You are on page 1of 22

รวมคำพิพำกษำศำลฎีกำ

กฎหมำยวิธีพจิ ำรณำ
ควำมอำญำ

ภำค 3

ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร
พนักงำนอัยกำร
-2-

การฟ้องคดีอาญา
มาตรา 158 (5)
ฎ.289/2560 โจทก์บรรยายฟ้องว่า จาเลยที่ 2 พาไม้ขนาดเท่าใดไม่ปรากฏชัด เป็ นอาวุธติดตัวไปในเมือง
หมู่บ้านหรือทางสาธารณะ และใช้ ไม้เป็ นอาวุธตีทาร้าย ณ. แต่ โจทก์ไม่ได้กล่าวบรรยายในฟ้ องถึงองค์ประกอบ
ความผิด ในข้ อ หาดัง กล่ า วว่ า เป็ น การพาอาวุ ธ โดยเปิ ด เผยหรือ ไม่ ม ีเ หตุ ส มควรมาด้ ว ย ฟ้ องโจทก์ จ ึง ขาด
องค์ประกอบความผิดตาม ป.อ. มาตรา 371 เป็ นฟ้องที่ไม่ชอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 158 (5) ปญั หาเรื่องฟ้องโจทก์
เป็ นฟ้องซ้าหรือไม่และปญั หาเรื่องฟ้องขาดองค์ประกอบความผิด ล้วนเป็ นปญั หาข้อกฎหมายทีเ่ กี่ยวกับความสงบ
เรียบร้อย แม้ไม่มคี ่คู วามฝ่ายใดฎีกา ศาลฎีกาก็มอี านาจหยิบยกขึน้ วินิจฉัยได้ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 195 วรรคสอง
ประกอบมาตรา 225
ฎ.693/2559 โจทก์ฟ้ องว่าจาเลยที่ 1 ก่อให้ผู้อ่นื กระทาความผิดด้วยการโฆษณาหรือประกาศแก่ บุคคล
ทัวไปให้
่ กลุ่มคนชมรม ค. กระทาความผิดในคดีน้ี โดยบรรยายครบองค์ประกอบความผิดในแต่ละข้อหา จึงเป็ นฟ้อง
ทีช่ อบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 158 (5) แล้ว โดยหาจาต้องระบุตวั บุคคลผูถ้ ูกใช้หรือลงมือกระทาความผิดไม่
ฎ.12082/2557 โจทก์บรรยายฟ้องว่าจาเลยทัง้ สองร่วมกันบุกรุกเข้าไปในที่ดนิ ของผู้เสียหายโดยไม่ได้รบั
อนุ ญาตและไม่มเี หตุอนั สมควร แล้วร่วมกันตัดต้นแสมของผู้เสียหาย และมีคาขอท้ายฟ้องให้ลงโทษจาเลยทัง้ สอง
ตาม ป.อ. มาตรา 83, 358, 362, 365 แม้ในคาฟ้องจะไม่ได้บรรยายมาด้วยว่าเป็ นการเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์อนั
เป็ นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของโจทก์ร่วมโดยปกติสุขก็ตาม แต่ในคาฟ้องระบุว่ามีการเข้าไปตัด
ฟนั ต้นแสม ย่อมมีความหมายบ่งชี้ชดั อยู่ในตัวแล้วว่าเป็ นการเข้าไปรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของ
โจทก์ร่วมโดยปกติสุขอยู่แล้ว ซึ่งจาเลยทัง้ สองเข้าใจข้อหาได้ด ี ฟ้องโจทก์จงึ ครบองค์ประกอบความผิดตาม ป.อ.
มาตรา 362 ชอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 158 (5)
ฎ.4976/2556 ฟ้องโจทก์ไม่ได้บรรยายสถานะทีซ่ ง่ึ เกิดการกระทาความผิดว่าเหตุเกิดทีใ่ ด จึงไม่ชอบด้วย ป.
่ โจทก์แก้ฟ้องให้ถูกต้องหรือไม่ประทับฟ้องตาม ป.วิ.อ. มาตรา 161 วรรคหนึ่ง
วิ.อ. มาตรา 158 (5) แต่การทีจ่ ะสังให้
ก็ล่วงเลยที่จะปฏิบตั ไิ ด้เพราะศาลชัน้ ต้นดาเนินกระบวนพิจารณาไปจนเสร็จสิน้ แล้ว ศาลฎีกาจาต้องยกฟ้องโดยไม่
จาต้องพิจารณาปญั หาอื่น
ฎ.8931/2556 โจทก์บรรยายฟ้ องเกี่ยวกับความผิดฐานะกระทาชาเราเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี ซึ่งมิใช่ภริยา
ของตนโดยร่วมกันกระทาความผิดด้วยกันอันมีลกั ษณะเป็ นการโทรมเด็กหญิงในข้อ 2.1 ว่าจาเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกัน
พาเด็กหญิง ด. อายุ 14 ปี เศษ (เกิดวันที่ 21 ธันวาคม 2536) ผูเ้ สียหายที่ 2 ซึ่งเป็ นบุคคลอายุยงั ไม่เกินสิบห้าไป
เพื่อการอนาจารแล้วจาเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ร่วมกันข่มขืนกระทาชาเราผูเ้ สียหายที่ 2 ซึง่ เป็ นเด็กอายุไม่กนิ 15 ปี และ
มิใช่ภริยาของจาเลยทัง้ สามโดยผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนข่มขืนกระทาชาเราผู้เสียหายที่ 2 จนสาเร็จความใคร่ของ
จาเลยทัง้ สามโดยผู้เสีย หายที่ 2 ไม่ ย ิน ยอมด้ว ย ฟ้ องโจทก์ บ รรยายเฉพาะส่ ว นที่จ าเลยทัง้ สามร่ว มกัน กระท า
ความผิดเท่านัน้ ไม่ได้บรรยายถึงองค์ประกอบในส่วนทีเ่ ป็ นการโทรมเด็กหญิง แม้การบรรยายฟ้องไม่จาเป็ นต้องใช้
ถ้อยคาว่า “โทรมเด็กหญิง” ตาม ป.อ. มาตรา 277 วรรคสี่ ก็ตาม แต่โจทก์ก็ต้องบรรยายถึงองค์ประกอบดังกล่าว
คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร
-3-

ด้วย เพียงข้อความที่บรรยายว่าจาเลยทัง้ ผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนกับข่มขืนกระทาชาเราผูเ้ สียหายที่ 2 ก็มใิ ช่ขอ้ ทีจ่ ะ


แสดงให้เห็นว่ามีลกั ษณะเป็ นโทรมเด็กหญิงตามที่กฎหมายบัญญัติ ทัง้ การที่โจทก์ระบุข้อหาในช่องฐานความผิด
ตามฟ้องว่าร่วมกันกระทาชาเราเด็กอายุยงั ไม่เกิน 15 ปี ซึ่งมิใช่ภริยาของตนโดยเด็กนัน้ ไม่ยนิ ยอมโดยมีลกั ษณะ
เป็ นการโทรมหญิง เป็ นเพียงฐานความผิดทีโ่ จทก์ฟ้องจาเลยทัง้ สาม มิใช่องค์ประกอบความผิดทีโ่ จทก์บรรยายมาใน
ฟ้อง คาบรรยายฟ้องโจทก์จงึ ไม่ครบองค์ประกอบความผิดตาม ป.อ. มาตรา 277 วรรคสี่
ฎ.9155/2556 ข้อเท็จจริงที่ว่าจาเลยทัง้ สามเป็ นบุคคลเดียวกับจาเลยในคดีอาญาที่โจทก์ขอให้นับโทษต่อ
เป็ น ข้อ เท็จจริงต่ างหากจากข้อ เท็จจริงที่โจทก์ บ รรยายว่ าการกระท าของจ าเลยทัง้ สามเป็ น ความผิด และเป็ น
ข้อเท็จจริงทีโ่ จทก์มหี น้าทีน่ าสืบให้ปรากฏ แม้จาเลยทัง้ สามให้การรับสารภาพตามฟ้องโจทก์ทุกประการ ซึง่ เป็ นการ
รับสารภาพว่าได้กระทาความผิดตามฟ้ องเท่านัน้ มิได้ให้การรับด้วยว่าเป็ นบุคคลคนเดียวจาเลยทัง้ สามในคดีท่ี
โจทก์ขอให้นับโทษต่อ จึงยังถือไม่ได้ว่าจาเลยทัง้ สามรับในเรื่องการนับโทษต่อ ต้องยกคาร้องขอของโจทก์ท่ขี อให้
นับโทษต่อ

มาตรา 158 (6)


ฎ.8159/2557 การใช้เอกสารปลอมเป็ นการกระทาอันเป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 268 วรรคแรก ฐาน
หนึ่ง แม้มาตรา 268 วรรคแรก บัญญัตวิ ่า ผูใ้ ดใช้หรืออ้างเอกสารอันเกิดจากการกระทาความผิดตามมาตรา 264 ...
ต้องระวางโทษดังที่บญั ญัตไิ ว้ในมาตรานัน้ ๆ ก็ตาม แต่มใิ ช่จะถือว่าเป็ นความผิดฐานเดียวกันกับความผิดนัน้ ๆ
เมื่อโจทก์บรรยายการกระทาความผิดในฐานนี้มาในคาฟ้อง แต่คาขอท้ายฟ้องขอให้ลงโทษตาม ป.อ. เฉพาะมาตรา
264 มิได้ระบุมาตรา 268 ด้วย จะถือว่าความผิดตามฟ้องนัน้ รวมการกระทาหลายอย่าง แต่ละอย่างเป็ นความผิดอยู่
ในตัวเอง อันจะทาให้ศาลลงโทษจาเลยทัง้ สองในความผิดฐานร่วมกันใช้เอกสารปลอมตามทีพ่ จิ ารณาได้ความหาได้ไม่
คาฟ้องโจทก์ไม่สมบูรณ์ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 158 (6)

มาตรา 158 (7)


ฎ.3071/2559 ฟ้องโจทก์มไิ ด้มลี ายมือชื่อโจทก์ เป็ นฟ้องไม่ชอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 158 (7) ตัง้ แต่ต้น การ
ทีท่ นายโจทก์ขอแก้ฟ้องโดยจะนาตัวโจทก์มาลงลายมือชื่อในฟ้องเป็ นการแก้ฟ้องทีไ่ ม่ชอบด้วยกฎหมายให้เป็ นฟ้อง
ทีช่ อบด้วยกฎหมาย ทัง้ เป็ นกรณีถอื ว่าทาให้จาเลยเสียเปรียบในการต่อสูค้ ดี ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 164 แล้ว จึงไม่ม ี
เหตุอนั ควรทีศ่ าลจะอนุ ญาตให้โจทก์แก้ฟ้องและต้องยกฟ้องโจทก์
ฎ.10471/2556 การที่โจทก์ทงั ้ สองมิได้ลงชื่อในคาฟ้ องคดีอาญา แต่ให้ทนายโจทก์ทงั ้ สองเป็ นผู้ลงชื่อใน
ฐานะโจทก์ ท ัง้ สอง จึง เป็ น ฟ้ องที่ไ ม่ ช อบด้ว ย ป.วิ.อ. มาตรา 158 (7) ประกอบ พ.ร.บ.จัด ตัง้ ศาลแขวงและวิธ ี
พิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ.2499 มาตรา 4 และ พ.ร.บ.ให้นาวิธพี จิ ารณาความอาญาในศาลแขวงมาใช้
บังคับในศาลจังหวัด พ.ศ.2520 มาตรา 3

คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร


-4-

มาตรา 159
ฎ.801/2558 ป.วิ.อ. มาตรา 172 วรรคสอง บัญ ญัติให้ศ าลอ่ านและอธิบายฟ้ องให้จาเลยฟ งั และถามว่ า
จาเลยได้กระทาคามผิดจริงหรือไม่ จะให้การต่อสูอ้ ย่างไรบ้าง เป็ นบทบัญญัตใิ นการเริม่ ต้นพิจารณาของศาลเพื่อให้
จาเลยเข้าใจฟ้องและสามารถต่อสู้คดีได้อย่างเต็มที่และถูกต้อง มิใช่หมายความรวมถึงการที่โจทก์ย่นื คาร้องขอแก้
ฟ้องเพิม่ โทษจาเลยฐานไม่เข็ดหลายด้วย ดังนัน้ แม้ศาลชัน้ ต้นไม่ได้สอบว่าจาเลยเป็ นบุคคลเดียวกับจาเลยในคดีท่ี
โจทก์ของเพิม่ โทษตามคาร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์หรือไม่ ก็ไม่ทาให้การดาเนินกระบวนพิจารณาของศาลชัน้ ต้นไม่
ชอบ ทัง้ ข้อเท็จจริงทีว่ ่าจาเลยเป็ นบุคคลเดียวกับจาเลยในคดีทโ่ี จทก์ขอให้เพิม่ โทษหรือไม่ เป็ นข้อเท็จจริงทีโ่ จทก์ม ี
หน้ าทีน่ าสืบให้ปรากฏ เมื่อโจทก์มไิ ด้แถลงต่อศาลเพื่อขอสืบพยานในข้อเท็จจริงดังกล่าว จึงฟงั ไม่ได้ว่าจาเลยเป็ น
บุคคลเดียวกันกับจาเลยในคดีทโ่ี จทก์ขอให้เพิม่ โทษ
ฎ.6846/2558 จาเลยกระท าผิด วัน ที่ 9 พฤษภาคม 2555 โจทก์บ รรยายฟ้ องว่ าก่ อ นคดีน้ี เมื่อ วันที่ 25
กรกฎาคม 2550 จาเลยเคยต้องคาพิพากษาถึงทีส่ ุดของศาลนี้ ให้ลงโทษจาคุก 3 ปี และปรับ 300,000 บาท ข้อหา
มียาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ไว้ในครอบครองเพื่ อจาหน่ าย จาเลยกระทาความผิดคดีน้ีอนั เป็ นความผิดตาม
พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ขึน้ อีก แม้ฟ้องโจทก์ระบุว่าจาเลยพ้นโทษเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2555 ก็ตาม
แต่กเ็ ป็ นที่ชดั แจ้งว่าเป็ นความผิดพลาดในการพิมพ์ ทัง้ จาเลยก็ให้การรับสารภาพและรับว่าเป็ นบุคคลคนเดียวกับ
จาเลยในคดีท่โี จทก์ขอให้เพิม่ โทษ แสดงว่าจาเลยมิได้หลงต่อสู้และเข้าใจมาตลอดว่าจาเลยกระทาความผิดคดีน้ี
ภายในห้าปีนบั แต่วนั พ้นโทษ กรณีจงึ ต้องเพิม่ โทษจาเลยกึง่ หนึ่งตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 มาตรา 97
มาตรา 161
ฎ.4744/2560 ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 158 (7) บัญ ญั ติว่า “ฟ้องต้องทาเป็ นหนังสือ และมี... (7) ลายมือชื่อ
โจทก์ ผูเ้ รือ่ ง ผูเ้ ขียน หรือพิมพ์ฟ้อง” ซึง่ การยื่นฟ้องตาม ป.วิ.อ. ไม่ว่าจะเป็ นกรณีท่พี นักงานอัยการหรือราษฎรยื่น
ฟ้ องก็ ต าม จะต้ อ งยื่น ฟ้ องตามแบบที่ก ฎหมายก าหนด กล่ าวคือ ต้ อ งท าเป็ น หนั ง สือ และต้ อ งมีข้อ ความหรือ
รายละเอียดตามทีร่ ะบุไว้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 158 (1) ถึง (7) จึงจะเป็ นฟ้องทีถ่ ูกต้อง แต่ตามฟ้องโจทก์คงปรากฏแต่
เพียงลายมือชื่อโจทก์ ท้ายฟ้องและผูเ้ ขียนหรือผูพ้ มิ พ์ฟ้อง โดยโจทก์ไม่ได้ลงชื่อผูเ้ รียงฟ้อง ฟ้องของ ป.วิ.อ. มาตรา
่ ให้โจทก์แก้ไขให้ถูกต้องหรือ ยกฟ้อง หรือไม่ประทับฟ้องได้ แต่ถ้าศาลชัน้ ต้นสังประทั
161 สังให้ ่ บฟ้องและดาเนิน
กระบวนพิจารณาจนคดีขน้ึ มาสู่ศาลอุทธรณ์ ภาค 1 แล้ว การที่ จะสังให้ ่ โจทก์แก้ฟ้องให้ ถกู ต้ องหรือไม่ประทับ
ฟ้ องตาม ป.วิ .อ. มาตรา 161 วรรคหนึ่ ง ย่อมล่วงเลยเวลาที่ จะปฏิ บตั ิ ได้ เพราะศาลชัน้ ต้ นได้สงประทั ั่ บฟ้ อง
และดาเนิ นกระบวนพิ จารณาจนเสร็จสิ้ นแล้ว ทัง้ กรณีดงั กล่าวไม่เข้าเหตุตาม ป.วิ.อ. มาตรา 208 (2) ที่ศาล
อุทธรณ์ ภาค 1 จะสังให้ ่ ศาลชัน้ ต้นทาการพิจารณาพิพากษาใหม่ตามรูปคดี ศาลอุทธรณ์ ภาค 1 ย่อมไม่มวี ธิ ปี ฏิบตั ิ
เป็ นประการอื่นนอกจากต้องพิพากษายกฟ้องโจทก์เสีย
ฎ.15243/2557 คาฟ้องไม่มลี ายมือชื่อโจทก์ทงั ้ สองเป็ นฟ้องไม่ถูกต้องตามกฎหมาย แต่เมื่อมีการยื่นคาร้อง
ขอแก้ไขฟ้องโดยลงลายมือชื่อโจทก์ทงั ้ สองมาในส่วนของคาขอท้ายฟ้องก่อนวันนัดไต่สวนมูลฟ้องและศาลชัน้ ต้นมี
คาสังอนุ
่ ญาต ดังนี้ กรณีถอื ได้ว่าศาลชัน้ ต้นได้สงโจทก์
ั่ ให้ แก้ฟ้องให้ถูกต้องตาม ป.วิ.อ. มาตรา 161 วรรคหนึ่ง จน
เห็นได้ว่าเป็ นฟ้องถูกต้องตามกฎหมายแล้ว
คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร
-5-

ฎ.3310/2557 ศาลชัน้ ต้นสังประทั


่ บรับฟ้องแล้ว ศาลชัน้ ต้นจะสังให้
่ โจทก์แก้ฟ้องให้ถูกต้องหรือไม่ประทับรับ
ฟ้อง ตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา 161 วรรคหนึ่ง ก็ล่วงเลยเวลาทีจ่ ะปฏิบตั ไิ ด้ การทีศ่ าล
อุทธรณ์ภาค 1 ให้ศาลชัน้ ต้นจัดการให้โจทก์ลงลายมือชื่อในคาขอท้ายฟ้องและในช่องผู้เรียง/พิมพ์ ให้ถูกต้องแล้ว
พิจารณาพิพากษาใหม่ตามรูปคดี จึงไม่ชอบ
ฎ.4976/2556 ป.วิ.อ. มาตรา 158 บัญญัตวิ ่า ฟ้องต้องทาเป็ นหนังสือและมี... (5) การกระทาทัง้ หลายทีอ่ ้าง
ว่าจาเลยได้กระทาผิด ข้อเท็จจริงและรายละเอียดเกีย่ วกับเวลาและสถานทีซ่ ง่ึ เกิดการกระทานัน้ ๆ อีกทัง้ บุคคลหรือ
สิง่ ของทีเ่ กี่ยวข้องด้วยพอสมควรเท่าทีจ่ ะทาให้จาเลยเข้าใจข้อหาได้ด ี เมื่อตามฟ้องของโจทก์ปรากฏว่าโจทก์ไม่ได้
บรรยายฟ้องระบุสถานทีซ่ ง่ึ เกิดการกระทาความผิดว่าเหตุเกิดทีใ่ ด ฟ้องโจทก์จงึ ไม่ชอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 158 (5)
่ โจทก์แก้ฟ้องให้ถูกต้องหรือไม่ประทับฟ้องตาม ป.วิ.อ. มาตรา 161 วรรคหนึ่ง นัน้ ก็ล่วงเลยเวลาที่
แต่การทีจ่ ะสังให้
จะปฏิบตั ิได้ เพราะศาลชัน้ ต้นดาเนินกระบวนพิจารณาไปจนเสร็จสิ้นแล้ ว ศาลฎีกาจาต้องยกฟ้ องโดยไม่จาต้อง
พิจารณาปญั หาอื่นอีก และปญั หานี้เป็ นข้อกฎหมายทีเ่ กี่ยวกับความสงบเรียบร้อย แม้ไม่มคี ่คู วามฝ่ายใดยกขึน้ อ้าง
ศาลฎีกาก็มอี านาจยกขึน้ วินิจฉัยได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 215 และ 225

มาตรา 162
ฎ.5135/2554 (ประชุมใหญ่) ในคดีก่อนศาลชัน้ ต้นมีคาสังประทั ่ บฟ้องของโจทก์ไว้พจิ ารณาแล้ว เมื่อโจทก์
ยืน่ คาร้องขอแก้ฟ้องโดยอาศัย ป.วิ.อ. มาตรา 163 วรรคแรก ศาลชัน้ ต้นจะต้องพิจารณาคาร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์
ก่อนว่ามีเหตุอนั ควรอนุ ญาตหรือไม่ แล้วจึงดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไป แต่ศาลชัน้ ต้นกลับวินิจฉัยว่าฟ้องโจทก์
มิได้บรรยายถึงวันเวลาทีจ่ าเลยกระทาความผิด จาเลยไม่อาจต่อสูค้ ดีได้ ฟ้องโจทก์จงึ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตาม ป.
วิ.อ. มาตรา 158 (5) โดยมิได้มคี าสังเกี ่ ่ ยวกับ ค าร้อ งขอแก้ ฟ้ องของโจทก์เสีย ก่ อ น จึงเป็ น การด าเนิ น กระบวน
พิจารณาทีไ่ ม่เป็ นไปตามลาดับขัน้ ตอนของกฎหมาย ถือไม่ได้ว่าศาลชัน้ ต้นมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิด
ซึง่ ได้ฟ้องแล้ว โจทก์จงึ มีสทิ ธิฟ้องจาเลยในคดีน้ไี ด้โดยไม่ตอ้ งห้ามตาม ป.วิ.อ. มาตรา 39 (4)

มาตรา 163 - 164


ฎ.64/2559 จาเลยที่ 1 ขอถอนค าให้การรับสารภาพและขอให้การใหม่เป็ นปฏิเสธฟ้ องของโจทก์ เป็ นการ
กระทาเพื่อประวิงคดี จึงไม่มเี หตุสมควรอนุญาตให้จาเลยที่ 1 แก้คาให้กาตาม ป.วิ.อ. มาตรา 163 วรรคสอง
ฎ.311/2559 ศาลชัน้ ต้นอนุ ญาตให้จาเลยแก้ไขคาให้การโดยจาเลยถอนคาให้การเดิมเป็ นให้การรับสารภาพ
เนื่องจากโจทก์และจาเลยตกลงกันได้ นับว่าเป็ นกรณีมเี หตุอนั สมควร ดังนี้ การสอบคาให้การของจาเลยใหม่ ชอบด้วย
ป.วิ.อ. มาตรา 163 วรรคสอง
ฎ.318/2559 จาเลยไม่อาจยื่นคาร้องขอแก้ไขเพิม่ เติมคาให้การจากให้การปฏิเสธเป็ นรับสารภาพในชัน้ ฎีกาได้
เพราะการแก้ไขคาให้การต้องกระทาก่อนศาลชัน้ ต้นพิพากษา แต่การยื่นคาร้องดังกล่าวถือเป็ นการรับข้อเท็จจริงว่า
กระทาความผิดโดยไม่โต้แย้งคาพิพากษาลงโทษของศาลอุทธรณ์ภาค 2

คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร


-6-

ฎ.1688-1689/2557 การขอแก้ หรือเพิ่ มเติ มฟ้ องตาม พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาลทรัพย์สนิ ทางปญั ญาและการค้า
ระหว่างประเทศและวิธพี จิ ารณาคดีทรัพย์สนิ ทางปญั ญาและการค้าระหว่างประเทศ พ.ศ.2539 มาตรา 26 ประกอบ
ป.วิ.อ. มาตรา 163 วรรคหนึ่ง นัน้ จะต้องปรากฏว่าฟ้ องเดิ มเป็ นฟ้ องที่สมบูรณ์ ตามกฎหมายมาแต่แรก โจทก์
จึงจะขอแก้หรือเพิ่ มเติ มฟ้ องได้ เมื่อคาฟ้องของโจทก์ขาดองค์ประกอบของความผิดอันเป็ นคาฟ้องทีไ่ ม่ชอบด้วย
กฎหมายดังได้วนิ ิจฉัยมาข้างต้น โจทก์จงึ ไม่อาจขอแก้หรือเพิม่ เติมฟ้องได้
ฎ.3071/2559 ฟ้องโจทก์มไิ ด้มลี ายมือชื่อโจทก์ เป็ นฟ้องไม่ชอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 158 (7) ตัง้ แต่ต้น การ
ทีท่ นายโจทก์ขอแก้ฟ้องโดยจะนาตัวโจทก์มาลงลายมือชื่อในฟ้องเป็ นการแก้ฟ้องทีไ่ ม่ชอบด้วยกฎหมายให้เป็ นฟ้อง
ทีช่ อบด้วยกฎหมาย ทัง้ เป็ นกรณีถอื ว่าทาให้จาเลยเสียเปรียบในการต่อสูค้ ดี ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 164 แล้ว จึงไม่ม ี
เหตุอนั ควรทีศ่ าลจะอนุ ญาตให้โจทก์แก้ฟ้องและต้องยกฟ้องโจทก์
ฎ.11066/2558 คดีแ พ่ งเกี่ยวเนื่ อ งกับ คดีอ าญานัน้ หมายถึงคดีท่ีการกระท าผิด อาญานัน้ ก่ อ ให้เกิดสิท ธิ
เรีย กร้อ งทางแพ่ งติด ตามมาด้ว ย เมื่อ ศาลชัน้ ต้ น ไต่ ส วนมูล ฟ้ องคดีส่ ว นอาญาแล้ว มีค าสัง่ ให้ ป ระทับ ฟ้ องและ
หมายเรียกจาเลยแก้คดีย่อมเป็ นการสังรั ่ บฟ้องคดีส่วนอาญาและคาฟ้องคดีส่วนแพ่งด้วยโดยไม่จาต้องสังรั ่ บฟ้องคดี
ส่วนแพ่งอีก ดังนี้ ในการฟ้องคดีแพ่งเกีย่ วเนื่องกับคดีอาญาโจทก์จงึ ต้องฟ้องคดีแพ่งมาพร้อมกับคดีอาญาตัง้ แต่แรก
แต่คดีน้ีโจทก์ย่นื ฟ้องเฉพาะคดีในส่วนอาญาจนศาลชัน้ ต้นมีคาสังประทั ่ บฟ้องและจาเลยให้การต่อสูค้ ดีแล้วโจทก์จงึ
มายืน่ คาร้องขอเพิม่ เติมฟ้องให้จาเลยรับผิดคดีในส่วนแพ่ง ซึง่ การขอเพิม่ เติมฟ้องตาม ป.วิ.อ. มาตรา 164 ประกอบ
พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาลแขวงและวิธพี จิ ารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ.2499 มาตรา 4 นัน้ ฟ้องเดิมจะต้องสมบูรณ์อยู่
แล้ว เมื่อโจทก์ฟ้องจาเลยเฉพาะคดีอาญาแล้วต่อมาได้ย่นื คาร้องขอเพิม่ เติมฟ้องโดยขอให้จาเลยรับผิดในทางแพ่ง
โดยอ้างว่าโจทก์ต้องจ่ายเงินให้แก่บริษทั บ. ห้างหุ้นส่วนจากัด ห. และนาย ท. จาเลยจึงต้องคืนเงิ นพร้อมดอกเบี้ย
ให้โจทก์ ดังนี้คาร้องขอเพิม่ เติมฟ้องดังกล่าวถือได้ว่าเป็ นการกล่าวอ้างความรับผิดทางแพ่งของจาเลยขึน้ มาใหม่
โจทก์จะมาขอเพิม่ เติมฟ้องเช่นนี้ไม่ได้

-------------------------------------------------------------------

คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร


-7-

การไต่สวนมูลฟ้อง
มาตรา 165
ฎ.6638/2559 เอกสารที่ทนายจาเลยใช้ประกอบถามค้านพยานโจทก์ในชัน้ ไต่ สวนมูล ฟ้อ ง พยานโจทก์
ตรวจดูและรับรองความถูต้องบ่างสวน ทัง้ เป็ นเอกสารราชการทีม่ เี จ้าหน้าทีร่ บั รองความถูกต้องแล้ว จาเลยชอบทีจ่ ะ
ส่งศาลประกอบการถามค้านได้ ไม่ถอื ว่าเป็ นเรื่องที่จาเลยนาพยานหลักฐานเข้าสืบในชัน้ ไต่สวนมูลฟ้อง ดังนี้ ศาล
ย่อมรับฟงั ประกอบการพิจารณาได้
ฎ.10569/2558 การฟ้องคดีอาญาต่อบริษทั จากัดซึง่ เป็ นนิตบิ ุคคล ต้องมีกรรมการผู้อานาจกระทาการแทน
บริษทั ซึง่ เป็ นผูแ้ ทนบริษทั จึงจะดาเนินคดีได้ ขณะยื่นฟ้ อง ส. เป็ นกรรมการผู้มีอานาจกระทาการแทนจาเลยที่
1 โจทก์จึงต้ องนาตัว ส. มาส่งศาลชัน้ ต้ นพร้อมกับฟ้ อง โจทก์ไม่ได้นาตัว ส. มาศาลต้ องถือว่าจาเลยที่ 1 ไม่
มีตวั อยู่อย่างสมบูรณ์ ตามกฎหมายและต้ องถือว่าโจทก์ไม่มีตวั จาเลยที่ 1 มาศาลในวันฟ้ องด้วย การทีศ่ าล
ชัน้ ต้นประทับรับฟ้องโจทก์สาหรับจาเลยที่ 1 จึงเป็ นการไม่ชอบตาม ป.วิ.อ. มาตรา 165 วรรคหนึ่ง และทาให้การ
ดาเนินกระบวนพิจารณาสาหรับจาเลยที่ 1 หลังจากนัน้ เป็นการไม่ชอบด้วย
ฎ.7411/2556 พ.ร.บ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด พ.ศ.2545 มาตรา 33 วรรคสอง บัญญัตวิ ่า ในกรณีท่ี
ผูเ้ ข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด ผูใ้ ดแม้จะได้รบั การฟื้นฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดจนครบกาหนดตาม
มาตรา 25 แล้ว แต่ผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดยังไม่เป็ นทีพ่ อใจ ให้คณะอนุ กรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้
ติดยาเสพติดรายงานความเห็นไปยังพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการแล้วแต่กรณี เพื่อประกอบการพิจารณา
ดาเนินคดีผนู้ นั ้ ต่อไปและให้นามาตรา 22 วรรคสี่ ซึง่ เป็ นบทบัญญัตใิ ห้พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการมารับ
ตัวผู้ต้องหาไปในทันทีท่สี ามารถกระทาได้ มาบังคับใช้โดยอนุ โลม คดีนี้พนักงานสอบสวนนาตัวจาเลยไปศาล
ตัง้ แต่ วนั ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2555 ศาลมี ค าสังให้่ ส่ งตัวจาเลยไปตรวจพิ สูจน์ การเสพหรือการติ ดยาเสพติ ด
ต่อมาวันที่ 2 มีนาคม 2555 สานักงานคุมประพฤติจงั หวัดน่ านมีหนังสือรายงานผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพ
ติดและแจ้งคาวินิจฉัยคณะอนุ กรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดจังหวัดน่ านว่า การฟื้ นฟูดงั กล่าวไม่น่าจะ
ใช้ ได้ และไม่เป็ นประโยชน์ สาหรับจาเลย กรณี ถือว่าการฟื้ นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติ ดยังไม่เป็ นที่ พอใจ
ทัง้ ปรากฏจากรายงานการผัดฟ้ องจาเลยครัง้ ที่ 1 ซึ่งพันตารวจโท ท. บันทึ กว่า ในวันที่ 12 เมษายน 2555 จะ
นาตัวจาเลยมาศาลเพื่อผัดฟ้ องต่ อไป แสดงให้ เห็นว่า ในระยะเวลาดังกล่าวยังอยู่ในระหว่างการสอบสวน
โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ องจาเลยโดยไม่นาตัวจาเลยมาศาล ดังนัน้ เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2555 โจทก์ย่นื ฟ้องคดี
นี้โดยไม่มตี วั จาเลยมาศาล จึงขัดต่อบทบัญญัติ ป.วิ.อ. มาตรา 165 ประกอบ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัว ฯ
มาตรา 6
ฎ.353/2556 ในชัน้ ไต่สวนมูลฟ้องจาเลยทัง้ สองยังไม่อยู่ในอานาจของศาลจนกว่าศาลจะมีคาสังประทั ่ บฟ้อง
ไว้พจิ ารณา การทีศ่ าลชัน้ ต้นหมายแจ้งวันไต่สวนมูลฟ้องให้จาเลยทัง้ สองทราบ จาเลยทัง้ สองมีสทิ ธิทจ่ี ะไม่มาศาลใน
วันนัดได้เพราะหมายเรียกเป็ นเพียงหมายแจ้งให้จาเลยทัง้ สองทราบวันนัดไต่สวนมูลฟ้อง แม้จาเลยทัง้ สองได้รบั
หมายและมาฟงั การพิจารณาของศาลในชัน้ ไต่สวนมูลฟ้อง ก็ยงั ไม่ถอื ว่าจาเลยทัง้ สองเข้ามาอยู่ในอานาจศาลแล้ว
คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร
-8-

จึง ไม่ ถือ ว่ าโจทก์ ฟ้ องและได้ ต ัว ผู้ก ระท าความผิด มายัง ศาลภายในอายุ ค วามตาม ป.อ. มาตรา 95 (2) จะน า
บทบัญญัตใิ นทางแพ่งเรือ่ งอายุความสะดุดหยุดลงเมื่อฟ้องคดีมาใช้บงั คับไม่ได้ เพราะ ป.อ. มาตรา 95 บัญญัตเิ รือ่ ง
อายุความโดยเฉพาะแล้ว

มาตรา 166
ฎ.7846/2559 โจทก์ ย่ นื ฟ้ องจาเลยวัน ที่ 21 พฤษภาคม 2558 ศาลชัน้ ต้น มีค าสังในฟ ่ ้ องของโจทก์ว ัน
เดียวกันว่า ประทับฟ้อง สาเนาให้จาเลย จาเลยถูกควบคุมตัวอยู่ในสถานพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน เบิกตัว
จาเลยมาสอบคาให้การพร้อมผูป้ กครองในวันที่ 22 พฤษภาคม 2558 แจ้งสถานพินิจฯ และผูป้ กครองทราบ ครัง้ ถึง
วันนัดสอบคาให้การจาเลยคงมีแต่จาเลยผู้ปกครอง และที่ปรึกษากฎหมายของจาเลยมาศาล ส่วนโจทก์ไม่มาศาล
ปรากฏตามรายงานกระบวนพิจารณาของศาลชัน้ ต้นว่า ได้ให้เจ้าหน้ าทีห่ น้าบัลลังก์โทรศัพท์ตดิ ต่อไปยังสานักงาน
ของโจทก์ แจ้งให้โจทก์มาศาลแล้ว แต่รอจนกระทังเวลา ่ 16.30 น. โจทก์ก็ไม่มาศาลโดยไม่แจ้งเหตุขดั ข้อง ศาล
ชัน้ ต้นจึงพิพากษายกฟ้องตาม ป.วิ.อง มาตรา 181 ประกอบ มาตรา 166
หมายเหตุ : เมื่อโจทก์ย่นื ฟ้องต่ อศาลและศาลได้มคี าสังในวั
่ นเดียวกัน โดยกาหนดวันนัดสอบคาให้การ
จาเลย กรณีเช่นนี้ยอ่ มถือว่าโจทก์ทราบคาสังศาลชั
่ น้ ต้นในวันดังกล่าวแล้ว ศาลชัน้ ต้นไม่จาต้องแจ้งคาสังดั
่ งกล่าวให้
โจทก์ทราบหรือมีหมายแจ้งวันนัดให้โจทก์ทราบอีก
ฎ.10383/2559 ศาลชัน้ ต้นนับสืบพยานโจทก์ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2558 ตัง้ แต่เวลา 9.30 น. ถึง 16.30
น. แต่โจทก์เข้าใจผิดว่าศาลชัน้ ต้นนัดสืบพยานโจทก์ตงั ้ แต่เวลา 13.30 น. ถึง 16.30 น. เมื่อถึงเวลานัดสืบพยาน
โจทก์เวลา 9.30 น. โจทก์ไม่มาศาล จาเลยจึงยื่นคาร้องขอให้ศาลยกฟ้อง ศาลชัน้ ต้นมีคาสังเมื ่ ่อเวลา 12.30 น. ว่า
โจทก์ไม่มาศาลตามกาหนดนัด โดยไม่มเี หตุสมควร ให้ยกฟ้องโจทก์ โจทก์ฎกี าขอให้ยกคดีขน้ึ พิจารณาใหม่ เห็นว่า
เมื่อคู่ความนาคดีมาสู่ศาลแล้วก็มหี น้าทีต่ ้องมาศาลตามกาหนดนัด หากมีความจาเป็ นจนมิอาจมาศาลได้กต็ ้องแจ้ง
ให้ศ าลทราบถึงเหตุ จาเป็ น ดังกล่ าว แม้ในวัน นัดสืบ พยานโจทก์ โจทก์จ ะอยู่ท่ีศ าลชัน้ ต้น แต่ โจทก์ ก็อ ยู่ในห้อ ง
พิจารณาคดีอ่นื โดยไม่ได้ไปแสดงตัวต่อเจ้าหน้ าที่ศาลในห้องพิจารณาคดีน้ีเพื่อแสดงให้เห็นว่าโจทก์มาศาลตาม
กาหนดนัดแต่ตดิ ว่าความในห้องพิจารณาคดีอ่นื และไม่ใช่หน้าที่ของเจ้าหน้าทีศ่ าลทีจ่ ะต้องประกาศเสียงตามสาย
เรียกโจทก์หรือติดตามโจทก์เข้ามาในฟ้องพิจารณาคดีเพื่อดาเนินคดีน้ี แม้จะฟงั ว่าโจทก์อยู่ในฟ้องพิจารณาคดีอ่นื
เมื่อเวลา 10 นาฬิกา ก็ไม่ใช่เป็ นการมาศาลในคดีน้ีตามกาหนดนัดของศาลชัน้ ต้น ความเข้าใจผิดของโจทก์เป็ น
ความผิดพลาดบกพร่องของโจทก์เอง กรณีไม่มเี หตุสมควรทีจ่ ะยกคดีขน้ึ พิจารณาใหม่

มาตรา 167
ฎ.1268/2558 ในชัน้ ไต่สวนมูลฟ้องนัน้ ป.วิ.อ. มาตรา 167 บัญญัตวิ ่า “ถ้าปรากฏว่าคดีมมี ลู ให้ศาลประทับ
ฟ้องไว้พจิ ารณาต่อไปเฉพาะกระทงทีม่ มี ลู ถ้าคดีไม่มมี ลู ให้พพิ ากษายกฟ้อง” และมาตรา 170 วรรคหนึ่ง บัญญัตวิ ่า
“คาสังของศาลที
่ ใ่ ห้คดีมมี ลู ย่อมเด็ดขาด แต่คาสังที
่ ว่ ่าคดีไม่มมี ลู นัน้ โจทก์มอี านาจอุทธรณ์ฎกี าได้ตามบทบัญญัตวิ ่า
ด้วยลักษณะอุทธรณ์ฎกี า” ดังนัน้ เมื่อปรากฏว่าศาลชัน้ ต้นมีคาสังว่ ่ าคดีโจทก์มมี ูลและให้ประทับฟ้องสาหรับข้อหา
ดังกล่าวแล้ว ศาลชัน้ ต้นจะต้องดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไปตามขัน้ ตอนในชัน้ พิจารณา ศาลอุทธรณ์ภาค 4 จึงไม่
คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร
-9-

่ ามีมลู แล้วขึน้ มาทบทวนและวินิจฉัยยกฟ้องข้อหาดังกล่าวในชัน้


มีอานาจหยิบยกข้อเท็จจริงในข้อหาทีศ่ าลชัน้ ต้นสังว่
ไต่สวนมูลฟ้องได้อกี
ฎ.6927/2557 แม้คดีอยูใ่ นชัน้ ไต่สวนมูลฟ้อง ศาลชัน้ ต้นก็ตอ้ งพิจารณาว่าคดีโจทก์มมี ลู พอทีจ่ ะประทับฟ้อง
หรือไม่ แต่เมื่อศาลเห็นว่าการกระทาของจาเลยไม่มมี ลู เป็ นความผิดก็ชอบที่จะวินิจฉัยและพิพากษายกฟ้องไปได้
เลยดังทีบ่ ญ
ั ญัตไิ ว้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 167 ซึง่ ศาลชัน้ ต้นได้ไต่สวนพยานหลักฐานโจทก์แล้ววินิจฉัยการกระทาของ
จาเลยทัง้ หกตามทีโ่ จทก์บรรยายฟ้องอันเป็ นประเด็นแห่งคดี โดยเห็นว่าจาเลยทัง้ หกไม่ได้กระทาความผิดตามฟ้อง
คดีโจทก์ไม่มมี ูลที่จะฟ้องร้องให้จาเลยทัง้ หกรับผิด จึงพิพากษายกฟ้องและยกคาขอส่วนแพ่ง จึงเป็ นกรณีตาม ป.
วิ.พ. มาตรา 131 (2) ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา 40 มิใช่คาสังไม่ ่ รบั คาฟ้องตาม ป.วิ.พ. มาตรา 18 ที่จะต้องคืนค่าขึน้
ศาลทัง้ หมดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 151 วรรคหนึ่ง
ฎ.3965/2553 การรับฟงั พยานหลักฐานในชัน้ ไต่สวนมูลฟ้องกับชัน้ พิจารณาแตกต่างกัน ชัน้ ไต่สวนมูลฟ้อง
เมื่อได้ขอ้ เท็จจริงครบองค์ประกอบความผิดทีฟ่ ้ องโดยไม่มขี อ้ พิรุธอันเป็ นทีป่ ระจักษ์ชดั ก็ฟงั ได้แล้วว่า คดีมมี ลู ตาม
ฟ้อง ส่วนข้อเท็จจริงทีไ่ ด้ความมาจะเป็ นความจริงหรือไม่เป็ นข้อที่จะต้องพิสูจน์กนั อีกชัน้ หนึ่งในชัน้ พิจารณา ซึง่ ใน
ชัน้ พิจารณาต้องฟงั พยานหลักฐานจนได้ความอันสิน้ สงสัยว่าข้อเท็จจริงทีไ่ ด้มานัน้ เป็ นความจริง จึงจะฟงั ได้ว่ามีการ
กระทาความผิดตามฟ้อง

มาตรา 170
ฎ.1664/2559 ส่วนคดีโจทก์สาหรับจาเลยที่ 3 โจทก์ฎีกาข้อกฎหมายว่า แม้ขอ้ เท็จจริงตามทางไต่สวนมูล
ฟ้องแตกต่างจากฟ้องก็มใิ ช่ขอ้ แตกต่างในสาระสาคัญและจาเลยมิได้หลงต่อสู้ ชัน้ ไต่สวนมูลฟ้องศาลมีอานาจใช้ ป.
วิ.อ. 192 ได้นนั ้ เมื่อข้อเท็จจริงตามทางไต่สวนมูลฟ้องฟงั ไม่ได้ว่าจาเลยที่ 3 กระทาความผิดฐานฉ้อโกง คดีจงึ ไม่ม ี
ข้อเท็จจริงที่จะนาไปสู่การวินิจฉัยข้อกฎหมายตามที่โจทก์ฎีกา ศาลฎีกาไม่รบั วินิจฉัยให้ แม้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา
170 บัญญัตวิ ่าคาสังของศาลที
่ ใ่ ห้คดีมมี ลู ย่อมเด็ดขาด ซึง่ หมายถึงคู่ความไม่อาจอุทธรณ์ฎกี าโต้แย้งคาสังศาลชั
่ น้ ต้น
ทีใ่ ห้คดีมมี ลู ได้ แต่หากคดีขน้ึ สู่การพิจารณาของศาลฎีกา และศาลฎีกาเห็นว่าการกระทาของจาเลยที่ 3 ตามทางไต่
สวนมูลฟ้องไม่เป็ นความผิดฐานฉ้อโกง ศาลต้องพิพากษายกฟ้องตาม ป.วิ.อ. มาตรา 185 วรรคหนึ่ง
ฎ.4932/2557 คดีทศ่ี าลชัน้ ต้นไต่สวนมูลฟ้องและมีคาสังว่
่ าคดีมมี ลู ให้ประทับรับฟ้องแล้ว คาสังดั
่ งกล่าวย่อม
เป็นเด็ดขาด ต้องให้ศาลชัน้ ต้นพิจารณาและพิพากษาต่อไปตามรูปคดี ทัง้ นี้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 170 วรรคหนึ่ง การ
ที่ศาลอุทธรณ์ หยิบยกขึ้นพิจารณาและวินิจฉัยในเนื้อหาแห่งคดีโดยมิให้ศาลชัน้ ต้นได้สบื พยานแล้วพิจารณาและ
พิพากษาเสียก่อนตามลาดับชัน้ ศาล ย่อมไม่มเี หตุอนั สมควรและไม่ถูกต้อง

------------------------------------------------

คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร


- 10 -

การพิจารณาในศาลชัน้ ต้น
มาตรา 172
บฟ้องคดีโจทก์ไว้พจิ ารณา ศาลชัน้ ต้นมีหน้ าที่อ่านและอธิบาย
ฎ.6007/2557 เมื่อศาลชัน้ ต้นมีคาสังประทั

ฟ้องให้จาเลยฟงั และถามว่าจาเลยกระทาความผิดหรือไม่ จะให้การต่อสูอ้ ย่างไรบ้าง ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 172 วรรค
สอง คดีน้โี จทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจาเลยฐานลักทรัพย์หรือรับของโจรฐานใดฐานหนึ่ง ศาลชัน้ ต้นอ่านและอธิบายฟ้อง
ให้จาเลยฟงั แล้ว จาเลยให้การรับสารภาพ ศาลชัน้ ต้นต้องสอบถามด้วยว่าจาเลยจะให้การรับสารภาพฐานลักทรัพย์
หรือรับของโจร แล้วพิพากษาลงโทษจาเลยในความผิดนัน้ แต่ ศาลชัน้ ต้นมิได้สอบถามให้ชดั แจ้งกลับพิพากษา
ลงโทษจาเลยในความผิดฐานลักทรัพย์ โดยไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าจาเลยให้การรับสารภาพในความผิดฐานดังกล่าว
การดาเนินกระบวนพิจารณาของศาลชัน้ ต้นในส่วนนี้จงึ ไม่ชอบ และมีผลให้กระบวนพิจารณาถัดมา ตลอดจนคา
พิพากษาศาลชัน้ ต้นและศาลอุทธรณ์ภาค 5 จึงไม่ชอบไปด้วย
ฎ.3865/2557 คดีน้ี เมื่อ ศาลชัน้ ต้ นมีค าสังประทั
่ บฟ้ องคดีโจทก์ไว้พ ิจารณา ศาลชัน้ ต้น มีห น้ าที่อ่ านและ
อธิบายฟ้องให้จาเลยฟงั และถามว่าจาเลยกระทาความผิดหรือไม่ จะให้การต่อสูอ้ ย่างไรบ้างตาม ป.วิ.อ. มาตรา 172
วรรคสอง คดีน้ีโจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจาเลยฐานลักทรัพย์หรือรับของโจรฐานใดฐานหนึ่ง ศาลชัน้ ต้นอ่านและอธิบาย
ฟ้องให้จาเลยฟงั แล้ว จาเลยให้การรับสารภาพ ศาลชัน้ ต้นก็ต้องสอบถามด้วยว่าจาเลยจะให้การรับสารภาพฐานลัก
ทรัพย์หรือรับของโจร แล้วพิพากษาลงโทษจาเลยในฐานความผิดนัน้ แต่ศาลชัน้ ต้นมิได้สอบถามให้ชดั แจ้งกลับ
พิพากษาลงโทษจาเลยฐานลักทรัพย์ โดยไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าจาเลยให้การรับสารภาพในฐานความผิดดังกล่าว
การดาเนินกระบวนพิจารณาของศาลชัน้ ต้นในส่วนนี้จงึ ไม่ชอบ และมีผลให้กระบวนพิจารณาถัดมาตลอดจ นค า
พิพากษาของศาลชัน้ ต้นและศาลอุทธรณ์ภาค 7 จึงไม่ชอบไปด้วย

มาตรา 173 ตรี


ฎ.11308/2556 การที่จะรับฟงั สื่อภาพและเสียงคาให้การชัน้ สอบสวนของพยานตาม ป.วิ.อ. มาตรา 133
ทวิ เสมือนหนึ่งเป็ นคาเบิกความของพยานในชัน้ พิจารณาของศาลตาม ป.วิ.อ. มาตรา 172 ตรี วรรคท้าย ได้นัน้
ต้องเป็ นกรณีทไ่ี ม่ได้ตวั พยานทีเ่ ป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปี มาเบิกความเพราะมีเหตุจาเป็นอย่างยิง่ คดีน้พี นักงาน
สอบสวนเบิกความว่าได้ส่งหมายเรียกไปยังพยานตามภูมลิ าเนาที่จงั หวัดกาแพงเพชร แต่ส่งไม่ได้เพราะพยานไป
ทางานที่ต่ างจังหวัด ต่ อ มาทราบว่าท างานที่ต าบลคลองมะเดื่อ อ าเภอกระทุ่ ม แบน จังหวัด สมุทรสาคร แต่ ไม่
สามารถสืบทราบได้ว่าทางานทีใ่ ด ปจั จุบนั จึงไม่สามารถติดต่อพยานมาเบิกความได้ เมือ่ พนักงานสอบสวนทราบว่า
พยานทางานทีต่ าบลคลองมะเดื่อ แสดงว่าพยานยังมีชวี ติ อยู่ การสืบหาทีอ่ ยู่ของพยานน่ าจะทาได้โดยไม่ยาก การที่
โจทก์ไม่นาพยานมาเบิกความจึงถือไม่ได้ว่ามีเหตุ จาเป็ นอย่างยิง่ จึงไม่อาจรับฟ งั สื่อภาพและเสียงคาให้การชัน้
สอบสวนของพยานเสมือนหนึ่งเป็นคาเบิกความในชัน้ พิจารณาของศาลได้
ฎ.6352/2555 โจทก์ไม่สามารถนาผู้เสียหายมาเบิกความต่อศาลได้ เนื่องจากผู้เสียหายย้ายที่อยู่หาตัวไม่พบ
คาให้การของผูเ้ สียหายในชัน้ สอบสวนแม้เป็ นพยานบอกเล่า แต่ผู้เสียหายได้ให้การต่อพนักงานสอบสวนโดยมีนัก

คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร


- 11 -

สังคมสงเคราะห์และพนักงานอัยการเข้าร่วมในการถามปากคาผู้เสียหายด้วย มีการบันทึกภาพและเสียงการถาม
ปากคาผูเ้ สียหายดังกล่าวออกถ่ายทอดได้อย่างต่อเนื่องไว้เป็นพยาน ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 133 ทวิ ซึง่ การทีไ่ ม่ได้ตวั
ผู้เสียหายมาเบิกความเพราะมีเหตุจาเป็ นอย่างยิง่ ศาลย่อมรับฟงั สื่อภาพและเสียงคาให้การของผู้เสียหายในชัน้
สอบสวนดังกล่าวได้เสมือนหนึ่งเป็ นคาเบิกความของผู้เสียหายในชัน้ พิจารณาของศาลประกอบพยานหลักฐานอื่น
ของโจทก์ได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 172 ตรี วรรคท้าย และมาตรา 226/3 วรรคสอง (2)

มาตรา 173
ฎ.8287/2559 เจตนารมณ์ของ ป.วิ.อ. มาตรา 173 วรรคสอง เพื่อให้จาเลยมีทนายความช่วยเหลือในการ
ต่อสูค้ ดีทม่ี อี ตั ราโทษจาคุก แม้ปรากฏว่าก่อนศาลชัน้ ต้ นอ่านและอธิ บายฟ้ องให้ จาเลยฟั งและสอบคาให้ การ
จาเลย ศาลชัน้ ต้ นไม่ได้ ถามจาเลยว่ ามีทนายความหรือไม่ แต่ ในวันนั ดฟั งคาพิ พากษา จาเลยได้ แต่ งตัง้
ทนายความ และทนายจาเลยก็ได้ทาหน้ าที่ ทนายจาเลยตลอดมาจนศาลชัน้ ต้นมีคาพิ พากษาโดยไม่ปรากฏ
ว่ าจาเลยเสี ยเปรีย บในเชิ งคดี ทัง้ จาเลยก็มิได้ เปลี่ ย นแปลงค าให้ การของจาเลยแต่ ประการใด ถือ ได้ว่า
จาเลยยังคงให้การรับสารภาพ คดีจงึ ไม่มเี หตุจาเป็นต้องย้อนสานวนไปให้ศาลชัน้ ต้นสอบจาเลยเรือ่ งทนายความ
ฎ.10744/2559 คดีมอี ตั ราโทษจาคุก ก่อนศาลชัน้ ต้นสอบถามคาให้การของจาเลยที่ 1 ศาลชัน้ ต้นได้ถาม
จาเลยที่ 1 ว่า จาเลยที่ 1 มีทนายความและต้องการทนายความหรือไม่ จาเลยที่ 1 แถลงว่าไม่มแี ละไม่ต้องการ
ทนายความ แล้วให้การรับสารภาพ การดาเนินกระบวนพิจารณาของศาลชัน้ ต้นในขัน้ ตอนสอบถามคาให้การของ
จาเลยที่ 1 ชอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 173 วรรคสองแล้ว
ฎ.4923/2557 บทบัญญัตเิ รื่องละเมิดอานาจศาลเป็ นกฎหมายพิเศษที่ศาลมีอานาจค้นหาความจริงได้โดย
การไต่สวนและไม่จาต้องกระทาต่อหน้าจาเลยดังเช่นการพิจารณาคดีอาญาทัวไป ่ จึงไม่อาจนาประมวลกฎหมายวิธ ี
พิจารณาความอาญา มาตรา 173 วรรคสอง มาใช้บงั คับได้ ศาลไม่จาต้องสอบถามผูถ้ ูกกล่าวหาในคดีละเมิดอานาจ
ศาลเรื่องทนายความและตัง้ ทนายความให้ แม้ศาลชัน้ ต้นจะแต่งตัง้ ผูร้ อ้ งให้เป็ นทนายความของผูถ้ ูกกล่าวหาทัง้ สาม
และผู้รอ้ งได้ทาหน้าที่ทนายความให้แก่ผู้ถูกกล่าวหาจนศาลชัน้ ต้นมีคาสัง่ ก็ไม่มผี ลกระทบต่อการไต่สวนคดีของ
ศาลชัน้ ต้นทีด่ าเนินการโดยชอบด้วยกฎหมาย
ไม่มบี ทบัญญัตขิ องกฎหมายใดให้ศาลชัน้ ต้นตัง้ ทนายความให้แ ก่ผถู้ ูกกล่าวหาในคดีละเมิดอานาจศาล และ
คณะกรรมการบริหารศาลยุตธิ รรมไม่ได้ออกระเบียบให้ทนายความของผูถ้ ูกกล่าวหาในคดีละเมิดอานาจศาลมีสทิ ธิ
ได้รบั เงินรางวัลและค่าใช้จ่าย ผู้รอ้ งซึ่งศาลชัน้ ต้นขอแรงให้เป็ นทนายความของผู้ถูกกล่าวหาทัง้ สามในคดีละเมิด
อานาจศาลไม่มสี ทิ ธิได้รบั ค่าทนายความ ตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา 173 วรรคสาม
ฎ.2840/2555 ป.วิ.อ. มาตรา 173 วรรคหนึ่ง บัญ ญัติว่า “ในคดีท่ีมอี ัต ราโทษประหารชีว ิต หรือ ในคดีท่ี
จาเลยมีอายุไม่เกินสิบแปดปี ในวันทีถ่ ูกฟ้องต่อศาล ก่อนเริม่ พิจารณาให้ศาลถามจาเลยว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้า
ไม่มกี ็ให้ศาลตัง้ ทนายความให้” และวรรคสอง บัญญัตวิ ่า “ในคดีท่มี อี ตั ราโทษจาคุก ก่อนเริม่ พิจารณาให้ศาลถาม
จาเลยว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้าไม่มแี ละจาเลยต้องการทนายความ ก็ให้ศาลตัง้ ทนายความให้ ” บทบัญญัตดิ งั กล่าว
มีเจตนารมณ์เพื่อให้จาเลยมีทนายความช่วยเหลือในการต่อสูค้ ดีทเ่ี ป็ นความผิดอุกฉกรรจ์มอี ตั ราโทษประหารชีวติ
หรือจาคุก อันเป็ นการเปิ ดโอกาสให้จาเลยสามารถต่อสูค้ ดีได้อย่างเต็มที่ แม้การริบทรัพย์เป็ นโทษทางอาญาอย่าง
คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร
- 12 -

หนึ่งตาม ป.อ. มาตรา 18 และผูค้ ดั ค้านได้รบั ความช่วยเหลือทางคดีจากผูข้ อรับเงินรางวัลทนายความดัง ทีผ่ ู้ขอรับ


เงินรางวัลทนายความฎีกาก็ตาม แต่โทษดังกล่าวก็มใิ ช่โทษประหารชีวติ หรือจาคุกตามที่ระบุไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา
173 วรรคหนึ่งและวรรคสอง กรณีจงึ ไม่สามารถนาบทบัญญัตดิ งั กล่าวมาเทียบเคียงเพื่อจ่ายเงินรางวัลทนายความ
ให้แก่ผู้ขอรับเงินรางวัลทนายความในคดีซง่ึ ผู้ร้องขอให้รบิ ทรัพย์สนิ ของผูค้ ดั ค้านให้มาเป็ นของกองทุนป้องกันและ
ปราบปรามยาเสพติดตาม พ.ร.บ.มาตรการในการปราบปรามผู้กระทาความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ.2534 ได้
เมื่อ พระราชบัญ ญัติด ังกล่ าวไม่มบี ทบัญ ญัติให้ศ าลตัง้ ทนายความให้แก่ ผู้ค ดั ค้านกับให้ศ าลจ่ายเงิน รางวัล และ
ค่าใช้จา่ ยแก่ทนายความทีศ่ าลตัง้ ผูข้ อรับเงินรางวัลทนายความจึงไม่มสี ทิ ธิขอรับเงินรางวัลทนายความได้

มาตรา 173/1 - 173/2


ฎ.9769/2556 การทีศ่ าลกาหนดให้มกี ารนัดตรวจพยานหลักฐานก่อนวันที่จะมีการสืบพยานกันจริง ๆ เป็ น
กระบวนการเพื่อให้การดาเนินคดีมคี วามพร้อมมิได้มผี ลถึงกับทาให้กระบวนพิจารณารับฟงั ไม่ได้ ส่วนเอกสารที่
จาเลยอ้างว่าโจทก์นาเสนอต่อศาลโดยไม่ปรากฏชื่อ ทีอ่ ยู่ของพยานนัน้ โจทก์ได้ให้รายละเอียดเกีย่ วกับชื่อและทีอ่ ยู่
ของพยานบางคน และสถานทีท่ พ่ี ยานบางคนรับราชการอยู่ซง่ึ มีความละเอียดเพียงพอให้รวู้ ่าเป็นบุคคลใดบ้าง และ
พยานบางอันดับ ก็เป็ นบันทึก ค าให้ก ารของพยาน ซึ่งโจทก์ไม่จาต้อ งให้จาเลยตรวจหรือคัดสาเนาเอกสารก่ อ น
สืบพยาน ทัง้ การไม่ได้ปฏิบตั ดิ งั กล่าวของโจทก์ก็มไิ ด้ทาให้จาเลยเสียโอกาสในการต่อสู้คดีแต่อย่างใด นอกจากนี้
ศาลชัน้ ต้นก็ได้อนุ ญาตให้จาเลยคัดสาเนาเอกสารได้ตามทีข่ อโดยตลอด ศาลชัน้ ต้นจึงมีอานาจในการรับฟงั พยาน
เอกสารดังกล่าวของโจทก์ได้ เมือ่ จาเลยนาสืบปฏิเสธโดยอ้างฐานทีอ่ ยูล่ อย ๆ โดยไม่มพี ยานบุคคลซึง่ มิได้ให้การไว้
ในชัน้ สอบสวนมาเบิกความเป็ นพยาน พยานหลักฐานของจาเลยจึงไม่มนี ้ าหนักรับฟงั หักล้างพยานหลักฐานของ
โจทก์ได้ พยานหลัก ฐานของโจทก์ มนี ้ าหนั ก มันคงรั
่ บ ฟ งั ได้ว่ า จาเลยกระท าความผิด ฐานร่ว มกัน ฆ่ าผู้อ่ ืน โดย
ไตร่ตรองไว้ก่อน
ฎ.18520/2555 ในวันตรวจพยานหลักฐาน ศาลบันทึกไว้เพียงว่า เอกสารดังกล่าวให้ทนายจาเลยดูแล้วโดย
ไม่ปรากฏว่าทนายจาเลยแถลงรับข้อเท็จจริงตามเอกสารหมาย จ. 10 ว่าจาเลยไม่เคยได้รบั ใบอนุ ญาตให้มแี ละใช้
อาวุธปื น คงแถลงรับข้อเท็จจริงว่าพันตารวจโท ป. เป็ นพนักงานสอบสวนจริงและทาการสอบสวนโดยชอบเท่านัน้
ดังนัน้ จาเลยจึงมิได้แถลงรับข้อเท็จจริงว่า จาเลยไม่เคยได้รบั ใบอนุ ญาตให้มแี ละใช้อาวุธปื น เมื่อโจทก์ไม่นาสืบให้
เห็นว่าจาเลยไม่เคยได้รบั ใบอนุ ญาตให้มแี ละใช้อาวุธปื นตามฟ้อง พยานหลักฐานโจทก์จงึ ฟงั ไม่ได้ว่าจาเลยกระทา
ความผิดต่อ พ.ร.บ.อาวุธปืน เครือ่ งกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิง่ เทียมอาวุธปืน พ.ศ.2490
ฎ.10328/2555 วิธพี ิจารณาในข้อที่เกี่ยวกับการยื่นบัญ ชีระบุพยานในคดีอาญานัน้ ป.วิ.อ. ได้บญ
ั ญัติไว้
โดยเฉพาะในมาตรา 173/1, 173/2 และ 240 แล้ว โดยมีเจตนารมณ์ไม่เน้นบังคับให้โจทก์ต้องระบุช่อื เอกสารแต่ละ
ฉบับหรือชื่อวัตถุแต่ละอันทีอ่ ยูใ่ นสานวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวนไว้ในบัญชีระบุพยาน เพราะในคดีอาญา
ทีจ่ าเลยไม่ให้การหรือให้การปฏิเสธ กฎหมายมีมาตรการให้มกี ารตรวจพยานหลักฐานโดยให้โจทก์ส่งเอกสารและ
วัตถุทโ่ี จทก์จะอ้างเป็ นพยานให้อกี ฝ่ายตรวจสอบตามทีค่ ่คู วามร้องขอหรือศาลเห็นสมควรก่อนสืบพยานโจทก์ โดยมี
วัตถุประสงค์ให้การพิจารณาเป็ นไปด้วยความรวดเร็วต่อเนื่องและเป็ นธรรม ซึ่งศาลมีอานาจที่จะกาหนดให้มวี นั
ตรวจพยานหลักฐานก่อนกาหนดวันนัดสืบพยานหรือไม่กไ็ ด้ โดยคานึงถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายดังกล่าว กรณีจงึ

คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร


- 13 -

ไม่จาต้องใช้ ป.วิ.พ. เรื่องการยื่นบัญชีระบุพยานในคดีแพ่งมาใช้บงั คับในคดีอาญานี้ตามนัยแห่ง ป.วิ.อ. มาตรา 15


ดังนัน้ ที่โจทก์อ้างบัญ ชีระบุพ ยานโจทก์ซ่งึ ไม่ใช่พ ยานบุค คลว่ า “สรรพเอกสารและวัตถุพ ยานของกลางใน
สานวนการสอบสวนคดีนี้” ก็เป็นการยืน่ บัญชีระบุพยานโจทก์โดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว

มาตรา 176
่ โจทก์ฟ้ องจาเลยที่ 2 เข้ามาใหม่ โดยให้จาหน่ ายคดีชวคราวเฉพาะ
ฎ.8286/2559 ศาลชัน้ ต้นมีค าสังให้ ั่
จาเลยที่ 2 และจาหน่ายคดีเด็ดขาดเมื่อโจทก์ฟ้องหรือไม่ฟ้องภายในเวลาทีศ่ าลกาหนด จึงไม่มคี ดีของจาเลยที่ 2 ใน
ระหว่างพิจารณาที่จาเลยที่ 2 จะอุทธรณ์คาสังขอให้
่ รวมการพิจารณาคดี คาสังขอขยายระยะเวลาอุ
่ ทธรณ์ หรือคา
พิพากษาของศาลชัน้ ต้นได้ จาเลยที่ 2 จึงไม่มสี ทิ ธิอุทธรณ์ คาสังและค
่ าพิพากษาดังกล่าว การที่ศ าลชัน้ ต้นสังรั
่ บ
อุทธรณ์ ของจาเลยที่ 2 และศาลอุทธรณ์ ภาค 6 วินิจฉัยอุทธรณ์ของจาเลยที่ 2 จึงเป็ นการไม่ชอบ และไม่ก่อสิทธิ
ให้แก่จาเลยที่ 2 ทีจ่ ะฎีกา
ฎ.4526/2559 โจทก์ไม่ได้นาสืบให้เห็นว่าองค์เทพเจ้ากิมอ้วงเอีย๊ ะ องค์เทพเจ้าเตียงง่วยส่วย องค์เทพซาไซ
ส่วยพร้อมอุปกรณ์เป็ นวัตถุในทางศาสนาพุทธหรือศาสนาใด เพราะเหตุใด และมีความเกี่ยวข้องกับทางศาสนาพุทธ
หรือศาสนาใด เพราะเหตุใด อย่างไร จึงรับฟงั ไม่ได้ว่าองค์เทพเจ้าทัง้ สามองค์พร้อมอุปกรณ์เป็ นวัตถุในทางศาสนา
แม้จาเลยที่ 1 ให้การรับสารภาพในความผิดฐานรับของโจรตามฟ้อง แต่ความผิดฐานรับของโจรโดยมีเหตุฉกรรจ์
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 357 วรรคสาม กฎหมายกาหนดอัตราโทษอย่างต่ าไว้ให้จาคุกตัง้ แต่หา้ ปีขน้ึ ไป
ศาลต้ อ งฟ งั พยานหลัก ฐานโจทก์ จนกว่ าจะพอใจว่ าจ าเลยที่ 1 ได้ก ระท าผิด จริงจึงจะลงโทษได้ ตามประมวล
กฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา 176 วรรคหนึ่ง เมื่อข้อเท็จจริงรับฟงั ไม่ได้ว่า องค์เทพเจ้าทัง้ สามพร้อม
อุปกรณ์เป็ นวัตถุในทางศาสนาแล้ว ย่อมไม่อาจลงโทษจาเลยที่ 1 ในความผิดฐานรับของโจรโดยมีเหตุฉกรรจ์ ตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 357 วรรคสาม ได้
ฎ.1231/2559 ในการสืบพยานโจทก์ป ระกอบกับค ารับ สารภาพของจาเลย ศาลต้ อ งรับ ฟ งั พยานโจทก์
จนกว่าจะพอใจว่าจาเลยได้กระทาความผิดจริง ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 176 วรรคหนึ่ง เมื่ออุทธรณ์ของจาเลยเป็ นการ
โต้แย้งคาพิพากษาศาลชัน้ ต้นว่า พยานโจทก์ท่นี าสืบประกอบคารับสารภาพของจาเลยไม่มนี ้ าหนักรับฟงั ลงโทษ
จาเลยในความผิดฐานพยายามฆ่าผู้อ่นื ดังที่ศาลชัน้ ต้นวินิจฉัย จึงเป็ นอุทธรณ์ ในปญั หาข้อเท็จจริงที่ยกขึ้นว่ากัน
มาแล้วโดยชอบในศาลชัน้ ต้น หาใช่เป็นการยกข้อเท็จจริงขึน้ ใหม่ในชัน้ อุทธรณ์ ซึง่ ต้องห้ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 225
วรรคหนึ่ง ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา 15 ไม่ จาเลยจึงอุทธรณ์คาพิพากษาศาลชัน้ ต้นในความผิดดังกล่ าวได้
ฎ.12681/2558 โจทก์บรรยายฟ้องว่า จาเลยลักสร้อยคอทองคาหนัก 3 บาท 1 เส้น พร้อมพระสมเด็จหลวง
พ่อโสธร 1 องค์ ของ อ. ผู้เสียหายไป โดยใช้รถจักรยานยนต์เป็ นยานพาหนะเพื่อสะดวกแก่การกระทาผิด การพา
ทรัพย์นนั ้ ไป และเพื่อให้พน้ การจับกุม ขอให้ลงโทษตาม ป.อ. มาตรา 335, 336 ทวิ ซึง่ ข้อหาความผิดตามฟ้องมิใช่
เป็ นคดีทม่ี อี ตั ราโทษอย่างต่ าจาคุกตัง้ แต่หา้ ปีขน้ึ ไปหรือโทษสถานทีห่ นักกว่านัน้ เมื่อศาลชัน้ ต้นสอบคาให้การ และ
จาเลยให้การรับสารภาพตามฟ้องโจทก์ทุกประการ ศาลชัน้ ต้นย่อมพิพากษาโดยไม่สบื พยานหลักฐานต่อไปได้ตาม
ป.วิ.อ. มาตรา 176 วรรคหนึ่ง และข้อเท็จจริงย่อมรับฟงั เป็ นยุตไิ ด้ว่า จาเลยกระทาความผิดฐานลักทรัพย์โดยใช้
รถจักรยานยนต์เป็ นยานพาหนะเพื่อสะดวกแก่การกระทาผิด การพาทรัพย์นัน้ ไปและเพื่อให้พ้นการจับกุม ศาล
คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร
- 14 -

อุทธรณ์ภาค 2 จะยกเอาข้อเท็จจริงตามคาร้องขอฝากขังผูต้ ้องหาครัง้ ที่ 1 ลงวัน ที่ 15 มีนาคม 2557 มาฟงั ว่าจาเลย
ใช้ยานพาหนะในการเดินทางไปมาเท่านัน้ มิใช่ใช้ยานพาหนะเพื่อสะดวกแก่การกระทาผิดหรือการพาทรัพย์นนั ้ ไป
มาเป็ นเหตุยกฟ้องในความผิดตาม ป.อ. มาตรา 336 ทวิ หาได้ไม่
ฎ.3701/2558 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจาเลยในความผิดตาม ป.อ. มาตรา 313 วรรคแรก ต้องระวางโทษ
จาคุกตัง้ แต่ 15 ถึง 20 ปี และปรับตัง้ แต่สามหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือจาคุกตลอดชีวติ หรือประหารชีวติ เมื่อ
จาเลยให้การรับสารภาพ โจทก์มหี น้ าที่ต้องนาพยานหลักฐานมาสืบประกอบคาให้การรับสารภาพเพื่อพิสูจน์ ว่า
จาเลยได้กระทาความผิดฐานเพื่อให้ได้มาซึ่งค่าไถ่ตามฟ้อง และศาลจะต้องฟ้องพยานหลักของโจทก์จนกว่าจะพอใจ
ว่ า จ าเลยกระท าความผิ ด ฐานเพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ค่ า ไถ่ ต ามฟ้ องจริง จึง จะลงโทษได้ เมื่อ ศาลชัน้ ต้ น พิ จ ารณา
พยานหลักฐานทีโ่ จทก์นาสืบและพิพากษาลงโทษจาเลยฐานเพื่อให้ได้มาซึง่ ค่าไถ่ตามฟ้อง จาเลยอุทธรณ์ว่า จาเลย
ไม่มเี จตนาเพื่อให้ได้มาซึ่งค่าไถ่ เท่ ากับอ้างว่าข้อเท็จจริงตามพยานหลักฐานของโจทก์ท่นี าสืบฟงั ไม่ได้ว่าจาเลย
กระทาความผิดฐานเพื่อให้ได้มาซึง่ ค่าไถ่ มิใช่เป็ นการยกข้อเท็จจริงใหม่ในชัน้ อุทธรณ์ ซึง่ เป็ นข้อทีม่ ไิ ด้ยกขึน้ ว่ากัน
มาแล้วโดยชอบในศาลชัน้ ต้นตาม ป.วิ.พ. มาตรา 225 วรรคหนึ่ง ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา 15 การที่ศาลอุทธรณ์
ภาค 5 ไม่วนิ ิจฉัยอุทธรณ์ของจาเลยจึงไม่ชอบ
บฟ้องคดีโจทก์ไว้พจิ ารณา ศาลชัน้ ต้นมีหน้ าที่อ่านและอธิบาย
*ฎ.6007/2557 เมื่อศาลชัน้ ต้นมีคาสังประทั

ฟ้องให้จาเลยฟงั และถามว่าจาเลยกระทาความผิดหรือไม่ จะให้การต่อสูอ้ ย่างไรบ้าง ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 172 วรรค
สอง คดีน้โี จทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจาเลยฐานลักทรัพย์หรือรับของโจรฐานใดฐานหนึ่ง ศาลชัน้ ต้นอ่านและอธิบายฟ้อง
ให้จาเลยฟงั แล้ว จาเลยให้การรับสารภาพ ศาลชัน้ ต้นต้องสอบถามด้วยว่าจาเลยจะให้การรับสารภาพฐานลักทรัพย์
หรือรับของโจร แล้วพิพากษาลงโทษจาเลยในความผิดนัน้ แต่ ศาลชัน้ ต้นมิได้สอบถามให้ชดั แจ้งกลับพิพากษา
ลงโทษจาเลยในความผิดฐานลักทรัพย์ โดยไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าจาเลยให้การรับสารภาพในความผิดฐานดังกล่าว
การดาเนินกระบวนพิจารณาของศาลชัน้ ต้นในส่วนนี้จงึ ไม่ชอบ และมีผลให้กระบวนพิจารณาถั ดมา ตลอดจนคา
พิพากษาศาลชัน้ ต้นและศาลอุทธรณ์ภาค 5 จึงไม่ชอบไปด้วย
ฎ.3865/2557 คดีน้ี เมื่อ ศาลชัน้ ต้ นมีค าสังประทั
่ บฟ้ องคดีโจทก์ไว้พ ิจารณา ศาลชัน้ ต้น มีห น้ าที่อ่ านและ
อธิบายฟ้องให้จาเลยฟงั และถามว่าจาเลยกระทาความผิดหรือไม่ จะให้การต่อสูอ้ ย่างไรบ้างตาม ป.วิ.อ. มาตรา 172
วรรคสอง คดีน้ีโจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจาเลยฐานลักทรัพย์หรือรับของโจรฐานใดฐานหนึ่ง ศาลชัน้ ต้นอ่านและอธิบาย
ฟ้องให้จาเลยฟงั แล้ว จาเลยให้การรับสารภาพ ศาลชัน้ ต้นก็ต้องสอบถามด้วยว่าจาเลยจะให้การรับสารภาพฐานลัก
ทรัพย์หรือรับของโจร แล้วพิพากษาลงโทษจาเลยในฐานความผิดนัน้ แต่ศาลชัน้ ต้นมิได้สอบถามให้ชดั แจ้งกลับ
พิพากษาลงโทษจาเลยฐานลักทรัพย์ โดยไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าจาเลยให้การรับสารภาพในฐานความผิดดังกล่าว
การดาเนินกระบวนพิจารณาของศาลชัน้ ต้นในส่วนนี้จงึ ไม่ชอบ และมีผลให้กระบวนพิจารณาถัดมาตลอดจนค า
พิพากษาของศาลชัน้ ต้นและศาลอุทธรณ์ภาค 7 จึงไม่ชอบไปด้วย
ฎ.7735/2557 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจาเลยในข้อหาความผิดฐานร่วมกันลักทรัพย์ในเวลากลางคืนและใน
เคหสถานหรือรับของโจรฐานใดฐานหนึ่ง ศาลชัน้ ต้นอ่านและอธิบายฟ้องให้จาเลยฟงั แล้ว จาเลยให้การรับสารภาพ
ตามฟ้อง แต่ศาลชัน้ ต้นมิได้สอบถามคาให้การของจาเลยให้ชดั เจนว่าจะให้การรับสารภาพในข้อหาใดข้อหาหนึ่ง
กลับพิพ ากษาลงโทษจาเลยในความผิดฐานลักทรัพย์ในเวลากลางคืนและในเคหสถาน โดยไม่ปรากฏแน่ ชดั ว่า
คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร
- 15 -

จาเลยให้การรับสารภาพในข้อหาดังกล่าว จึงเป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธ ี


พิจารณาความอาญา มาตรา 172 วรรคสอง และมีผลให้กระบวนพิจารณาต่อไปตลอดจนคาพิพากษาศาลชัน้ ต้นและ
ศาลอุทธรณ์ ภาค 7 ไม่ชอบ ศาลฎีกาพิพ ากษายกคาพิพากษาศาลชัน้ ต้นและศาลอุทธรณ์ ภาค 7 ให้ศาลชัน้ ต้น
ดาเนินกระบวนพิจารณาตัง้ แต่สอบคาให้การจาเลยแล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี
ฎ.8165/2557 ข้อเท็จจริงที่ว่า จาเลยเป็ นบุคคลคนเดียวกับจาเลยในคดีอาญาหมายเลขแดงที่โจทก์ขอให้
นับโทษต่อของศาลชัน้ ต้น เป็ นข้อเท็จจริงต่างหากจากที่โจทก์บรรยายว่าการกระทาของจาเลยเป็ นความผิด และ
เป็ นข้อเท็จจริงที่โจทก์มหี น้ าที่นาสืบให้ปรากฏ เมื่อศาลชัน้ ต้นอ่านและอธิบายฟ้องให้จาเลยฟงั จาเลยให้ การรับ
สารภาพตามฟ้ องโจทก์ตลอดข้อกล่าวหา ซึ่งเป็ นการรับสารภาพว่าได้กระทาความผิดตามฟ้ องเท่านัน้ มิ ได้
ให้ การรับด้วยว่าเป็ นบุคคลคนเดียวกับจาเลยในคดีที่โจทก์ขอให้นับโทษต่ อ ถือไม่ได้ว่าจาเลยให้ การรับใน
เรื่องนับโทษต่ อ เมื่อโจทก์ไม่ได้นาสืบให้ปรากฏเช่นนัน้ ข้อเท็จจริงฟงั ไม่ได้ว่าจาเลยเป็ นบุคคลคนเดียวกับจาเลย
ในคดีทโ่ี จทก์ขอให้นบั โทษต่อ ดังนี้ นับโทษต่อไม่ได้
ฎ.9155/2556 ข้อเท็จจริงที่ว่าจาเลยทัง้ สามเป็ นบุคคลเดียวกับจาเลยในคดีอาญาที่โจทก์ขอให้นับโทษต่อ
เป็ น ข้อ เท็จจริงต่ างหากจากข้อ เท็จจริงที่โจทก์บ รรยายว่า การกระท าของจาเลยทัง้ สามเป็ น ความผิดและเป็ น
ข้อเท็จจริงที่โจทก์มหี น้าทีน่ าสืบให้ปรากฏ เมื่อจาเลยทัง้ สามให้การรับสารภาพตามฟ้ องโจทก์ทุกประการ ซึ่ ง
เป็ นรับสารภาพว่าได้กระทาความผิดตามฟ้ อง มิ ได้ให้ การรับด้วยว่าเป็ นบุคคลคนเดียวกับจาเลยทัง้ สามใน
คดี ที่ โจทก์ขอให้ นับโทษต่ อ จึงยังถือว่าไม่ได้ ว่าจาเลยทัง้ สามรับในเรื่องการนั บโทษต่ อ ต้องยกคาขอของ
โจทก์ทข่ี อให้นบั โทษต่อ

-------------------------------------------------------

คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร


- 16 -

คาพิพากษาและคาสัง่
มาตรา 186 (9)
ฎ.12797/2558 ตามบันทึกการตรวจยึดและบัญ ชีของกลางคดีอาญาระบุว่า ป้ายผ้าผืนแรกมีข้อความว่า
“ที่ดินคนไทย ทาไมให้ต่ างชาติทากิน ” ผืนที่สองมีข้อความว่า “แผ่ นดินไทยแต่ค นไทยไม่มที ่ที ากิน ต้องยกเลิก
สัญญา” ส่วนไม้กระดานอัดแผ่นแรกเขียนข้อความเกี่ยวกับระเบียบการเข้ามาอยู่ในที่ดนิ ที่เกิดเหตุและแผ่นที่สอง
เขียนข้อความเกี่ยวกับค่าสมัครสมาชิก แม้ป้ายผ้าและไม้กระดานอัดซึง่ มีขอ้ ความดังกล่าวแขวนหรือติดไว้ในทีเ่ กิด
เหตุ แต่ป้ายผ้าและไม้กระดานอัดไม่ใช่ทรัพย์สนิ ทีบ่ ุคคลได้ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ในการกระทาความผิดในคดีน้ีโดยตรง
จึงริบทรัพย์สนิ ดังกล่าวไม่ได้ ที่ศาลล่างทัง้ สองมีคาพิพากษาให้ร ิ บทรัพย์สนิ ไม่ต้องด้วยความเห็นของศาลฎีกา
ปญั หาดังกล่าวเป็ นข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย แม้ไม่มคี ู่ความฝ่ายใดฎีกา ศาลฎีกามีอานาจยกขึน้
วินิจฉัยและแก้ไขให้ถูกต้องได้ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225 เมื่อไม่รบิ ทรัพย์สนิ ดังกล่าว
จึงต้องคืน แก่ เจ้าของ แม้โจทก์มไิ ด้มคี าขอมาก็ต าม ศาลฎีกามีอานาจสังคื ่ นของกลางแก่ เจ้าของได้ตาม ป.วิ.อ.
มาตรา 49 ประกอบมาตรา 186 (9)
ฎ.22121/2555 คดีน้ี โจทก์ ไม่ ได้บ รรยายฟ้ องว่ า ยึด สร้อ ยคอทองค าหนั ก 2 บาท เป็ น ของกลาง แม้จ ะ
ปรากฏตามบัญชีของกลางคดีอาญาว่า เจ้าพนักงานตารวจยึดสร้อยคอทองคาหนัก 2 บาท มาด้วยก็ตาม เมื่อศาล
มิได้สงริ
ั ่ บ ศาลฎีกามีอานาจสังคื
่ นของกลางแก่เจ้าของได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 49 และมาตรา 186 (9)

มาตรา 192
ฎ.697/2560 คาฟ้องของโจทก์บรรยายว่า จาเลยกระทาความผิดหลายกรรมต่างกรรม คือ ชิงทรัพย์กรรม
หนึ่งแล้วจึงทาร้ายร่างกายผูเ้ สียหายอีกกรรมหนึ่ง โจทก์หาได้บรรยายคาฟ้องว่า จาเลยชิงทรัพย์ผู้เสียหายเป็ นเหตุ
ให้ผูเ้ สียหายรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจไม่ คาฟ้องของโจทก์เพียงแต่บรรยายว่าจาเลยชิงทรัพย์ของผูเ้ สียหายโดย
มีอาวุธ อันเป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 339 วรรคสอง เท่านัน้ จึงลงโทษจาเลยตาม ป.อ. มาตรา 339 วรรคสาม
ไม่ได้ เพราะเป็ นเรื่องที่โจทก์มไิ ด้กล่าวในฟ้ อง ไม่ชอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคหนึ่ง ที่ศาลอุทธรณ์ ภาค 9
พิพากษายืนตามศาลชัน้ ต้นว่าจาเลยมีความผิดตาม ป.อ. มาตรา 339 วรรคสาม ประกอบมาตรา 340 ตรี และวาง
โทษตามมาตราดังกล่าว จึงยังไม่ถูกต้อง
ฎ.218/2560 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษตาม ป.อ. มาตรา 288 แม้ศาลชัน้ ต้นฟงั ว่า การกระทาของจาเลยเป็ น
ความผิดฐานเป็ นผู้สนับสนุ นให้ผู้อ่นื กระทาความผิดตาม ป.อ. มาตรา 297 (8) โดยไตร่ตรองไว้ก่อนก็ไม่อาจปรับ
บทลงโทษจาเลยตาม ป.อ. มาตรา 298 ได้ เพราะตามคาฟ้องของโจทก์ไม่ได้กล่าวหาว่าจาเลยกับพวกกระทาโดย
ไตร่ตรอง ทัง้ ไม่มบี ทขอให้ลงโทษในคาขอท้ายฟ้อง การทีศ่ าลชัน้ ต้นพิพากษาลงโทษจาเลยตาม ป.อ. มาตรา 298
เป็นการพิพากษาเกินคาขอ ต้องห้ามตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคหนึ่ง
ฎ.9425/2559 โจทก์ฟ้องว่าบริษทั ช. จากัด เป็ นนายจ้าของจาเลยและเป็นเจ้าของเงินทีจ่ าเลยลักไป และ
ข้อเท็จจริงปรากฏตามคาร้องขอชีแ้ จ้งถึงความเป็ นผูเ้ สียหายในคดีของบริษทั ส. ว่า บริษทั ส. เป็นนายจ้างขอจาเลย
คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร
- 17 -

และเป็ นเจ้าของเงินทีจ่ าเลยลักไปก็ตาม แต่ตามลักษณะของความผิดฐานลักทรัพย์จะต้องเป็ นทรัพย์ของผู้อ่นื เมื่อ


กฎหมายมิได้บงั คับเด็ดขาดว่าต้อ งระบุช่อื เจ้าของทรัพย์เสมอไป เช่นในกรณีท่ไี ม่อ าจทราบตัวเจ้าของทรัพย์ท่ี
แน่ นอนได้ ข้อเท็จจริงตามทีป่ รากฏในชัน้ อุทธรณ์ว่า บริษทั ส. เป็ นนายจ้างของจาเลยและเป็ นเจ้าของเงินทีจ่ าเลย
ลักไป แตกต่ างจากข้อ เท็จจริงที่กล่ าวในฟ้ อง จึงเป็ นเพียงรายละเอียด มิใช่ข้อแตกต่างในข้อสาสาระสาคัญ ทัง้
จาเลยให้การรับสารภาพ แสดงว่าจาเลยมิได้หลงต่อสู้ ศาลจึงลงโทษจาเลยตามข้อเท็จจริงทีไ่ ด้ความได้ ตาม ป.วิ.อ.
มาตร 192 วรรคสอง
ฎ.8832/2559 การทีจ่ าเลยที่ 1 และที่ 3 เข้าไปด่าโจทก์ในบริเวณบ้านของโจทก์ ยังถือไม่ได้ว่าเป็นการครอบครอง
อสังหาริมทรัพย์ของโจทก์ทงั ้ หมดหรือแต่บางส่วน หรือเป็ นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของโจทก์
โดยปกติสุข จึงไม่เป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 362 แต่การที่จาเลยที่ 1 และที่ 3 เข้าไปในบริเวณบ้านอันเป็ น
เคหสถานของโจทก์เพื่อด่าโจทก์ดว้ ยถ้อยคาหยาบคาย เป็ นการเข้าไปในเคหสถานของโจทก์โดยไม่มเี หตุอนั สมควร
จึงเป็ นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 364 แม้โจทก์ไม่ได้อ้างมาตรา 364 แต่ ได้บรรยายฟ้องเกี่ยวกับการกระทาของ
จาเลยที่ 1 และที่ 3 มีขอ้ ความอันเป็ นความผิดตามมาตรา 364 เมื่อข้อเท็จจริงฟงั ได้เช่นนี้ศาลจึงมีอานาจลงโทษ
จาเลยที่ 1 และที่ 3 ตามมาตรา 364 และบทฉกรรจ์ ตามมาตรา 365 (2) ได้ ทัง้ ไม่ใช่เป็ นเรื่องทีโ่ จทก์ไม่ประสงค์ให้
ลงโทษ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคสี่ และมิใช่เป็ นการพิพากษาเกินคาขอหรือที่มไิ ด้กล่าวในฟ้อง ตาม ป.วิ.อ.
มาตรา 192 วรรคหนึ่ง
ฎ.7086/2559 โจทก์บรรยายฟ้องว่า จาเลยทัง้ สามร่วมกันลักรถจักรยานยนต์ของบริษทั ก. ผูเ้ สียหายขณะ
อยู่ในความครอบครองของ ร. แต่ขอ้ เท็จจริงตามทีป่ รากฏในการพิจารณาได้ความว่า เจ้าพนักงานตารวจยืมรถตาม
ฟ้อ งจากผู้อ่ ืนแล้วให้ ร. นาไปส่งมอบแก่ พ วกจาเลยแลกกับค่าตอบแทนเป็ นเงิน 10,000 บาท หาใช่เป็ นการลัก
รถจักรยานยนต์ตามฟ้องไปจาก ร. ไม่ จึงเป็ นกรณีขอ้ เท็จจริงตามที่ปรากฏในการพิจารณาแตกต่างกับข้อเท็จจริง
ดังที่กล่าวในฟ้องในข้อสาระสาคัญ ซึ่งตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคสอง บัญญัตใิ ห้ศาลยกฟ้อง จึงไม่อาจลงโทษ
จาเลยทัง้ สามในความผิดฐานร่วมกันลักทรัพย์ และลงโทษฐานเป็ นผู้ ใช้ให้กระทาความผิดฐานฉ้อโกงไม่ได้เช่นกัน
ถือว่าเกินคาขอหรือมิได้กล่าวในฟ้องตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคหนึ่ง และการทีจ่ าเลยทัง้ สามชีช้ ่องแนะนาให้ ร.
ไปทาสัญ ญาเช่าซื้อและเสนอเงินค่าตอบแทนในการนารถจักรยานยนต์มาส่งมอบจานวน 10,000 บาท ดังกล่าว
อาจถือว่าเป็ นการกระทาด้วยประการใด ๆ อันเป็ นการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกแก่ ร. ก็ตาม แต่การกระทา
ดังกล่าวจะเป็นความผิดฐานเป็ นผูส้ นับสนุ นได้ ต้องเป็ นไปตาม ป.อ. มาตรา 86 ทีบ่ ญั ญัตวิ ่าเป็ นการช่วยเหลือ หรือ
ให้ค วามสะดวกในการที่ผู้อ่นื กระทาความผิดก่อ นหรือขณะกระทาความผิด หมายถึงต้ องมีการกระทาความผิด
เกิด ขึ้น ด้ว ย จึงจะพิจ ารณาได้ว่าการกระท านั น้ เป็ น การกระท าก่ อ นหรือ ขณะกระท าความผิด ได้ แตกต่ างกับ
บทบัญญัตแิ ห่งมาตรา 84 วรรคสองตอนท้าย ที่อาจมีความผิดฐานเป็ นผู้ใช้ได้แม้ว่าความผิดมิได้กระทาลงก็ตาม
เมื่อคดีน้เี กิดจากการวางแผนของเจ้าหน้าทีต่ ารวจไว้ก่อน และเป็ นการขอยืมรถจักรยานยนต์จากผูอ้ ่นื เพื่อให้ ร. ขับ
ไปท าทีส่ งมอบแก่ พ วกจาเลย หาได้เกิดจาก ร. หลอกลวงผู้อ่ืน ด้ว ยการแสดงข้อ ความอันเป็ นเท็จ หรือ ปกปิ ด
ข้อความจริงซึง่ ควรบอกให้แจ้ง และโดยการหลอกลวงดังว่านัน้ ได้ไปซึง่ ทรัพย์สนิ จากผูถ้ ูกหลอกลวง อันจะถือเป็ น
การกระทาความผิดตาม ป.อ. มาตรา 341 เมื่อความผิดตามมาตรา 341 ไม่มเี สียแล้ว ความผิดฐานสนับสนุ นการ
กระทาความผิดที่ต้องนาความผิดตามมาตรา 341 มาประกอบกับมาตรา 86 ย่อมเกิดขึ้นไม่ได้เช่นกัน จึงไม่อาจ
พิพากษาลงโทษตามมาตรา 341 ประกอบมาตรา 86 ได้อกี ด้วย และกรณีดงั กล่าวเป็ นเหตุอยู่ในส่วนลักษณะคดีท่ี
คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร
- 18 -

ศาลฎีกามีอานาจพิพากษาตลอดไปถึงจาเลยที่ 1 ทีม่ ไิ ด้ฎกี าให้มติ อ้ งถูกรับโทษดุจจาเลยที่ 2 และที่ 3 ผูฎ้ กี าตาม ป.


วิ.อ. มาตรา 213 ประกอบมาตรา 225
ฎ.478/2559 จาเลยที่ 1 ข่มขูบ่ งั คับให้โจทก์รว่ มไปโอนขายสิทธิการเช่าทีร่ าชพัสดุซง่ึ มีช่ือของ ส. บุตรโจทก์
ร่วมถือสิทธิ และโจทก์รว่ มยอมไปขอร้อง ส. ให้โอนขายสิทธิการเช่าดังกล่าวโดยอ้างว่าโจทก์รว่ มกาลังเดือดร้อน ส.
ยอมโอนขายสิทธิการเช่าทีด่ นิ ราชพัสดุให้ผอู้ ่นื เงินที่ขายได้เข้าบัญชีเงินฝากของโจทก์รว่ ม จะเห็นได้ว่าการกระทา
ตามค าขู่บ ังคับ ของจาเลยที่ 1 ไม่ท าให้จาเลยที่ 1 ได้ป ระโยชน์ ในลัก ษณะที่เป็ น ทรัพ ย์ส ินโดยตรงย่อ มไม่เป็ น
ความผิดฐานกรรโชก แต่การกระทาของจาเลยที่ 1 เป็ นการข่มขืนใจโจทก์ร่วมให้ไปขอร้อง ส. ให้โอนขายสิทธิการ
เช่าทีร่ าชพัสดุ โดยทาให้โจทก์ร่วมกลัวว่าจะเกิดอันตรายแก่โจทก์ร่วมและคนในครอบครัว โจทก์ร่วมเกิดความกลัว
ยอมกระทาการตามที่จาเลยที่ 1 ข่มขู่บงั คับ จึงเป็ นความผิดต่อเสรีภาพตาม ป.อ. มาตรา 309 วรรคแรก ซึ่งเป็ น
ความผิดทีร่ วมอยูใ่ นความผิดฐานกรรโชกตามทีโ่ จทก์ฟ้อง
ฎ.10111/2559 โจทก์ฟ้องฐานลักทรัพย์หรือรับของโจร ศาลชัน้ ต้นลงโทษจาเลยที่ 1 ฐานลักทรัพย์ โจทก์ไม่
อุทธรณ์ จาเลยที่ 1 อุทธรณ์ขอให้ยกฟ้อง ศาลอุทธรณ์ ภาค 3 ฟงั ว่าจาเลยที่ 1 กระทาความผิดฐานรับของโจร ดังนี้
ศาลอุทธรณ์ ภาค 3 ย่อมมีอานาจพิพากษาลงโทษจาเลยฐานความผิดทีถ่ ูกต้อง แต่โทษจาคุกต้องไม่เกินอัตราโทษ
ทีศ่ าลชัน้ ต้นกาหนดมา
ฎ.14505/2557 การปลอมลายมือชื่อของผูอ้ ่นื ลงในเอกสารเป็นองค์ประกอบความผิดตาม ป.อ. มาตรา 264
วรรคแรก ส่วนการกรอกข้อความลงในเอกสารซึ่งมีล ายมือชื่อของผู้อ่นื โดยไม่ได้รบั ความยินยอมจากผู้นัน้ เป็ น
องค์ประกอบความผิดตามมาตรา 264 วรรคสอง ซึง่ องค์ประกอบของการกระทาในมาตรา 264 วรรคแรก และวรรค
สองแตกต่ างกันอย่างเห็นได้ชดั กล่าวคือ เป็ นการปลอมลายมือชื่อหรือเป็ นการปลอมข้อความ เมื่อโจทก์ฟ้องว่า
จาเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 ร่วมกันปลอมลายมือชื่อของโจทก์ จาเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 ให้การปฏิเสธซึง่ เท่ากับต่อสูว้ ่า
ไม่ได้ปลอมลายมือชื่อของโจทก์ แต่หากทางพิจารณากลับได้ความว่าจาเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 ร่วมกันนาเอกสารทีม่ ี
ลายมือชื่อโจทก์และมีขอ้ ความซึง่ ข้อความนัน้ ไม่ได้รบั ความยินยอมจากโจทก์ไปใช้อา้ งแสดงโดยไม่ได้ปลอมลายมือ
ชื่อของโจทก์เช่นนี้ ย่อมเห็นได้ว่าข้อเท็จจริงตามทีป่ รากฏในการพิจารณาแตกต่างกับข้อเท็จจริงดัง ทีก่ ล่าวในฟ้องใน
ข้อสาะระสาคัญ ทัง้ ทาให้จาเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 ต่อสูค้ ดีไปโดยผิดหลง ศาลจึงไม่อาจลงโทษจาเลยที่ 1 ที่ 3 และที่
4 ในความผิดฐานร่วมกันปลอมเอกสารได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคสอง
ฎ.14213/2557 จาเลยที่ 1 และที่ 2 ใช้บตั รเอทีเอ็มของผู้เสียหายเบิกถอนเงินของผูเ้ สียหายจากตู้เอทีเอ็ม
ของธนาคารโดยสาคัญผิดว่าจาเลยที่ 3 ผู้มอบบัตรเอทีเอ็มและใช้ให้จาเลยที่ 1 และที่ 2 นาไปเบิกถอนเงินมีสทิ ธิท่ี
จะใช้บตั รเอทีเอ็มนัน้ ได้ แม้ขอ้ เท็จจริงทีว่ ่าจาเลยที่ 3 มีสทิ ธิใช้บตั รเอทีเอ็มของผูเ้ สียหายไปเบิกถอนเงินทีต่ เู้ อทีเอ็ม
ของธนาคารจะไม่มอี ยู่จริง แต่จาเลยที่ 1 และที่ 2 สาคัญผิดว่ามีอยู่จริง จาเลยที่ 1 และที่ 2 ย่อมไม่มคี วามผิดตาม
ป.อ. มาตรา 62 วรรคแรก จึงถือไม่ได้ว่าจาเลยที่ 3 เป็ นตัวการร่วมกับจาเลยที่ 1 และที่ 2 กระทาความผิดตามฟ้อง
แต่ ต้อ งถือ ว่าจาเลยที่ 3 เป็ นผู้ก ระทาผิดโดยอ้อมโดยใช้จาเลยที่ 1 และที่ 2 เป็ นตัวแทนโดยบริสุ ทธิ ์ (Innocent
Agent) เป็นเครื่องมือในการกระทาผิดของจาเลยที่ 3 เอง และแม้โจทก์ฟ้องว่าจาเลยที่ 3 เป็นตัวการร่วมกับจาเลยที่
1 และที่ 2 กระทาผิด แต่ทางพิจารณาฟงั ได้ว่าจาเลยที่ 3 เป็ นผู้กระทาผิดโดยอ้อมโดยใช้จาเลยที่ 1 และที่ 2 เป็ น
ตัวแทนโดยบริสุทธิ ์เป็ นเครื่องมือในการกระทาผิด ก็ถอื ไม่ได้ว่าเป็ นข้อแตกต่างกับฟ้องในสาระสาคัญ เพราะไม่ว่า
คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร
- 19 -

จาเลยที่ 3 จะกระทาผิดด้วยตัวเอง หรือเป็ นการกระทาผิดโดยอ้อม จาเลยที่ 3 ก็มสี ถานะเป็ นผู้กระทาผิดตามที่


โจทก์ฟ้ องเหมือนกัน เมื่อไม่ปรากฏว่าจาเลยที่ 3 ได้หลงต่อสู้ ศาลฎีกาจึงย่อมมีอานาจลงโทษจาเลยที่ 3 ตามที่
พิจารณาได้ความตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคสอง
ฎ.3142/2557 โจทก์ฟ้องว่าจาเลยกระทาการลักทรัพย์เอง แต่ขอ้ เท็จจริงที่ปรากฏในการพิจารณาฟงั ได้ว่า
จาเลยเป็นผูจ้ า้ งวานใช้ให้ผอู้ ่นื กระทาความผิด ซึง่ เป็ นการแตกต่างในข้อสาระสาคัญ ศาลไม่อาจลงโทษฐานผูใ้ ช้ตาม
ข้อเท็จจริงทีไ่ ด้ความได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคสอง คงลงโทษได้ในฐานผูส้ นับสนุน
ฎ.6793/2557 แม้โจทก์ฟ้ องจาเลยในความผิด ฐานลัก ทรัพ ย์ซ่ึงเป็ น คดีค วามผิด ต่ อ แผ่ น ดิน แต่ เมื่อ ศาล
อุทธรณ์พจิ ารณาแล้วได้ความว่าการกระทาของจาเลยเป็ นความผิดฐานฉ้อโกงและลงโทษจาเลยตามข้อเท็จจริงที่
พิจารณาได้ความตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคสาม และยังไม่มคี าพิพากษาศาลสูงเปลีย่ นแปลงแก้ไข กรณียอ่ มถือ
ว่าคดีน้ีเป็ นความผิดต่ อส่วนตัว ซึ่งโจทก์ชอบที่จะถอนฟ้องในเวลาใดก่อนคดีถงึ ที่สุดก็ได้ เมื่อโจทก์ย่นื คาร้องขอ
ถอนฟ้องโดยจาเลยไม่คดั ค้าน จึงอนุ ญาตให้โจทก์ถอนฟ้องได้ และสิทธินาคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปตาม ป.วิ.อ.
มาตรา 39 (2)
ฎ.6858/2557 โจทก์ขอให้ล งโทษจาเลยทัง้ สองตาม พ.ร.บ.ยา พ.ศ.2510 มาตรา 4, 32, 107 พ.ร.บ.ยา
(ฉบับที่ 3) พ.ศ.2522 ซึ่งมาตรา 4 ที่บญ ั ญัตไิ ว้ใน พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2522 ได้ถูกยกเลิกไปตาม พ.ร.บ.ยา
(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2530 นัน้ เห็นว่า แม้โจทก์ขอให้ลงโทษจาเลยทัง้ สองโดยอ้าง พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2522 ซึ่ง
ถูกยกเลิกและแก้ไขใหม่แล้ว และมิได้อา้ ง พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2530 ทีแ่ ก้ไขใหม่ แต่คาว่า ขาย ตามมาตรา 4
ซึง่ แก้ไขใหม่ยงั คงหมายความรวมถึงมีไว้เพื่อขายและถือเป็ นความผิด ดังนัน้ การกระทาของจาเลยทัง้ สองจึงยังเป็ น
ความผิดตามบทบัญญัติท่แี ก้ไขใหม่ การที่โจทก์ยงั คงขอให้ลงโทษจาเลยทัง้ สองตาม พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 3) พ.ศ.
2522 เป็ นเพียงการอ้างบทบัญญัตกิ ฎหมายผิดพลาดไปเท่านัน้ แม้โจทก์จะไม่อ้างบทบัญญัตขิ องกฎหมายทีแ่ ก้ไข
ใหม่ และข้อเท็จจริงฟงั ว่าจาเลยทัง้ สองกระทาความผิดตามฟ้อง ศาลก็มอี านาจลงโทษจาเลยทัง้ สองตามบทบัญญัติ
ของกฎหมายทีแ่ ก้ไขใหม่ทถ่ี ูกต้องได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคห้า
ฎ.8209/2559 พฤติการณ์ ของจาเลยที่เพียงแต่แสดงตัวว่าเป็ นเจ้าพนักงานตารวจและสอบถามว่า เสพยา
เสพติดหรือไม่แล้วขอตรวจค้นตัวผู้เสียหายทัง้ สองก่อนที่จะล้วงเอากระเป๋าสตางค์ของผู้เสียหายที่ 1 เอาบุหรีข่ อง
ผูเ้ สียหายที่ 2 ไปและบอกว่าจะพาไปตรวจปสั สาวะ หากไม่พบสารเสพติดก็จะปล่อยตัวไปนัน้ ไม่ปรากฏว่ามีการใช้
กาลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าในทันใดนัน้ จะใช้กาลังประทุษร้ายแต่อย่างใด จึงไม่เป็ นความผิดฐานร่วมกันชิงทรัพย์
ตาม ป.อ. มาตรา 339 คดีคงฟงั ได้เพียงว่า จาเลยร่วมกับพวกทีย่ งั หลบหนีกระทาความผิดฐานลักทรัพย์ตาม ป.อ.
มาตรา 335 (1) (6) (7) วรรคสอง ซึง่ ความผิดฐานนี้เป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งของความผิดฐานชิงทรัพย์ทศ่ี าลฎีกา
มีอานาจลงโทษให้ถูกต้องได้เพราะความผิดฐานนี้มโี ทษเบากว่าความผิดฐานชิงทรัพย์ต าม ป.วิ.อ. มาตรา 192
วรรคท้าย และมาตรา 215 ประกอบมาตรา 225
ฎ.6020/2559 พฤติการณ์ ท่จี าเลยที่ 1 ร่วมเดินทางไปกับพวกไปที่เกิดเหตุโดยทราบมาก่อนแล้วว่าพวก
ของจาเลยที่ 1 จะไปทาร้ายผูเ้ สียหาย และหลังเกิดเหตุกห็ ลบหนีไปด้วยกัน ย่อมแสดงให้เห็นว่าจาเลยที่ 1 มีเจตนา
ทีจ่ ะร่วมทาร้ายผูเ้ สียหายกับพวกซึง่ มีการคิดไตร่ตรองไว้ก่อนแล้ว จึงฟงั ได้ว่าจาเลยที่ 1 มีเจตนาเพียงต้องการทา

คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร


- 20 -

ร้ายผูเ้ สียหายโดยไตร่ตรองไว้ก่อนเท่านัน้ แต่เมื่อผลการกระทาของพวกจาเลยที่ 1 ไม่ทาให้ผเู้ สียหายได้รบั บาดเจ็บ


แต่พลาดไปถูกผูต้ ายจนเป็ นเหตุให้ผตู้ ายถึงแก่ความตาย จาเลยที่ 1 จึงต้องรับผลแห่งการกระทานัน้ จาเลยที่ 1 จึง
มีความผิดฐานร่วมกันพยายามทาร้ายร่างกายผูอ้ ่นื โดยไตร่ตรองไว้ก่อน ตาม ป.อ. มาตรา 296 ประกอบมาตรา 80
และฐานทาร้ายผูอ้ ่นื โดยไตร่ตรองไว้ก่อนและไม่มเี จตนาฆ่า แต่เป็ นเหตุให้ผนู้ นั ้ ถึงแก่ความตายโดยพลาด ตาม ป.อ.
มาตรา 290 วรรคสอง ประกอบมาตรา 60 อันเป็ นความผิดหลายอย่างซึ่งรวมอยู่ในความผิดฐานพยายามฆ่าผู้อ่นื
โดยไตร่ตรองไว้ก่อนและฆ่าผูอ้ ่นื โดยไตร่ตรองไว้ก่อนโดยพลาดตามทีโ่ จทก์ฟ้อง และเป็ นความผิดได้ในตัว ศาลฎีกา
สามารถลงโทษในความผิดดังกล่าวตามทีไ่ ด้ความได้ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคท้าย ประกอบมาตรา 215 และ 225
ฎ.15248-15249/2557 แม้โจทก์จะฟ้องว่าจาเลยกระทาความผิดฐานเป็ นเจ้าพนักงานเบียดบังทรัพย์ของ
โจทก์ต าม ป.อ. มาตรา 147 แต่ เมื่อ ทางพิจารณาได้ค วามว่า จาเลยเบียดบังทรัพ ย์ของโจทก์ไปในฐานะบุ ค คล
ธรรมดาซึ่งโจทก์ได้บรรยายฟ้องกล่าวถึงข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบของความผิดฐานยักยอกตาม ป.อ. มาตรา
352 ไว้แล้ว ศาลย่อมมีอานาจลงโทษจาเลยในความผิดตาม ป.อ. มาตรา 352 วรรคแรก ได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192
วรรคท้าย ประกอบมาตรา 215 และ 225
ฎ.560/2556 ข้อเท็จจริงในทางพิจารณาฟงั ไม่ได้ว่า จาเลยจัดหา ม. และ จ. ไปเพื่อกระทาการค้าประเวณี
ตามฟ้อง จาเลยจึงไม่ใช่ผู้กระทาความผิด ส่วนข้อเท็จจริงในทางพิจารณาได้ความว่า จาเลยจัดหา น. ไปเพื่อให้
กระทาการค้าประเวณี ไม่ใช่ข้อเท็จจริงที่โจทก์ฟ้ อ งและประสงค์ท่จี ะให้ศ าลลงโทษ จึงต้องห้ามมิให้ศ าลลงโทษ
จาเลยตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคหนึ่งและวรรคสี่
ฎ.3377/2556 โจทก์บรรยายฟ้องและขอให้ลงโทษจาเลยที่ 3 และที่ 4 ฐานะเป็นธุระจัดหาล่อไปหรือพาหญิง
ไปเพื่อสนองความใคร่ของผู้อ่นื และเพื่อการอนาจารโดยใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กาลังประทุษร้าย ใช้อานาจ
ครอบงาผิดคลองธรรม หรือใช้วธิ ขี ่มขืนใจด้วยประการอื่นใด อันเป็นความผิดทีร่ วมการกระทาหลายอย่างและแต่ละ
อย่างอาจเป็ นความผิดได้อยู่ในตัวเอง เมื่อข้อเท็จจริงตามทีป่ รากฏในทางพิจารณาได้ความว่า การกระทาความผิด
ของจาเลยที่ 3 และที่ 4 ตามข้อเท็จจริงซึง่ พิจารณาได้ความนัน้ ได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคท้าย ไม่ใช่กรณีเกิน
คาขอหรือโจทก์ไม่ประสงค์ให้ลงโทษ
ฎ.3392/2556 แม้โจทก์มไิ ด้ฟ้องขอให้ลงโทษจาเลยที่ 4 ในความผิดฐานรับของโจร แต่ถอื ได้ว่า ข้อเท็จจริง
ตามทีป่ รากฏในทางพิจารณาแตกต่างกับข้อเท็จจริงดังทีก่ ล่าวในฟ้องระหว่างการกระทาความผิดฐานปล้นทรัพย์กบั
รับของโจร ซึ่งมิให้ถอื ว่าแตกต่างกันในข้อสาระสาคัญ ทัง้ ทีจ่ าเลยที่ 4 มิได้หลงต่อสู้ ศาลมีอานาจลงโทษจาเลยที่ 4
ในความผิดฐานรับของโจรได้ ไม่ถือว่าเป็ นการพิพากษาเกินคาขอหรือเป็ นเรื่องที่โจทก์ไม่ประสงค์ให้ลงโทษตาม ป.
วิ.อ. มาตรา 192 วรรคสาม
ฎ.3812-3814/2556 จาเลยกระทานอกอานาจหน้าทีร่ บั ผิดชอบของตน ถือไม่ได้ว่าเป็ นการกระทาความผิด
ฐานเจ้าพนักงานจึงไม่อาจลงโทษจาเลยฐานเจ้าพนัก งานยักยอกทรัพย์ตาม ป.อ. มาตรา 147 ตามฟ้องอันเป็ นบท
เฉพาะได้ แต่ลงโทษจาเลยในความผิดฐานยักยอกทรัพย์ได้ ซึ่งเป็ นความผิดในตัวเองและเป็ นส่วนหนึ่งของการ
กระทาความผิดฐานเจ้าพนักงานยักยอกทีโ่ จทก์ฟ้องมาได้

คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร


- 21 -

แม้โจทก์ไม่ได้บ รรยายฟ้ อ งและขอให้ล งโทษฐานฉ้ อ โกง แต่ เมื่อ ศาลอาจลงโทษจาเลยในความผิดฐาน


ยักยอกได้ จึงเป็ นการแตกต่างกันในระหว่างการกระทาความผิดฐานฉ้ อโกงและยักยอก เมื่อจาเลยมิได้หลงต่อสู้
ศาลจึงมีอานาจลงโทษจาเลยในความผิดฐานฉ้อโกงตามทีไ่ ด้ความตาม ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคสองและวรรคสาม
ฎ.6629/2556 ผูเ้ สียหายที่ 2 ติดตามไปจับกุมจาเลยทีบ่ า้ นโดยไม่มหี มายจับ เป็ นการจับกุมโดยไม่มอี านาจ
ถือไม่ได้ว่าผูเ้ สียหายที่ 2 ปฏิบตั กิ ารตามหน้าทีโ่ ดยชอบ การทีจ่ าเลยกล่าวถ้อยคาด่าผูเ้ สียหายที่ 2 ว่า “ไอ้เหีย้ ไอ้
สัตว์” ถึงแม้จะเป็นดูหมิน่ เหยียดหยามและทาให้ผเู้ สียหายที่ 2 อับอายเสียหายก็ตาม การกระทาของจาเลยก็ไม่เป็ น
ความผิดฐานดูหมิน่ เจ้าพนักงานซึง่ กระทาตามหน้าทีห่ รือเพราะได้กระทาตามหน้าที่ แต่เป็ นการดูหมิน่ ผู้เสียหายที่
2 ซึ่งหน้ าในฐานะบุคคลธรรมดาตาม ป.อ. มาตรา 393 ซึ่งเป็ นบททัวไป ่ และยังคงถือว่าอยู่ในความประสงค์ของ
โจทก์ทข่ี อให้ลงโทษจาเลย
ฎ.1850/2557 จ าเลยที่ 2 ร่ ว มกับ จ าเลยที่ 1 และที่ 3 ลัก รถจัก รยานยนต์ ข องผู้ เ สีย หายทัง้ สอง แม้
ข้อ เท็ จ จริง ตามที่ป รากฏในทางพิ จ ารณาแตกต่ า งกับ ที่โ จทก์ ฎี ก าขอให้ ล งโทษจ าเลยที่ 2 ฐานรับ ของโจร
รถจักรยานยนต์ของผูเ้ สียหายที่ 2 แต่ถอื ว่าข้อแตกต่างในรายละเอียดมิใช่ในข้อสาระสาคัญ ทัง้ จาเลยที่ 2 มิได้หลง
ต่อสู้ ศาลย่อมลงโทษจาเลยที่ 2 ฐานลักทรัพย์ ตามข้อเท็จจริงที่ได้ความตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความ
อาญา มาตรา 192 วรรคสอง
ฎ.7296/2557 แม้โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจาเลยในความผิดฐานทาร้ายร่างกายผู้อ่นื ตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 295 แต่ความผิดดังกล่าวย่อมรวมถึงการใช้กาลังทาร้ายผูอ้ ่นื โดยไม่ถงึ กับเป็ นเหตุให้เกิดอันตรายแก่
กายหรือจิตใจ ตามมาตรา 391 ด้วย ถือได้ว่าความผิดตามฟ้องรวมการกระทาหลายอย่าง ซึ่งแต่ละอย่างอาจเป็ น
ความผิดได้อยู่ในตัวเอง เมือ่ ทางพิจารณาได้ความว่า การกระทาของจาเลยเป็นความผิดตามมาตรา 391 ศาลฎีกาก็
มีอานาจลงโทษจาเลยในการกระทาตามทีพ่ จิ ารณาได้ความ ตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา
192 วรรคท้าย ประกอบมาตรา 215 และ 225
ฎ.11732/2557 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจาเลยทัง้ สอง โดยบรรยายฟ้องว่าจาเลยทัง้ สองร่วมกันกระทาผิด
ฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 ซึ่งมาตรา 348 บัญญัตใิ ห้เป็ นความผิดอันยอมความได้หรือ
ความผิดต่อส่วนตัว โจทก์ไม่อาจยกเหตุท่ที รัพย์สนิ ที่สูญเสียไปจากการกระทาความผิดเป็ นทรัพย์สนิ ของแผ่นดิน
ไม่เป็ นความผิดต่อส่วนตัวทีจ่ ะต้องมีการร้องทุกข์ขน้ึ บังคับให้ผดิ แผกไปจากทีบ่ รรยายในฟ้องได้
ฎ.15718/2557 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจาเยทัง้ สอง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352 และ มาตรา
358 จาเลยทัง้ สองให้การรับสารภาพ โจทก์และจาเลยทัง้ สองไม่ติดใจสืบพยาน ศาลชัน้ ต้นฟงั ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ
การกระทาความผิดของจาเลยทัง้ สองว่า จาเลยทัง้ สองร่วมกันลักทรัพย์ของโจทก์รว่ ม ศาลย่อมลงโทษจาเลยทัง้ สอง
ในความผิดฐานลักทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335(7) วรรคแรกไม่ได้ เพราะโจทก์มไิ ด้อ้างมาใน
ฟ้อง ทัง้ โทษหนักกว่าโทษตามมาตรา 352 และ มาตรา 358 ทีโ่ จทก์ฟ้อง
ฎ.15723/2557 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจาเลยฐานลักทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335 แม้
หนังสือบันทึกการกระทาความผิดท้ายฟ้ องระบุว่า จาเลยกระทาผิดฐานยักยอกเงินของโจทก์ก็ตาม แต่ การที่จะ
พิจารณาว่าจาเลยกระทาความผิดฐานใดและลงโทษจาเลยนัน้ ต้องถือตามคาฟ้องและคาขอท้ายฟ้องของโจทก์เป็ น
คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร
- 22 -

สาคัญ เมื่อการกระทาของจาเลยเป็นความผิดฐานยักยอก ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352 วรรคแรก ไม่ใช่


ความผิดฐานลักทรัพย์ตามฟ้อง จึงเป็ นข้อแตกต่างในรายละเอียด มิใช่แตกต่างกันในข้อสาระสาคัญและไม่ถอื ว่าเกิน
คาขอหรือเป็ นเรื่องทีโ่ จทก์ไม่ประสงค์ให้ลงโทษ ทัง้ จาเลยมิได้หลงต่อสู้ เนื่องจากนาสืบรับว่า รับเงินจากลูกค้าของ
โจทก์จริง จึงลงโทษจาเลยฐานยักยอก ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352 วรรคแรกได้

------------------------------------------------------------------------

คำพิพำกษำศำลฎีกำ วิ.อำญำ ภำค 3 : อ.ไพบูลย์ วนพงศ์ทิพำกร

You might also like