You are on page 1of 11

พระราชบัญญัตจิ ดั ตัง้ ศาลแขวงและวิธีพจิ ารณาความอาญาในศาลแขวง (วิ.

แขวง)
**มาตรา 7 ในการสอบสวนคดีอาญาทีอ่ ยูใ่ นอานาจศาลแขวงเมือ่ จับผูต
้ อ้ งหาแล้ว
ให้พนักงานสอบสวนส่งตัวผูต ้ อ้ งหาพร้อมสานวนการสอบสวนไปยังอัยการ
เพือ
่ ยืน
่ ฟ้ องให้ท ันภายใน 48ชั่วโมง นับแต่เวลาทีผ่ ูต
้ อ
้ งหาถูกจับ
แต่มใิ ห้นบ ั เวลาเดินทางตามปกติจากทีจ่ บั มายังทีท่ าการพนักงานสอบสวน ,
จากทีท ่ าการพนักงานสอบสวนหรืออัยการมาศาลเข้าในเวลา 48 ชั่วโมง
กรณี เกิดความจาเป็ นไม่สามารถฟ้ องให้ท ันเวลา 48 ชั่วโมง
ให้พนักงานสอบสวนหรืออัยการ ยืน ่ คาร้องต่อศาลเพื่อขอผัดฟ้ องได้อก ี คราวละไม่เกิน 6
วัน ไม่เกิน 3 คราว
ในการวินิจฉัยคาร้องนี้ถา้ มีการขอให้ขงั ผูต
้ อ
้ งหาด้วยให้ศาลถามผูต
้ อ
้ งหาว่ามีขอ
้ คัดค้านห
รือไม่และศาลอาจเรียกพนักงานสอบสวน, อัยการ
มาชี้แจงเหตุจาเป็ นหรือเรียกพยานมาเบิกความประกอบก็ได้
เมือ่ ศาลอนุญาตให้ผดั ฟ้ องครบ 3 คราวแล้ว หากพนักงานสอบสวน, อัยการ ขอผัดฟ้ องอีก
โดยอ้างเหตุจาเป็ น
ศาลจะอนุญาตเมือ่ ได้แสดงถึงเหตุจาเป็ นและนาพยานมาเบิกความประกอบจนเป็ นทีพ ่ อใจ
แก่ศาล ในกรณี นี้ศาลมีอานาจสั่งผัดฟ้ องได้คราวละไม่เกิน 6 วัน อีก 2 คราว
ผูต
้ อ
้ งหาจะแต่งทนายเพือ่ แถลงข้อคัดค้านและซักถามพยานก็ได้
ฎีกาที่ 586/2511 จาเลยถูกจาคุกในคดีอน
ื่
แล้วถูกสอบสวนในคดีนี้ถือว่าการสอบสวนคดีนี้ยงั ไม่มกี ารจับกุมตัวผูต
้ อ้ งหาแต่อย่างใด
จึงไม่ตอ้ งมีการผัดฟ้ องตามมาตรา 7 แม้อ ัยการจะเคยขอผัดฟ้ องมาแล้วก็ตาม
ฎีกาที่ 3744/2541
คดีนี้ผูร้ อ้ งจะได้ขออายัดตัวผูต้ อ
้ งหาต่อพนักงานสอบสวนคดีอน ื่ แล้วในวันเดียวกันผูร้ อ้ งยั
งได้แจ้งข้อกล่าวหาแก่ผต ู้ อ
้ งหาแจ้งสิทธิของผูถ
้ ก
ู จับหรือผูต
้ อ
้ งหา
รวมทัง้ ได้สอบปากคาให้การไว้ดว้ ย
กรณีจงึ หาใช่กรณี อายัดตัวเพียงอย่างเดียวแต่ตอ้ งถือว่าเป็ นกรณี ทผ ี่ รู้ อ้ งได้จบั ผูต
้ อ
้ งหาแล้ว
ฎีกาที่ 1319/2522 อัยการฟ้ องบริษทั จากัด
เป็ นจาเลยต่อศาลแขวงไม่ได้มก ี ารจับกุมตัวจาเลย
เพราะว่าไม่อยูใ่ นสภาพทีจ่ ะจับได้จงึ ไม่ตอ
้ งผัดฟ้ องตามมาตรา 7
ฎีกาที่ 1849/2522
คดีทไี่ ม่มก
ี ารจับกุมและควบคุมตัวผูต
้ อ
้ งหาก็ไม่มค
ี วามจาเป็ นต้องผัดฟ้ อง
ฎีกาที่ 2157/2514 เมือ่ ตารวจจับจาเลยได้แล้วนาตัวมาส่งให้พนักงานสอบสวน
พนักงานสอบสวนไม่ได้แจ้งข้อหาและไม่ได้ควบคุมตัวไว้ให้ประกันตัวไปเพียงแต่นด
ั ให้
จาเลยมาสถานีตารวจในวันรุง่ ขึน ้ เท่านัน

พฤติการณ์ ยงั ไม่ถือว่าจาเลยได้ถก ู จับตามกฎหมาย
ฎีกาที่ 2450/2527
จาเลยเข้ามอบตัวต่อพนักงานสอบสวนและพนักงานสอบสวนแจ้งข้อหาและทาการสอบสว
นแล้วส่งตัวให้อยั การ อัยการสั่งปล่อยชั่วคราวในวันเดียวกันพฤติการณ์ ดงั กล่าว
แสดงว่ามีการจับกุมแล้วในวันทีจ่ าเลยมอบตัว
ฎีกาที่ 3042/2532 (ป.) ถ้ามีหลายข้อหา
ข้อหาทีอ่ ยูใ่ นอานาจของศาลแขวงไปฟ้ องในศาลจังหวัดพร้อมกับข้อหาทีห ่ นักกว่าข้อหาที่
อยูใ่ นอานาจของศาลแขวงก็ไม่ตอ ้ งมาผัดฟ้ อง คือไม่อยูใ่ นบังคับมาตรา 3, 4
ฎีกาที่ 3298/2532 แม้เป็ นความผิดหลายกรรม
แต่ได้กระทาลงโดยผูก ้ ระทาความผิดคนเดียว
แต่เป็ นความผิดทีเ่ กีย่ วพันกันจึงเป็ นกรณีความผิดหลายเรือ ่ งเกีย่ วพันกัน
โจทก์จะฟ้ องทุกคดีตอ ่ ศาลทีม
่ อ
ี านาจในความผิดทีม่ อ
ี ตั ราโทษสูงกว่าได้ (มีฎก
ี าที่
3584/2532 วินิจฉัยเดินตาม)

ฎีกาที่ 5737/2533
กาหนดเวลาขอผัดฟ้ องผูต ้ อ
้ งหาต่อศาลต้องเริม
่ นับทันทีตง้ ั แต่วน
ั แรกทีร่ อ้ งขอผัดฟ้ องแม้ศ
าลจะอนุญาตให้ผดั ฟ้ องมาโดยมีการนับกาหนดเวลาผิดพลาด
โจทก์ไม่มส ี ท
ิ ธิทจี่ ะฟ้ องโดยฝ่ าฝื นกฎหมาย
ฎีกาที่ 769/3537
แม้ชน ้ ั แรกพนักงานสอบสวนจะดาเนินคดีในข้อหาปลอมและใช้เอกสารปลอมซึง่ เป็ นคดีที่
อยูใ่ นอานาจของศาลจังหวัดอุดรธานี แต่เมือ่ ศาลปล่อยตัวจาเลยแล้ว
ต่อมาพนักงานสอบสวนได้สอบสวนและแจ้งข้อหาแก่จาเลยว่า ผิด ป.อ.มาตรา 276
กรณียอ ่ มถือว่าจาเลยเพิง่ ถูกจับในข้อหาของคดีทอ
ี่ ยูใ่ นอานาจของศาลแขวงตัง้ แต่วน
ั แจ้งข้
อหา เมือ่ พนักงานสอบสวนส่งตัวจาเลยต่ออัยการและอัยการได้ขอผัดฟ้ องและฟ้ องจาเลย
เป็ นคดีนี้ภายในกาหนดตาม พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาลแขวงฯ มาตรา 7 วรรค 2
จึงไม่มเี หตุทจี่ ะต้องขออนุญาตอัยการสูงสุดก่อนฟ้ อง
ฎีกาที่ 7286/2540, 5806/2530 โจทก์ฟ้องเกิน 72 ชั่วโมง เพียงเล็กน้อย
ศาลอุทธรณ์ วน ิ ิจฉัยว่าโจทก์ตอ ้ งฟ้ องภายใน 72
ชั่วโมงนับแต่เวลาถูกจับโดยมิได้นาข้อยกเว้นทีก ่ ฎหมายบัญญัตม ิ ใิ ห้นบั เวลาเดินทางตามป
กติทนี่ าตัวผูต
้ อ้ งหาจากทีจ่ บั มาทีท่ าการพนักงานสอบสวน จึงไม่เป็ นการถูกต้อง
แต่คดียงั ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าฟ้ องของโจทก์เข้าข้อยกเว้นตามกฎหมายหรือไม่
ให้ศาลยกคาพิพากษาให้ศาลชัน ้ ต้นไต่สวนข้อเท็จจริงว่าโจทก์ปฏิบตั ติ ามวิธีพจิ ารณาอาญา
ในศาลแขวงหรือไม่
**มาตรา 7 ทวิ ในกรณี ทผ
ี ่ ูต
้ อ
้ งหาหลบหนีจากการควบคุมหรือการขัง
มิให้นบ
ั ระยะเวลาทีห
่ ลบหนีเข้าในกาหนด ตามมาตรา 7 (32 วัน)
กรณี มกี ารส่งตัวผูต
้ อ้ งหาไปดาเนินคดียงั ศาลทหารหรือศาลเด็ก
หากปรากฏในภายหลังว่าผูต ้ อ
้ งหาไม่ได้อยูใ่ นอานาจศาลและมีการส่งตัวผูต
้ อ
้ งหามายังพนั
กงานสอบสวนเพือ ่ ดาเนินคดีตอ ่ ไป
มิให้นบ
ั ระยะเวลาทีผ ่ ูต
้ อ
้ งหาถูกควบคุมหรือขังอยูเ่ ข้าในกาหนดตามมาตรา 7 (32 วัน)
ข้อสังเกต
การควบคุม = อยูใ่ นความควบคุมของพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจ
การขัง = ขังโดยอานาจศาล
อาจเป็ นพนักงานสอบสวนหรืออัยการมาขอให้ศาลออกหมายขัง (ฝากขัง)
กรณี ทศ
ี่ าลอนุญาตให้ผดั ฟ้ องและฝากขังแล้ว
ต่อมาผูต้ อ
้ งหาหลบหนีก็ใช้หลักเดียวกันคือไม่นบ
ั ระยะเวลาทีผ
่ ต
ู้ อ
้ งหาหลบหนีรวมเข้าไปด้
วย
ระหว่างทีผ
่ ูต
้ อ
้ งหาหลบหนี กฎหมายไม่ให้นบ ั ระยะเวลาทีห่ ลบหนี
ฉะนัน
้ จึงไม่ตอ ้ งมาขอผัดฟ้ อง เว้นแต่เป็ นกรณีผูต
้ อ
้ งหาได้รบั การปล่อยตัวชั่วคราว
จะต้องมาขอผัดฟ้ องจนกว่าจะครบ 5 คราว
ถ้าครบแล้วยังไม่ได้ตวั มาเวลาจะฟ้ องต้องไปขออนุญาตอัยการสูงสุดก่อนจึงจะฟ้ องได้(เพร
าะการปล่อยตัวชั่วคราวแสดงได้วา่ มิได้ถูกควบคุมตัว เมือ ่ ไม่ถกู ควบคุมตัวก็ไม่เข้า มาตรา
7 ทวิ)

**มาตรา 8 ในคดีอาญาทีอ่ ยูใ่ นอานาจศาลแขวงในการพิจารณาพิพากษาได้นน ้ั


การควบคุมตัวผูต้ อ
้ งหาให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยวิธีพจิ ารณาความอาญา
แต่อย่างไรก็ตามพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจจะควบคุมตัวไว้เกินเวลา 48 ชั่วโมงมิได้

ถ้าผูต
้ อ
้ งหาอยู่ ในความควบคุมของฝ่ ายปกครองหรือตารวจ
ให้พนักงานสอบสวนหรืออัยการยืน ่ คาขอผัดฟ้ องและขอให้ศาลออกหมายขัง
แต่ถา้ ผูต
้ อ
้ งหาป่ วยอยูใ่ นสภาพทีไ่ ม่อาจนามาศาลได้
ให้ขออนุญาตศาลรวมมาในคาขอให้ศาลออกหมายขัง
โดยมีพยานหลักฐานประกอบจนศาลพอใจในสาเหตุทไี่ ม่สามารถนาตัวมาได้
ในกรณี ศาลสั่งให้ผดั ฟ้ องได้ ให้ศาลออกหมายขังเท่ากับเวลาทีอ่ นุญาตให้ผดั ฟ้ อง
มาตรานี้ ไม่กระทบกระทั่งอานาจศาลทีจ่ ะสั่งปล่อยตัวชั่วคราว
การขออานาจศาลขังตามมาตรา 8 นี้อาศัยมาตรา 87
แห่งประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญาด้วย
มาตรา 87 ห้ามมิให้ควบคุมผูถ
้ ูกจับไว้เกินกว่าจาเป็ นตามพฤติการณ์ แห่งคดี
ในกรณี ซงึ่ เป็ นความผิดลหุโทษหรือความผิดทีม ่ อี ตั ราโทษไม่สงู กว่าลหุโทษจะควบคุมผูถ ้ ูก
จับไว้ได้เท่าเวลาทีจ่ ะถามคาให้การและทีจ่ ะรูต
้ วั ว่าเป็ นใครและทีอ่ ยูข
่ องเขาอยูท
่ ไี่ หน(แสด
งว่าความผิดลหุโทษจะควบคุมตัวไว้ 48 ชั่วโมงไม่ได้)
ฎีกาที่ 2144/2539 พนักงานตารวจจับจาเลยได้ 28 พฤศจิกายน 2537
และพนักงานสอบสวนอนุญาตให้จาเลยประกันตัวภายในวันเดียวกัน
ต่อมาอัยการขอผัดฟ้ องโดยไม่ได้ตวั จาเลยส่งศาลในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2537
แม้ศาลอนุญาตให้ผดั ฟ้ องได้ก็ยงั ถือไม่ได้วา่ ได้นาตัวจาเลยมาอยูใ่ นอานาจศาลแล้วเพราะ
ไม่มก
ี ารส่งมอบตัวจาเลยต่อศาล เมือ่ โจทก์ไม่นาตัวจาเลยมาศาลคดีจงึ ขาดอายุความ
(การผัดฟ้ องโดยไม่ได้นาตัวจาเลยมาศาล
โดยไม่ได้ขอให้ศาลขังไม่ทาให้อายุความสะดุดหยุดลง, สะดุดหยุดอยู)่
**มาตรา 9 ห้ามมิให้อยั การ ฟ้ องคดีเมือ่ พ้นกาหนดเวลา 32 วัน
เว้นแต่จะได้รบั อนุญาตจาก
48 ชั่วโมง อัยการสูงสุด
ข้อสังเกต
มาตรา 9 ห้ามเฉพาะอัยการถ้าผูเ้ สียหายฟ้ องเองจะไม่อยูใ่ นบังคับมาตรา 7, มาตรา 9
เช่นคดีเช็ค
ฎีกาที่ 133/2506, 661/2503, 1572/2513 อานาจของอัยการสูงสุดตามมาตรา 9
เป็ นอานาจในการพิจารณาเป็ นราย ๆ ไปว่าสมควรจะอนุญาตให้ฟ้องคดีนน ้ ั ๆ หรือไม่
มาตรา 8 มุง่ การควบคุมตัวผูต ้ อ้ งหาเป็ นสาระสาคัญ
ส่วนกาหนดเวลาทีจ่ ะต้องยืน ่ ฟ้ องหรือผัดฟ้ องย่อมเป็ นไปตามมาตรา 7
อานาจของอัยการสูงสุดตามมาตรา 9 หาได้ถูกลบล้างแต่ประการใดไม่
ฎีกาที่ 1840/2526
โจทก์ได้รบั อนุญาตจากศาลให้ผดั ฟ้ องจาเลยได้แต่ไม่ฟ้องในระยะเวลาทีข ่ อผัดฟ้ องไว้ตอ
่ ม
าได้รบั อนุญาตจากอัยการสูงสุด (อสส.) ให้ฟ้องได้โจทก์จงึ มีอานาจฟ้ องจาเลย
ฎีกาที่ 2653/2520
โจทก์ฟ้องจาเลยเมือ่ พ้นระยะเวลาทีศ
่ าลอนุญาตให้ผดั ฟ้ องโดยโจทก์ไม่ได้รบั อนุญาตจากอั
ยการสูงสุดจึงไม่มอี านาจฟ้ อง

*****ข้อสังเกตเกีย
่ วกับมาตรา 7, 8, 9*****
“ความจาเป็ น” ตามมาตรา 7 ต้องเป็ นความจาเป็ นในทางคดี จะอ้างว่ารอส่งสานวน,
รอฟังคาสัง่ ผูบ
้ ังคับบัญชาจึงมาขอผัดฟ้ องไม่ได้
นิตบ
ิ ค
ุ คลเป็ นผูต
้ อ
้ งหาหรือจาเลยย่อมไม่มกี ารจับกุม ก็ไม่ตอ ้ งปฏิบตั ต
ิ ามมาตรา 7
แม้จะพ้นเวลาตามมาตรา 7 ก็ไม่ตอ ้ งขออัยการสูงสุดเพือ่ ฟ้ องคดี ฎีกาที่ 1319/2522
หากไม่มก ี ารจับกุมและควบคุมตัวผูต ้ อ
้ งหาจุดเริม
่ นับ 48 ชั่วโมงนับแต่ถก
ู จับย่อมไม่มี
จึงไม่ตอ
้ งขอผัดฟ้ อง ฎีกาที่ 1849/2522
กรณี พนักงานสอบสวนตัง้ ข้อหาครัง้ แรกเกินอานาจศาลแขวงแล้ว
ต่อมาแจ้งข้อหาใหม่ซงึ่ อยูใ่ นอานาจศาลแขวง
ถือว่าผูต
้ อ
้ งหาถูกจับในข้อหาแห่งคดีทอี่ ยูใ่ นอานาจศาลแขวงตัง้ แต่วน
ั แจ้งข้อหาใหม่
กรณีถูกจับหลายข้อหาพร้อมกัน
มีขอ
้ หาทีอ่ ยูใ่ นอานาจศาลแขวงและข้อหาทีไ่ ม่อยูใ่ นอานาจ
อัยการสัง่ ไม่ฟ้องในข้อหาทีม ่ ไิ ด้อยูใ่ นอานาจศาลแขวงพนักงานสอบสวนจึงแจ้งข้อหาเมือ่
พ้น 48 ชั่วโมงนับแต่ถูกจับครัง้ แรก โจทก์ไม่มอ ี านาจฟ้ อง แสดงว่าถือว่ามีการจับกุมทุก ๆ
คดีรวมทัง้ คดีทอ ี่ ยูใ่ นอานาจของศาลแขวงแล้ว ฎีกาที่ 2985/2522, 3314/2522
ถ้ามีหลายข้อหา
ข้อหาทีอ่ ยูใ่ นอานาจศาลแขวงนาไปฟ้ องต่อศาลจังหวัดพร้อมกับข้อหาทีห ่ นักกว่าได้
ข้อหาทีอ่ ยูใ่ นอานาจศาลแขวงไม่ตอ
้ งมาขอผัดฟ้ อง ฎีกาที่ 3042/2532 (ป), ฎีกาที่ 1978/2542
้ ต้นซึง่ มิใช่ศาลแขวง
โจทก์ฟ้องคดีอาญาต่อศาลชัน
โดยขอให้ลงโทษในข้อหาเกินอานาจศาลแขวง ไม่ตอ ้ งปฏิบตั ต
ิ ามมาตรา 7
คดีทม
ี่ ก
ี ารจับกุมและผัดฟ้ องแล้ว
หากโจทก์ไม่ฟ้องภายในเวลาหรือคดีทจี่ บั แล้วไม่ขอผัดฟ้ อง
อัยการสูงสุดย่อมอนุญาตให้ฟ้องได้ ฎีกาที่ 1572/2513, ฎีกาที่ 1840/2526
กรณีถูกควบคุมตัวทีศ
่ าลเด็กมาก่อนจะนามาฝากขังทีศ
่ าลแขวงจะไม่นบ
ั เวลาทีถ
่ ก
ู ควบคุมตั
วทีศ
่ าลเด็ก
คาสั่งให้ฟ้องคดีของอัยการทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากอัยการสูงสุดตามมาตรา 12
ไม่อยูใ่ นบังคับ มาตรา 7 และ 9 ฎีกาที่ 661/2503
ทหารทาผิดร่วมกับพลเรือนพนักงานสอบสวนไม่ได้นาตัวทหารมาเพราะถูกฝ่ ายทหารควบ
คุมตัวอยู่ แต่ก็ตอ
้ งขอผัดฟ้ อง
ฟ้ องคดีอาญาต่อศาลพลเรือน ศาลรับฟ้ องแล้วต่อมาปรากฏว่าเป็ นทหาร
ศาลพลเรือนก็มอ ี านาจพิจารณาพิพากษาต่อไปได้ ฎีกาที4่ 63/2504 (ป)
กรณี อนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราว ผูต
้ อ
้ งหาหลบหนี หากไม่ฟ้องภายในกาหนดมาตรา 7
ก็ตอ
้ งขออนุญาตอัยการสูงสุดฟ้ อง
้ ได้เฉพาะคดีทผ
การขอผัดฟ้ องจะเกิดขึน ี่ ต
ู้ อ
้ งหาให้การปฏิเสธเท่านัน

(เพราะถ้ารับสารภาพต้องฟ้ องตามมาตรา 20)
*มาตรา 12 คดีอาญาทีอ่ ยูใ่ นอานาจศาลแขวง กรณี มคี าสัง่ ไม่ฟ้อง
และคาสั่งนัน ้ ไม่ใช่คาสั่งของอัยการสูงสุด ถ้าในกรุงเทพฯ
ให้สง่ สานวนสอบสวนพร้อมคาสั่งเสนอ ผบ.ตร. ถ้าในต่างจังหวัดให้สง่ ให้ผูว้ า่ ฯ
แต่ทง้ ั นี้มไิ ด้ตดั อานาจอัยการทีจ่ ะปล่อยผูต
้ อ
้ งหา ปล่อยชั่วคราว ควบคุมไว้
ขอให้ศาลขังและจัดการหรือสั่งการให้เป็ นไปตามนัน ้

กรณี ผบ.ตร., รอง, ผช. ในกรุงเทพ, ผูว้ า่ ฯ ในจังหวัดอืน ่ แย้งคาสั่งของอัยการ


ให้สง่ สานวนพร้อมความเห็นแย้งไปยังอัยการสูงสุดเพือ ่ ชี้ขาด
แต่ถา้ คดีจะขาดอายุความหรือมีเหตุอย่างอืน ่ อันจาเป็ นจะต้องรีบฟ้ องให้ฟ้องไปตามความเ
ห็น ผบ.ตร., รอง, ผช., ผูว้ า่ ฯ ไปก่อน
ข้อสังเกต
มาตรานี้จะคล้าย ป.วิ.อ. มาตรา 145
คาชี้ขาดของอัยการสูงสุดตามมาตรานี้ถือเป็ นทีส่ ด
ุ (ฎีกาที่ 3278/2528)
อัยการสูงสุดไม่มอ
ี านาจชี้ขาดกลับคาสัง่ ของตนได้อก
ี (ฎีกาที่ 2040-42/252)
*มาตรา 19 คดีอาญาทีอ่ ยูใ่ นอานาจศาลแขวงทีจ่ ะพิจารณาพิพากษา
อัยการจะฟ้ องด้วยวาจาหรือเป็ นหนังสือก็ได้
แต่ถา้ จาเลยร้องขอหรือศาลเห็นสมควรจะสั่งให้ฟ้องเป็ นหนังสือก็ได้
การฟ้ องด้วยวาจา ให้โจทก์แจ้งต่อศาลถึงชือ ่ โจทก์ ชือ ่ ทีอ่ ยู่ สัญชาติจาเลย ฐานความผิด
การกระทาทีอ่ า้ งว่าจาเลยได้ทาผิดข้อเท็จจริงทีเ่ กีย่ วข้องพอควรเท่าทีจ่ ะให้จาเลยเข้าใจข้อห
าได้ดี
จาเลยจะให้การด้วยวาจาหรือเป็ นหนังสือก็ได้
กรณี ฟ้อง, ให้การด้วยวาจาให้ศาลจดบันทึกไว้และให้คค
ู่ วามลงชือ
่ ไว้
คาเบิกความ ให้ศาลบันทึกสาระสาคัญโดยย่อและให้พยานลงชือ
่ ไว้
ข้อสังเกต
การฟ้ องเป็ นหนังสือต้องปฏิบตั ต
ิ าม ป.วิ.อ.มาตรา 158
ในทางปฏิบตั ผ
ิ ูเ้ สียหายฟ้ องต้องฟ้ องเป็ นหนังสือ
มาตรา 19 นี้ไม่ใช้บ ังคับในคดีแพ่ง
ฎีกาที่ 1877/2515 บันทึกหลักการฟ้ องคดีดว้ ยวาจาเป็ นหลักฐานแห่งคาฟ้ องด้วยวาจา
ของโจทก์ดว้ ยส่วนหนึ่ง
ฎีกาที่ 442/2505
ศาลได้บน ั ทึกคาฟ้ องรับสารภาพและทาคาพิพากษาไว้ในบันทึกฉบับเดียวกัน
บันทึกของศาลนี้ไม่เป็ นคาฟ้ องตาม ป.วิ.อ.มาตรา 158 วรรคสอง
ฎีกาที่ 2271/2530 การฟ้ องคดีดว้ ยวาจาอัยการจะต้องมาศาลด้วยทุกครัง้
ถ้าไม่มายังถือไม่ได้วา่ โจทก์มาฟ้ องจาเลยด้วยวาจาต่อศาล (มาตอนทีศ ่ าลออกนั่งพิจารณา
ส่วนก่อนศาลออกนั่งพิจารณาให้เสมียนอัยการถือบันทึกการฟ้ องด้วยวาจามาศาลได้)
ฎีกาที่ 1121/2502, 321/2515, 2129/2532 การฟ้ องคดีดว้ ยวาจา
กฎหมายไม่ได้บญ ั ญัตไิ ว้เคร่งครัดเหมือนฟ้ องด้วยลายลักษณ์ อกั ษรแต่ตอ้ งมีรายละเอียดพ
อสมควร ให้จาเลยเข้าใจข้อหาได้ก็เป็ นการเพียงพอแล้ว

(มีฎก
ี าที่ 2466/2519, 727/2525, 1437/2525, 2404/2533, 3213/2526 วินิจฉัยไว้ทานองเดียวกัน)
ฎีกาที่ 2543/2533 ในการฟ้ องด้วยวาจา
ให้ศาลบันทึกคาฟ้ องด้วยวาจาไว้เป็ นหลักฐานหาจาต้องบันทึกไว้โดยละเอียดไม่
**มาตรา 20 คดีทผ
ี ่ ูต
้ อ้ งหาให้การรับสารภาพ ตลอดข้อหาต่อพนักงานสอบสวน
ให้พนักงานสอบสวนนาผูต ้ อ้ งหามายังอัยการเพือ่ ฟ้ องศาล
โดยมิตอ้ งทาการสอบสวนและให้ฟ้องด้วยวาจา ให้ศาลถามว่าจะให้การอย่างใด
และถ้าให้การรับสารภาพ
ให้ศาลบันทึกคาฟ้ องคารับสารภาพและทาคาพิพากษาในบันทึกฉบับเดียวกันแล้วให้โจทก์
จาเลยลงชือ ่ ในบันทึก ถ้าผูต ้ อ้ งหาให้การปฏิเสธ
ให้ศาลสัง่ ให้อยั การรับตัวคืนเพือ ่ ดาเนินการต่อไป
ข้อสังเกต
ถ้าให้การภาคเสธไม่ถือว่าเป็ นการรับสารภาพตลอดข้อหา
ฎีกาที่ 6522/2541 ก่อนศาลจะถามคาให้การจาเลย ต้องปฏิบตั ต ิ าม ป.วิ.อ.ด้วย
เช่นถามเรือ ่ งทนายตามมาตรา 173 ถ้าไม่ปฏิบตั ถ
ิ ือว่าการพิจารณาไม่ชอบ
มาตรา 21 ให้ศาลแขวงดาเนินการพิจารณาโดยเร็ว
คาสั่งหรือคาพิพากษาจะทาด้วยวาจาก็ได้ แต่ให้บน
ั ทึกไว้พอได้ใจความ
**มาตรา 22 ในคดีอาญาห้ามอุทธรณ์ คาพิพากษาของศาลแขวงในปัญหาข้อเท็จจริง
เว้น แต่กรณีตอ
่ ไปนี้ ให้จาเลยอุทธรณ์ ได้
ต้องคาพิพากษาให้ลงโทษจาคุก, กักแทนจา
ต้องคาพิพากษาให้ลงโทษจาคุก แต่รอการลงโทษ
ต้องคาพิพากษาว่าจาเลยมีความผิดแต่รอการกาหนดโทษ
ต้องคาพิพากษาให้ลงโทษปรับเกิน 1,000 บาท
ข้อสังเกต
มาตรา 22 ใช้บ ังคับในคดีอาญาเท่านัน

ในคดีแพ่งถ้าจะอุทธรณ์ ฎก
ี าต้องไปดู ป.วิ.พ. มาตรา 224
ถ้าเป็ นแพ่งเกีย่ วเนื่องอาญา การอุทธรณ์ เฉพาะในส่วนแพ่งจะนามาตรา 22
มาใช้ไม่ได้ตอ ้ งใช้ ป.วิ.พ.
ห้ามเฉพาะปัญหาข้อเท็จจริง
ตาม (1) ดูโทษจาคุก, โทษกักขัง ดูจากโทษสุทธิเป็ นหลัก (ดูวา่ ศาลลงโทษเท่าไร)
ตาม (2) รอ = ยังไม่ได้จาคุกจริง ๆ
ตาม (4) ปรับเกิน 1,000 บาทถึงจะอุทธรณ์ ได้ แต่ถา้ 1,000 บาทพอดี, ต่ากว่า ห้ามอุทธรณ์
ปัญหาข้อเท็จจริง = วินิจฉัยพฤติการณ์ , ดุลพินิจศาล
มาตรา 22 ใช้บ ังคับในชัน
้ ไต่สวนมูลฟ้ องด้วย (ฎีกาที่ 1556/2504)
มาตรา 22 ทวิ คดีทตี่ อ
้ งห้ามอุทธรณ์ ตามมาตรา 22 ถ้าผูพ ิ ากษาคนใดซึง่ พิจารณา,
้ พ
ลงชือ
่ ในคาพิพากษาหรือทาความเห็นแย้ง
พิเคราะห์เห็นว่าข้อความทีต ่ ดั สินเป็ นปัญหาสาคัญอันควรสูศ ่ าลอุทธรณ์
และอนุญาตให้อท ุ ธรณ์ หรืออัยการสูงสุดหรืออัยการซึง่ อัยการสูงสุดมอบหมายลงลายมือชือ ่
รับรองในอุทธรณ์ วา่ มีเหตุอน ั สมควรทีศ ่ าลอุทธรณ์ จะได้วน
ิ ิจฉัยก็ให้รบั อุทธรณ์ นน
้ ั ไว้พจิ า
รณาต่อไป
ขอทราบว่าคดีศาลแขวง
ผูต
้ อ
้ งหามอบตัวสามารถฟ้ องใบแดงได้หรือไม่ครับ แต่กอ ่ นก็ฟ้องเป็ นประจา
ปัจจุบนั อัยการจังหวัดคนใหม่มา อ้างว่าฟ้ องใบแดงไม่ได้ขดั ม.๗ วิแขวง
คดีศาลแขวงทีว่ า่ นัน
้ สานวนออกไปแล้วหรือไม่ครับ หากยังไม่ออก ก็ใบแดงได้
แต่หากสานวนออกไปแล้ว จะต้องสอบสวนเป็ นใบขาวตามแบบฟอร์ม ทาเต็มรูปแบบ
วิแขวงหรือ
กฎหมายทีม ่ โี ทษทางอาญาทุกฉบับไม่มฉ
ี บับใหนเลยทีบ
่ งั คับให้พม
ิ พ์คาให้การผูต
้ อ
้ งหาเป็
นใบแดงใบขาว มีแต่บอกว่าโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท
อยูใ่ นอานาจศาลแขวง ตร.เรามาคิดกันเองว่าการฟ้ องศาลแขวงรับสารภาพพิมพ์ใบแดง-
ปฏิเสธพิมพ์ใบขาว
สานวนส่งแล้วจับได้ภายหลังใบขาวทาให้หน่ วยงานอืน ่ เห็นว่าสะดวกดีก็เลยยึดถือตามแล้ว
มาสั่ง พงส.ให้พม
ิ พ์คาให้การแดง-ขาว
โดยกฎหมายมิได้บงั คับไว้เลยมีแต่ให้ฟ้องด้วยวาจาเท่านัน ้ เมือ่ ฟ้ องด้วยวาจาเราก็สอบสวน
ด้วยวาจาก็น่าจะได้ไม่เห็นแปลก หากเราจับการพนันมาพิมพ์คาให้การใบขาวฟ้ องภายใน
48 ชม.ก็ไม่เห็นแปลก
พงอ.ต้องรับสานวนจะไม่รบั สานวนอ้างว่าให้ไปพิมพ์ใบแดงมาจึงรับ..เมือ่ เราปฏิบตั ต ิ ามก
ฎหมายชอบแล้วเมือ่
พงอ.ไม่รบั สานวนก็ตอ ้ งส่งกลับเป็ นหนังสือในหนังสือก็ตอ ้ งบอกว่าการสอบสวนไม่สอบด้ว
ยใบแดง- ใบขาว เป็ นการสอบสวนไม่ชอบ ก็คงขากลิง้ ไปทัง้ เมือง
อัยการบางคนก็ฟ้องให้บางคนก็ให้ทาสานวนเต็ม เพราะการมอบตัว
แล้วรับสารภาพไม่เข้าเงือ่ นไข ทีจ่ ะต้องฟ้ องภายใน 48 ชม. (ตีความว่าไม่ใช่การจับ)
ผตห.มอบตัว รับสาภาพ ทาสานวนเต็ม ไม่ตอ ้ งฟ้ องวาจาก็ได้ หรือฟ้ องวาจาก็ได้
ถ้าอัยการฟ้ องให้ก็ไม่มป
ี ญ
ั หา ทาได้สองทาง เช่นคดีทาร้าย 295
พอได้ใบแพทย์ก็เรียกมาแจ้งข้อหา แล้วพาไปฟ้ องเลย อัยการก็ฟ้องให้น่ะ
หรือจะทาสานวนเต็มก็ไม่มป ี ญ
ั หา ทัง้ นี้แล้วแต่อ ัยการ
๑. มาตรฐานอัยการ ตาม ม.๗ เมือ่ ผูต
้ อ
้ งหาถูกจับกุม และให้การรับสารภาพ ตาม
ม.๒๐ เท่านัน
้ จึงจะรับสานวนฟ้ องให้ภายใน ๔๘ ชม.
๒. ถ้าผูต
้ อ
้ งหาไม่ใช่ผูถ
้ ก
ู จับกุม แม้จะให้การรับสารภาพก็ไม่รบั สานวน
ต้องนากลับมาทาสานวนเต็ม
๓. กาลังตรวจสอบอยูว่ า่ มีตรงไหนทีบ
่ ญ
ั ญัตวิ า่ ถ้าผูต
้ อ
้ งหาไม่ใช่ผูถ
้ ูกจับ
แม้ให้การรับสารภาพ ก็ตอ ้ งทาการสอบสวนทาเป็ นสานวน ฟ้ องด้วยวาจา
หรือใบแดงไม่ได้
๔. พบแต่วา่ ถ้าผูต
้ อ
้ งหาให้การปฏิเสธ
ให้ศาลสัง่ ให้พนักงานอัยการรับตัวผูต ้ อ
้ งหาคืนเพือ
่ ดาเนินการต่อไป (
รับมาสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐาน ) อันนี้เข้าใจได้
แต่เมือ่ เขารับสารภาพจะให้ทาสานวนหาพระแสงง้าว อะไรอีก
๕. เมือ่ ผูต
้ อ
้ งหาให้การรับสารภาพ (ม.๒๐) ผมจะไม่ทาการสอบสวน
และจะไม่ฟ้องภายใน ๔๘ ชม. (ม.๗) เพราะไม่ได้จบั ได้หรือไม่ ผมจะแช่เย็นไว้สกั ๑
อาทิตย์แล้วจึงส่งใบแดง ใบดา ใบขาว สักสองสามแผ่นไป ได้หรือไม่
มาตรา ๗ ในการสอบสวนคดีอาญาทีอ่ ยูใ่ นอานาจศาลแขวงทีจ่ ะพิจารณาพิพากษาได้
เมือ่ มีการจับตัวผูต ้ อ
้ งหาแล้ว
ให้พนักงานสอบสวนผูร้ บั ผิดชอบส่งตัวผูต ้ อ้ งหาพร้อมด้วยสานวนการสอบสวนไปยังพนัก
งานอัยการ
เพือ ่ ให้พนักงานอัยการยืน ่ ฟ้ องต่อศาลแขวงให้ทน ั ภายในกาหนดเวลาสีส่ บ ิ แปดชั่วโมงนับแ
ต่เวลาทีผ ่ ูต
้ อ้ งหาถูกจับ
แต่มใิ ห้นบ ั เวลาเดินทางตามปกติทน ี่ าตัวผูต
้ อ้ งหาจากทีจ่ บั มายังทีท
่ าการของพนักงานสอบ
สวนจากทีท ่ าการของพนักงานสอบสวนและหรือจากทีท ่ าการของพนักงานอัยการมาศาลเข้
าในกาหนดเวลาสีส่ บ ิ แปดชั่วโมงนัน้ ด้วย
มาตรา ๒๐ ในคดีอาญาทีอ่ ยูใ่ นอานาจศาลแขวงทีจ่ ะพิจารณาพิพากษาได้
ถ้าผูต
้ อ
้ งหาให้การรับสารภาพตลอดข้อหาต่อพนักงานสอบสวน
ให้พนักงานสอบสวนนาผูต ้ อ้ งหามายังพนักงานอัยการเพือ ่ ฟ้ องศาลโดยมิตอ ้ งทาการสอบส
วน และให้ฟ้องด้วยวาจา ให้ศาลถามผูต ้ อ
้ งหาว่าจะให้การประการใด
และถ้าผูต ้ อ
้ งหายังให้การรับสารภาพ ให้ศาลบันทึกคาฟ้ อง คารับสารภาพ
และทาคาพิพากษาในบันทึกฉบับเดียวกัน แล้วให้โจทก์จาเลยลงชือ ่ ไว้ในบันทึกนัน

ถ้าผูต
้ อ
้ งหาให้การปฏิเสธ
ให้ศาลสัง่ ให้พนักงานอัยการรับตัวผูต้ อ
้ งหาคืนเพือ ่ ดาเนินการต่อไป
ไม่วา่ ผูต
้ อ
้ งหาจะถูกจับหรือไม่
เราต้องดาเนินการให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์ ของการจัดตัง้ ศาลแขวงคือเพือ
่ ให้การพิจารณ
าพิพากษาคดีเสร็จสิน ้ ไปโดยเร็ว
แล้วทาไมอัยการต้องมาทายึกยัก ๆ ๆ ๆ ทัง้ ทีส่ ามารถฟ้ องได้อยูแ
่ ล้ว
ไม่กฎหมายใดห้ามไว้จะดีเสียอีกทีจ่ ะเป็ นไปตามเจตนารมณ์ ของกฎหมาย
ความถูกต้องรวดเร็วก็ให้ความยุตธิ รรมได้
ใช่แล้ว เมือ่ อัยการอ้างว่าผูต
้ อ
้ งหามิใช่ผูถ
้ ก
ู จับ จึงไม่เข้าเงือ
่ นไข มาตรา ๗ ถ้าเป็ นดังนี้
พนักงานสอบสวนก็ขออ้างบ้างว่า มาตรา ๒๐ คือ ถ้าผูต ้ อ
้ งหาให้การรับสารภาพ
พนักงานสอบสวนก็ไม่ตอ้ งทาการสอบสวน (ไม่ทาสานวนเต็มได้) เพราะกฎหมายมาตรา
๒๐ ไม่ได้บอกว่า ผูต ้ อ
้ งหาถูกจับหรือไม่ถูกจับ บอกแต่วา่ ถ้ารับสารภาพก็ไม่ตอ ้ งสอบสวน
ในกรณี ทผ ี่ ตู้ อ
้ งหาเข้าหาพนักงานสอบสวนๆ ส่งฟ้ องด้วยวาจาภายใน 48
ชม.พงอ.ไม่รบั สานวนให้ทาเต็มรูปแบบ
เว้นแต่ผต ู้ อ ้ งหาถูกจับจึงฟ้ องใบแดงได้(เคยพบแต่เข้าหา-ถูกจับฟ้ องใบแดง
พงอ.ฟ้ องให้หมด) เมือ่ เป็ นเช่นนี้ พงส.ก็จะต้องหยิบยก วิ.อ.ม.134
วรรคท้ายมาใช้ประโยชน์ น่าจะเป็ นทีพ ่ อใจของผูต้ อ้ งหา
โดยบันทึกจับกุมโดยมีพฤติการณ์ ฯเมือ่ ผูต ้ อ
้ งหาเข้าหาพนักงานสอบสวนๆแจ้งข้อกล่าวหาใ
ห้ผูต้ อ
้ งหาทราบแล้วสั่งให้ผูต ้ อ้ งหาไปศาลพร้อมกับพนักงานสอบสวนเพือ่ ออกหมายขังใน
ทันทีเนื่องจากเป็ นวันเวลาทีศ ่ าลเปิ ดทาการ
ผูต
้ อ
้ งหาปฏิเสธคาสั่งของพนักงานสอบสวนๆไม่ยน ิ ยอมไปศาลเพือ
่ ออกหมายขังกับพนักงา
นสอบสวนๆ จึงอาศัยอานาจตาม ม.134 วรรคท้าย
จับกุมผูต ้ อ ้ งหาพร้อมบันทึกการจับกุมนาส่งฟ้ องภายใน 48 ชม.ตาม วิแขวง ม.7..55555555
การทาสานวนคดีตาม ๔๑๙...
ในการณี อานาจศาลแขวง มันต่างกันอย๋างไร...ใน ม.๗ กับ ม.๒๐
....

มาตรา ๗[๕] ในการสอบสวนคดีอาญาทีอ่ ยูใ่ นอานาจศาลแขวงทีจ่ ะพิจารณาพิพากษาได้


เมือ่ มีการจับตัวผูต ้ อ
้ งหาแล้ว
ให้พนักงานสอบสวนผูร้ บั ผิดชอบส่งตัวผูต ้ อ้ งหาพร้อมด้วยสานวนการสอบสวนไปยังพนัก
งานอัยการ
เพือ ่ ให้พนักงานอัยการยืน ่ ฟ้ องต่อศาลแขวงให้ทน ั ภายในกาหนดเวลาสีส่ บ ิ แปดชั่วโมงนับแ
ต่เวลาทีผ ่ ูต
้ อ ้ งหาถูกจับ
แต่มใิ ห้นบ ั เวลาเดินทางตามปกติทน ี่ าตัวผูต
้ อ้ งหาจากทีจ่ บั มายังทีท
่ าการของพนักงานสอบ
สวน
จากทีท ่ าการของพนักงานสอบสวนหรือจากทีท ่ าการของพนักงานอัยการมาศาลเข้าในกาห
นดเวลาสีส่ บ ิ แปดชั่วโมงนัน้ ด้วย
ในกรณี ทไี่ ม่มกี ารจับแต่พนักงานสอบสวนได้แจ้งข้อหาแก่ผูต ้ อ
้ งหาแล้ว
ให้พนักงานสอบสวนผูร้ บั ผิดชอบส่งสานวนการสอบสวนไปยังพนักงานอัยการพร้อมกับสั่ง
ให้ผูต
้ อ
้ งหาไปพบพนักงานอัยการเพือ ่ ให้พนักงานอัยการยืน ่ ฟ้ องต่อศาลแขวงให้ท ันภายใ
นกาหนดเวลาสีส่ บ ิ แปดชั่วโมงนับแต่เวลาทีผ
่ ูต้ อ
้ งหาได้รบั แจ้งข้อหา
แต่มใิ ห้นบั เวลาเดินทางตามปกติจากทีท ่ าการของพนักงานสอบสวนหรือจากทีท ่ าการของ
พนักงานอัยการมาศาลเข้าในกาหนดเวลาสีส่ บ ิ แปดชั่วโมงนัน ้ ด้วย
ในกรณี ทเี่ กิดความจาเป็ นไม่สามารถฟ้ องผูต ้ อ
้ งหาต่อศาลให้ทน
ั ภายในกาหนดเวลาดังกล่า
วในวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ให้พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ แล้วแต่กรณี
ยืน
่ คาร้องต่อศาลเพือ ่ ขอผัดฟ้ องต่อไปได้อก ี คราวละไม่เกินหกวัน
แต่ทง้ ั นี้ตอ
้ งไม่เกินสามคราว ในการวินิจฉัยคาร้องเช่นว่านี้
ถ้ามีการขอให้ขงั ผูต ้ อ้ งหาด้วยหรือผูต้ อ
้ งหาแสดงตัวต่อศาล
ให้ศาลสอบถามผูต ้ อ้ งหาว่าจะมีขอ้ คัดค้านประการใดหรือไม่
และศาลอาจเรียกพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการมาชี้แจงเหตุจาเป็ น
หรืออาจเรียกพยานมาเบิกความประกอบก็ได้
เมือ่ ศาลสั่งอนุญาตให้ผดั ฟ้ องครบสามคราวแล้ว
หากพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการยืน ่ คาร้องต่อศาลเพือ
่ ขอผัดฟ้ องต่อไปอีกโดยอ้
างเหตุจาเป็ น
ศาลจะอนุญาตตามขอนัน ้ ได้ก็ตอ
่ เมือ่ พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการได้แสดงถึงเห
ตุจาเป็ นและนาพยานมาเบิกความประกอบจนเป็ นทีพ ่ อใจแก่ศาล
ถ้ามีการขอให้ขงั ผูต ้ อ้ งหาด้วยหรือผูต ้ อ
้ งหาแสดงตัวต่อศาล
ให้ศาลสอบถามผูต ้ อ้ งหาว่าจะมีขอ ้ คัดค้านประการใดหรือไม่ ในกรณี เช่นว่านี้
ศาลมีอานาจสั่งอนุญาตให้ผดั ฟ้ องต่อไปได้คราวละไม่เกินหกวัน
แต่ทง้ ั นี้ตอ
้ งไม่เกินสองคราว
ผูต
้ อ
้ งหาจะแต่งทนายความเพือ
่ แถลงข้อคัดค้านและซักถามพยานก็ได้
ในระหว่างการสอบสวนของพนักงานสอบสวน หากผูต ้ งหาซึง่ ถูกแจ้งข้อหาได้หลบหนีไป
้ อ
ให้พนักงานสอบสวนผูร้ บั ผิดชอบทาการสอบสวนต่อไปโดยเร็ว
และถ้าการสอบสวนได้เสร็จสิน ้ ลงแล้ว
ให้พนักงานสอบสวนผูร้ บั ผิดชอบส่งสานวนการสอบสวนไปยังพนักงานอัยการเพือ ่ พิจารณ
าสั่งต่อไป โดยให้นามาตรา ๑๔๑ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
ในกรณี ทรี่ ะยะเวลาการขอผัดฟ้ องตามมาตรานี้ได้สน
ิ้ สุดลงในระหว่างทีผ ่ ูต
้ อ้ งหาหลบหนี
และพนักงานอัยการมีคาสั่งฟ้ อง
พนักงานอัยการอาจขออนุญาตฟ้ องคดีตอ ่ อัยการสูงสุดตามมาตรา ๙ ไว้กอ ่ นก็ได้
....

มาตรา ๒๐[๑๘] ในคดีอาญาทีอ่ ยูใ่ นอานาจศาลแขวงทีจ่ ะพิจารณาพิพากษาได้


ถ้าผูต
้ อ
้ งหาให้การรับสารภาพตลอดข้อหาต่อพนักงานสอบสวน
ให้พนักงานสอบสวนนาผูต ้ อ
้ งหามายังพนักงานอัยการหรือสั่งให้ผูต้ อ
้ งหาไปพบพนักงานอั
ยการในกรณี ทผ ี ่ ูต
้ อ
้ งหามิได้ถูกควบคุมตัวเพือ
่ ฟ้ องศาลโดยมิตอ
้ งทาการสอบสวน
และให้ฟ้องด้วยวาจา ให้ศาลถามผูต ้ อ
้ งหาว่าจะให้การประการใด
และถ้าผูต ้ อ
้ งหายังให้การรับสารภาพ ให้ศาลบันทึกคาฟ้ อง คารับสารภาพ
และทาคาพิพากษาในบันทึกฉบับเดียวกัน แล้วให้โจทก์จาเลยลงชือ ่ ไว้ในบันทึกนัน

ถ้าผูต
้ อ
้ งหาให้การปฏิเสธให้ศาลสั่งให้พนักงานอัยการรับตัวผูต
้ อ
้ งหาคืนเพือ
่ ดาเนินการต่อ
ไป
...อัยการบอกไม่สอบสวนสวน...หากรับสารภาพ ขัด ม.๒๐ ...ผมงง...

You might also like