอนนิติกรรมการซื้อขายที่ดินพิพาทระหวางโจทก
กับจําเลยที่ ๑ และนิติกรรมการขายฝากระหวางจําเลยที่ ๑ กับ
จําเลยที่ ๒ ได
เมื่อศาลพิพากษาใหเพิก ถอนการจดทะเบีย นนิติกรรม
การซื้อขายและการขายฝากที่ดินพิพาททั้งสองแปลงแลว โจทก
ยอมกลับมามีชื่อเปนเจาของที่ดินในโฉนดที่ดินพิพาททั้งสอง
แปลงโดยทันที และ ป. ที่ดินฯ มาตรา ๖๑ วรรคแปด บัญญัติไว
ความว า ในกรณี ที่ ศ าลมี คํ า พิ พ ากษาหรื อ คํ า สั่ ง ถึ ง ที่ สุ ด ให
เพิกถอนหรือแกไขการจดทะเบียนสิทธิหรือนิติกรรมเกี่ยวกับ
อสัง หาริมทรัพยอยางใดแลว ใหเ จาพนัก งานที่ดิน ดําเนิน การ
ตามคํ า พิพ ากษาหรื อ คํ าสั่ ง นั้ น จึ ง ไม จํา ต อ งบัง คั บ ใหจํ า เลย
ทั้งสองไปจดทะเบียนเพิกถอนนิติกรรมดังกลาว

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๔๓
คําพิพากษาฎีก าที่ ๒๔๕๔/๒๕๕๕ ฎ. ๗๕๕ โจทกมี
เวลาตรวจสอบคําฟอง ๗๖ วัน ซึ่ง เปน เวลานานประกอบกับ
โจทกเ ปนสถาบันการเงินยอมมีความระมัดระวัง เรื่องจํา นวน
63

เงิน จึง ไมมีเ หตุอัน สมควรที่โ จทกไมอาจยื่น คํารอ งขอแกไข


คํา ฟ อ งโดยอ างว าพิ ม พตั ว เลขจํา นวนเงิน ในคํ า ขอท ายฟ อ ง
ผิดพลาดไดกอ นนั้น ทั้ง ตัวเลขจํานวนเงิน ทุกตัว เลขแตกตาง
ชัดเจนและมีผลตางของจํานวนเงินถึง ๑,๘๘๔,๔๗๑.๙๑ บาท
หากให โ จทก แ ก ไ ขคํ า ฟ อ งได เ ท า กั บ มี ผ ลต อ มาให ต อ ง
เปลี่ ย นแปลงผลแหง คดี ในข อ สาระสําคั ญโดยจํ าเลยจะตอ ง
รับผิดเพิ่มขึ้นถึง ๗ เทาของจํานวนเงินตามคําพิพากษาของศาล
ชั้นตน เมื่อศาลชั้นตนพิพากษาใหจําเลยชําระเงินตามจํานวนใน
คําขอทายฟองของโจทกเ ปนไปตามความประสงคของโจทก
แลว จึง มิใชเ ปน ขอ ผิดพลาดเล็ก นอ ยหรือขอผิดหลงเล็กนอ ย
อื่น ๆ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๓
วรรคหนึ่ง ที่โจทกจะขอใหแกไขคําพิพากษาของศาลชั้นตนได
คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๐๗/๒๕๕๔ ฎ.๑๔๓๙ ศาลชั้นตน
วินิจฉัยใหจําเลยชําระดอกเบี้ยนับแตวันฟองซึ่งเปนวันที่โจทก
ขอ แตกลับพิพากษาใหชําระดอกเบี้ยนับถัดจากวันฟอง อันเปน
ขอผิดพลาดเล็กนอย เมื่อศาลอุทธรณพิพากษายืนโดยมิไดแกไข
ศาลฎีกาจึงเห็นสมควรแกไขเสียใหถูกตองตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๑๔๓
64

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๔๔
คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๔๘/๒๕๕๔ ฎ.๑๒๐๒ แมโจทก
เคยฟ อ งจํ า เลยทั้ ง สามเป น จํ า เลยในคดีแ พ ง หมายเลขแดงที่
๑๓๙๓๖/๒๕๔๕ ของศาลชั้นตนในขอหาเชนเดียวกับคดีนี้ แต
ในคดี ก อ นโจทก ฟ อ งบริ ษั ท ย. ซึ่ ง เป น ผู กู ยื ม เงิ น จํ า นวน
๓๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท จากบริษัทเงิน ทุน ธ. เปน จําเลยที่ ๑ และ
ฟองจําเลยที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๓ คดีนี้เปนจําเลยที่ ๔ ที่ ๒ และที่ ๓
ตามลําดับ ในฐานะผูค้ําประกันหนี้รายนี้โดยจําเลยที่ ๒ นําที่ดิน
รวม ๑๑ โฉนด จํานอง ค้ําประกัน สวนคดีนี้โจทกฟองจําเลยที่
๔ ในคดี ดั ง กล า วเปน จํ า เลยที่ ๑ ในฐานะผู กู ยื ม เงิ น จํ า นวน
๔๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยมีจําเลยที่ ๒ และที่ ๓ ในคดีกอนเปน
ผูค้ําประกัน หนี้ โดยจําเลยที่ ๒ นําที่ดิน ทั้ง ๑๑ โฉนด ในคดี
กอนจํานองเปนประกันหนี้ในคดีนี้ ซึ่งผูกูยืมหาไดเปนคูความ
รายเดียวกันไม มูลหนี้ที่กูยืมก็คนละจํานวนกัน แมจําเลยที่ ๒
ในคดี ก อ นเป น ผู ค้ํ า ประกั น หนี้ ใ นคดี นี้ แ ละนํ า ที่ ดิ น ทั้ ง ๑๑
โฉนดในคดีกอนมาจํานองเปนประกันหนี้ในคดีนี้ดวย ก็หาได
มีกฎหมายหามมิใหเปนผูค้ําประกันและนําที่ดินแปลงเดียวกัน
ไปจํานองเปนประกันผูอื่นไดอีก ไม สวนการบังคับจํานองจะ
ดําเนินการบังคับไดอยางไรยอมเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด
65

คดีนี้จึงไมเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ํากับคดีกอนตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๔

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๔๕
คําพิพากษาฎีก าที่ ๑๕๐๕/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๓๑ ใน
คดีที่โจทกและจําเลยที่ ๑ ถูก จ. ฟองนั้น ศาลฎีกาไมรับวินิจฉัย
ฎี ก าโจทก ซึ่ ง เป น จํ า เลยที่ ๒ ในคดี ดั ง กล า วไว พิ จ ารณา
ขอเท็จ จริงจึง ตอ งฟงยุติตามที่ศาลอุทธรณวินิจ ฉัยมาวาโจทก
คดีนี้รับโอนที่ดินพิพาทพรอ มสิ่งปลูกสรางโดยรูความจริงวา
จําเลยที่ ๑ เปน หนี้ จ. และถูกดําเนินคดีขอหาโกงเจาหนี้ เปน
การรั บ โอนโดยรู เ ท า ถึ ง ข อ เท็ จ จริ ง อั น เป น ทางให เ จ า หนี้
เสียเปรียบ ถือไมไดวาเปนการรับโอนโดยสุจริตเปนการฉอฉล
ตอ จ. เจาหนี้ แมโจทกและจําเลยที่ ๑ คดีนี้จะเปนจําเลยดวยกัน
ในคดีกอนก็ตาม ก็ตองถือวาโจทกและจําเลยที่ ๑ เปนคูความใน
กระบวนพิจ ารณาของศาลในคดีกอ นดว ย คําพิพากษาในคดี
ดังกลาวจึงมีผลผูกพันโจทกและจําเลยที่ ๑ คดีนี้ดวยตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๑๔๕ เมื่อ ศาลอุทธรณในคดีเ ดิมมีคําพิพากษายืน ตาม
คําพิพากษาศาลชั้นตนใหเพิกถอนการจดทะเบียนนิติกรรมการ
ซื้อขายที่ดินพิพาทพรอมสิ่งปลูกสรางระหวางโจทกและจําเลย
ที่ ๑ แลว จึ ง ต อ งถือ วา โจทก และจํา เลยที่ ๑ ไมไ ดทํ าสั ญญา
66

ซื้อขายที่ดินพิพาทพรอมสิ่งปลูกสรางกัน จําเลยที่ ๑ ยังคงเปน


เจาของกรรมสิทธิ์ที่ดิน พิพาทพรอมสิ่งปลูกสรางดังกลาวอยู
โจทกจึงไมอาจนําที่ดินพิพาทพรอมสิ่งปลูกสรางออกใหจําเลย
ที่ ๑ เชาและไมสามารถฟองเรียกคาเชาจากจําเลยที่ ๑ ได
คําพิพากษาฎีก าที่ ๘๒๗๕/๒๕๕๔ ฎ.๑๘๑๐ คดีกอ น
จําเลยเปนโจทกยื่น ฟอ งโจทกทั้ง สองเปนจําเลยโดยบรรยาย
ฟองวา จําเลยเปนผูซื้อ และรับโอนสิทธิเรียกรอ งในสินทรัพย
รวมทั้งหนี้สินที่โจทกทั้งสองมีอยูกับบริษัทเงินทุนหลักทรัพย
ส. เมื่อ วั น ที่ ๓๐ กั น ยายน ๒๕๔๒ และมีคํ า ขอให ศ าลมี คํ า
พิพากษาบังคับใหโจทกทั้งสองชําระหนี้ดังกลาว โจทกทั้งสอง
ใหการตอวา จําเลยคํานวณหนี้ผิดพลาดคลาดเคลื่อนไมถูกตอง
และเรี ย กดอกเบี้ย เกิน กวา ที่ ก ฎหมายกํ า หนด โจทก ทั้ ง สอง
ไมเ คยผิดนัดชําระหนี้ จําเลยบอกกลาวบัง คับจํานองไมชอบ
ดว ยกฎหมาย ดัง นี้ มู ล เหตุ ต ามข อ อ า งและคํา ขอบั ง คับ ของ
โจทกทั้ง สองคดีนี้ ที่วา สัญ ญาซื้อ ขายสิทธิเ รีย กรอ งระหวา ง
จําเลยกับ ปรส. เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๒ อันเกี่ยวกับมูล
หนี้ของโจทกทั้งสองตกเปนโมฆะ โจทกทั้งสองไมตองรับผิด
ตอจําเลยในฐานะผูรับโอน จึงเปนเรื่องที่เกิดขึ้น กอ นที่โ จทก
ทั้ ง สองถู ก จํ า เลยฟ อ งให ชํ า ระหนี้ ใ นคดี ก อ นแล ว ข อ ต อ สู
ดัง กลาวโจทกทั้ง สองสามารถยกขึ้น เปน ขอ ตอ สูเ พื่อ ไมตอ ง
67

ชําระหนี้ใหแกจําเลยคดีกอนได แตโจทก ทั้งสองก็มิไดยกขึ้น


กล า วอ า งเป น ข อ ต อ สู จนกระทั่ ง ศาลคดี ก อ นมี คํ า พิ พ ากษา
ใหโจทกทั้ง สองแพคดี โดยตอ งชําระหนี้ใหแกจําเลยและคดี
ถึ ง ที่ สุ ด แล ว คํ า พิ พ ากษาในคดี ก อ นจึ ง ผู ก พั น คู ค วามตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๕ และถือ
ไดวาศาลคดีกอนไดวินิจฉัยสิทธิตามสัญญาซื้อขายฉบับลงวันที่
๓๐ กันยายน ๒๕๔๑ ระหวางจําเลยกับ ปรส. วาถูกตองบังคับ
ได ดัง นั้น ประเด็น ขอ พิพาทตามฟอ งของโจทกทั้งสองคดี นี้
และคดี ก อ นจึ ง เป น ประเด็ น ขอ พิ พ าทซึ่ ง อาศัย มู ล เหตุ อ ย า ง
เดีย วกัน การที่ โ จทก ทั้ง สองแพ คดี กอ นแลว กลับ มาอา งเหตุ
ที่ตนมิไดยกขึ้นเปนขอตอสูในคดีกอนมาเปนมูลเหตุฟองจําเลย
คดีนี้อีก ฟองโจทกทั้งสองคดีนี้จึงเปนการรื้อรองฟองกันอีกใน
ประเด็น ที่ไดวินิจ ฉัย โดยอาศัย เหตุอ ยางเดีย วกัน มาแลว เปน
ฟอ งซ้ําตองหามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจ ารณาความแพง
มาตรา ๑๔๘

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๔๕ วรรคสอง


คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๒๕/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๔ น.๑๓ การ
โอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงเรียนแกกันนั้น ตองไดรับ
อนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการโดยตองพิจารณาวาผูรับโอน
68

มีคุ ณ สมบั ติ ห รื อ ลั ก ษณะต อ งหา มตามกฎหมายหรื อ ไม ซึ่ ง


ถือเปนดุลพินิจของกระทรวงศึกษาธิการ คําพิพากษาของศาล
จึงไมอาจมีผลบังคับบุคคลภายนอกไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๕
วรรคสอง

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๔๖
คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๑๗๒-๓๑๗๓/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๕ น.
๑๒๘ คดีในสํานวนที่สองศาลอุทธรณพิพากษายืน ใหโจทกรับ
ผิด ต อ จํา เลยที่ ๑ เป น เงิ น ๔๙,๑๕๐ บาท ฎี ก าของโจทก ใ น
สํ า นวนที่ ส องจึ ง ต อ งห า มฎี ก าตาม ป.วิ . พ. มาตรา ๒๔๙
วรรคหนึ่ง ศาลฎีกาไมรับวินิจฉัย
คดีในสํานวนแรกเมื่อวินิจฉัยวา จําเลยที่ ๑ ประมาทฝาย
เดียวแลว จึงทําใหคําวินิจฉัยของศาลอุทธรณในสํานวนที่สอง
ที่วา ว. ผูขับรถคันที่โจทกรับประกันภัยมีสวนประมาทหนึ่งใน
สามสวน และจําเลยที่ ๑ มีสวนประมาทสองในสามสวน ขัดกับ
คําวินิจ ฉัย ของศาลฎีกา เมื่อ เปน เชน นี้ตองบัง คับตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๑๔๖ วรรคหนึ่ง โดยถือตามคําพิพากษาศาลฎีกาที่ฟงวา
จําเลยที่ ๑ ประมาทฝายเดียว โจทกจึงไมตองรับผิดตอจําเลยที่ ๑
ตามคําพิพากษาศาลอุทธรณในสํานวนที่สอง
69

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๔๘
คําพิพากษาฎีก าที่ ๒๕๗๐/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๑๑๕
คดีแพงเดิมของศาลชั้นตน ศาลไดมีคําพิพากษาถึงที่สุดแลวและ
คูความในคดีดังกลาวกับคูความในคดีนี้เปนคูความเดียวกัน แต
ประเด็นในเรื่องกอนมีวา จําเลยที่ ๑ ไดกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาท
โดยการครอบครองปรป ก ษ ห รื อ ไม ซึ่ ง ศาลในคดี ก อ นได
พิพากษายกคํารองขอโดยวินิจฉัยวา ผูรองซึ่งหมายถึงจําเลยที่ ๑
ในคดี นี้ อ า งว า ซื้ อ ที่ ดิ น พิ พ าทจากผู คั ด ค า นที่ ๑ และมี ก าร
สง มอบการครอบครองใหแกผูรอ งแล ว ขณะนั้น ที่ดิน พิพาท
มีเอกสารสิทธิเปน ส.ค.๑ เทากับผูรองอางการซื้อขายสมบูรณ
โดยการสง มอบการครอบครองแลว การที่ผูรอ งอางวาที่ดิน
พิพาทเปนของตนมาตั้งแตมีการซื้อขายกันโดยมิไดอางวาเปน
ของผูอื่น ยอมไมเขาองคประกอบในเรื่องครอบครองปรปกษ
ครั้นเมื่อผูคัดคานที่ ๒ ในคดีกอนกลับมาเปนโจทกฟองขับไล
จําเลยที่ ๑ ซึ่ง เป น ผูรอ งในคดีกอ นกั บบริว ารในคดีนี้ จําเลย
ทั้งสองก็ตอสูคดีและฟองแยงโดยอาศัยเหตุเรื่องที่จําเลยที่ ๑ ซื้อ
ที่ดินจากมารดาโจทกและไดเขาครอบครองทําประโยชนใน
ที่ดินติดตอกันเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน จําเลยที่ ๑ จึงเปนเจาของ
กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทอันเปนเหตุผลเดียวกันกับคํารองในคดี
กอน ยอมเทากับจําเลยที่ ๑ ตอสูวา จําเลยที่ ๑ ซื้อ ที่ดินพิพาท
70

และการซื้อขายสมบูรณโดยการสงมอบการครอบครอง จําเลย
ที่ ๑ จึงเปนเจาของที่ดินโดยการครอบครองแลวดังที่ศาลชั้นตน
วิ นิ จ ฉั ย ในคดี ก อ น จํ า เลยที่ ๑ จึ ง ฟ อ งแย ง ขอให โ จทก จ ด
ทะเบียนโอนที่ดิน พิพาทใหแกจําเลยที่ ๑ เปนผูถือกรรมสิทธิ์
มาดวย ประเด็นที่จะตองวินิจฉัยตามฟองแยงของจําเลยทั้งสอง
จึง มีวา จําเลยที่ ๑ ซื้อและครอบครองที่ดิน พิพาทจนไดสิทธิ
ครอบครองกอ นออกโฉนดที่ดินแลวหรือไม หรือ อีกนัยหนึ่ง
ประเด็นขอพิพาทมีวา ที่ดินพิพาทเปนของโจทกหรือของจําเลย
ที่ ๑ ซึ่งตางกับประเด็นวินิจฉัยในเรื่องกอน ฟองแยงของจําเลย
ที่ ๑ จึงมิใชเปนการรื้อ รองฟองกันอีกในประเด็นที่ไดวินิจฉัย
โดยอาศัย เหตุอ ยางเดียวกัน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๘ กรณีจึง
ไมเปนฟองซ้ํากับคดีแพงเดิมของศาลชั้นตน
คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๗๔๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๓ น.๙๐ คดี
กอน ศาลชั้นตนพิพากษายกฟองโดยวินิจฉัยวา ที่ดินพิพาทและ
โรงเรียนของจําเลยปลูกอยูบนที่ดินราชพัสดุ โจทกไมมีอํานาจ
ฟ อ ง โดยไม ไ ด วิ นิ จ ฉั ย ว า โจทก มี สิ ท ธิ ดี ก ว า จํ า เลยหรื อ ไม
อยางไร ศาลอุทธรณพิพากษายกคําพิพากษาศาลชั้นตน ใหศาล
ชั้นตนวินิจฉัย ในประเด็น วาโจทกไดรับความเสียหายหรือไม
เพี ย งใดเท านั้ น สว นประเด็ น ว า โจทก มี อํา นาจฟ อ งหรื อ ไม
วินิจฉัยวาโจทกมีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาทดีกวาจําเลย จึงมี
71

อํานาจฟองขับไลจําเลยออกจากบานที่เชาได แตไมไดวินิจฉัย
วาโจทกมีสิท ธิฟอ งขับไลจํ าเลยออกจากที่ดิ น พิพาทและให
รื้อถอนโรงเรือนที่จําเลยปลูกสรางในคดีนี้ไดหรือไม ประเด็น
ปญหาวา โจทกมี สิท ธิฟอ งขับ ไล จําเลยและบริว ารพรอ มให
รื้อถอนบานเพิงไมไดหรือไม เปนประเด็นที่ศาลชั้นตนและศาล
อุทธรณในคดีกอ นยังไมไดวินิจฉัย แมการวินิจฉัยประเด็น นี้
จะตอ งอาศัยเหตุอยางเดียวกันเชนคดีนี้ก็ตาม ก็ยังถือไมไดวา
เปนคดีที่มีคําพิพากษาถึงที่สุดในประเด็นที่ไดวินิจฉัยโดยอาศัย
เหตุอยางเดียวกันอันจะเปนฟองซ้ํา จึงไมตองหามที่โจทกฟอง
จําเลยเปนคดีนี้
คําพิพากษาฎีก าที่ ๘๔๔๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๙๓
คดีกอนโจทกฟองขอใหพิพากษาวาทางพิพาทเปนทางภาระ
จํายอมโดยอายุความ ศาลชั้น ตน และศาลอุทธรณ พิพากษาวา
เปน ทางภาระจํายอมแกที่ดิน ของโจทกโ ดยอายุความ คดีถึ ง
ที่สุดแลว ซึ่งสิทธิของโจทกที่ไดทางภาระจํายอมโดยอายุความ
ยอมไดรับการคุมครองตามกฎหมายอยูแลว โจทกมาฟองคดีนี้
ขอใหบังคับจําเลยจดทะเบียนทางพิพาทเปนทางภาระจํายอม
ดังนี้ แมคําขอบังคับทายฟองจะแตกตางกัน แตประเด็นที่ตอง
พิจารณาก็เนื่องมาจากมูลฐานเดียวกัน คือ ทางพิพาทเปนทาง
ภาระจํายอมหรือ ไม เปนกรณีที่โ จทกสามารถเรียกรองโดยมี
72

คําขอใหบังคับจําเลยจดทะเบียนทางพิพาทเปนทางภาระจํายอม
ในคดีกอนไดอยูแลว แตโจทกมิไดเรียกรองมาในคราวเดียวกัน
ในคดีกอ น กลับนํามาฟองเรีย กรอ งเพิ่ม เติม เปน คดีนี้ จึง เปน
ประเด็นที่วินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกัน เปนฟองซ้ํากับคดี
กอ นตาม ป.วิ. พ. มาตรา ๑๔๘ โจทก ห าอาจอา งความรู เ ท า
ไมถึงการณและความเขาใจคลาดเคลื่อนสําคัญผิดไปหาไดไม
คําพิพากษาฎีก าที่ ๘๒๗๕/๒๕๕๔ ฎ.๑๘๑๐ คดีกอ น
จําเลยเปนโจทกยื่น ฟอ งโจทกทั้ง สองเปนจําเลยโดยบรรยาย
ฟองวา จําเลยเปนผูซื้อ และรับโอนสิทธิเรียกรอ งในสินทรัพย
รวมทั้งหนี้สินที่โจทกทั้งสองมีอยูกับบริษัทเงินทุนหลักทรัพย
ส. เมื่อ วั น ที่ ๓๐ กั น ยายน ๒๕๔๒ และมีคํา ขอให ศาลมีคํา -
พิพากษาบังคับใหโจทกทั้งสองชําระหนี้ดังกลาว โจทกทั้งสอง
ใหการตอวา จําเลยคํานวณหนี้ผิดพลาดคลาดเคลื่อนไมถูกตอง
และเรี ย กดอกเบี้ย เกิน กวา ที่ ก ฎหมายกํ า หนด โจทก ทั้ ง สอง
ไมเ คยผิดนัดชําระหนี้ จําเลยบอกกลาวบัง คับจํานองไมชอบ
ดว ยกฎหมาย ดัง นี้ มู ล เหตุ ต ามข อ อ า งและคํา ขอบั ง คับ ของ
โจทกทั้ง สองคดีนี้ ที่วา สัญ ญาซื้อ ขายสิทธิเ รีย กรอ งระหวา ง
จําเลยกับ ปรส. เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๒ อันเกี่ยวกับมูล
หนี้ของโจทกทั้งสองตกเปนโมฆะ โจทกทั้งสองไมตองรับผิด
ตอจําเลยในฐานะผูรับโอน จึงเปนเรื่องที่เกิดขึ้ น กอ นที่โ จทก
73

ทั้ ง สองถู ก จํ า เลยฟ อ งให ชํ า ระหนี้ ใ นคดี ก อ นแล ว ข อ ต อ สู


ดัง กลาวโจทกทั้ง สองสามารถยกขึ้น เปน ขอ ตอ สูเ พื่อ ไมตอ ง
ชําระหนี้ใหแกจําเลยคดีกอนได แตโจทกทั้งสองก็มิไดยกขึ้น
กล า วอ า งเป น ข อ ต อ สู จนกระทั่ ง ศาลคดี ก อ นมี คํ า พิ พ ากษา
ใหโจทกทั้ง สองแพคดี โดยตอ งชําระหนี้ใหแกจําเลยและคดี
ถึ ง ที่ สุ ด แล ว คํ า พิ พ ากษาในคดี ก อ นจึ ง ผู ก พั น คู ค วามตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๕ และถือ
ไดวาศาลคดีกอนไดวินิจฉัยสิทธิตามสัญญาซื้อขายฉบับลงวันที่
๓๐ กันยายน ๒๕๔๑ ระหวางจําเลยกับ ปรส. วาถูกตองบังคับ
ได ดัง นั้น ประเด็น ขอ พิพาทตามฟอ งของโจทกทั้งสองคดี นี้
และคดี ก อ นจึ ง เป น ประเด็ น ขอ พิ พ าทซึ่ ง อาศัย มู ล เหตุ อ ย า ง
เดีย วกัน การที่ โ จทก ทั้ง สองแพ คดี กอ นแลว กลับ มาอา งเหตุ
ที่ตนมิไดยกขึ้นเปนขอตอสูในคดีกอนมาเปนมูลเหตุฟองจําเลย
คดีนี้อีก ฟองโจทกทั้งสองคดีนี้จึงเปนการรื้อรองฟองกันอีกใน
ประเด็น ที่ไดวินิจ ฉัย โดยอาศัย เหตุอ ยางเดีย วกัน มาแลว เปน
ฟอ งซ้ําตองหามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจ ารณาความแพง
มาตรา ๑๔๘
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๓๓๒/๒๕๕๓ ฎ.๒๕๐๗ คดีกอน
ศาลชั้นตนวินิจฉัยวา ผูลงนามในฐานะผูใหเชาซื้อแทนโจทกใน
สัญญาเชาซื้อกระทําโดยไมมีอํานาจ เทากับโจทกไมไดลงนาม
74

ในฐานะผูใหเชาซื้อ จึงถือวาไดทําสัญญาเชาซื้อกันเปนหนังสือ
มิได สัญญาเชาซื้อตกเปนโมฆะ ไมจําตองวินิจฉัยประเด็นอื่น
ที่อาศัยสิทธิตามสัญญาเชาซื้ออีก ใหยกฟองโจทก คดีถึงที่สุด
คดีนี้คําฟอ งของโจทกเ หมือนกับคดีกอ นทุก ประการ เมื่อ คดี
กอ นศาลไดมีคําพิพากษาถึง ที่สุดแลว โจทกจึง ไมอาจรื้อรอ ง
ฟองอีกไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา
๑๔๘

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๕๑
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๖๙/๒๕๕๔ ฎ.๓๑ จําเลยทิ้งฟอง-
แยง แมศาลชั้นตนมิไดสั่งจําหนายคดีในสว นฟองแยง แตการ
ทิ้งฟองแยงยอมลบลางผลแหง การยื่นคําฟองแยงนั้น รวมทั้ง
กระบวนการพิจารณาอื่น ๆ ซึ่งมีมาตอภายหลังยื่นคําฟองแยง
และกระทําใหคูความกลับคืนเขาสูฐานะเดิมเสมือนหนึ่งมิไดมี
การยื่นฟองแยงเลย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
มาตรา ๑๗๖ คําฟองแยงของจําเลยจึงมิไดยังคงอยูจนถึงวันที่ทํา
สัญญาประนี ประนอมยอมความที่ จ ะเขา เงื่อ นไขในการคื น
คาขึ้นศาลตามมาตรา ๑๕๑ วรรคสอง แหงประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพง ซึ่งใชบังคับอยูในขณะที่ศาลชั้นตนมีคําสั่ง
75

การที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งใหคาขึ้นศาลสําหรับฟองแยงเปนพับจึง
ชอบแลว
หมายเหตุ (โดยทานอาจารยสมชัย ฑีฆาอุตมากร) คําพิพากษา
ฎีก าฉบับนี้ ศาลชั้น ตน ถือวาจําเลยทิ้ง ฟองแยง และมีคําสั่ง ให
คาขึ้นศาลเปนพับ ทําใหคดีนี้เสร็จไปจากศาลชั้นตน โดยมิได
วินิจฉัยในประเด็นแหงคดี อันมีผลเทากับเปนการจําหนายคดี
เสียจากสารบบความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
แพ ง มาตรา ๑๓๑ (๒) และมาตรา ๑๓๒ แล ว เพี ย งแต ศ าล
ชั้นตนหลงลืมมิไดสั่งจําหนายคดีเพื่อประโยชนในการควบคุม
คดีในงานธุรการของศาลเทานั้น จึงมิใชเรื่องที่จะกลับไปยอน
วิ นิ จ ฉั ย ถึ ง การทิ้ ง ฟ อ งแย ง และผลแห ง การทิ้ ง ฟ อ งแย ง ตาม
มาตรา ๑๓๒ และมาตรา ๑๗๖ อีก
สวนการคืนคาธรรมเนียมศาลหรือคาขึ้นศาลในกรณีที่มี
การทิ้ง ฟอ ง ประมวลกฎหมายวิธีพิจ ารณาความแพ ง มาตรา
๑๕๑ ที่ใชบั ง คับเดิม มิ ไดบัญ ญัติให ศาลมี อํานาจที่จ ะสั่ง คื น
คาธรรมเนียมศาลไดเ ลย แตปจ จุบันเมื่อ ไดมีก ารประกาศใช
พระราชบัญญั ติแกไ ขเพิ่ม เติม ประมวลกฎหมายวิธีพิ จ ารณา
ความแพง (ฉบับที่ ๒๔) พ.ศ. ๒๕๕๑ มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่
๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ซึ่งมาตรา ๑๕๑ วรรคสาม ที่แกไขใหม
76

บัญ ญัติ ให ศาลมี อํ านาจที่จ ะสั่ ง คืน คา ขึ้น ศาลบางส ว นตามที่
เห็นสมควร คําพิพากษาฎีกาฉบับนี้ตัดสินตามบทกฎหมายเดิม

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๗๒
คําพิพากษาฎีกาที่ ๕๔๐/๒๕๕๕ ฎ.๔๖๘ ในการฟองคดี
แพง โจทกเพียงบรรยายฟองใหปรากฏขอเท็จจริงโดยแจงชัด
ซึ่งสภาพแหงขอหาและขออางที่อาศัยเปนหลัก แหงขอหา ศาล
มีหนาที่นําหลักกฎหมายมาปรับขอเท็จจริงแหงคดีวาขอเท็จจริง
นั้น ต อ งด ว ยบทบั ญ ญั ติก ฎหมายลั ก ษณะใด และมี ผลทํ า ให
จําเลยตองรับผิดตอโจทกหรือไม เพียงใด การที่โจทกนําสืบวา
โจทกมอบหมายให ป. นําที่ดินของโจทกไปขายโดยตั้งราคาไว
๒๐๐,๐๐๐ บาท หากขายไดเกินราคาที่ตั้งไว สวนที่เ กินโจทก
ยกใหแก ป. นั้น เปนไปตามคําฟอ ง จึง ไมเปนขอเท็จจริงนอก
คําฟอ ง ส ว น ป. จะเปน ตัว แทนหรือนายหนาของโจทก เปน
ปญหาที่ศาลจะตองวินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสํานวน
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๒๗๘๓/๒๕๕๔ ฎ. ๑๑๒๙ ฟ อ ง
เคลือบคลุมหรือไม ตองพิจารณาจากคําบรรยายฟองของโจทก
วาเปน คําฟอ งที่ไดแสดงโดยแจง ชัดซึ่ง สภาพแหง ขอ หาและ
คําขอบัง คั บ ทั้ง ขอ อ า งที่อ าศั ย เปน หลัก แหง ขอ หาเชน วานั้ น
ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ ง มาตรา ๑๗๒
77

วรรคสอง หรือไม สวนคําบรรยายฟองหรือคําเบิกความในคดี


อื่น ไม เ ปน ข อ ที่ จ ะนํา มาพิ จ ารณาว า ฟ อ งของโจทก ในคดี นี้
เคลือบคลุมหรือไม

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๗๓
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๒๗๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๔
ปญหาวาฟองแยงเปนฟองซอนหรือไมนั้น แมมูลคดีในคดีนี้กับ
ในคดีกอนเปน เรื่องเดีย วกัน แตในคดีกอนจําเลยฟอ งเรียกคา
ระวางจากบริ ษัท อ. และ ป. ในฐานะส ว นตั ว มิ ใช ใ นฐานะ
ตัว แทนโจทก คูความในคดีกอ นกับคดีนี้จึงเปน คนละคนกัน
ถือไมไดวาฟองแยงเปนฟองซอนกับฟองในคดีกอน ฟองโจทก
ไมเปนฟองซอน อยางไรก็ตาม หากจําเลยไดรับชําระหนี้ในมูล
เดีย วกัน กับมูล หนี้คดีนี้จ ากบริษัท อ. และ ป. จากผลแหง คดี
ดังกลาวไปกอนแลวจํานวนเทาใด ยอ มมีสิทธิไดรับชําระหนี้
จากโจทกในคดีนี้ล ดลงตามจํานวนเงิน ที่ไดรับชําระหนี้แลว
จึ ง สมควรกํ า หนดเงื่ อ นไขเกี่ ย วกั บ กรณี ดั ง กล า วไว ใ น
คําพิพากษาคดีนี้ดวย
78

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๗๔
คําสั่งศาลฎีกาที่ ๖๒๖๙/๒๕๕๔ ฎ.๑๓๗๗ ศาลชั้นตนมี
คําสั่ง ในฎีก าของจําเลยวา “รับฎีก า ใหจําเลยนําสง สําเนาให
โจทกแ กภ ายใน ๑๕ วั น นับ แตวั น นี้ หากสง ไมไ ดใ หแ ถลง
ภายใน ๑๕ วัน นับแตวันสงไมได มิฉะนั้นถือวาทิ้งฎีกา” โดยมี
คําสั่ ง ในวัน ที่ ๒๐ ธัน วาคม ๒๕๕๓ และในฎีก าของจํา เลย
หนาแรกมีขอความเปนตรายางประทับวา “ถาศาลไมอาจสั่งได
ในวันนี้ ผูยื่นจะมาติดตามเพื่อทราบคําสั่งทุก ๆ ๗ วัน มิฉะนั้น
ถื อ ว า ทราบคํ า สั่ ง แล ว ” โดยทนายจํ า เลยลงลายมื อ ชื่ อ ไว
ใตขอความดังกลาว ตองถือวาจําเลยทราบคําสั่งของศาลชั้นตน
แล ว และเปน หน าที่ ของจํ าเลยที่ จ ะตอ งนํ าส ง หมายนั ดและ
สําเนาฎีกาใหแกโจทกซึ่ง มีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลชั้นตนดว ย
ตนเอง การที่จําเลยเสียคาใชจายในการสงหมายนัดและสําเนา
ฎีก าโดยการวางเงิน ตอ ศาลชั้น ตน ตามระเบี ย บที่ศาลชั้ น ต น
กําหนด ไมทํ าใหจํ าเลยหมดหน าที่ จ ะตอ งจั ดการนํา สง ตาม
คําสั่ง ศาลชั้น ตน และจําเลยมีหนาที่ติดตามผลการสง หมายวา
สง ไดหรื อ ไม อ ยา งไร เมื่ อ เจ าหน าที่ศ าลไดนํา หมายนัด และ
สําเนาฎีกาไปสงใหแกโจทกเมื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๔ แต
สง ไม ไ ด เ พราะไม มี ผู ใ ดรั บ ไวแ ทน แม เ จ า หน า ที่ ศ าลจะทํ า
รายงานการสงหมายลงวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๔ รายงานตอ
79

ศาลชั้นตนและศาลชั้นตนมีคําสั่งใหรอจําเลยแถลงเมื่อวันที่ ๑๘
มกราคม ๒๕๕๔ ก็ตาม ก็ตองถือวาจําเลยทราบวาไมสามารถ
สงหมายนัดและสําเนาฎีกาใหโจทกไดตั้งแตวันที่เจาหนาที่ศาล
นําหมายไปสงใหแกโจทกในวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๔ แลว
เมื่อจําเลยไมแถลงภายใน ๑๕ วัน นับแตวันสงไมไดตามที่ศาล
ชั้น ตนกําหนด แตม ายื่น คําแถลงขอเวลาตรวจสอบภูมิลําเนา
ของโจทกในวันที่ ๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๔ ซึ่งเปนเวลาหลังจาก
นั้น ประมาณ ๑ เดื อ น จึ ง ถือ วาเปน การเพิ ก เฉยไม ดําเนิน คดี
ภายในเวลาที่ ศ าลชั้ น ต น กํ า หนด เป น การทิ้ ง ฟ อ งฎี ก าตาม
ประมวลกฎหมายวิ ธีพิ จ ารณาความแพ ง มาตรา ๑๗๔ (๒)
ประกอบมาตรา ๒๔๖ และ ๒๔๗

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๗๕
คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๘๗๙/๒๕๕๕ ฎ.๕๙๕ โจทกและ
จําเลยตางยังไมมีฝายใดนําพยานเข าสืบเพื่อสนับสนุน คําฟอ ง
หรือคําใหการของฝายตน การที่โจทกขอถอนฟองยอมเห็นได
วาไมมีเหตุที่จะทําใหจําเลยตองเสียเปรียบโจทกในเชิงคดี แม
จํ า เลยจะคั ด ค า นการที่ โ จทก ข อถอนฟ อ ง ศาลชั้ น ต น ก็ ใ ช
ดุลพินิจอนุญาตใหโจทกถอนฟองไดโดยชอบ
80

คําสั่งคํารอ งศาลฎีกา ท.๖๖๖/๒๕๕๓ ฎ.๒๕๖๙ โจทก


ถอนฎีกาเนื่องจากผลของคําพิพากษาศาลฎีกาในคดีอื่นตรงกับ
คําพิพากษาของศาลลางทั้งสองในคดีนี้ที่ยกฟองโจทก ทําให
โจทกไมมีสิทธิเรียกใหจําเลยโอนหุนของจําเลยรวมที่ถืออยูใน
บริษัทจําเลยแกโจทกในคดีนี้ตามฟอง การที่โจทกถอนคําฟอง
ฎีกายอมจะทําใหคดีเ สร็จ เด็ดขาดไป นับวาเปนประโยชนแก
จําเลยและจําเลยรวม มิไดมีลักษณะเปนการเอารัดเอาเปรียบใน
เชิง คดี หรือ ทําใหจําเลยและจําเลยรวมเสีย หาย แมจําเลยและ
จําเลยรวมคัดคานคํารองขอถอนคําฟองฎีกาของโจทก ศาลฎีกา
ก็อนุญาตใหโจทกถอนคําฟองฎีกาได
ขอสังเกต คดีแพงแมจําเลยจะคัดคานคํารองขอถอนฟอ งของ
โจทก ศาลก็ อ นุ ญ าตใหโ จทก ถ อนฟ อ งได แตค ดี อ าญาหาก
จําเลยซึ่งยื่นคําใหการแลวคัดคานคํารองขอถอนฟองของโจทก
ศาลตองยกคํารองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๓๕
คําพิพากษาฎีก าที่ ๓๖๖–๓๖๗/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๔
โจทกเปนนิติบุคคลอาคารชุด ยอมมีผูจัดการนิติบุคคลเปนผูมี
อํานาจกระทําการแทน ซึ่ง การพิจ ารณาวาผูจัดการนิติบุคคล
อาคารชุ ด ที่ มี อํ า นาจกระทํ า การแทนโจทก ข ณะที่ โ จทก ยื่ น
คํารองขอถอนอุทธรณและขอถอนทนายความแทนโจทกตอง
81

ถือเอาผูจัดการนิติบุคคลอาคารชุดตามรายการจดทะเบียนและ
รายการเปลี่ ย นแปลงข อ บั ง คั บ ของนิ ติ บุ ค คลอาคารชุ ด นั้ น
ตอ พนัก งานเจาหนาที่ แมผูคัดคานซึ่ง เปน ผูจัดการนิติบุคคล
อาคารชุ ด คนเดิ ม จะเป น ผู ยื่ น ฟ อ ง ยื่ น อุ ท ธรณ แ ละเป น ผู ล ง
ลายมื อ ชื่ อ แต ง ทนายความไว ก็ ต าม แต เ มื่ อ โจทก ไ ด มี ก าร
จดทะเบีย นเปลี่ย นแปลงผูจัดการนิ ติบุ คคลอาคารชุดมาเป น
จําเลยที่ ๗ แลว จําเลยที่ ๗ ยอมมีอํานาจถอนอุทธรณและถอน
ทนายความแทนโจทกได โดยถือ ว าเป น ความประสงคของ
โจทก ทั้งการถอนอุทธรณและถอนทนายความโจทกก็เปนสิทธิ
ของโจทก ไมถือ เปนการใชสิทธิโ ดยไมสุจ ริต ที่ศาลอุทธรณ
มีคําสั่ง อนุญาตใหโ จทกถอนอุท ธรณและถอนทนายความได
จึงเปนคําสั่งที่ชอบแลว

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๗๖
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๙๘-๑๙๒๑/๒๕๕๕ ฎ.๓๑๑ โจทก
ที่ ๘ ถอนคําฟองและศาลจําหนายคดีเฉพาะโจทกที่ ๘ ออกจาก
สารบบความแลว การถอนคําฟองยอ มลบลางผลแหงการยื่น
คําฟองนั้น รวมทั้งกระบวนพิจารณาอื่น ๆ อันมีมาตอภายหลัง
ยื่น คําฟอ ง และกระทํา ใหคูความกลับคืน สูฐานะเดิม เสมือ น
หนึ่ง มิไดมีก ารยื่นฟองเลย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
82

ความแพง มาตรา ๑๗๖ โจทกที่ ๘ จึงมิใชคูความและมิไดถูก


กระทบสิทธิจึงไมมีสิทธิอุทธรณ

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๗๗ วรรคสอง


คําพิพากษาฎีก าที่ ๑๗๑๐/๒๕๕๕ ฎ.๒๙๕ คําใหก าร
ของจําเลยมิไดใหการถึงการมอบอํานาจของจําเลยในการขาย
ฝากที่ดินพิพาท และมิไดใหการปฏิเสธวาลายมือชื่อของจําเลย
และลายมือชื่อ ย. ซึ่งเปนผูรับมอบอํานาจของจําเลยในสัญญา
ขายฝากเปนลายมือชื่อปลอม แมจําเลยจะนําสืบตอสูวา ลายมือ
ชื่อในหนังสือมอบอํานาจของจําเลยและลายมือชื่อของ ย. ผูรับ
มอบอํานาจจําเลยในสัญญาขายฝากเปนลายมือชื่อปลอม และ
ฎีกาปญหาดังกลาว ถือวาเปนขอที่มิไดวากันมาแลวโดยชอบใน
ศาลชั้นตนและศาลอุทธรณ
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๐๖๙/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๓๘
คําใหการของจําเลยที่วา ที่ดินสวนที่จําเลยคัดคานเปนที่ดินของ
จําเลยเอง หากไมใชที่ดินของจําเลย จําเลยก็ไดครอบครองโดย
สงบเป ด เผยเป น ระยะเวลาติ ด ต อ กั น เกิ น กว า ๑๐ ป จนได
กรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง ถือเปนคําใหการที่ไมชัดแจง
เพราะคําใหการของจําเลยในตอนหลังขัดแยงกันคําใหการของ
จําเลยในตอนแรก คําใหการในตอนหลังนี้เทากับจําเลยไดให
83

การวา ที่ดิน พิพาทไมไดเ ปน ของจําเลยแตจําเลยครอบครอง


ติดตอกันโดยสงบเปดเผยติดตอกันเกินกวา ๑๐ ป เมื่อคําใหการ
ของจําเลยขัดแยงกัน จึงเปนคําใหการที่ไมมีประเด็นเรื่องจําเลย
ไดกรรมสิทธิ์โดยการครอบครองหรือไม เพราะการครอบครอง
ปรปกษมีไดแตเฉพาะในที่ดินของผูอื่นเทานั้น
คําพิพากษาฎีก าที่ ๑๓๘๕/๒๕๕๔ ฎ. ๙๕๗ จําเลยที่ ๑
ใหก ารแตเพียงวา ฟองโจทกขาดอายุความแลว กลาวคือ เช็ค
แตละฉบับลงวันที่เทาใด โจทกใชอุบายหลอกลวงใหจําเลยที่ ๑
แกไขวัน เดือนปในเช็คเปนวันที่เทาใด จําเลยที่ ๑ มิไดใหการ
โดยชัดแจงวาอายุความนับตั้งแตวันที่เทาใด เช็คขาดอายุความ
แลวตั้งแตเมื่อใด และจะครบกําหนด ๑ ป วันใด เปนคําใหการ
ที่ไมชัดแจงไมชอบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง จึงไมมีประเด็นเรื่องอายุความ
จําเลยที่ ๑ เพียงแตใหการวา โจทกและจําเลยที่ ๒ โดย
ทุจริตรวมกันไดนําเช็คพิพาทมาฟองจําเลยที่ ๑ เปนการใชสิทธิ
โดยไมสุจริต มิไดใหการโดยชัดแจงวาโจทกรับโอนเช็คพิพาท
จากจําเลยที่ ๒ โดยคบคิดกันฉอฉลและคบคิดกันฉอฉลอยางไร
รวมทั้ ง ไม สุ จ ริ ต หรื อ ทุ จ ริ ต ร ว มกั น นํ า เช็ ค มาฟ อ งอย า งไร
จึงไมมีประเด็นวาคบคิดกันฉอฉล ตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๙๑๖ รวมทั้งใชสิทธิโดยไมสุจริตหรือไม
84

คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๕๖๙๑/๒๕๕๔ ฎ.๑๓๐๐ ป.วิ . พ.


มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง กําหนดใหจําเลยแสดงโดยชัดแจงใน
คําใหการวา จําเลยยอมรับหรือปฏิเสธขออางของโจทกทั้งสิ้น
หรื อ แตบ างสว นรวมทั้ ง เหตุ แ หง การปฏิ เ สธนั้ น ดว ย จํา เลย
ทั้งสองใหการเพียงวา คดีขาดอายุความเนื่องจากจําเลยทั้งสอง
ไดรับโอนที่ดินพิพาทมาเปนเวลาเกิน ๑๐ ป ไดทําประโยชนใน
ที่ดินโดยสงบเปดเผยและเจตนาเปนเจาของตลอดมา ไมมีผูใด
โตแยง คัดคาน ซึ่ง คําใหก ารของจําเลยทั้ง สองดัง กลาวไมได
แสดงเหตุแหงการขาดอายุความใหชัดแจงวา คดีขาดอายุความ
เรื่องฟองคดีมรดก และโจทกที่ ๑ มีสิทธิเรียกรองตั้งแตเมื่อใด
นับแตวันใดถึง วันฟอง คดีจึง ขาดอายุความไปแลว คําใหการ
ของจําเลยทั้งสองในสวนนี้จึงไมชอบดวย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗
วรรคสอง คดีไม มีป ระเด็ น เรื่อ งอายุความ ที่ศาลล างทั้ง สอง
วินิจ ฉัย วา คดีโ จทกขาดอายุค วามฟอ งคดีม รดกตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๗๕๔ วรรคท า ย จึ ง เป น การวิ นิ จ ฉั ย นอกประเด็ น
ไมชอบดว ย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ วรรคหนึ่ง ปญหาดัง กลาว
เปน ปญหาขอ กฎหมายอัน เกี่ย วดว ยความสงบเรีย บรอ ยของ
ประชาชน แมไมมีคูความใดยกขึ้นอาง ศาลฎีกาก็มีอํานาจยกขึ้น
วินิจฉัยไดเองตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕)
85

คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๒๗๑/๒๕๕๔ ฎ.๑๓๙๔ คําใหการ


ของจําเลยที่ ๓ ตอสูเรื่องอายุความไวเพียงวา โจทกไดฟองรอง
เกิน กวากําหนดอายุความฝากทรัพยและอายุความละเมิดแลว
โจทกจึงไมมีสิทธิเรียกรอง เปนคําใหการที่มิไดแสดงเหตุแหง
การขาดอายุความวาคดีโจทกขาดอายุความเพราะอะไร ทําไม
ถึง ขาดอายุ ค วาม ถื อ เป น คํ า ให ก ารที่ไ ม ชั ด แจ ง ไม ชอบด ว ย
กฎหมาย ทั้งปญหาเรื่องคดีขาดอายุความเปนปญหาขอเท็จจริง
ที่คูความตอ งนําสืบ และหากเปน ปญหาขอ กฎหมาย ก็ไ มใช
ขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาล
ไมอาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเองได
ขอสังเกต ในคดีอ าญาปญหาวาคดีขาดอายุความหรือไม เปน
ปญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบรอย ศาลยกขึ้นวินิจฉัยไดเอง
คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๒๖๒/๒๕๕๔ ฎ.๑๓๗๓ โจทกฟอง
วาที่ดินพิพาทเปนที่ดินของโจทก จําเลยบุกรุกเขามาทําประตู
และรั้ว ยาวประมาณ ๖ เมตร สูงประมาณ ๒ เมตร ปดกั้น ใน
ที่ ดิ น ขอให บั ง คั บ จํ า เลยรื้ อ ถอนประตู แ ละรั้ ว และชดใช
คาเสีย หาย จําเลยใหการในตอนแรกวา จําเลยซื้อที่ดิน จัดสรร
จากโจทก ๘ แปลง รวมทั้ง ที่ดิน พิพาทในราคา ๓,๙๐๐,๐๐๐
บาท ตั้ ง แต วั น ที่ ๒๙ มี น าคม ๒๕๓๙ โจทก เ องก็ ย อมรั บ
กรรมสิทธิ์ของจําเลยเหนือที่ดินพิพาท เทากับจําเลยอางวาที่ดิน
86

พิพาทดังกลาวเปนของจําเลย แตจําเลยกลับใหการในตอนหลัง
ว า ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ทางสาธารณะ โจทก จึ ง ไม ใ ช ผู เ สี ย หาย
คําใหการในตอนหลังจึงขัดแยงกับคําใหการในตอนแรกซึ่งอาง
วาที่ดินพิพาทเปนของจําเลย คําใหการของจําเลยจึงไมชัดแจง
วาที่ดินพิพาทเปน ของจําเลยหรือเปน ทางสาธารณะ ไมชอบ
ด ว ยประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ ง มาตรา ๑๗๗
วรรคสอง คดี ไม มี ประเด็น ขอ พิพ าทว าที่ ดิน พิพ าทเป น ทาง
สาธารณะหรื อ ไม จํ า เลยอุ ท ธรณ ว า ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ทาง
สาธารณประโยชน โจทกไมไดรับความเสียหายจึงไมมีอํานาจ
ฟอ ง จึ ง เปน ข อ ที่ ไ ม ไ ดย กขึ้ น ว า กั น มาแล ว โดยชอบในศาล
ชั้น ตน ไมช อบด ว ยประมวลกฎหมายวิธีพิจ ารณาความแพ ง
มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง
คําพิพากษาฎีกาที่ ๗๗๘๔/๒๕๕๔ ฎ.๑๔๕๗ คําใหการ
ของจําเลยที่วาโจทกจะมอบอํานาจให ก. เปนผูรับมอบอํานาจ
ช ว งทํ า การแทนหรื อ ไม จํ า เลยไม ท ราบและไม ข อรั บ รอง
หนังสือ มอบอํานาจเอกสารทายฟอ งเปนเพียงสําเนา จะมีการ
เปลี่ยนแปลงอํานาจที่เคยมอบกันไวหรือไม ทั้งทําขึ้นโดยชอบ
และถูกตองตามกฎหมายหรือไม จําเลยไมอาจทราบได ในชั้นนี้
จําเลยจึง ยัง ยอมรับไมได วาหนัง สือ มอบอํานาจทั้ง สองฉบับ
ถูกตองแทจริงและใชบังคับไดตามกฎหมายและขอปฏิเสธวา
87

หนังสือมอบอํานาจของโจทกไมชอบ ผูรับมอบอํานาจโจทก
ไมมีอํานาจฟอ งจําเลย เปน คําใหก ารที่ไมไดความชัดแจง ว า
จําเลยปฏิเสธฟองของโจทกวาการมอบอํานาจใหฟองคดีของ
โจทกไมถูกตองหรือไมชอบดวยกฎหมายอยางไร ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง จึงไม
ทําใหเกิดประเด็นขอพิพาทใหศาลวินิจฉัย และถือวาจําเลยรับ
ขอเท็จจริงในเรื่องการมอบอํานาจใหฟองคดีแลว

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๗๗ วรรคสาม


คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๖๔/๒๕๕๕ ฎ.๒๐๘ โจทก ฟ อ ง
ขับไลจําเลยโดยอางวาจําเลยปลูกสรางบานรุกล้ําในที่ดินของ
โจทก ส ว นจํ า เลยอ า งว า ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ของจํ า เลย หาก
ข อ เท็ จ จริ ง ได ค วามว า ที่ ดิ น เป น ของโจทก จํ า เลยก็ จ ะต อ ง
รื้อถอนบานสวนที่รุกล้ําออกไปและไมอาจฟองเรียกคาเสียหาย
จากการที่อางวาโจทกขัดขวางหามปรามการกอ สรางตอ เติม
บานของจําเลย หากขอเท็จจริงไดความวาที่ดินเปนของจําเลย
จึงจะมีขอพิจารณาตอไปวาการที่โจทกขัดขวางหามปรามการ
กอสรางตอเติมบานจําเลย จะเปนละเมิดและมีความเสียหายตอ
จําเลยหรือไมเพียงใด ความเสียหายตามฟองแยงของจําเลยจะ
เกิดมีขึ้นไดก็โดยอาศัยผลคดีนี้เปนสําคัญ หากยังไมปรากฏผล
88

คดี นี้ข อ โตแ ยง สิท ธิร ะหวา งโจทก กับ จํา เลยจึ ง ยั ง ไมเ กิด ขึ้ น
จําเลยยังไมอาจนําคดีมาฟองได ฟองแยงของจําเลยเปนฟองแยง
ที่มีเงื่อนไขซึ่งถือวาไมเกี่ยวกับฟองเดิม
คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๕๐๔/๒๕๕๔ ฎ.๔๗๒ ตามคําฟอง
ของโจทกเปนเรื่องที่โจทกฟองหยาจําเลยที่ ๑ โดยอางวา จําเลย
ที่ ๑ เปนชูกับจําเลยที่ ๒ พรอมเรียกคาทดแทนจากจําเลยที่ ๒
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๒๓ อัน เปน เรื่อ งเกี่ย วกับการสิ้น สุด
แหง การสมรส สว นฟอ งแยง ของจําเลยที่ ๒ ที่อา งวา โจทก
เอาความเท็จมาฟองรองดําเนินคดีแกจําเลยที่ ๒ โดยไมสุจริต
การที่ โ จทก ไ ปร อ งเรี ย นต อ ผู บั ง คั บ บั ญ ชาของจํ า เลยที่ ๒
ทํ า ให จํ า เลยที่ ๒ ถู ก ตั้ ง คณะกรรมการสอบสวนทางวิ นั ย
หากคณะกรรมการหลงเชื่อจะทําใหจําเลยที่ ๒ ถูกออกจากงาน
และเสื่อมเสียชื่อเสียง ขอใหโจทกชดใชคาเสียหายนั้น เปนคดี
อัน เกิดแตมูลละเมิดซึ่ง ไม ไดอ าศัย เหตุแหง การหยาและเรีย ก
คาทดแทนตามฟองเดิมเปนมูล หนี้ แตเปนการอางการกระทํา
อี ก ตอนหนึ่ ง ของโจทก อั น เป น คนละเรื่ อ งคนละประเด็ น
แตกต า งกั น กั บ คํ า ฟ อ งเดิ ม ฟ อ งแย ง ของจํ า เลยที่ ๒ จึ ง
ไม เ กี่ ย วกั บ คํ า ฟ อ งเดิ ม ไม ช อบด ว ย ป.วิ . พ. มาตรา ๑๗๗
วรรคสาม ประกอบ พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัว และ
วิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๓ มาตรา ๖
89

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๘๐
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๓๖๔๒/๒๕๕๕ ฎ. ๘๒๓ จํ า เลย
ยื่นคํารองขอแกไขคําใหการวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๓ กอนศาล
ชั้นตนนัดชี้สองสถานวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๓ ถือวาจําเลยได
ยื่น คํ าร อ งขอแกไ ขคํ าให ก ารก อ นวั น ชี้ ส องสถาน ชอบด ว ย
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๐ แลว สวนคํารอ งขอใหหมายเรียกบุคคล
ภายนอกเข า มาเป น จํ า เลยร ว ม จํ า เลยทั้ ง สองยื่ น ในวั น ที่ ๓
กันยายน ๒๕๕๓ พรอมกับคํารองขอแกไขคําใหการถือไดวา
เปนการยื่นพรอมกับคําใหการชอบดวยมาตรา ๕๗ (๓)
คําพิพากษาฎีกาที่ ๘๐๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๗ น.๕ คํารอ ง
ขอแกไขคําใหการวาโจทกไมมีอํานาจฟองเพราะจําเลยไมเคย
กูและรับเงินจากโจทกจึงไมผิดสัญญาและไมตองรับผิดในหนี้
ใด ๆ เปนเรื่องที่จําเลยทราบดีตั้งแตกอนยื่นคําใหการตอสูคดี
ไมใชกรณีเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยฯ จะยื่นขอแกไขหลังวัน
สืบพยานไมไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๐ สวนที่อางวาผูรับมอบ
อํานาจชวงไมมีอํานาจฟองคดี เพราะโจทกจดทะเบียนใหมโดย
ยังไมไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาทําใหกรรมการโจทกไมมี
อํานาจมอบอํานาจ ทําใหหนังสือมอบอํานาจและหนังสือมอบ
ฉันทะสิ้นผล เปนเรื่องเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยฯ ศาลชั้นตน
ชอบที่จะอนุญาตใหแกไขเพิ่มเติมคําใหการได
90

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๙๑ วรรคสอง


คํา พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๒๔๗๒/๒๕๕๔ ฎ.๑๐๙๑ คดี ที่ มี
คําขอปลดเปลื้องทุกขอัน อาจคํานวณเปนราคาเงินไดไมเ กิน
๓๐๐,๐๐๐ บาท เปนคดีมโนสาเร ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๙ (๑)
ซึ่ง กรณีโ จทกยื่น คําฟอ งเปน หนัง สือ หากศาลเห็น วาคําฟอ ง
ดัง กลา วไมถู ก ตอ งหรือ ขาดสาระสําคั ญบางเรื่ อ ง ศาลอาจมี
คําสั่งใหโจทกแกไขคําฟองในสวนนั้นใหชัดเจนขึ้น ก็ได ตาม
ป.วิ . พ. มาตรา ๑๙๑ วรรคสอง ซึ่ ง เป น วิ ธี พิ จ ารณาความที่
กําหนดไวสําหรับการพิจารณาคดีมโนสาเร บทบัญญัติดังกลาว
เปนการใหดุลพินิจศาลที่จะสั่งหรือไมสั่งใหโจทกแกไขคําฟอง
คํ า ฟ อ งคดี ม โนสาเร ข องโจทก ร ะบุ ว า โจทก ใ ช ชื่ อ ในการ
ประกอบกิจการวาบริษัทพิพัฒน ซิเ คีย วริตี้ก ารด จํากัด เพีย ง
แหงเดีย ว แตแหง อื่น ๆ ทุกแหงรวมทั้ง สําเนาหนังสือรับรอง
เอกสารท ายฟอ งโจทก ลว นใชชื่อถูก ตอ งวาบริษัทเลิศพรชัย
จํากัด แสดงชัดเจนในตัววานาจะเปนการพิมพชื่อผิดไป จะไม
แกไขหรือแกไขก็เปนเรื่องเล็กนอยไมมีผลแกคดี ซึ่งก็ไดความ
วาโจทกแกไขสว นนี้แลว และในสว นของการวาจางซึ่ง เปน
สัญญาจางทําของ คําฟอ งบรรยายเขาใจไดแลว วา จําเลยจาง
โจทกทําอะไรให ระหวางเวลาใด และโจทกทํางานตามที่จาง
91

แลวเปนคาจางคางชําระเทาใด ยอมชัดเจนเรื่องสภาพแหงขอหา
และคําขอบังคับแลว คําฟองจึงไมเคลือบคลุมดวย

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๑๙๘ ทวิ


คําพิ พากษาฎี ก าที่ ๙๕๕๑/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๗ น.๒๐๖
เมื่อจําเลยที่ ๙ และที่ ๑๐ ขาดนัดยื่นคําใหการ ศาลตองพิจารณา
วาคําฟองของโจทกสําหรับจําเลยที่ ๙ และที่ ๑๐ มีมูลและไมขัด
ตอกฎหมายหรือไม หากเห็นวามีมูลและไมขัดตอกฎหมาย ศาล
ก็ตองพิจารณาใหโจทกเปนฝายชนะคดีไปตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๑๙๘ ทวิ วรรคหนึ่ง และเมื่อโจทกมีคําขอบังคับใหจําเลยที่ ๙
และที่ ๑๐ ชําระหนี้ เ ปน เงิน จํานวนแน น อนและโจทกไดส ง
พยานเอกสารแทนการสืบพยานตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๙๘ ทวิ
วรรคสาม (๑) แลว ศาลยอมพิพากษาใหจําเลยที่ ๙ และที่ ๑๐
รับผิดตอโจทกตามฟองได
สวนจําเลยที่ ๑ ถึงที่ ๘ แถลงสละประเด็นขอตอสูตาม
คํ า ให ก ารทั้ ง หมด กรณี ย อ มถื อ ได ว า จํ า เลยที่ ๑ ถึ ง ที่ ๘ ได
ยอมรั บ ว า เป น หนี้ โ จทก จ ริ ง ตามฟ อ ง โจทก ไ ม ต อ งนํ า สื บ
ขอเท็จจริงในประเด็นนี้อีกตอไปตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๔ (๓)
ขอเท็จจริงจึงรับฟงไดตามฟองและศาลยอมพิพากษาใหจําเลย
ดังกลาวชําระหนี้ตามฟองแกโจทกได
92

อุทธรณและฎีกา
ขอ ๖ คําถาม โจทกทั้งสองฟองวา โจทกทั้งสองเปน
เจาของที่ดิน มือ เปลาติดแมน้ํา จําเลยรัง วัดเพื่อ ขอออกโฉนด
ที่ดินรุกล้ําที่ดินของโจทกทั้งสอง จําเลยใหการวาที่ดินดังกลาว
เป น ที่ ง อกจากที่ดิ น ของจํ าเลย จึ ง เปน กรรมสิ ท ธิ์ข องจํ าเลย
ระหวางพิจารณาโจทกที่ ๒ ยื่นคํารองขอถอนฟองจําเลย จําเลย
ไมคาน ศาลชั้นตนอนุญาตใหโจทกที่ ๒ ถอนฟอง และมีคําสั่ง
จํ า หน า ยคดี โ จทก ที่ ๒ ออกจากสารบบความ ศาลชั้ น ต น
พิจารณาแลว วินิจฉัยวาที่ดินพิพาทเปนที่ดินที่จําเลยถมขึ้นมา
ไมใชที่ง อกตามธรรมชาติ จึง เปน ที่ชายตลิ่ง อัน เปน สาธารณ
สมบัติของแผนดิน โจทกไมมีอํานาจฟอง พิพากษายกฟอง
ใหวินิจ ฉัย วา ก. โจทกที่ ๒ จะอุทธรณวาที่ดิน พิพาท
เปนของโจทกที่ ๒ ไดหรือไม
ข. จําเลยจะอุทธรณวาที่ดิน พิพาทเปน ที่งอกจากที่ดิน
ของจําเลยไดหรือไม
ขอ ๖ คํา ตอบ ก. โจทกที่ ๒ ขอถอนฟอ ง ศาลชั้น ต น
อนุญาตและสั่ง จําหนายคดีโ จทกที่ ๒ ออกจากสารบบความ
แลว การถอนคําฟอ งยอ มลบลางผลแหงการยื่น คํ าฟอ งนั้ น
รวมทั้งกระบวนพิจารณาอื่น ๆ อันมีม าตอภายหลังยื่นคําฟอ ง
93

และกระทําใหคูความกลับคืนสูฐานะเดิมเสมือนหนึ่งมิไดมีการ
ยื่นฟองเลย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา
๑๗๖ แมศาลชั้นตนวินิจฉัยวาที่ดินพิพาทเปนที่ชายตลิ่งอันเปน
สาธารณสมบัติของแผนดิน แตโจทกที่ ๒ มิใชคูความ และมิได
ถู ก กระทบสิ ท ธิ โจทก ที่ ๒ จึ ง ไม มี สิ ท ธิ อุ ท ธรณ (เที ย บ
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๙๘-๑๙๒๑/๒๕๕๕)
ข. แมศาลชั้นตนพิพากษายกฟอง แตคําวินิจฉัยวาที่ดิน
พิพาทเปนสาธารณสมบัติของแผนดินไมใชที่งอก กระทบสิทธิ
ของจําเลย จําเลยจึงอุทธรณวาที่ดินพิพาทเปนที่งอกจากที่ดิน
ของจําเลยได (คําพิพากษาฎีกาที่ ๗๗๙/๒๕๕๕ ฎ. ๖๔๗)
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๙๘-๑๙๒๑/๒๕๕๕ ฎ.๓๑๑ โจทก
ที่ ๘ ถอนคําฟองและศาลจําหนายคดีเฉพาะโจทกที่ ๘ ออกจาก
สารบบความแลว การถอนคําฟองยอ มลบลางผลแหงการยื่น
คําฟองนั้น รวมทั้งกระบวนพิจารณาอื่น ๆ อันมีมาตอภายหลัง
ยื่น คําฟอ ง และกระทํา ใหคูความกลับคืน สูฐานะเดิม เสมือ น
หนึ่ง มิไดมีก ารยื่นฟองเลย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพง มาตรา ๑๗๖ โจทกที่ ๘ จึงมิใชคูความและมิไดถูก
กระทบสิทธิจึงไมมีสิทธิอุทธรณ
94

คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๗๗๙/๒๕๕๕ ฎ. ๖๔๗ ศาลล า ง


ทั้งสองพิพากษายกฟอง แตคําพิพากษาของศาลชั้นตนที่วินิจฉัย
วาที่ดินพิพาทที่เกิดขึ้นเปนที่สาธารณสมบัติของแผนดิน มิใช
ที่งอกของจําเลยที่ ๑ เปนคําพิพากษาที่กระทบสิทธิของจําเลย
ที่ ๑ จําเลยที่ ๑ ยอมมีสิทธิอุทธรณได เมื่อศาลอุทธรณพิพากษา
ยืน จําเลยที่ ๑ มีสิทธิโตแยงคําพิพากษาของศาลอุทธรณ

ขอ ๗ คําถาม โจทกฟอ งวา จําเลยยกที่ดิน มีโ ฉนดให


มารดาโจทกจํานวน ๓ แปลง ปจจุบันราคาแปลงละ ๔๐,๐๐๐
บาท มารดาโจทก ค รอบครองที่ ดิ น และยกให โ จทก โจทก
ครอบครองที่ดิ น ตอ มาจนไดก รรมสิทธิ์ โ ดยการครอบครอง
ปรปกษ จําเลยเขามาแยงที่ดินคืน จากโจทก ขอใหศาลขับไล
จํา เลยและบริว าร จํ าเลยให ก ารปฏิ เ สธว าไม เ คยยกที่ ดิน ให
มารดาโจทก ศาลชั้ น ต น พิ จ ารณาแล ว วิ นิ จ ฉั ย ว า โจทก ไ ด
กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น ทั้ ง ๓ แปลงโดยการครอบครองปรป ก ษ
พิพากษาขับไลจําเลยและบริวารออกจากที่ดิน จําเลยอุทธรณวา
๑. จําเลยไมเคยยกที่ดินใหมารดาโจทก ๒. ฟองโจทกเคลือ บ
คลุม ขอใหศาลอุทธรณพิพากษากลับใหยกฟอง
ให วิ นิ จ ฉั ย ว า ศาลชั้ น ต น จะสั่ ง อุ ท ธรณ ข องจํ า เลย
อยางไร
95

ขอ ๗ คําตอบ โจทกฟอ งวา จําเลยยกที่ ดิน มีโ ฉนดให


มารดาโจทกสามแปลง มารดาโจทกครอบครองที่ดินและยกให
โจทก โจทกครอบครองที่ดินตอมาจนไดกรรมสิทธิ์ จําเลยให
การปฏิเสธวาไมเคยยกที่ดินใหมารดาโจทก จึงเปนคดีพิพาท
เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในที่ดินทั้งสามแปลงเปนคดีมีทุนทรัพย และ
ศาลจะตอ งแยกพิจารณาที่ดินแตละแปลงออกตางหากจากกัน
เปนรายแปลง ราคาทรัพยสินหรือจํานวนทุนทรัพยที่พิพาทกัน
ในชั้น อุ ท ธรณ จึงตอ งแยกพิ จารณาออกตามราคาที่ดิ น แตล ะ
แปลง คดีนี้จึงเปนคดีมีราคาทรัพยสินหรือจํานวนทุนทรัพย ที่
พิพาทในชั้นอุทธรณ ไมเกิน หาหมื่นบาทตองหามมิใหคูความ
อุท ธรณปญหาข อ เท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจ ารณา
ความแพง มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง
ที่จําเลยอุทธรณวา จําเลยไมเคยยกที่ดินใหมารดาโจทก
เปน การอุทธรณโตแ ยงดุล พินิจการรับฟงพยานหลักฐานของ
ศาลชั้ น ตน ซึ่ งเป น ปญหาขอ เท็จจริง เมื่อ คดี นี้เ ป น คดีมี ร าคา
ทรัพยสินหรือจํานวนทุนทรัพยที่พิพาทในชั้นอุทธรณไมเกินหา
หมื่นบาท จึงตองหามมิใหอุทธรณตามมาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง
(คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๗๖๙/๒๕๕๔, ที่ ๓๖๘๒/๒๕๕๔)
96

สวนที่จําเลยอุทธรณวา ฟอ งโจทกเคลือบคลุม แมจะ


เป น ป ญ หาข อ กฎหมาย แต ฟ อ งเคลื อ บคลุ ม หรื อ ไม ไม ใ ช
ป ญ หาข อ กฎหมายอั น เกี่ ย วด ว ยความสงบเรี ย บร อ ยของ
ประชาชน เมื่อ จําเลยไมไดใหการตอ สูคดีไว จึงเปน ปญหาที่
มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลชั้นตนตองหามอุทธรณ
ตามมาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง
ศาลชั้นตนตองสั่งไมรับอุทธรณของจําเลย
คําพิพากษาฎีก าที่ ๓๖๘๒/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๑๐๕
โจทกฟองขอใหบังคับจําเลยสงมอบโฉนดที่ดินพิพาทรวม ๘
โฉนดแกโจทก ใหขับไลจําเลยและบริวารออกจากที่ดินพิพาท
จําเลยใหการและฟองแยงวา ที่ดินพิพาททั้งแปดแปลงเปนของ
จําเลย กรณีจึงเปนคดีพิพาทเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในที่ดินตามคํา
ฟองเปนคดีมีทุนทรัพยจึงตองแยกออกเฉพาะที่ดินแตละแปลง
จําเลยอุทธรณขอใหศาลอุทธรณพิพากษาวาที่ดินพิพาทรวม ๒
แปลงเป น ของจํ า เลย ทุ น ทรั พ ย ที่ พิ พ าทกั น ในชั้ น อุ ท ธรณ
สําหรับที่ดินทั้งสองแปลง แตละแปลงมีราคาไมเกิน ๕๐,๐๐๐
บาท จําเลยอุทธรณวา ที่ดินทั้งสองแปลงเปนของจําเลยอันเปน
การอุทธรณโ ตแยงดุลพินิจ การรับฟง พยานหลัก ฐานของศาล
ชั้น ตน ซึ่งเปนปญหาขอ เท็จ จริง จึง ตอ งหามมิใหอุทธรณตาม
97

ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง แมศาลอุทธรณรับวินิจฉัยให


ก็เปนการไมชอบ ถือวาเปนขอที่ไมไดยกขึ้นวากันมาแลวโดย
ชอบในศาลอุทธรณ ยอมตองหามมิใหฎีกาตาม ป.วิ.พ มาตรา
๒๔๙ วรรคหนึ่ ง ส ว นที่ดิ น อี ก ๖ แปลง แต ล ะแปลงมี ร าคา
ไมเกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท จึงตองหามมิใหฎีกาในขอเท็จจริงตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๘

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๒๓, ๒๔๗


คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๗๗๙/๒๕๕๕ ฎ. ๖๔๗ ศาลล า ง
ทั้งสองพิพากษายกฟอง แตคําพิพากษาของศาลชั้นตนที่วินิจฉัย
วาที่ดินพิพาทที่เกิดขึ้นเปนที่สาธารณสมบัติของแผนดิน มิใช
ที่งอกของจําเลยที่ ๑ เปนคําพิพากษาที่กระทบสิทธิของจําเลย
ที่ ๑ จําเลยที่ ๑ ยอมมีสิทธิอุทธรณได เมื่อศาลอุทธรณพิพากษา
ยืน จําเลยที่ ๑ มีสิทธิโตแยงคําพิพากษาของศาลอุทธรณ
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๙๘-๑๙๒๑/๒๕๕๕ ฎ.๓๑๑ โจทก
ที่ ๘ ถอนคําฟองและศาลจําหนายคดีเฉพาะโจทกที่ ๘ ออกจาก
สารบบความแลว การถอนคําฟองยอ มลบลางผลแหงการยื่น
คําฟองนั้น รวมทั้งกระบวนพิจารณาอื่น ๆ อันมีมาตอภายหลัง
ยื่น คําฟอ ง และกระทํา ใหคูความกลับคืน สูฐานะเดิม เสมือ น
98

หนึ่ง มิไดมีก ารยื่นฟองเลย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา


ความแพง มาตรา ๑๗๖ โจทกที่ ๘ จึงมิใชคูความและมิไดถูก
กระทบสิทธิจึงไมมีสิทธิอุทธรณ
คําพิพากษาฎีกาที่ ๔๓๓๐/๒๕๕๔ ฎ. ๖๖๘ ศาลชั้นตน
วินิจฉัยวาโจทกทํางานตามจํานวนคาจางไปเปนเงิน ๕๐๔,๐๐๐
บาท จํ า เลยชํ า ระแล ว ๓๐๐,๐๐๐ บาท เมื่ อ คํ า นึ ง ถึ ง ค า ปรั บ
รายวันที่จําเลยมิไดเรียกรองประกอบกับความเสียหายอยางอื่น
ที่จําเลยไดรับแลว เห็นสมควรกําหนดใหจําเลยใชเงินแกโจทก
อีกเพียง ๕๐,๐๐๐ บาท แมคําพิพากษาศาลชั้นตนจะใชถอยคํา
วา เงินจํานวนดังกลาวเปนเงินคาจาง แตก็เห็นไดวาเปนเงินตาม
ควรคาแหงงานที่กําหนดใหจําเลยใชแกโจทกเพื่อการกลับคืนสู
ฐานะเดิม และศาลชั้นตนไดใชดุลพินิจลดจํานวนลงแลวนั่นเอง
หากจําเลยเห็นวาตนไมตองรับผิดก็ชอบที่จะอุทธรณ แตจําเลย
มิไ ดอุ ท ธรณ เพีย งแต มีคํ า ขอมาในคํ า แก อุท ธรณ ให ย กฟ อ ง
โจทก ซึ่ ง ไม อ าจกระทํ า ได ป ญ หาวา จํ า เลยจะต อ งชํา ระเงิ น
๕๐,๐๐๐ บาท แกโจทกหรือ ไม จึงยุติไปตามคําพิพากษาศาล
ชั้นตน ไมมีเหตุที่ศาลอุทธรณจะตองยกปญหานี้ขึ้นวินิจฉัยตาม
คําแกอุทธรณของจําเลยอีก
99

คําสั่งคํารองศาลฎีกาที่ ท.๖๕๓/๒๕๕๓ ฎ.๒๕๖๕ ศาล


ชั้น ต น มี คํ าสั่ ง ยกคํ า รอ งของผูร อ งที่ ข อให ร ะงั บ หรื อ งดการ
บั ง คั บ คดี ไ ว ก อ นอั น เป น ป ญ หาเกี่ ย วกั บ การบั ง คั บ คดี การ
อุทธรณฎีกาคําสั่งของศาลชั้นตนดังกลาวตองเปนไปตามลําดับ
ชั้นศาล
ขอ สังเกต การอุทธรณฎีก าคําสั่ง ของศาลชั้น ต น เกี่ย วกับการ
งดการบังคับคดีตองเปนไปตามลําดับ ชั้นศาล แตการทุเลาการ
บัง คับ อยูในอํานาจของศาลแตละชั้น ศาล ถาเปน การขอทุเ ลา
การบัง คับ ในระหวา งอุ ทธรณ ก็เ ป น เรื่อ งที่ อ ยูใ นอํ านาจศาล
อุทธรณโดยเฉพาะ เมื่อศาลอุทธรณมีคําสั่งอนุญาตใหทุเลาการ
บัง คั บ โดยให ว างหลั ก ประกั น มิ ฉ ะนั้ น ให ย กคํา ร อ ง จํ า เลย
ไมอาจฎีกาคัดคานคําสั่งคํารองขอทุเลาการบังคับที่ศาลอุทธรณ
มีคํา สั่ง ได เพราะคํ าสั่ ง ดั ง กลาวไม อ ยู ภายใตบัง คับ เรื่ อ งการ
อุ ท ธรณ ฎี ก าอย า งเรื่ อ งอื่ น ๆ (คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๒๒๐๓/
๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๕๔)
100

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๒๓ ทวิ


คําพิพากษาฎีก าที่ ๕๓๓๗/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๑๗๙
คดี ผู บ ริ โ ภคจะขึ้ น มาสู ก ารพิ จ ารณาของศาลฎี ก าแผนก
คดี ผู บ ริ โ ภคได ก็ แ ต เ ฉพาะกรณี ที่ คู ค วามยื่ น ฎี ก าคั ด ค า น
คํา พิ พากษาศาลอุท ธรณแ ผนกคดี ผูบ ริ โ ภคพร อ มคํ า รอ งขอ
อนุญาตฎีกาตอ ศาลชั้น ตน เพื่อสงใหแกศาลฎีก าเพื่อพิจารณา
และศาลฎีกามีคําสั่งอนุญาตใหฎีกาแลวเทานั้น แม พ.ร.บ. วิธี
พิจ ารณาคดีผูบริโภค ฯ มาตรา ๗ จะบัญญัติใหนําบทบัญญัติ
แหง ป.วิ.พ. มาใชบังคับแกกระบวนพิจารณาคดีผูบริโภคโดย
อนุ โ ลมก็ ต าม แต ก ารอุ ท ธรณ คํ า พิ พ ากษาศาลชั้ น ต น ในคดี
ผูบริโภคตองเปนไปตามหลักเกณฑที่บัญญัติไวใน พ.ร.บ. วิธี
พิจารณาคดีผูบริโภคเปนพิเศษแลว จึงไมอาจนําการอนุญาตให
อุทธรณเฉพาะปญหาขอกฎหมายโดยตรงตอศาลฎีกาโดยไดรับ
อนุ ญ าตจากศาลชั้ น ตน ตาม ป.วิ . พ. มาตรา ๒๒๓ ทวิ ที่ ใ ช
บังคับแกคดีแพงสามัญทั่วไปมาใชบังคับแกคดีผูบริโภคได

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๒๔, ๒๔๘


คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๗๖๙/๒๕๕๔ ฎ.๑๕๙๖ โจทกฟอง
วา จําเลยที่ ๑ ยกที่ดินมีโฉนดจํานวน ๓ แปลงใหโจทก โจทก
ไดครอบครองปรปกษจนไดกรรมสิทธิ์ จําเลยที่ ๑ ซึ่งมีชื่อเปน
101

เจาของกรรมสิทธิ์ในโฉนดที่ดินทั้งสามแปลงปฏิเสธวาไมเคย
ยกที่ดินใหโจทก จึงเปนคดีพิพาทเกี่ย วกับกรรมสิทธิ์ในที่ดิน
ทั้งสามแปลงเปนคดี มีทุนทรัพย และศาลจะตองแยกพิจารณา
ที่ ดิ น แต ล ะแปลงออกต า งหากจากกั น เป น รายแปลง ราคา
ทรัพยสิน หรือ จํานวนทุน ทรัพยที่พิพาทกันในชั้นฎีก าจึงตอ ง
แยกพิจารณาออกตามราคาที่ดินแตละแปลง
คําพิพากษาฎีก าที่ ๓๖๘๒/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๑๐๕
โจทกฟองขอใหบังคับจําเลยสงมอบโฉนดที่ดินพิพาทรวม ๘
โฉนดแกโจทก ใหขับไลจําเลยและบริวารออกจากที่ดินพิพาท
จําเลยใหการและฟองแยงวา ที่ดินพิพาททั้งแปดแปลงเปนของ
จําเลย กรณีจึงเปนคดีพิพาทเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในที่ดินตามคํา
ฟองเปนคดีมีทุนทรัพยจึงตองแยกออกเฉพาะที่ดินแตละแปลง
จําเลยอุทธรณขอใหศาลอุทธรณพิพากษาวาที่ดินพิพาทรวม ๒
แปลงเป น ของจํ า เลย ทุ น ทรั พ ย ที่ พิ พ าทกั น ในชั้ น อุ ท ธรณ
สําหรับที่ดินทั้งสองแปลง แตละแปลงมีราคาไมเกิน ๕๐,๐๐๐
บาท จําเลยอุทธรณวา ที่ดินทั้งสองแปลงเปนของจําเลยอันเปน
การอุทธรณโ ตแยงดุลพินิจ การรับฟง พยานหลัก ฐานของศาล
ชั้น ตน ซึ่งเปนปญหาขอ เท็จ จริง จึง ตอ งหามมิใหอุทธรณตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง แมศาลอุทธรณรับวินิจฉัยให
ก็เปนการไมชอบ ถือวาเปนขอที่ไมไดยกขึ้นวากันมาแลวโดย
102

ชอบในศาลอุทธรณ ยอมตองหามมิใหฎีกาตาม ป.วิ.พ มาตรา


๒๔๙ วรรคหนึ่ ง ส ว นที่ดิ น อี ก ๖ แปลง แต ล ะแปลงมี ร าคา
ไมเกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท จึงตองหามมิใหฎีกาในขอเท็จจริงตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๘
คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๒๗๔/๒๕๕๕ ฎ.๕๓๐ โจทกทั้ง
เจ็ ด ฟ อ งขอให เ พิ ก ถอนการโอนที่ ดิ น พิ พ าททั้ ง สองแปลง
ระหวางจําเลยที่ ๑ กับจําเลยที่ ๒ โดยอางวา ที่ดินพิพาททั้งสอง
แปลงเปนทรัพยมรดกของ ค. สามีโจทกที่ ๑ และบิดาโจทกที่
๒ ถึงที่ ๗ กับจําเลยที่ ๑ และขอใหจําเลยทั้งสองแบงแยกที่ดิน
พิ พ าททั้ ง สองแปลงให แ ก โ จทก ทั้ ง เจ็ ด เป น คดี มี คํ า ขอให
ปลดเปลื้อ งทุก ขอัน อาจคํานวณเปน ราคาเงิน ได จึง เปน คดีมี
ทุน ทรั พย โจทกทั้ ง เจ็ด ตีร าคาที่ ดิน พิพ าททั้ง สองแปลงเป น
ทุน ทรัพยรวมกันมามีราคา ๑๔๔,๓๕๐ บาท แมโ จทกทั้งเจ็ด
จะฟองรวมกันมา แตโจทกทั้งเจ็ดอางวาตนมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน
พิพาททั้งสองแปลงอันเปนทรัพยมรดกของ ค. เทากับวาโจทก
ทั้งเจ็ดตางเรียกรองสวนของตนในฐานะทายาทโดยธรรมของ
ค. เมื่อที่ดินพิพาททั้งสองแปลงที่โจทกแตละคนมีสวนจะไดรับ
มีราคาไมเกินคนละ ๕๐,๐๐๐ บาท จึงตองหามคูความอุทธรณ
ในขอ เท็ จ จริง ตามประมวลกฎหมายวิธี พิจ ารณาความแพ ง
มาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง
103

คําพิ พากษาฎี ก าที่ ๒๓๒๙-๒๓๓๐/๒๕๕๕ ฎ. ๕๔๑


โจทกทั้งสองสํานวนฟองเปนคดีขับไลจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ ให
ออกจากที่ดินพิพาทตามหนังสือรับรองการทําประโยชนของ
โจทกเนื้อที่ ๓ ไร ๑ งาน ๗๖ ตารางวา และฟองขับไลจําเลยที่
๓ ใหออกจากที่ดินพิพาทตามหนังสือรับรองการทําประโยชน
ของโจทกดังกลาวเนื้อที่ ๔ ไร ๓ งาน ๖๕ ตารางวา แปลงที่ ๑
และแปลงที่ ๒ ตามลํ าดับ อัน เปน คดี ฟอ งขั บไล บุคคลใด ๆ
ออกจากอสังหาริมทรัพย จําเลยที่ ๑ และที่ ๒ ใหการกลาวแก
ข อ พิ พ าทด ว ยกรรมสิ ท ธิ์ ว า ที่ ดิ น พิ พ าทแปลงที่ ๑ เป น
กรรมสิทธิ์ของจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ จึง มีทุนทรัพยที่พิพาทกัน
ตามราคาที่ดินที่จําเลยที่ ๑ และที่ ๒ โตแยงสิทธิของโจทก เมื่อ
ที่ดินพิพาททั้งแปลงเนื้อที่ ๑๑ ไร ๑ งาน ๗๓ ตารางวา มีราคา
๒๔๐,๐๐๐ บาท ที่ดินพิพาทแปลงที่ ๑ จึงมีทุนทรัพยที่พิพาท
กันในชั้นฎีกาไมเ กิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท สว นจําเลยที่ ๓ ใหการ
ตอ สู วา ที่ดิน พิพ าทแปลงที่ ๒ เปน กรรมสิทธิ์ ของ บ. ภริย า
จําเลยที่ ๓ จําเลยที่ ๓ ครอบครองที่ดิน พิพาทแปลงที่ ๒ โดย
อาศัยสิทธิของ บ. ซึ่งถือไมไดวาเปนการกลาวแกเปนขอพิพาท
ดวยกรรมสิทธิ์ก็ตาม และแมไมปรากฏวาที่ดินพิพาทแปลงที่ ๒
อาจใหเ ช าไดใ นขณะยื่ น ฟ อ งไมเ กิน เดื อ นละ ๑๐,๐๐๐ บาท
หรื อ ไม แต ที่ดิ น พิพ าทแปลงที่ ๒ ตั้ ง อยู ในชนบท ใช ทํา นา
104

มิใชอยูในทําเลการคาอันจะทําใหไดคาเชาที่สูงเปนพิเศษ ตาม
ลัก ษณะและสภาพแหง ที่ดิน เชื่อ วาอาจใหเ ชาไดในขณะยื่ น
ฟองไมเกินเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ที่จําเลยทั้งสามฎีกาวา ที่ดิน
พิพาทมิใชของโจทกแตที่ดินพาทแปลงที่ ๑ เปนของจําเลยที่ ๑
และที่ ๒ และที่ดินพิพาทแปลงที่ ๒ เปนของจําเลยที่ ๓ ทาง
ราชการออกหนังสือรับรองการทําประโยชนเลขที่ ๑๑๙๖ ของ
โจทกทับที่ดิน พิพาทของจําเลยทั้ง สาม จึงเปนการโตเถีย งใน
ขอเท็จจริงที่ศาลอุทธรณวินิจฉัยวา ที่ ดินพิพาทแปลงที่ ๑ และ
แปลงที่ ๒ เปนของโจทก คดีของจําเลยทั้งสามจึงตองหามฎีกา
ในปญหาขอ เท็จจริง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจ ารณาความ
แพง มาตรา ๒๔๘ วรรคหนึ่ง และวรรคสอง
คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๕๑๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๒๔ แม
คาเสียหายที่ศาลชั้นตนและศาลอุทธรณกําหนดเปนคาปลงศพ
มี จํ า นวน ๓๐,๐๐๐ บาท จะเป น หนี้ ที่ โ จทก ทั้ ง สองมี สิ ท ธิ
รวมกัน ไมอ าจแบง แยกเปนหนี้โจทกแตล ะคนได แตในสว น
คา ขาดไร อุ ป การะที่ ศ าลชั้ น ตน และศาลอุ ท ธรณ กํ า หนดให
โจทกทั้งสองรวมกัน มาจํานวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท นั้น เปน หนี้
ที่ส ามารถแบ ง แยกเป น ส ว นของโจทก แ ตล ะคน โดยโจทก
ทั้ ง สองสามารถฟ อ งเรี ย กเฉพาะส ว นของตนโดยลํ า พั ง ได
ทุน ทรัพย พิพาทในชั้น ฎี ก าจึ ง ตอ งถือ ตามจํานวนค าเสี ย หาย
105

ที่โ จทกแตล ะคนมีสิทธิเ รีย กรอ งจากจําเลยที่ ๓ เมื่อ แบง แยก


คาเสียหายในสว นคาขาดไรอุป การะของโจทกทั้งสองคนละ
ครึ่งเปนเงินคนละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท และนําไปรวมกับคาเสียหาย
ที่เปนคาปลงศพจํานวน ๓๐,๐๐๐ บาท แลว ทุนทรัพยพิพาทใน
ชั้น ฎีก าของโจทกทั้ง สองแตละคนจึง ไมเ กินคนละสองแสน
บาท ยอมตองหามมิใหคูความฎีก าในขอ เท็จ จริง ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๔๘ วรรคหนึ่ง การที่ จําเลยที่ ๓ ฎีก าว าจําเลยที่ ๓
ไมตอ งรับผิดตอโจทกทั้งสองเนื่อ งจากจําเลยที่ ๑ มิไดขับรถ
โดยประมาท ถือวาเปนการโตแยงดุลพินิจของศาลอุทธรณใน
การรับฟงพยานหลักฐาน เปนฎีกาในขอเท็จจริง ฎีกาของจําเลย
ที่ ๓ จึงตองหามตามบทบัญญัติแหงกฎหมายดังกลาว
คําพิพากษาฎีก าที่ ๕๒๑๓/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๔ น.๑๖๗
ศาลชั้นตนพิพากษาใหจําเลยสงมอบรถที่เชาซื้อคืนแกโจทก ถา
คืนไมไดใหใชราคาแทนเปนเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท และใชคาขาด
ประโยชน แ ก โ จทก เ ป น เงิ น ๔๕,๐๐๐ บาท ศาลอุ ท ธรณ
พิพากษายืน ดังนั้น ทุนทรัพยที่พิพาทกันในชั้นฎีกาจึงมีจํานวน
๑๙๕,๐๐๐ บาท (๑๕๐,๐๐๐ + ๔๕,๐๐๐ บาท) สว นดอกเบี้ ย
อัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงิน ๔๕,๐๐๐ บาท นับถัดจาก
วั น ฟ อ งเป น ต น ไปจนกว า จะชํ า ระเสร็ จ และค า เสี ย หายอี ก
เดือนละ ๓,๐๐๐ บาท นับถัดจากวันฟองจนกวาจะสงมอบรถ
106

คืนหรือใชราคาแตไมเกิน ๖ เดือน ที่ศาลลางทั้งสองใหจําเลยรับ


ผิดตอโจทกดวยนั้น เปนคาเสียหายในอนาคตไมนํามาคํานวณ
รวมเป น ทุ น ทรั พ ย ใ นชั้ น ฎี ก าเช น นี้ ทุ น ทรั พ ย ที่ พิ พ าทกั น
ในชั้นฎีกาจึงไมเกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ตองหามมิใหคูความฎีกา
ในปญหาขอเท็จ จริง เวนแตผูพิพากษาที่ไดนั่งพิจารณาคดีใน
ศาลชั้นตนหรือศาลอุทธรณจะไดรับรองไวหรือรับรองในเวลา
ตรวจฎีกาวามีเหตุสมควรที่จะฎีกาไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๘
วรรคหนึ่ง จําเลยไดดําเนินการยื่นคํารองขอใหผูพิพากษาที่ได
นั่งพิจารณาคดีในศาลชั้นตนรับรองใหฎีกาในปญหาขอเท็จจริง
แตผูพิพากษาศาลชั้นตนมีคําสั่งผิดหลง โดยเห็นวาคดีนี้เปนคดี
ซึ่งไมตองหามฎีกาในปญหาขอเท็จจริง ใหยกคํารองของจําเลย
คําสั่ง ของผูพิพ ากษาศาลชั้น ตน ดั ง กล าวจึ ง ไม ถูก ต อ ง ที่ศาล
ชั้ น ต น สั่ ง รั บ ฎี ก าของจํ า เลยซึ่ ง ต อ งห า มมิ ใ ห ฎี ก าในป ญ หา
ขอเท็จจริงมานั้น จึงเปนการสั่งรับฎีกาโดยไมชอบดวยกฎหมาย
ศาลฎีกาจึงตองใหมีการดําเนินการใหถูกตองตามขั้นตอนของ
กฎหมายกอ นโดยใหผูพิ พากษาศาลชั้น ต น ดัง กล าวพิจ ารณา
คํ า ร อ งของจํ า เลยเสี ย ใหม ว า จะอนุ ญ าตให ฎี ก าในป ญ หา
ขอเท็จจริงหรือไม เสร็จแลวใหศาลชั้นตนพิจารณาสั่งฎีกาของ
จําเลยใหมตอไป
107

คําพิพากษาฎีกาที่ ๕๔๓๙–๕๔๔๐/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๕ น.


๑๗๙ จํ า เลยซึ่ ง เป น โจทกใ นสํ านวนคดี แ รกฎี ก าขอให ก ลั บ
คําพิพากษาศาลอุทธรณและเพิกถอนพินัยกรรมเพื่อใหโจทกซึ่ง
เป น จํ า เลยในคดี สํ า นวนแรกมี สิ ท ธิ ไ ด รั บ ที่ ดิ น พิ พ าทเพี ย ง
ครึ่งหนึ่ง ทุนทรัพยที่พิพาทในชั้นฎีกาสําหรับคดีสํานวนแรกจึง
เท า กั บ ราคาที่ ดิ น พิ พ าทครึ่ ง หนึ่ ง เป น เงิ น ๑๒๐,๐๐๐ บาท
คาเสียหาย ๑๐,๐๐๐ บาท รวมเปนเงิน ๑๓๐,๐๐๐ บาท สวนคดี
สํานวนที่สอง ทุน ทรัพยที่พิพาทในชั้น ฎีกาเทากับราคาที่ดิน
พิพาทสวนที่จําเลยขอใหเพิกถอนสิทธิของโจทกครึ่งหนึ่งเปน
เงิน ๑๒๐,๐๐๐ บาท คดีทั้งสองสํานวนตางเปนคดีมีทุนทรัพย
พิพาทในชั้นฎีกาไมเกินสองแสนบาท จึงตองหามมิใหคูความ
ฎีกาในขอเท็จจริงตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๘ วรรคหนึ่ง
แมคดีทั้ง สองสํานวนจะพิจ ารณาพิพากษารวมกัน แต
การพิจารณาวาคดีมีทุนทรัพยพิพาทในชั้นฎีกาเพียงใดนั้นตอง
พิจารณาเปนรายสํานวน
คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๕๐/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๒๒ จําเลย
ฎีก าว า ตามคํ าร อ งของจํ า เลยเป น กรณี ที่ มี พฤติ ก ารณ พิ เ ศษ
จําเลยพยายามหาเงินคาฤชาธรรมเนียมมาวางศาลในชั้นอุทธรณ
แตยังไมสามารถจะหาเงินดังกลาวได ซึ่งหากศาลไมอนุญาตให
ขยายระยะเวลายื่ น อุ ท ธรณ จ ะทํ า ให จํ า เลยเสี ย สิ ท ธิ ใ นการ
108

ดําเนินคดี เปนฎีกาที่โตแยงดุลพินิจในการรับฟงขอเท็จจริงของ
ศาลอุทธรณที่วินิจฉัยวาพฤติการณดังกลาวยัง ถือไมไดวาเปน
พฤติการณพิเศษตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓ เปนฎีกาในขอเท็จจริง
แมเ ปน ปญหาเกี่ย วกับการดําเนิน กระบวนพิจ ารณาของศาล
ชั้น ตน แตเ มื่อ ทุน ทรัพยพิพาทกันในชั้น ฎีก าไมเ กิน สองแสน
บาท จึ ง ต อ งห า มมิ ใ ห ฎี ก าในป ญ หาขอ เท็ จ จริ ง ตาม ป.วิ . พ.
มาตรา ๒๔๘ วรรคหนึ่ง
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๕๖๗๐/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๒๒๘
ศาลชั้นตนวินิจ ฉัย วา อายุความเริ่มนับแตวันที่ ๒๓ สิง หาคม
๒๕๔๘ เพราะโจทกรูถึงการละเมิดและรูตัวผูจะพึงตองใชคา
สินไหมทดแทนแลวตามบันทึก กฟก.๑ เลขที่ บข-ก.๑ (กม) ลง
วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๘ แตโจทกอุทธรณโตแยงวา ควรเริ่ม
นับเมื่อผูวาการโจทกทราบ มิใชเริ่มนับแตวันที่รับหนังสือจาก
สํ า นั ก งานขนส ง เขตพื้ น ที่ ๑ หรื อ ในวั น ที่ ๒๓ สิ ง หาคม
๒๕๔๘ ดัง นั้น การอุทธรณวา อายุความเริ่มนับเมื่อ ใดจึง จะ
ถูก ตอ งตามกฎหมาย เป น การอุท ธรณในปญหาขอ กฎหมาย
มิใชอุทธรณในปญหาขอเท็จจริง
คํา พิพ ากษาฎีก าที่ ๖๙๑๒/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๖ น.๒๐๒
จํ า เลยยื่ น คํ า ร อ งขอให ศ าลชั้ น ต น รั บ รองอุ ท ธรณ ใ นป ญ หา
ขอ เท็จ จริง ผูพิพากษาที่นั่ง พิ จ ารณาคดีในศาลชั้น ตน มีคําสั่ ง
109

คํา ร อ งดั ง กล าวว า “พิ เ คราะห แล ว มี เ หตุ อั น ควรอุ ท ธรณ ใ น
ปญหาขอเท็จจริงได” และมีคําสั่งในอุทธรณในวันเดียวกันวา
“ศาลรั บ รองให จํ า เลยอุ ท ธรณ ใ นป ญ หาข อ เท็ จ จริ ง ได
รับอุทธรณของจําเลย...” ซึ่งการรับรองอุทธรณของผูอุทธรณวา
มีเหตุอันควรอุทธรณในปญหาขอเท็จจริงไดนั้น ตองเปนการ
รับรองโดยชัดแจง แมคําสั่งของศาลชั้นตนที่สั่งในคํารองขอให
รับรองอุทธรณจะไมมีขอความยืนยันวาตนรับรองใหอุ ทธรณ
ในป ญ หาข อ เท็จ จริ ง ก็ต าม แต ข ณะเดี ย วกั น ศาลชั้ น ต น โดย
ผู พิ พ ากษานายเดี ย วกั น ได มี คํ า สั่ ง ในอุ ท ธรณ ข องจํ า เลยมี
ขอความยืนยันรับรองใหอุทธรณในปญหาขอเท็จจริงได เมื่อนํา
คําสั่งที่ศาลชั้นตนสั่งในคํารองและอุทธรณมาพิจารณาประกอบ
กันแลว รับฟงไดวา คํารับรองของศาลชั้นตนมีขอความที่แสดง
ใหเห็นวาเปนการรับรองใหอุทธรณในปญหาขอเท็จจริง จึงถือ
วาเปนการรับรองอุทธรณโดยชัดแจงแลว
คําพิพากษาฎีกาที่ ๕๓๕๙/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๔ น.๑๗๗
ตาม พ.ร.บ. วิธีพิจารณาคดีผูบริโภค ฯ มาตรา ๔๙ วรรคสอง,
๕๑ และ ๕๒ คําพิพากษาของศาลอุทธรณแผนกคดีผูบริโภคให
เปนที่สุด เวนแตศาลฎีกาจะอนุญาตใหฎีกาในปญหาขอเท็จจริง
สําหรับคดีที่มีทุน ทรัพยที่พิพาทในชั้นฎีก าเกิน สองแสนบาท
หรืออนุญาตใหฎีกาในปญหาขอกฎหมาย โดยผูฎีกาตองยื่นฎีกา
110

พรอมกับคํารองขอใหศาลฎีกาพิจารณาอนุญาตใหฎีกาตอศาล
ชั้นตนเพื่อใหศาลชั้นตนสงคํารองดังกลาวพรอมฎีกาไปยังศาล
ฎีกาพิจารณา คดีนี้แมมีทุนทรัพยชั้นฎีกาเกินสองแสนบาท แต
จําเลยรวมยื่นฎีกาในปญหาขอเท็จจริงโดยมิไดยื่นคํารองขอให
ศาลฎี ก าพิ จ ารณาอนุ ญาตให ฎีก ามาดว ย จึ ง ไม ช อบด ว ยบท
กฎหมายดังกลาว แมศาลชั้นตนสั่งรับฎีกาก็เปนคําสั่งที่ไ มชอบ
ศาลฎีกาไมรับวินิจฉัย

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา
๒๒๔ วรรคสอง, ๒๔๘ วรรคสอง
คําพิพากษาฎีก าที่ ๗๘๕๓/๒๕๕๓ ฎ.๒๒๗๘ โจทก
ผูใหเชาฟองขับไลจําเลยที่ ๑ ผูเชาและบริวาร ซึ่งมีคาเชาไมเกิน
เดือ นละ ๔,๐๐๐ บาท จึง ตอ งหามอุทธรณในขอเท็จ จริง ตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๔ วรรคสอง รวมถึงกรณีเกี่ยวกับการบังคับ
ผูรองซึ่งเปนบริวารของจําเลยที่ ๑ ในชั้นบังคับคดีอันเปนสาขา
ของคดีเ ดิม ก็ตอ งหามมิใหอุทธรณในขอ เท็จ จริง ตามมาตรา
๒๒๔ วรรคสอง เชนกัน
คําพิพากษาฎีก าที่ ๑๐๗๕๖/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๑๑ น.๗๖
โจทกฟองขับไลจําเลยออกจากอสังหาริมทรัพยที่ดินตามฟอง
อันมีคาเชาหรืออาจใหเชาไดในขณะยื่นคําฟองไมเกินเดือนละ
111

สี่พัน บาท ซึ่ง ตอ งหามมิใหคูความอุทธรณในขอ เท็จ จริง ตาม


ป.วิ . พ. มาตรา ๒๒๔ วรรคสอง และข อ ห า มอุ ท ธรณ ต าม
บทบัญญัตินี้ตองใชบังคับแกการอุทธรณทั้งในประเด็นเนื้อหา
แหงคดีตลอดจนปญหาเรื่องอื่น ๆ ที่เปนสาขาของคดี ซึ่งรวมถึง
ปญหาในชั้น บังคับคดีดว ย โดยเหตุที่ทําใหตอ งหามอุทธรณ
ต อ งถื อ ตามเหตุ ต อ งห า มอุ ท ธรณ ใ นคดี ต ามคํ า ฟ อ งและ
คําใหก ารที่พิ พาทกัน แตเ ดิม นั้ น เป น สํา คัญ ซึ่ง หากมีเ หตุอั น
ตองหามอุทธรณดังกลาวขางตนแลว แมปญหาในชั้นสาขาคดี
ในสวนการบังคับคดีนี้จะไมมีเหตุตองหามอุทธรณก็ตาม ก็ตอง
ถื อ ว า เป น คดี ต อ งห า มอุ ท ธรณ ต ามเหตุ ต อ งห า มในคดี เ ดิ ม
ดัง กลาวแลว และปรากฏวาในชั้น อุทธรณนั้น จําเลยอุทธรณ
โตแยงคําพิพากษาศาลชั้นตนในขอเท็จจริง ยอมตองหามมิให
อุท ธรณ ต ามบทกฎหมายดั ง กลา ว ที่ ศ าลอุ ทธรณรั บ วินิ จ ฉั ย
ขอเท็จจริงดังกลาวแลวมีคําพิพากษามาจึงไมชอบ และปญหานี้
เป น ปญ หาเกี่ ย วด ว ยความสงบเรี ย บรอ ยของประชาชน แม
คูความไมไดฎีกาขึ้นมา เมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรแลวยอมยกขึ้น
วิ นิ จ ฉั ย แก ไ ขให ถู ก ต อ งเสี ย ได ต าม ป.วิ . พ. มาตรา ๒๔๗
ประกอบมาตรา ๒๔๖ และ ๑๔๒ (๕) และกรณีเ ชนนี้จําเลย
ยอมไมมีสิทธิฎีกาตอมาดวย ศาลฎีกาจึงไมรับวินิจฉัยฎีกาของ
จําเลย
112

คําสั่งคํารอ งศาลฎีกาที่ ท.๒๒๘๔/๒๕๕๓ ฎ.๒๕๘๗


ฎี ก าของจํ า เลยมิ ใ ช เ ป น ฎี ก าในเนื้ อ หาของคดี แต เ ป น ฎี ก า
คัดคา นคําพิ พากษาศาลอุท ธรณที่ พิพากษายื น ตามคําสั่ ง ศาล
ชั้นตนที่ไมอนุญาตใหจําเลยขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ ก็อยูใน
บั ง คั บ ข อ ห า มมิ ใ ห คู ค วามฎี ก าในข อ เท็ จ จริ ง ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๔๘ วรรคสอง

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง


คําพิพากษาฎีกาที่ ๔๘๒/๒๕๕๕ ฎ.๔๖๑ คํารองขอให
จําเลยชดใชคาสินไหมทดแทนของผูรองตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๔/๑ ระบุวา คาปลงศพตั้งแต
วัน ที่ ๒๑ ถึ ง ๒๘ กุ ม ภาพั น ธ ๒๕๔๙ เป น เวลา ๘ วั น เสี ย
คาใชจายไปทั้งหมด ๑๕๐,๐๐๐ บาท จําเลยใหการในคดีแพงวา
ค า ปลงศพจริ ง ไม เ กิ น วั น ละ ๕,๐๐๐ บาท รวมเวลา ๘ วั น
ไมเ กิน ๔๐,๐๐๐ บาท แสดงวาจําเลยไม ไดโ ตแยง เรื่อ งระยะ
เวลาจัดงานศพ ๘ วัน อุทธรณของจําเลยที่วา การจัดงานศพ
ไมเ กิน ๕ วัน จึง เปน เรื่อ งนอกประเด็น และเปน ขอ เท็จ จริ ง
ที่ไมไดวากันมาแลวโดยชอบในศาลชั้นตน
ศาลชั้นตนกําหนดคาปลงศพ คํานวณแลวเทากับวันละ
๑๒,๕๐๐ บาท จําเลยอุทธรณวาคาปลงศพนาจะไมเกินวันละ
113

๑๕,๐๐๐ บาท เปนอุทธรณที่มิไดโตแยงคําพิพากษาศาลชั้นตน


ถือ เปน อุทธรณไมชัดแจ ง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจ ารณา
ความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง จึงไมมีประเด็นเรื่องคาปลง
ศพในชั้นอุทธรณ ศาลฎีกาไมรับวินิจฉัยเรื่องคาปลงศพเพราะ
เปนขอที่ไมไดยกขึ้นวากลาวกันมาแลวโดยชอบในศาลอุทธรณ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๔๙ วรรค
หนึ่ง

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา
๒๒๕ วรรคสอง, ๒๔๙ วรรคสอง
คําพิพากษาฎีกาที่ ๕๐๑๖/๒๕๕๕ ฎ. ๘๖๔ ฎีกาโจทก
ในขอกฎหมายวา ต. เปนคนตางดาว มีเชื้อชาติและสัญชาติจีน
ซึ่งการไดม าซึ่งที่ดินจะตองไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงมหาดไทย ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๘๖ แต
ต. ถึงแกความตายเมื่อป ๒๕๓๔ โดยมิไดดําเนินการใหถูกตอง
จํ า เลยครอบครองที่ ดิ น ต อ มาจาก ต. หากถื อ ว า เป น การ
ครอบครองเพื่อตน ก็จะตองเริ่มนับระยะเวลาครอบครองใหม
นับถึงวันที่โจทกฟองคดีนี้จําเลยยังครอบครองที่ดินไมถึง ๑๐ ป
แม โ จทก ทั้ง หา เพิ่ง ยกขอ เท็ จ จริ ง ดั ง กลา วขึ้ น อา งในชั้ น ฎี ก า
ก็ ต าม แต เ ป น ป ญ หาเกี่ ย วกั บ อํ า นาจฟ อ งของ ต. จึ ง เป น
114

ขอ กฎหมายอัน เกี่ย วด ว ยความสงบเรี ย บรอ ยของประชาชน


โจทกยกขึ้นอางในชั้นฎีกาได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพง มาตรา ๒๔๙ วรรคสอง

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๒๖
คําพิพากษาฎี ก าที่ ๕๐๑๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๑๗๓
คําสั่งศาลชั้นตนที่อนุญาตใหเขาเปนจําเลยรวมเปนคําสั่งกอนที่
ศาลชั้นตนมีคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดตัดสินคดี ทั้งมิใชคําสั่ง
ตามที่ร ะบุไวใน ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๗ และมาตรา ๒๒๘ จึง
เปนคําสั่งระหวางพิจารณา เมื่อโจทกไมไดโตแยงคําสั่งนั้นไว
เพื่อใชสิทธิอุทธรณฎีกาตาม ป.วิ.พ มาตรา ๒๒๖ (๒) ประกอบ
มาตรา ๒๔๗ โจทก จึ ง อุ ท ธรณ ฎี ก าคํ า สั่ ง ดั ง กล า วของศาล
ชั้นตนมิได
คําพิ พากษาฎี ก าที่ ๘๓๗๗/๒๕๕๓ ฎ.๒๓๒๙ คํ าสั่ ง
ของศาลชั้ น ต น ที่ ไ ม ส ง คํ า ร อ งของจํ า เลยที่ ๒ ไปให ศ าล
รัฐธรรมนูญพิจ ารณาวินิจฉัย เปน คําสั่งกอนที่ศาลชั้นตน จะมี
คําพิพากษาชี้ขาดตัดสินคดี แมเปนคําสั่งเกี่ยวกับคํารองขอตาม
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
๒๕๔๐ มาตรา ๒๖๔ ก็ เ ป น คํ า สั่ ง ในขั้ น ตอนการดํ า เนิ น
กระบวนพิ จ ารณาของศาลยุ ติ ธ รรม เป น คํ า สั่ ง ในระหว า ง
115

พิจ ารณาของศาลชั้น ตนตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๖ มิใชคําสั่ง


ไมรับหรือคืนคําคูความตามมาตรา ๑๘, ๒๒๗, ๒๒๘
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๓๑๘๐/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๑๑ น.๑๕๗
กอนศาลชั้นตนมีคําสั่งงดชี้สองสถาน ไดสอบถามขอเท็จจริง
จากจํ า เลยแล ว เห็ น ว า คดี พ อที่ จ ะวิ นิ จ ฉั ย ได แ ละได นั ด ฟ ง
คําพิพากษา ถือไดวาเปน กรณีที่ศาลชั้น ตน มีคําสั่งกอนที่จ ะมี
คํา พิพ ากษาหรือ คํา สั่ ง ชี้ ขาดตั ด สิน คดี จึ ง เป น คํ าสั่ ง ระหว า ง
พิจารณาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๖ (๒) และมิใชคําสั่งวินิจฉัย
ชี้ขาดเบื้อ งตน ในปญหาขอ กฎหมายตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔
เพราะการที่ศาลชั้น ตน พิพากษายกฟอ งโจทกโ ดยวินิจ ฉัย ว า
เรื่องที่โจทกอางวาจําเลยเปนฝายผิดสัญญาประนีประนอมยอม
คว าม แล ะจํ าเ ลย ก็ อ าง ว า โจ ทก ไม ปฏิ บั ติ ตา มสั ญญ า
ประนีประนอมยอมความเชนกันนั้น ถือเปนกรณีที่ศาลชั้นตน
พิพากษาคดีโ ดยวินิจ ฉัย จากขอ เท็จ จริง มิใชเ ปน การวินิจ ฉั ย
ชี้ขาดในปญหาขอกฎหมาย ดังนั้น เมื่อโจทกมีเวลาเพียงพอที่จะ
โตแยงคําสั่งนั้นได แตก็มิไดทําการโตแยง โจทกจึงไมมีสิทธิ
ที่จะอุทธรณคําสั่งดังกลาว การที่ศาลอุทธรณวินิจฉัยวาคําสั่ง
งดชี้สองสถานหรืองดสืบพยานเปนคําสั่งระหวางพิจารณานั้น
เมื่อโจทกมิไดโตแยงไวจึงตองหามไมใหอุทธรณ จึงชอบดวย
กฎหมายแลว
116

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๒๙
คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๒๗๖/๒๕๕๕ ฎ.๕๓๗ แมจําเลย
อุทธรณคําสั่งศาลชั้นตน ที่ย กคํารอ งขอใหพิจารณาใหม มิได
อุทธรณคําพิพากษาศาลชั้นตน แตหากฟงไดตามคํารองขอให
พิจารณาใหมของจําเลยแลว ก็ยอมมีผลทําใหคําพิพากษาศาล
ชั้นตนเปนอันตองถูกเพิกถอนไปในตัว จําเลยจึงมีหนาที่ตองนํา
เงินคาธรรมเนียมศาลที่จะตองใชแกโจทกตามคําพิพากษาศาล
ชั้นตนมาวางศาลพรอมกับอุทธรณ ตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจ ารณาความแพ ง มาตรา ๒๒๙ ด ว ย เมื่ อ จํ าเลยไมนํ า เงิ น
คาธรรมเนีย มดัง กลาว มาวางศาลพรอ มอุทธรณ อุทธรณของ
จําเลยจึงเปนอุทธรณที่ไมชอบดวยกฎหมาย แมศาลชั้นตนจะมี
คํา สั่ ง รับ อุ ท ธรณ ข องจํ า เลยมาโดยมิ ไ ด สั่ง ให จํา เลยวางเงิ น
คาธรรมเนียมดังกลาวกอน ก็ไมมีผลทําใหอุทธรณของจําเลยที่
ไมชอบดวยกฎหมายกลับเปนอุทธรณที่ชอบดวยกฎหมาย
ขอสังเกต กรณีไมวางเงินตามมาตรา ๒๒๙ มีคําพิพากษาฎีก า
ปรับบทได ๒ กรณี คื อ ปรั บบทตามมาตรา ๒๒๙ และตาม
มาตรา ๒๓๖ ความแตกตางอยูที่ศาลชั้นตนรับอุทธรณหรือศาล
ชั้ น ต น ไม รั บ อุ ท ธรณ หากศาลชั้ น ต น รั บ อุ ท ธรณ แ ล ว ศาล
อุ ท ธรณ เ ห็ น ว า ผู อุ ท ธรณ ไ ม ป ฏิ บั ติ ต ามมาตรา ๒๒๙ ศาล
อุทธรณพิพากษายกอุทธรณ เมื่อผูอุทธรณฎีกาขึ้นมา ศาลฎีก า
117

ก็จ ะปรับบทตามมาตรา ๒๒๙ หากศาลชั้น ตน ไมรับอุทธรณ


ผูอุทธรณยื่นคํารองอุทธรณคําสั่งฯ ศาลอุทธรณเห็นดวยกับศาล
ชั้นตนที่สั่งไมรับอุทธรณใหยกคํารองอุทธรณคําสั่ง ผูอุทธรณ
ยื่นฎีกา ศาลฎีก าจะปรับบทวาคําสั่งศาลอุทธรณเปน ที่สุดตาม
มาตรา ๒๓๖ ปญหานี้เปนขั้นตอนการทํางานที่ผูที่ไมไดทํางาน
ดานนี้โดยตรงอาจแยกไมออกวาคําถามจะถามและตองปรับบท
ตามมาตราใด
คําพิพากษาฎีก าที่ ๒๗๕๗/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๑ น.๑๖๓
อุทธรณของจําเลยที่ขอใหยกคําสั่ง ศาลชั้นตนที่ไม อนุญาตให
จําเลยแกไขและเพิ่มเติมคําใหการ และไมอนุญาตใหสงสํานวน
ไปใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยนั้น หากศาลอุทธรณพิพากษายก
คําสั่ง ศาลชั้น ต น และใหศาลชั้ น ตน ดํา เนิน กระบวนพิ จ ารณา
ตอไปแลว ยอมมีผลกระทบโดยตรงตอคําพิพากษาศาลชั้นตน
กลาวคือคําพิพากษาศาลชั้นตนตองถูกยกเลิกเพิกถอนไปในตัว
จึงเทากับเปนการอุทธรณคําพิพากษาศาลชั้นตนนั่นเอง ในการ
อุทธรณต อ งนําเงิน ค าธรรมเนีย มซึ่ ง จะตอ งใช แกโ จทก ตาม
คําพิพ ากษามาวางศาลพรอ มกับอุ ทธรณ ตาม ป.วิ. พ. มาตรา
๒๒๙ เมื่อจําเลยไมปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงกฎหมายดังกลาว
อุท ธรณข องจํา เลยจึง เป น อุ ทธรณ ที่ไ ม ชอบ และชอบที่ศ าล
118

อุทธรณจะมีคําสั่งยกอุทธรณของจําเลยเสีย คําสั่งศาลอุทธรณ
ที่ใหยกอุทธรณของจําเลยจึงชอบแลว
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๑๐๔/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๑๓๑
คาทนายความที่ศาลอุทธรณกําหนดใหโจทกชําระแกจําเลยเปน
ความรั บ ผิ ดในเรื่ อ งคา ฤชาธรรมเนี ย มที่ โ จทก ผู ฎี ก าจะต อ ง
ปฏิบัติตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ หาใชหนี้ตามคําพิพากษาใน
เนื้อหาคดี อันโจทกจะพึงมีสิทธิยื่นคํารองขอทุเลาการบังคับคดี
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๑ วรรคหนึ่ง ไดไม ดังนั้น การที่โจทก
ยื่นฎีกาโดยจงใจนําเพียงคาธรรมเนียม (คาขึ้นศาล) ตามที่จําเลย
ไดรับอนุญาตใหดําเนินคดีอยางคนอนาถาในชั้นอุทธรณมาวาง
ศาลตามคํ าพิ พากษาศาลอุท ธรณพ ร อ มกับ ฎี ก าโดยมิไ ดว าง
คาทนายความที่ศาลอุทธรณกํ าหนดใหโ จทกชําระแกจําเลย
จึงเปนการยื่นฎีกาโดยมิชอบตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ ชอบที่
ศาลชั้นตนจะมีคําสั่งไมรับฎีกาไดทันที เพราะมิใชกรณีที่โจทก
เสียคาขึ้นศาลชั้นฎีกาไมครบถวนที่ศาลชั้นตนซึ่งมีหนาที่ตรวจ
คํา คู ค วามจะต อ งมี คํ า สั่ ง ให โ จทก ชํ า ระให ค รบถ ว นภายใน
กําหนดระยะเวลาตามที่เห็นสมควรเสียกอนตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๑๘ วรรคสอง
คําพิพากษาฎีก าที่ ๘๐๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๗ น.๕ จําเลย
อุทธรณคําพิพากษาศาลชั้น ตน พร อ มยื่น คํารอ งขอดําเนิน คดี
119

อยางคนอนาถาในชั้นอุทธรณ และจําเลยไดยื่นอุทธรณคําสั่ง
ศาลชั้ น ต น มาด ว ย จํ า เลยย อ มได ย กเว น ไม ต อ งวางเงิ น
ค า ธรรมเนี ย มศาลในการอุ ท ธรณ คํ า พิ พ ากษาและเงิ น
คาธรรมเนียมซึ่งตองใชแทนคูความอีกฝายหนึ่งตามคําพิพากษา
แม จํ า เลยยื่ น อุ ท ธรณ คํ า สั่ ง ศาลชั้ น ต น แยกต า งหากอี ก ฉบั บ
ก็ไดรับการยกเวนเงินคาธรรมเนียมดังกลาวเชนกัน

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๓๑
คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๒๐๓/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๖ น.๕๔ การ
ทุเลาการบังคับเปนกระบวนพิจารณา กฎหมายกําหนดใหอยูใน
อํานาจของศาลแตละชั้นศาล ถาเปนการขอทุเลาการบังคับใน
ระหว า งอุ ท ธรณ ก็ เ ป น เรื่ อ งที่ อ ยู ใ นอํ า นาจศาลอุ ท ธรณ
โดยเฉพาะ เมื่ อ จํา เลยยื่ น คํ า รอ งขอทุ เ ลาการบัง คั บและศาล
อุ ท ธรณ มี คํ า สั่ ง อนุ ญ าตให ทุ เ ลาการบั ง คั บ โดยให ว าง
หลัก ประกัน มิฉะนั้น ใหย กคํารอ ง จําเลยไมอ าจฎีก าคัดคาน
คําสั่งคํารองขอทุเลาการบังคับที่ศาลอุทธรณมีคําสั่งได เพราะ
คําสั่งดังกลาวไมอยูภายใตบังคับเรื่องการอุทธรณฎีกาอยางเรื่อง
อื่น ๆ
120

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๓๔
คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๖๘/๒๕๕๔ ฎ. ๑๕๑ กรณีที่โจทก
ยื่นฎีกา โจทกตองมาฟง คําสั่ง ศาลชั้น ตน ภายใน ๗ วัน ตามที่
ทนายโจทกลงชื่อรับทราบขอความที่ศาลชั้นตนสั่งไว เมื่อครบ
กําหนด ๗ วันนั้นแลว แมโจทกไมมารับทราบคําสั่งเองก็ยอม
ถือไดวาโจทกทราบคําสั่งของศาลที่ใหชําระคาขึ้นศาลเพิ่มนั้น
แล ว ซึ่ ง โจทก ก็ ไ ม ไ ด อุ ท ธรณ โ ต แ ย ง คํ า สั่ ง ศาลชั้ น ต น
ที่ใหเสียคาขึ้นศาลเพิ่มนี้ และไมไดชําระคาขึ้นศาลเพิ่มภายใน
กําหนดเวลาที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งไวดังกลาว การที่ศาลชั้นตนมี
คําสั่งไมรับฎีกาของโจทกจึงชอบแลว ดังนี้ ถึงแมศาลชั้นตนจะ
ดําเนินกระบวนพิจารณาผิดระเบียบในการที่ไมแจงคําสั่งไมรับ
ฎีก าของโจทกใหโ จทกทราบก็ตาม แตเ มื่อ กรณีที่ศาลชั้น ตน
ไม รั บ ฎี ก าของโจทก เ ป น ไปโดยชอบเช น นี้ การที่ จ ะแก ไ ข
กระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบของศาลชั้นตนดังกลาวโดยให
แจง คําสั่ง ใหโ จทกทราบเพื่อ อาจใชสิทธิอุทธรณคําสั่ง ไมรับ
ฎีกาไดก็ไมเปนประโยชนแตอยางใด จึงไมสมควรแกไข
ข อ สั ง เกต คดี นี้ ขั้ น ตอนในการสั่ ง ฎี ก าของศาลชั้ น ต น มี
๒ ขั้นตอน เมื่อ ศาลชั้นตนตรวจฎีกาแลว ศาลชั้นตนสั่ง ๑. ให
โจทกชําระคาขึ้น ศาลเพิ่ม ภายใน ๑๕ วัน ตอมาเมื่อโจทกไม
ชําระคาขึ้นศาลตามคําสั่ง ศาลชั้นตนจึงสั่ง ๒. ไมรับฎีกา การที่
121

ศาลชั้น ตนสั่ง ใหโ จทกมาฟงคําสั่งภายใน ๗ วัน ตั้ง แตวัน ยื่น


ฎีกา คือใหมาฟงคําสั่งศาลชั้นตนที่สั่งใหโจทกชําระค าขึ้นศาล
เพิ่ ม ภายใน ๑๕ วั น ตาม ๑. คํ า สั่ง นี้ แ มศ าลชั้ น ต น ไม แจ ง ให
โจทกทราบก็ถือวาโจทกทราบแลว แตเมื่อครบกําหนด ๑๕ วัน
แลวโจทกไมชําระคาขึ้นศาลเพิ่ม การที่ศาลชั้นตนสั่ง ๒. ไมรับ
ฎีกาของโจทก (ขั้นตอนนี้ไมมีการสั่งใหโจทกมาฟงคําสั่ง ) เมื่อ
ศาลชั้น ตนสั่งไมรับฎีกา ศาลชั้นตนตองสั่งใหหมายแจงคําสั่ง
ใหโจทกทราบ เพื่อโจทกจะไดใชสิทธิอุทธรณคําสั่งไมรับฎีกา
ตามมาตรา ๒๓๔ ประกอบมาตรา ๒๔๗ ตอไป แตคดีนี้ขึ้นมา
สูก ารพิจารณาของศาลฎีก าตามฎีกาของจําเลย และศาลฎีก า
เห็นแลววาที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งไมรับฎีกาของโจทกเปนไปโดย
ชอบแล ว หากศาลฎีก ายอ นสํา นวนใหศ าลชั้ น ต น แจ ง คํา สั่ ง
ไมรับฎีก าใหโ จทกทราบและโจทกอุทธรณคําสั่ง ไมรับฎีก า
ศาลฎีกาก็เห็นดวยกับศาลชั้นตน การยอนสํานวนใหศาลชั้นตน
มีคําสั่งก็ไมเกิดประโยชนดังที่ศาลฎีกาวินิจฉัยไว แตคดีนี้ก็เปน
บรรทัด ฐานใหศาลชั้ น ต น ปฏิบัติ วา กรณี ที่ศาลชั้ น ต น สั่ ง ให
ผูฎีกาชําระคาขึ้นศาลเพิ่ม หากผูฎีกาไมชําระ แลวศาลชั้นตนสั่ง
ไมรับฎีกา ศาลชั้น ตนตองแจงคําสั่งไมรับฎีก าใหผูฎีก าทราบ
เพื่อใหผูฎีก าใชสิทธิยื่น คํารอ งอุทธรณคําสั่งไมรับฎีก าตอ ไป
122

อนึ่ง ฎีก านี้เ ปน ทางปฏิบัติที่ตอ งทราบขั้นตอนในการทํางาน


จึงจะเขาใจขอกฎหมายไดอยางชัดเจน

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๓๖
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๘๕๔/๒๕๕๔ ฎ.๑๔๗๗ ศาล
อุทธรณมีคําสั่งยืนตามคําปฏิเสธของศาลชั้นตนที่ไมรับอุทธรณ
คําสั่งของจําเลยที่ ๑ ที่วาอุทธรณของจําเลยที่ ๑ ไมเปนสาระแก
คดีอัน ควรไดรับการวินิจ ฉัย คําสั่ง ของศาลอุทธรณเปน ที่สุด
ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ ง มาตรา ๒๓๖
วรรคหนึ่ง ตองหามมิใหฎีกา
จําเลยที่ ๒ ไมไดอุทธรณ จึง ไมมีสิทธิฎีกา เพราะเปน
ฎีกาในขอที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลอุทธรณ
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๔๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๓๕ เมื่อ
วันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๔๘ จําเลยยื่นอุทธรณ ศาลชั้นตนมีคําสั่ง
ไมรับอุทธรณ เนื่องจากยื่นเกินกําหนดที่ศาลอนุญาต คือวัน ที่
๑๙ ธัน วาคม ๒๕๔๘ จําเลยอุทธรณคําสั่ง ไมรับอุทธรณ ศาล
ชั้นตนสั่งใหจําเลยนําเงินคาฤชาธรรมเนียมทั้งปวงมาวางศาล
และนําเงิน มาชําระตามคําพิพากษาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๔
ภายใน ๑๕ วันนับแตวันที่มีคําสั่ง วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๘
จําเลยอุทธรณคําสั่งดังกลาวและใหรับอุทธรณคําสั่งของจําเลย
123

โดยไมต อ งนํ าเงิน คา ฤชาธรรมเนี ย มทั้ ง ปวงมาวางศาลและ


ไมตอ งนําเงินมาชําระตามคําพิพากษา ศาลอุทธรณมีคําสั่ง วา
จําเลยมิไดนําเงินมาชําระตามคําพิพากษาหรือหาประกันใหไว
ตอศาลชั้นตน ภายในเวลาที่กําหนด อันเปนการไมปฏิบัติตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๔ คํารอ งอุทธรณคําสั่ง ของจําเลยไมชอบ
ดวยกฎหมายใหยกคํารอง และเมื่อศาลยกคํารองอุทธรณคําสั่ง
ไมรับอุทธรณคําสั่ง ของจําเลยแลว กรณีจึงไมตองสั่ งอุทธรณ
คํารองอุทธรณคําสั่งไมรับอุทธรณของจําเลยฉบับลงวันที่ ๒๓
ธันวาคม ๒๕๔๘ อีก ดังนี้ จึงมีผลเปนการที่ศาลอุทธรณไมรับ
อุทธรณคําสั่งของจําเลยยืนตามคําปฏิเสธของศาลชั้นตน คําสั่ง
ของศาลอุ ท ธรณ ย อ มเป น ที่ สุ ด ตาม ป.วิ . พ. มาตรา ๒๓๖
วรรคหนึ่ง
คําพิพ ากษาฎีก าที่ ๒๔๗๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๑ น.๑๕๗
หลังจากศาลชั้นตนมีคําสั่งไมรับอุทธรณของจําเลยฉบับลงวันที่
๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ตอมาวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๑ ซึ่งยังอยู
ในกํ า หนดระยะเวลายื่ น อุ ท ธรณ ต ามที่ ศ าลชั้ น ต น มี คํ า สั่ ง
อนุญาตใหขยาย จําเลยไดยื่นอุทธรณฉบับใหมเขามา โดยนํา
เงิ น ค า ธรรมเนี ย มซึ่ ง ต อ งใช แ ก คู ค วามอี ก ฝ า ยหนึ่ ง ตาม
คําพิพากษามาวางศาลพรอมอุทธรณตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙
ดวย อุทธรณของจําเลยฉบับนี้เปนการอุทธรณโตแยงคําสั่งศาล
124

ชั้นตนที่ไมอนุญาตใหจําเลยยื่นคําใหการ มิใชอุทธรณคําสั่งศาล
ชั้น ตน ที่ปฏิเ สธไมย อมรับอุทธรณตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๖
จําเลยจึงไมตองนําคาฤชาธรรมเนียมทั้งปวงมาวางศาลและนํา
เงินมาชําระตามคําพิพากษาหรือหาประกัน ใหไวตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๓๔ ดัง ที่ศาลอุทธรณวินิจ ฉัย ศาลอุทธรณพิพากษา
ยกอุ ท ธรณ ข องจํ า เลยมาจึ ง ไม ถู ก ต อ ง ไม ช อบด ว ย ป.วิ . พ.
มาตรา ๒๔๒ (๑)
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๖๕๗/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๑๑ น.๖๘
ป.วิ . พ. มาตรา ๒๓๖ วรรคหนึ่ง บั ญ ญัติ ว า “เมื่ อ คู ความยื่ น
คํารองอุทธรณคําสั่งศาลที่ปฏิเสธไมยอมรับอุทธรณ ใหศาลสง
คํา ร อ งเช น วา นั้ น ไปยั ง ศาลอุ ท ธรณ โ ดยไม ชั ก ช า พรอ มด ว ย
คําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดีของศาลชั้นตนและฟองอุทธรณ
ถาศาลอุทธรณเห็นเปนการจําเปนที่จะตองตรวจสํานวน ใหมี
คําสั่งใหศาลชั้นตนสงสํานวนไปยังศาลอุทธรณ ในกรณีเชนนี้
ใหศาลอุทธรณพิจารณาคํารอ ง แลว มีคําสั่งยืน ตามคําปฏิเ สธ
ของศาลชั้นตนหรือมีคําสั่ง ใหรับอุทธรณ คําสั่งนี้ใหเปนที่สุด
แลว สงไปใหศาลชั้นตน อาน” ดัง นี้ ที่ศาลอุทธรณมี คําสั่ง วา
ที่ศาลชั้นตนยกคํารองขอเพิกถอนการขายทอดตลาดของจําเลย
สืบเนื่อ งมาจากจํา เลยไมว างเงิน หรือ หาประกัน ตอ ศาลตาม
จํานวนและภายในระยะเวลาที่กําหนด ชอบดวย ป.วิ.พ. มาตรา
125

๒๙๖ วรรคหา คําสั่งศาลชั้นตนจึงเปนที่สุด จําเลยจึงไมมีสิทธิ


อุทธรณคําสั่งดังกลาว ที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งไมรับอุทธรณของ
จําเลยนั้นชอบแลว ใหยกคํารอง เทากับศาลอุทธรณมีคําสั่งยืน
ตามคําปฏิเสธของศาลชั้น ตนที่ไมรับอุทธรณคําสั่งของจําเลย
คําสั่งศาลอุทธรณดังกลาวจึงเปนที่สุดตามบทบัญญัติดังกลาว
แมตามคํารองของจําเลยจะกลาวอางวา ป.วิ.พ. มาตรา
๓๐๓ มาตรา ๓๐๔ และมาตรา ๒๙๖ วรรคหา ขัดหรือแยงตอ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ดัง ที่
จําเลยกลาวอางในฎีกาก็ตาม แตตามคําขอทายคํารองของจําเลย
ปรากฏวาจําเลยขอใหสงศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยเฉพาะมาตรา
๓๐๙ ทวิ วรรคหนึ่งและวรรคสี่ วาขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ
แหง ราชอาณาจัก รไทย พุทธศัก ราช ๒๕๕๐ หรือ ไมเ ทานั้ น
โดยไมไดขอใหสง ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวา ป.วิ.พ. มาตรา
๓๐๓ และมาตรา ๒๙๖ วรรคหา ขัดหรือ แยง ตอรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ หรือไมดวย จําเลย
เพิ่ ง ยกขึ้ น อ า งในชั้ น ฎี ก า จึ ง เป น ฎี ก าที่ ไ ม ช อบตาม ป.วิ . พ.
มาตรา ๒๔๙ วรรคหนึ่ ง ศาลฎี ก าไม รั บ วิ นิ จ ฉั ย ให และ
ไมจําตองสงใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย
คําพิพากษาฎีก าที่ ๑๑๕๑๙/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๑๐๗
ศาลชั้นตนมีคําสั่งยกคํารองขอขยายระยะเวลายื่นฎีกาของโจทก
126

โจทกอุทธรณ คําสั่ง การที่ ศาลอุทธรณพิพากษายืน ตามคําสั่ ง


ศาลชั้ น ต น ที่ ไ ม อ นุ ญ าตให โ จทก ข ยายระยะเวลายื่ น ฎี ก า
ไมใชกรณีศาลอุทธรณมีคําสั่งยืนตามคําปฏิเสธของศาลชั้นตน
ที่ไมย อมรับอุทธรณของโจทก คําสั่งศาลอุทธรณจึง ยังไมถึง
ที่ สุ ด ตาม ป.วิ . พ. มาตรา ๒๓๖ วรรคหนึ่ ง โจทก จึ ง มี สิ ท ธิ
ฎีกาได
ขอสังเกต อํานาจในการอนุญาตใหขยายระยะเวลายื่นฎีกาเปน
อํานาจของศาลชั้น ตน ตามมาตรา ๒๓ เมื่อ ศาลชั้น ตน สั่งแลว
คูความสามารถอุทธรณฎีกาไดตามลําดับชั้นศาลดังที่ศาลฎีก า
วินิจฉัยไวในคดีนี้ แตก็ตองพิจารณาวาคดีตองหามฎีกาหรือไม
ดวย เชน คดีมีทุนทรัพยที่พิพาทในชั้นฎีกาไมเกิน ๒๐๐,๐๐๐
บาท เมื่ อ ศาลอุท ธรณวิ นิจ ฉัย แล ว จะต อ งหา มฎี ก าในปญ หา
ขอเท็จจริงตามมาตรา ๒๔๘
127

การบังคับคดี
ขอ ๘ คําถาม ศาลพิพากษาใหจําเลยชําระเงินแกโจทก
๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท พร อ มดอกเบี้ ย เมื่ อ วั น ที่ ๑ กุ ม ภาพั น ธ
๒๕๕๖
ก. โจทกนําเจาพนักงานบังคับคดียึดที่ดินแปลงแรกซึ่งมี
ชือ่ จําเลยถือกรรมสิทธิ์รวมกับนายเอกซึ่งไดตกลงแบงแยกการ
ครอบครองที่ดินโดยลอมรั้วแบงแยกไวของแตละคนไวตั้งแตป
๒๕๕๕
ข. โจทกนําเจาพนักงานบังคับคดียึดที่ดินแปลงหลังซึ่ง
มีชื่อจําเลยถือกรรมสิทธิ์ แตที่ดินดังกลาวศาลจังหวัดเชียงใหม
พิพากษาตามยอมเมื่อวันที่ ๑ กุมภาพัน ธ ๒๕๔๐ ใหจําเลยซึ่ง
เปนจําเลยคดีดัง กลาวโอนที่ดินพิพาทให นายโทซึ่งเปนโจทก
คดีดัง กลาวเขาถือ กรรมสิทธิ์ร วมกึ่ง หนึ่ง ซึ่ง จําเลยจะจัดการ
โอนใหภายใน ๒ เดือน นับแตวัน ที่ทําสัญญา หากไมโ อนให
ถือเอาคําพิพากษาแทนการแสดงเจตนานั้น จําเลยไมปฏิบัติตาม
คําพิพากษา นายโทไปขอออกใบแทนโฉนดที่ดิน ตั้งแตวันที่ ๑
ธันวาคม ๒๕๔๐ แตขอใหรอเรื่องไวกอนโดยไมยอมชําระเงิน
คาธรรมเนียมในการโอนที่ดินตลอดมาจนถึงปจจุบัน
ใหวินิจ ฉัย วา นายเอกและนายโทจะขอกัน สว นที่ดิน
หรือเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดไดหรือไม
128

ขอ ๘ คําตอบ การบังคับคดีแกทรัพยสินของลูกหนี้ตาม


คํา พิ พ ากษานั้น ย อ มไม ก ระทบกระทั่ ง สิท ธิ อื่ น ๆ ซึ่ง บุ ค คล
ภายนอกอาจร อ งขอให บั ง คั บ เหนื อ ทรั พ ย สิ น นั้ น ได ต าม
กฎหมาย จําเลยถือกรรมสิทธิ์รวมที่ดินแปลงแรกกับนายเอกซึ่ง
ได ต กลงแบ ง แยกการครอบครองที่ ดิ น ก อ นมี ก ารบั ง คั บ คดี
ขอ ตกลงยอ มผูก พัน จําเลยและนายเอก โจทกซึ่งเปน เจาหนี้
สามัญมีสิทธิบังคับคดีไดเทาที่จําเลยมีสิทธิในที่ดินพิพาท นาย
เอกจึงมีสิทธิขอใหกันที่ดินแปลงแรกที่นายเอกครอบครองกอน
นําที่ดิน แปลงแรกทั้งแปลงออกขายทอดตลาดตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๘๗ (คําพิพากษาฎีกา
ที่ ๑๓๕๓/๒๕๕๔)
ศาลจัง หวัดเชีย งใหมพิพากษาตามยอมใหจําเลยโอน
ที่ดิน แปลงหลัง ใหน ายโทเขาถือ กรรมสิทธิ์ร วมกึ่ง หนึ่ง หาก
ไม โ อนใหถื อ เอาคํา พิพ ากษาแทนการแสดงเจตนานั้น หาก
จําเลยไมปฏิบัติตามคําพิพากษา นายโทตองดําเนินการบังคับ
คดีภายใน ๑๐ ป ตามมาตรา ๒๗๑ การที่นายโทไปขอออกใบ
แทนโฉนดที่ ดิน ตั้ง แตวัน ที่ ๑ ธัน วาคม ๒๕๔๐ แตขอใหร อ
เรื่องไวกอนโดยไมยอมชําระเงินคาธรรมเนียมในการโอนที่ดิน
ตลอดมาจนถึง ป จ จุบั น จึง ยั ง ถือ ไม ได ว า ได มี ก ารร อ งขอให
129

บัง คั บ คดี ต ามคํ า พิ พ ากษาแล ว เมื่ อ นายโทไม ไ ด ดํ า เนิ น การ


บัง คับ คดีแ กที่ ดิ น พิ พาทซึ่ง เป น ทรั พย สิ น ของจํ าเลยจนเกิ น
กําหนด ๑๐ ป นับแตวันที่คําพิพากษาถึงที่สุด นายโทจึงสิ้นสิทธิ
ที่จะบังคับคดีเอาแกที่ดินแปลงหลังและไมมีสิทธิเรียกใหจําเลย
ปฏิบัติตามคําพิพากษาไดอีกตอไป นายโทจึงไมอยูในฐานะอัน
จะใหจดทะเบียนสิทธิของตนไดอยูกอน และไมใชผูที่อาจรอง
ขอใหบังคับเหนือทรัพยสินนั้นไดตามมาตรา ๒๘๗ นายโทจึง
ไม มี สิ ท ธิ ยื่ น คํ า ร อ งเพื่ อ ขอกั น ส ว นเงิ น ที่ ไ ด จ ากการขาย
ทอดตลาดที่ ดิ น แปลงหลั ง ได (คํ า พิพ ากษาฎี ก าที่ ๕๐๘๘/
๒๕๕๔)
คําพิพากษาฎีก าที่ ๑๓๕๓/๒๕๕๔ ฎ.๑๘๙ ผูรอ งและ
จําเลยที่ ๒ ไดตกลงแบงแยกการครอบครองที่ดินพิพาทกอนมี
การบัง คับคดี ขอ ตกลงยอ มผูก พัน จําเลยที่ ๒ และผูรอ งตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๔ โจทกซึ่งเปนเจาหนี้สามัญมีสิทธิบังคับ
คดีไ ดเ ทาที่ จํา เลยที่ ๒ มี สิท ธิในที่ดิ น พิพ าท ผูร อ งจึง มี สิท ธิ
ขอใหกันที่ดินพิพาทที่ผูรองครอบครองกอนนําที่ดินทั้งแปลง
ออกขายทอดตลาดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๗
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๕๐๘๘/๒๕๕๔ ฎ.๑๒๙๑ ศาล
จัง หวั ด เชี ย งใหม พิ พ ากษาตามยอมเมื่อ วั น ที่ ๑๐ กรกฎาคม
130

๒๕๓๘ ใหจําเลยที่ ๒ ซึ่งเปนจําเลยคดีดังกลาวโอนที่ดินพิพาท


ใหผูรองซึ่งเปนโจทกคดีดังกลาวเขาถือกรรมสิทธิ์รวมบางสวน
ซึ่งจําเลยที่ ๒ จะจัดการโอนใหภายใน ๒ เดือน นับแตวันที่ทํา
สัญญา หากไมโอนใหถือเอาคําพิพากษาแทนการแสดงเจตนา
นั้น เปน ขอ ตกลงที่ใหคูความทั้งสองฝายตอ งดําเนิน การโอน
กรรมสิ ท ธิ์ ท างทะเบี ย นกั น เมื่ อ จํ า เลยที่ ๒ ไม ป ฏิ บั ติ ต าม
คําพิพากษา ผูรองตอ งดําเนินการบัง คับคดีภายใน ๑๐ ป ตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗๑ การที่ผู รอ งไปดําเนิ น การเพีย งขอออก
ใบแทนโฉนดที่ดิน แตขอใหรอเรื่องไวกอนโดยไมยอมชําระ
เงินคาธรรมเนียมในการโอนที่ดินตลอดมา จึงยังถือไมไดวาได
มีการรองขอใหบังคับคดีตามคําพิพากษาแลว เมื่อ ผูรองไมได
ดําเนินการบังคับคดีแกที่ดินพิพาทซึ่งเปนทรัพยสินของลูกหนี้
จนเกิน กํา หนด ๑๐ ป นับ แต วัน ที่ คํา พิพ ากษาถึ ง ที่ สุด ผู รอ ง
จึงสิ้นสิทธิที่จะบังคับคดีเอาแกที่ดิน พิพาทและไมมีสิทธิเรีย ก
ใหจําเลยที่ ๒ ปฏิบัติตามคําพิพากษาไดอีกตอไป ผูรองจึงไมอยู
ในฐานะอั น จะให จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ ข องตนได อ ยู ก อ นตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๐ และไมใชผูที่อาจรองขอใหบังคับเหนือ
ทรัพยสินนั้นไดตามกฎหมายตามที่บัญญัติไวใน ป.วิ.พ. มาตรา
๒๘๗ จึงไมมีสิทธิยื่น คํารองเพื่อ ขอกันสวนเงิน ที่ไดจากการ
ขายทอดตลาดที่ดินพิพาทได
131

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๖๐ (๒)


คําพิพากษาฎีกาที่ ๕๐๘๑/๒๕๕๔ ฎ.๗๐๙ โจทกฟอ ง
ขอใหบังคับจําเลยชําระหนี้เงินตามสัญญาเลตเตอรออฟเครดิต
และสัญญาทรัสตรีซีทซึ่งโจทกชําระราคารถยนตที่จําเลยสั่งซื้อ
จากตา งประเทศ ระหว างพิจ ารณาโจทก มีคําขอใหคุ ม ครอง
ชั่ว คราวก อ นมี คําพิ พากษา ห ามจํ าเลยโอน ขาย ยั ก ยา ยหรื อ
จํ า หน า ยรถยนต พิ พ าท และให น ายทะเบี ย นระงั บ การจด
ทะเบียนการแกไขเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนรถยนตคันพิพาท
ไวชั่ว คราวจนกวาคดีจ ะถึงที่สุดหรือศาลมีคําสั่งเปน อยางอื่น
ตอ มาศาลชั้น ตน มีคําพิพากษาใหจําเลยชําระเงิน ใหแกโ จทก
และคดีถึงที่สุดโดยไมมีคูความฝายใดอุทธรณ ในชั้นบังคับคดี
ผูรอ งยื่น คํา รอ งอางว าเปน ผูซื้อ รถยนตพิพาทมาโดยถู ก ต อ ง
ขอให ศาลมี คํา สั่ ง เพิก ถอนคํ า สั่ง หา มชั่ ว คราวดัง กล าว กรณี
เชน นี้ แมตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๖๐ (๒) บัญญัติใหคําสั่ง ของ
ศาลเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวยังมีผลใชบังคับตอไปก็ตาม แตก็ให
ใชบังคับตอไปเทาที่จําเปนเพื่อปฏิบัติตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง
ของศาลเทานั้น เมื่อคําฟองของโจทกไมมีคําขอใหบังคับจําเลย
ส ง มอบรถยนต คื น แก โ จทก ทั้ ง โจทก อ า งว า โจทก เ ป น ผู มี
กรรมสิทธิ์ในรถยนตดังกลาว เมื่อศาลชั้นตนพิพากษาใหจําเลย
ชําระเงิน แกโจทก ยอมไมมีเ หตุจําเปน ตอ งปฏิบัติตามวิธีการ
132

ชั่ว คราวที่ ห า มจํ าเลยโอนขาย ยั ก ย า ย หรือ จํ า หน ายรถยนต


ดัง กลาว เพื่อ ปฏิบัติตามคําพิพากษานี้อีกแตอ ยางใด คําสั่ง ใน
วิธีการชั่วคราวดังกลาวเปนอันยกเลิกไปในตัวไมมีผลใชบังคับ
อีก ตอไป จึง ไมมีเ หตุที่ผูรองจะขอใหเพิก ถอนคําสั่ง ดังกลาว
ภายหลังศาลมีคําพิพากษาได

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๖๔
คําสั่ง คําร อ งศาลฎี ก าที่ ท.๑๕๒๗/๒๕๕๓ ฎ.๒๕๘๑
โจทกฟองใหจําเลยชําระหนี้เงินและบังคับจํานอง มิใชพิพาท
กันดวยทรัพยสิน สิทธิหรือประโยชนอยางใดอยางหนึ่งที่จําเลย
จะรอ งขอเพื่ อ ใหไ ดรับความคุ ม ครอง โดยขอใหง ดการขาย
ทอดตลาดทรั พ ย จํ า นองไว ชั่ ว คราวในระหว า งฎี ก า ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๖๔

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๗๑
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๒๘๐๙-๒๘๑๐/๒๕๕๔ ฎ.๔๙๗
หลังจากโอนตึกและที่ดินใหแก ส. ไปแลว ตึกพิพาทยังใชเปน
สํา นั ก งานของบริ ษั ท ก. ที่ มี จํ าเลยกั บ ส. เป น กรรมการผู มี
อํานาจ ทั้งจําเลยยังพักอาศัยอยูในตึกพิพาท แมบริษัท ก. จะเปน
ผูเชาตึกพิพาทจาก ส. แตจําเลยก็ยังเปนผูจัดการดูแลครอบครอง
133

ตึก จึงถือไมไดวาสภาพแหงการบังคับคดีไมเปดชองใหกระทํา
ได จําเลยซึ่ง เปน ลูก หนี้ตามคําพิพากษาหรือ ส. ผูซื้อ ตึก และ
ที่ดิน ยังจะตองปฏิบัติตามคําบังคับใหจําเลยรื้อถอนชั้นวางของ
ที่กอ สรางรุก ล้ําเข ามาในที่ดิน ของโจทกที่ ๑ ถึง ที่ ๓ ซึ่ง เปน
เจาหนี้ตามคําพิพากษา
คํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก าเรื่ อ งหลั ง เป น การวิ นิ จ ฉั ย ใน
ประเด็นโตเถียงในชั้นบังคับคดีวาจําเลยจะตองรื้อชั้นวางของที่
กอสรางขึ้นใหมหลังจากรื้อถอนรั้วกําแพงคอนกรีตออกไปแลว
หรือไม สวนคาเสียหายเนื่องมาจากมูลละเมิดที่จําเลยกอสราง
รั้วกําแพงคอนกรีตรุกล้ําเขาไปในที่ดิน ของโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๓
ศาลไดมีคําพิพากษาถึงที่สุดแลวตามคําพิพากษาศาลฎีกาเรื่อ ง
กอนวา ใหจําเลยชดใชคาเสียหายแกโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๓ เดือนละ
๒,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่
๕ กันยายน ๒๕๓๐ จนกวาจําเลยจะรื้อถอนรั้วกําแพงคอนกรีต
ออกจากที่ดินของโจทกที่ ๑ ถึงที่ ๓ แลวเสร็จ คําบังคับที่ออก
ตามคําพิพากษาใหจําเลยรื้อถอนรั้วกําแพงคอนกรีต จึงเปนการ
ใหรื้อ ถอนสิ่ง ปลูก สรางที่ปรากฏอยูในขณะยื่น ฟอ ง สิ่ง ปลูก
สรางที่มีอ ยูในขณะฟอ งหรือ เกิด ขึ้น ในอนาคตในระหวางคดี
จากการกระทําของจําเลยหรือที่จําเลยยินยอมใหกระทําขึ้น ยอม
ตอ งถูก บังคับใหรื้อ ถอนและขนยายดว ยเชน กัน การที่จําเลย
134

กอสรางชั้นวางของขึ้นใหมหลังจากรื้อถอนรั้วกําแพงคอนกรีต
จึงถือวายังไมไดปฏิบัติตามคําบังคับใหครบถวน จําเลยยังตอง
ชดใชค าเสีย หายเดือ นละ ๒,๐๐๐ บาท ที่ มีอ ยูต อ เนื่อ งตราบ
เทาที่จําเลยยังไมรื้อถอนชั้นวางของออกไป โจทกที่ ๑ ถึงที่ ๓
ไมตองขอใหศาลชั้นตนออกคําบังคับใหม
หมายเหตุ (โดยท า นอาจารย สมชั ย ฑีฆ าอุ ต มากร) ส. ผู ซื้ อ
ตึกแถวพิพาทจากจําเลย แมมิใชลูกหนี้ตามคําพิพากษา แตเมื่อ
จําเลยซึ่งเปนลูกหนี้ตามคําพิพากษาโอนตึกแถวพิพาทที่มีการ
กอสรางชั้น วางของรุกล้ําเขาไปในที่ดินของโจทกแก ส. เพื่อ
หลีกเลี่ยงมิใหจําเลยตองถูกบังคับคดีตามคําพิพากษาที่ใหจําเลย
รื้อ ถอนชั้น วางของที่ รุก ล้ําดัง กลาวเขา ไปในที่ดิน ของโจทก
เทากับฟง ไดวา จําเลยและ ส. มีเ จตนารว มกั น ที่จ ะหลีก เลี่ย ง
ไมปฏิบัติตามคําบังคับที่ออกตามคําพิพากษานั้น กรณีถือไดวา
ส. เป น ตั ว แทนของจํ า เลย จึ ง ต อ งถู ก บั ง คั บ ให ป ฏิ บั ติ ต าม
คําพิ พากษารว มกับ จํา เลยที่ต อ งรื้ อ ถอนชั้ น วางของดัง กลา ว
ออกไปจากที่ดินของโจทก สําหรับคาเสียหายตามคําพิพากษา
นั้ น ส. มิ ใ ช ลู ก หนี้ ต ามคํ า พิ พ ากษา จึ ง ไม มี ค วามรั บ ผิ ด ใน
คา เสีย หายตามคํ า พิพ ากษาร ว มกั บจํ า เลยซึ่ ง เป น ลู ก หนี้ ต าม
คําพิพากษา
135

คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๑๔–๓๗๑๗/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๔ น.


๑๒๖ บทบัญญัติตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗๑ ที่วา นับแตวันมีคํา
พิพากษา หมายความวา วันที่คําพิพากษาถึงที่สุด เมื่อคดีนี้ ศาล
ชั้น ตน มี คํา พิพ ากษาในวัน ที่ ๓๐ ตุ ล าคม ๒๕๓๘ จํา เลยยื่ น
อุทธรณในวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ แตศาลชั้นตนเห็นวา
เป น คดี ที่ ต อ งห า มอุ ท ธรณ ใ นข อ เท็ จ จริ ง จึ ง มี คํ า สั่ ง ไม รั บ
อุทธรณในวันดังกลาว คดีจึงถึงที่สุดตั้งแตร ะยะเวลาอุทธรณ
สิ้นสุดลงในวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๑๔๗ วรรคสอง หาใชวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๓๘ ดังที่จําเลยอาง
ในฎีก าไม เมื่อ โจทกไดยื่น คํ าขอใหอ อกหมายบัง คับคดีตาม
คําพิพากษาศาลชั้น ตน ในวั น ที่ ๓๑ มีน าคม ๒๕๔๘ โดยนํ า
เจาพนักงานบังคับคดีไปยังที่ดินพิพาทในวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน
๒๕๔๘ และเจาพนักงานบังคับคดีไดปดประกาศกําหนดเวลา
ใหจําเลยรื้อถอนโรงเรือ นและสิ่ง ปลูก สรางออกไปจากที่ดิน
พิ พ าท หากไม ดํ า เนิ น การเจ า พนั ก งานบั ง คั บ คดี จ ะทํ า การ
รื้อ ถอนในวัน ที่ ๗ ธัน วาคม ๒๕๔๘ จึ ง เป น การดํา เนิน การ
บังคับคดีภายใน ๑๐ ป ตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๒๗๑ แลว
คําพิพากษาฎีกาที่ ๔๒๐๓/๒๕๕๔ ฎ.๑๒๒๘ ผูประกัน
ขอปลอยชั่วคราวจําเลยโดยนําสมุดเงินฝากประจําของธนาคาร
ก. มาเปน หลั ก ประกัน เมื่อ ผู ประกั น ผิ ดสั ญญาประกัน ศาล
136

ชั้นตนมีคําสั่งใหมีหนังสือแจงธนาคาร ก. ถอนเงินฝากมาชําระ
ค า ปรั บ ถื อ ได ว า ศาลชั้ น ต น ได บั ง คั บ เอาแก ท รั พ ย ที่ เ ป น
หลักประกันแลว เพียงแตอยูในขั้นตอนดําเนินการใหธนาคาร
จั ด ส ง เงิ น ตามสมุ ด เงิ น ฝากประจํ า ดั ง กล า วมาชํ า ระค า ปรั บ
เทานั้น แมเจาพนักงานศาลมิไดดําเนินการตามคําสั่งศาลชั้นตน
ก็เปนความบกพรองของเจาพนักงานศาลซึ่งเปนเรื่องทางธุรการ
กรณีไมตอ งบัง คับคดีโดยเจาพนักงานบัง คับคดีที่จ ะตอ งออก
หมายบังคับคดีภายในสิบปนับแตวันมีคําสั่งตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๒๗๑ ประกอบ ป.วิ . อ. มาตรา ๑๕ อี ก ดัง นี้ แม จ ะล ว งเลย
ระยะเวลามากวา ๑๐ ป ก็ไมตองดวยบทบัญญัติดังกลาว จึงไมมี
เหตุคืนหลักประกันใหผูประกัน
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๕๐๘๘/๒๕๕๔ ฎ.๑๒๙๑ ศาล
จัง หวั ด เชี ย งใหม พิ พ ากษาตามยอมเมื่อ วั น ที่ ๑๐ กรกฎาคม
๒๕๓๘ ใหจําเลยที่ ๒ ซึ่งเปนจําเลยคดีดังกลาวโอนที่ดินพิพาท
ใหผูรองซึ่งเปนโจทกคดีดังกลาวเขาถือกรรมสิทธิ์รวมบางสวน
ซึ่งจําเลยที่ ๒ จะจัดการโอนใหภายใน ๒ เดือน นับแตวันที่ทํา
สัญญา หากไมโอนใหถือเอาคําพิพากษาแทนการแสดงเจตนา
นั้น เปน ขอ ตกลงที่ใหคูความทั้งสองฝายตอ งดําเนิน การโอน
กรรมสิ ท ธิ์ ท างทะเบี ย นกั น เมื่ อ จํ า เลยที่ ๒ ไม ป ฏิ บั ติ ต าม
คําพิพากษา ผูรองตอ งดําเนินการบัง คับคดีภายใน ๑๐ ป ตาม
137

ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗๑ การที่ผู รอ งไปดําเนิน การเพีย งขอออก


ใบแทนโฉนดที่ดิน แตขอใหรอเรื่องไว กอนโดยไมยอมชําระ
เงินคาธรรมเนียมในการโอนที่ดินตลอดมา จึงยังถือไมไดวาได
มีการรองขอใหบังคับคดีตามคําพิพากษาแลว เมื่อ ผูรองไมได
ดําเนินการบังคับคดีแกที่ดินพิพาทซึ่งเปนทรัพยสินของลูกหนี้
จนเกิน กํา หนด ๑๐ ป นับ แต วัน ที่ คํา พิพ ากษาถึ ง ที่ สุด ผู รอ ง
จึงสิ้นสิทธิที่จะบังคับคดีเอาแกที่ดิน พิพาทและไมมีสิทธิเรีย ก
ใหจําเลยที่ ๒ ปฏิบัติตามคําพิพากษาไดอีกตอไป ผูรองจึงไมอยู
ในฐานะอั น จะให จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ ข องตนได อ ยู ก อ นตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๐ และไมใชผูที่อาจรองขอใหบังคับเหนือ
ทรัพยสินนั้นไดตามกฎหมายตามที่บัญญัติไวใน ป.วิ.พ. มาตรา
๒๘๗ จึงไมมีสิทธิยื่น คํารองเพื่อ ขอกันสวนเงิน ที่ไดจากการ
ขายทอดตลาดที่ดินพิพาทได
คําพิพ ากษาฎีก าที่ ๖๗๒๔/๒๕๕๔ ฎ.๑๕๘๗ กรณี ที่
โจทกในฐานะผูซื้ออสังหาริมทรัพยรองขอใหศาลออกคําบังคับ
ให ลู ก หนี้ ต ามคํ า พิ พ ากษาหรื อ บริ ว ารออกไปจากอสั ง หา-
ริม ทรั พยที่ซื้ อ ตาม ป.วิ .พ. มาตรา ๓๐๙ ตรี เปน การใชสิท ธิ
บั ง คั บ คดี ข องผู ซื้ อ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย จ ากการขายทอดตลาด
ทรัพยสินของลูกหนี้ตามคําพิพากษา อันเปนขั้นตอนการบังคับ
คดีภายหลัง จากโจทกฝายชนะคดีไดดํา เนิน การบัง คับคดีแ ก
138

ทรั พย สิน ของจํ าเลยฝา ยแพค ดีภ ายในระยะเวลา ๑๐ ป ตาม


ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗๑ แลว จึงมิใชกรณีที่เจาหนี้ตามคําพิพากษา
รองขอใหบังคับคดีแกทรัพยสินของจําเลยเพื่อบังคับชําระหนี้
ตามคําพิพากษา และมิใชการใชสิทธิของโจทกในฐานะที่เปน
เจ า หนี้ ต ามคํ า พิ พ ากษามาบั ง คั บ คดี แ ก ท รั พ ย สิ น ของจํ า เลย
จึง ไมอ าจนําบทบัญญัติเ กี่ย วกับระยะเวลาการบัง คับคดีที่ให
นับแตวันมีคําพิพากษาหรือคําสั่งตามมาตรา ๒๗๑ มาบังคับได
คํา พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๗๖๙๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๗ น.๑๖๕
ศาลชั้ น ต น พิ พ ากษาว า หากจํ า เลยไม ชํ า ระหนี้ ใ ห ยึ ด ทรั พ ย
จํานองออกขายทอดตลาด หากไดเ งิน ไมพอชําระหนี้ ใหยึด
ทรัพยสินอื่นของจําเลยออกขายทอดตลาดนําเงินชําระหนี้แก
โจทกจ นครบ ดัง นั้น การบัง คับคดีจึง ต อ งเปน ไปตามลําดั บ
ของคํ า พิ พ ากษา เมื่ อ ยั ง ขายทอดตลาดทรั พ ย จํ า นองไม ไ ด
การบังคับคดีตามลําดับแรกจึงยังไมเสร็จสิ้น โจทกจะขอบังคับ
ชําระหนี้จ ากทรัพยสิน อื่น ของจําเลยในลําดับตอ ไปยัง ไมได
โดยโจทกจ ะดําเนินการไดตอ เมื่อ มีก ารขายทอดตลาดทรัพย
จํานองแลวไดเงินไมพอชําระหนี้เทานั้น
โจทกไดนําเจาพนักงานบังคับคดียึดทรัพยจํานองเพื่ อ
ขายทอดตลาด แตศาลชั้น ตน ยัง ไมอนุญาตใหขายทอดตลาด
ทรัพย โจทกจึงขอใหเจาพนักงานบังคับคดียึดที่ดินโฉนดเลขที่
139

๒๒๔๐๘ ของจําเลยเพิ่มเติมเนื่องจากจําเลยมีหนี้เปนจํานวน
มากและใหรอการขายทอดตลาดที่ดิน ไวกอ น เมื่อ ขายทรัพย
จํานองไดเ งิน ไมพอชําระหนี้ก็ใหขายที่ดิน ตอไป อันเปน การ
ร อ งขอให เ จ า พนั ก งานบั ง คั บ คดี ดํ า เนิ น การบั ง คั บ คดี แ ก
ทรัพยอื่นภายในสิบปนับแตวันมีคําพิพากษา โดยอาศัยและตาม
คํา บัง คับ ที่ อ อกตามคํ าพิ พ ากษาและตามหมายบัง คั บคดี ซึ่ ง
โจทกไดปฏิบัติตามขั้นตอนครบถวนภายในเวลาการบังคับคดี
แลว ดังนั้น แมโจทกจะนํายึดที่ดินดังกลาวเกินสิบปนับแตวัน
มี คํ า พิ พ ากษา ก็ ถื อ ว า โจทก ไ ด ร อ งขอให บั ง คั บ คดี ต าม
คํา พิพ ากษาภายในสิ บป นับ แต วั น มี คํา พิพ ากษาตาม ป.วิ. พ.
มาตรา ๒๗๑ แล ว กรณี จึ ง ไม มี เ หตุ ที่ โ จทก จ ะมาขอขยาย
ระยะเวลาการบังคับคดีออกไปอีก

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๘๗
คําพิพากษาฎีก าที่ ๑๓๕๓/๒๕๕๔ ฎ.๑๘๙ ผูรอ งและ
จําเลยที่ ๒ ไดตกลงแบงแยกการครอบครองที่ดินพิพาทกอนมี
การบัง คับคดี ขอ ตกลงยอ มผูก พัน จําเลยที่ ๒ และผูรอ งตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๔ โจทกซึ่งเปนเจาหนี้สามัญมีสิทธิบังคับ
คดีไ ดเ ทาที่ จํา เลยที่ ๒ มี สิท ธิในที่ดิ น พิพ าท ผูร อ งจึง มี สิท ธิ
140

ขอใหกันที่ดินพิพาทที่ผูรองครอบครองกอนนําที่ดินทั้งแปลง
ออกขายทอดตลาดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๗
หมายเหตุ (โดยท า นอาจารย ส มชั ย ฑี ฆ าอุ ต มากร) ตาม
คําพิพากษาฎีกาฉบับนี้ การแบงที่ดินระหวางเจาของรวมโดย
การแบงแยกการครอบครองที่ดินนั้น มีผลใหความเปนเจาของ-
รวมในที่ดินระหวางผูรองกับจําเลยที่ ๒ สิ้นสุดลงตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๖๔ วรรคหนึ่ง ทํ าใหแ ต ล ะคนได ที่ ดิน สว นที่ ไ ด
แบงแยกการครอบครองแลวนั้น ยอมใชกับโจทกซึ่งเปนเจาหนี้
สามัญตามคําพิพากษาในอันที่จะบังคับคดีแกทรัพยสินไดเพียง
เทาที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาของตนมีสิทธิเทานั้น ไมอาจบังคับ
คดีเอาแกที่ดินสวนที่เปนของผูรอ งซึ่งเปนบุคคลภายนอกได
ทั้งนี้ เพราะการบังคับคดีไมอาจกระทบกระทั่งถึงสิทธิอื่น ๆ ซึ่ง
บุคคลภายนอกอาจรองขอใหบังคับเหนือทรัพยสินนั้นไดตาม
กฎหมาย ผูรองชอบที่จะรองกันสวนตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๗
หรือรองขัดทรัพยตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๘
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๕๐๘๘/๒๕๕๔ ฎ.๑๒๙๑ ศาล
จัง หวั ด เชี ย งใหม พิ พ ากษาตามยอมเมื่อ วั น ที่ ๑๐ กรกฎาคม
๒๕๓๘ ใหจําเลยที่ ๒ ซึ่งเปนจําเลยคดีดังกลาวโอนที่ดินพิพาท
ใหผูรองซึ่งเปนโจทกคดีดังกลาวเขาถือกรรมสิทธิ์รวมบางสวน
ซึ่งจําเลยที่ ๒ จะจัดการโอนใหภายใน ๒ เดือน นับแตวันที่ทํา
141

สัญญา หากไมโอนใหถือเอาคําพิพากษาแทนการแสดงเจตนา
นั้น เปน ขอ ตกลงที่ใหคูความทั้งสองฝายตอ งดําเนิน การโอน
กรรมสิ ท ธิ์ ท างทะเบี ย นกั น เมื่ อ จํ า เลยที่ ๒ ไม ป ฏิ บั ติ ต าม
คําพิพากษา ผูรองตอ งดําเนินการบัง คับคดีภายใน ๑๐ ป ตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗๑ การที่ผู รอ งไปดําเนิน การเพีย งขอออก
ใบแทนโฉนดที่ดิน แตขอใหรอเรื่องไวกอนโดยไมยอมชําระ
เงินคาธรรมเนียมในการโอนที่ดินตลอดมา จึงยังถือไมไดวาได
มีการรองขอใหบังคับคดีตามคําพิพากษาแลว เมื่อ ผูรองไมได
ดําเนินการบังคับคดีแกที่ดินพิพาทซึ่งเปนทรัพยสินของลูกหนี้
จนเกิน กํา หนด ๑๐ ป นับ แต วัน ที่ คํา พิพ ากษาถึ ง ที่ สุด ผู รอ ง
จึงสิ้นสิทธิที่จะบังคับคดีเอาแกที่ดิน พิพาทและไมมีสิทธิเรี ย ก
ใหจําเลยที่ ๒ ปฏิบัติตามคําพิพากษาไดอีกตอไป ผูรองจึงไมอยู
ในฐานะอั น จะให จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ ข องตนได อ ยู ก อ นตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๐๐ และไมใชผูที่อาจรองขอใหบังคับเหนือ
ทรัพยสินนั้นไดตามกฎหมายตามที่บัญญัติไวใน ป.วิ.พ. มาตรา
๒๘๗ จึงไมมีสิทธิยื่น คํารองเพื่อ ขอกันสวนเงิน ที่ไดจากการ
ขายทอดตลาดที่ดินพิพาทได
คําพิพากษาฎีกาที่ ๗๖๐๘/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล.๑๑ น.๑๙ ทาง
นําสืบของผูรองไมปรากฏขอเท็จจริงวาโจทกไดรูขอเท็จจริงที่
ผูรองอางวาผูรองไมรูเห็นยินยอมในการที่จําเลยนําที่ดินพิพาท
142

ซึ่งเปนสินสมรสระหวางผูรองและจําเลยไปจํานองไวกับโจทก
แตอยางใด เมื่อที่ดินพิพาทมีชื่อจําเลยเปนเจาของแตเพียงผูเดียว
ตองถือวาโจทกรับจํานองไวโดยสุจริต การจํานองจึงสมบูรณ
มีผลผูกพันทรัพยจํานองทั้งหมดทุกสวน เมื่อโจทกฟองบังคับ
จํานองและศาลพิพากษาใหบังคับตามสัญญาจํานองแลวเชนนี้
โจทกย อ มมีสิทธิที่จ ะบังคับคดีใหเ ปน ไปตามคําพิพากษาได
สว นการที่จําเลยนําทรัพยสว นของผูรอ งเขารว มจํานองโดย
ไมไดรับความยินยอมจากผูรองนั้น หากเปนเหตุใหผูรองไดรับ
ความเสียหายอยางไร ผูรองก็ชอบที่จะไปวากลาวเอาแกจําเลย
เปนอีกเรื่องหนึ่งตางหาก จะมารองขอกันสวนใหการบังคับคดี
มีผลผิดไปจากคําพิพากษาหาไดไม
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๓๒๙/๒๕๕๓ ฎ.ส.ล. ๑๑ น. ๒๐๐
โจทกเ ปน ผูครอบครองโฉนดที่ ดิน พิพาทก็ โ ดยจํา เลยผู เ ป น
ลูกหนี้เงินกูใหยึดถือเปนประกันเงินกูตามหนังสือสัญญากูเงิน
โจทกจึงมีสิทธิยึดถือโฉนดที่ดินพิพาทไวเปน ประกันการชําระ
หนี้ จนกวาจะไดรับชําระหนี้เงินกูคืน แตสิทธิยึดถือโฉนดที่ดิน
ดั ง กล า วเป น เพี ย งบุ ค คลสิ ท ธิ บั ง คั บ กั น ได ร ะหว า งคู สั ญ ญา
ไมสามารถใชยันแกบุคคลอื่นได สวนผูรองซื้อและจดทะเบียน
รับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน พิ พาทพรอ มสิ่ ง ปลูก สรางจากจําเลย
ตั้งแตกอนที่โจทกจะฟองเรียกหนี้เงินกูคืนจากจําเลยโดยไดมี
143

การทํ า นิ ติ ก รรมซื้ อ ขายเป น หนั ง สื อ และจดทะเบี ย นต อ


เจาพนักงานที่ดิน นิติกรรมดังกลาวจึงมีผลสมบูรณตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๒๙๙ วรรคหนึ่ง การบังคับคดีแกทรัพยสินของจําเลย
ซึ่งเปนลูกหนี้ตามคําพิพากษายอมไมอาจกระทบกระทั่งถึงสิทธิ
ของผูรองที่มีอยูเหนือทรัพยพิพาทไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๗
โจทกไมมีสิทธิยึดทรัพยพิพาทเพื่อชําระหนี้ตามคําพิพากษา

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๘๘
คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๔๒๙/๒๕๕๕ ฎ. ๗๓๖ มูลหนี้คดีนี้
เกิดขึ้นสืบเนื่องมาจากโจทกฟองจําเลยเปนคดีอาญาในความผิด
ฐานฉ อ โกง และเรี ย กให จํ า เลยชดใช เ งิ น ที่ ห ลอกลวงจาก
ผูเ สีย หายคืน ใหแกผูเ สีย หาย จึง เปน มูล หนี้ล ะเมิดอันเกิดจาก
การกระทําของจําเลยซึ่งเปนสามีของผูรองแตฝายเดียว และเปน
การกระทํ า เฉพาะตั ว เมื่ อ ผู ร อ งลงลายมื อ ชื่ อ เป น พยานใน
หนังสือรับสภาพหนี้กอนที่ศาลชั้นตนจะมีคําพิพากษาวาจําเลย
กระทําความผิดในคดีอาญาจึงไมใชการรับรองหรือใหสัตยาบัน
ในมูล ละเมิด ตามคํ าพิ พากษาของศาลชั้น ตน ที่ จ ะทํา ใหเ ป น
หนี้ รว มที่ส ามีภ ริ ย าจะต อ งรั บ ผิด ชอบร ว มกั น ตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๔๙๐ เมื่อผูเสียหายมิไดฟอง
ใหผูรองรวมรับผิดกับจําเลยตามหนังสือรับสภาพหนี้ ผูรองจึง
144

ไมตองรวมรับผิดกับจําเลยในจํานวนเงินที่จําเลยตองชดใชคืน
แกผูเสียหายตามคําพิพากษาศาลชั้น ตน ดว ย ผูเสียหายจึง ไมมี
สิทธินํายึดที่ดินอันเปนสินสวนตัวของผูรองเพื่อชําระหนี้แกตน
ตามคําพิพากษาศาลชั้นตนได เพราะสินสวนตัวของผูรอ งไมใช
ทรั พ ยสิ น ที่ เ ป น ของภริ ย าซึ่ ง ตามกฎหมายอาจถือ ได วา เป น
ทรัพยสิน ของลูก หนี้ตามคําพิพากษาหรือเปนทรัพยสินที่อาจ
บังคับเอาชําระหนี้ตามคําพิพากษาไดตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพง มาตรา ๒๘๒ วรรคทาย
คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๕๙๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๒ น.๖๖ ผูรอง
ซื้ อ รถยนต คั น พิ พ าทในระหว า งที่ เ ป น ภริ ย าโดยชอบด ว ย
กฎหมายของจําเลย โดยผูรองรวบรวมเงินมาซื้อโดยไดนําเงิน
บางสวนที่ผูรองเก็บสะสมมาตั้งแตกอนจดทะเบียนสมรสกับ
จําเลย และอีก สวนหนึ่ง เปน เงินกูจ ากสหกรณอ อมทรัพยโดย
เงินกูที่ไดมาเปนเงินที่ผูรองไดมาในระหวางเปนสามีภ ริยาโดย
ชอบดวยกฎหมายกับจําเลย ยอมถือเปนสินสมรสตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๔๗๔ หาใชเปนเงินที่ไดมาจากการเปลี่ยนสินสวนตัว
ของผูรองมาเปนสินสมรสดังเชนที่ผูรองกลาวอาง เมื่อรถยนต
คันพิพาทเปนสินสมรส จําเลยจึงเปนเจาของกรรมสิทธิ์รวมดวย
และตามคํารองของผูรองเปนการรองขอใหปลอยทรัพยที่โจทก
นํ า ยึ ด คื น แก ผู ร อ งตาม ป.วิ . พ. มาตรา ๒๘๘ ดั ง นี้ คดี จึ ง มี
145

ประเด็นวินิจฉัยเพียงประเด็นเดียววา ทรัพยสินที่เจาพนักงาน
บั ง คั บ คดี ยึ ด ไว เ ป น ของจํ า เลยหรื อ ลู ก หนี้ ต ามคํ า พิ พ ากษา
หรือไม เมื่อจําเลยมีสวนเปนเจาของรวมในรถยนตคัน พิพาท
นั้นดวย ผูรองจึงไมมีสิทธิรองขอใหปลอยทรัพยที่ยึด
คําพิพากษาฎีก าที่ ๔๙๑๓/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๓ น.๑๘๘
หนี้ตามคําพิพากษามีมูล หนี้ม าจากหนี้เ งิน กูที่จําเลยกูไปจาก
โจทกในป ๒๕๔๐ กอนที่จําเลยกับผูรองจะจดทะเบียนหยากัน
ในป ๒๕๔๔ แมผูรองไมไดเกี่ยวของรูเห็นในการกูเงินดังกลาว
ดวย แตจําเลยกูเงินไปทําไรออยรวมกับผูรอง หนี้เงินกูดังกลาว
จึงเปนหนี้ที่เกิดขึ้นเนื่องมาจากการงานซึ่งสามีภริยาทําดวยกัน
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๙๐ (๓) หนี้ตามคําพิพากษาดัง กลาว
จึงเปนหนี้รวมระหวางจําเลยกับผูรอง แมหลังจากนั้นจําเลยกับ
ผูรอ งจะไดหยาและแบง ทรัพยสิน แบง ความรับผิดในหนี้สิน
ตอกันแลว ก็ไมมีผลกระทบกระเทือนถึงสิทธิของเจาหนี้ในอัน
ที่จะบังคับชําระหนี้เอาจากสินสมรสและสินสวนตัวของจําเลย
กับผูร อ งทั้ง สองฝ ายตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๘๙ หรือ บัง คั บ
ชํา ระหนี้ เ อาจากคนใดคนหนึ่ ง สิ้ น เชิ ง หรือ แต โ ดยสว นก็ ไ ด
ตามแตจ ะเลือ กตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๙๑ โจทกจึง มีสิทธิยึด
ทรัพยพิพาทเพื่อชําระหนี้ตามคําพิพากษาได
146

หมายเหตุ (โดยทานอาจารยสมชัย ฑีฆาอุตมากร) คําพิพากษา


ฎีก าฉบับ นี้ มี ประเด็ น เพี ย งวา โจทก มี สิ ท ธิยึ ด ทรั พย พิ พ าท
หรือไม เมื่อทรัพยพิพาทเปนสินสมรสระหวางจํา เลยกับผูรอง
โจทกซึ่ง เปน เจาหนี้ตามคําพิพากษา จึงมีสิทธิบังคับยึดทรัพย
พิพาทชําระหนี้อันเปนหนี้รวมระหวางจําเลยกับผูรองได ผูรอง
ยอมไมมีสิทธิรองขอกันสวนหรือขอใหปลอยทรัพยพิพาทตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิ จ ารณาความแพ ง มาตรา ๒๘๗ และ
มาตรา ๒๘๘ แตโจทกจะบังคับคดีเอาแกสินสวนตัวของผูรอง
มิได เพราะผูรอ งมิใ ชจําเลยหรื อ ลูก หนี้ตามคําพิ พากษาของ
โจทก ถอยคําในคําพิพากษาฎีกาฉบับนี้ ที่วา “แมหลังจากนั้น
จําเลยกับผูรองจะไดหยาและแบงทรัพยความรับผิดในหนี้สิน
ตอ กัน แลวก็ไมมีผลกระทบกระเทือ นสิทธิของเจาหนี้ในอัน
ที่จะบังคับชําระหนี้จากสินสมรสและสินสวนตัวของจําเลยกับ
ผูรองทั้งสองฝายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา
๑๔๘๙ หรือบังคับชําระหนี้เอาจากคนใดคนหนึ่งสิ้นเชิงหรือแต
โดยสวนก็ไดตามแตจะเลือกตามมาตรา ๒๙๑” เปนแตเพียงการ
อธิ บ ายถึ ง สิ ท ธิ ข องโจทก ต ามกฎหมายสารบั ญ ญั ติ มิ ไ ด
หมายความวาโจทกจะบังคับคดีเอาแกสินสวนตัวของผูรองใน
คดีนี้ได โดยผูรองมิไดอยูในฐานะลูกหนี้ตามคําพิพากษาของ
โจทก
147

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๘๙
คําพิพ ากษาฎีกาที่ ๓๑๒๗–๓๑๒๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๔ น.๙๕
บุ ค คลที่ จ ะขอรั บ ชํ า ระหนี้ จํ า นองก อ นเจ า หนี้ อื่ น ตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๙ วรรคหนึ่ง หมายถึงเจาหนี้จํานองที่ลูกหนี้
ผิดนัดชําระหนี้จํานองซึ่งอาจถูกบังคับจํานองไดแลว หาจําตอง
มี ก ารบอกกล า วบั ง คั บ จํ า นอง ฟ อ งบั ง คั บ จํ า นอง หรื อ มี คํ า
พิ พ ากษาให บั ง คั บ จํ า นองแล ว ไม การขอรั บ ชํ า ระหนี้ ก อ น
เจาหนี้อื่น เปน กระบวนการพิจารณาชั้นบัง คับคดีที่ ก ฎหมาย
มีเจตนารมณใหเจาหนี้จํานองและเจาหนี้บุริมสิทธิเขามาขอรับ
ชําระหนี้กอนเจาหนี้อื่น และเจาหนี้ตามคําพิพากษาในคดีที่มี
การบังคับคดีนั้น เพื่อใหเจาหนี้เหลานั้นไดรับชําระหนี้ตามสิทธิ
ของตนที่ช อบจะได รั บ ชํา ระหนี้ จ ากทรั พย สิ น ของลู ก หนี้ ที่
เจาพนักงานบังคับคดียึดมานั้น กอนหลังกันตามลําดับแหงสิทธิ
จํานองและบุริมสิทธิที่บัญญัติไวใน ป.พ.พ. ใหเสร็จสิ้นไปใน
คราวเดียวกัน ซึ่งจะตองมีการไตสวนพิสูจนสิทธิจํานองรวมทั้ง
บุ ริ ม สิ ท ธิ ว า เป น สิ ท ธิ ที่ ช อบจะขอเข า มารั บ ชํ า ระหนี้ ก อ น
เจาหนี้อื่นหรือไมเพียงใด จนเปนที่ยุติเชนเดียวกับการพิสูจ น
สิทธิจํานองหรือบุริมสิทธิในการฟองเริ่มตนคดีนั้นเอง
148

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๙๐
คําพิพากษาฎีก าที่ ๔๐๒๔/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๓ น.๑๕๔
ป.วิ. พ มาตรา ๒๙๐ วรรคหนึ่ง บัญญั ติวา “เมื่อ เจาพนั ก งาน
บัง คั บ คดี ได ยึ ด หรื อ อายั ด ทรั พย สิ น อย างใดของลู ก หนี้ ต าม
คํ า พิ พ ากษาไว แ ทนเจ า หนี้ ต ามคํ า พิ พ ากษาแล ว ห า มไม ใ ห
เจาหนี้ตามคําพิพากษาอื่นยึดหรืออายัดทรัพยสินนั้นซ้ําอีก ...”
ดัง นั้น การอายัดซ้ําที่จะเปน การตองหามตามบทบัญญัติแหง
กฎหมายดังกลาวจึงหมายถึงทรัพยสินรายการเดียวกันที่เจาหนี้
ตามคําพิพากษาในคดีอื่น ไดขออายัดไว แลว หามมิใหเ จาหนี้
ตามคําพิพากษาในคดีหลังขออายัดซ้ําอีก แตการอายัดเงินเดือน
ของจําเลยที่โจทกขออายัดในคดีนี้เปนคนละจํานวนกับที่เจาหนี้
ตามคําพิพากษาในคดีอื่น ขออายัดไว แตเปนการอายัดเงินใน
สวนที่เหลือจากที่เจาหนี้ตามคําพิพากษาในคดีอื่นไดขออายัด
ไว แมจ ะเปน เงิ น เดือ นเหมือ นกั น แตก็เ ป น คนละจํ านวนกั น
ไมใชทรัพยสินรายเดียวกัน จึงไมเปนการอายัดซ้ําอันเปนการ
ตองหามตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๐ วรรคหนึ่ง

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๙๖ วรรคสอง


คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๘๔/๒๕๕๔ ฎ.๘๓๘ จําเลยซึ่งเปน
ลูกหนี้ตามคําพิพากษายื่นคํารองขอใหศาลมีคําสั่งเพิกถอนการ
149

ขายทอดตลาด โดยอางวาการขายทอดตลาดมีผูเขาสูราคาเพียง
รายเดีย วและราคาที่ไดจ ากการขายทอดตลาดต่ําเกิน สมควร
อันเกิดจากการคบคิดกันฉอฉลหรือความไมสุจริตหรือประมาท
เลินเลออยางรายแรงของเจาพนักงานบังคับคดีและโจทก เมื่อ
ศาลชั้น ตน มีคําสั่ งยกคํารอ งของจําเลยแลว จําเลยยื่น อุทธรณ
เฉพาะปญหาวาการที่เจาพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดทรัพย
ไป โดยมีผูเขาสูราคาเพียงรายเดียวชอบหรือไม ซึ่งเปนอุทธรณ
ในประเด็นที่รอ งขอใหเพิก ถอนการขายทอดตลาดโดยอาศัย
เหตุอื่นตามที่บัญญัติไวใน ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๖ วรรคสอง มิใช
ประเด็ น ที่ ร อ งขอให เ พิ ก ถอนการขายทอดตลาดโดยอาศั ย
เหตุ ก ารขายทอดตลาดทรัพ ยสิน ในราคาต่ํา เกิ น สมควรโดย
มิชอบตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๓๐๙ ทวิ วรรคสอง อันจะทํา
ใหคําสั่งศาลชั้นตนเปนที่สุดไดตามมาตรา ๓๐๙ ทวิ วรรคสี่
การขายทอดตลาดทรั พย ข องลูก หนี้ ตามคํา พิพ ากษา
กฎหมายมิไดบัญญัติใหตองมีผูเขาแขงขันประมูลราคา แมการ
ขายทอดตลาดทรัพยคดีนี้จะมีโ จทกเขาสูราคาเปนผูซื้อทรัพย
เพียงรายเดียวก็ตาม เจาพนักงานบังคับคดีก็สามารถดําเนินการ
ขายทอดตลาดไปไดโดยไมจําเปนตองมีผูประมูลราคารายอื่น
เข า มาแข ง ขั น ด ว ย ประกอบกั บ ยั ง ได ค วามอี ก ว า การขาย
ทอดตลาดดังกลาวเปนการขายทอดตลาดครั้งที่ ๑๙ ซึ่งการขาย
150

ทอดตลาดครั้ง กอ นหนานี้ไมมีผูใดสนใจเขาสูร าคานอกจาก


โจทก การดําเนินการขายทอดตลาดของเจาพนักงานบังคับคดี
จึงชอบดวยกฎหมาย
คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๑๓/๒๕๕๔ ฎ.๑๔๙๓ คํารองของ
ผูซื้อทรัพยที่วา โจทกทราบกอนจะนําเจาพนักงานบังคับคดียึด
ทรัพยวามีกลุม บุคคลไดสิทธิครอบครองที่ดิน และบานพิพาท
โดยอายุความแล ว แตโ จทกและเจา พนัก งานบั ง คับ คดี ก ลั บ
ร ว มกั น ปกป ด ความจริ ง ไว ไม ดํ า เนิ น การแก ไ ขก อ นที่ จ ะ
ประกาศขายทอดตลาดทรัพย จึง เปน การขายทอดตลาดโดย
ไมสุจ ริต ขอใหศาลมีคําสั่งเพิกถอนการยึดโดยไมยกเลิกการ
บังคับคดี กับใหยกเลิกการขายทอดตลาด และใหเจาพนักงาน
บังคับคดีคืนเงินมัดจําแกผูซื้อทรัพย อันเปนกรณีที่ผูซื้อทรัพย
ซึ่งเปนผูมีสวนไดเสียในการบังคับคดีอางวาเจาพนักงานบังคับ
คดีดําเนิน การบังคับคดีฝาฝน ตอ บทบัญญัติแหง การบังคับคดี
ตามคําพิพากษาหรือ คําสั่ง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจ ารณา
ความแพง มาตรา ๒๙๖ วรรคสอง
ผูซื้อทรัพยทราบพฤติการณอันเปนมูลแหงขออางขอให
เพิกถอนการยึดกับยกเลิกการขายทอดตลาดนับแตวันที่เขาไป
ตรวจสอบทรัพย แทนที่ผูซื้อทรัพยจะใชสิทธิทางศาลดําเนิ น
การแกบุ คคลดัง กล าวใหอ อกไป ผู ซื้ อ ทรัพ ยก ลั บยื่ น คํ าร อ ง
151

ขอใหเจาพนักงานบังคับคดีดําเนินการขับไลซึ่งไมมีบทบัญญัติ
ของกฎหมายใหอํานาจเจาพนัก งานบัง คับคดีที่จ ะกระทําได
การที่ผูซื้อทรัพยเพิ่งมายื่นคํารองขอใหศาลเพิกถอนการบังคับ
คดีที่ฝาฝนตอกฎหมายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
แพง มาตรา ๒๙๖ วรรคสอง เมื่อพนกําหนดสิบหาวัน นับแต
ทราบวันที่ทราบพฤติการณอันเปนมูลแหงขออางตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจ ารณาความแพง มาตรา ๒๙๖ วรรคสาม แลว
จึงเปนคํารองที่ไมชอบ และเปนปญหาขอกฎหมายอันเกี่ยวดวย
ความสงบเรียบรอยของประชาชน ศาลอุทธรณมีอํานาจยกขึ้น
วินิจฉัยไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา
๑๔๒ (๕) ประกอบมาตรา ๒๔๖

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๙๖ วรรคสาม


คําพิพ ากษาฎีก าที่ ๑๐๘/๒๕๕๔ ฎ.๘๐๖ ผูรอ งทราบ
ประกาศการขายทอดตลาดที่ดินและสิ่งปลูกสรางซึ่งจําเลยที่ ๒
ถื อ กรรมสิ ท ธิ์ ร ว มกั บ ผู ร อ งโดยชอบ และทราบเรื่ อ งที่
เจาพนักงานบังคับคดีดําเนินการบังคับคดีฝาฝนตอบทบัญญัติ
ของกฎหมายตั้งแตวันที่ ๗ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ ซึ่งเปนวันขาย
ทอดตลาดแลว แตผูรองมายื่นคํารองตอศาลขอใหเพิกถอนการ
ขายทอดตลาดเมื่อวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๔๙ จึงเปนการยื่นคํารอง
152

เมื่อพนกําหนดเวลาสิบหาวันที่กฎหมายกําหนด ผูรองยอมไมมี
สิทธิรองคัดคานใหเพิกถอนการขายทอดตลาดได
คําพิพากษาฎีกาที่ ๕๗๕๒/๒๕๕๓ ฎ.๒๒๓๙ จําเลยยื่น
คํารอ งขอเพิกถอนหมายบังคับคดีในคดีนี้อางวาจําเลยไมได
ผิดสัญญาประนีประนอมยอมความที่ศาลพิพากษาตามยอม
การที่จําเลยยื่นคําแถลงตอเจาพนักงานบังคับคดีในอีกคดีหนึ่ง
ที่เจาหนี้ตามคําพิพากษาอายัดทรัพยสินของจําเลยวา ทรัพยสิน
ของจํ า เลยถู ก เจ า หนี้ ห ลายรายรวมทั้ ง โจทก อ ายั ด ไว แ ล ว
การอายัดทรัพย สิน ในคดีดัง กล าวจึง เปน การอายัดซ้ํา ขอให
เจาพนักงานบังคับคดีถอนการอายัดและเจาพนั กงานบังคับคดี
ไดถอนการอายัดแลวเปนการดําเนินการในคดีอื่นมิใชในคดีนี้
จึงมิใชกรณีที่จําเลยไดดําเนินการอันใดขึ้นใหมหรือเปนการให
สัตยาบันแกการกระทํานั้น จําเลยจึงมีสิทธิรองขอใหเพิกถอน
หมายบังคับคดีในคดีนี้ไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๖ วรรคหนึ่ง
และวรรคสาม
วันครบกําหนดชําระหนี้ตรงกับวันเสาร การที่จําเลยนํา
เงินเขาบัญชีของโจทกในธนาคารทันทีในวันแรกที่เปดทําการ
จึงไมถือวาจําเลยผอนชําระหนี้แกโจทกลวงพนกําหนดและตก
เปนผูผิดนัดตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๘ แมธนาคารเปดทําการ
ในวันเสารอาทิตยก็มี ก็ไมอาจเปนขอยกเวนของกฎหมายได
153

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๙๖ วรรคหา


คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๔๐๙/๒๕๕๕ ฎ.๔๕๗ ประมวล
กฎหมายวิธี พิ จ ารณาความแพ ง มาตรา ๒๙๖ วรรคหา มิ ไ ด
บัญญัติวาพยานหลักฐานเบื้องตนจะตองไดมาจากการไตสวน
คํารอ ง อีก ทั้ง เปน ดุล พินิจ ของศาล เมื่อ ศาลชั้น ตน มีคําสั่ง ให
จําเลยทั้งหกนําเงิน มาวางศาลและจําเลยทั้ง หกไมปฏิบัติตาม
ศาลชั้นตนชอบที่จะยกคํารองของจําเลยทั้งหกได และคําสั่งศาล
ชั้นตนยอมเปนที่สุดตามบทกฎหมายดังกลาว จําเลยทั้งหกไมมี
สิทธิอุทธรณฎีกาไดอีก

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๙๖ ทวิ


คําพิพากษาฎีกาที่ ๙๔/๒๕๕๕ ฎ.๔๑๙ ศาลลางทั้งสอง
พิพากษาใหจําเลยที่ ๑ รื้อถอนเสาเหล็กทั้งหมดออกไปจากทาง
พิพาท หากจําเลยที่ ๑ ไมรื้อถอนใหโจทกทั้งสองเปนผูรื้อถอน
ดว ยคาใชจายของจําเลยที่ ๑ เอง เปน การไมชอบดว ยวิธีก าร
บั ง คั บ ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ ง มาตรา
๒๙๖ ทวิ เพราะเป น อํ า นาจของเจ า พนั ก งานบั ง คั บ คดี ที่ จ ะ
ดําเนินการ
คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๘๗๑๙/๒๕๕๔ ฎ.๑๘๔๓ คํ า
พิพากษาศาลอุทธรณที่ใหจําเลยรื้อและปรับปรุงแกไขหองชุด
154

ของจํ า เลยให ก ลั บ สู ส ภาพเดิ ม หากไม ป ฏิ บั ติ ใ ห โ จทก


ดํ า เนิ น การรื้ อ และปรั บ ปรุ ง แก ไ ขให ก ลั บ คื น สู ส ภาพเดิ ม
โดยคาใชจายของจําเลยเปน การไมชอบดว ยวิธีก ารบังคั บคดี
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๙๖ ทวิ
เพราะเปนอํานาจของเจาพนักงานบังคับคดีที่จะดําเนินการ

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๙๖ จัตวา


คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๕๑๖/๒๕๕๕ ฎ.๕๕๘ คํารองของ
จําเลยที่ ๒ ซึ่งไมปฏิบัติตามคําบังคับ ตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพง มาตรา ๓๐๙ ตรี ที่อางวาโจทกยินยอมให
จําเลยที่ ๒ ทําสัญญาเชาที่ดินพิพาทกับบริษัท อ. จําเลยที่ ๒ จึง
มีสิทธิอาศัยในที่ดินพิพาท ขอใหเพิกถอนคําบังคับ เปนกรณีที่
จํ า เลยที่ ๒ อ า งว า มี อํ า นาจพิ เ ศษที่ ต อ งบั ง คั บ ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๙๖ จัตวา (๓) ตามที่
บั ญ ญั ติ ใ นมาตรา ๓๐๙ ตรี ซึ่ ง ผู ที่ จ ะยื่ น คํ า ร อ งตามมาตรา
๒๙๖ จัตวา (๓) ตองเปนผูที่อางวาไมใชลูกหนี้ตามคําพิพากษา
หรือ บริวารของลูกหนี้ตามคําพิพากษาเทานั้น เมื่อจําเลยที่ ๒
เปนลูกหนี้ตามคําพิพากษา ยอมไมอาจอางฐานะอื่นเพื่อแสดง
อํานาจพิเศษใหหลุดพนจากการถูกบังคับคดีได จําเลยที่ ๒ จึง
ไมมีสิทธิยื่นคํารองตอศาล
155

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๒๙๘
คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๕๐๘/๒๕๕๔ ฎ.๑๔๘๙ คํารองของ
โจทก มิ ไ ด ข อให ศ าลมี คํ า สั่ ง จั บ กุ ม และกั ก ขั ง จํ า เลยซึ่ ง เป น
ลูกหนี้ตามคําพิพากษา เพียงขอใหศาลมีคําสั่งใหจําเลยปฏิบัติ
ตามคํ า พิ พ ากษาเท า นั้ น จึ ง มิ ใ ช คํ า ขอให จั บ ตั ว ลู ก หนี้ ต าม
คํ า พิ พ ากษาโดยเหตุ จ งใจขั ด ขื น ไม ป ฏิ บั ติ ต ามคํ า บั ง คั บ
ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ ง มาตรา ๒๙๘
วรรคหนึ่ง ศาลจะออกหมายเรียก หมายจับหรือสั่งกักขังลูกหนี้
ตามคําพิพากษาตามวรรคสองของบทบัญญัติดังกลาวไมได

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๓๐๖
คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๔๘/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๕ น.๑๘ ที่ดิน
ที่เ จาพนัก งานบัง คับคดียึดไวมีชื่อ จําเลยที่ ๑ เทานั้นเปนผูถือ
กรรมสิทธิ์ ไมมีชื่อ จําเลยที่ ๒ ปรากฏอยูดว ย ทั้งไมปรากฏวา
จําเลยที่ ๒ มีสวนเปนเจาของกรรมสิทธิ์ในที่ดินแปลงดังกลาว
รวมกับจําเลยที่ ๑ การที่เจาพนักงานบังคับคดีแจงประกาศขาย
ทอดตลาดแต เ ฉพาะจําเลยที่ ๑ ซึ่ง มีชื่อ ตามโฉนดที่ดิ น เพีย ง
ผูเดียว ถือวาเจาพนักงานบังคับคดีแจงประกาศขายทอดตลาด
ชอบดวย ป.วิ.พ. มาตรา ๓๐๖ แลว
156

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๓๐๙ ทวิ วรรคหนึ่ง


คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ ๑๘๔๖/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล.๖ น.๔๘
บทบัญญัติมาตรา ๓๐๙ ทวิ วรรคหนึ่ง มีความหมายแตเพียงวา
ในการขายทอดตลาดทรัพยสินของลูกหนี้ตามคําพิพากษาใน
ครั้ ง ถั ด ๆ มานั้น หากมีผู เ สนอราคาสู ง สุ ด ไม นอ ยกว า ราคา
สูงสุดในครั้งกอ นที่มีผูเสนอซื้อ ไว และเจาพนักงานบังคับคดี
เห็นวาเปนราคาที่สมควรขายได เจาพนัก งานบังคับคดีก็ชอบ
ที่จ ะเคาะไมขายใหแกผูเ สนอราคาสูง สุดในครั้ง หลัง นี้ไปได
โดยไม จํ า ต อ งฟ ง ว า เจ า หนี้ ต ามคํ า พิ พ ากษา ลู ก หนี้ ต าม
คําพิพากษา หรือ ผูมีสว นไดเ สีย ในการบังคับคดีจ ะคัดคานวา
ราคาต่ําไปหรือไมอีก ทั้งนี้ เพื่อใหการบังคับคดีดําเนินตอไปได
โดยไม ชั ก ช า หาได มี ค วามหมายว า ในการขายทอดตลาด
ทรัพยสินดังกลาวในครั้งถัด ๆ มา เจาพนักงานบังคับคดีจะตอง
เคาะไมขายใหแกผูเสนอราคาสูงสุดในจํานวนไมนอยกวาราคา
สูง สุดที่มีผูเ สนอซื้อ ในครั้ง กอ นดังที่จําเลยที่ ๒ ฎีก าไม หาก
เจาพนักงานบังคับคดีไมมีอํานาจใชดุลพินิจพิจารณาวาราคาที่
ผูเสนอซื้อครั้งหลังเปนราคาที่สมควรหรือไมและไมมีอํานาจ
เคาะไมขาย หากเปน ราคาที่ต่ํากวาราคาที่มีผูเสนอซื้อในครั้ง
กอน การขายทอดตลาดทรัพยของลูกหนี้ตามคําพิพากษาก็จ ะ
เนิ่น ชาไปโดยไม มีกําหนด ซึ่ง ตามเจตนารมณของกฎหมาย
157

ไมนาจะประสงค ใหเกิดผลเชนนั้น ดังนั้น การที่เ จาพนัก งาน


บัง คับคดีเ คาะไมขายทรัพยจํานองรายนี้ใหแกผูซื้อ ทรัพยใน
ราคาที่นอยกวาราคาสูงสุดที่มีผูซื้อทรัพยเสนอไวในครั้งกอ น
แตสูง กวาราคาที่จําเลยที่ ๒ คัดคานในการขายครั้ง ที่ ๖ จึง ยัง
ถือ ไม ไดวา เปน การกระทํ าที่ฝา ฝน ต อ บทบั ญญัติ ของมาตรา
๓๐๙ ทวิ วรรคหนึ่ง

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๓๐๙ ทวิ วรรคสี่


คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๘๔/๒๕๕๔ ฎ.๘๓๘ จําเลยซึ่งเปน
ลูกหนี้ตามคําพิพากษายื่นคํารองขอใหศาลมีคําสั่งเพิกถอนการ
ขายทอดตลาด โดยอางวาการขายทอดตลาดมีผูเขาสูราคาเพียง
รายเดีย วและราคาที่ไ ดจ ากการขายทอดตลาดต่ําเกิน สมควร
อันเกิดจากการคบคิดกันฉอฉลหรือความไมสุจริตหรือประมาท
เลินเลออยางรายแรงของเจาพนักงานบังคับคดีและโจทก เมื่อ
ศาลชั้น ตน มีคําสั่งยกคํารอ งของจําเลยแลว จําเลยยื่น อุทธรณ
เฉพาะปญหาวาการที่เจาพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดทรัพย
ไป โดยมีผูเขาสูราคาเพียงรายเดียวชอบหรือไม ซึ่งเปนอุทธรณ
ในประเด็นที่รอ งขอใหเพิก ถอนการขายทอดตลาดโดยอาศัย
เหตุอื่นตามที่บัญญัติไวใน ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๖ วรรคสอง มิใช
ประเด็ น ที่ ร อ งขอให เ พิ ก ถอนการขายทอดตลาดโดยอาศั ย
158

เหตุ ก ารขายทอดตลาดทรัพ ยสิน ในราคาต่ํา เกิ น สมควรโดย


มิชอบตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๓๐๙ ทวิ วรรคสอง อันจะทํา
ใหคําสั่งศาลชั้นตนเปนที่สุดไดตามมาตรา ๓๐๙ ทวิ วรรคสี่
การขายทอดตลาดทรั พย ข องลูก หนี้ ตามคํา พิพ ากษา
กฎหมายมิไดบัญญัติใหตองมีผูเขาแขงขันประมูลราคา แมการ
ขายทอดตลาดทรัพยคดีนี้จะมีโ จทกเขาสูราคาเปนผูซื้อทรัพย
เพียงรายเดียวก็ตาม เจาพนักงานบังคับคดีก็สามารถดําเนินการ
ขายทอดตลาดไปไดโดยไมจําเปนตองมีผูประมูลราคารายอื่น
เข า มาแข ง ขั น ด ว ย ประกอบกั บ ยั ง ได ค วามอี ก ว า การขาย
ทอดตลาดดังกลาวเปนการขายทอดตลาดครั้งที่ ๑๙ ซึ่งการขาย
ทอดตลาดครั้ง กอ นหนานี้ไมมี ผูใดสนใจเขาสูร าคานอกจาก
โจทก การดําเนินการขายทอดตลาดของเจาพนักงานบังคับคดี
จึงชอบดวยกฎหมาย

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๓๐๙ ตรี


คําพิพ ากษาฎีก าที่ ๖๗๒๔/๒๕๕๔ ฎ.๑๕๘๗ กรณี ที่
โจทกในฐานะผูซื้ออสังหาริมทรัพยรองขอใหศาลออกคําบังคับ
ให ลู ก หนี้ ต ามคํ า พิ พ ากษาหรื อ บริ ว ารออกไปจากอสั ง หา
ริม ทรั พยที่ซื้ อ ตาม ป.วิ .พ. มาตรา ๓๐๙ ตรี เปน การใชสิท ธิ
บั ง คั บ คดี ข องผู ซื้ อ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย จ ากการขายทอดตลาด
159

ทรัพยสินของลูกหนี้ตามคําพิพากษา อันเปนขั้นตอนการบังคับ
คดีภายหลัง จากโจทกฝายชนะคดีไดดํา เนิน การบัง คับคดีแ ก
ทรั พย สิน ของจํ าเลยฝา ยแพ ค ดีภ ายในระยะเวลา ๑๐ ป ตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗๑ แลว จึงมิใชกรณีที่เจาหนี้ตามคําพิพากษา
รองขอใหบังคับคดีแกทรัพยสินของจําเลยเพื่อบังคับชําระหนี้
ตามคําพิพากษาและมิใชการใชสิทธิของโจทกในฐานะที่เปน
เจ า หนี้ ต ามคํ า พิ พ ากษามาบั ง คั บ คดี แ ก ท รั พ ย สิ น ของจํ า เลย
จึง ไมอ าจนําบทบัญญัติเ กี่ย วกับระยะเวลาการบัง คับคดีที่ให
นับแตวันมีคําพิพากษาหรือคําสั่งตามมาตรา ๒๗๑ มาบังคับได

คําพิพากษาฎีกานาสนใจมาตรา ๓๑๒
คําพิ พากษาฎี ก าที่ ๒๒๐๒/๒๕๕๔ ฎ.ส.ล. ๕ น.๘๒
ป.วิ.พ. มาตรา ๓๑๒ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา ถาบุคคลภายนอก
ที่ไดรับคําสั่งอายัดทรัพยปฏิเสธหรือโตแยงหนี้ที่เรียกรองเอา
แกตน ศาลอาจทําการไตสวน และ (๑) ถาศาลเปนที่พอใจวาหนี้
ที่เ รีย กรอ งนั้น มีอ ยูจริง ก็ใหมีคําสั่ง ใหบุคคลภายนอกปฏิบัติ
ตามคํ า สั่ง อายั ด ดั ง นั้ น การที่ผู ร อ งได มี ห นั ง สื อ ปฏิ เ สธการ
สงเงินตามที่ไดแจงอายัดแกเจาพนักงานบังคับคดีดวยเหตุผลวา
ไดมีการหักเงินประกันผลงานไปแลว และไมมีเงินเหลือที่จะสง
ใหแกเจาพนักงานบังคับคดี จึงถือวาเปนการปฏิเสธหรือโตแยง
160

หนี้ที่เรียกรองเอาแกผูรอง ศาลชั้นตนจึงตองทําการไตสวนให
ไดความวาผูรองยังมีหนี้ที่ตองชําระแกจําเลยอยูหรือไม การที่
ศาลชั้น ตนออกหมายบังคับคดีใหยึดและอายัดทรัพยสินของ
ผูร อ งโดยไมไ ด ทํ า การไตส วนเสีย ก อ น จึ ง เปน การไม ช อบ
การที่ผูรอ งไดโ ตแยง ปฏิเ สธการชําระหนี้ตามที่อ ายัดไวแลว
ไมเปนเหตุที่จะทําใหศาลชั้นตนออกหมายบังคับคดีได

-------------------------

You might also like