You are on page 1of 43

-๑-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9976/๒๕๕4
ป.วิ.อ. พยานบอกเลา การรับฟงพยานหลักฐาน (มาตรา 226/3 วรรคสอง (๑) (๒), 227 วรรคสอง)
แม โ จทก มี ผู เ สี ย หายที่ 1 เป น ประจั ก ษ พ ยานเบิ ก ความยื น ยั น ว า จํ า เลยเป น คนร า ย
ที่ ขั บ รถจั ก รยานยนต ต ามประกบรถจั ก รยานยนต ที่ ผู เ สี ย หายที่ 2 ขั บ แล ว คนร า ยที่ นั่ ง ซ อ นท า ยใช
อาวุ ธ ป น ยิ งผูเ สี ยหายทั้ งสองทางด า นขวา โดยจํ าเลยสวมหมวกนิ ร ภั ยแบบเป ด หน า คลุ มมาถึ งบริ เ วณ
เหนื อ คิ้ ว ไม มี ก ระจกป ด และสามารถมองเห็ น ใบหน า ได ก็ ต าม แต ข ณะเกิ ด เหตุ ผู เ สี ย หายทั้ ง สอง
ถื อ กรงนก โดยผู เ สี ย หายที่ ๑ ถื อ กรงนกด ว ยมื อ ขวา ส ว นผู เ สี ย หายที่ ๒ ถื อ กรงนกด ว ยมื อ ซ า ย
ผู เ สี ย หายที่ ๒ เบิ ก ความตอบทนายจํ า เลยถามค า นว า ขณะเกิ ด เหตุ ค นร า ยกระทํ า การโดยรวดเร็ ว
ผูเสียหายที่ ๒ ไมทันไดตั้งตัวและไมไดสังเกต สวนผูเสียหายที่ ๑ เบิกความตอบทนายจําเลยถามคานวา
จํ า เลยขั บ รถจั ก รยานยนต อ อกมาจากเส น ทางไหนไม ท ราบ มารู ตั ว เมื่ อ จํ า เลยขั บ รถจั ก รยานยนต
มาถึ ง ผู เ สี ย หายที่ 1 แล ว และยิ ง ป น มายั ง ผู เ สี ย หายทั้ ง สองหลายนั ด ทั น ที แสดงว า ขณะที่ ค นร า ย
ขั บรถจั ก รยานยนต ต ามรถจั ก รยานยนต ที่ ผูเ สี ยหายที่ ๒ ขั บมานั้ น ผู เ สี ยหายทั้ งสองยั งไม ทัน ระวั งตั ว
และไมค าดคิดวา จะมาปองรายตน โดยคนรายจะตองรี บกระทํา อยางรวดเร็วเพื่อมิให ผูเสียหายทั้งสอง
จดจําได และถูกจับกุม เมื่อถูกยิงแลวรถจักรยานยนตที่ผูเสียหายที่ ๒ ขับก็เสียหลักลมลง ผูเสียหายทั้งสอง
ได รั บ บาดเจ็ บ แล ว คนร า ยก็ ขั บ และซ อ นท า ยรถจั ก รยานยนต ห ลบหนี ไ ปทั น ที ดั ง นั้ น โอกาสที่
ผู เ สี ย หายที่ ๑ จะมี เ วลามองคนร า ยได ชั ด เจนตามที่ เ บิ ก ความจึ ง มี น อ ย ทั้ ง ขณะเกิ ด เหตุ ค นร า ย
ที่ ขั บ รถจั ก รยานยนต ยั ง สวมหมวกนิ ร ภั ย แม จ ะไม มี สิ่ ง ป ด บั ง บริ เ วณใบหน า แต ก็ ทํ า ให ก ารมองเห็ น
และจดจํ า คนร า ยได อ ย า งแม น ยํ า เป น ไปได ย ากยิ่ ง ขึ้ น แม จ ะเป น คนที่ เ คยรู จั ก และเห็ น ในระยะใกล
ประมาณ ๑ วาก็ ต าม ส ว นพั น ตํ า รวจตรี ฉ. พนั ก งานสอบสวน และดาบตํ า รวจ ว. พยานโจทก ซึ่ ง
เบิกความวา ผูเสียหายที่ ๑ บอกพยานทั้งสองที่โรงพยาบาลในวันเดียวกับวั นเกิดเหตุยืนยันวา จําเลย
เปนคนรายก็เปนพยานบอกเลา มิไดรูเห็นเหตุการณในขณะเกิดเหตุโดยตรง และกรณีไมเขาขอยกเว น
ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความอาญา มาตรา 226/3 วรรคสอง (๑) (๒) จึ ง ไม อาจรั บ ฟ ง
เป น พยานหลั ก ฐานได ทั้ งการที่ พัน ตํ า รวจตรี ฉ. ขออนุ มัติ ออกหมายจั บจํ า เลยในวั น รุ งขึ้ น ก็ สืบเนื่ อง
มาจากคํ า บอกเล า ของผู เ สี ย หายที่ ๑ ซึ่ ง การขออนุ มั ติ อ อกหมายจั บ ก็ ไ ม ไ ด ห มายความว า บุ ค คล
ที่ ถู ก ออกหมายจั บ จะเป น ผู ก ระทํ า ความผิ ด เพี ย งแต เ ป น การให จั บ ตั ว มาเพื่ อ ดํ า เนิ น คดี ห รื อ พิ สู จ น
ความผิ ด ที่ ถู ก กล า วหาตามกฎหมายเท า นั้ น นอกจากนี้ คํ า สั่ ง ของสถานี ตํ า รวจภู ธ รอํ า เภอบาเจาะที่
15/2548 ลงวั น ที่ 26 มกราคม 2548 เรื่ อ งแต ง ตั้ ง ชุ ด สื บ สวนสอบสวนหาตั ว ผู ก ระทํ า ผิ ด คดี นี้
ก็ มีขอความระบุ เ พี ยงว า คนร า ยไม ทราบชื่ อจํ า นวน ๒ คน ให ทํา การสื บสวนสอบสวนหาตั วผู ก ระทํ า
ความผิดที่หลบหนีและรวบรวมพยานหลักฐานมาดําเนินการตามกฎหมาย ไมไดระบุวาจําเลยเปนคนราย
ตามที่ผูเ สี ยหายที่ ๑ ยืน ยั น อัน เป นการแสดงให เ ห็ นว า เจา พนั กงานตํา รวจยั งไมแน ใ จว า จํ าเลยจะเป น
คนร า ยจริ ง ตามที่ ผู เ สี ย หายที่ ๑ ให ก าร แม พ ยานโจทก จ ะอ า งว า คํ า สั่ ง ดั ง กล า วเป น เรื่ อ งทางธุ ร การ
แตก็เ ปนคํา สั่งเรื่ องแตงตั้งเจาพนักงานตํา รวจเพื่อทํ าการสืบสวนและสอบสวนหาตัวผูกระทําความผิ ด
ซึ่ ง เป น คํ า สั่ ง ภายในของสถานี ตํ า รวจอํ า เภอบาเจาะเอง และเป น ความลั บ ของทางราชการเชื่ อ ว า
เปนขอมูลที่แทจริงและถูกตอง ลําพังการที่ผูเสียหายที่ ๑ สืบทราบวาจําเลยเปนแนวรวมผูกอความไมสงบ
ในพื้ น ที่ แ ละเคยนํ า หมายค น ไปตรวจค น บ า นจํ า เลยแต ไ ม สามารถตรวจค น ได และก อ นเกิ ด เหตุ ๑ วั น
ผูเสียหายที่ ๑ เห็นจําเลยขับรถจักรยานยนตโดยมีพวกคนเดียวกับพวกในคดีนี้นั่งซอนทาย มาแวะเวียนดู
ผูเสียหายที่ ๑ ที่รานน้ําชาหลายครั้ง จึงเชื่อวาจําเลยเปนคนราย จึงแจงพนักงานสอบสวนทราบและ
/ตอมา...
-๒-

ต อ มามี ก ารขออนุ มั ติ อ อกหมายจั บ จํ า เลย ก็ น า จะเป น เพี ย งการคาดเดาของผู เ สี ย หายที่ ๑ เท า นั้ น
ประกอบกั บจํ า เลยก็ ใ ห ก ารปฏิ เ สธมาโดยตลอด พยานหลั ก ฐานของโจทก ที่ นํ า สื บมายั งมี ค วามสงสั ย
ตามสมควรวาจําเลยเปนคนรายรวมกระทําความผิดตามที่ศาลชั้นตนพิพากษาจริงหรือไม ตองยกประโยชน
แหงความสงสัยนั้นใหจําเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 227 วรรคสอง

พนักงานอัยการจังหวัดนราธิวาส โจทก

ระหวาง

นายมูหัมมัดซูไฮรี หะยีดะ จําเลย

โจทกฟองขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 32, 80, 83, 91, 288, 289,


371 พระราชบั ญ ญั ติ อ าวุ ธ ป น เครื่ อ งกระสุ น ป น วั ต ถุ ร ะเบิ ด ดอกไม เ พลิ ง และสิ่ ง เที ย มอาวุ ธ ป น
พ.ศ. 2490 มาตรา 7, 8 ทวิ, 72, 72 ทวิ ริบของกลาง
จําเลยใหการปฏิเสธ
ศาลชั้ น ต น พิ จ ารณาแล ว พิ พ ากษาว า จํ า เลยมี ค วามผิ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 289 (4) ประกอบมาตรา 80, 83 และ 371 พระราชบั ญ ญั ติ อ าวุ ธ ป น เครื่ อ งกระสุ น ป น
วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่ ง เที ย มอาวุ ธ ป น พ.ศ. 2490 มาตรา 7, 8 ทวิ วรรคหนึ่ง, 72 วรรคสาม,
72 ทวิ วรรคสอง การกระทํ าของจํ า เลยเป น ความผิ ด หลายกรรมต างกั น ให ล งโทษทุ ก กรรมเป น กระทง
ความผิ ด ไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 ฐานร ว มกั น พยายามฆ า ผู อื่ น โดยไตร ต รองไว ก อ น
ให จํ า คุ ก ตลอดชี วิ ต ฐานร ว มกั น มี อ าวุ ธ ป น ที่ มี ท ะเบี ย นของผู อื่ น ไว ใ นครอบครองโดยไม รั บ ใบอนุ ญ าต
จําคุ ก ๖ เดือน ฐานรว มกัน พาอาวุธป นไปในเมื อง หมู บานหรือทางสาธารณะโดยไม ไดรั บใบอนุญาต และ
โดยไม มี เ หตุ ส มควร เป น การกระทํ า อั น เป น กรรมเดี ย วเป น ความผิ ด ต อ กฎหมายบท ให ล งโทษ
ตามพระราชบัญญัติอาวุธปนฯ ซึ่งเปนกฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90
จําคุก 6 เดือน เมื่อรวมโทษทุกกระทงแลวใหจําคุกตลอดชีวิตสถานเดียว ริบของกลาง ขอหาอื่นใหยก
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 9 พิพากษากลับ ใหยกฟองโจทก แตใหริบของกลาง
โจทกฎีกา
ศาลฎีกาพิเคราะหแลว ขอเท็จจริงเบื้องตนฟงไดวา ในวันเวลาและสถานที่เกิดเหตุตามฟอง
มี ค นร า ยสองคนขั บ และซ อ นท า ยรถจั ก รยานยนต ต ามประกบรถจั ก รยานยนต ที่ ผู เ สี ย หายที่ 2 ขั บ
โดยมี ผูเ สีย หายที่ 1 นั่งซอนท าย คนรายที่ นั่งซอนท ายใชอาวุ ธป นยิ งผูเ สีย หายทั้ งสองหลายนั ดกระสุน ป น
ถูกผูเสียหายที่ 1 บริเวณทองนอยขวา กระสุนทะลุเขาชองทองทําใหลําไสใหญทะลุและกระดูกเชิงกรานแตก
กระสุ น ฝ ง อยู ใ นช อ งท อ ง และถู ก ผู เ สี ย หายที่ 2 บริ เ วณชายโครงซ า ย หน า อกขวา ต น แขนขวา และ
ต น ขาขวา รถจั ก รยานยนต ที่ ผู เ สี ย หายที่ ๒ ขั บ ล ม ลงข า งทาง จากนั้ น คนร า ยสองคนขั บ และซ อ นท า ย
รถจักรยานยนตหลบหนีไป ตอมาเจาพนักงานตํารวจจับจําเลยไดตามหมายจับ ชั้นจับกุมและชั้นสอบสวน
จํ า เลยให ก ารปฏิ เ สธ มี ป ญ หาต อ งวิ นิ จ ฉั ย ตามฎี ก าของโจทก ว า จํ า เลยเป น คนร า ยร ว มกระทํ า ความผิ ด
ตามคําพิพากษาศาลชั้นตนหรือไม เห็นวา แมโจทกมีผูเสียหายที่ 1 เป น ประจั ก ษ พ ยานเบิ ก ความยื น ยั น ว า
/จําเลย…
-๓-

จํ า เลยเป น คนร า ยที่ ขั บ รถจั ก รยานยนต ต ามประกบรถจั ก รยานยนต ที่ ผู เ สี ย หายที่ 2 ขั บ แล ว คนร า ย
ที่ นั่ ง ซ อ นท า ยใช อ าวุ ธ ป น ยิ ง ผู เ สี ย หายทั้ ง สองทางด า นขวา โดยจํ า เลยสวมหมวกนิ ร ภั ย แบบเป ด หน า
คลุมมาถึงบริเวณเหนือคิ้ว ไมมีกระจกปดและสามารถมองเห็นใบหนาไดก็ตาม แตขณะเกิดเหตุผูเสียหายทั้งสอง
ถือกรงนก โดยผูเสียหายที่ ๑ ถือกรงนกดวยมือขวา สวนผูเสียหายที่ ๒ ถือกรงนกดวยมือซาย ผูเสียหายที่ ๒
เบิกความตอบทนายจําเลยถามคานวา ขณะเกิดเหตุคนรายกระทําการโดยรวดเร็ว ผูเสียหายที่ ๒ ไมทันไดตั้งตัว
และไม ไ ด สั ง เกต ส ว นผู เ สี ย หายที่ ๑ เบิ ก ความตอบทนายจํ า เลยถามค า นว า จํ า เลยขั บ รถจั ก รยานยนต
ออกมาจากเสนทางไหนไมทราบ มารูตัวเมื่อจําเลยขับรถจักรยานยนตมาถึงผูเสียหายที่ 1 แลว และยิงปน
มายั ง ผู เ สี ย หายทั้ ง สองหลายนั ด ทั น ที แสดงว า ขณะที่ ค นร า ยขั บ รถจั ก รยานยนต ต ามรถจั ก รยานยนต ที่
ผูเสี ยหายที่ ๒ ขั บมานั้น ผู เสี ยหายทั้ งสองยั งไมทันระวังตัว และไม คาดคิ ดวาจะมาปองรายตน โดยคนราย
จะตองรีบกระทําอยางรวดเร็วเพื่อมิใหผูเสียหายทั้งสองจดจําได และถูกจับกุม เมื่อถูกยิงแลวรถจักรยานยนต
ที่ ผู เ สี ย หายที่ ๒ ขั บ ก็ เ สี ย หลั ก ล ม ลง ผู เ สี ย หายทั้ ง สองได รั บ บาดเจ็ บ แล ว คนร า ยก็ ขั บ และซ อ นท า ย
รถจักรยานยนตหลบหนีไปทันที ดังนั้น โอกาสที่ผูเสียหายที่ ๑ จะมีเวลามองคนรายไดชัดเจนตามที่เบิกความ
จึงมีนอย ทั้งขณะเกิดเหตุคนรายที่ขับรถจักรยานยนตยังสวมหมวกนิรภัย แมจะไมมีสิ่งปดบังบริเวณใบหนา
แต ก็ ทํ า ให การมองเห็ น และจดจํ า คนร า ยได อ ย า งแม น ยํ า เป น ไปได ย ากยิ่ ง ขึ้ น แม จ ะเป น คนที่ เ คยรู จั ก และ
เห็นในระยะใกลประมาณ ๑ วาก็ตาม สวนพันตํารวจตรี ฉ. พนักงานสอบสวน และดาบตํารวจ ว. พยานโจทก
ซึ่งเบิ กความว า ผูเ สี ย หายที่ ๑ บอกพยานทั้งสองที่ โ รงพยาบาลในวั น เดี ย วกั บ วัน เกิ ด เหตุ ยื น ยั น วา จํ าเลย
เป น คนร า ยก็ เ ป น พยานบอกเล า มิ ไ ด รู เ ห็ น เหตุ ก ารณ ใ นขณะเกิ ด เหตุ โ ดยตรง และกรณี ไ ม เ ข า ข อ ยกเว น
ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความอาญา มาตรา 226/3 วรรคสอง (๑) (๒) จึ ง ไม อ าจรั บ ฟ ง
เปนพยานหลักฐานได ทั้งการที่พันตํารวจตรี ฉ. ขออนุมัติออกหมายจับจําเลยในวันรุงขึ้น ก็สืบเนื่องมาจาก
คําบอกเลาของผูเสี ยหายที่ ๑ ซึ่ งการขออนุมัติออกหมายจั บก็ไม ไดหมายความวาบุคคลที่ถูกออกหมายจั บ
จะเป น ผู ก ระทํ า ความผิ ด เพี ย งแต เ ป น การให จั บ ตั ว มาเพื่ อ ดํ า เนิ น คดี ห รื อ พิ สู จ น ค วามผิ ด ที่ ถู ก กล า วหา
ตามกฎหมายเท า นั้ น นอกจากนี้ คํ า สั่ ง ของสถานี ตํ า รวจภู ธ รอํ า เภอบาเจาะที่ 15/2548 ลงวั น ที่
26 มกราคม 2548 เรื่ อ งแต ง ตั้ ง ชุ ด สื บ สวนสอบสวนหาตั ว ผู ก ระทํ า ผิ ด คดี นี้ ก็ มี ข อ ความระบุ เ พี ย งว า
คนรายไมทราบชื่อจํานวน ๒ คน ใหทําการสืบสวนสอบสวนหาตัวผูกระทําความผิดที่หลบหนีและรวบรวม
พยานหลักฐานมาดําเนินการตามกฎหมาย ไมไดระบุวาจําเลยเปนคนรายตามที่ผูเสียหายที่ ๑ ยืนยันอันเปน
การแสดงให เห็ น วาเจาพนักงานตํ ารวจยั งไม แนใจวาจํ าเลยจะเป น คนร ายจริงตามที่ ผูเ สี ยหายที่ ๑ ใหการ
แม พยานโจทก จ ะอ างวาคํ าสั่ งดั งกล าวเป น เรื่ องทางธุร การ แต ก็เ ป น คํ าสั่ งเรื่ องแต งตั้งเจ าพนั กงานตํ ารวจ
เพื่อทําการสืบสวนและสอบสวนหาตัวผูกระทําความผิดซึ่งเปนคําสั่งภายในของสถานีตํารวจอําเภอบาเจาะเอง
และเปนความลับของทางราชการเชื่อวาเปนขอมูลที่แทจริงและถูกตอง ลําพังการที่ผูเสียหายที่ ๑ สืบทราบวา
จํ า เลยเป น แนวร ว มผู ก อ ความไม ส งบในพื้ น ที่ แ ละเคยนํ า หมายค น ไปตรวจค น บ า นจํ า เลยแต ไ ม ส ามารถ
ตรวจคนไดและกอนเกิดเหตุ ๑ วันผูเสียหายที่ ๑ เห็นจําเลยขับรถจักรยานยนตโดยมีพวกคนเดียวกับพวก
ในคดี นี้ นั่ ง ซ อ นท า ย มาแวะเวี ย นดู ผู เ สี ย หายที่ ๑ ที่ ร า นน้ํ า ชาหลายครั้ ง จึ ง เชื่ อ ว า จํ า เลยเป น คนร า ย
จึงแจงพนักงานสอบสวนทราบและตอมามีการขออนุมัติออกหมายจับจําเลย ก็นาจะเปนเพียงการคาดเดา
ของผู เ สี ย หายที่ ๑ เท า นั้ น ประกอบกั บ จํ า เลยก็ ใ ห ก ารปฏิ เ สธมาโดยตลอด พยานหลั ก ฐานของโจทก
ที่นํ าสืบ มายังมี ความสงสั ย ตามสมควรว าจํ าเลยเป นคนร ายร ว มกระทําความผิ ด ตามที่ ศาลชั้ นต น พิ พากษา
จริ งหรื อไม ต องยกประโยชน แห งความสงสั ย นั้ น ให จําเลยตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิจ ารณาความอาญา
/มาตรา…
-๔-

มาตรา 227 วรรคสอง ที่ศาลอุทธรณภาค 9 พิพากษามานั้นชอบแลว ฎีกาของโจทกฟงไมขึ้น


พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นคร ผกามาศ - ยอ


ชานน หมื่นธง - พิมพ
-๕-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12120/2554
ป.อ. บุกรุก (มาตรา 362)
ป.พ.พ. ที่ดินสาธารณสมบัติของแผนดิน (มาตรา 1304)
พ.ร.บ. ปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507
ที่ ดิ น เกิ ด เหตุ เ ป น ที่ ดิ น ในเขตป า สงวนแห ง ชาติ แ ละทางราชการยั ง มิ ไ ด นํ า ไปจั ด สรร
ใหแกประชาชนทํากิน ดังนี้ ที่ดินเกิดเหตุจึงเปนทรัพยสินของแผนดิน ซึ่งสงวนไวเพื่อประโยชนรวมกัน
ตามประมวลกฎหมายแพ งและพาณิ ช ย มาตรา 1304 และต อ งห า มมิ ใ ห บุ ค คลใดยึ ด ถื อครอบครอง
ทํ า ประโยชน ห รื อ อยู อ าศั ย ตามพระราชบั ญ ญั ติ ป า สงวนแห ง ชาติ พ.ศ. 2507 โจทก ร ว มหรื อ
ผู ใ ดจะยกเอาการครอบครองของตนใช ยั น ต อรั ฐ มิ ไ ด จึ ง ไม ไ ด สิท ธิ ค รอบครองโดยชอบด วยกฎหมาย
ในที่ดินเกิดเหตุ ฉะนั้นการกระทําของจําเลยที่ 1 และที่ 3 ตามฟองของโจทกหากจะเกิดขึ้นในที่ดินเกิดเหตุจริง
ก็ ไ ม เ ป น การรบกวนการครอบครองอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ข องโจทก ร ว มอั น จะเป น ความผิ ด ฐานบุ ก รุ ก
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362, 365 ดังฟองได ศาลฎีกาเห็นพองดวยในการวินิจฉัยดังกลาว
ที่ ฎี ก าของโจทก ก ล า วว า โจทก ร ว มครอบครองยึ ด ถื อ ที่ พิ พ าทก อ น ย อ มได สิ ท ธิ ค รอบครองตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1367 ใชยันเอกชนผูเขามารบกวนการครอบครองได และ
คดีที่เปนความผิดตออาญาแผนดิน อัยการโจทกจึงฟองขอใหลงโทษจําเลยที่ ๑ และที่ 3 ไดนั้น เห็นวา
แม โ จทก ร ว มจะเข า ครอบครองยึ ด ถื อ ที่ ดิ น พิ พ าทก อ นก็ เ ป น เรื่ อ งผิ ด กฎหมาย โจทก ร ว มไม ไ ด
สิ ท ธิ ค รอบครองตามกฎหมาย เมื่ อ มี ผู อื่ น มารบกวนการครอบครองก็ ข าดองค ป ระกอบความผิ ด
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362 ที่วา “รบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพยโดยปกติสุข”
จึงไมเกิดความผิดขึ้น
_______________________________________
พนักงานอัยการจังหวัดภูเขียว โจทก
ระหวาง นายวรวิทย เพิ่มปญญา โจทกรวม
นางวิลาวัลยหรือวิลาวัณย รวิวรรณ ที่ 1 กับพวกรวม 3 คน จําเลย
โจทก ฟ อ งว า เมื่ อ ระหว า งวั น ที่ 7 ถึ ง วั น ที่ 8 กุ ม ภาพั น ธ 2543 ทั้ ง เวลากลางวั น และ
กลางคื น จํ า เลยทั้ ง สามร ว มกั น ทํ า ให เ สี ย หาย ทํ า ลาย ทํ า ให เ สื่ อ มราคา ทํ า ให ไ ร ป ระโยชน โ ดยรื้ อ ถอน
เสารั้วไม 3 ตน ราคา 150 บาท รื้อรั้วลวดหนามยาว 6 เมตร 4 เสน ราคา 140 บาท ตัดฟนตนขนุน 60 ตน
กั บ ต น มะม ว ง 10 ต น ราคา 10,000 บาท ของผู เ สี ย หาย เป น เหตุ ใ ห ท รั พ ย สิ น ของผู เ สี ย หายได รั บ
ความเสี ย หายเป น เงิ น 10,290 บาท แล ว ร ว มกั น บุ ก รุ ก เข า ไปในที่ ดิ น อั น เป น อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ข อง
ผูเสี ยหาย ปรับที่ ดิ น ตั ดฟ นต นขนุ น ต นมะม วงของผู เสี ยหาย ปลู กกระท อมพั กอาศั ยและต นกล วยลงบนที่ ดิ น
เปนเนื้อที่ 1 ไร ๒ งาน 30 ตารางวา เพื่อถือการครอบครองอสังหาริมทรัพยนั้นทั้งหมด อันเปนการรบกวน
การครอบครองอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ข องผู เ สี ย หายโดยปกติ สุ ข เหตุ เ กิ ด ที่ ตํ า บลเก า ย า ดี อํ า เภอแก ง คร อ
จังหวัดชัยภูมิ ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83, 358, 362, 365
จําเลยทั้งสามใหการปฏิเสธ
ระหวางพิจารณา ผูเสียหายยื่นคํารองขอเขารวมเปนโจทก ศาลชั้นตนอนุญาต
/ศาลชัน้ ตน...
-๖-

ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยทั้งสามมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 358, 365 (2) ประกอบมาตรา 362, 83 การกระทํ า ของจํ า เลยทั ้ง สองเปน กรรมเดีย ว
ผิด ตอกฎหมายหลายบท ใหลงโทษฐานรวมกันบุกรุกอสังหาริมทรัพยของผูอื่น ซึ่งเปนบทที่มีโทษหนักที่สุด
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 จํ าคุ กคนละ 4 เดื อน และปรั บ คนละ 6,000 บาท ทางนํ าสื บ
ของจํ า เลยทั ้ง สามเปน ประโยชน แ ก ก ารพิ จ ารณา มี เ หตุ บ รรเทาโทษ ลดโทษใหค นละหนึ ่ง ในสี่
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 คงจําคุกคนละ 3 เดือน และปรับคนละ 4,500 บาท โทษจําคุก
ใหรอการลงโทษไวมีกําหนด ๒ ป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56 หากไม ชําระคาปรั บใหจั ดการ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 29, 30
จําเลยทั้งสามอุทธรณ
ระหวางพิจารณาของศาลอุทธรณภาค 3 จําเลยที่ ๒ ถึงแก ความตาย ศาลอุทธรณภาค 3
มีคําสั่งจําหนายคดีเฉพาะจําเลยที่ ๒ ออกจากสารบบความ
ศาลอุทธรณภาค 3 พิพากษากลับ ใหยกฟอง
โจทกและโจทกรวมฎีกา
ศาลฎีกาพิเคราะหแลว สําหรับความผิดฐานบุกรุก ศาลอุทธรณภาค 3 ไดวินิจฉัยขอกฎหมายวา
เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ที่ดินเกิดเหตุเปนที่ดินในเขตปาสงวนแหงชาติและทางราชการยังมิไดนําไปจัดสรร
ให แ ก ป ระชาชนทํ ากิ น ดั ง นี้ ที่ ดิ น เกิ ด เหตุ จึ ง เป น ทรั พ ย สิ น ของแผ น ดิ น ซึ่ ง สงวนไว เ พื่ อ ประโยชน ร ว มกั น
ตามประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย มาตรา 1304 และต อ งห า มมิ ใ ห บุ ค คลใดยึ ด ถื อ ครอบครอง
ทําประโยชนหรืออยูอาศัยตามพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 โจทกรวมหรือผูใดจะยกเอา
การครอบครองของตนใชยันตอรัฐมิได จึงไมไดสิทธิครอบครองโดยชอบดวยกฎหมายในที่ดินเกิดเหตุ ฉะนั้น
การกระทําของจําเลยที่ 1 และที่ 3 ตามฟองของโจทกหากจะเกิดขึ้นในที่ดินเกิดเหตุจริง ก็ไมเปนการรบกวน
การครอบครองอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ของโจทก ร ว มอั น จะเป น ความผิ ด ฐานบุ กรุ กตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 362, 365 ดั ง ฟ อ งได ศาลฎี ก าเห็ น พ อ งด ว ยในการวิ นิ จ ฉั ย ดั ง กล า ว ที่ ฎี ก าของโจทก ก ล า วว า
โจทก ร ว มครอบครองยึ ด ถื อที่ พิ พาทก อน ย อมได สิ ท ธิ ครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ งและพาณิ ช ย
มาตรา 1367 ใช ยั น เอกชนผู เ ข า มารบกวนการครอบครองได และคดี ที่ เ ป น ความผิ ด ต อ อาญาแผ น ดิ น
อั ย การโจทก จึ ง ฟ อ งขอให ล งโทษจํ า เลยที่ ๑ และที่ 3 ได นั้ น เห็ น ว า แม โ จทก ร ว มจะเข า ครอบครอง
ยึ ด ถื อ ที่ ดิ น พิ พ าทก อ นก็ เ ป น เรื่ อ งผิ ด กฎหมาย โจทก ร ว มไม ไ ด สิ ท ธิ ค รอบครองตามกฎหมาย เมื่ อ มี ผู อื่ น
มารบกวนการครอบครองก็ ข าดองค ป ระกอบความผิ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362
ที่วา “รบกวนการครอบครองอสัง หาริม ทรัพ ยโดยปกติสุ ข” จึง ไมเ กิด ความผิด ขึ ้น ฎีกาของโจทกไมอาจ
ทําใหฟองในขอหาบุกรุกครบองคประกอบเปนความผิดได สวนที่โจทกรวมฎีกากลาวบรรยายขอเท็จจริงวา
จํ า เลยที่ 1 โอนที่ ดิ น พิ พ าทให โ จทก ร ว มและโจทก ร ว มเข า ยึ ด ถื อ ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทก็ เ ช น เดี ย วกั น
ไมทําใหโจทกรวมมีสิทธิครอบครองตามกฎหมาย และการครอบครองของโจทกรวมก็ไมเปนการครอบครอง
อสั ง หาริ ม ทรั พ ย โ ดยปกติ สุ ข อั น เป น องค ป ระกอบของความผิ ด ฐานบุ ก รุ ก ตามฟ อ ง ฎี ก าของโจทก แ ละ
โจทกรวมในขอหาบุกรุกจึงฟงไมขึ้น
ป ญ หาต อ งวิ นิ จ ฉั ย ต อ มาว า จํ า เลยที่ ๑ และที่ ๓ มี ความผิ ด ฐานทํ า ให เ สี ย ทรั พ ย ห รื อ ไม
โจทกฎีกาวา แมไมมีพยานเห็นจําเลยขณะทําลาย ทําใหเสียทรัพย แตรูปคดีที่จําเลยที่ ๑ และที่ ๓ ควบคุม
การบุ ก รุ ก ย อ มบ งชี้ การทํ า ให เ สี ย ทรั พย จ ริ ง ไม อาจรั บ ฟ งเป น อย างอื่ น ต องฟ งว าร ว มกั น ทํ าให เ สี ย ทรั พ ย
และศาลพิจารณาลงโทษจําเลยที่ 1 และที่ 3 ตามฟองโจทกได เห็นวา ตามฟองทรัพยที่จําเลยที่ 1 และที่ 3
ทําใหเสียหายทําลาย ทําใหเสื่อมคา และทําใหไรประโยชน คือ เสารั้วไม 3 ตน รั้วลวดหนามยาว 6 เมตร
/5 เสน...
-๗-

5 เส น ต น ขนุ น 60 ต น และมะม ว ง 10 ต น ทรั พ ย เ หล านี้ ป รากฏในการนํ าสื บ ของโจทก แ ละโจทก ร ว ม
ตามคําเบิกความของโจทกรวมและ ส. แตก็เปนคํ าเบิกความลอย ๆ โจทกรวมไม ไดบอกว าจางใครลอมรั้ ว
ลวดหนาม สวน ส. วา โจทกรวมจางพยานปลูกตนขนุน 60 ตน และตนมะมวง 10 ตน ในราคาตนละ 5 บาท
กอนเกิดเหตุ 1 ป จึงทําใหสงสัยตั้งแตแรกวามีการลอมรั้วและปลูกตนไมตนละ 5 บาท กอนเกิดเหตุ 1 ป
จริงหรือไม อยางไร และรั้วกับตนไมดังกลาวอยูรอดมาถึงวันเกิดเหตุหรือไม และเมื่อพิเคราะหเหตุนาสงสัย
มากมายหลายประการตามคําวินิจฉัยของศาลอุทธรณภาค 3 แลว ยอมเปนความสงสัยตามสมควรวามีการ
ทําใหเ สียหาย ทํ าลายหรือทํ าใหไรประโยชน ซึ่งทรั พยต ามฟองจริ งหรือไม การที่โ จทกอางว ามี พยานโจทก
เห็นจําเลยที่ 1 และที่ 3 รวมกันควบคุมการบุกรุกจะตองกระทําความผิดฐานทําใหเสียทรัพยตามฟองดวยนั้น
ฟงไมขึ้น สวนฎีกาของโจทกรวมที่แสดงเหตุผลวาพยานหลักฐานของโจทกและโจทกรวมมีน้ําหนักฟงไดวา
จําเลยที่ 1 และที่ 3 ทําให เสี ย ทรั พยต ามฟองนั้น เมื่อพิ เคราะห แลว เหตุ ผ ลดั งกลาวไม อาจหั กลางเหตุ ผ ล
ในคําวินิจฉัยของศาลอุทธรณภาค 3 ได ฎีกาของโจทกรวมฟงไมขึ้นเชนกัน
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

เฉลิมชัย ภูเงิน - ยอ


ชานน หมื่นธง - พิมพ
-๘-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 2725/2555
ป.วิ.อ. พยานบอกเลา (มาตรา 226/3 วรรคสอง (๑))
แม คํ า ให ก ารชั้ น สอบสวนจะเป น พยานบอกเล า แต เ มื่ อ พิ จ ารณาตามสภาพ ลั ก ษณะ
แหล งที่ มา และข อเท็ จจริ งแวดลอมของพยานบอกเล า นั้น นา เชื่อว าจะพิสูจ น ความจริ งได จึงรั บฟ งได
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 226/3 วรรคสอง (๑)
________________________________________
พนักงานอัยการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โจทก
ระหวาง
นายไพโรจนหรือไพรโรจนหรือเอ ตรีสารศรี จําเลย
โจทกฟอง ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 92, 288 และเพิ่มโทษจําเลย
ตามกฎหมาย
จําเลยใหการปฏิเสธ แตรับวาเปนบุคคลเดียวกับจําเลยในคดีที่โจทกขอใหเพิ่มโทษ
ศาลชั้ น ต น พิ จ ารณาแล ว พิ พ ากษาว า จํ า เลยมี ค วามผิ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 288 จําคุกตลอดชีวิต คําขออื่นใหยก
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 1 พิพากษายืน
จําเลยฎีกา
ศาลฎีกาพิเคราะหแลว ขอเท็จจริงที่คูความไมโตเถียงกันในชั้นฎีการับฟงเปนยุติวา เมื่อวันที่
๖ เมษายน 2549 เวลาประมาณ 20 นาฬิกา ก. ป. ส. ผูตาย และจําเลย รว มวงดื่ม สุร ากัน ที่รานอาหาร
หนาสถานีรถไฟชุมทาง ภ. ระหวางนั้นจําเลยขอยืมรถจักรยานยนตของผูตายเพื่อไปซื้อน้ํามัน แตจําเลยดูดเอา
น้ํามันจากรถจักรยานยนตของผูตายไปใสขวดน้ําดื่มขนาด ๑ ลิตร ๒ ขวด แลวนําน้ํามันเชื้อเพลิงดังกลาวไปเติม
รถจักรยานยนตของจําเลย จากนั้นจําเลยกับผูตายแยกยายกันไป ตอมาเวลาประมาณ ๒๑ นาฬิกา ผูตายไปพบ
จํ า เลยที่ วั ด ห. ผู ต ายตบหน า จํ า เลย ๒ ถึ ง ๓ ครั้ ง ต อ หน า คนกลุ ม หนึ่ ง กล า วหาว า จํ า เลยลั ก น้ํ า มั น
จากรถจักรยานยนตของผูตาย ตอมาผูตายถูกคนรายทํารายจนถึงแกความตาย ครั้นวันที่ ๘ เมษายน 2549
มี ผู พ บศพผู ต ายอยู ใ นคลองส ง น้ํ าพร อ มรถจั ก รยานยนต ข องผู ต าย หลั ง เกิ ด เหตุ จํ าเลยหลบหนี ไ ปอยู ที่อื่ น
มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามฎีกาของจําเลยวา จําเลยกระทําความผิดตามคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค ๑ หรือไม
เห็นวา แมโจทกจะไมมีประจักษพยานรูเห็นวาจําเลยเปนคนรายที่ฆาผูตายก็ตาย แตโจทกก็มีพยานพฤติเหตุ
แวดลอมมานําสืบใหเห็นวา กอนเกิดเหตุผูตายกลาวหาวาจําเลยลักน้ํามันจากรถจักรยานยนตของผูตายไปและ
ผูต ายตบหน าจํ าเลย ๒ ถึง ๓ ครั้ ง ต อหน าคนกลุมหนึ่ง ซึ่ งการกระทําของผู ตายดั งกล าวย อมทํ าให จํ าเลย
โกรธแคนผูตาย โจทกมี ร. และ บ. เบิกความวาวันที่ ๖ เมษายน 2549 เวลาประมาณ 23 นาฬิกา ผูตายซึ่งเปน
หลานได ขับรถจั กรยานยนต ไปที่ บ าน ร. และบอกพยานว า ผู ตายไปตบจํ าเลยมา เพราะจํ าเลยไปลั กดู ดน้ํ ามั น
รถจักรยานยนตของผูตาย โดยขณะตบจําเลยมี อ. พี่ชายจําเลย ช. ต. และ ง. พวกของจําเลยอยูดวย ผูตาย
ขอหลบที่บาน ร. สักพักหนึ่ง เพื่อใหจําเลยกับพวกที่ จับกลุมอยูที่หนาศาลาสลายตัวไปกอน เพราะเกรงว า
จําเลยกับพวกจะดักรุมทําราย หลังจากนั้นประมาณครึ่งชั่วโมงผูตายก็บอกวาจะกลับบาน ประกอบกับ พ.
เบิกความวา เมื่อเกิดเหตุตบหนากันแลวพวกที่นั่งดื่มสุราก็แยกยายกันไปรวมทั้งจําเลยดวย คงเหลื อพยานกับ
/ผูตาย...
-๙-

ผูตายนั่งพูดคุยกันจนกระทั่งเวลาประมาณ 23 นาฬิกา ผูตายก็บอกวากลับแลว แลวผูตายก็ขับรถจักรยานยนต


ออกไป การที่จําเลยกับพวกออกจากวงสุราไปกอนผูตาย จึงสอดคลองกับที่ผูตายบอก ร. และ บ. วา จําเลยกับ
พวกจับกลุมกันที่ศาลาวัด เชื่อวาเมื่อผูตายจะกลับจากวัดพบจําเลยกับพวกจับกลุมกันที่ศาลาวัด ผูตายจึงตอง
ไปหลบที่บานของ ร. กอน การที่จําเลยกับพวกไมกลับบาน แตยังคงรวมกลุมกันที่ศาลาวัดโดยรูวาผูตายยังไม
กลั บบ านยอมเปน การสนับ สนุ นใหเ ห็น ได วาจําเลยมี ความโกรธแค นผู ตายที่ ตบหน าจํ าเลย เมื่อขอเท็ จจริ ง
ไมปรากฏวาผูตายมีสาเหตุโกรธเคืองกับผูใดจนถึงกับตองเอาชีวิต เชื่อวาสาเหตุดังกลาวเปนสาเหตุที่ทําให
ผู ต ายถึ งแก ความตาย โจทก ยั งมี ม. เบิ กความว า เมื่ อวั น ที่ ๗ เมษายน 2549 เวลาประมาณ 8 นาฬิ ก า
พยานออกไปฉีดยาฆาหญาที่นาซึ่งอยูติดกับคลองสงน้ําซึ่งเลียบกับถนนสานหนองเจ็ก-หัวคุง ระหวางฉีดยานั้น
เห็นเด็กวัยรุน ๒ คน ขับและซอนทายรถจักรยานยนตจอดบนถนนและกมลงหาสิ่งของบริเวณถนนดวย ใชเวลา
คน หาสิ่ งของประมาณ 10 ถึ ง 20 นาที พยานอยู ห างประมาณ 25 เมตร ต อมาพยานเห็ น วั ย รุ น คนหนึ่ ง
หยิบสิ่งของขึ้นมาจากพื้นเปนสีดําลักษณะคลายรองเทา บริเวณที่หยิบสิ่งของเปนทุงหญาซึ่งมีระยะระหวาง
ขอบคัน คลองกับ ริมถนนประมาณ ๑ เมตร หลังจากนั้น ชายสองคนขึ้น รถจั กรยานยนต ไประยะ ๒๕ เมตร
พยานเห็นหนาคนที่รูจักจะสามารถจําได แตชายสองคนจําไมไดเพราะไมรูจัก หลังจากนั้นประมาณ 10 นาที
พยานเห็นจําเลยขับรถจักรยานยนตแบบผูหญิงสีชมพูมาหยุดที่เดียวกับที่ชายสองคนแรกมาจอดรถหาสิ่งของ
โดยจํ า เลยไปหยุ ด รถใต ต น มะขามเทศ และนั่ ง คร อ มรถจั ก รยานยนต ไ ว เห็ น จํ า เลยมายื น บริ เ วณข า ง
รถจักรยานยนต ขณะนั้นพยานเสร็จจากการฉีดยาฆ าหญาแลวจึงเดินทางกลับ บานโดยนํารถจักรยานยนต
ขึ้นจากนามาบนถนนสายเดียวกันและขับผานจําเลยที่จอดรถไป แตไมไดพูดคุยกับจําเลย เมื่อ ม. รูจักจําเลย
มากอนและมีโอกาสเห็นจําเลยถึง ๒ ครั้ง ครั้งแรกขณะที่ยืน ฉีด ยาฆาหญาในนา ซึ่งไดความจาก ม. วาบริเวณ
ฉีดยาฆาหญาภายในนามองมาบริเวณที่เกิดเหตุซึ่งเปนถนนอยูสูงกวาทองนา ขณะ ม. เห็นจําเลยเปนเวลา
กลางวัน แมจะอยูหางประมาณ 25 เมตร แตระหวางที่นากับถนนยอมเปนที่โลง ม. ยอมมองเห็นจําเลยได
และครั้งที่สองเมื่อ ม. ขับรถจักรยานยนตผานจําเลย แม ม. จะไมไดพูดคุยกับจําเลยก็ไมถึงกับเปนพิรุธและ
เด็กชาย บ. พยานโจทกใหการชั้นสอบสวนวา วันที่ 7 เมษายน 2549 เวลาประมาณ 9 นาฬิกา ขณะพยาน
อยู ที่บ านจํ าเลยซึ่ งเป น น าได ม าชั กชวนให ไปหาของแล ว บอกให ขึ้น รถจั กรยานยนต พยานจึ งขึ้ น ซ อนท า ย
รถจักรยานยนต จําเลยขับรถจักรยานยนตไปจอดบริเวณที่เกิดเหตุ พยานถามจําเลยวาหาอะไร จําเลยไมตอบ
แลวเดินหาสิ่งของที่ขางถนนทั้งสองฝง ใชเวลาประมาณ 15 นาที พยานเห็นจําเลยกมลงเก็บสิ่งของไมทราบวา
เป น อะไรที่ ขา งถนนฝ ง ด า นทิ ศ ใต จากนั้ น จํ า เลยเดิ น ไปกลางถนนพร อ มกั บ พู ด ว า เจอแล ว แล ว เดิ น ไปที่
รถจักรยานยนต พยานจึงขับรถจักรยานยนตใหจําเลยนั่งซอนทายกลับบานแมเด็กชาย บ. จะเบิกความวา
คนที่ชวนไปหาสิ่งของไมใชจําเลย แตเปนชายคนหนึ่งที่เด็กชาย บ. เรียกวา ลุง ไมทราบชื่อ และไมรูจักมากอนก็ตาม
แตการที่ เด็กชาย บ. ไปหาสิ่งของกับคนที่ ไมรูจักย อมเปน การขัดต อเหตุ เด็กชาย บ. เปน หลานของจําเลย
เชื่อวาเด็กชาย บ. เบิกความชวยเหลือจําเลย คําใหการชั้นสอบสวนของเด็กชาย บ. ซึ่งใหการหลังเกิดเหตุ
เพียง ๖ วัน และใหการตอหนา ณ. ยาย พนักงานอัยการและนักสังคมสงเคราะห จึงนาเชื่อกวาคําเบิกความ
ของเด็กชาย บ. แมคําใหการชั้นสอบสวนดังกลาวจะเปนพยานบอกเลา แตเมื่อพิจารณาตามสภาพ ลักษณะ
แหล ง ที่ ม า และข อ เท็ จ จริ ง แวดล อ มของพยานบอกเล า นั้ น น า เชื่ อ ว า จะพิ สู จ น ค วามจริ ง ได จึ ง รั บ ฟ ง ได
ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความอาญา มาตรา 226/3 วรรคสอง (๑) คํ า เบิ ก ความของ ม.
และคําใหการชั้นสอบสวนของเด็กชาย บ. จึงฟงไดวา หลังเกิดเหตุจําเลยไปยังบริเวณที่เกิดเหตุเพื่อหาสิ่งของ
การที่จําเลยไปคนหาสิ่งของและเก็บสิ่งของในบริเวณใกลที่พบศพผูตาย แสดงใหเห็นวาตองมีสิ่งของบางอยาง
ของจําเลยตกอยูในที่เกิดเหตุซึ่งสามารถบงชี้ไดวาจําเลยเปนคนราย นอกจากนี้ในวันที่ ๘ เมษายน 2549
ซึ่งเปนวันที่พบศพผูตาย จําเลยก็หลบหนีไป ที่จําเลยอางวาจําเลยเคยบอกหัวหนางานวาจะลาออกเพื่อไปอยูกับภริยา
/เมือ่ ทราบวา...
-๑๐-

เมื่ อทราบว าภริ ย าป ว ย จึ งขึ้ น รถไฟไปหาโดยที่ ไม ไ ด ล าออกจากงานก อน แต โ ทรศั พท ไปบอกหั ว หน างาน
ภายหลัง ก็สอเปนพิรุธเพราะหากจําเลยไมใชคนรายก็ไมมีเหตุที่จะตองหลบหนีไปอยางกะทันหันโดยไมได
ลาออกจากงาน การที่ จํ า เลยมี ส าเหตุ โ กรธแค น ผู ต ายที่ ต บหน า จํ า เลย หลั ง จากนั้ น ผู ต ายก็ ถู ก ทํ า ร า ย
ถึงแกความตายในวันรุงขึ้น หลังเกิดเหตุจําเลยก็ไปหาสิ่งของในบริเวณใกลบริเวณที่เกิดเหตุ และเมื่อพบศพ
ผู ต ายจํ า เลยก็ ห ลบหนี ไ ปทั น ที พยานพฤติ เ หตุ แ วดล อ มของโจทก ดั ง กล า วจึ ง มี น้ํ า หนั ก มั่ น คงรั บ ฟ ง ได ว า
จําเลยเปนคนรายที่ฆาผูตาย
พิพากษาแกเ ป นว า ลดโทษใหจํ าเลยหนึ่ งในสามตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78
ประกอบมาตรา 53 คงจําคุก 33 ป 4 เดือน นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 1

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

ถวัลย สุวรรณคุณาภรณ - ยอ


ยิ่งพรัณณฐ คําภูเวียง - พิมพ
-๑๑-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6223/2555
ป.วิ.อ. คํารับสารภาพในชั้นจับกุม (มาตรา 84 วรรคทาย)
โจทกมีรอยตํารวจเอก ส. และดาบตํารวจ ป. เบิกความวา พยานไดทําการลอซื้อจับกุม
จํ า เลยได พ ร อ มเมทแอมเฟตามี น ของกลาง ซึ่ ง ในชั้ น จั บ กุ ม และสอบสวนจํ า เลยให ก ารรั บ สารภาพ
สําหรับบันทึกการจับกุมนั้น ตองหามรับฟงคําสารภาพชั้นจับกุมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 84 วรรคทาย สวนคํารับสารภาพชั้นสอบสวนของจําเลยนั้น รอยตํารวจตรี ว. พนักงานสอบสวน
ผูยื่นคํารองขอฝากขังจําเลยตามคํารองของฝากขังครั้งที่ ๑ ก็บันทึกวา ชั้นจับกุมและชั้นสอบสวนผูตองหา
ให ก ารปฏิ เ สธข อ หาจํ า หน า ย แต รั บ ว า มี ไ ว เ พื่ อ เสพ ดั ง นั้ น ข อ เท็ จ จริ ง ที่ ว า จํ า เลยให ก ารรั บ สารภาพ
ชั้นสอบสวนจึงเปนพิรุธ
________________________________________
พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการสูงสุด โจทก
ระหวาง
นายปกรณ จักรสิงโต จําเลย
โจทกฟอง ขอใหลงโทษตามพระราชบัญญัติย าเสพติด ใหโทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 4, 7, 8,
15, 66, 102 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 ริบเมทแอมเฟตามีนของกลาง
จําเลยใหการปฏิเสธ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ
พ.ศ. 2522 มาตรา 15 วรรคหนึ่ง, 66 วรรคหนึ่ง การกระทําของจําเลยเป น ความผิ ด หลายกรรมต า งกั น
ให ล งโทษจํ า เลยทุ ก กรรมเป น กระทงความผิ ด ไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 ฐานมี
เมทแอมเฟตามี น ไว ใ นครอบครองเพื่ อ จํ า หน า ย จํ า คุ ก 5 ป ฐานจํ า หน า ยเมทแอมเฟตามี น จํ า คุ ก 4 ป
รวมจําคุก ๙ ป ริบเมทแอมเฟตามีนของกลาง
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุ ท ธรณ พิ พากษาแก เ ป น ว า จํ า เลยมี ค วามผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ย าเสพติ ด ให โ ทษ
พ.ศ. 2522 มาตรา 15 วรรคหนึ่ ง , 67 เพี ย งกรรมเดีย วลงโทษจํ า คุ ก ๑ ป ๖ เดื อ น คํ า ให ก ารจํ า เลย
ชั้ น สอบสวนเป น ประโยชน แก การพิ จ ารณา มี เ หตุ บ รรเทาโทษ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78
ลดโทษใหหนึ่งในสาม คงจําคุก ๑ ป ริบเมทแอมเฟตามีนของกลาง (ที่ถูก ขอหาอื่นใหยก)
โจทกฎีกา
ศาลฎีกาพิ เคราะหแลว มี ปญหาที่ศาลฎี กาตองวิ นิจ ฉัยว า จําเลยกระทําความผิ ดตามฟอง
หรือไม เห็นวา โจทกมีรอยตํารวจเอก ส. และดาบตํารวจ ป. เบิกความวา พยานไดทําการลอซื้อจับกุมจําเลย
ได พ ร อ มเมทแอมเฟตามี น ของกลาง ซึ่ ง ในชั้ น จั บ กุ ม และสอบสวนจํ า เลยให ก ารรั บ สารภาพ สํ า หรั บ
บั น ทึ ก การจั บ กุ ม นั้ น ต อ งห ามรั บ ฟ ง คํ า สารภาพชั้ น จั บ กุ มตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิจ ารณาความอาญา
มาตรา 84 วรรคท าย สว นคํารับสารภาพชั้นสอบสวนของจําเลยนั้ น ร อยตํารวจตรี ว. พนักงานสอบสวน
ผูยื่ นคํ ารองขอฝากขั งจํ าเลยตามคํารองขอฝากขั งครั้ งที่ ๑ ก็ บัน ทึ กว า ชั้ นจั บ กุมและชั้ นสอบสวนผู ต องหา
ใหการปฏิเสธขอหาจําหนาย แตรับวามีไวเพื่อเสพ ดังนั้น ขอเท็จจริงที่วาจําเลยใหการรับสารภาพชั้นสอบสวน
จึงเปนพิรุธ นอกจากนั้น เมื่อพิจารณาคําใหการชั้นสอบสวนของจําเลยระบุวาเกิดเหตุเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2548
/เวลา 1.30 นาฬิกา...
-๑๒-

เวลา 1.30 นาฬิกา และปรากฏตามบันทึกการจับกุมระบุวาสามารถลอซื้อเมทแอมเฟตามีนจากจําเลยและ


จั บ กุ ม จํ า เลยได ใ นเวลา 1.30 นาฬิ ก า จากนั้ น ร อ ยตํ า รวจเอก ส. ได นํ า จํ า เลยมาทํ า บั น ทึ ก การจั บ กุ ม
ในเวลา 2.15 นาฬิกา ที่สถานีตํารวจนครบาลพลับพลาไชย 1 โดยรอยตํารวจเอก ส. เบิกความตอบโจทกถามติงวา
หลั ง จากจั บ กุ ม จํ า เลยได แ ล ว ร อ ยตํ า รวจเอก ส. ยั ง สามารถจั บ กุ ม ช. ม. น. อ. และ ก. ในข อ หาเสพ
เมทแอมเฟตามีนดวย เมื่อตรวจสอบคํารองขอให ศาลมี คําสั่งส งตัวบุคคลทั้งห าไปควบคุม เพื่อตรวจพิสูจ น
การเสพหรื อการติดยาเสพติดให โทษแลว ระบุว า ร อยตํารวจเอก ส. จั บกุม ช. ไดเมื่ อเวลา 1.30 นาฬิกา
จับกุม ม. เมื่อเวลา 1.35 นาฬิกา จับกุม น. เมื่อเวลา 1.45 นาฬิกา จับกุม อ. ไดเมื่อเวลา 2.30 นาฬิกา
และจับกุม ก. ไดเมื่อเวลา 2.35 นาฬิกา ดังนั้น จะเห็นไดวาชวงเวลาที่รอยตํารวจเอก ส. จับกุมจําเลย และนําตัว
มาทําบันทึกการจับกุมที่สถานีตํารวจเปนชวงเวลาเดียวกันกับที่รอยตํารวจเอก ส. ทําการจับกุมนาย ช. ม. น.
อ. และ ก. จึงเปนเรื่องที่เปนไปไมไดที่เหตุการณทั้งหมดจะเกิดขึ้นไดพรอมกัน บันทึกคําใหการชั้นสอบสวน
จึ ง มี พิ รุ ธ อี ก ทั้ ง จํ า เลยก็ เ บิ กความโต แ ย งว า จํ าเลยลงลายมื อชื่ อ ในบั น ทึ ก คํ า ให ก ารชั้ น สอบสวนดั ง กล า ว
โดยไมไดอานขอความ สวนที่รอยตํารวจเอก ส. เบิกความยืนยันตอศาลวา สามารถลอซื้อเมทแอมเฟตามีน
จํานวน ๒ เม็ด ไดจากจําเลยนั้น เห็นวา ตามแผนที่สังเขปแสดงที่เกิดเหตุระบุวารถยนตของเจาพนักงานตํารวจ
ชุ ด จั บ กุ ม คั น หนึ่ ง จอดอยู ต รงข า มห า งจากจุ ด เกิ ด เหตุ ป ระมาณ ๑๕ เมตร อี ก คั น หนึ่ ง ซึ่ ง เป น คั น ที่
รอยตํารวจเอก ส. นั่งอยูภายในจอดอยูหางจากจุดเกิดเหตุประมาณ ๕ เมตร จุดเกิดเหตุมีโคมไฟสาธารณะ
กํ าลั งส องสว าง ๒๔๐ วั ต ต ห างจากที่ เ กิ ด เหตุ ป ระมาณ ๒ เมตร ส องสว างมองเห็ น ชั ด ในระยะ 10 เมตร
และมีหลอดฟลูออเรสเซนซกําลังสองสวาง ๔๐ วัตต ติดอยูบริเวณหนาที่เกิดเหตุและบานใกลเคียง จํานวน
๒ หลอด ส องสว างมองเห็น ชัด ในระยะ ๕ เมตร เห็น วา จุ ดที่ เกิ ดเหตุมีแสงไฟส องสว างและมี รถยนตจ อด
อยูในระยะใกลชิดถึง ๒ คัน ทั้งไมปรากฏวารถยนตทั้งสองคันดังกลาว ติดฟลมมืดหรือมีสิ่งกําบังใดที่จะทําให
ไม ส ามารถมองเห็ น คนที่ นั่ ง อยู ใ นรถได เมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง วิ สั ย ในการซื้ อ เมทแอมเฟตามี น น า จะต อ งทํ า กั น
ในที่มิดชิดเพื่อปองกันมิใหผูใดรูเห็นแลว จึงไมนาเชื่อวาจําเลยจะกลาจําหนายเมทแอมเฟตามีนใหแกสายลับ
ที่ ท างเท า ริ ม ถนนและเป ด เผยเช น นั้ น อี ก ทั้ ง ในขณะวางแผนเพื่ อ ล อ ซื้ อ เมทแอมเฟตามี น จากจํ า เลย
ร อ ยตํ า รวจเอก ส. เบิ ก ความตอบทนายจํ าเลยถามค า นว า สายลั บ ไม ไ ด ร ว มวางแผน แต ด าบตํ า รวจ ป.
กลับเบิกความตอบทนายจํ าเลยถามคานว า สายลั บไดรว มวางแผนดวย เปนการแตกตางกัน โดยสรุปแล ว
พยานหลั ก ฐานที่ โ จทก นํ า สื บ มามี ข อ พิ รุ ธ หลายประการ ให ย กประโยชน แ ห ง ความสงสั ย นั้ น ให จํ า เลย
ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิจ ารณาความอาญา มาตรา 227 วรรคสอง ที่ ศ าลอุ ทธรณ เ ห็ น ว าไม น าเชื่ อว า
จะมีการซื้อขายเมทแอมเฟตามีนระหวางจําเลยกับสายลับนั้น ศาลฎีกาเห็นพองดวย ฎีกาของโจทกฟงไมขึ้น
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

ถวัลย สุวรรณคุณาภรณ - ยอ


ยิ่งพรัณณฐ คําภูเวียง - พิมพ
-๑๓-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 9298/2555
ป.อ. กระทําอนาจารแกบุคคลอายุกวาสิบหาปโดยผูเสียหายอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได (มาตรา 278)
ป.วิ.อ. การรับฟงพยานหลักฐาน (มาตรา 227)
ผูเสียหายและ ล. มารดาผูเสียหายเบิกความสอดคลองตองกันยืนยันวาเห็นหนาจําเลย
เป นคนรา ยอย า งชั ดเจนที่ บีบหน าอก อี กทั้ งผูเ สี ยหายเคยเห็น หนา จํ าเลยเพราะเรี ยนโรงเรี ยนเดี ยวกั น
กับจําเลยเมื่อ 10 ปกอน ขณะเกิดเหตุเปนเวลา 17 นาฬิกา ของเดือนเมษายน ซึ่งอยูในชวงหนารอน
น า เชื่ อว า มี แสงสว า งเพี ย งพอที่ พยานโจทก ทั้ งสองเห็ น จํ า เลย ทั้ งผู เ สี ย หายและ ล. มารดาผู เ สี ยหาย
เบิ ก ความยื น ยั น ตรงกั น ในส วนสาระสํ า คั ญ แม จ ะมี ขอแตกต า งกั น บ า งตามฎี ก าของจํ า เลยก็ เ ป น เพี ย ง
รายละเอียดเทานั้น ไมทําใหคําใหการของพยานโจทกทั้งสองเสียไป
เมื่อโจทกนําผูเสียหายและ ล. มารดาผูเสียหาย ซึ่งเปนประจักษพยานมาเบิกความยืนยัน
การกระทํ า ความผิ ด ของจํ า เลยแล ว การที่ โ จทก ไ ม นํ า ตํ า รวจบ า นซึ่ ง ไม เ ห็ น เหตุ ก ารณ ข ณะเกิ ด เหตุ
ที่เปนเพียงพยานบอกเลามาสืบ ก็ไมทําใหคําพยานของโจทกมีพิรุธแตอยางใด
สวนพยานของจําเลยที่มาเบิกความนั้นขอเท็จจริงตาง ๆ เพิ่งมาปรากฏในชั้นพิจารณา
ไมเคยปรากฏมากอนในชั้นจับกุมและชั้นสอบสวน อีกทั้งเปนเครือญาติและคนในครอบครัวของจําเลย
จึงมีน้ําหนักนอยไมสามารถหักลางพยานของโจทกได
_______________________________________
พนักงานอัยการจังหวัดนางรอง โจทก
ระหวาง

นายวิราช ไสยศาสตร จําเลย


โจทกฟองวา เมื่อวันที่ 15 เมษายน 2550 เวลากลางวัน จําเลยกระทําอนาจารผูเสียหาย
ต อ หน า ธารกํ า นั ล โดยใช กํ า ลั ง ประทุ ษ ร า ยจั บ และบี บ บริ เ วณหน า อกของผู เ สี ย หาย ในขณะที่ ผู เ สี ย หาย
ขับรถจักรยานยนตมาตามถนนสาธารณะ เปนเหตุใหผูเสียหายอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได เหตุเกิดที่
ตําบลโคกมะมวง อําเภอปะคํา จังหวัดบุรีรัมย ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 278, 281
จําเลยใหการปฏิเสธ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษายกฟอง
โจทกอุทธรณ
ศาลอุ ท ธรณ ภ าค 3 พิ พ ากษากลั บ ว า จํ า เลยมี ค วามผิ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 278 ใหจําคุก 3 เดือน
จําเลยฎีกา
ศาลฎี ก าพิ เ คราะห แ ล ว ข อ เท็ จ จริ ง ที่ คู ค วามไม โ ต เ ถี ย งกั น ในชั้ น ฎี ก ารั บ ฟ ง เป น ยุ ติ ว า
ตามวัน เวลาและสถานที่เกิดเหตุ ขณะผูเสียหายขับรถจักรยานยนตมี ล. มารดาผูเสียหายอุมบุตรสาวและ
นองของผูเสียหายนั่งซอนทาย ผานบริเวณหนาวัดโคกมะมวง มีวัยรุนประมาณ ๑๐ คน เลนสาดน้ําสงกรานตอยู
ผู เ สี ย หายถู ก คนร า ยกระทํา อนาจารโดยจั บ และบี บ บริ เ วณหน า อก คดี มี ป ญ หาต อ งวิ นิ จ ฉั ย ตามฎี ก า
/ของจําเลย…
-๑๔-

ของจําเลยว า จํ าเลยกระทําความผิด ตามคําพิ พากษาศาลอุ ทธรณภาค ๓ หรื อไม โจทกมีผูเสี ยหายมาเป น


พยานเบิ กความวา ผูเ สีย หายขับ รถจั กรยานยนตกลับ บ าน หลังจากไปซื้ อเนื้อยางเกาหลี เมื่อถึงที่ เกิ ดเหตุ
พบกลุ ม วั ย รุ น ประมาณ 10 คน มี จํ า เลยรวมอยู ด ว ย ผู เ สี ย หายเคยรู จั ก จํ า เลยมานานประมาณ ๑๐ ป
เนื่ อ งจากเคยเรี ย นโรงเรี ย นเดี ย วกั น จํ า เลยกั บ พวกใช มื อ กั้ น ไม ใ ห ผู เ สี ย หายขั บ รถจั ก รยานยนต ผ า น
ผู เ สี ย หายจอดรถพร อ มกั บ บอกว า ไม ใ ห เ ล น น้ํ า เนื่ อ งจาก ล. มารดาผู เ สี ย หายกํ า ลั ง อุ ม บุ ต รสาวและ
นองของผูเสียหายนั่งซอนทายอยู จําเลยกับเพื่อนอีก ๒ คน เดินเขามาหาผูเสียหาย โดยจําเลยเขามาทางซาย
แล ว ใช มื อ ซ า ยจั บ และบี บ บริ เ วณหน า อกของผู เ สี ย หาย ผู เ สี ย หายจั บ มื อ จํ า เลยและตะโกนด า จํ า เลย
จํ า เลยกั บ พวกจึ ง ปล อยผู เ สี ย หายขั บ รถผ า นไปได เมื่ อ ถึ ง บ า นผู เ สี ย หายไปแจ ง ความให ตํ า รวจบ านทราบ
แลว ตํารวจบ านพาผูเ สียหายไปร องทุ กขเ พื่อดํ าเนิ นคดีแก จําเลย วันต อมาเจาพนั กงานตํารวจใหผู เสีย หาย
ชี้ ภ าพถ ายผู ต องสงสั ย ผู เ สี ย หายชี้ ยื น ยั น ภาพถ ายของจํ าเลย นอกจากนั้ น โจทก ยั งมี ล. มารดาผู เ สี ย หาย
ซึ่ ง อยู ด ว ยในขณะเกิ ด เหตุ เ บิ ก ความสนั บ สนุ น ว า วั น เกิ ด เหตุ ห ลั งจากผู เ สี ย หายจอดรถจั กรยานยนต แ ล ว
มีวัยรุน ๓ คน เดินเขามาหา หนึ่งในนั้นคือจําเลย จําเลยเขามาแลวใชมือซายจับหนาอกผูเสียหาย ผูเสียหาย
จึงจับมือจําเลยและตะโกนดาจําเลย เห็นวา พยานโจทกทั้งสองเปนประจักษพยานในที่เกิดเหตุ โดยเฉพาะ
ผูเสียหายเปนผูถูกกระทําโดยตรง ผูเสียหายรูจักจําเลยเพราะเคยเรียนโรงเรียนเดียวกับจําเลย หลังเกิดเหตุ
ผูเสียหายแจงความตอตํารวจบานโดยระบุยืนยันวาจําเลยเปนคนราย อีกทั้งวันรุงขึ้นผูเสียหายและ ล. มารดา
ผูเสี ยหายใหการต อพนั กงานสอบสวนระบุชื่อและนามสกุลของจําเลยเปน คนรายซึ่งเปน ระยะเวลาใกลชิ ด
กั บ เวลาเกิ ด เหตุ ไม ป รากฏว า ผู เ สี ย หายเคยมี ส าเหตุ โ กรธเคื อ งกั บ จํ า เลยมาก อ น อี ก ทั้ ง การที่ ผู เ สี ย หาย
ถูกบีบบริเวณหนาอกเปนเรื่องนาเสื่อมเสียของผูหญิงกรณีจึงนาเชื่อวาผูเสียหายเบิกความไปตามเหตุการณ
ที่เกิดขึ้ นจริงไมได กลั่นแกลงปรักปรํ าจําเลย ประกอบกับพนั กงานสอบสวนจัด ใหผูเ สียหายและ ล. มารดา
ผู เ สี ย หายชี้ ตั ว รู ป ถ า ยคนร า ย พยานทั้ ง สองก็ ชี้ ร ะบุ จํ า เลยเป น คนร า ยโดยไม ลั ง เล ส ว นที่ จํ า เลยฎี ก าว า
ผู เ สี ย หายและ ล. มารดาผู เ สี ย หาย ไม เ คยรู จั ก จํ า เลยและไม ส ามารถจดจํ า หน า คนร า ยได ขณะเกิ ด เหตุ
เปนเวลาใกลค่ําและเบิกความตางกัน มีขอนาพิรุธนั้น เห็นวา ผูเสียหายและ ล. มารดาผูเสียหายเบิกความ
สอดคลองตองกันยืนยันวาเห็นหนาจําเลยเปนคนรายอยางชัดเจนที่บีบหนาอก อีกทั้งผูเสียหายเคยเห็นหนา
จํ า เลยเพราะเรี ย นโรงเรี ย นเดี ย วกั น กั บ จํ า เลยเมื่ อ 10 ป ก อ น ขณะเกิ ด เหตุ เ ป น เวลา 17 นาฬิ ก า
ของเดื อ นเมษายน ซึ่ ง อยู ใ นช ว งหน า ร อ นน า เชื่ อ ว า มี แ สงสว า งเพี ย งพอที่ พ ยานโจทก ทั้ ง สองเห็ น จํ า เลย
ทั้งผูเสียหายและ ล. มารดาผูเสียหายเบิกความยืนยันตรงกันในสวนสาระสําคัญ แมจะมีขอแตกตางกันบาง
ตามฎีกาของจํ าเลยก็เ ปนเพีย งรายละเอีย ดเทานั้ น ไม ทําใหคําใหการของพยานโจทกทั้งสองเสีย ไป ส วนที่
จําเลยฎี กาว าโจทก ไมนํ าตํ ารวจบานมาสื บ มีขอน าพิ รุ ธ นั้น เห็น ว า เมื่ อโจทก นําผู เ สีย หายและ ล. มารดา
ผูเ สี ย หาย ซึ่ งเป น ประจั กษ พยานมาเบิ กความยื น ยัน การกระทํ าความผิด ของจําเลยแล ว การที่ โ จทก ไม นํ า
ตํารวจบ านซึ่งไม เห็ นเหตุ การณ ขณะเกิด เหตุที่เป นเพีย งพยานบอกเล ามาสื บ ก็ไมทําใหคําพยานของโจทก
มี พิรุ ธ แต อย างใด ส ว นพยานของจํ าเลยที่ มาเบิ กความนั้ น ข อเท็ จ จริ งต าง ๆ เพิ่ งมาปรากฏในชั้ น พิ จ ารณา
ไม เ คยปรากฏมาก อ นในชั้ น จั บ กุ ม และชั้ น สอบสวน อี ก ทั้ ง เป น เครื อ ญาติ แ ละคนในครอบครั ว ของจํ า เลย
จึงมีน้ํ าหนักนอยไม สามารถหักล างพยานของโจทก ได ที่ ศาลอุทธรณภ าค 3 พิ พากษาลงโทษจํ าเลยมานั้ น
ศาลฎีกาเห็นพองดวย ฎีกาของจําเลยฟงไมขึ้น
อย า งไรก็ ต าม จํ า เลยไม เ คยได รั บ โทษจํ า คุ ก มาก อ น จึ ง เห็ น สมควรให ล งโทษกั ก ขั ง แทน
โทษจําคุก ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 23
/พิพากษา…
-๑๕-

พิ พากษาแก เป นว า ให ลงโทษกั กขั ง ๓ เดื อน แทนโทษจํ าคุ ก นอกจากที่ แก ให เป นไปตาม
คําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 3

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

สําเภา ปรัชญาภรณ - ยอ


ชานน หมื่นธง - พิมพ
-๑๖-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 10834/2555
ป.อ. กรรมเดียวผิดตอกฎหมายหลายบท พยายามฆาผูอื่น (มาตรา 90, 288, 80)
พ.ร.บ. อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490
การที่จําเลยมีวัตถุระเบิดไวในครอบครองแลวใชวัตถุระเบิดดังกลาวไปกระทําความผิด
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ล วนเป นเหตุ การณ ที่เ กิด ขึ้นในวั นเวลาเดียวกั นต อเนื่องกั น
จึงตองถือวาจําเลยกระทําความผิดในคราวเดียวโดยมีเจตนาใหเกิดผลเปนกรรมเดียว การกระทําของจําเลย
จึงเปนกรรมเดียวผิดตอกฎหมายหลายบท
_______________________________________
พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการสูงสุด โจทก

ระหวาง

นายอิทธิพลหรือหนึ่ง ศรีสุนทร จําเลย


โจทกฟองวา เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2551 เวลากลางวัน จําเลยกระทําความผิดตอกฎหมาย
หลายกรรมต างกั น กล าวคื อ จํ าเลยมี ลู กระเบิ ด แสวงเครื่ อง (ระเบิ ด ป งปอง) จํานวน ๑ ลู ก ภายในบรรจุ
วั ต ถุ ร ะเบิ ด แรงต่ํ า ประเภทดิ น ดํ า หรื อ ดิ น เทา เมื่ อ นํ า มาประกอบรวมกั น จั ด เป น ระเบิ ด แสวงเครื่ อ งที่
ประกอบจัด ทําขึ้น เองโดยการจุ ดสายชนวนหรือขว างปา ทํ าใหเ กิด ระเบิด และสามารถทํ าอั นตรายต อชี วิ ต
และทรัพย สิ น เสี ย หายได อัน เป นวั ต ถุ ร ะเบิ ด นอกจากที่ กําหนดในกฎกระทรวงซึ่งนายทะเบี ยนไม สามารถ
ออกใบอนุ ญ าตให ไ ด ไ ว ใ นความครอบครองอั น เป น การฝ า ฝ น ต อ กฎหมาย และจํ า เลยพาลู ก ระเบิ ด
แสวงเครื่ อ งดั ง กล า วไปที่ บ ริ เ วณป า ยรถโดยสารประจํ า ทาง ถนนสุ ขุ ม วิ ท แขวงบางนา เขตบางนา
กรุ ง เทพมหานคร โดยไม มี เ หตุ ส มควร แล ว จํ า เลยโดยมี เ จตนาฆ า ผู อื่ น ใช ลู ก ระเบิ ด ดั ง กล า วขว า งไป
บนรถโดยสารประจําทางสาย 25 ซึ่งมีผูเสียหายที่ ๑ และผูเสียหายที่ ๒ นั่งอยูบนรถ โดยจําเลยยอมเล็งเห็น
ไดวาลูกระเบิดแสวงเครื่องดังกลาวจะถูกผูเสียหายทั้งสอง และจากการขวางลูกระเบิดขึ้นไปบนรถดังกลาว
ทํ า ให ลู ก ระเบิ ด แสวงเครื่ อ งเกิ ด ระเบิ ด ขึ้ น สะเก็ ด ระเบิ ด ถู ก ผู เ สี ย หายที่ ๑ ที่ บ ริ เ วณหั ว เข า ขวาและแขน
ถูกผูเสียหายที่ ๒ ที่บ ริเวณหัวเข าทั้งสองข าง และยังทําใหเบาะที่นั่งบนรถโดยสารประจําทางดั งกลาวของ
บริ ษั ท ข. ได รั บ ความเสี ย หาย จํ า เลยลงมื อ กระทํ า ความผิ ด ไปตลอดแล ว แต ก ารกระทํ า นั้ น ไม บ รรลุ ผ ล
เนื่องจากผูเสียหายที่ 1 เบี่ยงหลบวัตถุระเบิดไดทันและสะเก็ดระเบิดไมถูกอวัยวะสําคัญของผูเสียหายทั้งสอง
ผู เ สี ย หายทั้ ง สองได รั บ การรั ก ษาจากแพทย ผู เ สี ย หายทั้ ง สองจึ ง ไม ถึ ง แก ค วามตาย เพี ย งแต ทํ า ให
ผูเสียหายทั้งสองไดรับอันตรายแกกาย เหตุเกิดที่แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร พนักงานสอบสวน
ยึดไดเศษวัตถุระเบิดในที่เกิดเหตุ ๒ ชิ้น และยึดไดจากบาดแผลของผูเสียหายจํานวน ๑ ชิ้น เปนของกลาง
ซึ่งเศษวัตถุระเบิดของกลางหมดไปในการตรวจพิสูจน กอนคดีนี้จําเลยเคยตองคําพิพากษาถึงที่สุดของศาล
จั ง หวั ด สมุ ท รปราการแผนกคดี เ ยาวชนและครอบครั ว ในความผิ ด ฐานมั่ ว สุ ม ตั้ ง แต ส องคนขึ้ น ไป
กระทําการอย างหนึ่งอย างใดให เ กิด ความวุ นวายในบ านเมือง ตามคดี อาญาหมายเลขแดงที่ 675/2550
ซึ่ ง ศาลรอการกํ า หนดโทษไว ๒ ป เมื่ อ วั น ที่ ๑๒ พฤศจิ ก ายน 2550 และภายในกํ า หนดระยะเวลา
ดังกลาวจําเลยกลับมากระทําความผิดคดีนี้ อันมิใชความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือลหุโทษ ขอใหลงโทษ
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 58, 80, 91, 221, 288, 371 พระราชบั ญ ญั ติ อ าวุ ธ ป น
/เครื่องกระสุนปน…
-๑๗-

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 มาตรา 55, 78 และใหกําหนดโทษ


ของจําเลยที่รอการกําหนดโทษไวในคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 675/2550 ของศาลจั งหวัดสมุทรปราการ
แผนกคดีเยาวชนและครอบครัวมาบวกเขากับโทษหรือระยะเวลาฝกอบรมของจําเลยในคดีนี้
จําเลยใหการปฏิเสธ แตรับวาเปนบุคคลคนเดียวกับจําเลยในคดีที่โจทกขอใหบวกโทษหรือ
ระยะเวลาฝกอบรม
ศาลชั้ น ต น พิ จ ารณาแล ว พิ พ ากษาว า จํ า เลยมี ค วามผิ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 221, 288, 371 ประกอบมาตรา 80 (ที่ถูก มาตรา 288 ประกอบมาตรา 80) พระราชบั ญ ญั ติ
อาวุ ธป น เครื่ อ งกระสุ น ป น วั ต ถุ ร ะเบิ ด ดอกไม เ พลิ ง และสิ ่ ง เที ย มอาวุ ธ ป น พ.ศ. 2490 มาตรา 55,
78 วรรคหนึ่ ง วรรคสี่ (ที่ ถู ก วรรคหนึ่ ง และวรรคสาม ประกอบวรรคสี่ ) การกระทํ า ของจํ า เลยเป น
ความผิ ด หลายกรรมต า งกั น ให เ รี ย งกระทงลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 ขณะกระทํ า
ความผิ ด จํ า เลยอายุ 17 ป เ ศษ ลดมาตราส ว นโทษให กึ่ ง หนึ่ ง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 75
ฐานมี ลูกระเบิ ด แสวงเครื่องไวในความครอบครองจํ าคุ ก 4 ป ฐานพาวั ต ถุ ระเบิ ดไปในเมื อง หมู บ าน และ
ทางสาธารณะโดยไม มี เ หตุ ส มควรปรั บ 50 บาท ฐานพยายามฆ า ผู อื่ น โดยใช วั ต ถุ ร ะเบิ ด กั บ ความผิ ด
ฐานใชวัตถุระเบิดและความผิดฐานทําใหเกิดการระเบิดจนนาเปนอันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสินของผูอื่น
เป น การกระทํ า กรรมเดี ย วผิ ด ต อ กฎหมายหลายบทให ล งโทษฐานพยายามฆ า ผู อื่ น ซึ่ ง เป น บทกฎหมาย
ที่ มี อั ต ราโทษหนั ก ที่ สุ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 จํ า คุ ก 12 ป รวมโทษทุ ก กระทงแล ว
จํ าคุ ก 16 ป ปรั บ 50 บาท จํ าเลยนํ าสื บ พยานเป น ประโยชน แก การพิ จ ารณาอยู บ าง มี เ หตุ บ รรเทาโทษ
ลดโทษให ห นึ่ ง ในสี่ ต ามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 คงจํ า คุ ก จํ า เลยมี กํ า หนด ๑๒ ป และ
ปรับ 37.50 บาท อาศัย อํานาจตามพระราชบัญญัติจัด ตั้งศาลเยาวชนและครอบครั ว และวิธีพิจ ารณาคดี
เยาวชนและครอบครั ว พ.ศ. 2534 มาตรา 104 (2) ให เ ปลี่ ย นโทษจํา คุ ก เป น ส ง จําเลยไปฝกและอบรมที่
สถานพิ นิ จ และคุ มครองเด็ กและเยาวชนกรุ งเทพมหานคร มี กําหนด ๔ ป นั บ แต วั น พิ พากษา หากจํ าเลย
ไมชําระคาปรับใหสงไปฝกและอบรมที่สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร มีกําหนด ๑ วัน
ทั้ ง นี้ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ จั ด ตั้ ง ศาลเยาวชนและครอบครั ว และวิ ธี พิ จ ารณาคดี เ ยาวชนและครอบครั ว
พ.ศ. 2534 มาตรา 107 ส ว นที่ โ จทก ข อให กํ า หนดโทษของจํ า เลยที่ ร อการกํ า หนดโทษไว ใ นคดี อ าญา
หมายเลขแดงที่ 675/2550 ของศาลจั งหวั ดสมุ ทรปราการแผนกคดี เยาวชนและครอบครั วมาบวกเข ากั บ
โทษหรื อ ระยะเวลาฝ ก อบรมของจํ า เลยในคดี นี้ เห็ น ว า คดี นี้ ศ าลไม ไ ด พิ พ ากษาลงโทษจํ า คุ ก จํ า เลย
ประกอบกั บ ศาลได กํ า หนดระยะเวลาฝ ก และอบรมจํ า เลยคดี นี้ เ ป น ระยะเวลาพอสมควรแก พ ฤติ ก ารณ
แหงคดีแลว ใหยกคําขอสวนนี้
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวพิพากษาแกเปนวา ความผิดฐานมีวัตถุระเบิด
ฐานพยายามฆาและใชวัตถุระเบิดเพื่อฆาผูอื่นเปนกรรมเดียว เปนความผิดตอกฎหมายหลายบท ใหลงโทษ
ฐานพยายามฆ า ผู อื่ น ซึ่ ง เป น บทที่ มีโ ทษหนั กที่ สุ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 จํ า คุ ก 12 ป
รวมโทษทุกกระทงแลวเปนจําคุก 12 ป ปรับ 50 บาท ลดโทษใหหนึ่งในสี่แลวคงจําคุกจําเลยมีกําหนด 9 ป
และปรับ 37.50 บาท นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลชั้นตน
โจทกฎีกา
ศาลฎีกาแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวพิเคราะหแลว คดีมีปญหาขอกฎหมายตองวินิจฉัย
ตามฎีกาของโจทกเพียงวา ความผิดฐานมีวัตถุระเบิดไวในครอบครอง กับความผิดฐานพยายามฆาผูอื่นและ
ความผิดฐานใชวัตถุระเบิดไปกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ตามพระราชบัญญัติ
/อาวุธปน…
-๑๘-

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 มาตรา 78 วรรคสาม


ประกอบวรรคสี่ เป น ความผิ ด กรรมเดี ย วหรื อเป น ความผิ ดหลายกรรมต างกั น โดยโจทก ฎี กาว า ความผิ ด
ฐานมีวัตถุระเบิดไวในครอบครองนั้น เมื่อจําเลยมีวัตถุระเบิดไวในครอบครองก็ยอมเปนความผิดสําเร็จทันที
และเป นความผิ ดแยกต างหากจากการที่ จํ าเลยใช วั ตถุ ระเบิ ดดั งกล าวขว างเข าไปในรถเมล ที่ มี กลุ มผู เสี ยหาย
อยู บ นรถ เมื่ อ ผู เ สี ย หายมิ ไ ด ถึ ง แก ค วามตาย จํ า เลยย อ มมี ค วามผิ ด ฐานพยายามฆ า และใช วั ต ถุ ร ะเบิ ด
เพื่ อ ฆ า ผู อื่ น อี ก กระทงหนึ่ ง แยกต า งหากจากกั น เห็ น ว า การที่ จํ า เลยมี วั ต ถุ ร ะเบิ ด ไว ใ นครอบครองแล ว
ใชวัตถุระเบิดดังกลาวไปกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ลวนเปนเหตุการณที่เกิดขึ้น
ในวันเวลาเดีย วกันตอเนื่องกั น จึงต องถือว าจําเลยกระทํ าความผิดในคราวเดี ยวโดยมีเจตนาใหเกิ ดผลเป น
กรรมเดียว การกระทําของจําเลยจึงเปนกรรมเดียวผิดตอกฎหมายหลายบท ที่ศาลอุทธรณพิพากษามานั้น
ศาลฎีกาเห็นพองดวย ฎีกาของโจทกฟงไมขึ้น แตที่ศาลอุทธรณลงโทษฐานพยายามฆาผูอื่น โดยวินิจฉัยว า
เป น บทที่ มี โ ทษหนั ก ที่ สุ ด นั้ น ไม ถู ก ต อ ง ป ญ หานี้ เ ป น ข อ กฎหมายเกี่ ย วด ว ยความสงบเรี ย บร อ ย แม ไ ม มี
คูความฝายใดยกขึ้นอาง ศาลฎีกามีอํานาจแกไขใหถูกตองได
อนึ่ ง ระหว างพิ จ ารณาของศาลฎี ก า ได มีพระราชบั ญ ญั ติ ศาลเยาวชนและครอบครั ว และ
วิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 มาตรา 3 ใหยกเลิกพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและ
ครอบครัว และวิ ธีพิจ ารณาคดี เยาวชนและครอบครั ว พ.ศ. 2534 และใหใช พระราชบัญญั ติดั งกล าวแทน
ซึ่งมีผลใชบังคับวันที่ 22 พฤษภาคม 2554 ศาลฎีกาจึงตองใชบังคับตามพระราชบัญญัติดังกลาว
พิพากษาแกเปนวา การกระทําของจําเลยเปนกรรมเดียวผิดตอกฎหมายหลายบท ใหลงโทษ
ตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490
ซึ่งเป นบทที่ มีโ ทษหนั กที่ สุด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 การเปลี่ ย นโทษจําคุ กเป น ส งจํ าเลย
ไปควบคุ ม เพื่ อ ฝ ก อบรมและการส ง จํ า เลยไปควบคุ ม เพื่ อ ฝ ก อบรมกรณี ไ ม ชํ า ระค า ปรั บ ให อ าศั ย อํ า นาจ
ตามพระราชบั ญ ญั ติ ศาลเยาวชนและครอบครั ว และวิ ธี พิ จ ารณาคดี เ ยาวชนและครอบครั ว พ.ศ. 2553
มาตรา 142 (1) และ 145 ทั้งนี้มิใหควบคุมเพื่อฝกอบรมจําเลยเกิน กวาจําเลยมีอายุครบยี่สิบ สี่ปบ ริบูรณ
นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาศาลอุทธรณ

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

เฉลิมชัย ภูเงิน - ยอ


ชานน หมื่นธง - พิมพ
-๑๙-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12438/2555
ป.วิ.อ. ขอหามมิใหนําคํารับสารภาพในชั้นจับกุมมารับฟงเปนพยานหลักฐาน (มาตรา 84 วรรคสี่)
แมทางนําสืบของโจทกจะไดความวาชั้นจับกุมจําเลยจะใหการรับสารภาพวามียาเสพติดใหโทษ
ในประเภท ๑ ไวในครอบครองเพื่อจําหนายตามบันทึกการจับกุมก็ตาม แตตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา 84 วรรคสี่ ห า มมิ ใ ห นํ า คํ า รั บสารภาพในชั้ น จั บกุ มของจํ า เลยดั งกล า วมารั บฟ ง
เปนพยานหลักฐาน
_______________________________________
พนักงานอัยการจังหวัดกาญจนบุรี โจทก
ระหวาง
นายอนุพงษหรือจอย ประพันธพัฒน จําเลย
โจทกฟอง ขอใหลงโทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 4, 7, 15,
66, 100/1, 102 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 32 ริบเมทแอมเฟตามีนของกลาง
จําเลยใหการปฏิเสธ
ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ
พ.ศ. 2522 คํารับของจําเลยในชั้นจับกุมเปนประโยชนแกการพิจารณา ลดโทษใหหนึ่งในสี่ คงจําคุก ๓ ป
๙ เดือน และปรับ 300,000 บาท ริบเมทแอมเฟตามีนของกลาง
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 7 พิพากษากลับ ใหยกฟอง แตใหริบเมทแอมเฟตามีนของกลาง
โจทกฎีกา
ศาลฎีกาพิเคราะหแลว มีปญหาที่จะตองวินิจฉัยตามฎีกาของโจทกวา จําเลยกระทําความผิด
ตามฟ อ งโจทก ห รื อ ไม โจทก มี ด าบตํ า รวจ ย. ผู ร ว มจั บ กุ ม จํ า เลยเบิ ก ความว า ก อ นจั บ กุ ม สื บ ทราบว า
จําเลยลักลอบจํ าหนายเมทแอมเฟตามี นใหวั ยรุ นละแวกบาน ท. จึ งรายงานใหผู บังคับ บัญชาทราบ ต อมา
วันเกิดเหตุขณะที่พยานกับพวกออกตรวจทองที่ดวยรถยนตสายตรวจเพื่อสืบหาตัวจําเลยผานรานเกมไมมีชื่อ
ซึ่งเปนรานที่เกิดเหตุของจําเลย เห็นจําเลยยืนอยูหลังราน เมื่อเหตุรถยนตสายตรวจจําเลยเดินหลบเขาไปในราน
พยานกั บ พั น ตํ า รวจตรี ส. ดาบตํ า รวจ จ. กั บ พวกอี ก ๒ คน เดิ น ตามจํ า เลยเข า ไปทางหลั ง ร า นส ว น
พันตํ ารวจโท ธ. ดาบตํ ารวจ ม. และดาบตํ ารวจ ถ. เดิ นเข าทางประตู หน าร าน สั กครู จํ าเลยเดิ นสวนออกมา
พยานจึ ง สอบถามชื่ อ จํ า เลยทราบว า เป น บุ ค คลที่ กํ า ลั ง ติ ด ตาม จึ ง ขอตรวจค น แต ไ ม พ บสิ่ ง ผิ ด กฎหมาย
ระหว า งนั้ น ดาบตํ า รวจ ม. กั บ พวกเข า มาทางประตู ห น า แต เ ข า ไม ไ ด เ พราะประตู ป ด ตามมาสมทบ
จากนั้นรวมกันตรวจคนรานดาบตํารวจ ม. พบเมทแอมเฟตามีนของกลางซุกซอนอยูที่ใตฐานเครื่องรับโทรทัศน
และดาบตํ ารวจ ม. เบิ กความว า พยานกั บ พั น ตํ ารวจโท ธ. และพั น ตํ ารวจตรี ส. เข าทางประตู ห น า ร า น
ซึ่ ง เป น ประตู เ หล็ ก ใส ก ลอนจึ ง เข า ไม ไ ด พยานพยายามมองทางหน า ต า งเข า ไปในร า นแต ม องไม เ ห็ น
เนื่องจากผามานปด พยานจึงเดินไปดานขางของรานเห็นเปนชองกระจกสีชาประมาณ ๑ เมตร เมื่อมองเขาไป
เห็น จําเลยวิ่ งมาจากประตูห ลังแล ววางวัต ถุสิ่ งหนึ่งที่ใต ฐานเครื่ องรับ โทรทั ศน พยานกับ พวกจึ งตามเข าไป
สมทบกั บ พวกของดาบตํ า รวจ ย. และบอกว า เห็ น จํ า เลยเอาวั ต ถุ ไ ปวางที่ ใ ต ฐ านเครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น แ ล ว
พยานเดิ น ตรงไปตรวจค น ที่ จุ ด ที่เห็นจําเลยวางวั ต ถุ ห ลอดสแตนเลสภายในมี เ มทแอมเฟตามีนของกลาง
/ซุกซอน...
-๒๐-

ซุกซอนอยู เห็นวา ดาบตํารวจ ม. เปนประจักษพยานเพียงคนเดียวที่อางวาเห็นจําเลยซุกซอนเมทแอมเฟตามีน


ของกลางไว ที่ใต ฐ านเครื่ องรั บ โทรทั ศน ภ ายในรานที่ เ กิ ดเหตุ และเป น ผู ต รวจพบเมทแอมเฟตามีน ดั งกล าว
แต โ จทก ไ ม ไ ด อ า งส ง ภาพถ า ยจุ ด ที่ พ บเมทแอมเฟตามี น ของกลางและช อ งกระจกสี ช าที่ ด าบตํ า รวจ ม.
อางวามองผานเขาไปเห็นเหตุการณดังกลาว ทั้งไมปรากฏจุดดังกลาวในแผนที่สังเขปแสดงสถานที่เกิดเหตุ
แต ด าบตํ า รวจ ม. เพิ่ ง ชี้ ตํ า แหน ง ในแผนที่ สั ง เขปแสดงสถานที่ เ กิ ด เหตุ เมื่ อ ทนายจํ า เลยถามค า น
และทํ า เครื่ อ งหมายวงกลมด ว ยหมึ ก สี น้ํ า เงิ น ไว แต พ ยานกลั บ เบิ ก ความต อ ไปว า หน า ต า งที่ ม องคื อ
จุดที่ทําเครื่องหมายดอกจันดวยหมึกสีแดงตามภาพถาย ภาพที่ ๑ ซึ่งขัดแยงกับคําเบิกความของดาบตํารวจ ม.
ที่ เ บิ ก ความตอบโจทก ใ นตอนต น ว า ได ม องเข า ไปทางด า นหน า ร า น แต ม องไม เ ห็ น เนื่ อ งจากหน า ต า งมี
ผ า ม า นป ด อยู พยานจึ ง เดิ น ไปข า งร า นเห็ น มี ช อ งกระจกสี ช าขนาด ๑ เมตร จึ ง มองผ า นกระจกเข า ไป
จึ ง ขั ด แย ง กั น มี พิ รุ ธ แม โ จทก ฎี ก าโต แ ย ง ว า เหตุ ก ารณ เ กิ ด มานาน ดาบตํ า รวจ ม. จึ ง จดจํ า เหตุ ก ารณ
คลาดเคลื่ อ นไปบ า งนั้ น เห็ น ว า คดี นี้ เ กิ ด เหตุ วั น ที่ 11 กุ ม ภาพั น ธ 2551 และพยานมาเบิ ก ความวั น ที่
21 พฤศจิกายน 2551 หลังเกิดเหตุเพียง 9 เดือนเศษเท านั้น ซึ่งหากดาบตํารวจ ม. รูเห็นเหตุการณจริ ง
ยอมต องจดจํ าเหตุ การณ ดั งกล าวได ทั้ งยั งปรากฏจากคํ าเบิ กความของดาบตํ ารวจ ย. ว า เมื่ อจํ าเลยเห็ น
รถยนต ส ายตรวจของพยานกั บ พวกผ า นมาจํ า เลยก็ เ ดิ น หลบเข า ไปในร า น พยานกั บ พวกจึ ง เดิ น ตามไป
ประมาณ ๒ ถึ ง ๓ นาที จํ า เลยก็ เ ดิ น สวนทางออกมา แต ด าบตํ า รวจ ม. กลั บ เบิ ก ความว า หลั ง จาก
จอดรถยนต ส ายตรวจประมาณ ๕ นาที จึ งเห็ น จํ าเลยเดิ น เข าไปในร าน และดาบตํ ารวจ ย. เบิ กความว า
ชุ ด ของดาบตํ า รวจ ย. มี พั น ตํ า รวจตรี ส. ดาบตํ า รวจ จ. และชุด ของดาบตํ า รวจ ม. มี พั น ตํ า รวจ ธ.
และดาบตํารวจ ถ. แตดาบตํารวจ ม. เบิ กความวา ชุดของดาบตํารวจ ย. มี ดาบตํ ารวจ จ. ดาบตํารวจ ถ.
และดาบตํารวจ ร. สวนชุดของดาบตํารวจ ม. มีพันตํารวจ ธ. และพันตํารวจตรี ส. จึงแตกตางกัน คําพยานปาก
ดาบตํ า รวจ ม. จึ ง มี พิ รุ ธ น า สงสั ย ว า พยานเห็ น จํ า เลยซุ ก ซอ นเมทแอมเฟตามีน ของกลางที่ ใ ต ฐ าน
เครื่องรับโทรทัศนที่พยานตรวจพบของกลางในภายหลังจริงหรือไม ทั้งไมปรากฏรายละเอียดชองกระจกสีชา
ในแผนที่ สั ง เขป รวมทั้ ง โต ะ ตั้ ง เครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น ที่ ด าบตํ า รวจ ม. อ า งว า เห็ น จํ า เลยซุ ก ซ อ นและที่ พ บ
เมทแอมเฟตามี น ของกลางซุ ก ซ อ นอยู ทั้ ง ที่ เ ป น ข อ เท็ จ จริ ง สํ า คั ญ แห ง คดี พยานหลั ก ฐานที่ โ จทก นํ า สื บ
จึ งยั งไม อาจรั บ ฟ งได โ ดยปราศจากข อ สงสั ย ว าจํ าเลยได กระทํ าความผิ ด ตามฟ อง แม ทางนํ าสื บ ของโจทก
จะได ความว า ชั้ น จั บ กุ มจํ าเลยจะให การรั บ สารภาพว ามี ย าเสพติ ด ให โ ทษในประเภท ๑ ไว ในครอบครอง
เพื่อจําหนายตามบันทึกการจับกุมก็ตาม แตตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 84 วรรคสี่
หามมิใหนําคํารับสารภาพในชั้นจับกุมของจําเลยดังกลาวมารับฟงเปนพยานหลักฐาน พยานหลักฐานโจทก
ที่นํามาสืบ จึงมีความสงสัยตามสมควรวาจําเลยไดกระทําผิดตามฟองหรือไม จึงใหยกประโยชนแหงความสงสัย
นั้น ให จํ าเลยตามประมวลกฎหมายวิ ธีพิจ ารณาความอาญา มาตรา 227 วรรคสอง ที่ ศาลอุทธรณ ภ าค 7
พิพากษายกฟอง ศาลฎีกาเห็นพองดวย ฎีกาของโจทกฟงไมขึ้น
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นคร ผกามาศ - ยอ


ชานน หมื่นธง - พิมพ
-๒๑-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13575/๒๕๕5
ป.อ. กรรมเดียวผิด ตอกฎหมายหลายบท อนาจารแก เด็ก อายุ ยังไมเ กินสิ บหา ป บุ กรุก ในเวลากลางคื น
(มาตรา 90, 279, 362, 364, 365)
การที่จําเลยดึงกลอนประตูเขาไปในหองนอนของ ส. แตไมพบ อันเปนการกระทําความผิด
ฐานบุ ก รุ ก เคหสถานสํ า เร็ จ แล ว บทหนึ่ ง หลั ง จากนั้ น จํ า เลยได ก ระทํ า อนาจารโดยจํ า เลยใช ลิ้ น เลี ย
อวัยวะเพศของผูเสียหายที่ ๒ อันเปนการกระทําความผิดฐานกระทําอนาจารเด็กอายุยังไมเกินสิบหาป
สํ า เร็ จ อี ก บทหนึ่ ง แต ก ารกระทํ า ความผิ ด ทั้ ง สองฐานดั งกล า วได ก ระทํ า ในวาระเดี ย วกั น และต อเนื่ อ ง
เชื่อมโยงติดตอกันโดยไมขาดตอน มิไดเจตนาแยกการกระทําความผิดของตนเปนรายกรรม การกระทํา
ของจําเลยเปนกรรมเดียวเปนความผิดตอกฎหมายหลายบท

พนักงานอัยการจังหวัดพิจิตร โจทก

ระหวาง
นายพิษณุ เกงชัยการ จําเลย

โจทกฟอง ขอใหล งโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91, 279 วรรคสอง, 362,


364, 365
จําเลยใหการปฏิเสธ
ศาลชั้ น ต น พิ จ ารณาแล ว พิ พ ากษาว า จํ า เลยมี ค วามผิ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 279 วรรคสอง, 364 และ 365 (3) เปน ความผิด หลายกรรมตา งกัน ใหล งโทษทุก กรรม
เปนกระทงความผิดไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 ฐานบุกรุกจําคุก ๑ ป ฐานกระทําอนาจารเด็ก
อายุยังไมเกินสิบหาป จําคุก ๓ ป รวมจําคุก ๔ ป
จําเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค ๖ พิพากษากลับ ใหยกฟอง
โจทกฎีกา
ศาลฎี กาพิ เ คราะห แล ว ข อ เท็ จ จริ งที่ คูความไม ฎี กาโต แ ย งรั บ ฟ งได ในชั้ น นี้ ว า ในวั น เวลา
และสถานที่เกิดเหตุตามฟอง จําเลยไดเขาไปในหองนอนของ ส. อันเปนเคหสถาน ที่อยูอาศัยของผูเสียหายที่ 1
ในขณะที่ มี ผู เ สี ย หายที่ ๒ อายุ ๕ ป เ ศษ ซึ่ ง เป น บุ ต รสาวของ ส. นอนหลั บ อยู ป ญ หาวิ นิ จ ฉั ย ตามฎี ก า
ของโจทก มี ว า จํ า เลยกระทํ า ความผิ ด ตามคํ า พิ พากษาศาลชั้ น ต น หรื อ ไม ได ค วามจากผู เ สี ย หายที่ ๑ ว า
จําเลยขึ้นมาบนบานของผูเสียหายที่ ๑ แลวเขาไปในหองนอนของ ส. ซึ่งอยูติดกับหองนอนของผูเสียหายที่ ๑
โดยมี ฝ าห อ งประเภทเศษไม แ ละสั ง กะสี กั้ น ผู เ สี ย หายที่ ๑ ให ธ. สามี ข องผู เ สี ย หายที่ ๑ แอบดู
ที่รูขางฝา เมื่อ ส. กลับมา ผูเสียหายที่ ๑ บอกใหทราบวาจําเลยอยูในหองนอน ส. จึงวิ่งเขาไปในหองนอน
แลวออกมาบอกวาเห็นจําเลยกําลังใชลิ้นเลียอวัยวะเพศของผูเสียหายที่ ๒ สอดคลองกับที่ไดความจาก ส. วา
คื น เกิ ด เหตุ ส. พาผู เ สี ย หายที่ ๒ ไปเที่ ย วงานประจํ า ป ที่ วั ด กลั บ บ า นเวลา ๑ นาฬิ กา พาผู เ สี ย หายที่ ๒
เขานอน กอนนอนใหสวมเสื้อยืดแขนสั้น กางเกงขายาว แลว ส. ออกจากบานไปสงหลานที่พาไปเที่ยวดวย
กลั บ บ า น เมื่ อ ส. กลั บ มาที่ บ า น ผู เ สี ย หายที่ ๑ บอกว า จํ า เลยมาหา ส. จึ ง เข า ไปในห อ งนอน และเห็ น
จําเลยกําลังมุดมุงเทาโผลออกมานอกมุง จึงเปดมุงดูเห็นจําเลยกํา ลั ง ใช ลิ้ น เลี ย อวั ย วะเพศของผู เสียที่ 2
/กางเกง...
-๒๒-

กางเกงของผู เ สี ย หายที่ ๒ ถู ก ถอดออกมาข า งตั ว ผู เ สี ย หายที่ ๒ กํ า ลั ง นอนหลั บ ส. จึ ง โวยวายเรี ย ก


ผูเสียหายที่ ๑ และบอกผูเสียหายที่ ๑ วาจําเลยกําลังใชลิ้นเลียอวัยวะเพศของผูเสียหายที่ ๒ แลว ส. วิ่งมา
ที่หนาบานตะโกนเรียกสิบตํารวจเอก ช. เพื่อนบาน ซึ่งก็สอดคลองกับคําเบิกความของสิบตํารวจเอก ช. วา
ได ยิ น เสี ย งตะโกนเรี ย กจึ ง ไปที่ บ า นของผู เ สี ย หายที่ ๑ พบผู เ สี ย หายที่ ๑ บอกว า จํ า เลยบุ ก รุ ก เข า ไป
ในบ า น ส ว น ส. บอกว า จํ า เลยได ทํ า อนาจารผู เ สี ย หายที่ ๒ แล ว สิ บ ตํ า รวจเอก ช. เห็ น จํ า เลยเดิ น ออก
มาจากห อ งนอนของ ส. อี ก สั ก ครู ห นึ่ ง ก็ เ ห็ น ผู เ สี ย หายที่ ๒ สวมเสื้ อ แต ไ ม ส วมกางเกงเดิ น ตามออกมา
สิบตํารวจเอก ช. จึงจับกุมจําเลย ขอเท็จจริงที่ไดจากพยานโจทกทั้งสามลวนสอดคลองตองกัน พยานโจทก
ทั้งสามไม มีส าเหตุ โ กรธเคื องจําเลยและไมมีความจํ าเป นที่ ผูเ สี ยหายที่ ๑ กั บ ส. จะตองกล าวหาว าจํ าเลย
กระทํ า อนาจารผู เ สี ย หายที่ ๒ ให เ ป น ที่ อั บ อาย ทั้ ง จํ า เลยก็ เ บิ ก ความยอมรั บ ว า ได เ ข า ไปในห อ งนอน
ของ ส. เมื่ อ ส. เข า มาในห อ งพู ด ขึ้ น ว า มึ ง ทํ า อะไรลู ก กู จํ า เลยจึ ง วิ่ ง ออกไปที่ ห น า บ า นและยื น อยู ข า ง
รถจั กรยานยนต แล ว จํ าเลยถู กสิ บ ตํ ารวจเอก ช. จั บ ไปสถานี ตํ ารวจ นอกจากนี้ สิ บ ตํ ารวจเอก ช. ยั งเห็ น
ผู เ สี ย หายที่ ๒ เดิ น ออกมาจากห อ งนอนโดยไม ไ ด ส วมกางเกงสอดคล อ งกั บ ที่ ส. ว า เห็ น กางเกงของ
ผูเสียหายที่ ๒ ถูกถอดออกกองอยูขางตัว กรณีจึงไมมีทางที่ผูเสียหายที่ ๑ กับ ส. จะเสกสรรปนแตงเรื่องขึ้น
ปรักปรําจําเลยได พยานหลักฐานของโจทกจึงรับฟงไดหนักแนนมั่นคงวา จําเลยไดบุกรุกเขาไปในหองนอน
ของ ส. และกระทํ า อนาจารแก ผู เ สี ย หายที่ ๒ ที่ จํ า เลยต อ สู ค ดี ว า ไม มี เ จตนาบุ กรุ ก แต เ ป น การมาพบ ส.
ตามที่ ส. บอกให ไ ปหาที่ บ านนั้ น เห็ น ว า ขณะเกิ ด เหตุ เ ป น เวลาดึ กมากแล ว ทั้ งจํ าเลยสามารถรอพบ ส.
ที่ ห น า บ า นได หาใช ขึ้ น ไปบนบ า นและเข า ไปนั่ งอยู ภ ายในห องนอนในเวลาเช น นั้ น ไม ข อ ต อ สู ของจํ าเลย
จึงฟงไมขึ้น ที่ศาลอุทธรณภาค ๖ พิพากษายกฟองโจทกมานั้น ศาลฎีกาไมเห็นพองดวย ฎีกาของโจทกฟงขึ้น
อนึ่ ง การที่ จํ า เลยดึ ง กลอนประตู เ ข า ไปในห อ งนอนของ ส. แต ไ ม พ บ อั น เป น การ
กระทํ า ความผิ ด ฐานบุ ก รุ ก เคหสถานสํ า เร็ จ แล ว บทหนึ่ ง หลั ง จากนั้ น จํ า เลยใช ลิ้ น เลี ย อวั ย วะเพศของ
ผูเสียหายที่ ๒ อันเปนการกระทําความผิดฐานกระทํ าอนาจารเด็กอายุยั งไมเกิ นสิบหาป สําเร็จอีกบทหนึ่ ง
แต การกระทํ าความผิ ด ทั้ งสองฐานดั งกล าวได ก ระทํ าในวาระเดี ย วกั น และต อเนื่ อ งเชื่ อมโยงติ ด ต อกั น โดย
ไมขาดตอน มิไดเจตนาแยกการกระทําความผิดของตนเปนรายกรรม การกระทําของจําเลยเปนกรรมเดียว
เป น ความผิ ด ต อกฎหมายหลายบท ป ญหานี้ เ ป น ข อกฎหมายที่ เ กี่ ย วกั บความสงบเรี ย บรอยแม ไม มีคูความ
ฝายใดยกขึ้นฎีกา ศาลฎีกาเห็นสมควรยกขึ้นวินิจฉัยและแกไขใหถูกตองได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225
พิพากษากลับเปนวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 279 วรรคสอง,
365 (3) ประกอบมาตรา 364 การกระทําของจําเลยเปน กรรมเดีย วเปน ความผิด ตอ กฎหมายหลายบท
ลงโทษฐานกระทําอนาจารเด็กอายุยังไมเกินสิบหาป ซึ่งเปนกฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 90 จําคุก 3 ป

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นคร ผกามาศ - ยอ


ชานน หมื่นธง - พิมพ
-๒๓-

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 14248/2555
ป.อ. การขอคืนของกลาง (มาตรา 36)
การที่ผูรองอางวา ใหจําเลยที่ 1 ยืมไปใชโดยมีการทําหลักฐานเปนหนังสือตามสัญญายืมนั้น
สั ญ ญาดั ง กล า วระบุ ว า จํ า เลยที่ 1 ทํ า สั ญ ญายื ม ต อ ผู ร อ งซึ่ ง เป น ผู จั ด การมรดกของ ส. แทน ง.
และมี ท ายาทคนอื่ น ของ ส. ลงชื่ อ เป น ผู ยิ น ยอมให ยื ม แต ผู ร อ งไม นํ า ทายาทดั ง กล า วที่ ต กลงยิ น ยอม
มาเบิก ความประกอบสนั บสนุน ทั้ งผูร องก็ไ มได นํา สืบให เห็น วา เหตุใ ดผู รองจึ งยิน ยอมใหยืมไปใช เป น
เวลานานนั บ ป ทั้ ง ๆ ที่ เ ป น อุ ป กรณ ที่ จํ า เป น ในทางการเกษตรซึ่ ง ผู ร อ งต า งมี อ าชี พ เกษตรกรรม
เช น เดี ย วกั น ส อ แสดงว า ผู ร อ งมิ ไ ด มี ส ว นได เ สี ย ในทรั พ ย สิ น รายนี้ ด ว ย ประกอบกั บ ได ค วามจาก
รอยตํารวจโท ช. พนักงานสอบสวนเบิกความวา ในชั้นสอบสวนจําเลยที่ 1 มีแตการใหถ อยคําเฉพาะ
สัญญายืมโดยไมมีหลักฐานอื่นประกอบพยานหลักฐานการแบงทรัพยสินมีอยูจริง จําเลยที่ 1 ซึ่งเปนผูยืม
และเป น น อ งของผู ร อ งน า จะนํ า ไปแสดงต อ พนั ก งานสอบสวนในชั้ น สอบสวนด ว ย การที่ จํ า เลยที่ 1
ไมนําหลักฐานดังกลาวไปแสดงขอกลาวอางของผูรองจึงไมนาเชื่อถือ พยานหลักฐานของผูรองที่นําสืบมา
ไม มี น้ํ า หนั ก พอให รั บ ฟ ง ได ว า รถไถแทรกเตอร ข องกลางเป น กรรมสิ ท ธิ์ ข องผู ร อ ง ผู ร อ งจึ ง ไม มี สิ ท ธิ
รองขอคืนของกลางได ไมจําตองวินิจฉัยฎีกาขอตอไปของผูรองวารูเห็นเปนใจในการกระทําความผิดหรือไม
_______________________________________
พนักงานอัยการจังหวัดหลมสัก โจทก
นางบัวเกศ วงศออนตา ผูรอง
ระหวาง

นายทวีศักดิ์ จันทขันธ ที่ 1 กับพวกรวม 5 คน จําเลย


คดี สื บ เนื่ อ งมาจากศาลชั้ น ต น มี คํ า พิ พ ากษาลงโทษจํ า เลยทั้ ง ห า ตามพระราชบั ญ ญั ติ
ปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 มาตรา 14, 31 วรรคหนึ่ง ประกอบประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 และ
ริบรถไถแทรกเตอรของกลาง
ผูร องยื่ น คําร องว า ผู ร องเป นเจ าของรถไถแทรกเตอร ของกลาง และมิได รูเ ห็ น เป น ใจด ว ย
ในการกระทําความผิดดังกลาว ขอใหคืนรถไถแทรกเตอรคันดังกลาวแกผูรอง
โจทกยื่นคําคัดคานวา ผูรองมิใชเจาของกรรมสิทธิ์รถไถแทรกเตอรของกลาง และมีสวนรวม
รูเห็นเปนใจในการกระทําความผิด ขอใหยกคํารอง
ศาลชั้นตนไตสวนแลวมีคําสั่งยกคํารอง
ผูรองอุทธรณ
ศาลอุทธรณภาค 6 พิพากษายืน
ผูรองฎีกา
ศาลฎีกาแผนกคดีสิ่งแวดลอมตรวจสํานวนประชุมปรึกษาแลว ทางไตสวนของผูรองนําสืบวา
ผู ร อ งเป น เจ า ของรถไถแทรกเตอร ข องกลางโดยได รั บ มรดกมาจากบิ ด า เมื่ อ วั น ที่ 10 มกราคม 2549
จําเลยที่ 1 มายืมรถไถแทรกเตอรของกลางไปใช และไดนําไปกระทําความผิดโดยผูรองมิไดรูเห็นเปนใจ
/โจทก...
-๒๔-

โจทก นําสืบ ว า ในชั้น สอบสวนจํ าเลยที่ 1 ให การวารถไถแทรกเตอร ของกลางมิใชของตน


ยืมมาจากผูอื่นตามสัญญายืม โดยไมมีหลักฐานอื่นประกอบ
พิ เ คราะห แ ล ว ข อ เท็ จ จริ ง เบื้ อ งต น รั บ ฟ ง เป น ยุ ติ ใ นชั้ น นี้ ว า ตามวั น เวลาเกิ ด เหตุ ใ นฟ อ ง
จํ า เลยที่ 1 นํ า รถไถแทรกเตอร ข องกลางไปใช ใ นการกระทํ า ความผิ ด อาญาและถู ก พิ พ ากษาลงโทษ
ตามพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติฯ และพิพากษาใหริบรถไถแทรกเตอรของกลาง มีปญหาตองวินิจฉั ย
ตามฎี ก าของผู ร อ งว า ผู ร อ งเป น เจ า ของรถไถแทรกเตอร ข องกลางที่ ถู ก ริ บ มี สิ ท ธิ ร อ งขอให คื น หรื อ ไม
โดยผูร องฎีกาคัดคานคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 6 วา รถไถแทรกเตอรของกลางดังกลาว ส. บิด าผูรอง
ได ม าจากการซื้ อ ขายจากบุ ค คลอื่ น โดยมิ ไ ด ทํ า หลั ก ฐานการซื้ อ ขายไว เพี ย งแต รั บ มอบการครอบครอง
และใชตลอดมา และตกเปนของผูรองจากการแบงทรัพยมรดกระหวางทายาท และเปนหลักฐานซึ่งไมจําตอง
มี ท ายาทคนอื่ น ๆ มาเบิ ก ความ อี ก ทั้ ง มี คํ า สั่ ง ศาลตั้ ง ผู ร อ งเป น ผู จั ด การมรดกสนั บ สนุ น ด ว ยนั้ น เห็ น ว า
การที่ ศาลอุ ทธรณ ภ าค 6 พิ จารณาวิ นิ จ ฉั ย ว า ผู ร องไมอางส งพยานเอกสารหรื อหลั กฐานใด ๆ ที่ แสดงว า
รถไถแทรกเตอร ข องกลางเป น ของ ส. บิ ด าผู ร อ ง ทั้ ง ไม ไ ด นํ า ทายาทอื่ น ๆ ที่ ป รากฏในบั น ทึ ก การแบ ง
ทรั พย สิ นของเจ ามรดกเขาเบิกความยืน ยั น และวิ นิจ ฉัย ว า พยานหลั กฐานของผูร องไม มีน้ํ าหนั กให เ ชื่อว า
รถไถแทรกเตอร ของกลางเป น ทรั พย มรดกแล ว แม ผู ร องจะกล าวอ างการได มาว าบิ ด าผู ร องได มาจากการ
ซื้ อ ขายที่ มิ ไ ด ทํ า หลั ก ฐานกั น ไว น อกจากส ง มอบการครอบครองให ก็ อ าจจะรั บ ฟ ง ได แต เ นื่ อ งจาก
รถไถแทรกเตอร ข องกลางเป น เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ เ ก า ที่ ใ ช ง านมาแล ว จะต อ งมี ก ารบํ า รุ ง รั ก ษาซ อ มแซม
ระหว า งใช ง านน า จะต อ งมี ห ลั ก ฐานค า ใช จ า ยและตั ว บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข อ ง เช น ผู ซ อ มบํ า รุ ง มาแสดงและ
เบิ ก ความสนั บ สนุ น มิ ใ ช เ พี ย งมี ตั ว ผู ร อ งมาเบิ ก ความและมี เ อกสารบั น ทึ ก การแบ ง ทรั พ ย สิ น มาประกอบ
ซึ่งเปนเอกสารที่ผูรองและทายาททําขึ้นจึงมีน้ําหนักนอยดังที่ศาลอุทธรณภาค 6 วินิจฉัย สวนที่ผูรองอางวา
ใหจําเลยที่ 1 ยืมไปใชโดยมีการทําหลักฐานเปนหนังสือตามสัญญายืมนั้น สัญญาดังกลาวระบุวาจําเลยที่ 1
ทําสัญญายืมตอผูรองซึ่งเปนผูจัดการมรดกของ ส. แทน ง. และมีทายาทคนอื่นของ ส. ลงชื่อเปนผูยินยอม
ให ยื มแต ผู ร องไม นํ าทายาทดั ง กล าวที่ ต กลงยิ น ยอมมาเบิ กความประกอบสนั บ สนุ น ทั้ งผู ร องก็ ไม ได นํ าสื บ
ใหเห็นวา เหตุใดผูรองจึงยินยอมใหยืมไปใชเปนเวลานานนับปทั้ง ๆ ที่เปนอุปกรณที่จําเปนในทางการเกษตร
ซึ่ ง ผู ร อ งต า งมี อ าชี พ เกษตรกรรมเช น เดี ย วกั น ส อ แสดงว า ผู ร อ งมิ ไ ด มี ส ว นได เ สี ย ในทรั พ ย สิ น รายนี้ ด ว ย
ประกอบกั บ ได ค วามจากร อ ยตํ า รวจโท ช. พนั ก งานสอบสวนเบิ ก ความว า ในชั้ น สอบสวนจํ า เลยที่ 1
มี แ ต ก ารให ถ อ ยคํ า เฉพาะสั ญ ญายื ม โดยไม มี ห ลั ก ฐานอื่ น ประกอบพยานหลั ก ฐานการแบ ง ทรั พ ย สิ น
มีอยูจริง จําเลยที่ 1 ซึ่งเปนผูยืมและเปนนองของผูรองนาจะนําไปแสดงตอพนักงานสอบสวนในชั้นสอบสวนดวย
การที่ จํ า เลยที่ 1 ไม นํ า หลั ก ฐานดั ง กล า วไปแสดงข อ กล า วอ า งของผู ร อ งจึ ง ไม น า เชื่ อ ถื อ พยานหลั ก ฐาน
ของผู ร อ งที่ นํ า สื บ มาไม มี น้ํ า หนั ก พอให รั บ ฟ ง ได ว า รถไถแทรกเตอร ข องกลางเป น กรรมสิ ท ธิ์ ข องผู ร อ ง
ผู ร อ งจึ ง ไม มี สิ ท ธิ ร อ งขอคื น ของกลางได ไม จํ า ต อ งวิ นิ จ ฉั ย ฎี ก าข อ ต อ ไปของผู ร อ งว า รู เ ห็ น เป น ใจในการ
กระทําความผิดหรือไม ที่ศาลอุทธรณภาค 6 พิพากษายกคํารองมานั้น ศาลฎีกาเห็นพองดวย ฎีกาของผูรอง
ฟงไมขึ้น
พิพากษายืน

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ
เฉลิมชัย ภูเงิน - ยอ
ชานน หมื่นธง - พิมพ
-๒๕-

คําชี้ขาดความเห็นแยง ฐานจําหนายซึ่งอาหารไมบริสุทธิ์
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 82/2555)
พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 (มาตรา 4, 25 (1), 26 (1), 58)
คดีมี ว. ผูกลาวหา ซึ่งเปนนักวิชาการอาหารและยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ใหการยืนยันวาตามวันเวลาเกิดเหตุไดรวมกับพวกไปตรวจสอบสถานที่ผลิตอาหารของบริษัท ว. จํากัด
ผู ต อ งหาที่ 1 พบผลิ ต ภั ณ ฑ เ สริ มอาหารสู ต รควบคุ ม น้ํ า หนั ก ของกลางซึ่ ง อยู ร ะหว า งการทดลองสู ต ร
บรรจุใ นแคปซู ลใส มี ลักษณะเปนผงสีน้ําตาลออน น้ําหนัก รวม 9.966 กิโลกรั ม จากการตรวจพิสูจ น
ผลิตภัณฑเสริมอาหารของกลางดังกลาวพบสาร SIBUTRAMINE เจือปนอยู ซึ่งสารดังกลาวจัดเปนยาควบคุมพิเศษ
ตามพระราชบั ญญั ติ ยา พ.ศ. 2510 ที่ ต องสั่ งจ ายโดยแพทย และขายได เฉพาะในสถานพยาบาลเท านั้ น
และตองอยูภายใตมาตรการติดตามความปลอดภัยในสถานพยาบาลดวย หากรับประทานโดยไมมีใบสั่งยา
จากแพทยอาจทําใหเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับความดันโลหิตและอัตราการเตนของหัวใจ ปากแหง คอแหง
ทองผูก ปวดศีรษะ นอนไมหลับ และเบื่ออาหาร ดั งนั้น ผลิต ภัณฑเสริมอาหารของกลางจึงเปนอาหาร
ที่ มี สิ่ง ที่ น า จะเป น อั น ตรายแก สุข ภาพเจื อปนอยู ถื อ เป น อาหารไม บ ริ สุ ทธิ์ ต ามพระราชบั ญญั ติ อ าหาร
พ.ศ. 2522 มาตรา 25 (1), 26 (1) แมผูตองหาทั้งสองจะอางวาผลิตภัณฑเสริมอาหารของกลางอยูใน
ระหวางการทดลองสูตรและแจกใหแกอาสาสมัครเพื่อทดลองสูตรควบคุมน้ําหนักที่เหมาะสมกับคนไทย
สวนใหญก็ตาม แตการกระทําดังกลาวก็มีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนในทางการคาของผูตองหาทั้งสอง
โดยเฉพาะ อันถือเปนการจําหนายตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 มาตรา 4 แลว การกระทํา
ของผูตองหาทั้งสองจึงมีความผิดฐานรวมกันจําหนายซึ่งอาหารไมบริสุทธิ์
________________________________________
คดีนี้ พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการพิเศษฝายคดีเศรษฐกิจและทรัพยากร 7 (ตลิ่งชัน)
มีคําสั่งฟองผูตองหาที่ 1 และผูตองหาที่ 2 ฐานรวมกันผลิตอาหารไมบริสุทธิ์ กับมีคําสั่งไมฟองผูตองหาทั้งสอง
ฐานรวมกันจําหนายอาหารไมบริสุทธิ์
รองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ ปฏิบัติราชการแทนผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ มีความเห็นแยง
คําสั่งไมฟองผูตองหาทั้งสอง
อั ย การสู งสุ ด พิ จ ารณาแล ว เห็ น ว า คดี มี ว. ผู ก ล า วหา ซึ่ งเป น นั ก วิ ช าการอาหารและยา
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ใหการยืนยันวาตามวันเวลาเกิดเหตุไดรวมกับพวกไปตรวจสอบสถานที่
ผลิตอาหารของบริษัท ว. จํากัด ผูตองหาที่ 1 พบผลิต ภัณฑเ สริมอาหารสูต รควบคุมน้ําหนักของกลาง ซึ่งอยู
ระหวางการทดลองสูตร บรรจุ ในแคปซู ลใส มี ลักษณะเปน ผงสี น้ําตาลออน น้ําหนั กรวม 9.966 กิโลกรั ม
จากการตรวจพิสูจนผลิตภัณฑเสริมอาหารของกลางดังกลาวพบสาร SIBUTRAMINE เจือปนอยู ซึ่งสารดังกลาว
จั ด เป น ยาควบคุ ม พิ เ ศษตามพระราชบั ญ ญั ติ ย า พ.ศ. 2510 ที่ ต อ งสั่ ง จ า ยโดยแพทย แ ละขายได เ ฉพาะ
ในสถานพยาบาลเท า นั้ น และต อ งอยู ภ ายใต ม าตรการติ ด ตามความปลอดภั ย ในสถานพยาบาลด ว ย
หากรับประทานโดยไมมีใบสั่งยาจากแพทยอาจทําใหเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับความดันโลหิตและอัตราการเตน
ของหัวใจ ปากแหง คอแหง ทองผูก ปวดศีรษะ นอนไมหลับ และเบื่ออาหาร ดังนั้น ผลิตภัณฑเสริมอาหาร
ของกลางจึ ง เป น อาหารที่ มี สิ่ ง ที่ น า จะเป น อั น ตรายแก สุ ข ภาพเจื อ ปนอยู ถื อ เป น อาหารไม บ ริ สุ ท ธิ์
ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 มาตรา 25 (1), 26 (1) แมผูตองหาทั้ งสองจะอางวาผลิตภัณฑ
เสริมอาหารของกลางอยูในระหวางการทดลองสูตรและแจกใหแกอาสาสมัครเพื่อทดลองสูตรควบคุมน้ําหนัก
ที่เ หมาะสมกั บ คนไทยสว นใหญก็ต าม แต การกระทํ าดังกล าวก็ มีวั ต ถุป ระสงค เ พื่ อประโยชน ในทางการค า
/ของผูตองหา...
-๒๖-

ของผูตองหาทั้งสองโดยเฉพาะ อันถือเปนการจําหน ายตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 มาตรา 4


แลวการกระทําของผูตองหาทั้งสองจึงมีความผิดฐานรวมกันจําหนายซึ่งอาหารไมบริสุทธิ์
ชี้ ข าดให ฟ อ งผู ต อ งหาที่ 1 และผู ต อ งหาที่ 2 ฐานร ว มกั น จํ า หน า ยซึ่ ง อาหารไม บ ริ สุ ท ธิ์
ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 มาตรา 4, 25 (1), 26 (1), 58 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83
และขอศาลสั่ งริ บ ผลิ ต ภัณฑ เสริ มอาหารของกลาง กั บ ให แจงสํ านั กงานอั ยการพิ เ ศษฝ ายคดีเ ศรษฐกิจ และ
ทรัพยากร 7 (ตลิ่งชัน) แจงผลการดําเนินคดีนี้ใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทราบเมื่อยื่นฟองคดี
ตอศาลแลว

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

ดนัย บุษปวนิช - ยอ


ยิ่งพรัณณฐ คําภูเวียง - พิมพ
-๒๗-

คําชี้ขาดความเห็นแยงความผิดฐานปลอมและใชเอกสารสิทธิปลอม
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 87/2555)
ป.อ. ปลอมเอกสารสิทธิและใชเอกสารสิทธิปลอม (มาตรา 265, 268)
การที่ผูตองหาไดรับเงินจากลูกคาของบริษัทผูเสียหายรวม 25 ราย เปนเงิน 150,994 บาท
แลวทํารายงานรับเงินสด (เอกสารในสํานวนลําดับที่ 10/1) ขึ้นตามหนาที่ของตนและมีขอความเปนความจริง
เอกสารดั ง กล า วจึ ง เป น เอกสารสิ ท ธิ ที่ แ ท จ ริ ง ที่ ผู ต อ งหาทํ า ขึ้ น หาใช เ ป น การปลอมเอกสารสิ ท ธิ ไ ม
แต ก ารที่ ผู ต องหาได เ ข า ไปในระบบคอมพิ ว เตอร โ ดยไม มี ห น า ที่ แ ล ว ทํ า การตั ด หนี้ ข องลู ก ค า ดั ง กล า ว
ออกจากบั ญ ชี ลู ก หนี้ ข องบริ ษั ท ผู เ สี ย หาย โดยผู ต อ งหาไม ไ ด นํ า เงิ น ที่ รั บ จากลู ก ค า เข า บั ญ ชี เ งิ น ฝาก
ของบริษัทผูเสียหาย แลวจัดทําใบสําคัญรับจํานวน 25 ฉบับ (เอกสารในสํานวน ลําดับที่ 9/1 – 9/13)
ขึ้นใหตรงกับยอดเงินที่ลูกคารายอื่นโอนเขามาในบัญชีเงินฝากของบริษัทผูเสียหาย เพื่อปดบังอําพราง
การลักเงินดังกลาวไปโดยทุจริต โดยผูตองหาไมมีอํานาจกระทําเอกสารดังกลาว แมขอความในเอกสาร
จะตรงกับความจริง การกระทําของผูตองหาก็เปนการทําเอกสารสิทธิปลอมขึ้นทั้งฉบับ เพื่อใหผูอื่นหลงเชื่อ
วาเปนเอกสารที่แทจริงและกอใหเกิดความเสียหายแกบริษัทผูเสียหาย และเมื่อผูตองหานําเอกสารสิทธิ
ที่ทําปลอมขึ้นดังกลาวไปเก็บเขาแฟมไวคูกับรายงานรับเงินสดเพื่อใหบริษัทผูเสียหายทําการตรวจสอบ
ความถูกตองเพื่อปดบังซอนเรนการลักเงินดังกลาว การกระทําของผูตองหาจึงเปนความผิดฐานปลอมเอกสารสิทธิ
และใชเอกสารสิทธิปลอม ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 265, 268 อีกกระทงหนึ่ง

สํานวนชี้ขาดความเห็นแยงคดีนี้เกี่ยวพันกับสํานวนชี้ขาดความเห็นแยงที่ ชย. 88/2555,


ชย. 89/2555 และ ชย. 90/2555 โดยมี ขอเท็ จ จริ งเดี ย วกั น จึ งเสนอสํ านวนทั้ งสี่ สํ านวนดั งกล าวมา
เพื่อพิจารณาพรอมกัน
พนั ก งานอั ย การ สํ า นั ก งานอั ย การพิ เ ศษฝ า ยคดี อ าญา 3 มี คํ า สั่ ง ฟ อ งผู ต อ งหา
ฐานลั ก ทรั พ ย ที่ เ ป น ของนายจ า ง กั บ มี คํ า สั่ ง ไม ฟ อ งผู ต อ งหา ฐานปลอมและใช เ อกสารสิ ท ธิ ป ลอม
ผู ช ว ยผู บั ญ ชาการตํ า รวจแห ง ชาติ ป ฏิ บั ติ ร าชการแทนผู บั ญ ชาการตํ า รวจแห ง ชาติ มี ค วามเห็ น แย ง คํ า สั่ ง
ไมฟองผูตองหา
อัยการสูงสุดพิจารณาแลว เห็นวา ผูตองหา เปนลูกจางบริษัท ค. จํากัด ผูเสียหาย มีหนาที่
เก็ บ เงิ น และรั บ เงิ น จากลู ก ค า ซึ่ ง เป น ลู ก หนี้ ข องบริ ษั ท ผู เ สี ย หาย จั ด ทํ า เอกสารการรั บ เงิ น สดประจํ า วั น
เพื่ อ แจ ง ให บ ริ ษั ท ผู เ สี ย หายทราบ และนํ า เงิ น ของบริ ษั ท ผู เ สี ย หายที่ รั บ จากลู ก ค า ไปเข า ธนาคาร
ในบั ญชี เ งิน ฝากของบริ ษัทผู เ สีย หาย การที่ ผู ตองหาได รับ เงิน จากลู กคาของบริ ษัทผู เ สีย หายรวม 25 ราย
เป น เงิ น 150,994 บาท แล ว ทํ า รายงานรั บ เงิ น สด (เอกสารในสํ า นวนลํ า ดั บ ที่ 10/1) ขึ้ น ตามหน า ที่
ของตนและมี ขอความเป น ความจริ ง เอกสารดั งกล าวจึ งเป น เอกสารสิ ทธิ ที่แท จ ริ งที่ ผู ต องหาทํ าขึ้ น หาใช
เป น การปลอมเอกสารสิ ทธิ ไม แต การที่ ผู ต องหาได เ ข าไปในระบบคอมพิ ว เตอร โ ดยไม มีห น าที่ แล ว ทํ าการ
ตั ด หนี้ ข องลู ก ค า ดั ง กล า วออกจากบั ญ ชี ลู ก หนี้ ข องบริ ษั ท ผู เ สี ย หาย โดยผู ต อ งหาไม ไ ด นํ า เงิ น ที่ รั บ จาก
ลู กค าเข าบั ญ ชี เ งิ น ฝากของบริ ษัท ผู เ สี ย หาย แล ว จั ด ทํ าใบสํ า คั ญรั บ จํ า นวน 25 ฉบั บ (เอกสารในสํ า นวน
ลํ า ดั บ ที่ 9/1 – 9/13) ขึ้ น ให ต รงกั บ ยอดเงิ น ที่ ลู ก ค า รายอื่ น โอนเข า มาในบั ญ ชี เ งิ น ฝากของ
บริ ษั ท ผู เ สี ย หาย เพื่ อ ป ด บั ง อํ า พรางการลั ก เงิ น ดั ง กล า วไปโดยทุ จ ริ ต โดยผู ต อ งหาไม มี อํ า นาจกระทํ า
เอกสารดั ง กล า ว แม ข อ ความในเอกสารจะตรงกั บ ความจริ ง การกระทํา ของผู ต อ งหาก็ เ ป น การทํา
/เอกสารสิทธิ...
-๒๘-

เอกสารสิ ท ธิ ป ลอมขึ้ น ทั้ ง ฉบั บ เพื่ อ ให ผู อื่ น หลงเชื่ อ ว า เป น เอกสารที่ แ ท จ ริ ง และก อ ให เ กิ ด ความเสี ย หาย
แกบ ริษัทผู เสี ยหาย และเมื่อผูตองหานํ าเอกสารสิทธิที่ทําปลอมขึ้ นดั งกลาวไปเก็ บเขาแฟ มไว คูกับรายงาน
รั บ เงิ น สด เพื่ อ ให บ ริ ษั ท ผู เ สี ย หายทํ า การตรวจสอบความถู ก ต อ งเพื่ อ ป ด บั ง ซ อ นเร น การลั ก เงิ น ดั ง กล า ว
การกระทําของผูตองหาจึงเปนความผิดฐานปลอมเอกสารสิทธิและใชเอกสารสิทธิปลอม ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 265, 268 อีกกระทงหนึ่ง
ชี้ขาดใหฟองผูตองหา ฐานปลอมเอกสารสิทธิและใชเอกสารสิทธิปลอม ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 265, 268, 91 พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2526 มาตรา 4
และขอศาลสั่งนับโทษผูตองหาในคดีนี้ตอจากโทษของผูตองหา ในสํานวนชี้ขาดความเห็นแยงที่ ชย. 88/2555,
ชย. 89/2555 และ 90/2555

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

เฉลิมชัย ภูเงิน -ยอ


ชานน หมื่นธง -พิมพ
-๒๙-

คําชี้ขาดความเห็นแยง ฐานรูวามิไดมีการกระทําความผิดเกิดขึ้น รวมกันแจงขอความแกพนักงานสอบสวน


วาไดมีการกระทําความผิดเพื่อจะแกลงใหบุคคลใดตองรับโทษ
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 132/2555)
ป.อ. รูวามิไดมีการกระทําความผิดเกิดขึ้น รวมกันแจงขอความแกพนักงานสอบสวนวาไดมีการกระทําความผิด
เพื่อจะแกลงใหบุคคลใดตองรับโทษ (มาตรา 83, 173, 174 วรรคสอง)
ผูตองหาที่ 1 ไดมอบเงินจํานวน 33,000 บาท ใหแกผูเสียหาย เพื่อเปนคาใชจายและ
คาเดินทางใหผูเสียหายไปอยูกินฉันสามีภริยากับผูตองหาที่ 1 ไมใชเปนการมอบเงินดังกลาวใหผูเสียหาย
เพราะถูกผูเสียหายหลอกลวง การที่ผูตองหาที่ 1 นําความไปแจงตอพนักงานสอบสวนวาถูกผูเสียหาย
ฉอโกงและผูตองหาที่ 2 ไดใหการเปนพยานดวยขอความอันเปนเท็จตอพนักงานสอบสวนเพื่อชวยเหลือ
ผู ต อ งหาที่ 1 โดยผู ต อ งหาทั้ ง สองรู อยู ว า ไม ไ ด มี ก ารกระทํ า ความผิ ด ดั งกล า วเกิ ด ขึ้ น การกระทํ า ของ
ผูตองหาทั้งสองจึงเปนการรวมกันแจงขอความอันเปนเท็จเกี่ยวกับความผิดอาญาเพื่อจะแกลงใหผูเสียหาย
ตองรับโทษเปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 173, 174 วรรคสอง ประกอบมาตรา 83
________________________________________
คดีนี้ พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการพิเศษฝายคดีอาญา 3 มีคําสั่งไมฟองผูตองหาทั้งสอง
ฐานรูวามิไดมีการกระทําผิดเกิดขึ้น รวมกันแจงขอความแกพนักงานสอบสวนเพื่อจะกลั่นแกลงใหบุคคลใด
ตองรับโทษทางอาญา
รองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ ปฏิบัติราชการแทนผูบัญชาการตํารวจแหงชาติมีความเห็น
แยงคําสั่งไมฟองผูตองหาทั้งสอง
อัย การสู งสุ ดพิ จ ารณาแลว เห็น ว า คดี มีพยานหลั กฐานฟ งได ว า ผู ต องหาที่ 1 ได มอบเงิ น
จํานวน 33,000 บาท ใหแกผูเสียหาย เพื่อเปนคาใชจายและคาเดินทางใหผูเสียหายไปอยูกินฉันสามีภริยากับ
ผูตองหาที่ 1 ไมใชเป นการมอบเงิน ดังกลาวใหผูเ สียหายเพราะถูกผูเสี ยหายหลอกลวง การที่ผูตองหาที่ 1
นําความไปแจงตอพนักงานสอบสวนวาถูกผูเสียหายฉอโกงและผูตองหาที่ 2 ไดใหการเปนพยานดวยขอความ
อันเปนเท็จตอพนักงานสอบสวนเพื่อชวยเหลือผูตองหาที่ 1 โดยผูตองหาทั้งสองรูอยูวาไมไดมีการกระทําความผิด
ดังกลาวเกิดขึ้น การกระทําของผูตองหาทั้งสอง จึงเปนการรวมกันแจงขอความอันเปนเท็จเกี่ยวกับความผิดอาญา
เพื่อจะแกลงใหผูเสียหายตองรับโทษ เปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 173, 174 วรรคสอง
ประกอบมาตรา 83
ชี้ขาดใหฟองผูตองหาทั้งสองฐานรูวามิไดมีการกระทําความผิดเกิดขึ้น รวมกันแจงขอความแก
พนักงานสอบสวนวาไดมีการกระทําความผิดเพื่อจะแกลงใหบุคคลใดตองรับโทษตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 173, 174 วรรคสอง, 83

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

ดนัย บุษปวนิช - ยอ


ยิ่งพรัณณฐ คําภูเวียง - พิมพ
-๓๐-

คําชี้ขาดความเห็นแยง ฐานรวมกันฉอโกงประชาชน
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 169/2555)
ป.อ. ตัวการ ฉอโกงประชาชน (มาตรา 83, 91, 341, 343)
การที่ผูตองหาทั้งสี่ติดตั้งปายโฆษณาและแจกจายเอกสารแผนพับโฆษณาแกบุคคลทั่วไป
วาขายที่ดินแปลงละ 100 ตารางวา หรือ 200 ตารางวา โดยระบุวาถนนในโครงการเฟส 1 และเฟส 2
กวาง 12 เมตร เฟส 3 กวาง 10 เมตร ทั้งที่ผูตองหาทั้งสี่รูดีอยูแลววาถนนโครงการกวางเพียง 8 เมตร
จึงเปนการรวมกันหลอกลวงประชาชนโดยการแสดงขอความอันเปนเท็จ หรือปกปดขอความจริงซึ่งควร
บอกให แจ งและเป น เหตุ ใ ห ผูก ล า วหาทั้ งสามกั บพวกหลงเชื่ อจึ งได ทํา เอกสารสิ ทธิ สัญญาซื้ อขายที่ ดิ น
เนื้อที่ 100 ตารางวา กับผูตองหาที่ 1 การกระทําของผูตองหาทั้งสี่จึงเปนความผิดฐานรวมกันฉอโกงประชาชน
ตามขอกลาวหา
ความเสี ย หายที่ ผู ก ล า วหาทั้ ง สามกั บ พวกได รั บ คดี นี้ คื อ การไม ไ ด ใ ช ป ระโยชน ที่ ดิ น
เต็ม 100 ตารางวา ตามสัญญาซึ่งเปนความผิดทางแพง ไมใชทรัพยสิน หรือราคาทรัพยที่ตองสูญเสียไป
เนื่องจากการกระทําความผิดของผูตองหาทั้งสี่ดังกลาว จึงไมสามารถขอใหผูตองหาทั้งสี่รวมกันคืนหรือ
ใชราคาทรัพยได
________________________________________
คดี นี้ อธิ บดี อั ยการ สํ านั กงานคดี อาญา สั่ งไม ฟ องผู ต องหาที่ 1 ถึ งที่ 4 ฐานร วมกั นฉ อโกง
ประชาชน โดยเห็นวาเปนการหลอกหลวงเฉพาะผูซื้อแตละรายเทานั้น สวนจะเปนความผิดฐานฉอโกงผูเสียหาย
คนใดบ า ง เนื่ อ งจากพนั ก งานสอบสวนยั ง ไม ไ ด มี ก ารแจ ง รายละเอี ย ดการฉ อ โกงผู เ สี ย หายแต ล ะคนให
ผูตองหาทั้งสี่ทราบจึงยังไมพิจารณาในสวนนี้
รองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ ปฏิบัติราชการแทนผูบัญชาการตํารวจแหงชาติมีความเห็นแยง
คําสั่งไมฟองผูตองหาทั้งสี่
อัยการสูงสุดพิจารณาแลว เห็นวา การที่ผูตองหาทั้งสี่ติดตั้งปายโฆษณาและแจกจายเอกสาร
แผนพับโฆษณาแกบุ คคลทั่วไปวาขายที่ดินแปลงละ 100 ตารางวา หรื อ 200 ตารางวา โดยระบุวาถนน
ในโครงการเฟส 1 และเฟส 2 กวาง 12 เมตร เฟส 3 กวาง 10 เมตร ทั้งที่ผูตองหาทั้งสี่รูดีอยูแลววาถนน
โครงการกว า งเพี ย ง 8 เมตร จึ ง เป น การร ว มกั น หลอกลวงประชาชนโดยการแสดงข อ ความอั น เป น เท็ จ
หรือปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจงและเปนเหตุใหผูกลาวหาทั้งสามกับพวกหลงเชื่อจึงไดทําเอกสารสิทธิ
สั ญ ญาซื้ อ ขายที่ ดิ น เนื้ อ ที่ 100 ตารางวา กั บ ผู ต อ งหาที่ 1 การกระทํ าของผู ต องหาทั้ งสี่ จึ ง เป น ความผิ ด
ตามข อ กล า วหา คดี มี พ ยานหลั ก ฐานพอฟ อ ง แต ค วามเสี ย หายที่ ผู ก ล า วหาทั้ ง สามกั บ พวกได รั บ คดี นี้
คือการไมไดใชประโยชนที่ดินเต็ม 100 ตารางวา ตามสัญญาซึ่งเปน ความผิดทางแพง แตไมใชทรัพยสินหรือ
ราคาทรั พย ที่ ต อ งสู ญเสี ย ไปเนื่ อ งจากการกระทํ า ความผิ ด ของผู ต องหาทั้ ง สี่ ดั ง กล า ว จึ ง ไม ส ามารถขอให
ผูตองหาทั้งสี่รวมกันคืนหรือใชราคาทรัพยได
ชี้ขาดใหฟองผูตองหาที่ 1 ถึงที่ 4 ฐานรวมกันฉอโกงประชาชน ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 83, 91, 341, 343 พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2526 มาตรา 4

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ
ดนัย บุษปวนิช - ยอ
ยิ่งพรัณณฐ คําภูเวียง - พิมพ
-๓๑-

คําชี้ขาดความเห็นแยง ฐานฆาผูอื่น
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 317/2555)
ป.อ. พยายาม ตัวการ หลายกรรม ฆาผูอื่น (มาตรา 80, 83, 91, 288)
ผูตองหาที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ไดรวมกับผูตองหาที่ 1 และที่ 5 ซึ่งพนักงานอัยการมีคําสั่งฟองแลว
รุ ม ทํ า ร า ยฝ า ยผู ต ายกั บ พวกเพี ย งฝ า ยเดี ย วโดยฝา ยผู ต ายกับ พวกไมไ ดก อ เหตุ ท ะเลาะวิ ว าทด ว ย
เพราะกําลังพากันออกจากรานคาราโอเกะ ฝายผูตองหามีถึง 5 คน รวมกันรุมทํารายผูตายเพียงคนเดียว
กอนโดยรุมถีบเตะแลวผูตองหาที่ 1, 2 และที่ 5 ใชมีดรุมแทงผูตายจนเปนเหตุใหผูตายถึงแกความตาย
ในบริเวณที่เกิดเหตุ จากนั้นก็หันมารุมทําราย ศ. กับ ป. อีก เมื่อไดยินเสียง ศ. เรียกให พ. เจาของรานคาราโอเกะ
ออกมาช วย โดยร วมกั น เตะถี บผู เ สี ยหายทั้ งสองและร วมกั น ใช อาวุ ธมี ด แทงผู เ สี ยหายทั้ งสองหลายที
แต มี ม. ซึ่ ง เห็ น เหตุ ก ารณ ไ ด ยิ ง ป น ขู ขึ้ น ฟ า 1 นั ด ขั ด จั ง หวะเสี ย ก อ น ผู ต อ งหาทั้ ง ห า จึ ง หลบหนี ไ ป
พฤติการณของผูตองหาทั้งหาดังกลาวเห็นไดวามีเจตนารวมกันฆาผูตายและรวมกันฆาผูเสียหายทั้งสองดวย
เมื่อผูเสียหายทั้งสองไมถึงแกความตาย จึงเปนความผิดเพียงฐานรวมกันพยายามฆาอีกกรรมหนึ่ง
________________________________________
คดีกลาวหาผูตองหาที่ 1 ถึงที่ 5 กระทําความผิดฐานรวมกันฆาผูอื่นและรวมกันพยายามฆาผูอื่น
พาอาวุธไปในเมือง หมูบานหรือทางสาธารณะโดยไมมีเหตุสมควร
พนั ก งานอั ย การ สํ า นั ก งานอั ย การจั ง หวั ด ทุ ง สง มี คํ า สั่ ง ฟ อ งผู ต อ งหาที่ 1 และที่ 5
ตามขอกลาวหา และสั่งไมฟองผูตองหาที่ 2, 3, 4 ตามขอกลาวหา
ผูวาราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช มีความเห็นแยงควรสั่งฟองผูตองหาที่ 2, 3 และที่ 4
ตามขอกลาวหา
อัยการสูงสุดพิจารณาแลว เห็นวา เหตุการณในคดีนี้ ผูตองหาที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ไดรวมกับ
ผู ต องหาที่ 1 และที่ 5 ซึ่ งพนั กงานอั ย การมี คํา สั่ งฟ องแล ว รุ มทํ า รา ยฝา ยผู ต ายกับ พวกเพีย งฝา ยเดีย ว
โดยฝายผูตายกับพวกไมไดกอเหตุทะเลาะวิวาทดวยเพราะกําลังพากันออกจากรานคาราโอเกะ ฝายผูตองหา
มีถึง 5 คน รวมกันรุมทํารายผูตายเพียงคนเดียวกอนโดยรุมถีบเตะแลวผูตองหาที่ 1, 2 และที่ 5 ใชมีดรุมแทง
ผูตายจนเปนเหตุใหผูตายถึงแกความตายในบริเวณที่เกิดเหตุ จากนั้นก็หันมารุมทําราย ศ. กับ ป. อีก เมื่อไดยิน
เสียง ศ. เรียกให พ. เจาของรานคาราโอเกะออกมาชวย โดยรวมกันเตะถีบผูเสียหายทั้งสองและรวมกันใชอาวุธ
มีดแทงผูเสียหายทั้งสองหลายที แตมี ม. ซึ่งเห็นเหตุการณไดยิงปนขูขึ้นฟา 1 นัด ขัดจังหวะเสียกอน ผูตองหา
ทั้งหาจึงหลบหนีไป พฤติการณของผูตองหาทั้งหาดังกลาวเห็นไดวามีเจตนารวมกันฆาผูตายและรวมกันฆา
ผูเสียหายทั้งสองดวย เมื่อผูเสียหายทั้งสองไมถึงแกความตาย จึงเปนความผิดเพียงฐานรวมกันพยายามฆา
อีกกรรมหนึ่ง คดีมีพยานหลักฐานพอฟองผูตองที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ตามขอกลาวหา
ส ว นความผิ ด ฐานพาอาวุ ธ ไปในเมื อ ง หมู บ า น หรื อ ทางสาธารณะ โดยไม มี เ หตุ ส มควร
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 371 ขาดอายุความแลว
จึงมีคําสั่งดังนี้
1. ชี้ขาดใหฟองผูตองหาที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ฐานรวมกันฆาผูอื่น และรวมกันพยายามฆาผูอื่น
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288, 80, 83, 91 พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา
(ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2526 มาตรา 4
2. ใชอํานาจอัยการสูงสุดตามพระราชบัญญัติองคกรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ. 2553
มาตรา 15 สั่งยุติการดําเนินคดีกับผูตองหาที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ฐานรวมกันพาอาวุธไปในเมือง หมูบาน หรือ
/ทางสาธารณะ...
-๓๒-

ทางสาธารณะโดยไมมีเหตุสมควร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 371 เนื่องจากคดีขาดอายุความแลว


3. ใหแจงพนักงานอัยการจังหวัดทุงสงแกไขคําฟองคดีอาญาหมายเลขดําที่ 4123/2555
(ฟ องผูต องหาที่ 5) เป น วาการกระทํ าของจํ าเลยเปน ความผิ ด หลายกรรมต างกั น คื อ ฐานร ว มกั นฆ าผู อื่น
(ส. ผูตาย) กรรมหนึ่ง และฐานรวมกันพยายามฆาผูอื่น (พลทหาร ย. ป. และ ศ.) อีกกรรมหนึ่งดวย

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

ดนัย บุษปวนิช - ยอ


ยิ่งพรัณณฐ คําภูเวียง - พิมพ
-๓๓-

คําชี้ขาดความเห็นแยง ฐานมีไมหวงหามแปรรูป (ไมพะยูง) ไวในครอบครองเกินกวา 0.20 ลูกบาศกเมตร


โดยไมไดรับอนุญาตจากเจาพนักงาน
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 363/2555)
พ.ร.บ. ปาไม พุทธศักราช 2484 (มาตรา 4, 6, 48, 73)
คดีมีเพียงคําซัดทอดของผูตองหาที่ 1 ในชั้นจับกุมวา ผูตองหาที่ 2 เปนผูวาจางใหขับรถ
ของกลางโดยไมมีพยานหลักฐานอื่นใดยืนยันวาผูตองหาที่ 2 มีสวนเกี่ยวของกับไมพะยูงของกลางอยางไร
และในชั้นสอบสวนผูตองหาที่ 1 ใหการวา ว. เปนผูวาจาง โดยเหตุที่ต นรับวา ผูตองหาที่ 2 เปนผูวาจาง
ในชั้นจับกุมนั้น เนื่องจากเกิด ความกลัวและตกใจประกอบกับผูตองหาที่ 2 ใหการปฏิเสธ พยานหลักฐาน
ไมพอฟองผูตองหาที่ 2 ฐานรวมกันมีไมหวงหามแปรรูป (ไมพะยูง) ไวในครอบครองเกินกวา 0.20 ลูกบาศกเมตร
โดยไมไดรับอนุญาตจากเจาพนักงาน
________________________________________
คดีนี้ พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการจังหวัดนครราชสีมา สั่งฟองผูตองหาที่ 1 ฐานมีไมหวงหาม
แปรรูป (ไมพะยูง) ไวในครอบครองเกินกวา 0.20 ลูกบาศกเมตร โดยไมไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานและ
เปนผูขับขี่รถยนตเสพยาเสพติดใหโทษประเภท 1 (เมทแอมเฟตามีน) โดยฝาฝนตอกฎหมายและสั่งไมฟอง
ผูต องหาที่ 2 ฐานร ว มกั น มีไม แปรรู ปหวงห าม (ไม พะยู ง) ไวในครอบครองเกิ นกว า 0.20 ลู กบาศก เ มตร
โดยไมไดรับอนุญาตจากเจาพนักงาน
รองผู วาราชการจั งหวั ด นครราชสีมา รั กษาราชการแทนผู ว าราชการจั งหวัด นครราชสี มา
มีความเห็นแยงคําสั่งไมฟองผูตองหาที่ 2
อัย การสู งสุ ด พิ จ ารณาแล ว เห็ น ว า คดี มีเ พี ยงคํ าซั ด ทอดของผู ต องหาที่ 1 ในชั้ น จั บ กุ มว า
ผูตองหาที่ 2 เปนผูวาจางใหขับรถของกลางโดยไมมีพยานหลักฐานอื่นใดยืนยันวาผูตองหาที่ 2 มีสวนเกี่ยวของ
กับไมพะยูงของกลางอยางไร และในชั้น สอบสวนผูตองหาที่ 1 ใหการวา ว. เปนผูวาจาง โดยเหตุที่ต นรับ วา
ผู ต อ งหาที่ 2 เป น ผู ว า จ า งในชั้ น จั บ กุ ม นั้ น เนื่ อ งจากเกิ ด ความกลั ว และตกใจประกอบกั บ ผู ต อ งหาที่ 2
ใหการปฏิเสธ พยานหลักฐานไมพอฟองผูตองหาที่ 2 ฐานรวมกันมีไมหวงหามแปรรูป (ไมพะยูง) ไวในครอบครอง
เกินกวา 0.20 ลูกบาศกเมตร โดยไมไดรับอนุญาตจากเจาพนักงาน
ชี้ ข าดไม ฟ องผู ต อ งหาที่ 2 ฐานร ว มกั น มี ไม ห วงห า มแปรรู ป (ไม พ ะยู ง ) ไว ใ นครอบครอง
เกินกวา 0.20 ลูกบาศกเมตร โดยไมไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานตามพระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484
มาตรา 4, 6, 48, 73 พระราชบั ญ ญั ติ ป าไม (ฉบั บ ที่ 3) พ.ศ. 2549 มาตรา 3 พระราชบั ญ ญั ติ ป าไม
(ฉบั บ ที่ 5) พ.ศ. 2518 มาตรา 3, 19 พระราชบั ญ ญั ติ ป า ไม (ฉบั บ ที่ 7) พ.ศ. 2525 มาตรา 4
พระราชกฤษฎีกากําหนดไมหวงหาม พ.ศ. 2530 มาตรา 4 บัญชีทายพระราชกฤษฎีกากําหนดไมหวงหาม
พ.ศ. 2530 ลําดับที่ 53 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

ดนัย บุษปวนิช - ยอ


ยิ่งพรัณณฐ คําภูเวียง - พิมพ
-๓๔-

คํ า ชี้ ข าดความเห็ น แย ง ฐานมี อ าวุ ธ ป น เครื่ อ งกระสุ น ป น ไว ใ นครอบครองโดยไม ไ ด รั บ อนุ ญ าตจาก
นายทะเบี ยนท องที่ และพาอาวุ ธ ป น ติ ด ตั วไปในเมื องหมู บา น หรื อทางสาธารณะโดยไม ไ ด รั บอนุ ญาต
ใหมีอาวุธปนติดตัว
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 366/2555)
พ.ร.บ. อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 (มาตรา 7,
8 ทวิ วรรคหนึ่ง, 72 วรรคหนึ่ง, 72 วรรคสอง)
คดี มีพัน ตํ า รวจโท ณ. และจ า สิ บตํ า รวจ ป. ผู ก ล า วหาและผู จั บกุ ม ยื น ยั น ว า ตรวจพบ
อาวุธปนและเครื่องกระสุนปนของกลางบรรจุในกระเปาผาแบบสะพานแขวนอยูหลังเบาะนั่งผูขับขี่รถยนต
กระบะป ก อั พ ซึ่ ง ผู ต อ งหาเป น ผู ขั บ ขี่ แ ละ ส. มารดาเป น ผู โ ดยสารโดยผู ต อ งหารั บ ว า อาวุ ธ ป น และ
เครื่ อ งกระสุ น ป น ของกลางดั ง กล า วเป น ของตน และตนไม มี ใ บอนุ ญ าตให มี แ ละพกพาอาวุ ธ ป น และ
เครื่ องกระสุ น ป น ของกลาง แมต อมาผู ต องหาให ก ารปฏิ เ สธในชั้ น สอบสวนว า เก็ บกระเป า สะพายซึ่ งมี
อาวุธปนและเครื่องกระสุนปนของกลางอยูไดจากหองน้ําในสถานีบริการน้ํามันและกําลังจะนําไปมอบให
เจ า หน า ที่ ตํ า รวจ แต จ ากพฤติ ก ารณ ใ นการจั บ กุ ม เมื่ อ ผู ต อ งหาเห็ น ด า นตรวจผู ต อ งหากลั บ ชะลอรถ
จะเขาขางถนนแทนที่จะขับตรงมายังดานเพื่อนําของกลางสงมอบใหเจาหนาที่ตํารวจตามที่กลาวไวและ
เมื่ อ ถู ก เรี ย กให นํ า รถมาตรวจแล ว ก็ ไ ม รี บ แจ งเรื่ อ งดั งกล า วให ผู ก ล า วหาและผู จั บกุ ม ทราบจนกระทั่ ง
มีการตรวจพบของกลางไดในรถคันดังกลาวประกอบกับผูตองหาใหการในชั้นสอบสวนวาไมมีบุคคลอื่นใด
อยูใกลเคียงภายหลังจากที่พบกระเปาสะพายในหองน้ําและไดนํากระเปาสะพายมาตรวจสอบในรถซึ่งมี ส.
นั่งรออยูพบวาภายในมีอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนของกลางดังกลาว แต ฉ. พยานฝายผูตองหาซึ่งเปน
แม คา ขายผลไม ภายในสถานี บริ การน้ํ ามั น ใหก ารวา พบผู ตองหาเดิน ออกมาจากห องน้ํ าพรอมหิ้ วหรื อ
ถื อ สิ่ ง ของในถุ ง ดํ า ฉ. จึ ง ถามผู ต อ งหาว า ถุ ง อะไร ผู ต อ งหาหยิ บ อาวุ ธ ป น ของกลางให ดู โ ดยบอกว า
ไมทราบวาเปนของใคร คําใหการของผูตองหาจึงขัดแยงกับคําใหการของ ฉ. คดีมีพยานหลักฐานพอฟอง
________________________________________
คดีนี้ พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการจังหวัดสีคิ้ว สั่งไมฟองผูตองหาฐานมีอาวุธปนและ
เครื่องกระสุนไวในครอบครองโดยไมไดรับอนุญาตและพาอาวุธปนติดตัวไปในเมือง หมูบานหรือทางสาธารณะ
โดยไมไดรับอนุญาต
รองผู วาราชการจั งหวั ด นครราชสีมา รั กษาราชการแทนผู ว าราชการจั งหวัด นครราชสี มา
มีความเห็นแยงคําสั่งไมฟองผูตองหา
อัยการสูงสุดพิจารณาแลว เห็นวา คดีมีพันตํารวจโท ณ. และจาสิบตํารวจ ป. ผูกลาวหาและ
ผูจับกุมยืนยันวาตรวจพบอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนของกลางบรรจุในกระเปาผาแบบสะพานแขวนอยูหลัง
เบาะนั่งผู ขับขี่ ร ถยนต กระบะป กอั พซึ่ งผู ต องหาเป นผู ขับ ขี่และ ส. มารดาเป น ผู โดยสารโดยผูต องหารั บ ว า
อาวุธปนและเครื่องกระสุนปนของกลางดังกลาวเปนของตน และตนไมมีใบอนุญาตใหมีและพกพาอาวุธปนและ
เครื่องกระสุนปนของกลาง แมตอมาผูตองหาใหการปฏิเสธในชั้นสอบสวนวาเก็บกระเปาสะพายซึ่งมีอาวุธปน
และเครื่องกระสุนปนของกลางอยูไดจากหองน้ําในสถานีบริการน้ํามันและกําลังจะนําไปมอบใหเจาหนาที่ตํารวจ
แต จ ากพฤติ ก ารณ ใ นการจั บ กุ ม เมื่ อ ผู ต อ งหาเห็ น ด า นตรวจผู ต อ งหากลั บ ชะลอรถจะเข า ข า งถนนแทนที่
จะขั บ ตรงมายั ง ด า นเพื่ อ นํ า ของกลางส ง มอบให เ จ า หน า ที่ ตํ า รวจตามที่ ก ล า วไว แ ละเมื่ อ ถู ก เรี ย กให นํ า รถ
มาตรวจแล วก็ ไม รีบ แจ งเรื่องดั งกล าวให ผูกลาวหาและผูจั บกุ มทราบจนกระทั่ งมี การตรวจพบของกลางได
ในรถคันดังกลาวประกอบกับผูตองหาใหการในชั้นสอบสวนวาไมมีบุคคลอื่นใดอยูใกลเคียงภายหลังจากที่พบ
/กระเปา...
-๓๕-

กระเปาสะพายในหองน้ําและไดนํากระเปาสะพายมาตรวจสอบในรถซึ่งมี ส. นั่งรออยูพบวาภายในมีอาวุธปน
และเครื่ องกระสุ น ป น ของกลางดั งกล าว แต ฉ. พยานฝา ยผู ต อ งหาซึ ่ง เปน แมค า ขายผลไมภ ายในสถานี
บริการน้ํามัน ใหการวาพบผูตองหาเดินออกมาจากหองน้ําพรอมหิ้วหรือถือสิ่งของในถุงดํา ฉ. จึงถามผูตองหาวา
ถุ ง อะไร ผู ต องหาหยิ บ อาวุ ธ ป น ของกลางให ดู โ ดยบอกว า ไม ท ราบว า เป น ของใคร คํ า ให ก ารของผู ต องหา
จึงขัดแยงกับคําใหการของ ฉ. คดีมีพยานหลักฐานพอฟอง
จึงมีคําสั่ง ดังนี้
1. ชี้ขาดใหฟองผูตองหาฐานมีอาวุธปน เครื่องกระสุนปนไวในครอบครองโดยไมไดรับอนุญาต
จากนายทะเบี ยนท องที่ และพาอาวุ ธปน ติดตั วไปในเมือง หมู บาน หรื อทางสาธารณะโดยไมได รับอนุญาต
ใหมีอาวุธปนติดตัวตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน
พ.ศ. 2490 มาตรา 7, 8 ทวิ วรรคหนึ่ง, 72 วรรคหนึ่ง, 72 ทวิ วรรคสอง คําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครอง
แผนดิน (ฉบับที่ 44) ลงวันที่ 21 ตุลาคม 2519 ขอ 3, 6, 7 ขอริบอาวุธปนของกลาง
2. ใชอํานาจอัยการสูงสุดสั่งยุติการดําเนินคดีกับ ผูตองหาฐานพาอาวุ ธไปในเมื อง หมูบาน
หรือทางสาธารณะโดยไมมีเหตุสมควร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 371 เนื่องจากคดีขาดอายุความแลว
(เหตุเกิดวันที่ 22 ตุลาคม 2552)
3. แจงใหพนักงานสอบสวนตรวจสอบคดีตามรายการประวัติของผูตองหาและสงตัวผูตองหา
มาฟองภายในอายุความ

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

ดนัย บุษปวนิช - ยอ


ยิ่งพรัณณฐ คําภูเวียง - พิมพ
-๓๖-

คําชี้ขาดความเห็น แยง ฐานมีอาวุธ ปน และเครื่องกระสุน ปน ไวใ นครอบครองโดยไมไดรับอนุญาต และ


พาอาวุธปนไปในเมือง หมูบาน หรือทางสาธารณะโดยไมไดรับอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัว
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 370/2555)
พ.ร.บ. อาวุธปนเครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 (มาตรา 7,
8, ทวิ, 72, 72 ทวิ)
คดีมีรอยตํารวจตรี ฐ. และสิบตํารวจเอก ป. เปนพยานยืนยันวาตรวจคนพบอาวุธปนพก
รีวอลเวอร ขนาด .38 SPECIAL ไมมีเครื่องหมายทะเบียน จํานวน 1 กระบอก พรอมกระสุนปนรีวอลเวอร
ขนาด .38 SPECIAL จํานวน 4 นัด อยูในซองพกสีดํา 1 ใบ ซุกซอนอยูใตเบาะที่นั่งของผูตองหาซึ่งเปน
ผูขับขี่รถยนตกระบะปคอัพผานจุดตรวจที่เกิดเหตุ สอบถามแลวผูตองหารับวาเปนของตนเอง และตนเอง
ไมเคยไดรับใบอนุญาตใหมีและพกพาอาวุธปนติดตัว แมผูตองหาจะใหการปฏิเสธในชั้นสอบสวน อางวา
พบอาวุธปนและกระสุนปนของกลางวางอยูบนมานั่งหนาหองน้ําในปมน้ํามันขางทางที่ตนแวะเติมน้ํามัน
จึงเก็บเอามาเพื่อมอบใหกับเจาหนาที่ตํารวจก็ตาม แตรอยตํารวจตรี ฐ. กับพวกกลับไมไดรับทราบและ
ไดยินเรื่องดังกลาวจากผูตองหาในชั้นจับกุมแตอยางใด ขออางของผูตองหาดังกลาวจึงไมมีน้ําหนักใหรับฟง
คดีมีพยานหลักฐานนาเชื่อวาอาวุธปนพรอมกระสุนปนของกลางเปนของผูตองหามีไวครอบครองโดยไมได
รับอนุญาตและพกพาติดตัวโดยไมไดรับอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัว และโดยไมมีเหตุสมควร
________________________________________
คดีกลาวหาวา ผูตองหากระทําความผิดฐานมีอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนไวในครอบครอง
โดยไมไดรับอนุญาตและพาอาวุธปนไปในเมือง หมูบานหรือทางสาธารณะโดยไมไดรับอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัว
และโดยไมมีเหตุสมควร
พนักงานอัยการ สํานักงานอัยการจังหวัดสีคิ้ว มีคําสั่งไมฟองผูตองหาทุกขอกลาวหา
รองผูวาราชการจังหวัด รักษาราชการแทนผูวาราชการจังหวัดนครราชสีมา มีความเห็นแยง
คําสั่งไมฟองผูตองหา
อัยการสูงสุดพิจารณาแลว เห็นวา คดีมีรอยตํารวจตรี ฐ. และสิบตํารวจเอก ป. เปนพยาน
ยื น ยั น ว า ตรวจค น พบอาวุ ธ ป น พกรี ว อลเวอร ขนาด .38 SPECIAL ไม มี เ ครื่ อ งหมายทะเบี ย น จํ า นวน
1 กระบอก พรอมกระสุนปนรีวอลเวอร ขนาด .38 SPECIAL จํานวน 4 นัด อยูในซองพกสีดํา 1 ใบ ซุกซอน
อยูใตเบาะที่นั่งของผูตองหาซึ่งเปนผูขับขี่รถยนตกระบะปคอัพผานจุดตรวจที่เกิดเหตุ สอบถามแลวผูตองหารับ
วาเปนของตนเอง และตนเองไมเคยไดรับใบอนุญาตใหมีและพกพาอาวุธปนติดตัว แมผูตองหาจะใหการปฏิเสธ
ในชั้นสอบสวน อางวาพบอาวุธปนและกระสุนปนของกลางวางอยูบนมานั่งหนาหองน้ําในปมน้ํามันขางทาง
ที่ตนแวะเติมน้ํามันจึงเก็บเอามาเพื่อมอบใหกับเจาหนาที่ตํารวจก็ตาม แตรอยตํารวจตรี ฐ. กับพวกกลับไมได
รับทราบและไดยินเรื่องดังกลาวจากผูตองหาในชั้นจับกุมแตอยางใด ขออางของผูตองหาดังกลาวจึงไมมีน้ําหนัก
ใหรับฟง คดีมีพยานหลักฐานนาเชื่อวาอาวุธปนพรอมกระสุนปนของกลางเปนของผูตองหามีไวครอบครอง
โดยไม ไ ด รั บ อนุ ญ าตและพกพาติ ด ตั ว โดยไม ไ ด รั บ อนุ ญ าตให มี อ าวุ ธ ป น ติ ด ตั ว และโดยไม มี เ หตุ ส มควร
ตามข อ กล า วหา ส ว นความผิ ด ฐานพาอาวุ ธ ไปในเมื อ ง หมู บ า น หรื อ ทางสาธารณะโดยไม มี เ หตุ ส มควร
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 371 ขาดอายุความ 1 ปแลว
จึงมีคําสั่งดังนี้
1. ชี้ ขาดให ฟ อ งผู ต อ งหาฐานมี อ าวุ ธ ป น และเครื่ อ งกระสุ น ป น ไว ใ นครอบครองโดยไม ไ ด
รับอนุญาต และพาอาวุธปน ไปในเมือง หมูบาน หรือทางสาธารณะโดยไมไดรั บอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตั ว
/ตามพระราชบัญญัติ...
-๓๗-

ตามพระราชบัญญัติอาวุธปนเครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490


มาตรา 7, 8, ทวิ, 72, 72 ทวิ คําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ 44 ลงวันที่ 21 ตุลาคม 2519
ขอ 3, 6, 7 ขอริบของกลางและใหแจงพนักงานสอบสวนจัดการของกลางตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 85
2. ใชอํานาจอัย การสู งสุดสั่ งยุติการดําเนินคดีแกผู ตองหาฐานพาอาวุธไปในเมื อง หมูบาน
หรือทางสาธารณะโดยไมมีเหตุสมควรตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 371 เพราะคดีขาดอายุความ

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

ดนัย บุษปวนิช - ยอ


ยิ่งพรัณณฐ คําภูเวียง - พิมพ
-๓๘-

คําชี้ขาดความเห็นแยงความผิดฐานโกงเจาหนี้
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 398/2555)
ป.อ. โกงเจาหนี้ (มาตรา 350)
การที่ผูต องหาไดถอนเงินจํานวน 3 ลา นบาท จากบัญชี ธนาคารดังกล าวภายหลังจาก
ผูตองหาไดทราบวาผูเสียหายไดยื่นฟองผูตองหาในคดีแพง ขอแบงทรัพยสินกรรมสิทธิ์รวมในทรัพยสิน
ที่ทํามาหาไดในระหวางเปนสามีภรรยากัน ยอมแสดงวาผูตองหารูอยูแลววาผูเสียหายไดใชสิทธิทางศาลแลว
การกระทําของผูตองหาจึงเปนการยายไปเสีย ซอนเรน โดยเจตนาเพื่อมิใหผูเสียหายซึ่งเปนเจาหนี้ของตน
ไดรับชําระหนี้ทั้งหมดหรือแตเพียงบางสวน แมคดีแพงดังกลาวจะยังมีขอโตเถียงกันอยู และคดีอยูระหวางพิจารณา
ของศาลชั้นตนก็ตาม ก็ถือวาผูเสียหายเปนเจาหนี้มีอํานาจที่จะฟองผูตองหาแลว เขาองคประกอบความผิด
ฐานโกงเจาหนี้

คดีนี้ อธิบดีอัยการ สํานักงานคดีศาลแขวง มีคําสั่งไมฟองผูตองหาฐานยักยอกหรือโกงเจาหนี้


ผูชวยผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ ปฏิบัติราชการแทนผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ มีความเห็นแยง
คําสั่งไมฟองผูตองหา
อัยการสูงสุดพิจารณาแลว เห็นวา คดีมีพยานหลักฐานฟงไดวา กอนเกิดเหตุผูเสียหายไดอยูกิน
ฉั น สามี ภ รรยากั บ ผู ต อ งหา โดยไม ไ ด จ ดทะเบี ย นสมรสและมี บุ ต รด ว ยกั น 3 คน ระหว า งอยู กิ น ด ว ยกั น
ผูเสียหายกับผูตองหาและบิดามารดาของผูเสียหายไดรวมกันเปดบริษัทประกอบกิจการคาขายเครื่องยนต
และอะไหลรถยนตเกาโดยมีผูเสียหายและผูตองหาเปนผูถือหุนและเปนกรรมการบริษัท นอกจากนี้ผูตองหา
ยังมีร ายได จากการปล อยเงิ นกู และเป น นายหน าซื้อขายที่ ดิน ด วย ดังนี้ ย อมถื อวาผู ตองหามี รายได ทั้งจาก
ผลกํ า ไรในการประกอบกิ จ การของบริ ษั ท และจากกิ จ การส ว นตั ว ของผู ต อ งหาเอง การที่ ผู ต อ งหาเป น
เจ าของบัญชี เงิ น ฝากประจําของธนาคาร ก. จํ ากัด (มหาชน) จํ านวน 3,000,000 บาท แต เ พีย งผูเ ดี ย ว
ระหวางอยูกินกับผูเสียหายโดยไมปรากฏหลักฐานวาเงินฝากดังกลาวไดมาจากผลกําไรในการประกอบกิจการ
ของบริ ษัทหรื อกิ จ การส ว นตั ว ของผู ต องหา จึ งยั งไม อาจรั บ ฟ งไดว าเงิ น ฝากดั งกล าวเป น กรรมสิ ทธิ์ ร ว มกั น
ของผู เ สีย หายและผู ต อ งหา ฉะนั้ น การที่ ผู ต อ งหาถอนเงิน ฝากดัง กลา วไปใช จ า ย จึ ง ไม เ ป น ความผิ ด
ฐานยั ก ยอก อย า งไรก็ ต าม การที่ ผู ต อ งหาได ถ อนเงิ น จํ า นวน 3 ล า นบาท จากบั ญ ชี ธ นาคารดั ง กล า ว
ภายหลั ง จากผู ต อ งหาได ทราบว า ผู เ สี ย หายได ยื่ น ฟ องผู ต อ งหาในคดี แ พ ง ขอแบ งทรั พย สิ น กรรมสิ ทธิ์ ร วม
ในทรัพยสินที่ทํามาหาไดในระหวางเปนสามีภรรยากัน ยอมแสดงวาผูตองหารูอยูแลววาผูเสียหายไดใชสิทธิ
ทางศาลแลว การกระทําของผูต องหาจึงเปน การยายไปเสี ย ซ อนเรน โดยเจตนาเพื่ อมิใหผูเ สียหายซึ่ งเป น
เจาหนี้ ของตนไดรั บชําระหนี้ทั้งหมดหรือแตเ พียงบางสว น แม คดีแพงดังกล าวจะยังมีขอโตเถี ยงกัน อยูและ
คดี อยู ร ะหว างพิ จ ารณาของศาลชั้ น ต น ก็ ต าม ก็ ถื อว าผู เ สี ย หายเป น เจ าหนี้ มีอํานาจที่ จ ะฟ องผู ต อ งหาแล ว
เขาองคประกอบความผิดฐานโกงเจาหนี้
ชี้ขาดใหฟองผูตองหา ฐานโกงเจาหนี้ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 350 และชี้ขาด
ไมฟองผูตองหาฐานยักยอกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ
เฉลิมชัย ภูเงิน -ยอ
ชานน หมื่นธง -พิมพ
-๓๙-

คําชี้ขาดความเห็นแยง ฐานกระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 446/2555)
ป.อ. กระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย (มาตรา 291)
แมผูตองหาจะจอดรถยนตบรรทุกพวงบริเวณขอบทางดานซายมือของถนน แตขณะเกิดเหตุ
เปนเวลากลางคืนฝนกําลังตกและตรงบริเวณทายรถยนตบรรทุกพวงดังกลาวไฟฟาขางถนนดับไป 1 ดวง
ทัศนะวิสัยในการมองเห็นไมดี ดังนั้น การที่ผูตองหาจอดรถยนตพวงในภาวะเชนนั้นโดยไมเปดไฟทายรถ
หรือใชแสงสวางใหเพียงพอที่ผูขับขี่จะมองเห็นรถที่จอดไวโดยชัดแจงในระยะไมนอยกวาหนึ่งรอยหาสิบเมตร
นอกจากจะเปนความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 61, 151 แลว ยังเปนการกระทํา
โดยประมาทปราศจากความระมัดระวังดัวย และการกระทําโดยประมาทดังกลาวเปนเหตุใหผูตายที่ขับขี่
รถจักรยานยนต มองไมเ ห็นรถยนตบรรทุกพวงที่ ผูตองหาจอดไว โดยชัด แจง จึ งไดขับขี่ รถจักรยานยนต
ชนทายรถยนตบรรทุกพวงคันดังกลาว และถึงแกความตายในเวลาตอมา ซึ่งเปนผลโดยตรงจากความประมาท
ปราศจากความระมัดระวังของผูตองหา คดีมีพยานหลักฐานพอฟอง
________________________________________
คดี กล าวหาว า ผู ต องหากระทํ าความผิ ดฐานกระทํ าโดยประมาทเป นเหตุ ให ผู อื่ นถึ งแก ความตาย
และจอดรถในทางเดินรถหรือไหลทางไมเปดไฟหรือใชแสงสวางใหเพียงพอ
พนักงานอัยการจังหวัดอุบลราชธานี มีคําสั่งไมฟองผูตองหาตามขอกลาวหา
ผูวาราชการจังหวัดอุบลราชธานี มีความเห็นแยงคําสั่งไมฟองผูตองหา
อั ยการสู งสุ ดพิ จารณาแล ว เห็ นว า แม ผู ต องหาจะจอดรถยนต บรรทุ กพ วงบริ เวณขอบทาง
ดานซายมือของถนน แตขณะเกิดเหตุเปนเวลากลางคืนฝนกําลังตกและตรงบริเวณทายรถยนตบรรทุกพวงดังกลาว
ไฟฟาขางถนนดับไป 1 ดวง ทัศนะวิสัยในการมองเห็นไมดี ดังนั้น การที่ผูตองหาจอดรถยนตพวงในภาวะเชนนั้น
โดยไม เ ป ด ไฟท า ยรถหรื อ ใช แ สงสว า งให เ พี ย งพอที่ ผู ขั บ ขี่ จ ะมองเห็ น รถที่ จ อดไว โ ดยชั ด แจ ง ในระยะ
ไม นอยกว าหนึ่งร อยหาสิบ เมตร นอกจากจะเป นความผิด ตามพระราชบั ญญั ติจ ราจรทางบก พ.ศ. 2522
มาตรา 61, 151 แล ว ยั ง เป น การกระทํ าโดยประมาทปราศจากความระมั ด ระวั งดั ว ย และการกระทํ า
โดยประมาทดังกลาวเปนเหตุใหผูตายที่ขับขี่รถจักรยานยนตมองไมเห็นรถยนตบรรทุกพวงที่ผูตองหาจอดไว
โดยชัดแจง จึงไดขับขี่รถจักรยานยนตชนทายรถยนตบรรทุกพวงคันดังกลาว และถึงแกความตายในเวลาตอมา
ซึ่งเปนผลโดยตรงจากความประมาทปราศจากความระมัดระวังของผูตองหา คดีมีพยานหลักฐานพอฟอง
ชี้ ข าดให ฟ อ งผู ต อ งหาฐานกระทํ า ความผิ ด โดยประมาทเป น เหตุ ใ ห ผู อื่ น ถึ ง แก ค วามตาย
และจอดรถในทางเดินรถหรือไหลทางไมเปดไฟหรือใชแสงสวางใหเพียงพอที่ผูขับขี่จะมองเห็นรถที่จอดไวโดยชัดแจง
ในระยะไมนอยกวาหนึ่งรอยหาสิบเมตร และไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดโดยกฎกระทรวง ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 291 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 61, 151 กฎกระทรวง
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2522 ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 ขอ 14

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ
ดนัย บุษปวนิช - ยอ
ยิ่งพรัณณฐ คําภูเวียง - พิมพ
-๔๐-

คําชี้ขาดความเห็นแยงความผิดฐานรวมกันพยายามฆาผูอื่น มีอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนไวในครอบครอง
โดยไมไดรับอนุญาต พาอาวุธปนไปในเมือง หมูบาน หรือทางสาธารณะโดยไมไดรับอนุญาต หรือไมมีเหตุ
จําเปนเรงดวนตามสมควรแกพฤติการณ
(ชี้ขาดความเห็นแยงที่ 87/2556)
ป.อ. พยายาม ฆาผูอื่น (มาตรา 80, 288)
ก อนเกิ ด เหตุ ผูต อ งหามี เ รื่ องพิ พาทกั บผู เ สี ยหาย เกี่ ยวกั บที่ ดิ น ที่ ผูเ สี ยหายครอบครอง
ทํ า ประโยชน อ ยู โดยผู ต องหาได ข ม ขู ใ ห ผู เ สี ย หายออกไปจากที่ ดิ น ดั งกล า วหลายครั้ ง และเคยเอาป น
มาทุบรถยนตของผูเสียหายจนไดรับความเสียหาย ตามวันเวลาเกิดเหตุ การที่ผูตองหากับพวกรวมกัน
ใช อ าวุ ธ ป น พกสั้ น ขนาด .45 (11 มม.) ซึ่ ง เป น อาวุ ธ ที่ ร า ยแรงมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการทํ า ลายสู ง
ยิงใสผูเสียหาย 1 นัด ถูกที่บริเวณนองดานหลังทั้งสองขาง แมผูตองหาจะยิงใสผูเสียหายเพียงนัดเดียว
แตผูตองหายอมเล็งเห็นผลหรือคาดหมายไดวากระสุนปนที่ผูตองหายิงอาจถูกผูเสียหายถึงแกความตายได
หากถู ก อวั ย วะสํ า คั ญ การกระทํ า ของผู ต อ งหากั บ พวกจึ ง เป น การกระทํ า โดยมี เ จตนาฆ า ผู เ สี ย หาย
มิใชเพียงเจตนาขูใหตกใจกลัวหรือเพียงเจตนาทําราย คดีมีพยานหลักฐานพอฟอง
อัยการสูงสุดชี้ขาดใหฟองผูตองหาฐานรวมกันพยายามฆาผูอื่น ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 288, 83, 80

อัยการจังหวัดสีคิ้วมีคําสั่งฟองผูตองหาฐานมีอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนไวในครอบครอง
โดยไม ไ ด รั บ ใบอนุ ญ าตจากนายทะเบี ย นท อ งที่ แ ละโดยไม มี เ หตุ ส มควรและพาอาวุ ธ ป น ติ ด ตั ว ไปในเมื อ ง
หมูบาน หรือทางสาธารณะโดยไมไดรับใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัว (และเห็นวาการกระทําของผูตองหา
เปนความผิดฐานทําใหผูอื่นเกิดความกลัวหรือตกใจโดยการขูเข็ญ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 392
อี ก ข อ หาหนึ่ ง ซึ่ ง เป น ความผิ ด ที่ ส ามารถเปรี ย บเที ย บได จึ ง ให พ นั ก งานสอบสวนพยายามเปรี ย บเที ย บ
ผู ต อ งหาในความผิ ด ฐานนี้ แล ว ส ง ผลการดํ า เนิ น การมาพิ จ ารณาต อ ไป) กั บ มี คํ า สั่ ง ไม ฟ อ งผู ต อ งหา
ฐานพยายามฆาผูอื่น
ผู ว า ราชการจั ง หวั ด มี ค วามเห็ น แย ง คํ า สั่ ง ไม ฟ อ งผู ต อ งหา โดยเห็ น ควรสั่ ง ฟ อ งผู ต อ งหา
ฐานทํารายรางกายผูอื่นโดยไตรตรองไวกอนจนเปนเหตุใหผูถูกกระทํารายรับอันตรายสาหัส
อั ย การสู ง สุ ด พิ จ ารณาแล ว เห็ น ว า คดี ไ ด ค วามว า ก อ นเกิ ด เหตุ ผู ต อ งหามี เ รื่ อ งพิ พ าทกั บ
ผูเสียหาย เกี่ยวกับที่ดินที่ผูเสียหายครอบครองทําประโยชนอยู โดยผูตองหาไดขมขูใหผูเสียหายออกไปจาก
ที่ ดิ น ดั ง กล า วหลายครั้ ง และเคยเอาป น มาทุ บ รถยนต ข องผู เ สี ย หายจนได รั บ ความเสี ย หาย ตามวั น เวลา
เกิ ด เหตุ การที่ ผู ต อ งหากั บ พวกร ว มกั น ใช อ าวุ ธ ป น พกสั้ น ขนาด .45 (11 มม.) ซึ่ ง เป น อาวุ ธ ที่ ร า ยแรง
มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการทํ าลายสู ง ยิ ง ใส ผู เ สี ย หาย 1 นั ด ถู ก ที่ บ ริ เ วณน องด า นหลั ง ทั้ ง สองข าง แม ผู ต องหา
จะยิ งใส ผู เ สี ย หายเพี ย งนั ด เดี ย ว แต ผู ต องหาย อ มเล็ งเห็ น ผลหรื อคาดหมายได ว ากระสุ น ป น ที่ ผู ต อ งหายิ ง
อาจถูกผูเสียหายถึงแกความตายไดหากถูกอวัยวะสําคัญ การกระทําของผูตองหากับพวกจึงเปนการกระทําโดย
มีเจตนาฆาผูเสียหายมิใชเพียงเจตนาขูใหตกใจกลัวหรือเพียงเจตนาทําราย คดีมีพยานหลักฐานพอฟอง
จึงมีคําสั่งดังนี้
1. ชี้ ข าดให ฟ อ งผู ต อ งหา ฐานร ว มกั น พยายามฆ า ผู อื่ น ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 288, 83, 80
/2. ยุต.ิ ..
-๔๑-

2. ยุ ติ ก ารดํ า เนิ น คดี กั บ ผู ต อ งหาฐานพาอาวุ ธ ไปในเมื อ ง หมู บ า น หรื อ ทางสาธารณะ


โดยไมมีเหตุสมควร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 371 เพราะคดีขาดอายุความ
3. ยุ ติ ส ง เรื่ อ งให พ นั ก งานสอบสวนเปรี ย บเที ย บผู ต อ งหาในความผิ ด ฐานทํ า ให ผู อื่ น
เกิดความกลัวหรือตกใจโดยการขูเข็ญ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 392 (เนื่องจากมีคําสั่งชี้ขาดใหฟอง
ฐานรวมกันพยายามฆาผูอื่นแลว)
ทรัพยของกลางพนักงานอัยการมีคําสั่งไวในสํานวนโดยชอบแลว

สํานักงานอัยการพิเศษฝายสารสนเทศ
สํานักงานวิชาการ

นคร ผกามาศ -ยอ


ชานน หมื่นธง -พิมพ

You might also like