You are on page 1of 6

การสอบโต้ วาที : พุธ27 ต.ค. เวลา 17.50 น.

กลุ่มยุติธรรม อานาจสั่งชะลอฟ้องควรมีศาลเป็ นผู้ตรวจสอบหรื อไม่

(พูดคนละไม่เกิน 5 นาที)

คนที่ 1 ข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้น เช่น หลักการชะลอฟ้องคืออะไร ที่มาอย่างไร องค์ความรู ้ในเรื่ องของตัวเองมีขอ้ มูลอะไร

คนที่ 2 ให้ขอ้ มูลเชิงลึกถึงจุดดีที่ฝ่ายตนเองสนับสนุน

คนที่ 3 หยิบข้อมูลของคนที่ 1 และคนที่ 2 ที่ฝ่ายตรงข้าม present มาโจมตีว่าไม่เห็นด้วยอย่างไรและทาไมกลุ่มเราถึงดีกว่า

จากนั้นให้แต่ละกลุ่มย่อย คัดเลือกมา 1 คน ที่คดิ ว่าพูดดีที่สุดมาแถลงสรุ ปถึงสาเหตุที่ว่าทาไมฝ่ ายตนเองถึงดีกว่าฝ่ ายตรงข้ามพร้อมเหตุผลโดยย่อ

คนที่ ฝ่ ายเสนอ : ควรมีศาลเป็ นผูต้ รวจสอบ ฝ่ ายค้าน : ไม่ ควรมีศาลเป็ นผูต้ รวจสอบ
1.การชะลอการฟ้อง (Deferred Prosecution) เป็ นกฎหมายที่เปิ ดโอกาสให้ผตู ้ อ้ งหาที่สานึ ก
1 (ปิ ยะ&ฝน) 1 กม.ชะลอฟ้องคืออะไร (เสริ มจากที่ฝั่งฝ่ ายชายพูดไปเเล้ว)
ในการกระท าผิ ด ของตนได้บรรเทาผลร้ ายแห่ ง ความผิ ดของตนได้บ รรเทาผลร้ ายแห่ ง
- ร่ างพรบ.แบบที่ 2 กาหนดไว้ใ นมาตรา 11 กล่ าวคื อ เมื่ อ พนักงานอัย การได้รั บ
ความผิดตามแนวคิดกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์(Restorative justice) เปิ ดโอกาสให้
ความเห็นพร้อมสานวนการสวบสวนจากพนักงานสอบสวนตามประมวลกฏหมายวิธี
ผูต้ อ้ งหาและผูเ้ สี ยหายได้มีการให้อภัยต่อกันเพื่อความสมานฉันท์ ในสังคม โดยการร้องขอ
พิจารณาความอาญาแล้ว หากเห็นควรสั่งฟ้อง ให้ออกคาสั่งฟ้อง เว้นแต่มีเหตุที่อาจชะลอ
ต่ออัยการขอให้มีคาสั่งชะลอการฟ้ องไว้ช่วงเวลาหนึ่งเพื่อให้ผตู ้ อ้ งหาได้กลับตัวเป็ นคนดี
การฟ้องได้ตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น และพนักงานอัยการเห็นควรให้มีการชะลอการ
และมีเวลาเพียงพอที่จะชดใช้เยียวยาผูเ้ สี ยหายตามที่ได้ตกลงไว้ ซึ่ งการที่อยั การจะมีคาสั่ง
ฟ้อง ให้พนักงานอัยการสั่งให้พนักงานคุมประพฤติดาเนินการสื บเสาะข้อเท็จจริ งต่าง ๆ
ชะลอการฟ้องได้น้ นั ต้องได้รับความยินยอมจากผูเ้ สี ยหายก่อน หากปราศจากความยินยอม
ของผูต้ อ้ งหา โดยให้พนักงานคุมประพฤติดาเนินการให้แล้วเสร็ จภายในสามสิ บวันนับ
ของผูเ้ สี ยหายแล้ว อัยการจะมีคาสั่งชะลอการฟ้องไม่ได้
แต่ วนั ที่ ไ ด้รับค าร้ อ ง เว้น แต่ มี กรณี เ หตุ จาเป็ น พนักงานอัย การอาจขยายระยะเวลา
ดังกล่าวออกไปได้อีกไม่เกินสิ บห้าวัน และเมื่อพนัก งานอัยการเห็นว่าข้อเท็จจริ งที่ได้
2. หลักการชะลอฟ้องใช้บงั คับคดีประเภทใด ดาเนินการสื บเสาะเพียงพอแก่การพิจารณาแล้ว พนักงานอัยการอาจมีความเห็น ดังนี้
2.1 คดีที่มีลกั ษณะความผิดที่ได้กระทาโดยประมาท (1) กรณี ที่เห็นควรชะลอการฟ้อง ให้ยื่นคาร้องพร้อมกับสานวนและความเห็น
ในการกาหนดเงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติและกาหนดระยะเวลาคุมความประพฤติต่อ
2.2 คดีที่มีลกั ษณะความผิดที่มีอตั ราโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินสองแสน คณะกรรมการชะลอการฟ้องเพื่อพิจารณาต่อไป
บาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ
(2) กรณี ที่เห็นว่าควรสั่งฟ้อง ให้ออกคาสั่งฟ้องและฟ้องผูต้ อ้ งหาต่อศาล
โดยเมื่อคณะกรรมการพิจารณาชะลอการฟ้องพิจารณาคาร้องขอชะลอการฟ้อง
แล้ว ศาลอาจมีคาสั่งดังนี้
3. เงื่อนไขการชะลอฟ้อง (1) กรณี ที่คณะกรรมการพิจารณาชะลอการฟ้ องเห็นควรชะลอการฟ้ องตาม
3.1 ผูต้ ้องหาไม่เคยได้รับการชะลอการฟ้ อง กักขัง กักกัน หรื อได้รับโทษจาคุก ความเห็นของพนักงานอัยการ ให้ คณะกรรมการพิจารณาชะลอการฟ้ องแจ้งพนักงาน
หรื อรอการลงโทษหรื อรอการกาหนดโทษมาก่อน อัยการเพื่อให้พนักงานอัยการมีคาสั่งชะลอการฟ้ องต่อไป โดยอาจเพิ่มเติมเงื่อนไขเพื่อ
3.2 ผูต้ อ้ งหารับสารภาพและร้องขอให้มีการชะลอการฟ้อง ก่อนที่พนักงานอัยการ คุมความประพฤติ และกาหนดระยะเวลาคุมความประพฤติได้ตามที่เห็นสมควร
จะยืน่ ฟ้องคดีต่อศาล (2) กรณี ที่คณะกรรมการพิจารณาชะลอการฟ้องเห็นควรฟ้องคดี ให้ส่งสานวน
3.3 ผูเ้ สี ยหายทุกคนยินยอมให้มีการชะลอการฟ้อง คืนให้พนักงานอัยการเพื่อออกคาสั่งฟ้องและฟ้องผูต้ อ้ งหาต่อศาล
ข้อยกเว้น ร่ างพระราชบัญญัติน้ ีไม่ใช้บงั คับกับกรณี ดงั ต่อไปนี้ ทั้งนี้ คาสั่งของคณะกรรมการพิจารณาชะลอการฟ้องดังกล่าวให้ถือเป็ นที่สุด
- ผูต้ อ้ งหาอยู่ในระหว่างระยะเวลารอการลงโทษหรื อรอการกาหนดโทษ ถูกจาคุก
2. เทียบให้เห็นภาพหลักการชะลอฟ้อง คือ กม ฟื้ นฟูผตู ้ ิดยาเสพติด (กลัวจะซ้อนกับฝ่ าย
กักขัง กักกัน หรื อควบคุมตัวเพื่อการฝึ กอบรมตามกฎหมายอื่น
เสนอที่ 2 ค่ะ)
- ความผิดที่อยูใ่ นอานาจของศาลเยาวชนและครอบครัว
- ความผิดที่รัฐเท่านั้นเป็ นผูเ้ สี ยหาย 3. เทียบ usa (ขอเทียบกม.ตปท.ในประเด็นการตรวสอบจากศาลนะคะ)
- ความผิดที่หน่วยงานของรัฐเป็ นผูเ้ สี ยหาย ในเรื่ องการชะลอฟ้อง ในประเด็นการตรวจสอบการใช้ดุลพินิจโดยศาลของประเทศ
- ความผิดที่เปรี ยบเทียบปรับได้ตามกฎหมาย อื่นๆ เราจะพบว่า ไม่ว่าทางฝั่งสหรัฐอเมริ กา หรื อญี่ปุ่น ก็ไม่ตอ้ งขอความเห็นชอบจาก
ศาล จะมีประเทศเยอรมัน ที่การชะลอการฟ้องต้องขอความเห็นจากศาล แต่เค้าก็มี
4. กระบวนการชะลอฟ้อง ตามร่ างพรบ.ฯ แบบที่ 1 กำหนดไว้ในมำตรำ 6 คือ เมื่อพนักงำน ข้อยกเว้นในคดีเล็กน้อยที่ไม่ตอ้ งขอความเห็นจากศาล ทั้งๆที่ประเทศเหล่านั้น พนักงาน
อัยกำรได้รับควำมเห็นพร้อ มสำนวนกำรสวบสวนจำกพนักงำนสอบสวนตำมประมวล อัยการมีอานาจฟ้องคดีแต่ผเู ้ ดียวเท่านั้น ผูเ้ สี ยหายไม่สามารถฟ้องคดีอาญาได้ (ที่มา
กฏหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำแล้ว หำกเห็นควรสั่งฟ้อง ให้ออกคำสั่งฟ้อง เว้นแต่มีเหตุท่ี ตารางเปรี ยบเทียบจากไฟล์พี่ปอย) สาหรับประเทศไทย เมื่อผูเ้ สยหายสามารถฟ้อง
อำจชะลอกำรฟ้องได้ตำมที่ได้กล่ำวมำแล้วข้ำงต้น และพนักงำนอัยกำรเห็นควรให้มีกำร คดีอาญาได้ เราจึงยิ่งไม่ควรต้องขอความเห็นจากศาล เพราะในเมื่อกฎหมายให้อานาจ
ชะลอกำรฟ้อง ให้พนักงำนอัยกำรสั่งให้พนักงำนคุมประพฤติดำเนินกำรสืบเสำะข้อเท็จจริง ประชาชนแล้ว อานาจในการดาเนินคดีก็ควรอยูท่ ี่ตวั ผูเ้ สี ยหาย ( จบแบบหยอดประเด็น
ต่ำง ๆ ของผูต้ อ้ งหำ โดยให้พนักงำนคุมประพฤติดำเนินกำรให้แล้วเสร็จภำยในสำมสิบวัน เพื่อโยนต่อให้ฝ่ายเสนอคนที่ 2)
นับแต่วันที่ได้รับคำร้อง เว้นแต่ มีกรณี เหตุจำเป็ น พนักงำนอัยกำรอำจขยำยระยะเวลำ
ดัง กล่ ำ วออกไปได้อี ก ไม่ เ กิ น สิ บ ห้ำ วัน และเมื่ อ พนัก งำนอัย กำรเห็ น ว่ำ ข้อ เท็ จ จริงที่ได้ 4. ชี้ให้เห็นว่าทาไม กม.ชะลอฟ้อง ทาไมต้องไม่ให้ศาลเป็ นฝ่ ายตรวจสอบ (พูด
ดำเนินกำรสืบเสำะเพียงพอแก่กำรพิจำรณำแล้ว พนักงำนอัยกำรอำจมีควำมเห็น ดังนี ้ โครงสร้างคร่ าวๆ) (ขออนุญาตโยกไปอยูใ่ นฝ่ ายค้านที่ 2 นะคะ)
(1) กรณีท่ีเห็นควรชะลอกำรฟ้อง ให้ย่ืนคำร้องพร้อมกับสำนวนและควำมเห็นใน
กำรกำหนดเงื่อนไขเพื่อคุมควำมประพฤติและกำหนดระยะเวลำคุมควำมประพฤติ ต่อศำล
เพื่อพิจำรณำต่อไป
(2) กรณีท่เี ห็นว่ำควรสั่งฟ้อง ให้ออกคำสั่งฟ้องและฟ้องผูต้ อ้ งหำต่อศำล
โดยเมื่อศำลพิจำรณำคำร้องขอชะลอกำรฟ้องแล้ว ศำลอำจมีคำสั่งดังนี ้
(1) กรณีท่ศี ำลเห็นควรชะลอกำรฟ้องตำมควำมเห็นของพนักงำนอัยกำร ให้ศำลมี
คำสั่งอนุญำตเพื่อให้พนักงำนอัยกำรมีคำสั่ง ชะลอกำรฟ้องต่อไป โดยศำลอำจเพิ่มเติม
เงื่อนไขเพื่อคุมควำมประพฤติ และกำหนดระยะเวลำคุมควำมประพฤติได้ตำมที่เห็นสมควร
(2) กรณีท่ีศำลเห็นควรฟ้องคดี ให้ศำลยกคำร้องพร้อมส่งสำนวนคืนให้พนักงำน
อัยกำรเพื่อออกคำสั่งฟ้องและฟ้องผูต้ อ้ งหำต่อศำล
ทัง้ นี ้ คำสั่งของศำลดังกล่ำวให้ถือเป็ นที่สดุ

2 (พี่แอ๊ด& ใช่ครับ แม้ประเทศไทยเราจะให้อานาจผูเ้ สี ยหายในการดาเนินคดีอาญา แต่เท่าที่ผา่ นมาไทย ก็เห็นภาพตามที่ฝ่ายเสนอท่านที่สองพูดนะคะ ว่าเรามีการใช้กฎหมายชะลอฟ้องมา มี


พี่ปอย) เราเองก็มีการใช้กฎหมายลักษณะนี้มาประมาณนึง ซึ่งยืนยันว่าเราควรจะต้องมีศาลเข้ามา องค์กรอื่นๆมาร่ วมด้วย แต่จริ งๆแล้ว
ช่วยตรวจสอบ เป็ นกลไกลหนึ่งในการชะลอฟ้อง ตัวอย่างเช่น
1.ตามหลักสิ ทธิ ในการดาเนินคดีอาญาในความผิดส่ วนตัวหรื อคดีความผิดอันยอมความ
1.หลักการชะลอฟ้องในคดียาเสพติด (ฟื้ นฟู) รายละเอียดเพิ่มเติมอีก ตามไฟล์ที่พี่แอ๊ดส่งให้ ได้ เป็ นสิ ทธิส่วนบุคคลที่รัฐจะต้องรับรองคุม้ ครองตามรัฐธรรมนูญซึ่งรับรองไว้ท้งั โดย
ที่ปัจจุบนั ไม่มีศาลเข้ามาตรวจสอบ จะเน้นว่ามันไม่เวิร์ค ล่าสุ ดประมวลกฎหมายยาเสพติดที่ ชัดแจ้งและโดยปริ ยาย สิ ทธิและเสรี ภาพในชีวิต ร่ างกาย ทรัพยสิ นของปชช.จะเป็ นจริ ง
จะบังคับใช้ก็ตดั ส่วนนี้ออกไป ไม่ได้ ถ้าประชาชนไม่มีสิทธิในการที่จะดาเนินคดีตอ่ ผูท้ ี่ละเมิดต่อสิ ทธิและเสรี ภาพใน
ชีวิต ร่ างกาย ทรัพย์สินของตนเองได้ หรื อไม่ เมื่อเกิดการละเมิดสิทธิแต่กลับถูก
2. พรบ.เยาวชน เรื่ องการทาแผน ผอสถานพินิจเป็ นคนทาแผนมาเสนออัยการพิจารณา โดย แทรกแซงหรื อพรากสิ ทธิการดาเนินคดีน้ นั ๆไป ซึงตามหลักแล้วหากผูเ้ สี ยหายประสงค์
มีศาลช่วยตรวจสอบกรณี ที่เห็นว่าแผนขัดต่อกฎหมาย ร้องขอให้อยั การชะลอการฟ้อง หากอัยการพิจารณาแล้วเห็นว่าเป็ นไปครบถ้วนตาม
2.1 การทาแผนในพรบเยาวชนบ่งชี้วา่ อานาจในการชะลอฟ้องไม่ควรอยูท่ ี่อยั การ เงื่อนไข อัยการจะต้ องมีคาสั่งชะลอฟ้องตามความประสงค์ของผู้เสียหาย ไม่ มีดุลพินิจ
เบ็ดเสร็ จ เพราะอัยการไม่มีความเข้าใจในธรรมชาติของเด็กมากพอ ควรมีหลายๆฝ่ ายเข้า จะสั่งเป็ นอย่างอื่น และไม่ มีเหตุใดๆ ที่จะต้ องไปร้ องขออนุญาตให้ มีการชะลอการฟ้อง
มาร่ วมพิจารณา ต่ อศาลอีก
สาหรับเรื่ องการแก้ไขกฎหมายการฟื้ นฟู ในคดียาเสพติด เท่าที่บงั คับใช้ที่ผา่ นมา เรื่ อง
การไม่มีศาลมาตรวจสอบอานาจสัง่ ชะลอฟ้องก็อยั การ ก็แทบจะไม่ใช่ปัญหาเลย ดังจะ
เห็นว่าข้อเสี ยตามพรบ.เดิม มันเป็ นเรื่ องตัวยาเสพติดหรื อวัตถุออกฤทธิ์ที่จะเข้าหลักฟื้ นฟู
หรื อกรณี ผกู ้ ระทาผิดฐานเสพฯไม่ยอมตรวจหาสาร เพราะไม่อยากเข้ากระบวนการฟื้ นฟู
แต่ในการใช้อานาจพิจารณาคดีสั่งชะลอฟ้องของอัยการ ก็ไม่ปรากฎว่าก่อให้เกิดปัญหา
ในการอานวยความยุติธรรมแต่อย่างใด ก็มีการตรวจสอบหลักเกณฑ์ว่าเข้าเงื่อนไขที่
กฎหมายกาหนดหรื อไม่ ถ้าจะผิดพลาดที่พบก็เป็ นกรณี human error ซึ่งทุกคนย่อมพลาด
ได้อยูแ่ ล้ว ไม่ว่าอัยการ ศาล หน่วยงานใดๆก็ตม
2. เรื่ องความเข้าใจในตัวธรรมชาติของผูก้ ระทาความผิด อย่างเช่น คดีเยาวชนฯ ซึ่ ง
มาตรการเบี่ยงเบนคดีท้งั ก่อนฟ้องและหลังฟ้อง ก็จะมีหน่วยงานมาร่ วมประชุมแผน แต่
กรณี น้ ีเรากาลังพูดถึงผูต้ อ้ งหา ผูก้ ระทาความผิดอย่างกว้าง ใครเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญธรรมชาติ
ของเค้า หรื อเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์อาจจะเข้าใจธรรมชาติของผูก้ ระทาความผิดมากกว่าที่
ศาลเข้าใจเพราพูดถึงแล้ว จนท.ราชทัณฑ์น่าจะมีความคุน้ เคยกับผูก้ ระทาความผิด
มากกว่าศาลอีกนะคะ
ดังนั้น เรื่ องนี้มนั อาจจะไม่ใช่เรื่ องการเข้าใจธรรมชาติของผูก้ ระทาความผิดอย่างเดียว
แต่ตอ้ งมองที่ความต้องการของผูเ้ สี ยหาย และหลักการเรื่ องอานาจฟ้องคดีของอัยการ
ด้วย จากระบบการฟ้องคดีอาญาโดยพนักงานอัยการ ซึ่งมีอยู่ 2 รู ปแบบ 1. การฟ้อง
คดีอาญาตามกฎหมาย (Principle of Legaliy) ซึ่งเป็ นหลักการฟ้องคดีแบบเข้มงวด และแบบที่
2 คือการฟ้องคดีอาญาตามดุลพินิจ (Principle of Opportunity) ซึ่ งให้อยั การใช้ดุลพินิจไม่ฟ้อง
คดีเมื่อมีเหตุอนั สมควร ซึ่งไทยเองก็ใช้ระบบแบบนี้มาตั้งแต่ประกาศใช้พระธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม รศ๑๒๗ จนถึงปัจจุบนั ดังนั้นคดีที่เข้าเงื่อนไขชะลอฟ้องนี้ จึงยิ่งไม่ตอ้ งมี
ศาลมาตรวจสอบ เพราะพนักงานอัยการก็ยอ่ มใช้ดุลพินิจได้เองอยูแ่ ล้ว ดังนั้น หากไทย
มี กม ชะลอฟ้อง ก็ตอ้ งยึดหลักการดังกล่าวนี้

3. จุ & นัน ดูท่าทางฝ่ ายค้าน จะยึดติดกับหลักเรื่ องอานาจมากเลยนะครับ เพราะในฐานะที่เป็ นผูใ้ ช้ จริ งๆจะบอกว่ายึดติดกับหลักเรื่ องอานาจก็ไม่ถูกซะทีเดียวนะคะ ต้องเรี ยกว่า ดาเนินการ
อานาจ ผมเข้าใจครับ แต่ผมอยากให้มองในด้านอืน่ ๆ บ้างครับ โดยยึดหลักการมากกว่าค่ะ เพราะถ้าเราไม่มีหลักเสี ยแล้ว ทีน้ ีมนั จะเริ่ มสะเปะสะเปละ
1 ปั ญหาอานาจจบคดีโดยปราศจากการตรวจสอบ ค่ะ
แม้ว่าอานาจการสอบสวนจะอยูท่ ี่ตารวจ แต่อยั การก็มีบทบาทในการชี้นาทิศทางในการ 1. กลัวปราศจากการตรวจสอบ แต่กระทบต่อระบบการบริ หารจัดการกระบวนการ

รวบรวมพยานหลักฐานสู ง โดยเฉพาะอานาจในการสัง่ สอบสวนเพิม่ เติม อาจมีการพยายาม ยุติธรรมทางอาญา ที่มีการแบ่งแยกอานาจและตรวจสอบอานาจกันอย่างชัดเจนและ


ปั้นพยานหลักฐานให้เข้าองค์ประกอบเงื่อนไขใน การชะลอฟ้องทั้งที่คดีน้ นั อาจไม่ใช่คดีที่ โปร่ งใส ระหว่างอานาจฟ้องคดีอาญาของพนักงานอัยการ กับอานาจตุลาการในการ
ไม่เป็ นประโยชน์ต่อรัฐและประชาชนในการดาเนินคดี หากปราศจากการ ตรวจสอบเลย พิจารณาพิพากษาคดี ศาลไม่ได้มีหน้าที่มาตรวจสอบการใช้อานาจฟ้องคดีอาญาของ
อาจเป็ นการให้อานาจองค์กรอัยการเพียงองค์กรเดียวมากเกินไปในการจบคดีซ่ ึงไม่มีโอกาส พนักงานอัยการอยูแ่ ล้ว
มาถึงศาลเลย อาจทาให้ประชาชนตั้งคาถามถึงความโปร่ งใสได้ - ตามที่ฝ่านเสนอท่านที่ 2 บอกว่า ปัจจุบนั กาลังจะมีการยกเลิก พรบ.ยาเสพติดให้โทษ
พรบ.ฟื้ นฟูฯ และกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด โดยนามารวบรวมไว้เป็ น
2. ใครควรเป็ นผูต้ รวจสอบ แม้ว่าภายในองค์กรอัยการเองอาจมีการตรวจสอบการใช้อานาจ ประมวลกฎหมายยาเสพติด โดยให้อานาจตุลาการเป็ นผูด้ าเนินการเรื่ องนีแต่เพียงผูเ้ ดียว

ในการชะลอฟ้องภายในองค์กรเป็ นลาดับชั้น เช่น อาจเปิ ดให้มีการยื่นข้อร้องเรี ยนต่อ พนักงานอัยการมีเพียงหน้ำที่ฟ้องผูก้ ระทาความผิดต่อศาลเท่านั้น ไม่มีอานาจในการใช้
ผูบ้ งั คับบัญชาเจ้าของสานวนเกี่ยวกับดุลยพินิจในการสั่งชะลอฟ้อง แต่ ผูบ้ งั คับบัญชาย่อมมี ดุลยพินิจในการสังชะลอฟ้องเหมือนเดิม มองเห็นมัยคะว่าการใช้อานาจของศาลมันก็
่ ้
แนวโน้มสู งที่จะปกป้องผูใ้ ต้บงั คับบัญชา หรื ออาจมีความเห็นไปในทิศทางเดียวกันหมด ข้ามเส้นมายังอานาจการสั่งคดีของอัยการแล้ว
ภายในองค์กร ต่อให้ผบู ้ งั คับบัญชาจะพิจารณาข้อร้องเรี ยนด้วยความเป็ นธรรมจริ งๆ แต่
ประชาชนก็อาจไม่เชื่อมัน่ เพราะมองว่าเป็ นการวินิจฉัยโดยพวกเดียวกัน จึงจาเป็ นที่จะต้อง - การจบคดีอาญา ไม่ได้มีเฉพาะการชะลอฟ้องที่เรากาลังพูดถึงกัน แล้วการจบคดีดว้ ย
ให้องค์กรอื่นเข้ามาตรวจสอบดุลพินิจดังกล่าวเพื่อผลวินิจฉัยที่เป็ นธรรมและน่ายอมรับกว่า วิธีอื่นๆ มันก็ไม่เห็นต้องมีศาลเข้ามาตรวจสอบ มันก็มีระบบตรวจสอบอยู่ โดยปกติ

3. การตั้งองค์กรใหม่ข้ น
ึ มาถ่วงดุลอานาจชะลอฟ้องของอัยการอาจไม่ตอบโจทย์ที่มุ่งหมาย ประเทศที่มีการอนุญาตให้ศาลมาตรวจสอบดุลพินิจในการมีคาสัง่ ของอัยการ ก็จะเป็ น
ประเทศที่บญั ญัติให้อานาจในการฟ้องคดีต่อศาลเป็ นอานาจเฉพาะของอัยการเท่านั้น
ของการใช้ระบบชะลอฟ้องตั้งแต่แรก จุดประสงค์ที่สาคัญของการเอาระบบชะลอฟ้องเข้ามา
หมายความว่าประชาชนฟ้องคดีเองไม่ได้ แต่ของไทยเราไม่ใช่ และการต้องไปถึงศาล
ใช้ ก็เพื่อประโยชน์ในการจัดการคดีและทรัพยากรของรัฐ กล่าวคือคดีเล็กๆน้อยๆที่รัฐอาจ
มันไม่ได้แก้แก่นของการชะลอฟ้อง ที่จะแก้ปัญหาคดีลน้ ศาล เพราะสุ ดท้ายขั้นตอนก็
ต้องสู ญเสี ยทั้งเวลา กาลังคน และทรัพยากรอื่นๆในการดาเนินคดีซี่งไม่เกิดประโยชน์กบั รัฐ
ต้องไปที่ศาลอีกอยูด่ ี
แต่หากมีการตั้งองค์กรใหม่เข้ามาตรวจสอบอานาจชะลอฟ้องของอัยการ ตัวอย่างเช่น
ประเทศญี่ปุ่นที่มีคณะกรรมการที่เป็ นอิสระในการพิจารณาดุลพินิจในการชะลอฟ้องของ
2. จาเป็ นต้องมีคนนอกมาตรวจสอบถึงเรี ยกว่าน่าเชื่อถือ?
อัยการ อาจเป็ นการเพิ่มภาระของรัฐที่จะต้องจัดตั้งองค์กรใหม่ซ่ ึงสิ้นเปลืองงบประมาณและ
- ร่ างกฎหมายที่รัดกุม ลดการตีความ ก็ช่วยได้ขยักหนึ่ง
กาลังพล อีกทั้งสถานะทางกฎหมายของคณะกรรมการที่ต้งั ขึ้นใหม่ดงั กล่าวยังเป็ นที่น่า
- แค่ทาให้ครบเงื่อนไข ก็ควรเคารพสิ ทธิของผูเ้ สี ยหาย
คลางแคลงใจดังที่เป็ นปัญหาอยูห่ ลายครั้งในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งสังคมให้การยกย่องอาชีพ
- ระบบภายในขององค์กรอัยการ ก็มีระเบียบขั้นตอนการตรวจสอบที่ดีแล้ว
อัยการและผูพ้ ิพากษาพอสมควรจนไม่เห็นค่าของคณะกรรมการฯ ทาให้บางครั้งคาวินิจฉัย
- ถ้าไม่พอใจ ก็ยงั มีหน่วยงานภายนอกให้ร้องเรี ยนอีก
ของ คณะกรรมการถูกเพิกเฉย และสังคมก็ไม่ให้ความสนใจ จนกลายเป็ นเกือบจะไม่มี
- เดี๋ยวนี้ไม่ใช่ยคุ ละครปาหี่แล้ว ข้ามองค์กรก็ไม่แน่ว่าโปร่ งใส ภายในองค์กร ก็ไม่
สภาพบังคับ แต่หากจะมอบอานาจให้คณะกรรมการดังกล่าวอยากเต็มรู ปแบบในการ
แน่ใจน้ าหนึ่งใจเดียว
ตรวจสอบดุลพินิจของอัยการ และให้คาวินิจฉัยมีผลบังคับ ผูกพันตามกฎหมาย ก็อาจท าให้
สถานะขององค์กรอัยการถูกลดระดับลง และการพิจารณาสั่งคดีอาจขาดความ อิสระไปใน 3. ตั้งองค์กรใหม่ ไม่ตอบโจทย์ แล้วการให้ศาลมาตรวจสอบ ตอบโจทย์ยงั ไง ?
ที่สุดได้ ทั้งที่อานาจในการดาเนินคดีของรัฐควรเป็ นอานาจเฉพาะของอัยการโดยแท้ ดังนั้น
การให้ศาล เข้ามาช่วยตรวจสอบจึงเหมาะสมกว่า ทั้งในแง่ของการประหยัดทรัพยากรรัฐ - อาจไม่จาเป็ นต้องเป็ นองค์กรใหม่ เป็ นองค์กรอืน่ ก็ได้ เช่นคุมประพฤติ และใน
และประสิ ทธิภาพในการบริ หารจัดการคดี เพราะศาลย่อมมีความเชี่ยวชาญในการบริ หาร สานวนก็ควรมีรายการประวัติแนบมาอยูแ่ ล้ว พงส.รับรอง มันก็คือการเอาชีวิตหน้าที่การ
จัดการคดี มากกว่าที่จะตั้งบุคคลอื่นซึ่งไม่ได้มาจากภาคส่วนกระบวนการยุติธรรมมาเป็ น งานมารับรองแล้ว หรื อแม้กระทัง่ คดีที่อยั การสั่งไม่ฟ้อง ก็ไม่เห็นต้องไปศาล เพื่อยืนยัน
คณะกรรมการในการตรวจสอบอานาจชะลอฟ้องของอัยการ ความเป็ นกลาง น่าเชื่อถือ แต่ระบบก็ส่งไปตร.เพื่อตรวจสอบได้
- ตามหลักรัฐต้องจัดกระบวนการยุติธรรมให้มีประสิ ทธิภาพและอานวจความยุติธรรม
แก่ประชาชนอย่างรวดเร็ ว การต้องมีการขออนุญาต่อศาลอีก เป็ นการสร้างขั้นตอน
ยุง่ ยากชักช้าแก่ทุกฝ่ าย ทั้งศาล อัยการ บุคลากรในกระบวนการยุติธรรมโดยไม่จาเป็ น
เรากาลังพูดถึง ประชาชนบุคคล ที่เป็ นผูเ้ สี ยหาย ดังนั้นต้องยึดความต้องการของเค้าเป็ น
หลัก เมื่อผูเ้ สี ยหายยินยอม และการกระทาความผิดนั้นเข้าหลักเกณฑ์ เราจะบอกว่าศาลรู ้
ความต้องการของผูเ้ สี ยหาย มากกว่า ตอบโจทย์ของผูเ้ สี ยหายได้มากกว่าได้อย่างไร

สรุ ป การชะลอฟ้องที่เคยถูกเสนอร่ างกันมาตั้งแต่สมัยท่านธานินทร์ กรัยวิเชียร ทั้งทีเป็ นกฎหมาย ถ้ากลัวเรื่ องผูเ้ สี ยหายถูกข่มขู่ หรื อแม้กระทัง่ เรื่ องการใช้ดุลพินิจของอัยการ ก็สร้างกลไก
ที่มีประโยชน์ท้งั ต่อผูเ้ สี ยหาย ผูต้ อ้ งหา และกระบวนการยุติธรรม แต่ตอ้ งถูกปล่อยรกร้างว่าง อื่นมาตรวจสอบ ปัญหากระบวนการยุติธรรมในไทยจะพัฒนาและเกิดประโยชน์อย่าง
เปล่า อาจะเป็ นเพราะความกังวลใจในเรื่ องอานาจของอัยการที่จะล้น ทาให้สังคมสงสัยให้ สู งสุ ดหากบุคลากรคานึงถึงประโยชน์สูงสุ ดของประชาชนเป็ นเป้าหมาย เป็ นที่น่าคิดว่า
ดุลพินิจ มันไม่มีกลไกตรวจสอบที่เป็ นกลาง น่าเชื่อถือ เพราะระหว่างทางยังอาจเกิดปัญหา การผลักภาระให้ทุกคดีตอ้ งดาเนินไปจนสุ ดทางที่ศาล เพราะไม่มีทางออกอื่นระหว่าง
อุปสรรคมากมาย การปั้นแต่งสานวน ความเหลื่อมล้ าของประชาชน หรื อผูท้ ี่มีโอกาสทาง ทางนั้นยังจะตอบโจทย์การอานวยความยุติธรรมในภาวะปัจจุบนั หรื อไม่ ทั้ง ๆ ที่มีผล
สังคมด้อยกว่า การถูกข่มขู่ ไปจนถึงเรื่ องการทุจริ ต การที่จะมีศาลซึ่งเป็ นบุคคลภายนอก ที่ พิสูจน์แล้วว่า การปล่อยให้คดีที่เริ่ มต้นแล้วต้องเรี ยงกันมาเข้าสู่สายพานแห่ง
เป็ นกลาง น่าเชื่อถืออยูแ่ ล้ว มาเป็ นอีกหนึ่งกลไกลในการตรวจสอบ น่าจะขับเคลื่อน กระบวนการยุติธรรมที่ลาเลียงไปสู่การตัดสิ นของศาลแทบทุกเรื่ องนั้นก่อผลกระทบเชิง
กฎหมายนี้ให้ใช้ได้จริ ง อย่างมีประสิ ทธิภาพ ลบระหว่างทางเดินของสายพานมากมาย ทั้งในเรื่ องการจัดสรรทรัพยากร ไม่ว่าจะเป็ น
บุคลากร เครื่ องไม้เครื่ องมือ และเวลาที่มีจากัดทาให้เกิดความล่าช้าในกระบวนการ
ยุติธรรม ต้องแก้ที่ Actual and Apparent impartiality ของทุกๆองค์กรที่เกี่ยวข้องมากกว่า

You might also like