You are on page 1of 36

บทที่ 4 ประเภทของกฎหมาย

การแบ่ งประเภทก.ม มีเกณฑ์ ในการ


แบ่ งหลายเกณฑ์
1. ตามลักษณะการใช้
1.1 กฎหมายสารบัญญัติ
 บัญญัตเิ นือ้ หาของสิ ทธิหน้ าที่ เช่ น
กฎหมายแพ่ง
หรือการกระทำเช่ นกฎหมายอาญา ฯลฯ
1.2 กฎหมายวิธีสบัญญัติ

บัญญัตถิ งึ วิธีการ,กระบวนการพิจารณาเพือ่
บังคับตามกฎหมายสารบัญญัติ ให้ เป็ นจริงขึน้ มา
เช่ น
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ ง
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
2. แบ่ งตามลักษณะขอบเขตการใช้ กฎหมาย
(สถานที่)

2.1 กฎหมายภายใน(Domestic law )


2.2 กฎหมายระหว่ างประเทศ
(International law)
3. แบ่ งตามลักษณะเนือ้ หาความสั มพันธ์ ของผู้ทรงสิ ทธิ์

3.1 กฎหมายเอกชน
3.2 กฎหมายมหาชน
กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน

1. ลักษณะความสัมพันธ์

เสมอภาค อยู่เหนือ
เอกชน v เอกชน รัฐ v เอกชน
(ป.ส่ วนตัว) (ป.ส่ วนตัว) (ป.สาธารณะ) (ป.ส่ วนตัว)
1.1 วัตถุประสงค์ ในการดำเนิการ
เอกชนทำเพือ่ ประโยชน์ ส่วน รัฐทำเพือ่ ประโยชน์
ตัว มุ่งในเรื่อง สาธารณะ
การค้ าหากำไร
ชื่อเสี ยง
ความสะดวกสบายในชีวติ
1.2 วิธีดำเนินการ
เอกชนอาศัยการแสดงเจตนา รัฐ ใช้ อำนาจมหาชน ได้ แก่
ยินยอม พร้ อมใจ เช่ น สั ญญา อำนาจบังคับฝ่ ายเดียว
การบังคับตามสิ ทธิต้องฟ้ องศาล การบังคับตามสิ ทธิไม่ ต้องฟ้อง
บังคับให้ ศาลบังคับให้
ทรัพย์ สินของเอกชนอาจถูกยึด ทรัพย์ สินสาธารณสมบัตขิ องรัฐ
อายัด หรือยกอายุความขึน้ ต่ อสู้ ย่ อมได้ รับความคุ้มครองทีจ่ ะไม่
ถูกยึด อายัด หรือยกอายุความขึน้
ต่ อสู้
2. การใช้ -ตีความกฎหมาย
ตีความให้ เกิดความเสมอ ตีความหาดุลยภาพระหว่ าง
ภาคของปัจเจกชน ประโยชน์ สาธารณะกับสิ ทธิ
เสรีภาพของประชาชน
ศาลยุตธิ รรมเป็ นผู้ใช้ ศาลปกครองเป็ นผู้ใช้ ก.ม
เชี่ยวชาญก.ม แพ่ง และ เชี่ยวชาญ ก.มมหาชน มี
อาญา ประสพการณ์ ทางการเมือง
เศรษฐกิจ สั งคม
3.ทีม่ าของกฎหมาย (Source of Law)
กฎหมายลายลักษณ์ อกั ษร หลักการทัว่ ไปแห่ งก.ม มหาชน
เป็ นทีม่ ากฎหมายที่สำคัญ  คำพิพากษาศาลปกครอง เป็ น
-
ทีส่ ุ ดโดยเฉพาะประมวล ทีม่ าของ กฎหมายที่สำคัญ
ก.มจารีตประเพณี ( Case Law)ไม่ ยดึ
หลักprecedent
หลักก.มทัว่ ไป  กฎหมายลายลักษณ์ อกั ษร มี
คำพิพากษาไม่ ใช่ ทมี่ าของ ความสำคัญ รองลงมา
กฎหมาย
4. ประเภทของก.ม
 กฎหมายแพ่ ง, พาณิชย์ กฎหมายรัฐธรรมนูญ
ป.วิ.แพ่ง, วิ.อาญา กฎหมายปกครอง
 กฎหมายอาญา กฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจ
กฎหมายการคลัง
 กฎหมายการจ้ างงาน
ฯลฯ กฎหมายภาษี
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
ฯลฯ
คดีอาญา
บุคคล บุคคล
กระทำต่ อ
(ผู้กระทำ) รัฐ (ผู้เสี ยหาย)
(กรรมการ)
ตำรวจ
อัยการ
- รัฐต้ องเป็ นกลาง ศาล
- บุคลทีถ่ ูกกล่ าวหาว่ ากระทำผิด จะได้ รับผลกระทบทางด้ านสิ ทธิ
เสรีภาพ จึงต้ องสั นนิษฐานไว้ ก่อนว่ าเป็ นผู้บริสุทธิ์จนกว่ าจะถูก
พิสูจน์ ว่าผิดจริง
คดีแพ่งเอกชน
เอกชน เอกชน
(ประโยชน์ ส่วนตัว) (ประโยชน์ ส่วนตัว)
รัฐ
(กรรมการ)
- เอกชนผูกนิตสิ ั มพันธ์ บนพืน้ ฐานความเสมอภาค
•ทรัพย์ สิน •ครอบครัว
•สั ญญา •มรดก
•ละเมิด •อืน่ ๆ
คดีปกครอง
รัฐ เอกชน
ประโยชน์ สาธารณะ ประโยชน์ ส่วนตัว
ศาลปกครอง
รักษาดุลยภาพระหว่ างประโยชน์ สาธารณะ
กับสิ ทธิเสรีภาพของเอกชน
เพิกถอนการกระทำทางปกครองทีไ่ ม่ ชอบด้ วยกฎหมาย

ให้ ฝ่ายปกครองชดใช้ ค่าเสี ยหายแก่ประชาชน


4.แบ่ งตามหลักกฎหมาย
หลักกฎหมายแพ่ง
 หลักกฎหมายอาญา
 หลักกฎหมายปกครอง
หลักกฎหมายระหว่ างประเทศ
5. แบ่ งตามลักษณะของกล่ มุ กระบวนวิชา

เพือ่ ประโยชน์ ในการเรียนการสอน เช่ น


กฎหมายแรงงานได้ รวมเอากฎหมายสารบัญญัติ
,วิธีสบัญญัตทิ างแรงงาน , ก.ม มหาชน และ
ก.มระหว่ างประเทศ เข้ าด้ วยกัน เป็ นต้ น
กฎหมายอาญา
คือ กฎหมายทีบ่ ัญญัตวิ ่ าการกระทำอย่ างไร
เป็ นความผิดและกำหนดโทษไว้
1. ประมวลกฎหมายอาญา
2. กฎหมายอืน่ ทีม่ โี ทษทางอาญา
1. ประมวลกฎหมายอาญา มี 3 ภาค
1.1 ภาคบทบัญญัตทิ วั่ ไป
1.2 ภาคความผิด
1.3 ภาคความผิดลหุโทษ คือ ความผิดเล็ก ๆ น้ อย ๆ ทีม่ ี
ระวางโทษจำคุกไม่ เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่ เกิน
1,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
2. กฎหมายอืน่ ทีม่ โี ทษทางอาญา

 พ.ร.บ. ป่ าไม้
 พ.ร.บ. จราจร ฯลฯ
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
เป็ น กฎหมายทีว่ ่ าด้ วยขั้นตอนในการดำเนิน
คดีอาญาตั้งแต่ ตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์
เพือ่ ทีจ่ ะนำผู้กระทำผิดมาลงโทษ
คดีอาญา
บุคคล บุคคล
กระทำต่ อ
(ผู้กระทำ) รัฐ (ผู้เสี ยหาย)
(กรรมการ)
ตำรวจ
อัยการ
- รัฐต้ องเป็ นกลาง ศาล
- บุคลทีถ่ ูกกล่ าวหาว่ ากระทำผิด จะได้ รับผลกระทบทางด้ านสิ ทธิ
เสรีภาพ จึงต้ องสั นนิษฐานไว้ ก่อนว่ าเป็ นผู้บริสุทธิ์จนกว่ าจะถูก
พิสูจน์ ว่าผิดจริง
ก า ร ดำ เ น ิน ค ด ีอ า ญ า
ค ว า ม ผ ดิ อ า ญ า ท ี่เ ก ดิ ข นึ้ ร า ช ท ัณ ฑ ์

ผ ้เู ส ีย ห า ย ผ ้กู ร ะ ทำ ผ ดิ พ จิ า ร ณ า ล ง โ ท ษ
( ร ว ม ถ ึง ร ัฐ ด ้ว ย ) ( เ ป ิ ด เ ผ ย ต ่อ ห น ้า จำ เ ล ย )
จ ้า ง ท น า ย
ร ้อ ง ท ุก ข ์ ฟ ้อ ง ศ า ล เ อ ง
ฟ ้อ ง ศ า ล
จ บั - ป ร ะ ก นั ต วั
ตำ ร ว จ ผ ้ตู ้อ ง ห า
- ต ่อ ส ู้ค ด ี
- จ บั
- ค น้
- ค ว บ ค ุม ส ร ุป สำ น ว น
ห ล กั น ิต ิก ร ร ม R u l e สอบสวน อ ยั ก า ร
of L A W
สำ น ัก ง า น ค ุม ป ร ะ พ ฤ ต ิ
การแยกประเภทความผิด
แยกโดยพิจารณาถึงผลร้ ายต่ อสั งคม
1. ความผิดอาญาต่ อแผ่ นดิน คือ ก.มไม่ ได้ บัญญัตใิ ห้ ยอม
ความได้ ซึ่งผู้กระทำถูกฟ้องได้ เสมอ ถึงแม้ จะไม่ มกี ารร้ อง
ทุกข์
2. ความผิดต่ อส่ วนตัว คือ ที่ ก.มบัญญัตใิ ห้ ยอมความได้
ห้ ามมิให้ สอบสวนเว้ นแต่ จะมีการร้ องทุกข์ โดยผู้เสี ยหาย
แล้ วเท่ านั้น จะมีการยอมความในขั้นตอนใดก็ได้ ก่อนจะมี
คำพิพากษาคดี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

บรรพ 1 บทบัญญัตทิ วั่ ไป เช่ น การใช้ การตีความกฎหมาย,


นิตกิ รรมสั ญญา อายุความ ฯลฯ
บรรพ 2 หนี้ เช่ น บ่ อเกิดแห่ งหนี้ ได้ แก่ ละเมิด ลาภมิควรได้
สั ญญา เป็ นต้ น, การบังคับชำระหนี,้ การโอนสิ ทธิ
เรียกร้ องทางหนี้
บรรพ 3 เอกเทศสั ญญา ได้ แก่ สั ญญาประเภทต่ าง ๆ
23 ประเภท ทีก่ ฎหมายกำหนดไว้ เป็ นพิเศษ
บรรพ 4 ทรัพย์ สิน ได้ แก่ ประเภทของทรัพย์ สิน
กรรมสิ ทธิ สิ ทธิต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วด้ วย กรรมสิ ทธิ์
เช่ น ภาระจำยอม
บรรพ 5 ครอบครัว ได้ แก่ การหมั้น การสมรส
ความสั มพันธ์ ระหว่ างบิดา-มารดา และบุตร
บรรพ 6 มรดก ได้ แก่ การตกทอดทางมรดก ทายาท
มีใครบ้ าง พินัยกรรม การแบ่ งมรดก เป็ นต้ น
คดีแพ่งเอกชน
เอกชน เอกชน
(ประโยชน์ ส่วนตัว) (ประโยชน์ ส่วนตัว)
รัฐ
(กรรมการ)
- เอกชนผูกนิตสิ ั มพันธ์ บนพืน้ ฐานความเสมอภาค
•ทรัพย์ สิน •ครอบครัว
•สั ญญา •มรดก
•ละเมิด •อืน่ ๆ
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง
เป็ น กฎหมายทีว่ ่ าด้ วยขั้นตอนในการดำเนิน
คดีแพ่งตั้งแต่ ศาลชั้นต้ น อุทธรณ์ ฎีกา การ
บังคับคดีแพ่ง
ก า ร ดำ เ น ิน ค ด ีแ พ ่ง
ค ่คู ว า ม ฝ ่า ย ฟ ้อ ง ส ่ง สำ เ น า คำ ฟ ้ อ ง ค ู่ค ว า ม ฝ ่า ย
ศ าล จำ เ ล ย / ท น า ย
โ จ ท ย /์ ท น า ย ใ ห ้จำ เ ล ย ภ า ย ใ น 1 5 ว ัน

ถ ูก โ ต ้แ ย ้ง ส ิท ธ ิ
จำ เ ล ย ย ื่น คำ ใ ห ้ก า ร ภ า ย
( ค ด ีม ีข ้อ พ พิ า ท ) พ ิจ า ร ณ า ค ด ี ใ น 1 5 ว นั
- ส ืบ พ ย า น
จำ เ ป ็ น ต ้อ ง ใ ช ้ส ิท ธ ิ โ จ ท ย /์ จำ เ ล ย •เอกชนทุกคนเสมอภาค
ท า ง ศ า ล ( ค ด ีไ ม ่ม ีข ้อ
พ พิ า ท )
พ ิพ า ก ษ า ค ด ี กัน ฉะนั้น ทุกคนต้ ง
รักษาผลประโยชน์ ของ
ก า ร บ ัง ค ับ ค ด ี
ภ าย ใน 1 0 ป ี ตนเองตลอดเวลา
- ย ดึ ท ร ัพ ย ์ข า
ยท อ ด ต ล าด
•ศาลจะต้ องตีความ
- ข ัง
กฎหมายให้ เกิดความ
เสมอภาค
ก.มรัฐธรรมนูญ
คือ ก.มสู งสุ ด ทีใ่ ช้ ในการปกครองประเทศ
1. กำหนดสถาบันแห่ งอำนาจสู งสุ ด
2. สถาบันทางการเมือง
3. หลักประกันสิ ทธิ-เสรีภาพ ของประชาชน
กฏหมายปกครอง
 ทีใ่ ช้ ในการจัดโครงสร้ างของรัฐ
กำหนดอำนาจหน้ าทีข่ องฝ่ ายปกครอง
การควบคุมฝ่ ายปกครอง
คดีปกครอง
รัฐ เอกชน
ประโยชน์ สาธารณะ ประโยชน์ ส่วนตัว
ศาลปกครอง
รักษาดุลยภาพระหว่ างประโยชน์ สาธารณะ
กับสิ ทธิเสรีภาพของเอกชน
เพิกถอนการกระทำทางปกครองทีไ่ ม่ ชอบด้ วยกฎหมาย

ให้ ฝ่ายปกครองชดใช้ ค่าเสี ยหายแก่ประชาชน


กฎหมายระหว่ างประเทศ
กฎหมายระหว่ างประเทศ คือ บรรดากฎ
เกณฑ์ ต่าง ๆ ทีม่ อี ยู่โดยจารีตประเพณีหรือโดยการ
ตราขึน้ ไว้ โดยนานาอารยประเทศ หรือความตกลง
ระหว่ างประเทศอันมีผลใช้ บังคับความประพฤติ
ระหว่ างบรรดารัฐเอกราชทั้งหลาย
กฎหมายระหว่ างประเทศ มี 3 ประเภท คือ
1. กฎหมายระหว่ างประเทศแผนกคดี
เมือง (Public International Law)
2. กฎหมายระหว่ างประเทศแผนกคดี
บุคคล (Private International Law)
3. กฎหมายระหว่ างประเทศแผนกคดี
อาญา (Criminal International Law)
กฎหมายระหว่ างประเทศแผนกคดีเมือง
คือ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับทีใ่ ช้ บังคับความสั มพันธ์
ระหว่ างรัฐ อันเกีย่ วกับสิ ทธิและอำนาจหน้ าที่
ของรัฐ เช่ น ในเรื่องดินแดน อาณาเขต การฑูต
และกรณีพพิ าทระหว่ างประเทศ
กฎหมายระหว่ างประเทศแผนกคดีบุคคล

เป็ นกฎเกณฑ์ ข้อบังคับความสั มพันธ์


ระหว่ างประเทศ อันเกีย่ วกับสิ ทธิและหน้ าทีข่ อง
ประชาชนพลเมือง หรือเอกชนระหว่ างประเทศ
เช่ น สั ญชาติต่าง ๆ คนต่ างด้ าว ทรัพย์ สิน บุคคล
ระหว่ างประเทศ
3. กฎหมายระหว่ างประเทศแผนกคดีอาญา
คือ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับความสั มพันธ์
ระหว่ างประเทศเกีย่ วกับความประพฤติผิดอาญา
ของเอกชนซึ่งอาจเกิดขึน้ โดยการทีบ่ ุคคลของ
ประเทศหนึ่งกระทำความผิดอาญาขึน้ แล้ วหลบ
หนีไปอยู่ในอีกประเทศหนึ่ง หรือกระทำผิดต่ อ
เนื่องกัน ในดินแดนหลายประเทศ จะมีกระบวน
พิจารณาอย่ างไร จะดำเนินการอย่ างไรในการส่ ง
ผู้ร้ายข้ ามแดน

You might also like