You are on page 1of 37

ข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ.

2529 *
------------------------
* เวลาตอบข้อสอบเขียนชื่อข้อบังคับให้ถูกด้วยนะครับ

จริยธรรมของทนายความ
“วิชาชีพทหนายความเป็นวิชาชีพที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นวิชาชีพอันมีเกียรติติดต่อกัน
มานานนับแต่วาระแรกของวิชาชีพนี้ได้ก่อกาเนิดขึ้น ความหมายของ “วิชาชีพอันมีเกียรติ” นี้เป็น
ความหมายที่มุ่งเทิดทู นผลงานของทนายความโดยตรง ทั้งนี้เพราะทนายความเป็นผู้อุทิศตนให้แก่
การศึกษา ค้นคว้าวิชากฎหมายโดยตลอดเวลานั้น ไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ส่วนหนึ่งของกระบวนการ
ยุติธรรม ในอันที่จะค้นหาความจริงที่ซ้อนอยู่เบื้องหลังข้อพิพาททั้งปวงระหว่างคู่กรณี อาชีพทนายความ
ถือได้ว่าเป็นอาชีพที่มีส่วนประคับประคองและผดุงความยุติธรรมของสังคมไว้โดยตรงด้วยการปฏิบัติให้
เป็นไปตามตัวบทกฎหมาย
ด้วยเหตุที่ทนายความเป็นนักกฎหมายสาขาหนึ่ง ซึ่งมีความสาคัญในการผดุงความ
ยุติธรรมดังกล่าวแล้ว ทนายความจึงควรมีค วามประพฤติที่เ หมาะสมในขณะปฏิบั ติหน้าที่ใ นศาล
ควรปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับอาชีพที่ได้รับความไว้วางใจจากประชาชน การปฏิบัติตนภายนอกศาล
ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับคดี ควรอยู่ในกรอบของจริยธรรม และการดารงตนเป็นทนายความควรอยู่ในกรอบ
ของจริยธรรมทั้งในด้านส่วนตัวและบุคคลภายนอก”
(ศาสตราจารย์มารุต บุญนาค)
2

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 5 คดีความที่ทนายควรรับ วรรคทอง
1. ไม่รับหน้าที่
1. คดีความที่ทนายควรรับ “เมื่อศาลขอแรงตาม ป.วิ.อ. มาตรา 173 ทนายความต้องรั บว่ า
2. เมื่อผู้พิพากษาได้ขอแรงให้เป็น
1) คดีที่ศาลตั้งทนายความให้ (ศาลขอแรง) ความ ซึ่งมรรยาททนายความข้อนี้เป็นมรรยาทต่อศาล แม้ทนายความ
ทนายความแก้ต่างในคดีอาญา 2) คดีที่ทนายความเป็นคู่ความ ไม่ว่าจะเป็นโจทก์หรือจาเลย ยังไม่ได้รับแต่งตั้งจากจาเลยให้ว่าความในคดี ก็อาจประพฤติผิดมรรยาท
3. เว้นแต่
(รับทาคดีเพื่อประชาชน) ทนายความข้อนี้ได้”
มีข้อแก้ตัวโดยสมควร
3) คดีฝืนมติมหาชน (ทนายความทีเ่ สียสละ) ตัวอย่าง
2. คดีที่ศาลตั้งทนายความให้ เรียกว่า “ทนายขอแรง”
1. นาย A รับเป็นทนายความแก้ต่างให้ นาย B จาเลยตามที่ศาลขอแรง
เป็นคดีที่ศาลขอแรงให้แก้ต่างให้จาเลยในคดีอาญา
ถือว่าไม่ประพฤติผิดมรรยาทนายความฯ ข้อ 5 แต่การที่ นาย A ไม่ไปศาล
ตามประมวลวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 173 ตามนั ด 2 ครั้ ง โดยไม่ แ จ้ ง เหตุ ข้ อ ขั ด ข้ อ ง ถื อ ว่ า เป็ น การทอดทิ้ ง คดี
1) ต่างจังหวัด ศาลจะเรียกขอแรงตามบัญชีทนายความที่ขึ้น
ตามข้อบังคับฯ ข้อ 12 (1)
ทะเบียนว่าความในจังหวัดนั้น
2) กทม. ประกาศให้ทนายที่ต้องการรับคดีขอแรง 2. การที่ศาลได้ของแรง นาย A ทนายความ ให้ว่าความและแก้ต่างแก่
จากศาลมาลงชื่อและทาบัญชีรายชื่อไว้ นาย B จาเลยในคดีอาญาซึ่งมีฐานะยากจนและไม่สามารถหาทนายความ
3. อย่างไรก็ตาม เมื่อศาลขอแรงไปแล้ว ทนายความควรต้อง เองได้ นาย A รับว่าความ ครั้นเมื่อถึงวันนัดสืบไม่พยาน นาย A ไม่ไปศาล
รับไว้ เพราะหากไม่รับเป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ จึงถือไม่ได้ว่า นาย A ไม่รับหน้าที่เมื่อผู้พิพากษาได้ขอแรงให้เป็นทนายความ
ตามข้อบังคับฯ ข้อ 5 นี้ แก้ต่างในคดีอาญาตามข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ
พ.ศ. 2529 ข้อ 5 แต่อย่างใด เพราะ นาย A ได้รับว่าความและแก้ต่างคดี
ตามที่ ศ าลได้ ข อแรงแล้ ว แต่ นาย A ประพฤติ ผิ ด มรรยาททนายความ
ตามข้อบังคับ ฯ ข้อ 12 (1) เนื่องจาก นาย A จงใจขาดนัด ทอดทิ้งคดี และ
ละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีของลูกความ
(ข้อสอบ S/2554)
3

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 6 การเคารพศาล ตัวอย่าง
1. ไม่เคารพย่าเกรงอานาจศาล หรือ ข้อบังคับฯ ข้อ 6 มีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนดให้ทนายต้อง การที่ นาย A เป็นทนายความให้กับ นาย B ในคดีชิงทรัพย์ และ นาย B
2. กระทาการอันใดอันเป็นการ เคารพต่อศาล เพราะการพิจารณาคดี เป็นการนาคนที่วิวาทกัน ได้ ท าพยานหลั ก ฐานเท็จ โดย นาย A รู้ แ ต่ ไ ม่ ทั ก ท้ ว งแต่ อ ย่ า งใด เมื่ อ เสร็จ
1) ดูหมิ่นศาล/ผู้พิพากษาในศาลหรือ มาอยู่ในที่เดียวกัน ถ้าไม่เคารพผู้พิพากษาซึ่งเป็นคนกลาง การพิจารณาคดี นาย A ได้เจอ นาย C ผู้พิพากษาที่พิจารณาคดีที่ร้านอาหาร
นอกศาล ในการควบคุมแล้ว จะต้องทะเลาะกันจนดาเนินกระบวน นาย A เมาและได้ เ ข้ า ไปชี้ห น้า ด่ า นาย C ว่ า “เกิ ด มาจากท้ อ งพ่ อ ท้ องแม่
2) ทาให้เสื่อมเสียอานาจศาลหรือ ยุติธรรมต่อไปไม่ได้ แม้ศาลจะมีอานาจสั่งลงโทษฐานละเมิด ยั ง ไม่ เ คยเจอผู้ พิ พ ากษาที่ ไ ม่ มี ค วามยุ ติ ธ รรม ตั ด สิ น คดี ไ ด้ ล าเอี ย งขนาดนี้
ผู้พิพากษา อานาจศาลได้ แต่ก็ยังมีบางคนไม่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ มาก่อน” นั้น การกระทาดังกล่าวของ นาย A ถือเป็นการสมรู้เป็นใจทั้งทางตรง
และวิวาทกันในศาล และทางอ้อมที่ช่วยทาพยานหลั กฐานเท็จ เพราะรู้ แต่ไม่ทักท้วง อันเป็นการ
ประพฤติผิดมรรยาททนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 8 และ ข้อ 6 ฐานกระทา
การอันใดอันเป็นการดูหมิ่นศาลหรือผู้พิพากษาในศาลหรือนอกศาล
ข้อ 7 ความซื่อสัตย์ต่อลูกความ อธิบาย (เพิ่มเติม)
1. กล่าวความ หรือ 1. หลักปฏิบัติในการรับคดี นอกจากทนายความจะแนะนา 1. หน้าที่ทนายความในการแนะนาพยาน
2. ทาเอกสารหรือหลักฐานเท็จ หรือ ให้ลูกความตกลงประนีประนอมก่อนที่จะมาศาลแล้ว ปกติก่อนพยานจะมาเบิกความต่อศาล มักถามทนายความว่าควรเบิก
3. ใช้อุบายลวงให้ศาลหลง หรือ ทนายความจะต้องทราบข้อเท็จจริงให้ถ่องแท้ (อาจได้มาด้วย ความว่าอย่างไร ทนายความควรแนะนาให้เบิกความตามความเป็นจริง
4. กระทาการใด เพื่อทราบ การถามลูกความเป็นพื้นฐานว่ามีพยานใดบ้าง หรือดูสถานที่ 2. ตามข้อบังคับฯ ข้อ 7 นอกจากทนายความไม่กล่าวเท็จ ทาเอการหรือ
1) คาสั่ง หรือ ด้วยตนเอง เพื่อทราบสถานการณ์ความเป็นอย่างไร) เมื่อทราบ หลักฐานเท็จแล้ว จะต้องไม่ร่วมมือกับลูกความกระทาการดังกล่าวด้วย ซึ่งหาก
ที่ยังไม่เปิดเผย ข้อเท็จจริงและรู้ว่าลูกความกระทาผิดจริง ทนายความควร... พบลู ก ความเบิ ก ความเท็ จ จะต้ อ งแนะน าให้ ลู ก ความล้ ม เลิ ก ความคิ ด นั้ น
2) คาพิพากษา 1) แนะนาให้ลูกความรับสารภาพ ถ้าลูกความไม่ยอมล้มเลิก โดยทนายความไม่ทราบล่วงหน้า ทนายความก็ต้อง
2) ถ้าไม่รับสารภาพ ทนายความต้องถอนตัว ถอนตัวเสีย แต่ถ้าการถอนตัวจะทาให้เกิดความเสียหายต่อลูกความ ทนายความ
3) แต่ถ้าการถอนตัว จะทาให้เกิดความเสียหายต่อ จะต้องหยุดถาม โดยปล่อยให้ลูกความเบิกความเอง
ลูกความ ทนายความต้องพยายามให้ลูกความพูดความจริง ตัวอย่าง
2. นอกจากนี้ ทนายความไม่ควรร่วมมือในการกล่าวความ 1) หนี้การพนันซึ่งเป็นหนี้กฎหมายไม่รับรองให้มาฟ้องร้องบังคดีกัน
หรือทาเอกสารหรือหลักฐานเท็จหรือใช้อุบายใด ๆ เพื่อลวงให้ แต่ทนายความทาพยานหลักฐานขึ้นใหม่ ให้กลายเป็นหนี้เงินกู้ เพื่อมาฟ้องคดี
ศาลหลงเด็ดขาด อย่างนี้เป็นการล่วงศาล ฐานทาหลักฐานเท็จ
4

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


2) ทนายความสอนให้ลูกความเบิกความว่า ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน
ในวันนนั้นวันนี้ เพื่อคดีไม่ขาดอายุความ เพราะหากเบิกความตรงตามใบคืนเช็ค
คดีย่อมขาดอายุความอย่างนี้เป็นการลวงศาล ฐานกล่าวความเท็จ
3) การที่ นาย A ทนายความว่าความในคดีที่ นาย B ฟ้องเรียกร้องเงิน
จาก นาย C จานวน 500,000 บาท แต่ นาย A เห็นว่า นาย B ไม่มีหลักฐาน
เป็ น หนั ง สื อ ที่ จ ะต้ อ งให้ นาย C รั บ ผิ ด และ นาย B อาจจะแพ้ ค ดี นาย A
จึงแนะนา นาย B ทาสัญญากู้เงินขึ้นเองและปลอมลายมือชื่อของ นาย C พร้อม
ทั้งให้เบิกความว่ามีการกู้เงินตามสัญญาดังกล่าวจริง โดยในวันยื่นสืบพยาน นาย
A นาสืบพยานข้อเท็จจริงตามที่แนะนา นาย B ไว้ และยื่นแถลงต่อศาลยืนยัน
ความสมบูรณ์ของสัญญากู้นั้น การกระทาของ นาย A เป็นการกล่าวความหรือ
ทาเอกสารหรือพยานหลักฐานเท็จ จึงเป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ
ตามข้อบังคับฯ ข้อ 7 และข้อ 8 (ข้อสอบ S/2559)
4) นาย A เป็นหนี้ นาย B ซึ่งเป็นหนี้การพนันที่กฎหมายไม่รับรองให้ มา
รับร้องฟ้งบังคับคดีกัน ต่อมา นาย B เรียกให้ นาย A ช าระหนี้ แต่ นาย A
ปฏิเสธ จึงมาปรึกษา นาย C ทนายความ นาย C จึงได้ทาเอกสารขึ้นใหม่ให้
กลายเป็นหนี้เงินกู้ โดยปลอมลายเซ็น นาย A แล้วนาคดีนั้นมาฟ้องต่อศาล ดังนี้
การกระทาของ นาย C เป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความตามข้อบังคับฯ
ข้อ 7 ที่ว่า “กล่าวความหรือทาเอกสารหรือพยานหลักฐานเท็จ หรือใช้กลอุบาย
ลวงศาลให้หลง” และข้อ 8 เพราะถือว่ารสมรู้ เป็นใจด้วย (ข้อสอบ 2/2556)
5) นาย A เป็นทหนายความให้ นาย B คดีแพ่ง แล้วหลอกลวงให้ นาย B
ลงลายมือชื่อในกระดาษเปล่า โดยอ้า งว่าพิสูจน์ลายมือชื่อในสั ญญาที่ กู้ ฟ้ อง
ในคดี แต่ นาย A กลั บ น ากระดาษแผ่ น ดั ง กล่ า วไปกรอกเป็ น สั ญ ญา
ประนีประนอมยื่นต่อศาล อ้างว่าคู่ความตกลงกันได้แล้ว ขอให้ศาลพิพากษานั้น
ถือว่าการกระทาของ นาย A เป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความฐาน
ตะบัดสินลูกความตามข้อบังคับฯ ข้อ 15 และฐานทาเอกสารเท็จ ทาให้ศาล
หลง ตามข้อบังคับฯ ข้อ 7 (ข้อสอบ 2/2552)
5

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 8 ความซื่อสัตย์ต่อลูกความ ตัวอย่าง
1. สมรู้เป็นใจ โดยทางตรงหรือทางอ้อมเพื่อ หลักการเหมือนกับข้อ 7 เพิ่มเติมในตอนท้ายว่า การที่ นาย A แนะนา นาย B ให้ทาสัญญากู้เงินขึ้นเองและปลอมลายมือชื่อ
1) ทาพยานหลักฐานเท็จ หรือ นอกจากนี้ ทนายความไม่ควรสมรู้เป็นใจ ไม่ว่าทางตรงหรือ ของ นาย C นั้น เป็นการสมรู้เป็นใจโดยตรงหรือทางอ้อมเพื่อทาพยานหลักฐาน
2) เสี้ยมสอนพยานให้เบิกความเท็จ หรือ ทางอ้อมในการทาพยานหลักฐานเท็จ หรือเสี้ยมสอนพยานให้ เท็จ ส่วนการให้เบิกความว่ามีการกู้เงินตามสัญญาฉบับดังกล่าวจริงนั้น ถือเป็น
โดย เบิกความเท็จ การเสียมสอนพยานให้เบิกความเท็จ การกระทาของ นาย A ดังกล่าว จึงเป็น
ปกปิด/ซ่อนงา/อาพรางพยานหลักฐานใดๆ ความผิดตามข้อบังคังคับฯ ข้อ 8 (ข้อสอบ S/2559)
ซึ่งควรนามายื่นต่อศาล หรือ
3. สัญญาจะให้สินบนแก่เจ้าพนักงาน หรือ
4. สมรู้เป็นใจในการให้สินบนแก่เจ้าพนักงาน

ข้อ 9 การปลุกความ ข้อเท็จจริง


1. กระทาการใด ข้อบังคับฯ ข้อ 9 เรียกว่า “การปลุกความ” เป็นการ ทนายความบางคนหาคดีตามโรงพักหรือตามโรงพยาบาล เช่นเมื่อมีรถชนกัน
2. อันเป็นการยุยงส่งเสริมให้มีการ ประพฤติผิดมรรยาททนายความ แม้ว่าทนายความไม่มีหน้าที่ ก็เข้าไปเสนอตัวรับว่าคดี โดยที่ยังไม่รู้ว่ามูลคดีเป็นอย่างไร
ฟ้องร้องคดี วินิจฉัยข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย แต่ถ้ากรณีใด ตัวอย่าง
3. ในกรณีอันหามูลมิได้ ไม่มขี ้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่จะต้องกล่าวอ้าง หรือต่อสู้ 1. ลู ก ความเคยถู ก ฟ้ อ งเรี ย กเงิ น กู้ ทนายความแก้ ต่ า งให้ จ นชนะคดี
กล่าวคือ ไม่มีหลักฐานที่จะนามาประกอบสนับสนุนข้ออ้าง ศาลยกฟ้อง ทนายความแนะนาให้ลูกความฟ้องกลับเป็นคดีอาญาข้อหาฟ้อง
ลูกความเลย เรียกว่า “หามูลมิได้” ทนายความจะนามาฟ้องคดี เท็จ โดยขอให้ลูกความฟ้องเพื่อบีบให้อีกฝ่ายมาเจรจาย่อมจ่ายเงินจึงจะยอม
ไม่ได้ ถือเป็นการประพฤติมรรยาททนายความข้อนี้ ถอนฟ้องให้ และเมื่อได้เงินมาแล้ว ทนายความหักค่าทนายความไว้ ที่เหลือมอบ
ลูกความไป กรณีจึงเป็นการปลุกความ เพื่อหาผลประโยชน์จากคดี
2. การที่ นาย A ทนายความให้ นาย B จาเลยในคดีผิดสัญญากู้ยืมเงิน
โดย นาย A ได้ทาเอกสารว่ามีหนี้ครบถ้วนแล้ว จนศาลเชื่อและได้พิพากษาให้
นาย B ชนะคดี ไม่ต้องจ่ายเงินให้ นาย C โดยคดีถึงที่สุด ดังนี้ การกระทาของ
นาย A เป็นการทาเอกสารหรือพยานหลักฐานเท็จ ถือเป็นการประพฤติผิด
มรรยาททนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 7 และการที่ นาย A ได้แนะนาให้
นาย B ฟ้อง นาย C เป็นคดีอาญาข้อหาเบิกความเท็จเพื่อให้ นาย C มาเจรจา
ค่าเสียหายและถอนฟ้องไป ซึ่ง นาย C ก็ได้มาเจรจาและค่าเสียหายไป 30,000
6

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


บาท โดย นาย A หักค่าทนายไป 10,000 บาท นั้น การกระทาของ นาย A เป็น
การกระทาการใด อันเป็นการยุยงส่งเสริมให้มีการฟ้องร้องคดีกัน ในกรณีอันหา
มูลมิได้ และเป็นการหาผลประโยชน์จากคดี ถือเป็นการประพฤติผิดมรรยาท
ทนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 9 ด้วย
ข้อ 10 *** อวดอ้างตน 1. เมื่อ นาย A รู้ตั้งแต่ รับเป็นทนายความว่า นาย B รับสารภาพในชั้น
1. ใช้อุบาย อย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ 1. ข้อความตามอนุมาตราหนึ่ง เกี่ยวข้องกับมรรยาทต่อตัว จั บ กุ ม และชั้ น สอบสวน การต่ อ สู้ ค ดี ดั ง กล่ า วไม่ ใ ช่ ค ดี ที่ จ ะชนะแน่ น อนได้
2. เพื่อจูงใจ ให้ผู้หนึ่งผู้ใดมอบคดี ความ ต้องเป็นกรณีที่มีเจตนาหลอกลวงทั้งที่รู้ว่าจะแพ้ และมีแนวโน้ม ที่จ ะแพ้ค ดีสู ง มาก การที่ นาย A ไปรับรองผลคดีว่ า นาย B
ให้ว่าต่างหรือแก้ต่าง หาใช่เป็นเพียงการแนะนาโดยไม่รู้กฎหมายไม่ จะชนะคดี จึงเป็นการใช้อุบายหลอกลวงให้เขาหลงว่าคดีนี้จะชนะ เมื่อ ทนาย
อนุ (1) หลอกลวงให้เขาหลงว่า 2. สาหรับอนุมาตราสอง การอวดอ้างว่าตนเป็นผู้มีความรู้ รู้ สึ ก แก่ ใ จว่ า จะแพ้ เพื่ อ จู ง ใจให้ ลู ก ความมอบคดี ใ ห้ แ ก้ ต่ า ง และหลอกลวง
คดีนั้นจะชนะ เมื่อตนรู้อยู่แก่ใจ มากกว่าทนายความคนอื่นนั้นต้องห้าม เพราะอาจเป็น ลูกความซึ่งเป็นการประพฤติอันเป็นการเสื่อมเสียต่อเกียรติคุณของทนายความ
ว่าจะแพ้ การยกตนข่มท่าน จะทาให้เกิดความปาดหมางกันในหมู่ เป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 10 (1) ประกอบ
อนุ (2) อวดอ้างว่า ตนมีความรู้ยิ่งกว่า วิชาชีพ ทาให้เกิดความแตกความสามัคคี ข้อ 18
ทนายความคนอื่น อีกทั้ง ทนายความแต่ละคนมีความสามารถไม่เท่ากัน
อนุ (3) อวดอ้างว่า จึงไม่สมควรคุยโอ้อวดว่าตนเองเก่งกว่าคนอื่น 2. การที่ นาย A ได้ ม าปรึ ก ษา นาย B ทนายความ ว่ า ตนถู ก ฟ้ อ งคดี
1) เกี่ยวเป็นสมัครพรรคพวก เพื่อให้ลูกความว่าจ้างตน ล้มละลาย และ นาย A ไม่พอใจทนายความคนเดิม จึงต้องการทนายความคน
รู้จักคุ้นเคยกับผู้ใด อันจะทาให้เขาหลงว่าตน 3. ส่วนอนุมาตราสาม การอวดอ้างว่าตนสามารถวิ่งคดีได้ ใหม่ นาย B จึงบอก นาย A ว่า นาย C ทนายความในสานักเดียวกันกับตนมี
สามารถทาให้เขาได้รับผลเป็นพิเศษนอกจาก เช่น สามารถทาให้เขาได้รับความช่วยเหลือพิเศษ ความสามารถในคดีล้มละลายเก่งมาก ชนะทุกเรื่อง ทนายความคนเดิมของ
ทางว่าความ สามารถทาให้เขาชนะคดีได้หรือแพ้คดีได้ โดยวิธีการอื่น นาย B ไม่เก่ง นาย B จึงควรจ้าง นาย C แทนทนายความคนเดิมนั้น กรณีเช่นนี้
2) หลอกลวงว่าจะชักนาจูง ซึ่งมิใช่วิธีการตามกฎหมาย ถือว่าเป็นทนายความที่ ไม่ถือว่าการกระทาของ นาย B เป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความฐาน
ใจให้ผู้นั้นช่วยเหลือคดีในทางใด ๆ ได้ หรือ ทรยศต่อวิชาชีพ ไม่รักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย อวดอ้างว่าตนมีความรู้ยิ่งกว่าทนายความคนอื่น ตามข้อบังคับฯ ข้อ 10 (2)
3) แอบอ้าง ขู่ว่าถ้าไม่ให้ตน และไม่ศรัทธาในกระบวนการยุติธรรม แต่ อ ย่ า งใด เพราะ นาย B ไม่ ไ ด้ อ วดอ้ า งตนเอง แต่ ไ ด้ อ วดอ้ า ง นาย C
ว่าคดีนั้นจะหาหนทางให้ผู้นั้นกระทาให้คดี ซึ่งทนายความอีกคนว่ามีความรู้ยิ่งกว่าทนายความคนอื่น (ข้อสอบ 2/2553)
ของเขาเป็นแพ้
7

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 11 การรักษาความลับของลูกความ ข้อสังเกต
1. เปิดเผยความลับของลูกความ 1. ตามข้อบังคับฯ ข้อ 11 มุ่งคุ้มครองลูกความและควบคุม 1. การเปิดเผยความลับของลูกความ เป็นการประพฤติผิดมรรยาท
2. ที่ได้รู้เห็นในหน้าที่ของทนายความ จริยธรรมทนายความ ดังนั้น ข้อเท็จจริงอันเป็น ทนายความ ไม่ว่าจะทาให้ลูกความเสียหายหรือไม่
3. เว้นแต่ สาระสาคัญในคดีที่ทนายความได้รู้มาในหน้าที่ 2. ทนายความได้รับเอกสิทธิที่จะไม่เปิดเผยข้อมูลอันเป็นความลับของ
1) จะได้รับอนุญาตจากลูกความนั้น ทนายความต้องรักษาไว้เป็นความลับ จะเปิดเผยให้ผู้ใด ลูกความ
แล้ว หรือ ทราบมิได้ 3. แต่มขี ้อยกเว้นว่า
2) โดยอานาจศาล 2. หากทนายความไม่สามารถรักษาความลับของลูกความ 3.1 ลูกความอนุญาต
ไว้ได้ จะเป็นผลเสียต่อลูกความเป็นอย่างมาก 3.2 ศาลอนุญาต
3. ทนายความจึงมีเอกสิทธิที่จะไม่พูดหรือตอบคาถามใด ๆ 4. หากทนายความถูกเรียกมาเบิกความเป็นพยาน ทนายความสามารถอ้าง
อันเป็นการเปิดเผยข้อเท็จจริงที่ตนได้รู้มาในระหว่างการ เอกสิทธิไม่ให้การเกี่ยวกับความลับของลูกความที่ตนได้รู้มาในหน้าที่ แต่ศาลมี
ทาหน้าที่ของทนายความ อานาจสั่งให้เบิกความได้
5. ซึ่งหน้าที่นี้ มิได้มีอยู่แต่เฉพาะช่วงเวลาที่เป็นทนายความให้กับลูกความ
เท่านั้น หากแต่หลังคดีเสร็จสิ้นไปแล้ว ทนายความก็ยังมีหน้าที่รักษาความลับ
ของลูกความตลอดไป...
...............................ดูข้อ 13 ประกอบ...........................
ตัวอย่าง
1. ตามข้ อ บั ง คั บ ฯ ข้ อ 11 ห้ า มมิ ใ ห้ ท นายความเปิ ด เผยความลั บ ของ
ลูกความ กล่าวคือ ข้อเท็จจริงอันเป็นสารสาคัญในคดีที่ทนายความได้รู้มาใน
หน้าที่ ทนายความจะต้องรักษาไว้เป็นความลับ จะเปิดเผยให้ผู้ใดทราบไม่ได้
เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากลูกความนั้นแล้วหรือโดยอานาจศาล
การที่ นาย A เป็นลูกจ้างชั่วคราวทาหน้าที่ตาแหน่งนิติ กรของกระทรวง
แห่งหนึ่ง และได้ร่วมประชุมสอบสวนบริษัท ร่ารวย จากัด ซึ่งถูกกระทรวงกล่าว
ในเรื่องฉ้อโกงประชาชน ต่อมา นาย A ได้ลาออกจากระทรวงดังกล่าว และ
ได้รับเป็นทนายความให้ กรรมการของบริษัท ร่ารวย จากัด ในคดีพนักงาน
อั ย การฟ้ อ งบริ ษั ท ร่ ารวย จ ากั ด และพวก เป็ น คดี อ าญาฉ้ อ โกงประชาชน
ระหว่างพักพิจารณาคดี นาย A ได้อยู่ในห้ องน้าและได้ยิน กรรมการบริ ษั ท
8

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ร่ารวย จากัด พูดคุยความลับว่า นาย B ประธานกรรมการผู้จัดการใหญ่ของ
บริษัทฯ ป่วยเป็นโรคแต่คมะเร็งระยะสุดท้ายและจะลาออกจากบริษัทฯ เร็ว ๆ
นี้ ซึ่งอาจจะทาให้บริษัทฯ สั่นคลอนได้ และต่ อมา นาย A ได้นาเอาข่าวของ
นาย B ไปพูดต่อ ให้ เ พื่ อน ๆ ฟังในงานเลี้ ย งรุ่นนั้ น การกระท าของ นาย A
ไม่ ถื อ ว่ า เป็ น การประพฤติ ผิ ด มรรยาททนายความตามข้ อ บั ง คั บ ฯ ข้ อ 11
แต่ อ ย่ า งใด แม้ ว่ า นาย A จะเปิ ด เผยความจริ ง ของลู ก ความ แต่ เ มื่ อ ไม่ ใ ช่
ข้อเท็จจริงที่ลูกความได้แจ้งให้ทนายความทราบ จึงไม่เป็นข้อเท็จจริงในคดี
ที่รู้มาในหน้าที่ของทนายความแต่อย่างใด

ข้อ 12 *** การอุทิศเวลา ข้อสังเกต


1. กระทาการอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1. ตามข้อบังคับฯ ข้อ 12 จะเห็นว่า “การอุทิศเวลา” 1. ความประมาทเลินเล่อ หมายถึง การปราศจากความระมัดระวัง ซึ่ งบุคคล
2. อันทาให้เสื่อมเสียประโยชน์ของ มีความสาคัญมาก หากปล่อยปละละเลยจะทาให้เกิด ในภาวะเช่นนั้นจะต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์
ลูกความ ความเสียหายแก่ลูกความ 2. อาชีพทนายความเป็นวิชาชีพอย่างหนึ่ง ดังนั้น ระดับความระมัดระวังตาม
อนุ (1) จงใจ 2. อย่างไรก็ตาม การปฏิบัติหน้าที่ผิดพลาด เช่นการไม่ยื่น วิสัยและพฤติการณ์ของผู้มีวิชาชีพ ย่อมสูงกว่าบุคคลธรรมดา การอ้างความ
1) ขาดนัด หรือ คาร้อง ไม่ยื่นคาอุทธรณ์ภายในกาหนดระยะเวลา ประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติหน้าที่ทนายความจึงค่อยข้างยาก
2) ทอดทิ้งคดี ต้องปรากฏว่าทนายความ “จงใจกระทา” จึงเป็นการ ตัวอย่าง
อนุ (2) จงใจ ประพฤติมรรยาททนายความ 1. เนื้อหาของคดีการประพฤติผิดมรรยาททนายความ มุ่งถึงความประพฤติ
1) ละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา 3. ถ้าเป็นการประมาทเลินเล่อ ทนายความต้องรับผิดชอบ ของ นาย A (ทนายความ) มิ ไ ด้ มุ่ ง ถึ ง คดี ข องตั ว ความ (นาย B) แม้ นาย B
อันเกี่ยวแก่การดาเนินคดี ทางแพ่งเท่านั้น ไม่เกี่ยวข้องกับมรรยาททนายความ ยอมรับในคดีของตนว่าผิดสัญญา แต่การที่ นาย A ไม่ยื่นบัญชีพยานและไม่ไป
แห่งลูกความของตน หรือ ศาลในวันนัดฟังประเด็นกลับ ศาลจึงถือว่าไม่มีพยานมาสื บ พิพากษาแพ้คดี
2) ปิดบังข้อความที่ควรแจ้ง นอกจากนั้น นาย A ยังปิดบังข้อเท็จจริง ทาให้ นาย B หมดโอกาสอุทธรณ์
ให้ลูกความทราบ การกระทาของ นาย A เป็นการจงใจขาดนัดและทอดทิ้งคดี ตามข้อบังคับฯ ข้อ 12
2. วิชาชีพทนาความนั้น มีเกียรติและเป็นส่วนหนึ่งในความผดุงความยุติ
กรรม มีหน้าที่หลักในการทาให้ความจริงปรากฎและศาลก็จะเป็นผู้พิจารณา
วินิจฉัย ซึ่งการเป็นทนายความที่ดีนั้นจะต้องให้ความสาคัญกับหน้าที่ของตนให้
เพี ย บพร้ อ มที่ สุ ด หากปรากฎว่ าทนายความคนใดจงใจละเว้นหน้า ที่ ที่ควร
9

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


กระทาอันเกี่ยวแก่ในการดาเนินคดีแห่งลูกความของตน อันอาจทาให้เสื่อมเสีย
ประโยชน์ ข องลู ก ความนั้ น ย่ อ มถื อ ได้ ว่ า เป็ น การประพฤติ ผิ ด มรรยาท
ทนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 12 (2)
3 การที่ .นาย A เป็นทนายคความให้กับ นาย B ครั้นเมื่อถึงวันนัดฟัง
ค าพิ พ ากษา นาย A ไม่ ไ ปศาล ให้ นาย B มาศาลแต่ เ พี ย งผู้ เ ดี ย ว และ
นาย A ก็ ไ ม่ ไ ด้ ส อบถาม นาย B ว่ า จะอุ ท รณ์ ค าพิ พ ากษาหรื อ ไม่ ท าให้
นาย B ไม่สามารถใช้สิทธิอุทธรณ์ได้ ดังนี้ การกรทาของ นาย A ถือเป็นการจง
ใจละเว้ น หน้ า ที่ ที่ ค วรกระท าอั น เกี่ ย วแก่ ก ารด าเนิ น คดี ข องลู ก ความ
ของตน แม้ว่า นาย B จะเป็นผู้ลงชื่อในปกสานวนทราบคาพิพากษาเอง โดย
นาย A มิได้ลงชื่อด้วย แต่เมื่อ นาย A เป็นทนายความมีหน้าที่ต้องรับผิดตาม
ผลแห่งคดีเพื่อให้ นาย B ลูกความมีสิทธิอุทธรณ์ต่อไป การกระทาของ นาย A
จึงเป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 12(2)
(ข้อสอบ 1/2562)
4 การที่ .นาย A เป็นทนายคความให้กับ นาย B ครั้นเมื่อถึงวันนัดฟัง
ค าพิ พ ากษา นาย A ไม่ ไ ปศาลเพราะมี ธุ ร ะด่ ว นไปผงานศพที่ ต่ า งจั ง หวั ด
จึงให้ นาย B มาฟังคาพิพากษาแต่เพียงผู้ เดียว โดย นาย B ได้ล งชื่อในปก
ส านวนทราบค าพิ พ ากษาเอง โดย นาย A มิ ไ ด้ ล งชื่ อ ด้ ว ย และ นาย B
ก็ไม่ได้แจ้ง ให้ นาย A ทราบ นาย A จึงเข้าใจว่า นาย B ไม่ประสงค์ จ ะยื่ น
อุทธรณ์จนพ้นระยะเวลาการอุทธรณ์นั้น การกระทาของ นาย A ถือเป็นการจง
ใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีของลู กความของตน
เพราะ นาย A เป็นทนายความมีหน้าที่ต้องรับผิดตามผลแห่งคดีและถามความ
ประสงค์ของ นาย B ลูกความว่าจะใช้สิทธิอุทธรณ์ต่อไปหรือไม่ แต่ นาย A
หาได้ทาไม่ การกระทาของ นาย A จึงเป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ
ตามข้อบังคับฯ ข้อ 12(2) (ข้อสอบ S/2561)
5 การที่ .นาย A เป็นทนายคความให้กับ นาย B ในคดีฟ้องอาญาฆ่า
ข่มขืน ต่อมา นาย A ไปต่างประเทศ จึงฝากเรืองให้ นาย C เสมียนทนายความ
10

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ไปยื่ น ค าให้ ก ารแทน แต่ นาย C ลื ม ไปยื่ น ค าให้ ก ารจนพ้ น ก าหนดเวลายื่น
คาให้การ ดังนี้ การกระทาของ นาย A ถือเป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ ที่ ควร
กระท าอั น เกี่ ย วแก่ ก ารด าเนิ น คดี ข องลู ก ความของตน เพราะ นาย A เป็ น
ทนายความมีหน้าที่ต้องรับผิดตามผลแห่งคดีจนถึงที่สุด การกระทาของ นาย A
จึ ง เป็ น การประพฤติ ผิ ด มรรยาททนายความ ตามข้ อ บั ง คั บ ฯ ข้ อ 12 (2)
(ข้อสอบ2/2561)
6 การที่ศาลได้ของแรง .นาย A ทนายความ ให้ว่าความและแก้ต่างแก่
นาย B จาเลย ในคดีอาญา ซึ่งมีฐานะยากจนและไม่สามารถหาทนายความเอง
นาย A รับว่าความ ครั้นเมื่อถึงวันนัดสืบไม่พยาน นาย A ไม่ไปศาล จึงถือไม่ได้
ว่า นาย A ไม่รับหน้าที่เมื่อผู้พิพากษาได้ขอแรงให้เป็นทนายความแก้ต่างใน
คดีอาญาตามข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ .ศ.2529
ข้อ แต่อย่างใด เพราะ 5นาย A ได้รับว่าความและแก้ต่างคดีตามที่ศาลได้ขอ
แรงแล้ ว นาย A จึ ง ไม่ ไ ด้ ป ระพฤติ ผิ ด มรรยาททนายความฐานไม่ รั บ เป็ น
ทนายความแต่ อ ย่ า งใด แต่ นาย A ประพฤติ ผิ ด มรรยาททนายความ ตาม
ข้อบังคับ ฯ ข้อ 12(1) เนื่องจาก นาย A จงใจขาดนัด ทอดทิ้งคดี และละเว้น
หน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีของลูกความ (ข้อสอบ S/2554)
7 .การที่ นาย A ตกลงรับว่าความให้ แก่ นาย B และ นาย C แล้ว
ตราบใดที่ยังไม่ มีการถอนทนายความ นาย A ยังต้องมีห น้าที่ต้องปฏิบัติต่อ
ลูกความต่อไปโดยการทาคาให้การยื่นต่อศาล แต่จากข้อเท็จจริงเมื่อถึงกาหนด
ยื่นคาให้การแล้ว นาย A ได้ยื่นคาให้การจาเลยแทน นาย B แต่ไม่คาให้การ
จาเลยแทน นาย C ด้วย เพราะคิดว่าตนไม่ต้องเป็นทนายความให้แก่ นาย C
แล้ ว ดังนี้ ถือได้ว่าการกระทาของ นาย A เป็นการจงใจ ละเว้นหน้าที่ที่ควร
กระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีของลูกความของตน จึงถือว่าการกระทาของ
นาย A ดังกล่าวเป็นการประพฤติผิดมารยาททนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ
12(2) (ข้อสอบ 1/2554) (ดูข้อ 14 ภาค 1/2554)
11

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 13 *** คดีต้องห้ามมิให้รับทา (เด็ดขาด) วรรคทอง
1. ได้รับปรึกษาหารือ หรือ 1. คดีที่ทนายความได้รับปรึกษาหารือหรือได้รู้ข้อเท็จจริงใน “...การกระทาของ.....เป็นการเปิดเผยความลับของลูกความที่ได้รู้มาในหน้าที่
โดยหน้าที่ คดีโดยหน้าที่อันเกี่ยวข้องกับคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง แล้วรับ ทนายความ ข้อ 11 และเป็นการได้รู้เรื่องกรณีแห่งคดีโดยหน้าที่อันเกี่ยวข้องกับ
อันเกี่ยวข้อง เป็นทนายความให้อีกฝ่ายหนึ่งคดีประเภทนี้ ถ้ารับทาแล้ว คู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง แล้วภายหลังได้ใช้ความรู้ที่ได้มานั้น ไปช่วยเหลือคู่ความอีก
กับคู่ความ จะเป็นการผิดมรรยาททนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 13 ฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเป็นปรปักษ์ในดคดีเดียวกัน ข้อ 13 อันเป็นการประพฤติผิดมรรยาท
อีกฝ่ายหนึ่ง 2. เนื่องเป็นผลเสียต่อลูกความฝ่ายแรก อย่างมาก ทนายความ ตามข้อบังคับสภาทนาความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ.
แล้ว 2529 ข้อ 11 และข้อ 13”
2. ได้รู้เรื่องกรณีแห่งคดีใด ตัวอย่าง
3. ภายหลัง นาย A และ นาย B มีข้อพิพาทกันเกี่ยวสิทธิในที่ดิน นาย C รับปรึกษาให้
1) ไปรับเป็นทนายความ หรือ นาย A ในฐานะทนายความแล้ว แต่ นาย A ไม่ได้มอบคดีให้นาย C ดาเนินการ
2) ใช้ความรู้ที่ได้มานั้น ช่วยเหลือ เพราะไม่สามารถตกลงค่าจ้างได้ แต่ นาย A ได้จ้าง นาย D เป็นทนายยื่นฟ้อง
คู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง นาย B และนาย C ได้รับเป็นทนายความให้นาย B เพราะให้ค่าตอบแทนสูง
4. ซึ่งเป็นปรปักษ์อยู่ในกรณีเดียวกัน ดังนี้ ถือว่า เป็นกรณีที่นาย C ได้รู้ข้อเท็จจริงแห่งคดีใด โดยหน้าที่อันเกี่ยวข้อง
กับคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งแล้ว ภายหลังรับเป็นทนายความ หรือให้คู่ความอีกฝ่าย
หนึ่ง ซึ่งเป็นปรปักษ์อยู่ในกรณีเดียวกัน การกระทาดังกล่าวของนาย C ถือเป็น
การประพฤติผิดข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ ข้อ 13
(ข้อสอบ S/2555)
ข้อ 14 *** ความสุจริตต่อลูกความ 1. การที่ นาย A เป็นทนายคความให้กับ นาย B ต่อมาอีก 1เดือน นาย A
1. ได้รับเป็นทนายความแล้ว ใช้อุบายเพื่อให้ตนได้รับประโยชน์ นอกเหนือจากที่ได้ตกลง ได้เรียกเอาเงินจาก นาย B จานวน 100,บาท 000 อ้างว่าจะนาไปเลี้ยงข้าว
2. ภายหลังใช้อุบายด้วยประการใด ๆ กันไว้กับลูกความ ผู้พิพากษาเจ้าของสานวนในศาลชั้นต้นนั้น การกระทาของ นาย A ถือเป็นการ
3. โดยปราศจากเหตุผลอันสมควร การใช้อุบายนี้ ไม่จากัดลักษณะการกระทา แต่ต้อง แอบอ้างเพื่อเรียกร้องประโยชน์นอกเหนือจากที่ได้ตกลงไว้กับคู่ความ กรณีจึง
4. เพื่อให้ตนได้รับประโยชน์นอกเหนือจาก “ปราศจากเหตุอันสมควร” ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่ เป็นเรื่องที่ นาย A ได้รับเป็นทนายความแล้ว ภายหลังใช้กลอุบายด้วยประการ
ที่ลูกความได้ตกลงสัญญาให้ คณะกรรมการมรรยาททนายความจะวินิจฉัย และมี ใด ๆ โดยปราศจากเหรตุอันสมควรเพื่อให้ตนได้รับประโยชน์นอกเหนือจากที่
“เหตุจูงใจ” ที่ให้ตนได้รับประโยชน์นอกเหนือจากที่ได้ตกลงกัน ลู ก ความได้ ต กลงสั ญ ญาไว้ อั น เป็ น การประพฤติ ผิ ด มรรยาททนายความ
ไว้กับลูกความ ตามข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ ข้อ 14
12

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


2. การที่นาย A เป็นทนายความแก้ต่างให้ นาย B ในคดีฟ้องอาญาฆ่าข่มขื่น
โดยนาย B ได้จ่ายค่าทนายความให้นาย A เป็นเงิน 50,000 บาท และภายหลัง
นาย A ได้ขอเงินค่าทนายความเพิ่มอีกเป็ นเงิน 100,000 บาท อ้างว่าจะต้อง
น าไปจ่ า ยเป็ น ค่ า ธรรมเนีย มศาลในการฟ้ อ งคดี ทั้ ง ที่ ค ดี อ าญาไม่ มี ก ารจ่าย
ค่าธรรมเนียมศาลแต่อย่างใดนั้น ถือได้ว่าเป็นกรณีที่ นาย A รับเป็นทนายความ
แล้ ว ภายหลั งใช้กลอุบายด้ว ยประการใด ๆ โดยปราศจากเหรตุอันสมควร
เพื่อให้ตนได้รับประโยชน์นอกเหนือจากที่ลูกความได้ตกลงสัญญาไว้ อันเป็นการ
ประพฤติผิดมรรยาททนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 14 (ข้อสอบ 2/2561)
3. การที่นาย A เป็นทนายความแก้ต่างให้ นาย B และนาย A ได้ขอเงินค่า
ของขวัญจาก นาย B เพื่อนาไปให้ผู้พิพากษาเจ้าของสานวนอีก 20,000 บาท
นั้น ถือว่าเป็นการแอบอ้างเพื่อเรียกร้องประโยชน์นอกเหนือจากที่ได้ตกลงไว้กับ
คู่ความ กรณีจึงเป็นเรื่องที่ นาย A ได้รับเป็นทนายความแล้ว ภายหลังใช้กล
อุบายด้วยประการใด ๆ โดยปราศจากเหรตุอันสมควรเพื่อให้ตนได้รับประโยชน์
นอกเหนือจากที่ลูกความได้ตกลงสัญญาไว้ อันเป็นการประพฤติผิดมรรยาท
ทนายความ ตามข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ ข้อ 14
(ข้อสอบ 2/2558)
ข้อ 15 *** ความสุจริตต่อลูกความ ข้อสังเกต
1. กระทาการใด อันเป็นการ การหาประโยชน์จากเงิน/ทรัพย์สินของประชาชน เจตนารมณ์ของข้อบังคับฯ ข้อ 15 คือ ต้องการสร้างความไว้วางใจให้แก่
1) ฉ้อโกง 1. การฉ้อโกง และยักยอก เป็นความผิดตามประมวล ประชาชนว่าทนายความจะไม่หาประโยชน์จากเงินหรือทรัพย์สินของเขา ดังนั้น
2) ยักยอก หรือ กฎหมายอาญา ทนายความจะหน่ว งเหนี่ยวเงินหรือทรัพย์สินของลู กความไว้ เพื่อต่อรองให้
3) ตระบัดสินลูกความ หรือ 2. การตระบัดสินลูกความ คือการเอาประโยชน์จากเงิน ลูกความชาระค่าจ้างว่าความไม่ได้
4) ครอบครอง/หน่วงเหนี่ยวเงิน/ ทองหรือทรัพย์สินของลูกความไว้เป็นของตัวเอง เช่น วรรทอง
ทรัพย์สิน ทนายความรับเงินค่าธรรมเนียมศาลจากลูกความเพื่อ 1. ตามข้ อ บั ง คั บ ฯ ข้ อ 15 มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ คุ้ ม ครองลู ก ความ ที่ ไ ด้
จะไปฟ้องคดี แต่นาเงินไปใช้เสียก่อน ถึงเวลายืนฟ้อง มอบหมายความลั บและความไว้ว างใจให้ กับ ทนายความของตนเป็ น
ของลูกความที่ตนได้รับมา โดยหน้าที่ หากหมุนเงินไม่ทันก็ทาให้เกิดปัญหา ดังนั้น ทนายความ พิเศษ มรรยาทข้อนี้ถือเป็นเรื่องสาคัญเรื่องหนึ่ง ในการรักษามาตรฐาน
อันเกี่ยวข้อง ไว้นานเกินกว่าเหตุ ไม่ควรนาเงินของลูกความไปใช้ เมื่อลูกความได้รับเงิน ของวิชาชีพทนายความให้เป็นที่เชื่อถือศรัทธาของประชาชน
13

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


2. โดยมิได้รับความยินยอมจากลูกความ จากการชนะคดี และทนายความรับไว้แทน ควรแยก 2. ดังนั้น จึงถือเป็นเรื่องที่ต้องบังคับใช้กันอย่างจริงจัง และถือเป็นกรณีกับ
3. เว้นแต่ บัญชีของลูกความไว้ต่างหาก สิทธิเรียกร้องค่าจ้างว่าความที่ทนายความจะพึงมีต่อลูกความของตน
จะมีเหตุอันสมควร 3. การหน่วงเหนียวเงิน/ทรัพย์สินของลูกความ แสดงให้ 3. กล่าวคือ แม้ทนายความจะมีสิทธิเรียกร้องค่าจ้างว่าความจากลูกความ
เห็นว่าทนายความไม่มีสิทธิยึดหน่วงเหนี่ยวเงิน/ อย่างไร ก็อาจอ้างมาเป็นเหตุที่จะหน่ว งเหนี่ยวเงิ นหรือทรัพย์สิ นหรื อ
ทรัพย์สินของลูกความ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 241 เพราะ เอกสารของลูกความไว้ไม่ได้
วัตถุประสงค์ของการจ้างว่าความ คือการบริการที่ ตัวอย่าง
ทนายความให้ลูกความ หาใช่เงิน/ทรัพย์สินที่ลูกความ 1. การที่ทนายความหน่วงเหนียวโฉนดที่ดินซึ่งเป็นทรัพย์สินและเอกสาร
จะได้รับจากการชนะคดีไม่ ของลูกความไว้ เพื่อบีบบังคับให้ลูกความชาระค่าจ้างว่าความให้ทนายความ
ก่ อ น แม้ จ ะฟั ง ได้ ว่ า ทนายความมี สิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ งค่ า ว่ า ความนั้ น ได้ จ ริ ง
แต่ทนายความก็หาอาจบีบบังคับเอาค่าจ้างนั้นจากลูกความโดยวิธีดังกล่าวได้ไม่
2. การที่นาย A ได้ยึดโฉนดที่ดินของนาง B ไว้ อ้างว่าเพื่อเป็นหลักประกัน
การชาระค่าจ้างว่าความให้แก่ตนก่อนจึงจะยอมคืนโฉนดที่ดินให้ นั้น ถือเป็น
การหน่วงเหนี่ยวทรัพย์สินของลูกความที่ต นได้รับมาโดยหน้าที่ไว้ โดยไม่ได้รับ
ความยินยอมจากลูกความ แม้จะฟังได้ว่านาย A มีสิทธิเรียกร้องค่าจ้างว่าความ
นั้นได้จริง แต่จะอ้างเป็ นเหตุ การณ์ ห น่ว งเหนี่ ยวทรั พย์สิ นหรื อ เอกสารของ
ตัวอย่าง (ต่อ) ลูกความไว้เพื่อต่อรองให้ช าระค่าจ้างว่าความไม่ได้ (ข้อสอบ 1/2558 และ
4. การที่นาย A เป็นทนายความรับว่าความให้แก่นาง B ซึ่ง 1/2559)
ถูกฟ้องเป็นจาเลยในคดีแพ่ง และหลอกให้นาง B ลงลายมือชื่อ 3. การที่นาย A ได้รับค่าจ้างว่าความงวดแรกแล้ว แต่ไม่ดาเนินการฟ้องคดี
ในกระดาษเปล่าโดยอ้างว่าสาหรับพิสูจน์รายมือชื่อในสัญญาที่ นาย B ลู กความจึงทวงเงินคืน และนาย A รับปากว่าจะคืนเงินให้ ภ ายใน 2
ถูกฟ้องในคดี แต่นาย A กลับนากระดาษแผ่นดังกล่าวไปกรอก สัปดาห์ แต่ก็ไม่ได้นาเงินมาคืน นั้น การกระทาของนาย A ถือเป็นการหน่วง
เป็นสัญญาประนีประนอมยอมความยื่นต่อศาลอ้างว่าคู่ความตก เหนี่ยวเงินของลูกความที่ตนได้รับมาโดยหน้าที่ไว้ โดยไม่ได้รับความยินยอมจาก
ลงกันได้ ขอให้ศาลพิพากษาตามยอม ดังนี้ การกระทาของนาย ลูกความอันเกี่ยวข้องไว้นานเกินกว่าเหตุ โดยไม่ได้รับความยินยอมจากลูกความ
A ถือเป็นการกระทาการใด อันเป็นการตระบัดสินลูกความ เป็น ดังนั้น การกระทาดังกล่าวของนาย จึงเป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ
การประพฤติผิดมรรยาททนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 15 ตามข้อบังคมสภาทนายความว่าด้ว ยมรรยาททนายความ ข้อ 15 (ข้อสอบ
และประพฤติผิดฐานทาเอกสารเท็จเพื่อลวงให้ศาลหลง ตาม 1/2556)
ข้อบังคับฯ ข้อ 7 (ข้อสอบ 2/2552)
14

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 16 แย่ง/ประมูลคดี ข้อควรระวัง :
1. แย่ง หรือ 1. เหตุที่ต้องห้ามมิให้ทนายความแย่ง/ประมูลคดีกัน คือการ โดยปกติแล้ว การเข้าเป็นทนายความตามข้อยกเว้น ข้อ 3) นี้ อาจถูกกล่าวหา
ในลักษณะประมูลคดี แย่งคดีหรือการประมูลคดีเอามาทานั้น จะต้องมีการ ประพฤติผิดมรรยาททนายความ ตามข้อ 16 เพราะทนายความคนก่อนกล่าวหา
2. ทาการใด โต้แย้ง และตัดราคาค่าจ้างว่าความ ซึ่งจะทาให้เสียความ ว่าแย่งคดี ทั้งที่ตนเองไม่ยอมทางาน ดังนั้น ก่อนที่จะรับเป็นทนายความในกรณี
3. ทีม่ ีทนายความอื่นว่าต่างแก้ต่างอยู่แล้ว สามัคคีและเสียมาตรฐานราคาค่าจ้างว่าความ ดังกล่าว จึงต้องทราบข้อเท็จจริงให้แน่ชัดก่อนว่าทนายความคนก่อนได้ปฏิเสธ
1) มาว่า หรือ 2. แต่อย่างไรก็ตาม มีข้อยกเว้นคือ หรือแสดงความไม่สมัครใจที่จะว่าความในคดีนั้นต่อไปแล้วจริง ๆ
ว่าต่างแก้ต่าง 1) ทนายความคนเดิมยินยอมให้เราเป็นทนายความ ตัวอย่าง (ข้อ 16+10)
ในคดีที่รู้ว่ามี เพิ่มขึ้นอีกคนหนึ่ง เพื่อช่วยกันทาคดี 1. การที่ นาย A มาปรึกษา นาย B ทนายความ ว่าถูกฟ้องในคดี อ าญา
2) รับ หรือ ทนายความอื่น 2) ได้มีการถอนทนายความไปแล้ว และลูกความไม่มี โดยมี นาย C ทนายความแก้ต่างให้ เมื่อ นาย B ได้ฟังข้อเท็จจริงแล้วจึงบอก
ว่าอยู่แล้ว ทนายความอยู่ จาเป็นต้องหาทนายความคนใหม่เข้า นาย A ว่ า ตนมี ค นรู้ จั ก ที่ จ ะช่ ว ยเหลื อ ให้ นาย A ไม่ ต้ อ งติ ด คุ ก ได้ ดั ง นี้
3) สัญญาว่าจะรับ ไปช่วย หรือ การกระทาของ นาย B ถือเป็นการอวดอ้างว่ารู้จักสมัครพรรคพวกที่จะช่วยให้
5. เว้นแต่ 3) ทนายความคนก่อนไม่ยอมทางาน แต่ไม่ถอนตัวออก นาย A ไม่ต้องติดคุก เป็นการใช้อุบายจงใจให้มี การมอบคดีให้แก้ต่าง และเป็น
อนุ (1) ได้รับความยินยอมจาก จากคดี และลูกความต้องการหาทนายความใหม่ ผลให้ นาย A หลงว่าจะได้ผลเป็นพิเศษจากการว่าความ ดังนั้น การกระทา
ทนายความที่ว่าความอยู่เรื่องนั้นแล้ว ดังกล่าวของ นาย B จึงเป็นการประพฤติมรรยาททนายความ ตามข้อบังคับฯ
อนุ (2) มีเหตุผลอันควรเชื่อว่าตัวความ ข้อ 10 (3)
ได้ถอนทนายความคนก่อนจากการเป็น และการที่ นาย B ทราบว่า นาย A มี นาย C เป็นทนายความแก้ต่างอยู่แล้ว
ทนายความของเขาแล้ว ยังใช้อุบายเพื่อแย่งคดีที่มีทนายอื่นแก้ต่างอยู่แล้ว มาว่า แม้ว่า นาย A ลูกความ
อนุ (3) ทนายความผู้ว่าความในเรื่องนั้น ได้แสดงความประสงค์ว่าจะถอน นาย C จาการเป็นทนายความก็ตาม แต่ก็เป็น
ปฏิเสธ หรือแสดงความไม่สมัครใจที่จะว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังจากการใช้อุบายดังกล่าว จึงไม่เข้าข้อยกเว้นตามข้อ
ความในคดีนั้นต่อไปแล้ว 16 (2) แต่อย่างใด ดังนั้น การกระทาของ นาย B จึงเป็นการประพฤติมรรยาท
ทนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 16 ด้วย (ข้อสอบ 2/2557)
2. นาย A และ นาย B ซึ่งเป็นทนายความอยู่ในส านักงานเดียวกัน โดย
นาย B ได้รับว่าความแก่ นาย C แม้ว่าเป็นคดีที่ นาย A หามาให้ก็ตาม ดังนี้
กรณี ดั ง กล่ า วไม่ ถื อ ว่ า การกระท าของ นาย B เป็ น การประพฤติ ม รรยาท
ทนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 16 ฐานแย่งหรือประมูลคดีที่มีทนายความอื่น
15

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ว่าต่างแก้ต่างอยู่แล้วมาว่าต่อ เพราะตามข้อเท็จจริงไม่ปรากฎว่า นาย B ได้รู้
เรื่องที่ นาย A ไปแย่งคดีมาให้ตนรับว่าความแต่อย่างใด
ข้อ 17 *** ไม่โฆษณา วรรคททอง
1. ประกาศโฆษณา หรือ 1. การโฆษณา คือ การทาให้ “ข้อความ” ปรากฏสู่ “ตามข้อบัง คั บฯ ข้อ 17 ห้ ามมิให้ โ ฆษณาโดยมี ข้ อ ความเกี่ ยวกับ อั ต รา
2. ยินยอมให้ผู้อื่นประกาศโฆษณาใด ๆ สาธารณชน ด้วยวิธีการใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นทาง ค่าจ้างว่าความ หรือแจ้งว่าจะไม่รับค่าจ้างว่าความ เพราะคดีแต่ละประเภทย่อม
ดังต่อไปนี้ หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ ป้ายข้อความ ใบปลิว หรือ มีข้อเท็จจริงแตกต่างกัน ค่าจ้างว่าความจริงแตกต่างกันไปในแต่ละคดี หากมี
อนุ (1) การพูด การโฆษณาค่าจ้างว่าความอาจมีผลเสียคือ เกิดการโฆษณาคุณภาพและตัดราคา
1) อัตราค่าจ้างว่าความ หรือ 2. การโฆษณาดังกล่าว ห้ามมีข้อความ ดังนี้ กัน จนทาให้ทนายความได้รับค่าตอบแทนไม่คุ้มกับผลงานของตน และยังเสีย
2) แจ้งว่าไม่รับค่าจ้างว่าความ 1) อัตราค่าจ้างว่าความ หรือแจ้งว่าไม่รับค่าจ้างว่า เกียรติคุณของวิชาชีพ”
3) เว้นแต่ การประกาศโฆษณาของ ความ ตัวอย่าง
ทนายความเกี่ยวกับ 2) ชื่อ คุณวุฒิ ตาแหน่ง ถิ่นที่อยู่ หรือสานักงาน 1. การที่นายเทพซึ่งเป็นทนายความอยู่ที่สานักทนายความ ได้ทาใบปลิว
3.1) การช่วยเหลือประชาชน ในลักษณะโอ้อวด ชักชวนให้ลูกความมาว่าจ้างตน โดยมีข้อความว่า “สานักงานทนายความคิดค่าจ้างถูกที่สุดในจังหวัด เพื่อ
ทางกฎหมาย 3. การประกาศว่าตนเชี่ยวชาญ ย่อมแสดงในตัวว่ายังมีคน เป็นการช่วยเหลือประชาชนที่มีรายได้น้อย” นั้น การกระทาดังกล่าวของนาย
3.2) ซึ่งดาเนินการโดย อื่นที่ไม่เชี่ยวชาญ ดังนั้น จึงเห็นว่าการโฆษณาตามข้อ เทพ เป็นการประพฤติผิ ด มรรยาททนายความ ตามข้อบัง คับ ฯ ข้อ 17 (1)
สภาทนายความ หรือสถาบัน สมาคม องค์กร 1) ถึง 2) นั้น เข้าข่ายต้องห้ามตามข้อบังคับฯ ข้อ 17 เพราะเป็นการโฆษณาอัตราค่าจ้างว่าความอันปรากฏสู่สาธารณชน ผ่านรูปแบบ
หรือส่วนราชการใดที่เกี่ยวข้อง หรือ 4. การโฆษณาให้สานักทนายความอื่น ซึ่งมิใช่สานัก เอกสารใบปลิว (ข้อสอบเก่า 2/2559)
อนุ (2) ทนายความของตน ไม่เข้าข่ายผิดมรรยาททนายความ
วรรคทอง
1) ชื่อ คุณวุฒิ ตาแหน่ง ถิ่นที่อยู่ ข้อ 17 ทั้งนี้ สานักทนายความอื่นนั้น ต้องไม่รู้เห็นใน
หรือสานักงาน การโฆษณาดังกล่าวด้วย “นอกจากนั้ น ก็ ห้ า มมิ ใ ห้ โ ฆษณาชื่ อ คุ ณ วุ ฒิ ต าแหน่ ง ถิ่ น ที่ อ ยู่ หรื อ
2) อันเป็นการโอ้อวดเป็นเชิง สานักงาน ในลักษณะโอ้อวด ชักชวนให้ลูกความมาว่าจ้างตน เช่น การแสดง
ชักชวนให้ผู้มีอรรถคดีมาหา อวดอ้างว่าตนนี้เก่งกว่าคนอื่น หรือมีความสามารถกว่าคนอื่น ย่อมเข้าข่าย
3) เพื่อเป็นทนายความว่าต่างหรือ ต้องห้ามตามข้อบังคับฯ ข้อ 17 นี้”
แก้ต่างให้
4) เว้นแต่ การแสดงชื่อ คุณวุฒิ
หรืออื่น ๆ ดังกล่าว ตามสมควร
โดยสุภาพ
16

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ตัวอย่าง
2. การที่นาย A เห็นว่านาย B เปิดสานักงานทนายความและยังไม่มีคดีเลย
จึ ง ไปโฆษณาทางวิ ท ยุ ว่ า “ส านั ก งานทนายความ B เที่ ย งตรง มี น าย B
เป็นเจ้าของ และมีค่าจ้างถูกที่สุดในประเทศไทย” นั้น การกระทาดังกล่าวของ
นาย A ไม่ ถื อ ว่ า เป็ น การประพฤติ ผิ ด มรรยาททนายความ ตามข้ อ บั ง คั บ ฯ
ข้อ 17 เพราะมิได้โฆษณาสานักงานทนายความของตน ส่วนนาย B ก็ไม่ผิด
มรรยาททนายความเช่นกัน เพราะมิได้เป็นผู้โฆษณาเอง กอปรกับไม่ทราบการ
กระทาของนาย A แต่อย่างใด (ข้อสอบ 1/2559)
...........ทั้งสองกรณีดูประกอบข้อ 15 ด้วย.............
3. การที่ นาย A ให้ นาย B ไปติ ด ต่ อ ให้ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ล งประกาศว่ า
“ส านั ก ทนายความ รั บ ว่ า ความฟรี ทั่ ว ราชอาณาจั ก ร” นั้ น ถื อ เป็ น การ
ประกาศ โฆษณาใด ๆ ว่าไม่เรียกร้องค่าจ้างว่าความ อันเป็นการประพฤติผิด
มรรยาททนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 17 (1) (ข้อสอบ 2/2560)
ข้อ 18 *** กระทาเสื่อมเสีย วรรทอง
1. ประกอบอาชีพ ดาเนินธุรกิจ หรือ หลัก “...การกระทาของผู้ถูกกล่าวหา เป็นการเสื่อมเสียต่อศักดิ์ศรี และเกียรติคุณ
2. ประพฤติตนอันเป็นการฝ่าฝืนศีลธรรม 1. ตามข้อบังคับฯ ข้อ 18 เป็นการประพฤติผิ ดมรรยาท ของทนายความ ตามข้อบังคับฯ ว่าด้วยมรรยาททนายความ ข้อ 18”
อันดี หรือ ทนายความ ซึ่งถ้าทนายความคนเดียวได้ทาความเสื่อมเสียแล้ว “...การกระทาของผู้ถูกกล่าวหา เป็นการประพฤติตนอันเป็นการฝ่าฝืนต่อ
3. เป็นการเสื่อมเสียต่อ ย่อมทาให้เพื่อร่วมวิชาชีพเสื่อมเสียไปด้วย การทาให้เสื่อมเสีย ศีลธรรมอันดีและเป็นการเสื่อมเสียต่อศักดิ์ศรีและเกียรติคุณของทนายความ”
1) ศักดิ์ศรี และ นั้น แม้เป็นการกระทาที่ไม่เข้าองค์ประกอบการประพฤติ ผิ ด ตัวอย่าง
2) เกียรติคุณของทนายความ มรรยาททนายความข้ออื่น ๆ ก็อาจเข้าข่ายองค์ประกอบการ 1. การที่ นาย A ใช้วิธีทางธุรกิจบริหารงานวิชาชีพทหนายความ โดยจัดให้มี
ประพฤติผิดมรรยาททนายความข้อนี้ได้ ระบบสมาชิก มีฝ่ายการตลาดจัดหาสมาชิกรายปีและตลอดชีพ โดยทาแผ่นพับ
2. ทนายความต้องทางานสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมวิชาชีพคน มีพระบรมฉายาลักษณ์ของสมเด็จกรมหลวงราชบรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดากฎหมายไทย
อื่น ที่รับเป็นตัวแทนว่าความแก้ต่างให้ลูกความฝ่ายตรงข้ามที่มี อยู่ภายใต้ชื่อและสานักงาน ดังนี้ เป็นการโฆษณาเพื่ อประโยชน์ในทางธุรกิจ
ความขัดแย้ งกันอยู่ในคดี ดังนั้น ทนายความควรวางตัว เป็ น การค้ามากกว่ามุ่งบริการรับใช้ประชาชน อันเป็นการผิดหลักการที่ผู้ประกอบ
กลาง คือไม่เอาตัวเข้าไปเป็นคู่ความเสียเอง การที่ทนายความ วิชาชีพกฎหมายพึ งต้องทา ด้วยเจตนารมณ์รับใช้ประชาชน มิใช่คานึงถึงแต่
วางตัวเป็นกลาง จะทาให้ทนายความปลอดภัยจากข้อโต้แย้ง
17

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ด้วย เพราะฉะนั้น การวางตัวเป็นกลางจึงเป็นประโยชน์ ทั้งต่อ ประโยชน์ส่วนตน จึงถือเป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ ตามข้อบังคับ
ตัวความและทนายความเอง ฯ ข้อ 18 (ข้อสอบ 1/2555)
2. การที่ นาย A เรี ย กค่ า ทนายความสู ง ถึ ง 50,000 บาท ส าหรั บ การ
ดาเนินการใช้บังคับคดีเพียงอย่างเดียว ทั้งที่จานวนหนี้ตามคาพิพากษา และค่า
ฤชาธรรมเนียมที่ลูกหนี้ต้องชาระเพียง 100,000 บาท ถือเป็นการประกอบ
อาชีพที่มุ่งเอารัดเอาเปรียบประชาชนมากกว่าการให้ความช่วยเหลือประชาชน
และเป็นการไม่ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ การกระทาดังกล่าวของ นาย A
จึงเป็นการประพฤติตนอันเป็นการเสื่ อมเสียต่อศักดิ์ศรีและเกียรติคุณ ของท
นานยความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 18 (ข้อสอบ 2/2554 และ S/2561)
****3. การที่ นาย A ทนายความ หลอกลวง นาย B โดยเรียกเงินค่าธรรมเนียม
ศาลร้อยละ 2.5 ของเงินที่ศาลส่งปรับ จาก นาย B จานวน 1,000,000 บาท
ตามสัญญาประกัน เพื่อยื่นคาร้องขอลดค่าปรับให้ นาย B ทั้งที่การยื่นค่าปรับใน
คดี อ าญาไม่ มี ค่ า ธรรมศาล โดย นาย A เก็ บ เงิ น ค่ า ดั ง กล่ า วไว้ เ อง ดั ง นี้
การกระทาของ นาย A ดังกล่ าว เป็นการประพฤติผิ ดมรรยาททนายความ
ฐานฉ้อโกงลูกความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 15 ผิดฐานใช้อุบายใด ๆ โดยปราศจาก
เหตุอันสมควร เพื่อให้ตนได้รับประโยชน์นอกเหนือจากลูกความได้ตกลงสัญญา
ให้ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 14 และผิดฐานประพฤติตนอันเป็นการฝ่าฝืนต่อศีลธรรม
อั น ดี แ ละเป็ น การเสื่ อ มเสี ย ต่ อ ศั ก ดิ์ ศ รี แ ละเกี ย รติ คุ ณ ของทนายความ ตาม
ข้อบังคับฯ ข้อ 18 (เทียบคาสั่งสภานายกพิเศษ 1/2535) (ข้อสอบ 1/2552)
4. การที่ นาย A อาชีพทนายความ เช่าบ้านของ นาย B ไม่ยอมนาเงิน
นาย B ไปจ่ายค่าไฟ ตามที่ นาย B ได้ขอวาน แต่กลับนาเงินไปเล่นการพนัน จึง
ทาให้บ้านถูกตัดไป และเมื่อ นาย B ทวงเงินคืนก็ไม่ยอมคืน อีกทั้งไม่ยอมจ่าย
ค่าเช้าบ้านให้ นาย B ด้วย ดังนี้ ถือเป็นการประพฤติตนอันเป็นการฝ่าฝืนต่อ
ศีลธรรมอันดีและเป็นการเสื่อมเสียต่อศักดิ์ศรีและเกียรติคุณของทนายความ
ตามข้อบังคับฯ ข้อ 18 (ข้อสอบ S/2560)
18

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


5. การที่นายเก่งทนายความ ได้ประกอบกิจการจัดส่งแรงงานต่างด้าวที่ไม่มี
ใบอนุ ญ าตท างาน ให้ เ ดิ น ทางเข้ า มาท างานในกรุ ง เทพฯ นั้ น ถื อ เป็ น การ
ประกอบกิจการอันเป็นการฝ่ าฝื น ต่อศีล ธรรมอันดีและเป็นการเสื่อมเสียต่อ
ศักดิ์ศรีและเกียรติคุณของทนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 18
ข้อ 19 มีนายหน้าหาคดี วรรคทอง
1. ยินยอมตกลง หรือให้คามั่นสัญญาว่า 1. ปกติทนายความจะมีสานักงานและอยู่ประจาที่สานักงาน “ตามข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ ข้อ 19 กาหนด
1) จะให้ค่านายหน้า หรือ ของตน เพื่อรอรับลูกความที่จะมาปรึกษาคดี เมื่อมาศาล ห้ามทนายความยินยอม ตกลง หรือให้คามั่นสัญญาว่าจะให้ค่านายหน้าหรือ
2) บาเหน็จรางวัลใด ๆ ก็จะมาปฏิบัติหน้าที่เฉพาะในศาล บาเหน็จรางวัลใด ๆ ด้วยทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด แก่ผู้ที่หาคดีความมาให้
2. ด้วยทรัพย์สินหรือประโยชน์ใด ๆ แก่ 2. แต่มีทนายความบางคนเห็นว่าการนั่งรอคดีไม่ค่อยมี ถึงแม้ผู้หาคดีความมาให้นั้นจะเป็นเสมียน ลูกจ้าง ในสานักงานทนายความนั้น
1) ผู้ที่หาคดีความ หรือ ลูกความ จึงให้เสมียนทนายความหรือคนอื่นมาประจาอยู่ ก็ไม่ได้ เพราะถือว่าวิชาชีพทนายความนั้นมีเกียรติและเป็นส่วนหนึ่งในการ
2) ผู้ที่นาคดีความมาให้ หรือ ที่ศาล เมื่อลูกความเข้ามาติดต่อศาล ก็จะเข้าไปคุยด้วย ผดุงความยุติธรรม มีหน้าที่หลักในการทาความจริงใปรากฎ และศาลก็เป็น
3. มีคนประจาสานักงานดาเนินการจัดหา ถามปัญหาและให้คาแนะนาแก่ลูกความ ถ้าถึงขนาดต้อง ผู้พิจารณาวินิจฉัย ดังนั้น การเป็นทนายความที่ดี จึงต้องให้ความสาคัญใน
คดีมาให้ว่า โดยทนายความผู้นั้น ฟ้องคดีก็จะแนะนาทนายความของสานักงานที่ตนสังกัด การช่วยเหลือประชาชนมากกว่ามุ่นเน้นการค้า”
1) คิดค่าส่วนลดของค่าจ้างให้ หรือ 3. จึงต้องห้ามบุคคลเหล่านี้ เพราะ ตัวอย่าง
2) ให้เงินเดือน หรือ 1) ไม่มีความรู้กฎหมายที่แท้จริง คาแนะนาดังกล่าวอาจ 1. การที่ นาย A เป็นทนายความ ได้ตกลงกับ นาย B เจ้าของห้ องเช่า
3) เงินจานวนหนึ่งจานวนใด หรือ ทาให้ลูกความเสียหายได้ ว่าให้ นาย B จัดหาคดีให้ โดยจะให้ส่วนแบ่งจากค่าจ้างว่าความร้อยละ 3 นั้น
4) ทรัพย์สิน หรือ 2) กรณีมีนายหน้าจัดหาคดี อาจเข้าข่ายการแย่งความ ถือเป็นการตกลง ยินยอมว่าจะให้ค่านายหน้าแก่ผู้ที่หาคดีความหรือนาความมา
5) ประโยชน์อย่างใด ๆ จากทนายความคนอื่น ตามข้อบังคับฯ ข้อ 16 ให้ จึงเป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 19
5. แก่ผู้ที่หาคดีความมาให้นั้น เพราะคอยดักรอเอาคดี ทาให้เกิดข้อพิพาทในหมู่ (ข้อสอบ S/2560)
6. แม้บุคคลผู้หาคดีความมาให้โดยลักษณะ ทนายความคนอื่น ๆ และทาให้ขาดความสามัคคี 2. การที่ นาย A เป็นทนายความ ได้บอกกับ นาย B ว่า ถ้าใครมีคดีแล้วให้
ดังกล่าว จะเป็น 3) การให้คาปรึกษาคดีกับลูกความ เป็นการแย่งอาชีพ นาย B นาคดีมาให้ว่าความ แล้ว นาย A จะแบ่งค่าทนายความให้ร้อยละ 10
1) เสมียน หรือ ทนายความอย่างหนึ่ง ประกอบกับบุคคลเหล่านี้ ไม่มี นั้น ถือว่าการกระทาของ นาย A เป็นการยินยอม ตกลง หรือให้คามั่นสัญญาว่า
2) ลูกจ้างประจาสานักงานของ องค์กรควบคุมวิชาชีพ อาจทาการเอารัดเอาเปรียบ จะให้ค่านายหน้าหรือบาเหน็จรางวัลใด ๆ ด้วยทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด
ทนายความผู้นั้นก็ตาม ลูกความได้ แก่ ผู้ ที่ ห าคดี ค วามมาให้ และการที่ นาย A ได้ แ บ่ ง ค่ า ทนายความจ านวน
100,000 บาท ให้ กับ นาย B โดย นาย B ได้รับเงิ นจานวนดังกล่ าวไว้แล้ ว
ย่อมเป็นการที่ทนายความให้เงินจานวนหนึ่งแก่ผู้ที่หาทนาความมาให้ แก่ตน
19

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ดังนั้น การกระทาของ นาย A จึงเป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ ตาม
ข้อบังคับฯ ข้อ 19 (ข้อสอบ 2/2555)
3. การที่ นาย A และ นาย B ซึ่งเป็นทนายความอยู่ในสานักงานทนายความ
เดียวกัน ได้ตกลงสัญญากันว่าต่างคนต่างหาคดีมาให้กันและกัน โดยถ้าฝ่ายใด
ได้รับคดีและแบ่งค่าจ้างว่าความให้แก่ฝ่ายที่ห าคดีความมาให้ร้อยละ 3 นั้น
กรณีถือเป็นการที่ นาย A และ นาย B ยินยอม ตกลง หรือให้คามั่นสัญญาว่าจะ
ให้ ค่านายหน้าหรือบาเหน็จรางวัล ใด ๆ ด้ว ยทรั พย์สิ น หรือประโยชน์อื่นใด
แก่ผู้ที่หาคดีความมาให้ การกระทาของ นาย A และ นาย B เป็นการประพฤติ
ผิดมรรยาททนายความฐานมีนายหน้าหาคดีให้แก่กัน ตามข้อบังคับฯ ข้อ 19
แม้ว่าตามข้อเท็จจริง นาย B จะยังไม่ได้หาคดีมาให้ นาย A ก็ตาม
(ข้อสอบ 2/2553 และ S/2552)
20

ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ พ.ศ. 2529


------------------------

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 1 อุดมการณ์ของผู้พิพากษา 1. การที่ นาย A ผู้พิพากษา เรียก นาย B ซึ่งเป็นคู่ความที่มีคดีในศาลไปพบ
1. หน้าที่สาคัญของผู้พิพากษา คือ 1. ตามประมวลจริยธรรมฯ ข้อ 1 จะดูแล ที่ห้องทางาน พร้อมกับบอกว่า “ถ้าไม่อยากติดคุกก็ให้ทาประโยชน์ให้กับทาง
1) การประสาทความยุติธรรมแก่ผู้มีอรรถคดี ราชการ โดยนาสุราต่างประเทศยี่ห้ อ Black Label จานวน 1 ลัง มามอบให้
ความคิดอยู่ในใจของผู้พิพากษาด้วยว่าจะต้องมี
2) ซึ่งจักต้องปฏิบัติติด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ศาล เพื่อใช้ในงานจัดเลี้ยงฉลองปีใหม่” คาพูดดังกล่าวถือเป็นการข่มขู่ความให้
อุดมการณ์อย่างไร กล่าวคือจะต้องมีความยุติธรรม
เที่ยงธรรม ถูกต้องตามกฎหมาย ความซื้อสัตย์สุจริต ปฏิบัติตามกฎหมาย และนิติ เกิ ด ความเกรงกลั ว โดยเมื่ อ นาย B ได้ ยิ น เช่ น นี้ ย่ อ มกลั ว ว่ า ตนเองจะถู ก
และนิติประเพณี พิพากษาให้ลงโทษจาคุก จึงยินยอมนาสุรายี่ห้อดังกล่าวมามอบให้ นาย A ก่อน
ประเพณี
3) ทั้งจักต้องแสดงให้เป็นที่ประจักษ์แก่ วันนัดฟังคาพิพากษา เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏเช่นนี้ แม้ว่า นาย A จะอ้างว่าต้อง
2. ผู้พิพากษาจะปฏิบัติเท่านั้นยังไม่พอ จะต้อง
สาธารณชน ด้วยว่าตนปฏิบัติเช่นนี้ แสดงให้สาธารณชนเห็นด้วยว่าตนเองได้ปฏิบัติ นาไปฉลองงานปีใหม่ของศาล ไม่ได้นาไปเพื่อประโยชน์ส่วนตัว แต่ก็ถือเป็นการ
อย่างเคร่งครัดและครบถ้วน กระทาผิดตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 41 อันเนื่องจากการ
ตามนั้นแล้ว
2. เพื่อการนี้ ผู้พิพากษาจักต้อง รับทรัพย์สิ นหรือประโยชน์อื่นใด ๆ กับคู่ความอันเกี่ยวเนื่องกับ การปฏิ บั ติ
3. นอกจากนี้ ยังต้องรักษาความเป็นอิสระของ
1) ยึดมั่นในความเป็นอิสระของตน และ ตน และเทิดทูนไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์ความเป็นตุลการของ หน้าที่ของผู้พิพากษา และการกระทาเช่นนี้ของ นาย A เป็นการขาดอุดมการณ์
2) เทิดทูนไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์ของสถาบันตุลาการ ของผู้พิพากษา ตามข้อ 1 ในเรื่องการประสาทความยุติธรรมให้แก่ผู้ที่มีอรรถ
ตน และ
คดี ซึ่งจักต้องปฏิบัติด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ถูกต้องตามกฎหมาย
4. จะทาให้สาธารณชนเชื่อถือเฉพาะตัวเรายังไม่
พอ ควรให้เขาเชื่อถือสถาบันตุลาการด้วย และนิติประเพณี (ข้อสอบ 2/2557)
5. ถ้าเชื่อถือก็จะให้ความไว้วางใจแก่สถาบัน
ตุลาการด้วย ทาให้กระบวนการยุติธรรมทางศาล
ดาเนินไปด้วยความคล่องตัว
21

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 6 การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคดี 1. ผู้ที่เป็นผู้พิพากษานั้น จักต้องปฏิบัติห น้าที่และดารงตนด้วยความเที่ยง
1. ผู้พิพากษาจักต้อง ธรรม โดยประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 6 กาหนดว่า “...............”
1. การวิจารณ์หรือให้ความเห็นแก่คู่ความหรือ
1.1 ละเว้นการกล่าวถึงข้อเท็จจริงในคดีที่อาจ การที่ นาย A ปฏิเสธไม่ยอมรับกระเฉาดอกไม้ที่ราษฎร (คู่ความ) นามา
บุคคลภายนอกเกีย่ วกับคดีที่อยู่ระหว่างการ
กระทบการเทือนต่อบุคคลใด พิจารณาหรือกาลังจะขึ้นสู่ศาล อาจทาให้ มอบให้เพื่อเป็นกาลังใจในการพิจารณาคดีของพวกตน การกระทาของ นาย A
1.2 ไม่วิจารณ์หรือให้ความเห็นแก่คู่ความหรือ ไม่ผิดตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 41 เพราะ นาย A ไม่ได้รับ
บุคคลภายนอกคาดการณ์ได้ว่าในที่สุดแล้วผล
บุคคลภายนอกเกี่ยวกับคดีที่อยู่ระหว่างการ ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ๆ กับคู่ความอันเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติหน้าที่
ของคาพิพากษาจะเป็นอย่างไร
พิจารณาหรือกาลังจะขึ้นสู่ศาล 2. การที่พิพากษาแถลงให้ประชาชนเข้าใจถึงวิธี ของผู้พิพากษา แต่การที่ นาย A ได้ชี้แจงราษฎรว่า “จะพิจารณาพิพากษาคดี
2. แต่ผู้พิพากษาเป็นผู้มีอานาจแถลงให้ประชาชน ตามข้อเท็จจริงในสานวนเท่านั้น ไม่นาข้อเท็จจริงนอกสานวนหรือกระแสสังคม
พิจารณาความของศาล ถือว่าเป็นการ
เข้าใจถึงวิธีพิจารณาความของศาลเมื่อมีเหตุอัน มาใช้ในการพิจารณาด้วย” นั้น การกระทาดังกล่าวของ นาย A ถือเป็นการ
ให้บริการประชาชนเข้าใจตัวบทกฎหมาย และ
สมควร ได้ปฏิบัติถูกต้องตามประมวลจริยธรรม ข้อ 6 กระทาผิดประมวลจริยธรรมฯ ข้อ 6 เพราะ นาย A ไม่ได้เป็นผู้พิพากษาผู้มี
อานาจแถลง แม้ว่าคาชี้แจงของ นาย A จะเป็นเรื่องแถลงเพื่อให้ประชาชน
ทั้งนี้
เข้าใจถึงวิธีพิจารณาความของศาลก็ตาม (ข้อสอบ 1/2553)
ต้องเป็นผู้พิพากษาผู้มีอานาจแถลงเท่านั้น
2. การที่ นาย A เป็นผู้พิพากษาจักต้องละเว้นการกล่าวถึงเท็จจริงในคดี
และต้ อ งไม่ วิ จ ารณ์ ใ ห้ ค วามเห็ น แก่ คู่ ค วาม โดยจากข้ อ เท็ จ จริ ง นาย B
เป็นคู่ความในคดีที่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ และถ้อยคาที่
นาย A กล่าวนั้น เป็นการตาหนิติเตียนการทางานของผู้พิพากษาผู้เป็นเจ้าของ
สานวนต่อ นาย B ซึ่งเป็นคู่ความในคดี กรณีจึงเป็นการกระทบกระเทือนต่อ
การเชื่ อ ถื อ ศรั ท ธาในการท างานของผู้ พิ พ ากษา เพราะ นาย A ไม่ ท ราบ
ข้ อ เท็ จ จริ ง ในคดี แ ละไม่ เ กี่ ย วข้ อ งในคดี อี ก ทั้ ง นาย A ไม่ ใ ช่ ผู้ พิ พ ากษา
ผู้ มี อ านาจแถลงให้ ป ระชาชนเข้ า ใจถึ ง วิ ธี พิ จ ารณาความของศาล ดั ง นั้ น
การกระทาดังกล่าวของ นาย A จึงผิดตามประมวลจริยธรรมฯ ข้อ 6
(ข้อสอบ 1/2558)

หมายเหตุ ขอเท็จจริงที่นามาลง เป็นเพียงการสรุปจากธงคาตอบ เพื่อให้ครอบคลุมขอให้


ดูข้อเท็จจริงตามข้อสอบจริงประกอบเสมอ
22

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 8 การกดดันให้จาเลยรับสารภาพ 1. การที่ นาย A ซึ่งเป็นผู้พิพากษา สอบถามข้อเท็จจริงจากคู่ความแล้วทา
1. การเปรียบเทียบหรือไกล่เกลี่ยคดีจะต้องทาในศาล 1. ตามประมวลจริยธรรมฯ ข้อ 8 นี้ ในการ การไกล่เกลี่ย โดยบอกว่าได้ตรวจสานวนแล้วเห็นว่าพยานหลักฐานที่พนักงาน
2. ผู้พิพากษาจะต้องชี้แจงให้คู่ความทุกฝ่ายตระหนัก เปรียบเทียบหรือไกล่เกลี่ยคดี ผู้พิพากษาจะต้อง อัยการโจทก์ฟ้องมานั้น เพียงพอให้รับฟังว่า นาย B จาเลยเป็นผู้กระทาผิด
ถึงผลดีผลเสียในการดาเนินต่อไป ชี้แจงให้คู่ความทุกฝ่ายตระหนักถึงผลดีผลเสียใน หากไม่สารภาพและไม่เยียวยาชดใช้ค่าเสียหายแก่นาย C นาย B อาจถูกลงโทษ
3. ทั้งนี้ จักต้อง การดาเนินคดีต่อไป จาคุกสถานหนักขึ้น การกระทาดังกล่าวของ นาย A เป็นการกระทาผิดตาม
1) ไม่ให้คามั่น หรือ 2. ในการนี้ ผู้พิพากษาจักต้องไม่ให้คามั่น หรือ ประมวลจริยธรรมฯ ข้อ 8 เพราะเป็นการกดดันบีบบังคับให้จาเลยรับสารภาพ
2) บีบบังคับ บีบบังคับให้คู่ความฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดหรือทุก โดยไม่สมัครใจ (ข้อสอบ 2/2559)
2.1) ให้คู่ความฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดหรือทุกฝ่าย ฝ่ายยอมรับข้อเสนอใด ๆ หรือให้จาเลยรับ
ยอมรับข้อเสนอใด ๆ หรือ สารภาพโดยไม่สมัครใจ และ
2.2) ให้จาเลยรับสารภาพโดยไม่สมัครใจ และ 3. จักต้องไม่ทาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งระแวง
3) จักต้องไม่ทาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งระแวง ว่าผู้พิพากษาฝักใฝ่ช่วยเหลือคู่ความอีกฝ่าย
ว่าผู้พิพากษาฝักใฝ่ช่วยเหลือคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง หนึ่ง
ข้อ 14 การถอนตัว 1. การที่ นาย A ผู้พิพากษา ได้รับมอบหมายให้พิจารณาพิพากษาคดีแพ่ง
1. ผู้พิพากษาพึงถอนตัวออกจากการพิจารณาคดีและ 1. ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 11 13 และ 14 ให้คู่ความ ระหว่าง นาย B กับ นาย C ปรากฏว่า นาย C คู่ความเป็นบุตรลูกพี่ลูกน้องของ
พิพากษาคดี คัดค้านผู้พิพากษาได้ ซึ่งถ้าคัดค้านสาเร็จ จะ นาย A ดังนี้ ถือว่าเป็นเหตุอันทาให้การพิจารณาพิพากษาคดีเสียความยุติธรรม
1) เมื่อมีเหตุที่ตนอาจถูกคัดค้านได้ตามกฎหมาย โอนสานวนไปให้ผู้พิพากษาอื่น ถ้าคัดค้านไม่ และเป็นกรณีที่ผู้พิพากษาถูกคัดค้านได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
หรือ สาเร็จ แพ่ง มาตรา 11 ประกอบมาตรา 13 และมาตรา 14 ฉะนั้น นาย A จึงต้องถอน
2) เมื่อมีเหตุประการอื่นเกี่ยวกับตัวผู้พิพากษา ผู้พิพากษาคนเดิมก็พิจารณาต่อไป ตัวจากการพิจารณาพิพากษาคดีดังกล่าว โดยไม่ต้องรอให้ถูกคัดค้านจาก นาย
อันอาจทาให้การพิจารณาพิพากษาคดีนั้น 2. แต่ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ B ก่อน ทั้งนี้ ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลการ ข้อ 14
เสียความยุติธรรม และ กาหนดว่าคดีใดก็ตามถ้าผู้พิพากษาเห็นว่าตน (ข้อสอบ S/2555)
2. จักต้องไม่กระทาการใด ๆ อันเป็นการจูงใจ อาจถูกคัดค้านได้ จะต้องถอนตัวก่อน โดยไม่ 2. การที่ นาย B ถูกพนักงานอัยการโจทก์ ฟ้องคดีข้อหาลั กทรัพย์ โดยมี
ผู้พิพากษาคดีนั้นในภายหลังในประการที่อาจ ต้องรอให้ถูกคัดค้าน นาย A เป็ น ผู้ พิ พ ากษานั่ ง พิ จ ารณาคดี ดั ง กล่ า ว นาย B เห็ น ว่ า นาย A
ทาให้เสียความยุติธรรมได้ เคยพิพากษาจาคุกตนฐานลักทรัพย์ในคดีก่อนหน้ านี้มาแล้ว 1 ครั้ง และคดีนี้
นาย B ได้ยื่นคาร้องขอปล่อยตัวชั่วคราว แต่ นาย A ไม่อนุญาต อีกทั้ง นาย A
เคยถูกขโมยรถจักรยานยนต์ แต่เจ้าพนักงานตารวจยังจับคนร้ายไม่ได้ และ
23

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


วรรคทอง นาย B เกรงว่า นาย A จะมีอคติต่อตน นาย B จึงบอกให้ นาย A ถอนตัวจาก
“ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ การพิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี นี้ มิ ฉ ะนั้ น จะยื่ น ค าร้ อ งคั ด ค้ า นผู้ พิ พ ากษา นั้ น
ข้อ 14 กาหนดให้คู่ความขัดค้านผู้พิพากษาได้ จากข้ อ เท็ จ จริ ง นี้ แม้ ว่ า ประมวลจริ ย ธรรมข้ า ราชการตุ ล าการ ข้ อ 14
กล่าวคือ ผู้พิพากษามีหน้าที่สาคัญในการประสาท จะกาหนดให้ผู้พิพากษาพึงถอนตัวออกจากการพิจารณาคดีและพิพากษาคดี
ความยุติธรรมในอรรถคดี ผู้พิพากษาจึงต้องปฏิบัติ เมื่ อ มี เ หตุ ที่ ต นอาจถู ก คั ด ค้ า นได้ ต ามกฎหมาย หรื อ เมื่ อ มี เ หตุ ป ระการอื่ น
หน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และถูกต้องตาม เกี่ยวกับตัว ผู้ พิพากษา อันอาจทาให้ การพิจ ารณาพิพากษาคดีนั้นเสี ยความ
หลักกฎหมายและนิติประเพณี” ดังนั้น หากปรากฏ ยุติธรรม ทั้งนี้ โดยไม่ต้องรอให้มีการยื่นคาร้องคัดค้านผู้พิพากษาเสียก่อนก็ตาม
เหตุที่ผู้พิพากษาอาจถูกคัดค้านได้ตามกฎหมาย หรือ แต่จากข้อเท็จจริงดัง กล่าวนั้น หาใช่เหตุอันจะทาให้การพิจารณาพิ พากษาคดี
เมื่อมีเหตุประการอื่นที่เกี่ยวข้องกับตัวผู้พิพากษา อัน เสียความยุติธรรมไม่ และไม่ใช่เหตุคัดค้านผู้พิพากษาตามประมวลกฎหมายวิธี
อาจทาให้การพิจารณาคดีนั้นเสียความยุติธรรมแล้ว พิจารณาความแพ่ง มาตรา 11 ด้วย ดังนั้น นาย A ผู้พิพากษาที่พิจารณาคดี
ผู้พิพากษาคนที่พิจารณาคดีอยู่นั้นจักต้องถอนตัวจาก ดังกล่าวจึงไม่ต้องถอนตัวออกจากคดีของ นาย B และถือว่าการกระทาของ
การพิจารณาพิพากษาคดีนั้น นาย A (ไม่ยอมถอนตัวจากคดีนี้ตามที่ นาย B ได้บอก) ไม่เป็นการประพฤติผิด
ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 14 แต่อย่างใด
(ข้อสอบ 2/2553)
ข้อ 26 *** การประกอบกิจการอื่น (ภาคเอกชน) 1. การประกอบกิ จ การอื่ น ของผู้ พิ พ ากษาจะต้ อ งเป็ น ไปตามประมวล
วรรคหนึ่ง 1. ตามวรรคหนึ่ง ผู้พิพากษาสามารถเป็นหุ้นส่วน จริยธรรมฯ ข้อ 26 ที่กาหนดว่า ผู้พิพากษาจักต้องไม่เป็นกรรมการ ผู้จัดการ
1. ผู้พิพากษาจักต้องไม่เป็น หรือผู้ถือหุ้นได้ ที่ปรึกษา หรือดารงตาแหน่งอื่นใดในห้างหุ่นส่วน บริษัท ห้างร้าน หรือธุรกิจ
1) กรรมการ ผู้จัดการ ที่ปรึกษา หรือ 2. กระทากิจการใดอันกระทบกระเทือนต่อการ เอกชน เว้นแต่ จะเป็นกิจการที่มิได้แสวงหากาไร ดังนั้น จากข้อเท็จจริง แม้ว่า
2) ดารงตาแหน่งอื่นใดในห้างหุ่นส่วน บริษัท ปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา เช่น บริษัท B จากัด จะเป็นบริษัทครอบครัว ที่ นาย A (ดารงตาแหน่งกรรมการ
ห้างร้าน หรือธุรกิจเอกชน นายหน้าซื้อขายที่ดิน คนขับรถรับจ้าง เป็นต้น ผู้จัดการบริษัท B และตาแหน่งกรรมการผู้จัดการบริษัท C ผู้ที่มาขอปรึกษาว่า
2. เว้นแต่ จะเป็นกิจการที่มิได้แสวงหากาไร*** ซึ่งผิดตามข้อ 26 วรรคสอง หากจะสอบเป็ น ผู้ พิ พ ากษาจะสามารถด ารงต าแหน่ ง ดั ง กล่ า วได้ ห รื อ ไม่ )
วรรคสอง ** (ออกบ่อย) เป็นกรรมการมานาน แต่เนื่องจากเป็นบริษัทที่มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหา
1. ผู้พิพากษาจักต้อง *** หากเป็นกรรมการในกิจการที่ไม่แสวงหากาไร แต่ กาไร นาย A จึงไม่สามารถดารงตาแหน่งเป็นกรรมการบริษัท B ได้อีกต่อไป
1) ไม่ประกอบอาชีพ หรือวิชาชีพ หรือ อาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ ก็ต้องเข้าข้อ 29 และจะต้องลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทดังกล่าว
2) กระทากิจการใดอันกระทบกระเทือนต่อการ นอกจากนี้ ตามประมวลจริยธรรมฯ ข้อ 26 วรรคสอง ยังกาหนดห้ามมิให้
ปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ผู้ พิ พ ากษาประกอบอาชี พ หรื อ หรื อ วิ ช าชี พ หรื อ กระท ากิ จ การใดอั น
24

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


กระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ดังนั้น
นาย A จึงไม่สามารถดารงตาแหน่งเป็นกรรมการบริษัท C ได้อีกต่อไปเช่นกัน
จึงต้องลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทดังกล่าวด้วย (ข้อสอบ 2/2560)
2. ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 26 วรรคสอง ห้ามมิให้
ผู้ พิ พ ากษาประกอบอาชี พ หรื อ หรื อ วิ ช าชี พ หรื อ กระท ากิ จ การใดอั น
กระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา เพราะ
ผู้พิพากษาจักต้องดารงตนอยู่เหนือความขัดแย้งและผลประโยชน์ทางธุร กิจ
การค้าให้มากที่สุด จึงห้ามผู้พิพากษาเข้าไปมีส่วนร่วมกระทากิจการอันใดซึ่งมี
ลักษณะอันเป็นการหารายได้พิเศษ เพื่อจะได้ไม่กระทบต่อภาพพจน์แห่งความ
เป็นกลางหรือขัดแย้งต่อการปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่งตุลาการของตน
จากข้ อ เท็ จ จริ ง การที่ นาย A เป็ น ผู้ พิ พ ากษาในศาลจั ง หวั ด แห่ ง หนึ่ ง
ได้กระทาการเป็นนายหน้าขายที่ดินนั้น ถือว่าเป็นการกระทากิจการใดอั น
กระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา เพราะ
เป็นการกระทาที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ ซึ่งเมื่อมีการผิดสัญญาก็จะทาให้เกิด
ความขัดแย้ง และถึงขนาดที่ต้ อ งน าความขึ้น สู่ศ าลที่ ตนเองทาหน้ า ที่ อ ยู่
ย่อมกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ดังนั้น
การกระท าของ นาย A จึ ง เป็ น การประพฤติ ผิ ด ตามประมวลจริ ย ธรรม
ข้าราชการตุลาการ ข้อ 26 วรรคสอง (ข้อสอบ 1/2559)
3. การที่ นาย A เดิมเป็นแพทย์และเป็นเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง
ต่อมา นาย A สอบคัดเลือกได้เป็นผู้พิพากษา จึงได้มอบให้ภริยาซึ่งเป็นแพทย์
เช่นกัน เป็นผู้บริหารโรงพยาบาล ส่วน นาย A เป็นผู้ถือหุ้นของโรงพยาบาล นั้น
ไม่ถือว่า นาย A เป็นผู้ที่ประพฤติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
ข้อ 26 แต่อย่างใด เพราะ นาย A เป็นแต่เพียงผู้ถือหุ้นในโรงพยาบาลเอกชน
เท่านั้น ไม่ได้เป็นกรรมการ ผู้จัดการ ที่ปรึกษาหรือดารงตาแหน่งอื่นใดในธุรกิจ
ดังกล่าว และการที่ นาย A ทาการตรวจรักษาโรคอันเป็นวิชาชีพแพทย์ และ
กระท าในวั น หยุ ด ราชการ การกระท าดั ง กล่ า วของ นาย A ก็ ไ ม่ ถื อ ว่ า
25

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


กระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา จึง ไม่เป็น
การประพฤติผิดตามประมวลจริยธรรมฯ ข้อ 26 วรรคสอง (ข้อสอบ 2/2552)

ข้อ 27 การประกอบกิจการอื่น (ภาครัฐ) 1. การที่ นาย A เป็ น ผู้ พิ พ ากษา ได้ รั บ การเสนอชื่ อ เป็ น กรรมการ
วรรคหนึ่ง 1. ข้อ 26 แตกต่างจากข้อ 27 โดยข้อ 26 เกี่ยวกับ สภามหาวิทยาลัยของรัฐ ซึ่งกรรมการสภามหาวิทยาลัยของรัฐเป็นหน่วยงาน
1. ในกรณีจาเป็นผู้พิพากษาอาจ กิจกรรมการของเอกชน แต่ข้อ 27 เกี่ยวกับ ของรัฐที่ไม่มีลักษณะขัดหรือแย้งต่อการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตุลาการ
1) ได้รับมอบหมาย หรือ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานราชการ ถ้าไปช่วย ตามระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มาตรา 59 (3)
2) แต่งตั้งจากหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ ทางานของรัฐตามที่ได้รับมอบหมายหน้าที่ ซึ่ ง วางหลั ก ว่ า “ข้ า ราชการตุ ล าการต้ อ ง (3) ไม่ ด ารงต าแหน่ ง ใด ๆ
หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ให้ปฏิบัติหน้าที่อัน ต้องได้รับอนุญาตจาก ก.ต. ในหน่ ว ยงานของรั ฐ ที่ มี ลั ก ษณะขั ด หรื อ แย้ ง ต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อง
เกี่ยวกับหน่วยงานราชการ หรือหน่วยงานนั้นได้ 2. ต่อมา ก.ต. ได้ออกข้อกาหนดเพิ่มเติมว่า ข้าราชการตุลาการตามระเบียบที่ ก.ต. กาหนด” แต่ นาย A ต้องขออนุญาต
2. ในเมื่อการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวไม่กระทบกระเทือนต่อ ห้ามกระทรวงยุติธรรมอนุญาตให้ผู้พิพากษาไป ต่อสานักงานศาลยุติธรรม ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 27
1) การปฏิบัติหน้าที่ หรือ ปฏิบัติหน้าที่กรรมการที่มีอานาจหน้าที่วินิจฉัย ส่วนการที่ นาย A ได้เป็นกรรมการรัฐวิสาหกิจด้วยนั้น ต้องห้ามตามระเบียบ
2) เกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ข้อพิพาทซึ่งอาจเป็นคดีสู่สศาลได้ เช่น ข้ า ราชการฝ่ า ยตุ ล าการศาลยุ ติ ธ รรมฯ มาตรา 59 (1) ซึ่ ง วางหลั ก ว่ า
3. ทั้งจักต้องได้รับอนุญาตจากสานักงานศาลยุติธรรม คณะกรรมการ ปปป.* คณะกรรมการควบคุม “ข้าราชการตุลาการต้อง (1) ไม่เป็นกรรมการหรือดารงตาแหน่งหน้าที่ใดใน
แล้ว ผู้บริโภค เป็นต้น รั ฐวิสาหกิจหรื อกิจการในทานองเดียวกัน ” ดังนั้น นาย A จึงต้องปฏิเสธ
วรรคสอง 3. และ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการ ตาแหน่งกรรมการรัฐสาหกิจดังกล่าว (ข้อสอบ 2/2554)
1. การเป็นกรรมการรัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐ ศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มาตรา 59 (1) ห้ามมิ
ในทานองเดียวกัน ให้ผู้พิพากษาเป็นกรรมการหรือดารงตาแหน่ง
2. จักต้องได้รับอนุมัตจิ าก ก.ต. ด้วย ใด ๆ ในรัฐวิสาหกิจหรือกิจการอื่นของรัฐใน
ทานองเดียวกัน (จากคาบรรยาย)
* สานักงาน ปปป. เดิมสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี
ต่อมารัฐธรรมนูญฯ ปี 2540 ได้เปลี่ยนฐานะเป็น
สานักงานงาน ปปช. ซึ่งเป็นองค์กรอิสระตาม
รัฐธรรมนูญตั้งแต่นั้นมา
26

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 28 หลักข้อนี้ การที่นาย A เป็นผู้พิพากษาศาลจังหวัดแห่งหนึ่ง ได้รับเชิญไปเป็นที่ปรึกษา
วรรคหนึ่ง 1. ผู้พิพากษาสามารถแสดงปาฐกถา บรรยาย ของมูลนิธิชมรมคนรักช้าง ซึ่งเป็นองค์กรการกุศลไม่แสวงหากาไร นั้น ไม่ผิดข้อ
1. ผู้พิพากษาไม่พึง สอน หรือเข้าร่วมสัมมนา อภิปราย หรือแสดง 26 เพราะเป็นที่ปรึกษาของกิจการที่ไม่แสวงหากาไร และเมื่อข้อเท็จจริงต่อมา
1) แสดงปาฐกถา บรรยาย สอน หรือ ความคิดเห็นใด ๆ ต่อสารธรณชนได้ หากการ นาย ข. ประธานมูลนิธิ ได้เชิญนาย A ไปบรรยายเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครอง
2) เข้าร่วมสัมมนา อภิปราย หรือ กระทาดังกล่าวนั้น ไม่กระทบกระเทือนต่อการ สัตว์ให้บุคคลทั่วไปที่สนใจในโรงแรมของตน โดยมีค่าใช้จ่ายในการฟังบรรยาย
3) แสดงความคิดเห็นใด ๆ ต่อสารธรณชน ปฏิบัติหน้าที่ หรือเกียรติของผู้พิพากษา และไม่ คนละ 2,500 บาท โดยนารายได้ส่วนหนึ่งมามอบให้มูลนิธิชมรมคนรักช้าง นาย
2. ซึ่งอาจกระทบกระเทือนต่อ เป็นไปเพื่อประโยชน์ในทางธุรกิจ ตามวรรค A ตกลงตามคาเชิญ ดังนี้ การกระทาของนาย A ถือเป็นการกระทาผิดประมวล
1) การปฏิบัติหน้าที่ หรือ หนึ่ง เช่น การบรรยายในสถานบันการศึกษา ข้าราชการตุลาการ ข้อ 28 ซึ่งเป็นการบรรยายเพื่อประโยชน์ในทางธุรกิจ
2) เกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา หรือ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ เป็นต้น (เพราะมิได้ ……………..ดูข้อ 44 ประกอบ..................
3. และจักต้องไม่กระทาการดังกล่าว เพื่อประโยชน์ กระทาเพื่อแสวงหาประโยชน์ในทางธุรกิจ) (เอกสารสรุปวิชา LAW4005 ของ Law_Goonte)
ในทางธุรกิจ 2. ส่วนวรรคสอง ขอให้ดูข้อ 6 วรรคสอง
วรรคสอง ประกอบ
1. การให้ข่าวหรือข้อเท็จจริงในทางราชการของศาล
ยุติธรรมและสานักงานศาลยุติธรรม หรือ
2. เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับทางราชการของศาล
ยุติธรรมหรือสานักงานศาลยุติธรรม
3. จะทาได้ต่อเมื่อ
1) เป็นผู้รับผิดชอบในการให้ข่าว
2) ข้อเท็จจริงตามที่คณะกรรมการตุลาการ
ศาลยุติธรรม คณะกรรมการบริหาร
ศาลยุติธรรม หรือสานักงานศาลยุติธรรม
กาหนด
27

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 29 การเข้าร่วมเป็นสมาชิก 1. การที่ นาย A เป็นผู้พิพากษา ได้รับเชิญไปเป็นกรรมการของสมาคมขจัด
1. ผู้พิพากษาไม่พึงเป็น ***ข้อนี้พึงระวัง เพราะมักสับสนกับข้อ 26*** ความรุนแรงในครอบครัวนั้น ไม่ถือเป็นการประพฤติผิดตามประมวลจริยธรรม
1) กรรมการ สมาชิก หรือ โดยปกติผู้พิพากษาอาจเข้าเป็นสมาชิกสมาคม ข้าราชการตุลาการ ข้อ 29 แต่อย่างใด เพราะการเป็นกรรมการของสมาคม
2) เจ้าหน้าที่ของสมาคม สโมสร ชมรม หรือ ต่าง ๆ ได้ เช่น สมาคมศิษย์เก่าสถานศึกษา แต่ต้องดู ขจัดความรุนแรงในครอบครัว ไม่ถือว่ากระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่
3) องค์กรใด ๆ หรือ ว่าการเป็นสมาชิกจะต้องไม่กระทบกระเทือนต่อการ หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา (ข้อสอบ S/2560)
2. เข้าร่วมในกิจการใด ๆ อันกระทบกระเทือนต่อ ปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของตุลาการ เช่น 2. การที่ นาย A เป็นผู้พิพากษา ได้รับ เชิญไปเป็นกรรมการสมาคมศิษย์เก่า
1) การปฏิบัติหน้าที่ สมาคมคนทรงเจ้าเข้าผี เป็นต้น มหาวิทยาลัยรามคาแหงนั้น ไม่ถือว่ากระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือ
2) เกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ส่วนการเป็นกรรมการดาเนินการออกฉลาก เกี ย รติ ศั ก ดิ์ ข องผู้ พิ พ ากษา จึ ง ไม่ ผิ ด ประพฤติ ผิ ด ตามประมวลจริ ย ธรรม
เพื่อหารายได้สมทบทุนสภากาชาดไทย แม้เป็น ข้าราชการตุลาการ ข้อ 29 แต่อย่างใด (ข้อสอบ 1/2552)
กิจกรรมที่ไม่แสวงหากาไร อันเป็นข้อยกเว้นไม่ผิด
ตาม ข้อ 26 แต่เป็นกิจการอันกระทบกระเทือนต่อ ..................ดูข้อ 43 ประกอบ ชอบออกคู่กัน...............
การปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษา เนื่องจากต้องขอร้อง
ให้ประชาชนซื้อฉลาก เป็นหนี้บุญคุณผู้อื่น ซึ่งอาจทา
ให้เสียความเป็นกลาง จึงเป็นการประพฤติผิด
จริยธรรมในแง่นี้
(เอกสารสรุปวิชา LAW4005 ของ Law_Goonte)
ข้อ 30 ผู้พิพากษาไม่พึงเป็นผู้จัดการมรดก ทรัพย์ นาย A เป็นผู้พิพากษาในศาลจังหวัดแห่งหนึ่ง นาง C ป้าของนาง B ภริยา
1. ผู้พิพากษาไม่พึงเป็น ผู้ครอบครองทรัพย์ เว้นแต่ให้บุคคล ดังต่อไปนี้ นาย A ได้ขอให้นาย A ร่างสัญญาซื้อขายที่ดินของลู ก ๆ ของนาง C นาย A
2) ผู้จัดการมรดก ตัวเอง คู่สมรส บุพการี บุตร ญาติสืบสายโลหิต เห็นว่าเป็นญาติกัน จึงดาเนินการตามที่ขอ ดังนี้ นาย A ประพฤติผิดประมวล
3) ผู้จัดการทรัพย์ หรือ เกี่ยวพันทางแต่งงาน เพราะบุคคลเหล่านี้ ถือเป็น จริยธรรมข้าราชการตุลการ ข้อ 31 วรรคสอง เพราะผู้พิพากษาจักต้องไม่เป็น
4) ผู้ครอบครองทรัพย์ ญาติสนิทของผู้พิพากษา ซึ่งมีส่วนได้เสียในมรดกหรือ ผู้ร่างนิติกรรมอื่นใด ๆ เว้นแต่ของญาติที่เกี่ยวพันทางแต่งงาน และผู้พิพากษา
2. เว้นแต่ให้บุคคล ดังต่อไปนี้ ทรัพย์สินนั้นโดยตรง ถื อ เป็ น ญาติ ส นิ ท ที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในมรดกหรื อ ทรั พ ย์ นั้ น โดยตรง ซึ่ ง จาก
1) ตัวผู้พิพากษาเอง ข้อเท็จจริง นาย A ไม่มีส่วนได้เสียในสัญญาซื้อขายที่ดินของลูก ๆ ของนาง C
2) คู่สมรส เช่นกัน
3) ผู้บุพการี และนาย A ยังประพฤติผิดตามประมวลฯ ข้อ 30 ด้วย เพราะผู้พิพากษา
4) ผู้สืบสันดานของตน ไม่พึงเป็นผู้จัดการมรดก เว้นแต่ของญาติเกี่ยวพันทางแต่งงาน และผู้พิพากษา
28

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


5) ญาติสืบสายโลหิต ถือป็นญาติสนิทมีส่วนได้เสียในเรื่องนั้นโดยตรง ซึ่งจากข้อเท็จจริง นาย A ไม่มี
6) เกี่ยวพันทางแต่งงาน ส่วนได้เสียจากทรัพย์สินมรกของลูก ๆ ของนาง C เช่นกัน
(เอกสารสรุปวิชา LAW4005 ของ Law_Goonte)
ซึง่ ผู้พิพากษาถือเป็นญาติสนิทที่มีส่วนได้เสีย
ในมรดกหรือทรัพย์นั้นโดยตรง
ข้อ 31 คาถาม ธงคาตอบ
วรรคหนึ่ง นาย A เป็นผู้พิพากษาศาลแห่งหนึ่ง ได้รับแต่งตั้ง การที่ นาย B ทนายความ และมีลูกความมาปรึกษาคดีเรื่องสินค้าถูกละเมิด
1. ผู้พิพากษาจักต้องไม่รับ เป็นอาจารย์พิเศษสอนวิชากฎหมายทรัพย์ทางปัญญา ลิขสิทธิ์ แต่ นาย B เชี่ยวชาญเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญา จึงขอคาปรึกษากับ
1) แต่งตั้งเป็นตัวแทนในการดาเนินคดี หรือ ในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง นาย B เป็นลูกศิษย์เคย นาย A ผู้พิพากษา ซึ่งแคยเป็นอาจารย์ผู้บรรยายวิชาทรัพย์ทางปัญญาเมื่อครั้ง
2) รับเป็นผู้เรียง ผู้เขียน ผูพ้ ิมพ์ข้อความ คาร้อง คา เรียนวิชาดังกล่าวกับ นาย A ต่อมา นาย B ประกอบ ที่เรียนที่มหาวิทยาลัยนั้น จะเห็นได้ว่า นาย B เป็นเพียงลูกศิษย์ที่คุยเคย มิใช่คู่
ขอ หรือคาแถลงใด ๆ อาชีพทนายความและมีลูกความมาปรึกษาคดีเรื่อง สมรส บุพการี บุตร หรือญาติสื บสายโลหิต หรือเกี่ยวพันทางแต่งงาน ซึ่ งผู้
วรรคสอง สินค้าถูกละเมิดลิขสิทธิ์ แต่ นาย B เป็นทนายความที่ พิพากษาถือเป็นญาติสนิท มีส่วนได้เสียในคดี หรือเรื่องนั้นโดยตรง อีกทั้งเป็น
1. ผู้พิพากษาจักต้องไม่รับ มีความเชี่ยวชาญเฉพาะคดีแพ่งและอาญา จึง การสอบถามเมื่อ นาย B ไปประกอบอาชีพเป็นทนายความแล้ว มิใช่สอบถาม
2.1 ปรึกษาคดีความ หรือ โทรศัพท์ไปขอคาปรึกษากับ นาย A ในฐานะที่เป็น ในเรื่องการศึกษาเล่าเรียน ซึ่งตามปกติ นาย A ในฐานะเป็นผู้พิพากษาศาล
2.2 เรื่องซึ่งอาจเป็นคดีความขึ้นได้ และ อาจารย์ ซึ่ง นาย A เห็นว่า นาย B เป็นลูกศิษย์ที่ ยุติธ รรมแล้ ว ไม่อาจรับปรึกษาคดีความหรือเรื่องที่ อาจเป็น คดีความขึ้ น ได้
2.3 ไม่รับเป็นผู้ร่าง ผู้เขียน ผู้พิมพ์ หรือพยานใน คุ้นเคยและสอบถามเกี่ยวกับวิชาที่ตนเองสอน จึงให้ เพราะจะทาให้คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งเสียเปรียบ
พินัยกรรม หรือนิติกรรมอื่นใด คาแนะนากับ นาย B ในเรื่องข้อกฎหมายและการหา ดังนั้น การที่ นาย A ให้คาปรึกษาแก่ นาย B เรื่องข้อกฎหมายและการหา
3. ไม่ว่าเพื่อสินจ้างรางวัลหรือไม่ พยานหลักฐานที่จะหามาดาเนินการฟ้องร้องคดีกับ พยานหลั กฐานที่จะมาดาเนินการฟ้องร้องคดีกับผู้ กระทาการละเมิดละเมิ ด
4. เว้นแต่ กรณีที่ ผู้กระทาการละเมิดลิขสิทธิ์ และ นาย A ยังบอกอีกว่า ลิขสิทธิ์ นอกจากนี้ นาย A ยังบอกอีกว่า หากมีข้อสงสัยประการใดอีกก็ให้ค้น
1) ตัวผู้พิพากษาเอง หากมีข้อสงสัยประการใดอีกก็ให้ค้นจากตาราที่ตนเอง จากตาราที่ตนเองเคยเขียนไว้ และหากไม่เข้าใจก็ให้สอบถามมาทางโทรศัพท์ได้
2) คู่สมรส เคยเขียนไว้ และหากไม่เข้าใจก็ให้สอบถามมาทาง ทุ ก เมื่ อ การกระท าของ นาย A จึ ง เป็ น การกระท าผิ ด ประมวลจริ ย ธรรม
3) บุพการี โทรศัพท์ได้ทุกเมื่อ แต่ นาย B ก็ไม่ได้โทรศัพท์ไป ข้าราชการตุลาการ ข้อ 31 วรรคสอง
4) ผู้สืบสันดานของตน ปรึกษาอีกเนื่องจากคู่กรณีตกลงกันได้และไม่มีการ ส่วน นาย B เป็นทนายความ มิได้เป็นข้าราชการตุลการ การกระทาของ
5) ญาติสายโลหิต หรือเกี่ยวพันทางแต่งงาน ฟ้องร้องคดีกัน ดังนี้ นาย B จึงไม่ผิดประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการดังกล่าว
29

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


5. ซึ่งผู้พิพากษาถือเป็นญาติสนิท มีส่วนได้เสียใน อยากทราบว่าการกระทาของ นาย A และ (**ประเด็นแบบนี้ต้องตอบให้ครบถ้วน เพราะข้อสอบถามว่าการกระทาของ
คดี หรือเรื่องนั้นโดยตรง (เน้น) นาย B ผิดตามประมวลจริยธรรมหรือไม่ เพราะเหตุ นาย A และ นาย B ผิดตามประมวลจริยธรรมหรือไม่) (ข้อสอบ 2/2558)
ใด จงอธิบายพร้อมยกหลักกฎหมายประกอบ 2. การทีน่ ายสนองเป็นผู้พิพากษา และได้ร่างสัญญาให้กับนายสมานซึ่งเป็น
พี่ชายของนางสุขภริยาตน พร้อมลงนามเป็นพยานในสัญญาฉบับดังกล่าวดังนี้
นายสนองทาได้ตามประมวจจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 31 วรรคสอง
เพราะนายสนองเกี่ยวพันทางแต่งงานซึ่งผู้พิพากษาถือเป็นญาติสนิท มีส่วนได้
เสียในคดี หรือเรื่องนั้นโดยตรง ส่วนกรณีการเขียนคาร้องยื่นต่อศาลขอให้ตั้ง
ตนเป็นผู้จัดการมรดกของนายเสนาะบิดาของตนนั้น นายสนองเป็นผู้จัดการ
มรดกได้ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 30 แต่การเขียนคาร้อง
ขอเข้าเป็นผู้จัดการมรดกไม่ได้ ต้องห้ามตามข้อ 31 วรรคแรก * (เขาคือใคร
โปรดดูข้อเท็จจริงจากข้อสอบ ซึ่งผู้สรุปเองก็ยังหาไม่เจอ) (จาก Law_Goonte)
ข้อ 34 *** ไม่ฝักฝ่ายพรรคการเมือง 1. การที่ นาย A ผู้พิพากษา ได้คุยให้เพื่อน ๆ ฟังว่า ตนจะเลือกผู้สมัครรับ
1. ผู้พิพากษาจักต้อง ตามข้อ 34 เป็นไปตาม พ.ร.บ. ข้าราชการฝ่าย เลือกตั้งหมายเลข 1 นั้น เป็นการแสดงความคิดเห็นในด้านการเมืองตามปกติ
1) ไม่เป็นกรรมการ สมาชิก หรือ ตุลาการ พ.ศ. 2543 มาตรา 59 (6) และมาตรา 56 ยังไม่ถือเป็นการกระทาอันเป็นการฝักไฝ่หรือโฆษณาให้เลือกผู้หนึ่งผู้ใด แต่การ
2) เจ้าหน้าที่ในพรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมือง ซึ่งในด้านการเมืองผู้พิพากษากระทาได้อย่างเดียวคือ ที่ นาย A ไปร่วมด้วยการโฆษณาหาเสี ยง และปรากฏตัวร่ว มกับผู้ส มั ครรั บ
และ การใช้สิทธิเลือกตั้งเท่านั้น ต่างจากข้าราชการ เลือกตั้งหมายเลข 1 นั้น ถือได้ว่าเป็นการสนับสนุนในการโฆษณาหรือซักชวน
2. จักต้องไม่เข้าเป็น พลเรือนซึ่งเป็นสมาชิกพรรคการเมืองใด ให้ เลื อกผู้ ห นึ่ ง ผู้ ใ ด ดังนั้น การกระท าของ นาย A จึงเป็นการประพฤติ ผิ ด
1) ตัวกระทาการ ฝึกเขียน ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 34
2) ร่วมกระทาการ การที่ นาย A ดะโต๊ะยุติธรรมที่นั่งพิจารณาคดี (ข้อสอบ 2/2561)
3) สนับสนุนในการโฆษณาหรือชักชวนใด ๆ ฟ้องหย่าของ นาย B ซึ่งเป็นพี่ชายของตน เมื่อคดี 2. การที่ นาย A ผู้พิพากษา ได้กล่าวชักชวนเพื่อนโรงเรียนมัธยมปลาย
4) ในการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาหรือผู้แทน เสร็จสิ้นเด็ดขาดแล้วปรากฏว่า นาย B แพ้คดี ต่อมา ในงานเลี้ยงรุ่นหลังขึ้นเวลาทีร้องเพลงเสร็จแล้ว เพื่อให้ช่วยเลือก นาย B ซึ่งเป็น
การเมืองอื่นใด นาย B อยากทาบุญ จึงได้ชวนพรรคตะวันใหม่ซึ่งเป็น ผู้ ส มัครพรรคพลั ง ประชาราษฎรรุ่ งเรื อง นั้น ถือว่าการกระทาของ นาย A
3. ทั้งไม่พึงกระทาการใด ๆ อันเป็นการฝักฝ่ายพรรค พรรคการเมืองซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่ นาย B เป็น ได้ประพฤติผิดประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 34 เพราะการกระทา
การเมืองหรือกลุ่มการเมืองใด สมาชิกอยู่บริจาคเครื่องวัดอุณหภูมิ จานวน 5 เครื่อง ดังกล่าวถือเป็นการสนับสนุนในการโฆษณาหรือชักชวนใด ๆ ในการเลือกตั้ง
4. นอกจากใช้สิทธิเลือกตั้ง ให้แก่ศาลจังหวัดที่ นาย A ร่วมพิจารณาคดี เพื่อ สมาชิกรัฐสภาหรือผู้แทนการเมืองอื่นใด (ข้อสอบ 1/2550)
ตรวจกรองโควิด 19 ของผู้มาใช้บริการก่อนเข้ามาใน
30

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ศาล นาย A เห็นว่าเป็นประโยชน์แก่ศาลจังหวัดมิใช่ ........................................................................................................................
ประโยชน์เพื่อส่วนตัวจึงรับไว้ ดังนี้ นาย A ประพฤติ ........................................................................................................................
ผิดประมวลจริยธรรมตุลาการหรือไม่ อย่างไร ยกหลัก ........................................................................................................................
กฎหมายอธิบายประกอบ (ข้อสอบซ่อม 1/2563) ........................................................................................................................
.................................................................................. ........................................................................................................................
.................................................................................... ........................................................................................................................
.................................................................................... ........................................................................................................................
.................................................................................... ........................................................................................................................
.................................................................................... ........................................................................................................................
.................................................................................... ....................................................................................................................... .
.................................................................................... ...................................................... ............................................................................................
.................................................................................... .....................................................................................................................

ข้อ 37 ผู้พิพากษาก้าวก่าย (เอง) ตัวอย่าง


1. ผู้พิพากษา จักต้องไม่ 1. การที่ นาย A ผู้ช่วยผู้พิพากษา ได้ไปสอบถาม นาย B ผู้พิพากษาเจ้าของ
1) ก้าวก่ายแทรกแซง หรือ สานวนถึงผลของคดี แต่ นาย B ปฏิเสธอ้างว่าคดีอยู่ในขั้นตอนการสืบพยานจึง
2) แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากการปฏิบัติ ไม่อาจตอบได้ว่าชนะหรือไม่นั้น ไม่มีประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการข้อใด
หน้าที่ของผู้พิพากษาอื่น หรือ กาหนดเป็นความผิดเกี่ยวการที่ นาย B ปฏิเสธที่จะตอบคาถามของ นาย A
3) กระทาการใด ๆ ดังนั้น นาย B จึงไม่ได้ประพฤติผิดจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
อันเป็นการกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติ ส่วนกรณีของ นาย A เมื่อประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 44
หน้าที่ของผู้พิพากษาอื่นในการพิจารณาคดี ก าหนดให้ น าประมวลจริ ย ธรรมนี้ มาใช้ บั ง คั บ แก่ ผู้ ช่ ว ยผู้ พิ พ ากษา
ดะโต๊ะยุติธรรม และผู้พิพากษาสมทบโดยอนุโลมนั้น การที่ นาย A ไปสอบถาม
นาย B ถึงผลแห่ งคดี จึงเป็นการก้าวก่ายแททรกแซงการปฏิบัติห น้าที่ ข อง
ผู้พิพากษาอื่น อันเป็นการประพฤติผิดตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุล า
การ ข้อ 34 (ข้อสอบ S/2559)
31

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 38 ยินยอมให้บุคคลในครอบครัวก้าวก่าย คาตอบ
1. ผู้พิพากษาจักต้องไม่ คาถาม การที่นายอรรถแนะนาให้นางสมรไปลองพูดกับนางสมศรีภริยาของ
1) ยินยอมให้บุคคลในครอบครัวก้าวก่าย นางสมรเป็นภริยาของนายอรรถซึ่งเป็นผู้ นายสงขลา และนางสมรก็ได้ไปเล่าเรื่องของนายมงคลให้นางสมศรีฟังแล้ว
การปฏิบัติหน้าที่ของตน หรือของผู้อื่น และ พิพากษา วันหนึ่งนายมงคลมาพบนางสมร เพื่อขอให้ กรณีนี้จะเห็นได้ว่า แม้นายอรรถจะไม่ได้พูดกับนายสงขลาด้วยตนเอง และ
2) จักต้องไม่ยินยอมให้ผู้อื่นใช้ตาแหน่งหน้าทีข่ อง ช่วยเหลือเรื่องที่ตนถูกฟ้อง เพราะรู้ว่านายอรรถเป็น นางสมศรีจะบอกปัดไม่กล้าพูดกับนางสงขลา แต่การกระทาดังกล่าวของนาย
ตนแสวงหาประโยชน์อันมิชอบ เพื่อนสนิทกับนายสงขลาซึ่งเป็นผู้พิพากษาเจ้าของคดี อรรถก็ถือเป็นการกระทาผิดประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการฐานไปก้าว
ของตน นางสมรเล่าเรื่องของนายมงคลให้นายอรรถ ก่ายการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาอื่น ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการ
ฟัง นายอรรถบอกว่า ตนไปก้าวก่ายงานของคนอื่น ตุลาการ ข้อ 37 และยังเป็นการยินยอมให้บุคคลในครอบครัวไปก้า วก่า ย
ไม่ได้ ให้นางสมรลองไปพูดกับนางสมศรีซึ่งเป็นภริยา การปฏิบัติหน้า ที่ของผู้พิพากษาอื่น อันเป็นการกระทาผิ ดตามประมวล
ของนายสงขลา เพราะนางสมรกับนางสมศรีเป็นเพื่อ จริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 38 ด้วย ส่วนนางสมรไม่ได้เป็นผู้พิพากษา
สนิทกัน นางสมรเล่าเรื่องของนายมงคลให้นางสมศรี จึงไม่อาจถือว่าเป็นผู้กระทาผิดจริยธรรมตุลการได้ (ข้อสอบ 2/2555)
ฟังแล้ว นางสมศรีบอกว่าตนไม่กล้าพูดกับนายสงขลา
เรื่องนี้ เพราะนายสงขลาดุมาก ดังนี้ ถามว่านายอรรถ ................ดูข้อ 37 และ 38 ประกอบกัน.............
และนางสมรกระทาผิดจริยธรรมตุลาการหรือไม่
ข้อ 39 การยึดมั่นในระบบคุณธรรม วรรคทอง ข้อ 39-42
1. ผู้พิพากษาพึง 1. การย้ายผู้พิพากษาครั้งแรก ถือเอาตามความ 1. การปฏิบัติตน ผู้พิพากษาจะต้องปฏิบัติตนตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
1) ยึดมั่นในระบบคุณธรรม และ อาวุโสในการสอบคัดเลือกเป็นผู้ช่วยผู้พิพากษา และจะต้องมีความสันโดษ กล่าวคือ ยินดีในสิ่งที่ตนมี ไม่อยากได้ของคน
2) จักต้องไม่แสวงตาแหน่งความดี ความชอบ ว่าอยู่ในอันดับที่เท่าใด อื่น มีอัธยาศัยและกริยาสุภาพ
หรือประโยชน์อื่นใดโดยมิชอบจาก 2. แต่การย้ายครั้งที่ 2 จะถามความสมัครใจว่า 2. ผู้พิพากษาจะต้องไม่ปฏิบัติเอง(ข้อ 37) และไม่ยินยอมให้บุคคลในครอบครัว
ผู้บังคับบัญชา หรือจากบุคคลอื่น ต้องการย้ายไปที่ใดบ้าง ซึ่งจะจัดให้ผู้อาวุโสกว่า ก้าวก่ายการปฏิบัติหน้าที่ของตนหรือของผู้พิพากษาคนอื่น(ข้อ 38) และไม่
มีสิทธิเลือกก่อน ยินยอมให้บุคคลอื่นใช้ตาแหน่งของตนในการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ
3. จึงเห็นได้ว่าผู้พิพากษายึดถือระบบอาวุโสเป็น 3. นอกจากนั้น จะต้องระมัดระวังอาชีพของคู่สมรสหรือญาติสนิทของตน(ข้อ 40)
สาคัญ ดังนั้น การแสวงตาแหน่งความดี ไม่ให้กระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา
ความชอบ หรือประโยชน์อื่นใดโดยมิชอบจาก
ผู้บังคับบัญชา หรือจากบุคคลอื่น จึงมิใช่วิสัย
ของผู้พิพากษา
32

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 39/1 ไม่รับเงิน นายแสดง ผู้ พิพากษา ได้มาช่ว ยโฆษณาประชาสั มพันธ์ในการเลื อ กตั้ ง
1. ผู้พิพากษาไม่พึง 1. ประมวลข้อ 39/1 ห้ามผู้พิพากษาขอรับเงิน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ถือว่านายแสดงได้ประพฤติผิดตามประมวลจริยธรรม
1) รับเงินสนับสนุน หรือ สนับสนุนหรือประโยชน์อื่นใดจากหน่วยงานหรือ ข้าราชการตุลาการ ข้อ 34 เพราะผู้พิพากษาจะต้องไม่กระทาการสนับสนุนใน
2) ประโยชน์อื่นจากหน่วยงานหรือบุคคลภายนอก บุคคลภายนอก หากจะกระทบกระเทือนต่อการ การโฆษณา หรือชักชวนใด ๆ ในการเลือกตั้งสมาชิ กรัฐสภาหรือผู้ แทนทาง
2. เว้นแต่ จะดาเนินการตาม ปฏิบัติหน้าที่ของศาลยุติธรรม การเมืองอื่นใด และการที่นายแสดงรับเงินจานวน 3,000,000 บาท ที่พรรค
1) ระเบียบ 2. การที่ผู้พิพากษาขอรับเงินสนับสนุนหรือ การเมื อ งมอบให้ เ พื่ อ น าไปใช้ จ่ า ยในการอบรมกฎหมายส าหรั บ ประชาชน
2) คาสั่ง หรือ ว่าด้วยการนั้น ประโยชน์อื่นใดด้วยตนเอง ย่อม ถือเป็นการประพฤติผิดจริยธรรมตุลาการ ข้อ 39/1 เพราะผู้พิพากษาไม่พึงรับ
3) มติ กระทบกระเทือนต่อภาพพจน์ของความยุติธรรม เงินสนับสนุนหรือประโยชน์อื่นใด จากบุคคลภายนอกในประการที่อาจทาให้
เสมอ กระทบกระเทื อ นต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องศาลยุ ติ ธ รรม (ดู ข้ อ 34,37,44
3. การกระทาดังกล่าว รวมถึงคู่สมรส และ ประกอบ)
บุคคลในครอบครัวด้วย (เอกสารสรุปวิชาการ LAW4005 ของ Law_Goonte)

ข้อ 40 การประกอบวิชาชีพ อาชีพของคู่สมรส การที่ นาย A ทราบดีว่า นาง B ซึ่งเป็นคู่สมรสของตนประกอบธุ ร กิจ


1. ผู้พิพากษาจักต้องระมัดระวังมิให้ ปล่อยเงินกู้นอกระบบ โดยให้บุคคลทั่วไปกู้เงินในอัตราร้อยละ 20 ต่อเดือน อัน
1) การประกอบวิชาชีพ อาชีพ หรือ ถือว่าเป็นการกระทาผิดตาม พ.ร.บ. ห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2560
2) การงานอื่นใดของคู่สมรส ญาติสนิท หรือบุคคล ซึ่งมีอัตราโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ซึ่งอยู่ในครัวเรือนของตน ทั้งนี้โดยปกติแล้ว นาย A จะต้องห้ามปรามมิให้ นาง B คู่สมรสประกอบอาชีพ
2. มีลักษณะเป็นการกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติ ดังกล่าว เพราะถือว่ามีลักษณะเป็นการกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่
หน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา หรือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่ นาง B มีคดี
3. โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านความเชื่อถือศรัทธาของ ฟ้องร้องอยู่ ในศาลจ านวนหลายคดี ย่อมส่ งผลกระทบในด้ านความเชื่ อ ถื อ
บุคคลทั่วไปในการประสาทความยุติธรรมของ ศรัทธาของบุคคลทั่วไปในการประสาทความยุติธรรมของผู้พิพากษา แต่จาก
ผู้พิพากษา ข้ อ เท็ จ จริ ง ดั ง กล่ า ว นาย A กลั บ ไม่ ห้ า มปรามและปล่ อ ยให้ นาง B ยั ง คง
ประกอบอาชีพที่ผิดกฎหมาย จึงถือว่า นาย A กระทาผิดตามประมวลจริยธรรม
ข้าราชการตุลาการ ข้อ 40
(ข้อสอบ 1/2561)
33

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


ข้อ 41 *** ตนเองและคู่สมรสไม่รับทรัพย์สิน (เกี่ยวกับคดี) 1. การที่ นาย B โจทก์ในคดีแพ่งที่ นาย A เป็นผู้พิพากษาเจ้าของสานวน
1. ผู้พิพากษาและคู่สมรส จักต้องไม่รับ (จากคู่ความ หรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติ ได้นากระเช้าผลไม้มามอบให้เป็นของขวัญปีใหม่ ซึ่ง นาย A รับไว้และนามา
1) ทรัพย์สิน หรือ หน้าที่ของผู้พิพากษา) เลี้ยงแขกในงานปีใหม่นั้น ถือได้ว่าการกระทาดังกล่าวของ นาย A เป็นการ
2) ประโยชน์อื่นใด ๆ กระทาผิดตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลการ ข้อ 41 ฐานรับทรัพย์สิน
ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ
3) จากคู่ความหรือบุคคลอื่น หรือประโยชน์อื่นใด ๆ จากคู่ความ แม้ว่าของดังกล่าวจะมีราคาเพียง 1,000
41 ได้กาหนดว่า ผู้พิพากษาและคู่สมรส จักต้องไม่
4) อันเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ บาท ก็ตาม (ข้อสอบ 1/2562)
รับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด ๆ จากคู่ความ
พิพากษา และ หรือบุคคลอื่น อันเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติหน้าที่ 2. การที่ นาย A ผู้พิพากษานั่งพิจารณาคดีที่จาเลยถูกฟ้องข้อหาฆ่าข่มขืน
2. จักต้องดูแลให้บุคคลในครอบครัวปฏิบัติ อย่างโหดร้ายทารุณ โดยมีคาพิพากษาให้จาเลยตามฟ้องและลงโทษประหาร
ของตนไม่ว่าจะมีมูลค่าเพียงเล็กน้อยก็ตาม
เช่นเดียวกันด้วย ชีวิต และชมรมพิทักษ์สิทธิเสรีภาพสตรีจึงนากระเช้าดอกไม้มามอบเพื่อแสดง
(ดูตัวอย่างตาม ข้อ 3.)
ความขอบคุ ณที่ นาย A ช่ว ยกาจัดภัยร้ายของสตรี ดังนี้ นาย A ไม่ต้องรั บ
กระเช้าดอกไม้นี้ไว้ เพราะแม้ชมรมพิทักษ์สิทธิเสรีภาพสตรีจะไม่ได้เป็นคู่ ความ
ในคดีและ นาย A ได้พิพากษาคดีเสร็จแล้วก็ตาม แต่ตามประมวลจริยธรรม
ข้าราชการตุลการ ข้อ 41 กาหนดห้ามผู้พิพากษารับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่น
ใดจากบุคคลอื่นด้วย หากเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติหน้าที่ ของผู้พิพากษาไม่ว่า
ระหว่างพิจารณาหรือหลังจากพิจารณาคดีแล้วก็ตาม (ข้อสอบ 1/2555)
3. การที่ นาย A ซึ่งเป็นผู้พิพากษารับกระเช้าผลไม้ในวันคล้ายวันเกิดของ
ตนจาก นาย B ซึ่ ง เป็ น คู่ ค วามของตนในคดีที่ นาย A เป็ น เจ้ า ของส านวน
การกระทาของ นาย A เป็นการรับทรัพย์สินจากคู่ความอันเกี่ยวเนื่องกับการ
ปฏิบัติหน้าที่ของตน จึงถือเป็นการกระทาผิดตามประมวลจริยธรรมข้าราชการ
ตุลาการ ข้อ 41 แม้ว่ามูลค่าของขวัญจะน้อยก็ตาม ส่วนการที่ นาง C ภริยา
ของ นาย A รับสร้อยคอจาก นาย B นั้น นาย A ไม่ต้องรับผิดฐานคู่สมรสรับ
ทรัพย์สินจากคู่ความ เพราะ นาย A ไม่ทราบเรื่องจึงขาดเจตนา แต่ นาย A
ก็ยังคงต้องรั บผิดฐานไม่ดูแ ลให้บุคคลในครอบครั วปฏิบัติให้ถูกต้อง ตาม
ประมวลจริยธรรมฯ ข้อ 41 (ข้อสอบ S/2554)
34

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


4. กรณีที่ครั้งใดถึงคราว นาย A ผู้พิพากษาต้องจ่ายค่าสนามกอล์ฟ นาย B
(เพื่อนในกลุ่มเล่นกอล์ฟ แต่เป็นคู่ความ) ก็จะชาระค่าสนามให้แทนนั้น ถือเป็น
กรณีที่ นาย A ผู้พิพากษาได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ๆ จากคู่ความอัน
เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติหน้าที่ของตน ดังนั้น จึงถือว่าการกระทาของ นาย A
เป็นการประพฤติจริยธรรมตุลาการ ตามประมวลจริยธรรรมข้าราชการตุลาการ
ข้อ 41
ข้อ 42 *** ตนเองและคู่สมรสไม่รับของขวัญของกานัล 1. การที่ นาย A ผู้พิพากษาศาลจังหวัดแห่งหนึ่งได้จัดงานเลี้ยงปีใหม่ และ
1. ผู้พิพากษาและคู่สมรส จักต้องไม่รับ 1. เป็นเรื่องที่ไม่เกี่ยวกับคดี แต่เป็นการให้ของขวัญ ปรากฏว่า นาย B เจ้าของโรงงานมะม่วงนามะม่วงกวนราคา 500 บาท มามอบ
1) ของขวัญของกานัล หรือ ของกานัล ซึ่งมีข้อจากัด ดังนี้ ให้แก่ นาย A เป็นของขวัญปีใหม่ และ นาย A ได้รับไว้นั้น กรณีดังกล่าว ไม่ถือเป็น
2) ประโยชน์อื่นใด 1) ต้องไม่เกินมูลค่าที่พึงให้กัน การกระทาผิดตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 42 เพราะเป็นการ
3) อันมีมูลค่าเกินกว่าที่พึงให้กันตามอัธยาศัย และ 2) เป็นการให้ตามอัธยาศัยหรือประเพณีใน รับของกานัลตามอัธยาศัยและประเพณีในสังคม ซึ่งมีมูลค่าไม่เกินกว่าที่พึ่งให้
ประเพณีในสังคม และ สังคม เช่น ให้ปฏิทินในเทศกาลปีใหม่ เป็น กัน อีกทั้งไม่ ปรากฏว่า นาย B เป็นคู่ความในคดีที่ นาย A เป็นผู้ พิพากษา
2. จักต้องดูแลให้บุคคลในครอบครัวปฏิบัติ ต้น เจ้าของสานวน
เช่นเดียวกันด้วย 2. วรรคทอง แต่กรณีที่ นาย A รับนาฬิกาข้อมือราคา 350,000 บาท จาก นาย C
“ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลการ ข้อ เจ้ า ของห้ า งสรรพสิ น ค้ า นั้ น แม้ ว่ า จะมี ป ระเพณี ใ ห้ ข องขวั ญ ปี ใ หม่ แ ก่ กั น
42 กาหนดเกี่ยวกับการดารงตนและครอบครัวของ แต่นาฬิกานั้นมีมูลค่าเกินกว่าที่จะพึงให้กันตามอัธยาศัยและประเพณีในสังคม
ผู้พิพากษา โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้พิพากษา การกระทาดังกล่าวจึงถือว่าเป็นการกระทาผิดตามประมวลจริยธรรมฯ ข้อ 42
จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด เพราะ (ข้อสอบ 1/2562)
หน้าที่สาคัญของผู้พิพากษาคือ การประสาทความ 2. การที่ นาย A ผู้พิพากษารับน้าปลา จานวน 4 ขวด ที่ นาย B นามามอบ
ยุติธรรมแก่ผู้มีอรรคดี ซึ่งจักต้องปฏิบัติด้วยความ ให้ โดยแจ้ ง ว่ า เป็ น ประเพณี ข องจั ง หวั ด นั้ น ไม่ ถื อ เป็ น การกระท าผิ ด ตาม
ซื่อสัตย์สุจริต เที่ยงธรรม ถูกต้องตามกฎหมายและ ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุ ลาการ ข้อ 42 เพราะเป็นการรับของกานัลตาม
นิติประเพณี การที่ผู้พิพากษาและคู่สมรสจะรับ อัธยาศัยและประเพณีซึ่งมีมูลค่าไม่เกินกว่าที่พึงให้กัน อีกทั้ง นาย B มิได้เป็น
ของขวัญของกานัลหรือประโยชน์อื่นใด ซึ่งมีผู้นามา คู่ความที่ นาย A ผู้พิพากษาผู้เจ้าของสานวนด้วย ส่วนการที่ นาย B รับนาฬิกา
มอบให้นั้นจึงเป็นสิ่งที่มิอาจทาได้ เว้นแต่จะเป็นการ มูลค่า 80,000 บาท จาก นาย C นั้น ถือว่าเป็นการรับของกานัลที่มีมูลค่ าเกิน
ให้ของขวัญของกานัลซึ่งมี มูลค่าไม่เกินที่พึงให้กัน กว่าที่พึงให้กันตามอัธยาศัยและประเพณี จึงเป็นการกระทาผิดตามประมวล
หรือเป็นการให้ตามอัธยาศัยหรือประเพณีในสังคม” จริยธรรมฯ ข้อ 42 (ข้อสอบ S/2560)
35

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


3. การที่ นาย A เป็นผู้พิพากษาศาลจังหวัดแห่งหนึ่ง ได้ไปเล่นกอล์ฟทุก
วันหยุดสุดสัปดาห์กับกลุ่มข้าราชการและพ่อค้าในจังหวัดนั้น โดยผลัดกันจ่าย
ค่าสนามนั้น ไม่ถือเป็นการประพฤติผิดจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 42
แม้ว่าในบางครั้งสมาชิกคนอื่นในกลุ่มได้จ่ายค่าสนามโดยผลัดเปลี่ยนกันตาม
อัธยาศัยและประเพณีตามสังคมก็ตาม (ข้อสอบ 1/2554)
4. การที่ นาย A เป็นผู้พิพากษา มีนางนงนุชเป็นภริยา ในวันเกิดของ นาย
A ได้มีพ่อค้านาโทรทัศน์สีขนาดใหญ่ราคาประมาณ 50,000 บาท มามอบให้
เป็นของขวั ญ และในวันเกิด ของนางนงนุช ได้มีพ่อค้ าน าแหวนเพชรราคา
ประมาณ 50,000 บาท มามอบให้ เป็นของขวัญ เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่ า
นาย A และ นางนงนุชได้รับของขวัญดังกล่าวไว้ จึงเป็นกรณีที่ นาย A ประพฤติ
ผิดจริยธรรมตุลาการ ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 42 เพราะ
นาย A รับของขวัญอันมีมูลค่าเกินกว่าที่พึงให้กันตามอัธยาศัยหรือประเพณี
(โทรทัศน์สี) และการที่ นาย A ไม่ได้ดูและให้คู่สมรสไม่รับของขวัญอันมีมูลค่า
เกิ น กว่ า ที่ จ ะพึ ง ให้ กั น ตามอั ธ ยาศั ย และประเพณี (แหวนเพชร) นั้ น ถื อ ว่ า
นาย A ประพฤติผิดตามประมวลจริยธรรมฯ ข้อ 42 เช่นกัน (ข้อสอบ S/2552)
ข้อ 43 *** บุคคลต้องห้ามในการคบหา 1. การที่ นาย A ผู้พิพากษา ได้นัด นาย B ทนายความของ นาย C ซึ่งเป็น
1. ผู้พิพากษาจักต้องละเว้นการคบหาสมาคมกับ บุคคลต้องห้ามไม่ให้คบ มี 2 ประเภท คือ เพื่อนของ นาย A ไปรับประทานอาหารกลางวัน ถือว่าเป็นการกระทาผิดตาม
1) คู่ความ หรือ 1. คู่ความหรือบุคคลอื่น ซึ่งมีส่วนได้เสียในคดี ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลการ ข้อ 43 เพราะผู้พิพากษาต้องละเว้นการ
2) บุคคลอื่น ซึ่งมีส่วนได้เสีย หรือผลประโยชน์ ไม่ว่าบุคคลนั้นจะมีความประพฤติอย่างไร คบหาสมาคมกับ คู่ ความ หรือบุคคลอื่น ซึ่งมีส่ ว นได้เสี ย หรือผลประโยชน์
เกี่ยวข้องกับคดี หรือ 2. บุคคลซึ่งมีความประพฤติ หรือมีชื่อเสียง เกี่ยวข้องกับคดีความ (ข้อสอบ S/2560)
3) บุคคลซึ่งมีความประพฤติ หรือมีชื่อเสียงในทาง ในทางเสื่อมเสีย ไม่ว่าจะเป็นคู่ความ หรือ 2. การที่ นาย A ผู้พิพากษา ทราบว่า นาย B เป็นผู้มีคดีความและเป็น
เสื่อมเสีย ผู้มีส่วนได้เสียในคดีหรือไม่ คู่ความในคดีที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ เนื่องจากศาลชั้นต้นมี
2. อันอาจกระทบการะเทือนต่อความเชื่อถือศรัทธา คาพิพากษาลงโทษจาคุก นาย B ในความผิดฐานฉ้อโกงประชาชนโดยมีกาหนด
*** คนสุจริต ประกอบสัมมาอาชีวะ และไม่
ของบุคคลทั่วไป ในการประสาทความยุติธรรมของ 3 ปี และให้ นาย B จ่ายคืนลูกค้าทุกคน รวมเป็นเงินจานวน 30,000,000 บาท
เกี่ยวข้องกับคดี ผู้พิพากษาสามารถคบหาสมาคมได้
ผู้พิพากษา แม้ว่า นาย B จะอ้างตนเองว่าไม่ได้ทาความผิด แต่ นาย A จักต้องละเว้นการ
คบหาสมาคมด้วย เพราะ นาย B เป็นคู่ความในคดี แม้มิใช่คู่ความในคดีของ
36

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


*** การที่ผู้พิพากษาเป็นกรรมการศิษย์เก่า ตนเองก็ ต าม เพราะการที่ ผู้ พิ พ ากษาไปคบหาสมาคมกั บ คู่ ค วามฝ่ ายหนึ่ง
มหาวิทยาลัยรามคาแหง ไม่ถือเป็นการะทบ ย่อมทาให้คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งเคลือบแคลงสงสัย และเมื่อประชาชนทราบก็จะ
กระเทือนต่อการปฏิบัติหน้าที่หรือเกียรติศักดิ์ของ กระทบกระเทือนต่อความเชื่อถือศรัทธาของบุคคลทั่วไปและการประสาทความ
ผู้พิพากษา แม้ว่าผู้พิพากษาได้ไปร่วมกิจกรรมกับ ยุติธรรม ดังนั้น การที่ นาย A ยังคบหาสมาคมกับ นาย B ย่อมขัดต่อประมวล
คูค่ วามซึ่งเป็นกรรมการศิษย์เก่าเช่นกัน ก็หาใช่เป็น จริยธรรมข้าราชการตุลการ ข้อ 43
การคบหาสมาคมกับคู่ความไม่ เพราะไม่ใช่การ (ข้อสอบ 1/2558)
เจาะจงไปมาหาสู่และทากิจกรรมกับคู่ความเท่านั้น 3. เมื่อ นาย B ซึ่งเป็นพ่อค้าอยู่ในกลุ่มเล่นกอล์ฟของ นาย A ผู้พิพากษา ได้
ดูข้อสอบไล่ภาค 1/2552 (ข้อ 4) ประกอบ ถูกฟ้องให้ชาระเงินกู้ โดยคดีนั้น นาย A เป็นผู้พิพากษาเจ้าของสานวนเอง และ
นาย A ยังคงไปเล่นกอล์ฟกับกลุ่มเดิมซึ่งมี นาย B ไปร่วมเล่นด้วยทุกครั้ง ถือว่า
การกระทาของ นาย A ไม่เป็นการละเว้นการคบหาสมาคมกับคู่ความอันอาจจะ
กระทบกระเทือนต่อความเชื่อถือศรัทธาของบุคคลทั่วไปในการประสาทความ
ยุติธรรมของผู้พิพากษาได้ ดังนั้น การกระทาของ นาย A จึงเป็นการประพฤติ
ผิ ด จริ ย ธรรมตุ ล าการ ตามประมวลจริ ย ธรรมข้ า ราชการตุ ล าการ ข้ อ 43
(ข้อสอบ 1/2554)
ข้อ 44 1. การที่ นาย A ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงาน นาย A
1. ให้นาประมวลจริยธรรมนี้ มาใช้บังคับแก่ ย่อมวางตัวเป็นกลางทางการเมืองและต้องประพฤติให้อยู่ในกรอบตามประมวล
1) ผู้ช่วยผู้พิพากษา จริยธรรมข้ าราชการตุล าการ ข้อ 44 ที่กาหนดให้ ผู้ พิพากษาสมทบต้องอยู่
2) ดะโต๊ะยุติธรรม และ ภายใต้บทบัญญัติดังกล่าวด้วย
3) ผู้พิพากษาสมทบ เมื่อ นาย A ได้รับเชิญจากมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งให้เข้าร่วมอภิปรายทาง
2. โดยอนุโลม วิชาการกับผู้ทรงคุณวุฒิอีกหลายคน ในหัวข้อ “ปัญหาแรงงานไทยในการก้าวสู่
ยุค 4.0” และคากล่าวของ นาย A ตอนหนึ่งว่า “ตั้งแต่ทหารเข้ามายึดอานาจ
ก็ทาแต่เรื่องแย่ ๆ ทาให้เศรษฐกิจไม่ดี ชาวบ้านเดือดร้อนกันทั่วหน้า ค้าขาย
ไม่ดี ต่างชาติก็ไม่คบหาประเทศไทย รัฐบาลทหารเผด็จการ มีแต่ตัวยุ กดดัน
กวาดล้ า งศั ต รู ท างการเมื อ ง ไม่ แ ก้ ไ ขปั ญ หาเศรษฐกิ จ อย่ า งแท้ จ ริ ง ...”
(ยาวกว่านี้ ตอบจริงไม่ต้องยกมา) คากล่ าวของ นาย A มีลั กษณะเป็นการ
อภิปรายหรือแสดงความคิดเห็นทางการเมืองต่อสาธารณชนโดยใช้วาจาไม่
37

ข้อ อธิบาย ตัวอย่างข้อสอบเก่า


สุภาพและพูดจาพาดพิงรัฐบาล อันเป็นสิ่งที่ไม่พึ่งกระทา เพราะแสดงให้เห็น
ถึงความไม่เป็นกลางทางการเมืองและไม่เหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่
ดังนั้น การกระทาของ นาย A จึงเป็นการกระทาที่กระทบกระเทือนต่อ
การปฏิบัติห น้าที่ห รือเกียรติศักดิ์ของผู้พิพากษา ถือเป็นการกระทาผิ ดตาม
ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ ข้อ 28 ประกอบข้อ 44
(ข้อสอบ 1/2560)
............................ดูข้อ 28 และข้อ37 ประกอบ......................

หมายเหตุ
เอกสารนี้สรุปจากหนังสือเรียนวิชา “หลักวิชาชีพและจรรยาบรรณของนักกฎหมาย” (LAW4005) เอกสารธงคาตอบของนิติสาส์น (ลุงชาวใต้) เอกสารธงคาตอบพี่ธนิต สุวรรณเมนะ
และเอกสารสรุปวิชา LAW4005 ของ Law_Goonte โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เพื่อนร่วมเรียนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ได้ศึกษาและทบทวนเท่านั้น มิได้คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น
อีกทั้ง ไม่มีเจตนากระทาการในเชิงพาณิชย์ ซึ่งความดีของเอกสารนี้ ข้าพเจ้าขอยกให้คุณครูบาอาจารย์ ที่ประศาสน์วิชาการให้แก่ข้าพเจ้า และขอให้ เพื่อน ๆ ที่อ่านเอกสารชุดนี้สอบผ่าน
ได้เกรดสมดังปรารถนากันทุกคน ทั้งนี้ หากมีข้อบกพร่องของเอกสารชุดนี้ ย่อมเกิดแต่ความผิดพลาดของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว จึงขออภัยมา ณ ที่นี้
**** เท่าที่ได้ฟังการบรรยายมาภาคล่าสุด (2/2563) อาจารย์ได้เน้นย้าว่า “วิชานี้เป็นวิชาที่ง่าย แต่มีนักศึกษาสอบตกเป็นจานวนมาก โดยนักศึกษาที่จะสอบผ่านวิชานี้ได้นั้น ต้องไม่เก็ง
ข้อสอบ ดูเนื้อหาได้ครอบคลุมทั้งหมดอย่างเข้าใจ และฝึกทาข้อสอบอย่างสม่าเสมอ” ขอให้โชคดีในการสอบ ภาค 2/2563 และจบไปพร้อม ๆ กันนะครับ....

นายซันวา สุดตา
มิถุนายน 2564

You might also like