You are on page 1of 17

สาระสําคัญตาม

พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยขอพิพาท พ.ศ.2562
ที่
สวนไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทศาลจังหวัดพัทยาควรรู

โดย
นายสันติ ผิวทองคํา
ผูพิพากษาศาลจังหวัดพัทยา

นางสาวพันนา สวางสาลี
นิติกรชํานาญการพิเศษ
หัวหนาสวนไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทศาลจังหวัดพัทยา
เรียบเรียง
“ ความยุติธรรมอยูที่ใดหนอ ”
อยาปลอยใหรอดวยความเดียวดาย !!!!
การ “ ยุติ ” ขอพิพาทดวยความสมัครใจของคูความหรือคูกรณีที่พิพาทกัน
ในคดีแพงโดยศาลไมจําตองพิพากษาชี้ขาดคดีนั้น นับ ไดวา “ ขอพิพาทนั้นยุติลงดวย
ความเปนธรรม” และ “ คูความหรือคูกรณีไดเขาถึงความยุติธรรมอยางแทจริง”
ขอเท็จจริงดังกลาวแฝงไวในเจตนารมณของกฎหมายดังจะเห็นไดจากความใน
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 20 ที่บัญญัติวา
“ ไมวาการพิจารณาคดีจะไดดําเนินไปแลวเพียงใด ใหศาลมีอํานาจที่จะไกล
เกลี่ยใหคูความไดตกลงกัน หรือประนีประนอมยอมความกันในขอที่พิพาทนั้น ”
และ
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.2551
ที่บัญญัติเรื่องการไกลเกลี่ยของศาลไวใน
มาตรา 4 ใหมีเจาพนักงานคดีทําหนาที่ชวยเหลือศาลในการดําเนินคดีผูบริโภค ตามที่
ศาลมอบหมาย ดังตอไปนี้
( 1 ) ไกลเกลี่ยคดีผูบริโภค

มาตรา 24 เมื่อศาลสั่งรับคําฟองแลว ใหศาลกําหนดวันนัดพิจารณาโดยเร็ว และออก


หมายเรียกจําเลยใหมาศาลตามกําหนดนัดเพื่อการไกลเกลี่ย...”
กล า วได ว า การ “ไกล เ กลี่ ย ” ในชั้ น พิ จ ารณาคดี จึ ง เป น อํ า นาจพิ เ ศษ
โดยเฉพาะของศาลซึ่งเปนองคกรที่ถืออํานาจตุลาการนั่นเอง
-2-
แตการไกลเกลี่ยในชั้นเจาพนักงานฝายบริหารโดยเฉพาะในชั้นเจาพนักงาน
ตํารวจ ซึ่งตองรับแจงความคดีแพงเพื่อบําบัดทุกขและบํารุงสุขใหแกประชาชนและรับ
แจงความในคดีอาญาเพื่อปองกันและปราบปรามอาชญากรรมและสอบสวนคดีอาญายัง
ไมมี กฎหมายรองรับให พนักงานสอบสวนหรือตํารวจไกลเกลี่ยคดีขอพิพาทหรือคดีแพง
และคดีอาญาไวโดยตรง จึงมีการตรา พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยขอพิพาท พ.ศ. 2562 มาเปน
เครื่องมือใหแกเจาพนักงานฝายบริหาร นอกจากนี้ พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ จะใหอํานาจ
ฝายบริหารแลวยังบัญญัติถึงการไกลเกลี่ยภาคประชาชนโดยประชาชนและใหมีผลทาง
กฎหมายอีกดวย

สาระสําคัญของ พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยขอพิพาท พ.ศ. 2562


ที่เจาพนักงานศาลสวนไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทศาลจังหวัดพัทยาควรรู
1.พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มีผลใชบังคับนับแตวันที่ 23 พฤษภาคม 2562
ยกเวน หมวด 2 การไกลเกลี่ยขอพิพาททางแพง
หมวด 3 การไกลเกลี่ยขอพิพาทางอาญา
หมวด 4 การไกลเกลี่ยขอพิพาททางอาญาในชั้นการสอบสวน
หมวด 5 การไกลเกลี่ยขอพิพาทภาคประชาชน
มีผลเมื่อพนกําหนด 180 วัน นับแตวันที่ 22 พฤษภาคม 2562
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 2 )
2.การไกลเกลี่ยขอพิพาท ตาม พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ คือ
2.1. การดําเนินการใหคูกรณีเจรจาตกลงกันระงับขอพิพาททางแพงและทางอาญา
2.2.แตไมรวมถึงการไกลเกลี่ยขอพิพาทที่ดําเนินการในชั้นศาลและในชั้นบังคับคดี
-3-
จากขอ 2.1 – 2.2. แสดงวา ไมนําเอา พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยขอพิพาท พ.ศ. 2562 มา
ใชกับการพิจารณาคดีของศาล
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 3 )
3.ผูไกลเกลี่ย ตาม พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ คือ
3.1.บุคคลที่ไดรับการขึ้นทะเบียน และ
3.2.ไดรับการแตงตั้งใหทําหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาทจากนายทะเบียน
( ตามหลักเกณฑและวิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมกําหนดใน
กฎกระทรวง )
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 3 , มาตรา 9 )
4.1.พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ ไมกระทบ หนวยงานของรัฐที่กฎหมายใหอํานาจไกลเกลี่ยอยู
กอนแลว แต หากหนวยงานของรัฐประสงคจะไกลเกลี่ยตามพ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ ตอง
แจงใหกระทรวงยุติธรรมทราบ
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 4 , มาตรา 5 )
4.2.พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ ไมนําไปใชกับคดีอาญาที่อยูในอํานาจของศาลเยาวชนและ
ครอบครัวโดยเด็ดขาด ( เชนคดีอาญาที่ผูตองหาเปนเด็กหรือเยาวชน ไมสามารถนํา
พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ ไปใชยุติขอพิพาทในชั้นสอบสวนไดเปนตน )
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 8 )
การไกลเกลี่ยขอพิพาททางแพง
1.ขอพิพาทที่ “ ไกลเกลี่ยได”
1.ขอพิพาทเกี่ยวกับที่ดินที่มิใชการพิพาทดวยกรรมสิทธิ์
2.ขอพิพาทระหวางทายาทเกี่ยวกับทรัพยมรดก
3.ขอพิพาทอื่นตามที่กําหนดใน พรฎ.
4.ขอพิพาทที่มีทุนทรัพยไมเกิน 5,000,000 บาท หรือไมเกินจํานวนที่ พรฎ.กําหนด

1.2.ขอพิพาทที่ “ ไกลเกลี่ยไมได”
1.ขอพิพาทเกี่ยวดวยสิทธิแหงสภาพบุคคล
2.ขอพิพาทเกี่ยวดวยสิทธิในครอบครัว
3.ขอพิพาทเกี่ยวดวยกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 20 )

2.การนําขอพิพาทเขาสูการไกลเกลี่ย
2.1.คูกรณีฝายหนึ่งฝายใด “ ยื่นคํารอง” ตอหนวยงานซึ่งดําเนินการไกลเกลี่ย
2.2.คูกรณีทั้งสองฝายตอง “สมัครใจไกลเกลี่ย”
2.3.กรณีมีคูกรณีหลายฝาย สามารถไกลเกลี่ยเฉพาะฝายที่สมัครใจได
2.4.คูกรณีมีสิทธิเลือกผูไกลเกลี่ยจากบัญชีผูไกลเกลี่ยที่หนวยงานของรัฐจัดทําไวได
2.5.ระหวางไกลเกลี่ยคูกรณีมีสิทธิถอนตัวไดตลอด
-5-
2.6.ขอเท็จจริงที่เกิดจากกระบวนการไกลเกลี่ย เชนความประสงค ความเห็น การ
ยอมรับหรือขอความที่กระทําโดยคูกรณี ขอเท็จจริงคูกรณียอมรับขอเสนอ ฯ ไมอาจ
นํามารับฟงเปนพยานหลักฐานในการดําเนินคดี เวนแตจะเปนไปเพื่อการบังคับตาม
ขอตกลงระงับขอพิพาท
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 21 มาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 29 )
3.หากคูกรณีตกลงกันได ใหผูไกลเกลี่ยจัดทําบันทึกขอตกลงระงับขอพิพาทเปนลาย
ลักษณอักษร
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 30 )

ผลของการตกลงระงับขอพิพาท
( ในสวนที่เกี่ยวกับศาลยุติธรรม )
1.คูกรณีไมปฏิบัติตามขอตกลงระงับขอพิพาท คูกรณีฝายที่เรียกรองอาจยื่นคํารองขอตอ
ศาลใหบังคับตามขอตกลงระงับขอพิพาทได ( ขอศาลออกหมายบังคับคดีตามขอตกลง
ได โดยไมตองฟองคดีใหม )
2.ตองรองขอภายใน 3 ป นับแตวันที่อาจบังคับตามขอตกลงระงับขอพิพาทได
( โดยเสียคาขึ้นศาลตาม ป.วิ.แพง อัตราเดียวกับคํารองขอใหศาลบังคับตามคําชี้ขาดของ
อนุญาโตตุลาการในประเทศ )
3.หากไมรองขอภายใน 3 ป มูลหนี้ตามขอตกลงระงับขอพิพาทเปนอันระงับสิ้นไป
4.ศาลที่มีอํานาจรับคํารองคือ
-6-
4.1.ศาลที่คูกรณีฝายใดฝายหนึ่งมีภูมิลําเนาอยูในเขต
4.2.ศาลที่มีเขตอํานาจพิพากษาขอพิพาทที่ไกลเกลี่ยนั้น
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 32 )
5.ศาลจะไมสั่งใหบังคับตามขอตกลงระงับขอพิพาท หากศาลเห็นเองหรือคูกรณีพิสูจนให
เห็นไดวา
5.1.คูกรณีเปนผูบกพรองในเรื่องความสามารถเขาทําขอตกลงระงับขอพิพาท
5.2.มูลเหตุแหงขอพิพาทเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย เปนการพนวิสัย หรือขัด
ตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
5.3.ขอตกลงฯ เกิดจากการกลฉอฉล บังคับ ขูเข็ญ หรือกระทําโดยมิชอบดวยประการ
ใดๆ
5.4.การตั้งผูไกลเกลี่ยไมถูกตองหรือผูไกลเกลี่ยปกปดบังขอเท็จจริงในเรื่องความเปน
กลางที่มีผลตอการทําบันทึกขอตกลงอยางมีนัยสําคัญ
6.หามอุทธรณคําสั่งศาลเวนแต
6.1.ศาลมีคําสั่งไมบังคับตามขอตกลงระงับขอพิพาท
6.2.คําสั่งศาลไมเปนไปตามขอตกลงระงับขอพิพาท
6.3.ศาลมีคําสั่งใหบังคับตามขอตกลงฝาฝน ขอ 5.1 – 5.4
6.4.คําสั่งศาลอุทธรณเปนที่สุด
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 33 )
-7-

การไกลเกลี่ยคดีอาญา
( สําหรับทุกหนวยงาน )
1.คดีอาญาที่สามารถไกลเกลี่ยได
1.1.คดีความผิดอันยอมความได เชนคดี ยักยอก ฉอโกง เช็ค บุกรุก
1.2.คดีลหุโทษตาม
- มาตรา 390 กระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นไดรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ
- มาตรา 391 ใชกําลังทํารายผูอื่นไมถึงกับเปนเหตุใหไดรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ
- มาตรา 392 ทําใหผูอื่นตกใจกลัวโดยการขูเข็ญ
- มาตรา 393 ดูหมิ่นผูอื่นซึ่งหนา
- มาตรา 394 ไลตอนสัตวเขาในสวนหรือนาผูอื่น
- มาตรา 395 ปลอยใหสัตวเขาในสวนหรือไรนาผูอื่น
- มาตรา 397 กอความเดือดรอนรําคาญ ขมเหง รังแกผูอื่น
1.3.ความผิดลหุโทษอื่นตามที่ พรฎ. กําหนด
2.ผลของการไกลเกลี่ยขอพิพาท ทําให “สิทธิในการนําคดีอาญามาฟองระงับสิ้นไป ”
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 35 )
3.1.คดีที่อยูระหวางการพิจารณาของศาล
3.2.คดีที่อยูระหวางการสั่งคดีของอัยการ
3.3.คดีที่อยูระหวางการสอบสวนของพนักงานสอบสวน
-8-
3.4.หากศาล อัยการ หรือ พนักงานสอบสวน รับแจงจากหนวยงานที่ไกลเกลี่ยขอพิพาท
วาคดีอยูระหวางการไกลเกลี่ย “อาจ” รอการพิพากษา การสั่งคดี หรือการสอบสวน
ไวกอนก็ได
3.5.หากการไกลเกลี่ยสําเร็จใหหนวยงานที่ไกลเกลี่ยสงสําเนาบันทึกขอตกลงระงับขอ
พิพาทฯ ให ศาล อัยการ หรือ พนักงานสอบสวน ทราบ
4.คดีอาญาที่มีคดีสวนแพงเกี่ยวเนื่องดวย หากคูกรณีไดปฏิบัติตามขอตกลงระงับขอ
พิพาทในสวนแพงครบถวนแลวให “ สิทธินําคดีอาญามาฟองระงับสิ้นไป”
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 36 , 37 )

การไกลเกลี่ยคดีอาญา
( สําหรับพนักงานสอบสวน / ตํารวจควรรู )
1.คดีอาญาที่สามารถไกลเกลี่ยในชั้นสอบสวนได
1.1.คดีความผิดอันยอมความได เชนคดี ยักยอก ฉอโกง เช็ค บุกรุก
1.2.คดีลหุโทษตาม
- มาตรา 390 กระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นไดรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ
- มาตรา 391 ใชกําลังทํารายผูอื่นไมถึงกับเปนเหตุใหไดรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ
- มาตรา 392 ทําใหผูอื่นตกใจกลัวโดยการขูเข็ญ
- มาตรา 393 ดูหมิ่นผูอื่นซึ่งหนา
- มาตรา 394 ไลตอนสัตวเขาในสวนหรือนาผูอื่น
- มาตรา 395 ปลอยใหสัตวเขาในสวนหรือไรนาผูอื่น
-9-
- มาตรา 397 กอความเดือดรอนรําคาญ ขมเหง รังแกผูอื่น
1.3.ความผิดลหุโทษอื่นตามที่ พรฎ. กําหนด
1.4.ความผิดที่มีอัตราโทษไมเกิน 3 ป ตามประมวลกฎหมายอาญา ดังนี้
- มาตรา 294 วรรคหนึ่ง ชุลมุนตอสูและมีผูถึงแกความตาย
- มาตรา 295 ทํารายรางกายผูอื่นเปนเหตุใหไดรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ
- มาตรา 296 ทํารายรายกายโดยมีเหตุฉกรรจ
- มาตรา 299 วรรคหนึ่ง ชุลมุนตอสูเปนเหตุใหมีผูรับอันตรายสาหัส
- มาตรา 300 ประมาทเปนเหตุใหผูอื่นไดรับอันตรายสาหัส
- มาตรา 344 ลักทรัพย
2.เงื่อนไขการไกลเกลี่ย
2.1.คูกรณีตองเปนผูตองหาและผูเสียหายในคดีอาญา รัฐหรือหนวยงานของรัฐเปน
ผูเสียหายไมสามารถไกลเกลี่ยได
2.2.การไกลเกลี่ยตาม ขอ 1.4 ( ความผิดที่มีอัตราโทษไมเกิน 3 ป ตามประมวลกฎหมาย
อาญา )
- ผูตองหาตองไมเคยไกลเกลี่ยมากอน ( เวนแตเคยไกลเกลี่ยความผิดประมาทหรือลหุ
โทษและมีคําสั่งยุติเกิน 3 ปแลว )
-ผูตองหาตองไมอยูระหวางตองคําพิพากษาใหจําคุกและตองพนโทษมาแลวเกินกวา 5
ป ( เวนแตจําคุกในคดีความผิดประมาท ลุหโทษ หรือ ขณะกระทําผิดอายุต่ํากวา 18 ป )
2.3.เปนหนาที่ของ พนักงานสอบสวนที่ตองแจงใหคูกรณีทราบในโอกาสแรกวาคดีของ
คูกรณีสามารถไกลเกลี่ยกันได
-10-
2.4.เมื่อคูกรณีทราบวาสามารถไกลเกลี่ยกันไดแลวยื่นคํารองตอพนักงานสอบสวนแลว
และคดีมิไดอยูในชั้นศาล ใหพนักงานสอบสวน ทําความเห็นเสนอ พนักงานสอบสวนผูมี
อํานาจ ( ตามที่ผูบัญชาการตํารวจแตงตั้ง )
2.5.หากพนักงานสอบสวนผูมีอํานาจเห็นวา
- พฤติการณของการกระทําความผิดไมรายแรง และ
- ไมสงผลกระทบรุนแรงตอสังคมโดยรวม
“ ใหพิจารณามีคําสั่งใหไกลเกลี่ยขอพิพาท”
2.6.วิธีการยื่นคํารอง การสั่งคํารองและกระบวนการไกลเกลี่ยใหเปนไปตาม หลักเกณฑ
และวิธีการที่ ผบ.ตร. กําหนด
2.7.ภายใน 7 นับ นับแตวันที่ พนักงานสอบสวนผูมีอํานาจสั่งใหไกลเกลี่ย พนักงาน
สอบสวนตองจัดใหมีการประชุมระหวางคูกรณีเพื่อเลือก “ผูไกลเกลี่ย” หากคูกรณีไม
สามารถตกลงเลือกไดใหพนักงนสอบสวนเลือกและแตงตั้งผูไกลเกลี่ยแลวแจงใหคูกรณี
ทราบ
2.8.เมื่อพนักงานสอบสวนผูมีอํานาจสั่งใหไกลเกลี่ย
- อายุความในคดีอาญาจะหยุดลง
- มิใหนับเวลาผัดฟอง ฝากขัง ตาม พรบ.จัดตั้งศาลแขวงฯ และ ป.วิ.อาญา มาใช
บังคับระหวางการไกลเกลี่ย
- มิใหนับระยะเวลา 6 เดือนใหสัญญาประกันสิ้นผลกรณีผูตองหาไดรับการประกันตัว
- อายุความและระยะเวลาผัดฟอง หรืออายุตามสัญญาประกัน ใหเริ่มนับตอไปตั้งแต
เวลาที่ พนักงานสอบสวนผูมีอํานาจสั่งใหดําเนินคดีตอไป (ในกรณีไกลเกลี่ยไมสําเร็จ )
-11-
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 40 ,41 ,43 ,44 ,49 )
3.ที่มาของผูไกลเกลี่ยในคดีอาญาชั้นสอบสวน ตองขึ้นทะเบียนกับ ผบ.ตร. / ปลัด
กลาโหม / ปลัดมหาดไทย /ปลัดยุติธรรม หรืออัยการสูงสุด แลวแตกณรีในฐานะนาย
ทะเบียน
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 48 )

วิธีการไกลเกลี่ยชั้นพนักงานสอบสวน
1.พนักงานสอบสวนตองนัดไกลเกลี่ยภายใน 7 วัน นับแตวันที่แตงตั้งผูไกลเกลี่ยและ
แจงใหคูกรณีและผูไกลเกลี่ยทราบ และตองไกลเกลี่ยใหเสร็จภายใน 30 วัน นับแตวัน
นัดไกลเกลี่ยครั้งแรก หากมีเหตุจําเปนหรือมีแนวโนมที่คูกรณีจะตกลงกันได ขยายไดอีก
ไมเกิน 30 วัน แตตองบันทึกเหตุไว
2.คูกรณีตองเขาไกลเกลี่ยดวยตนเองแตมีสิทธิพาผูไวใจเขารวมไดไมเกิน 2 คน คูกรณี
สามารถถอนตัวจากการไกลไกลไดตลอดเวลา
3.หากผูตองหาเปนผูเยาวใหบิดา มารดา ผูปกครอง นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห
เขารวมไกลเกลี่ยดวย
4.การไกลเกลี่ยใหกระทําเปนการลับ
5.พนักงานสอบสวนมีหนาที่จัดหาลามหากตองใชลาม
6.พนักงานสอบสวนตองเปดเผยขอมูลพฤติการณและขอเท็จจริงอื่นแกผูไกลเกลี่ย
7.ใหผูไกลเกลี่ยจัดทําผลการไกลเกลี่ยเปน “ลายลักษณอักษร” แลวสงไปยังพนักงาน
สอบสวน
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 50 ,51 ,52 ,53 ,55 ,57 ,58 )
-12-

กรณีที่ผูไกลเกลี่ยยุติการไกลเกลี่ย
1.คูกรณีไมเขารวมหรือไมใหความรวมมือกับผูไกลเกลี่ยในการไกลเกลี่ยหรือคูกรณีถอน
ตัวจากการไกลเกลี่ย
2.มีเหตุใหสงสัยวาความตกลงมิไดเปนไปดวยความสมัครใจ
3.การไกลเกลี่ยไมอาจบรรลุผลไดแนแท
4.การไกลเกลี่ยขัดตอผลประโยชนของผูเยาว
5.คูกรณีไมสามารถตกลงหรือเยียวยาความเสียหายแกกันได
7.มีการฟองคดีตอศาลดวยตนเองกอนหรือระหวางการสอบสวน
8.เมื่อมีการยุติการไกลเกลี่ย
8.1.ผูไกลเกลี่ยตองแจง พนักงานสอบสวน ทราบภายใน 7 วันนับแตวันที่ยุติการไกล
เกลี่ย และ ใหพนักงานสอบสวนรายงานพนักงานสอบสวนผูมีอํานาจทราบ
8.2.ใหพนักงานสอบสวนผูมีอํานาจจะออกคําสั่งดําเนินคดีตอไป
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 59 – 61 )
การไกลเกลี่ยขอพิพาทในคดีความผิดกรรมเดียวผิดตอกฎหมายหลายบท
1.หาก “บทหนัก” สามารถไกลเกลี่ยไดและการไกลเกลี่ยเปนผลจะ ทําให “สิทธิในการ
นําคดีอาญามาฟองสําหรับ “บทเบา” ระงับสิ้นไป
2.หาก “บทเบา ” สามารถไกลเกลี่ยไดและการไกลเกลี่ยเปนผล ไมทําให “สิทธิในการ
นําคดีอาญามาฟองสําหรับ “บทหนัก” ระงับสิ้นไป
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 63 )
-13-

ผลการไกลเกลี่ยในชั้นสอบสวน
1.เมื่อมีการปฏิบัติตามบันทึกขอตกลงระงับขอพิพาททางอาญาครบถวนแลว ให
พนักงานสอบสวนสงบันทึกการปฏิบัติตามขอตกลงพรอมสํานวนการสอบสวนไปยัง
พนักงานอัยการเพื่อพิจารณาสั่งใหยุติคดี
2.หากปฏิบัติตามบันทึกขอตกลงระงับขอพิพาททางอาญาไมครบถวน ใหพนักงาน
สอบสวนแจงพนักงานสอบสวนผูมีอํานาจทราบเพื่อสั่งใหดําเนินคดีตอไป เวนแต
ผูเสียหายพอใจการปฏิบัติตามบันทึกขอตกลงที่ไมครบถวน ใหพนักงานสอบสวนสง
บันทึกการปฏิบัติตามขอตกลงที่ไมครบถวนพรอมหลักฐานที่ผูเสียหายพอใจ และ
สํานวนการสอบสวนไปยังพนักงานอัยการเพื่อพิจารณาสั่งใหยุติคดี
3.กรณีผูตองหาจงใจไมปฏิบัติตามบันทึกขอตกลงใหพนักงานสอบสวนผูมีอํานาจสั่งให
ดําเนินคดีตอไป
4.คําสั่งยุติคดีของพนักงานอัยการ ทําใหสิทธินําคดีอาญามาฟองระงับ
5.ระหวางการไกลเกลี่ยไมตัดอํานาจพนักงานสอบสวนที่จะทําการสอบสวนตอไป
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 66 ,67 )

การไกลเกลี่ยภาคประชาชน
( การไกลเกลี่ยโดยการรวมตัวของประชาชน )
( กลมชุมชนหมูบานและฝายปกครองทองถิ่นควรรู )
1.ประชาชนสามารถรวมกันจัดตั้ง “ศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทภาคประชาชน” เพื่อ
ดําเนินงานเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยขอพิพาทภาคประชาชนได ภายใตเงื่อนไข
-14-
- ผูไกลเกลี่ยของศูนยไกลเกลี่ยภาคประชาชนตองขึ้นทะเบียนตาม พ.ร.บ.ไกลเกลี่ย
- ศูนยไกลเกลี่ยภาคประชาชน จะอยูภายใตการกํากับดูแลของ กรมคุมครองสิทธิและ
เสรีภาพ
2.ขอพิพาททางแพง ที่ “ศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทภาคประชาชน” สามารถไกลเกลี่ยได
2.1.ขอพิพาททางแพงที่มีทุนทรัพยไมเกิน 500,000 บาท
2.2.ขอพิพาททางแพงที่กําหนดใน พรฎ.
3.ขอพิพาททางอาญา ที่ “ศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทภาคประชาชน” สามารถไกลเกลี่ยได
3.1.คดีความผิดอันยอมความได เชนคดี ยักยอก ฉอโกง เช็ค บุกรุก
3.2.คดีลหุโทษตาม
- มาตรา 390 กระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นไดรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ
- มาตรา 391 ใชกําลังทํารายผูอื่นไมถึงกับเปนเหตุใหไดรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ
- มาตรา 392 ทําใหผูอื่นตกใจกลัวโดยการขูเข็ญ
- มาตรา 393 ดูหมิ่นผูอื่นซึ่งหนา
- มาตรา 394 ไลตอนสัตวเขาในสวนหรือนาผูอื่น
- มาตรา 395 ปลอยใหสัตวเขาในสวนหรือไรนาผูอื่น
- มาตรา 397 กอความเดือดรอนรําคาญ ขมเหง รังแกผูอื่น
-15-
3.3.ความผิดลหุโทษอื่นตามที่ พรฎ. กําหนด
4.ผลของการไกลเกลี่ยขอพิพาทโดย “ศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทภาคประชาชน” หาก
กรมคุมครองสิท ธิและเสรีภาพออกหนั งสือรับรองใหแ ลว ให ขอตกลงระงับ ขอพิพาท
บังคับกันได กรณีเปนคดีอาญาให “สิทธิในการนําคดีอาญามาฟองระงับสิ้นไป ”
5. “ศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทภาคประชาชน” เหมาะแกกลุมเจาพนักงานฝายปกครอง
โดยเฉพาะกํานัน หรือ ผูใหญบาน ที่จะจัดตั้งและระงับขอพิพาทในชุมชน โดยมีกฎหมาย
รองรับ
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 68 , 69 )

โทษทางอาญาตาม
พ.ร.บ.ไกลเกลี่ยฯ
1.โทษทางอาญาของ พ.ร.บ. ไกลเกลี่ยฯ มีเพียง 2 กรณี คือ
2.การลงโทษ ผูไกลเกลี่ย ที่เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด เพื่อ
กระทําการหรือไมกระทําการในหนาที่ จําคุกไมเกิน 5 ป หรือปรับไมเกิน 100,000
บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 71 )
3.การลงโทษ บุคคลทั่วไป ที่ขอให หรือรับวาจะใหทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดแกผู
ไกลเกลี่ยเพื่อจูงใจใหกระทําการ ไมกระทําการ หรือประวิงการกระทําใดอันมิชอบดวย
หนาที่ จําคุกไมเกิน 5 ป หรือปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
( พ.ร.บ.การไกลเกลี่ยฯ มาตรา 72 )
“ การยุติขอพิพาทดวยความสมัครใจของคูกรณีถือเปนการเขาถึงความยุติธรรมที่
แทจริง ยิ่งกวาคําพิพากษาใดๆ ”

นายสันติ ผิวทองคํา
ผูพิพากษาศาลจังหวัดพัทยา

***************************************************************************

ศาลจังหวัดพัทยา
ถนนทัพพระยา เมืองพัทยา อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150
โทรศัพท : 038 252 132

You might also like