You are on page 1of 14

แนวข้ อสอบ 0-net และ 9 วิชาสามัญ สาระที่ 2 หน้ าที่พลเมืองโรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย

นครราชสีมา อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสี มา

รายวิชาสังคมศึกษา 5 รหัสวิชา ส 33105 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6

หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 หน้าที่ของการเป็ นพลเมืองที่ดี มีค่านิยมที่ดีงาม การธารงรักษารักษาประเพณี และ


วัฒนธรรมไทย การดารงชีพอยู่ในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ส 2.1 ม. 4-6/1 วิเคราะห์และปฏิบัติตาม จ. ในกรณี ฉุกเฉิ นที่มีความจาเป็ นรี บด่วนเพื่อ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ป้องกันภัยพิบตั ิสาธารณะ รัฐบาลมีอานาจในการ
ประเทศชาติ ตราพระราชกฤษฎีกาเพื่อใช้บงั คับ
1. ข้อความใดต่อไปนี้เป็ นข้อความที่ถูกต้องที่สุด 2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เนื้อหาในส่ วนของกฎหมาย
(0-net 58) วิธีสบัญญัติ (0-net 58 )
ก. ในกรณี ฉุกเฉินที่มีความจาเป็ นรี บด่วนเพื่อ ก. คาพิพากษาที่อ่านแล้วห้ามมิให้แก้ไขเว้นแต่
ประโยชน์ในอันที่จะรักษาความมัน่ คงแห่ง เป็ นการแก้ไขในสิ่ งที่ผิดเล็กน้อย
ราชอาณาจักร ความปลอดภัยสาธารณะ ข. พนักงานสอบสวนมีหน้าที่ที่ตอ้ งแจ้งสิ ทธิ ใน
พระมหากษัตริ ยท์ รงไว้ซ่ ึงพระราชอานาจในการ การทีทนายแก่ผตู ้ อ้ งหา
ในทางบริ หารตราพระราชกฤษฎีกาเพื่อใช้บงั คับ ค. เมื่อมีคาพิพากษาแล้ววคู่ความมีสิทธในการ
ข. นายกรัฐมนตรี มีอานาจสั่งตามมาตรา 44 แห่ง อุทธรณ์ฎีกาได้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับ ง. คาพิพากษาที่ถึงที่สุดแล้วสามารถถวายฎีกา
ชัว่ คราว) 2557 ไม่ว่าจะมีผลบังคับในทางนิติ เพื่อให้มีการพิจารณาคดีใหม่ได้
บัญญัติ ในทางบริ หารหรื อในทางตุลาการ จ. พยานบุคคลมีหน้าที่ตอ้ งมาศาลตามหมายเรี ยก
ค. เมื่อมีความจาเป็ นต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยภาษี 3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่นิติบุคคลตามประมวล
อากรหรื อเงินตราที่ตอ้ งพิจารณาโดยด่วนและลับ กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ( 0-net 58 )
พระมหากษัตริ ยท์ รงไว้ซ่ ึงพระราชอานาจในการ ก. บริ ษทั ขนส่ งจากัด (บขส)
ตราพระราชกาหนดเพื่อใช้บงั คับ ข. ห้างหุ้นส่ วนจากัด
ง. ในกรณี ฉุกเฉินที่มีความจาเป็ นรี บด่วนเพื่อ ค. สมาคม
ประโยชน์ในอันที่จะรักษาความมัน่ คงทาง ง. มูลนิธิ
เศรษฐกิจของประเทศ รัฐบาลมีอานาจในการตรา จ. บริ ษทั กสท. โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)
พระราชกฤษฎีกาเพื่อใช้บงั คับ
2

ข. บุคคลผูอ้ ยู่ในโงเรื อนต้องรับผิดชอบในความ


4. ข้อใดเป็ นข้อความที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ เสี ยหายอันเกิดเพราะของตกหล่นจากโรงเรื อน
กฎหมายอิสลามในประเทศไทย (0-net 58) นั้น หรื อเพราะทิ้งขว้างของไปตกในที่อนั มิควร
ก. ใช้กฎหมายอิสลามเฉพาะเรื่ องครอบครัวและ ค. ตัวการไม่ตอ้ งร่ วมกันรับผิดกับตัวแทนในผล
มรดกสาหรับชาวไทยมุสลิมที่เป็ นคู่ความในสี่ แห่งละเมิด ซึ่งตัวแทนได้กระทาไปในทางการที่
จังหวัดชายแดนใต้ มอบหมาย
ข. ใช้กฎหมายอิสลามสาหรับชาวไทยมุสลิมใน ง. บุคคลใดแม้ไร้ความสามารถเพราะเหตุเป็ น
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผูเ้ ยาว์หรื อวิกลจริ ตก็ยงั ต้องรับผิดในผลที่ตนทา
ค. ใช้กฎหมายอิสลามสาหรับชาวไทยมุสลิมในสี่ ละเมิด
จังหวัดชายแดนใต้ จ. นายจ้างต้องร่ วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่ง
ง. ใช้กฎหมายอิสลามสาหรับชาวไทยมุสลิม ละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระทาไปในทางการที่จา้ งนั้น
จ. ไม่มีการใช้กฎหมายอิสลามในประเทศไทย 7. ข้อใดเป็ นข้อความที่ไม่ถูกต้อง (0-net 58 )
5. ข้อใดต่อไปนี้ผกู ้ ระทาไม่ตอ้ งรับผิดชอบตาม ก. การกูเ้ งินเกินกว่า 2,000 บาท ต้องมีหลักฐาน
กฎหมายไทย (0-net 58 ) การกูเ้ ป็ นหนังสื อจึงจะฟ้องร้องได้
ก. นายเดือน ลักทรัพย์ผโู้ ดยสารบนเครื่ องบิน ข. การจานาต้องมีการส่ งมอบทรัพย์ที่จานาแก่
สิ งคโปร์ขณะจอดอยู่ที่สนามบินสุวรรณภูมิ ผูร้ ับจานา
ข. นายเดือน ลักทรัพย์ผโู้ ดยสารขณะเครื่ องบิน ค. การจานองที่ดินต้องทาเป็ นหนังสื อและจด
การบินไทยขณะบินเหนือน่านฟ้าเวียตนาม ทะเบียน
ค. นายเดือน ทาร้ายร่ างกายผูโ้ ดยสารในเรื อเดิน ง. การซื้อขายเพชรมูลค่า 100,000 บาท ต้องทา
สมุทรขอไทยขณะอยู่ในน่ านน้ าสากล สัญญาเป็ นหนังสื อ
ง. นายเดือน ลักทรัพย์ผโู้ ดยสารบนเครื่ องบินการ จ. สัญญาจะซื้อจะขายบ้านต้องทาเป็ นหนังสื อ
บินไทยขณะจอดที่สนามบินฮ่องกง 8. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นสังหาริ มทรัพย์ (0-net 58)
จ. นายเดือน หมิ่นประมาทชาวไทยด้วยกัน ก. หิ นอ่อนหนัก 5 ตัน ที่ส่งมาจากอิตาลีเพื่อ
ในขณะท่องเที่ยวที่ประเทศญี่ปนุ่ แกะสลักเป็ นเจ้าแม่กวนอิม
6. ข้อใดเป็ นข้อความที่ไม่ถูกต้อง (0-net 58 ) ข. พระพุทธรู ปแกะสลักบนหน้าผาเขาชีจรรย์
ก. เจ้าของสัตว์หรื อบุคคลผูร้ ับเลี้ยงรับรักษาไว้ ค. เขามอที่วดั ประยุรวงศาวาสวรวิหาร
แทนเจ้าของจาต้องใช้ค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ ง. หอนาฬิกาในสวนสาธารณะลุมพินี
ฝ่ ายที่ตอ้ งเสี ยหายเพื่อความเสียหายอย่างใดอัน จ. เสาไฟฟ้าแรงสู ง
เกิดแต่สัตว์น้ นั
3

9. นายเป็ ด มีบุตรสองคน คือ นายห่าน และ ข. นายเอ เป็ นลูกที่เกิดจากนางบีและนางซี ซึ่งอยู่


นางสาวหงส์ที่เกิดจากนางไก่ ภรรยาที่จดทะเบียน กินกันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส แล้วต่อมานาย
สมรส ข้อเท็จจริ งปรากฏว่าเมื่อนายเป็ ดถึงแก่ แดงและนางขาวอย่ากัน
กรรม บิดามารดาของนายเป็ ด และบิดามารดา ค. นายแก้วเป็ นลูกที่เกิดจากนางถ้วยและนายโถ
ของนางไก่ ยังมีชีวิตอยู่ นอกจากนั้นนายเป็ ดยังมี ซึ่งอยู่กินกันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส แต่ต่อมา
บุตรที่เกิดจากนางสาวซารา แต่ไม่ได้จดทะเบียน นางถ้วยและนายโถได้จดทะเบียนสมรสกัน
สมรสกันชื่อ เด็กชายดัก๊ โดยนายเป็ ด เป็ นผูไ้ ป ง. นายองุ่น เป็ นลูกที่เกิดจากนางส้มและนายฝรัง่
แจ้งการเกิด ให้ใช้นามสกุล อุปการะเลี้ยงดู ส่ งเสี ย ซึ่งอยู่กินกันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส แต่นาย
ค่าเล่าเรี ยน แต่ไม่ได้อยู่ร่วมบ้านเดียวกัน ข้อใด ฝรั่งได้มีการรับรองโดยพฤติการณ์กบั บุคคล
เป็ นข้อที่ถูกต้องที่สุด ทัว่ ไปว่าเป็ นบุตรของตนมาโดยตลอดเช่นให้นาย
ก. นายห่าน นางสาวหงส์ นางไก่ บิดามารดาของ องุ่นใช้นามสกุลของนายฝรั่ง นายฝรั่งส่ งเสี ย
นายเป็ ด และบิดามารดาของนางไก่เท่านั้นเป็ นผูม้ ี อุปการะเลี้ยงดู เป็ นต้น
สิ ทธิรับมรดก จ. ศาลมีคาพิพากษาว่านายกิ่งลูกนางใบเป็ นบุตร
ข. นายห่าน นางสางหงส์ นางไก่ บิดามารดาของ ของนายก้าน โดยที่นายก้านกับนางใบไม่เคยจด
นายเป็ ด เด็กชายดัก๊ และนางสาวซาราเท่านั้นเป็ น ทะเบียนสมรสกัน
ผูม้ ีสิทธิรับมรดก 11. ข้อใดกล่าวถึงเรื่ องรับบุตรบุญธรรมไม่ถูกต้อง
ค. นายห่าน นางสาวหงส์ นางไก่ บิดามารดาของ ( 0-net 59 )
นายเป็ ดและเด็กชายดัก๊ เท่านั้นเป็ นผูม้ ีสิทธิรับ ก. นายไก่อายุ 20 ปี มีสิทธิรับบุตรบุญธรรมได้
มรดก เพราะบรรลุนิติภาวะแล้ว
ง. นายห่าน นางสาวหงส์ นางไก่ และบิดามารดา ข. การรับบุตรบุญธรรมที่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่
ของนายเป็ ด เท่านั้นเป็ นผูม้ ีสิทธิรับมรดก อาจกระทาเพียงการรับรองโดยพฤติการณ์
จ. นายห่าน นางสาวหงส์ และนางไก่เท่านั้นเป็ นผู ้ หากแต่ตอ้ งดาเนินการจดทะเบียน
มีสิทธิรับมรดก ค. นายสิ งห์จะรับนายเสื อ ซึ่งมีอายุ 16 ปี เป็ นบุตร
10. บุคคลใดไม่ใช่บตุ รชอบด้วยกฎหมายของฝ่ าย บุญธรรม แม้บิดามารดาของนายเสื อจะยินยอม
ชาย ( 0-net 59 ) และนายเสื อยังไม่บรรลุนิติภาวะก็ตาม แต่ก็ตอ้ ง
ก. นายดา เป็ นลูกที่เกิดจากนายแดงและนางขาว ได้รับความยินยอมจากนายเสื อด้วย
ซึ่งจดทะเบียนสมรสกันแล้วต่อมานายแดงและ ง. นายกาแฟ อายุ 80 ปี สามารถรับนางชาอายุ 64
นางขาวอย่ากัน ปี เป็ นบุตรบุญธรรมได้ เพราะนายกาแฟอายุแก่
กว่านางชา 15 ปี แล้ว
4

จ. บุตรบุญธรรมมีฐานะอย่างเดียวกับบุตรชอบ ข. ผูเ้ ยาว์จะทาการหมั้นได้ต่อเมื่อได้รับความ


ด้วยกฎหมายของผูร้ ับบุตรบุญธรรม ยินยอมจากบิดามารดาหรื อผูป้ กครอง ตาม
12. การกระทาใด เป็ นนิติกรรมฝ่ ายเดียว กฎหมาย มิฉะนั้น การหมั้นจะตกเป็ นโมฆียะ
(0-net 59) ค. สิ ทธิของหมั้นเป็ นของหญิงไม่ใช่สิทธิร่วมกัน
ก. นายดาทาพินยั กรรมยกที่ดินให้แก่นายแดง ระหว่างชายหญิงคู่หมั้น
ข. นายขาวยกที่ดินให้แก่นายเขียวโดยเสน่ห์หา ง. ของหมั้นต้องเป็ นทรัพย์สินที่มีค่าตามสมควร
ค. นายส้มตกลงขายที่ดินแก่นายแสด ได้แก่เครื่ องประดับ เงิน ทองคา อสังหาริ มทรัพย์
ง. นายม่วงทาสัญญากูย้ ืมเงินนายมืด จ. เมื่อการหมั้นมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย หาก
จ. นายน้ าตาลจานาแหวนไว้กบั นายน้ าตา คู่หมั้นฝ่ ายใดผิดความตกลง คู่หมั้นอีกฝ่ ายหนึ่งจะ
13. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับจานาและจานอง ฟ้องให้ศาลสั่งให้มีการจดทะเบียนสมรสไม่ได้
(0-net 59) 15. ข้อใดไม่ใช่กฎหมายมหาชน (0-net 59)
ก. จานองต้องเป็ นอสังหาริ มทรัพย์เท่านั้น ก. กฎหมายภาษีอากร
ข. การบังคับจานา ผูร้ ับจานาทุกรายมีสิทธิเอา ข. กฎหมายระหว่างประเทศ
ทรัพย์จานานั้นหลุดเป็ นสิ ทธิแก่ตนได้ ค. กฎหมายประกันสังคม
ค. การบังคับจานอง ผูร้ ับจานองต้องฟ้องร้อง ง. กฎหมายส่ งเสริ มการลงทุน
ขอให้ศาลสั่งบังคับหรื อจะดาเนินการให้มีการขาย จ. กฎหมายมรดก
ทอดตลาดทรัพย์สินที่จานองโดยไม่ตอ้ งฟ้องเป็ น 16. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่ องบุคคล
คดีต่อศาลได้ในบางกรณี (0-net 59)
ง. ผูจ้ านองต้องส่งมอบทรัพย์จานองให้อยู่ในการ ก. นิติบุคคลมีสิทธิและหน้าที่เหมือนกับบุคคล
ครอบครองของผูร้ ับจานองเพื่อเป็ นหลักประกัน ธรรมดาทุกประการ
การชาระหนี้ ข. สภาพบุคคลของบุคคลธรรมดาสิ้ นสุ ดลงเมื่อ
จ. การจานองจะจดทะเบียนหรื อไม่ก็ได้แต่อย่าง ตาย
น้อยต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อผู ้ ค. บุคคลที่ไร้ความสามารถต้องเกิดจากการที่ศาล
จานองกับผูร้ ับจานองเป็ นสาคัญ มีคาสัง่ ให้เป็ นคนไร้ความสามารถเสมอ
14. ข้อใดกล่าวถึงเรื่ องหมั้นไม่ถูกต้อง (0-net 59) ง. นิติบุคคลถูกกาหนดกรอบอานาจหน้าที่ให้อยู่
ก. ชายและหญิงจะหมั้นกันได้เมื่อมีอายุ 17 ปี ในขอบวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลนั้นๆ
บริ บูรณ์ข้ นึ ไป มิฉะนั้นการหมั้นจะตกเป็ นโมฆะ จ. บุคคลซึ่งเป็ นผูเ้ ยาว์อาจบรรลุนิติภาวะได้แม้
อายุยงั ไม่ถึง 20 ปี
5

17. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกฎหมายมรดก ก. สัญญาเช่าบ้าน อายุสัญญา 1 ปี อัตราค่าเช่า


(0-net 59) เดือนละ 5,000 บาท
ก. นายแสงมีทรัพย์สิน 10,000 บาท มีบตุ ร 1 คน ข. สัญญากูย้ ืมเงิน 3,000 บาท
คือนางสาย นายแสงมีหนี้เงินกูต้ ่อนางสวยอยู่ ค. สัญญาซื้อขายคอมพิวเตอร์ราคา 25,000 บาท
12,000 บาท เมื่อนายแสงตาย ทรัพย์สิน 10,000 ง. สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินราคา 500,000 บาท
บาทและหนี้เงินกู้ 12,000 บาท จะตกเป็ นมรดก จ. สัญญาเช่าเครื่ องจักร อายุสัญญา 2 ปี อัตราค่า
แก่นางสาย นางสายมีหน้าที่ตอ้ งใช้เงินกูแ้ ก่นาง เช่าเดือนละ 100,000 บาท
สวย แต่ไม่เกิน 10,000 บาทที่นางสายรับมา 19. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเงื่อนไขการ
ข. นางพลอยเป็ นผูร้ ับบุตรบุญธรรม มีนายเพชร สมรสตามกฎหมาย ( 0-net 60 )
เป็ นบุตรบุญธรรม เมื่อนายเพชรตาย นางพลอยมี ก. บุคคลจะทาการสมรสในขณะที่ตนมีคู่สมรส
สิ ทธิรับมรดกทรัพย์สินที่เป็ นของนายเพชรใน อยู่แล้วไม่ได้
ฐานะทายาทโดยธรรม ข. คนไร้ความสามารถจะทาการสมรสไม่ได้
ค. นางหมอนเป็ นบุตรบุญธรรมของนายมุง้ เมื่อ ค. ผูร้ ับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะสมรส
นายมุง้ ตาย นางหมอนมีสิทธิรับมรดกทรัพย์สิน กันไม่ได้
เป็ นของนายมุง้ ในฐานะทายาทโดยธรรม ง. บุคคลที่แม้เพียงเป็ นพี่นอ้ งร่ วมแต่บิดา ก็จะทา
ง. นายกล้าเป็ นหลานของนายกุ๊กโดยมีนายกุ๊กเป็ น การสมรสกันไม่ได้
ตา นายกล้าไม่มีคู่สมรสและบุตร นายกล้าทา จ. คนล้มละลายจะทาการสมรสไม่ได้
พินยั กรรมให้นายกุ๊กเป็ นผูร้ ับพินยั กรรมใน 20. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกฎหมายอาญา
ทรัพย์สินของนายกล้า พินยั กรรมนี้มีผลสมบุรณ์ (0-net 60)
ตามกฎหมายได้ เพราะผูร้ ับพินยั กรรมจะเป็ นญาติ ก. กฎหมายอาญาห้ามไม่ให้มีการบัญญัติความคิด
หรื อไม่ก็ได้ หรื อจะเป็ นทายาทโดยธรรมอยู่แล้ว ย้อนหลัง
หรื อไม่ก็ได้ ข. ความผิดทางอาญา โดยหลักบุคคลจะรับผิด
จ. นายเดชเป็ นบุตรบุญธรรมของนางดาวแล้ว ก็ ต่อเมื่อกระทาโดยเจตนา
ยังมีสิทธิได้รับมรดกของนางเดือนและนายเดี่ยว ค. ความผิดต่อส่ วนตัว คือความผิดต่อเนื้อตัว
ซึ่งเป็ นมารดาและบิดาของตนอยู่ ร่ างกายหรื อต่อความเป็ นอยู่ส่วนตัวของผูเ้ สี ยหาย
18. สัญญาที่ทาด้วยวาจาโดยลาพังต่อไปนี้ สัญญา ง. การให้ใช้ค่าสิ นไหมทดแทนไม่ใช่โทษทาง
ใดที่สามารถฟ้องร้องบังคับคดีต่อศาลได้ อาญาแก่บุคคลจะกระทามิได้
(0-net59) จ. การเทียบเคียงกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง
ลงโทษทางอาญาแก่บุคคลจะกระทาไม่ได้
6

21. ตามกฎหมายไทย การสมรสกระทาได้ ก. การกูย้ ืมเงินเกินกว่า 50 บาท ต้องทาหลักฐาน


ระหว่างชายกับหญิงที่มีอายุครบ 17 ปี บริ บูรณ์ขอ้ เป็ นหนังสื อ มิฉะนั้นฟ้องร้องบังคับไม่ได้และ
ใดต่อไปนี้ชายหญิงทาการสมรสกันได้ โดยไม่ขดั เรี ยกดอกเบี้ยเกินกว่าร้อยละ 7.5 ต่อปี ไม่ได้
ต่อกฎหมายไทย ( 0-net 61 ) ข. การกูย้ ืมเงินเกินกว่า 50 บาท ต้องทาหลักฐาน
ก. ชายหรื อหญิงเป็ นคนวิกลจริ ต เป็ นหนังสื อ มิฉะนั้นฟ้องร้องบังคับไม่ได้และ
ข. ชายหรื อหญิงมีคู่สมรสอยู่แล้ว เรี ยกดอกเบี้ยเกินกว่าร้อยละ 15 ต่อปี ไม่ได้
ค. ชายหรื อหญิงเป็ นผูพ้ ิการทางตา ค. การกูย้ ืมเงินเกินกว่า 2000 บาท ต้องทา
ง. ชายหรื อหญิงเป็ นญาติสืบสายโลหิตโดยตรง หลักฐานเป็ นหนังสื อ มิฉะนั้นฟ้องร้องบังคับ
ขึ้นไปหรื อลงมา ไม่ได้และเรี ยกดอกเบี้ยเกินกว่าร้อยละ 7.5 ต่อปี
จ. ชายหรื อหญิงมีอายุต่ากว่า 17 ปี แต่มีเหตุ ไม่ได้
สมควร และบิดามารดาอนุญาตให้สมรสกันได้ ง. การกูย้ ืมเงินเกินกว่า 2,000 บาท ต้องทา
22. ข้อใดกล่าวถูกต้องตามกฎหมายการทะเบียน หลักฐานเป็ นหนังสื อ มิฉะนั้นฟ้องร้องบังคับ
ราษฎร์ (0-net 61) ไม่ได้และเรี ยกดอกเบี้ยเกินกว่าร้อยละ 15 ต่อปี
ก. กรณี มีคนเกิดในบ้านเจ้าบ้านต้องแจ้งแก่นาย ไม่ได้
ทะเบียนภายใน 20 วัน นับแต่วนั เกิด จ. การกูย้ ืมเงินเกินกว่า 3,000 บาท ต้องทา
ข. กรณี มีคนเกิดนอกบ้านเจ้าบ้านต้องแจ้งแก่นาย หลักฐานเป็ นหนังสื อ มิฉะนั้นฟ้องร้องบังคับ
ทะเบียนภายใน 15 วัน นับแต่วนั เกิดทุกกรณี ไม่ได้และเรี ยกดอกเบี้ยเกินกว่า 7.5 ต่อปี ไม่ได้
ค. กรณี คนเกิดในบ้านและมีเหตุจาเป็ นเจ้าบ้าน 24. นายหนึ่งโฆษณาเชิญชวนแก่ประชาชน
ต้องแจ้งแก่นายทะเบียนภายใน 30 วัน นับแต่วนั โดยทัว่ ไปว่าจะทาธุรกิจการค้าซึ่งมีผลประโยชน์
เกิด มหาศาลทั้งในและต่างประเทศให้นาเงินมาฝาก
ง. กรณี คนเกิดนอกบ้านและมีเหตุจาเป็ นเจ้าบ้าน เป็ นหุ้นส่ วน จะจ่ายปันผลให้ร้อยละ 40 ต่อเดือน
ต้องแจ้งแก่นายทะเบียนภายใน 30 วัน นับแต่วนั โดยที่นายหนึ่งรู ้อยู่แล้วว่าไม่สามารถดาเนินการ
เกิด เช่นนั้นได้ต่อมานายสองเห็นโฆษณาจึงตัดสิ นใจ
จ. กรณี คนเกิดไม่ว่าจะในบ้านหรื อนอกบ้านเจ้า นาเงินฝากแก่นายหนึ่งเป็ นจานวน 500,000 บาท
บ้านต้องแจ้งแก่นายทะเบียนภายใน 45 วัน นับแต่ การกระทาของนายหนึ่ งมีความผิดอาญาฐานใด
วันเกิด หรื อไม่ (0-net 61)
23. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการกูย้ ืมเงินและ ก. ผิดฐานฉ้อโกง ข. ผิดฐานลักทรัพย์
ดอกเบี้ยของบุคคลธรรมดาตามกฎหมายไทย ค. ผิดฐานหลอกลวงผูบ้ ริ โภค
(0-net 61) ง. ไม่ผิดฐานลักทรัพย์เพราะเป็ นการทานิติกรรม
7

จ. ไม่ผดิ ฐานฉ้อโกง เพราะไม่ได้แสดงข้อความ 28. ข้อใดจัดเป็ นการขัดเกลาทางตรง(ปลูกปัญญา)


อันเป็ นเท็จแต่อย่างใดเนื่องจากเป็ นข้อเท็จจริ งใน ก. ปฏิภาณอ่านหนังสื อพิมพ์
อนาคตว่าจะแบ่งกาไร ข. อนุสรณ์อยากเป็ นฮีโรเหมือนในโทรทัศน์
ตัวชี้วัด 2.1 ม. 4-6/2 วิเคราะห์ความสาคัญของ ค. ฟ้าสอนลูกทาอาหาร
โครงสร้ างทางสังคมการขัดเกลาทางสังคม และ ง. ส้มเดินตัวตรงตามแบบพี่
การเปลี่ยนทางสังคม จ. ธิดารัตน์พยายามฝึ กสาเนียงให้เหมือนคน
25. เพราะเหตุใดจึงมีคากล่าวที่ว่า “มนุษย์เป็ น อังกฤษ
สัตว์สังคม” (0-net 58) 29. ในสังคมที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติและ
ก. มนุษย์สามารถสร้างกฎเกณฑ์เพื่อการอยู่ ศาสนา วิธีใดที่ช่วยให้สมาชิกของทุกกลุ่มอยู่
ร่ วมกันโดยใช้สัญลักษณ์ ร่ วมกันได้โดยสันติ
ข. มนุษย์สามารถปรับตัวได้ดีกบั สิ่ งแวดล้อม ก. ให้คนทุกกลุ่มใช้ภาษาร่ วมกัน
ค. มนุษย์สามารถอยู่รวมกันเป็ นหมู่เหล่า ข. กาหนดเขตแดนให้แต่ละกลุ่มอยู่อย่างเป็ น
ง. มนุษย์สามารถพัฒนาเทคโนโลยี สัดส่ วน
จ. มนุษย์สามารถสื่อสารระหว่างกัน ค. ให้การศึกษาขั้นพื้นฐานแก่ทุกกลุ่มทุกเชื้อชาติ
26. “แบบแผนที่สังคมกาหนดไว้เพื่อเป็ นแนวทาง ศาสนา
สาหรับให้สมาชิกในสังคมยึดถือปฏิบตั ิ” เป็ นคา ง. ส่ งเสริ มให้คนแต่ละกลุ่มยึดมัน่ ในเอกลักษณ์
จากัดความของข้อใด (ปลูกปัญญา) ของตนไว้
ก. บรรทัดฐานสังคม จ. สนับสนุนให้สมาชิกในสังคมปฏิบตั ิตาม
ข. โครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรมของคนกลุ่มใหญ่
ค. สมาชิกของสังคม ตัวชี้วัด ส 2.1 ม.4-6/4 ประเมินสถานการณ์ สิทธิ
ง. การจัดระเบียบสังคม มนุษยชนในประเทศไทยและเสนอแนวทางการ
จ. กลุ่มทางสังคม พัฒนา
27. การขับออกจากสังคมหรื อไม่ยอมคบค้า 29. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับปฏิญญาสากล
สมาคมด้วยเป็ นบทลงโทษผูท้ ี่ฝ่าฝื นบรรทัดฐาน ว่าด้วยสิ ทธิมนุษยชน (0-net 60)
ทางสังคมแบบใด (ปลูกปัญญา ) ก. เป็ นข้อตกลงพหุภาคีระดับสากลที่มีศกั ดิ์และ
ก. วิถีประชา สิ ทธิ์เทียบเท่ากฎหมายและมีผลบังคับใช้ผูกพัน
ข. จารี ต ค. กฎหมาย ข. เป็ นการประกาศเจตนารมณ์ที่ส่งผลให้เกิดการ
ง. ค่านิยม จ. การขัดเกลาทางสังคม ออกกฎหมายที่เกี่ยวข้องในประเทศภาคีที่ร่วมลง
นาม
8

ค. เป็ นเอกสารที่ได้รับการยอมรับจากสมัชชา ข. สานักงานเลขาธิการสหประชาชาติ


ใหญ่สหประชาชาติดว้ ยการลงประชามติโดย ค. คณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติ
ปราศจากเสี ยงคัดค้าน ง. คณะมนตรี สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
ง. เป็ นผลจากการปรึ กษาหารื อร่ วมกันของ จ. คณะมนตรี เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ประเทศภาคีส่งผลให้เกิดการส่งเสริ มสิทธิ 32 อุปสรรคสาคัญประการหนึ่งในการพัฒนาด้าน
มนุษยชนที่ครอบคลุมประเทศต่างๆทัว่ โลก สิ ทธิมนุษยชนคืออะไร
จ. เป็ นการให้คามัน่ สัญญาที่จะกาหนดมาตรฐาน ก. กฎหมายยังไม่มีความเข้มงวดพอ
ในการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานของการปกป้องสิ ทธิ ข. การขาดงบประมาณในการพัฒนาประเทศ
เสรี ภาพโดยเท่าเทียมกันและไม่มีการเลือกปฏิบตั ิ ค. คนในสังคมขาดความรู ้เรื่ องสิ ทธิ
30. ข้อใดไม่ใช่สิทธิของเด็กตามอนุสัญญาว่าด้วย มนุษยชน
สิ ทธิเด็กของสหประชาชาติ (0-net 58 ) ง. นโยบายรัฐไม่ให้ความสาคัญเรื่ องสิ ทธิ
ก. สิ ทธิที่จะได้รบั การปกป้องคุม้ ครอง มนุษยชน
ข. สิ ทธิที่จะได้รับการพัฒนา จ. การประชาสัมพันธ์เรื่ องสิ ทธิมนุษยชนไม่มาก
ค. สิ ทธิในการมีส่วนร่ วม พอ
ง. สิ ทธิที่จะมีชีวิตรอด ตัวชี้วัด ส 2.1 ม. 4-6/5 วิเคราะห์ ความจาเป็ นที่
จ. สิ ทธิที่จะสมรส จะต้ องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์
31. ความในข้อแรกของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ ทธิ วัฒนธรรมไทยและเลิกรับวัฒนธรรมสากล
มนุษยชนสนับสนุนให้มนุษย์ปฏิบตั ิต่อกันตาม 33. ข้อใดกล่าวถึงวัฒนธรรมไม่ถูกต้อง (0-net 60)
หลักการใด (7 วิชาสามัญ 54) ก. เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ก. หลักนิติธรรม ข. เป็ นสิ่ งที่ตกทอดทางสังคม
ข. หลักสันติภาพ ค. เป็ นแบบแผนในการดาเนินชีวิต
ค. หลักบูรณภาพ ง. เป็ นสิ่ งที่เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
ง. หลักจริ ยธรรม จ. เป็ นเครื่ องยึดโยงสมาชิกของสังคม
จ. หลักภราดรภาพ
32. ก่อนที่จะมีการปรับปรุ งกลไกด้านสิทธิ
มนุษยชนของสหประชาชาติใน พ.ศ.2549
องค์การใดมีอานาจในการจัดตั้งคณะกรรมาธิการ
สิ ทธิมนุษยชน (7 วิชาสามัญ 55)
ก. สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
9

34. ผลงานทางด้านวัฒนธรรมในข้อใดแสดงถึง ก. ในการใช้สิทธิแห่งตนก็ดีในการชาระหนี้ก็ดี


ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมไทยในการปรับตัวเข้า บุคคลทุกคนต้องกระทาโดยสุ จริ ต
หาความจากัดของทรัพยากรธรรมชาติ (0-net 60) ข. เมื่อไม่มีกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได้ให้
ก. การทาประปาภูเขาและระบบเหมืองฝาย วินิจฉัยคดีน้ นั ตามจารี ตประเพณี แห่งท้องถิ่น
ข. การบวชป่ าและประเพณี บุญบั้งไฟ ค. ผูใ้ ดจะฟ้องบุพการี ของตนเป็ นคดีแพ่งหรื อ
ค. การทาขวัญข้าวและประเพณีไหลเรื อไฟ คดีอาญามิได้แต่เมื่อผูน้ ้ นั หรื อญาติสนิทของผูน้ ้ นั
ง. การทาเกษตรผสมผสานและการลงแขกเกี่ยว ร้องขอ อัยการจะยกคดีข้ นึ ว่ากล่าวก็ได้
ข้าว ง. บุคคลผูซ้ ้ือทรัพย์สินมาโดยสุ จริ ตในการขาย
จ. การบูชาแม่โพสพและประเพณีจุดประทีปโคม ทอดตลาดหรื อในท้องตลาดหรื อจากพ่อค้าซึ่งขาย
ลอย ของชนิดนั้น ไม่จาเป็ นต้องคืนให้แก่เจ้าของ
35. ค่านิยมใดที่สังคมไทยยังให้ความสาคัญน้อย แท้จริ งเว้นแต่เจ้าของจะชดใช้ราคาที่ซ้ือมา
และจาเป็ นต้องเร่ งส่ งเสริ มให้เกิดขึ้นเพื่อเป็ น จ. ถ้าสัญญาต่างตอบแทนมีวตั ถุประสงค์เป็ นการ
รากฐานสาคัญในการสร้างสังคมที่ยงั่ ยืน (0-n 60) ก่อให้เกิดหรื อโอนทรัพย์สิทธิในทรัพย์เฉพาะสิ่ ง
ก. ความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ และทรัพย์น้ นั สู ญหายไปด้วยเหตุอย่างใดอย่าง
ข. ความสามัคคีมีน้ าใจ หนึ่ง อันจะโทษลูกหนี้มิได้ไซร้ท่านว่าการสู ญ
ค. ความขยันหมัน่ เพียร หรื อเสี ยหายนั้นตกเป็ นทุกข์แก่เจ้าหนี้
ง. ความอดทนอดกลั้น 38. ข้อใดคือสิ่ งที่ตอ้ งเร่ งส่ งเสริ มแก่ผคู ้ นในการ
จ. ความเท่าเทียมเสมอภาค ปรับตัวเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวฒั นธรรม
36. ประเพณี ในวัฒนธรรมไทยข้อใดที่แสดงให้ (0-net 60)
เห็นถึงอิทธิพลวิถีการประกอบอาชีพ (0-net 61) ก. การสร้างสานึ กชาตินิยม เชื้อชาตินิยม และชาติ
ก. ประเพณี ชิงเปรต พันธุ์นิยม
ข. ประเพณี บุญบั้งไฟ ข. การรณรงค์ส่งเสริ มจิตสานึกในการอนุรักษ์
ค. ประเพณี ไหลเรื อไฟ วัฒนธรรมประจาชาติ
ง. ประเพณี ลอยกระทง ค. การให้คุณค่าความหลากหลายและการเคารพ
จ. ประเพณี ชกั พระทางน้ า ศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์
37. เนื้อความในบทบัญญัติแห่งกฎหมายข้อใดที่ ง. การเรี ยนรู ้ทกั ษะการประกอบอาชีพเพื่อเพิ่มขีด
สะท้อนว่าวัฒนธรรมไทยไม่ใช่วฒั นธรรมสากล ความสามารถในการแข่งขัน
(0-net 60) จ. การศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อสร้างความรัก
ความผูกพันและภาคภูมิใจในความเป็ นชาติ
10

39. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของวัฒนธรรมที่เกิดจาก จ. ไผ่ลู่ลม


การผสมผสานทางวัฒนธรรม(cultural 42. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอัตลักษณ์และ
assimilation) ระหว่างประชาชนในภูมิภาค การอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลายทาง
อาเซียน (0-net 60) วัฒนธรรม ( 0-net 61 )
ก. มีความสมบูรณ์เป็ นสากล ก. บุคคลควรตระหนักในสิ ทธิทางวัฒนธรรมของ
ข. มีการเปลี่ยนแปลงไม่คงที่ ผูท้ ี่จะมาจากพื้นเพทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
ค. มีความหลากหลายแตกต่างกัน ข. บุคคลควรรักษาอัตลักษณ์ของตนไว้แม้จะอยู่
ง. มีลกั ษณะเป็ นสิ่ งประดิษฐ์ทางสังคม ร่ วมกันในสังคมที่มีความหลากหลายวัฒนธรรม
จ. มีการไหลเวียนแลกเปลี่ยนระหว่างสังคม ค. บุคคลควรละทิ้งอัตลักษณ์ที่มีติดตัวเพื่อการ
40. ข้อใดกล่าวถึงวัฒนธรรมไม่ถูกต้อง หลอมรวมทางวัฒนธรรมให้เกิดความเป็ น
(0-net 61) เอกภาพ
ก. เป็ นสิ่ งที่สะท้อนความคิดความเชื่อที่คนใน ง. บุคคลควรให้ความสาคัญกับการเรี ยนรู ้เพื่อการ
สังคมหนึ่งๆมีร่วมกัน สื่ อสารและอยู่ร่วมกันระหว่างผูท้ ี่มีอตั ลักษณ์ที่
ข. เป็ นวิถีชีวิตและแบบแผนที่คนในสังคมหนึ่งๆ แตกต่างกัน
ยึดถือเป็ นแนวปฏิบตั ิ จ. บุคคลควรให้คุณค่ากับการยอมรับ ความ
ค. เป็ นเครื่ องมือในการขัดเกลาและหล่อหลอม แตกต่างและเคารพความหลากหลายเพื่อการอยู่
ความเป็ นสมาธิของสังคมหนึ่งๆ ร่ วมกันอย่างสันติ
ง. เป็ นเอกลักษณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อสร้างความเป็ น 43. ข้อใดไม่ใช่แนวทางที่ถูกต้องในการ
อันหนึ่งอันเดียวกันของสังคมหนึ่ งๆ ผสมผสานวัฒนธรรมสากลให้เข้ากับวัฒนธรรม
จ. เป็ นจารี ตที่มีลกั ษณะตายตัว เปลี่ยนแปลงได้ ไทย ( 0-net 61 )
ยาก เนื่องจากได้รับการยอมรับร่ วม ก. วัฒนธรรมสากลต้องไม่ขดั แย้งต่อค่านิยมและ
41. ค่านิยมในสานวนไทยต่อไปนี้ ขอ้ ใดที่ควร ความเชื่อเดิมที่มีอยู่
ปรับปรุ งแก้ไขเพื่อสร้างวัฒนธรรมใหม่ของ ข. วัฒนธรรมสากลต้องสามารถยึดโยงกับ
พลเมืองในการอยู่ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ โครงสร้างทางสังคมที่มีอยู่เดิมได้
( 0-net 61 ) ค. วัฒนธรรมสากลต้องอยู่ร่วมเป็ นส่ วนหนึ่งกับ
ก. เอาใจเขามาใส่ใจเรา วัฒนธรรมไทยที่มีอยู่เดิมได้
ข. ปิ ดทองหลังพระ ง. วัฒนธรรมสากลต้องก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
ค. ขนทรายเข้าวัด การเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากเดิมที่มีอยู่
ง. ฟังหูไว้หู
11

จ. วัฒนธรรมสากลต้องมีส่วนเกื้อหนุนให้เกิดการ ค. ลดความเหลื่อมล้ าทางอานาจระหว่างชนชั้น


พัฒนาในทางที่ดีข้ นึ จากพื้นฐานที่มีอยู่เดิม ปกครองและประชาชน
ตัวชี้วัด ส 2.2 ม. 4-6/2 เสนอแนวทางทางการ ง. ขจัดความคิดเห็นทางการเมืองที่แตกต่างกันใน
เมืองการปกครองที่นาไปสู่ ความเข้าใจและการ หมู่ประชาชน
ประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ จ. สร้างความเชื่อมัน่ ต่อกติกาประชาธิปไตยใน
44. ข้อใดเป็ นเกณฑ์ในการแบ่งรู ปแบบรัฐ หมู่ประชาชน
ออกเป็ นรัฐเดี่ยวรัฐรวมแบบสมาพันธรัฐและรัฐ 47. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของรัฐ
รวมแบบสหพันธรัฐ ( 0-net 61 ) ( 9 วิชาสามัญ )
ก. ประมุขของรัฐ ก. ต้องมีประชากรจานวนหนึ่ง
ข. ขนาดพื้นที่ของรัฐ ข. ต้องมีดินแดนอันแน่นอนของรัฐ
ค. ระบอบการเมืองการปกครองของรัฐ ค. ต้องมีอานาจอธิปไตย
ง. ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันของประชาชน ง. ต้องมีกองกาลังทหาร
ภายในรัฐ จ. ต้องมีรัฐบาล
จ. ความสัมพันธ์ทางอานาจระหว่างรัฐบาลกลาง 48. เพื่อสนับสนุนการปกครองตามระบอบ
กับรัฐบาลท้องถิ่น ประชาธิปไตยรัฐควรส่ งเสริ มให้หน่วยงานใดเป็ น
45. ข้อใดไม่ใช่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น หน่วยงานหลักในการจัดทาบริ การสาธารณะ
( 0-net 59 ) ( 9 วิชาสามัญ )
ก. องค์การบริ หารส่วนตาบล ข. เทศบาลนคร ก. หน่วยการปกครองท้องที่
ค. กรุ งเทพมหานคร ง. เทศบาลเมือง ข. องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
จ. ตาบล ค. หน่วยงานส่ วนภูมิภาคระดับตาบล
46. ภายใต้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในหมู่ ง. หน่วยงานส่ วนภูมิภาคระดับจังหวัด
ประชาชนในระยะกว่า 10 ปี ที่ผ่านมาของไทย จ. กรมหรื อส่ วนราชการที่มีฐานะเป็ นกรม
ข้อใดไม่ใช่แนวทางเสริ มสร้างประชาธิปไตยไทย ตัวชี้วัด ส 2.2 ม. 4-6/3 วิเคราะห์ ความสาคัญและ
ให้มนั่ คง ( 0-net 60 ) ความจาเป็ นที่ต้องธารงรักษาไว้ ซึ่งการปกครอง
ก. บ่มเพาะประชาชนใช้หลักเหตุผลเป็ นพื้นฐาน ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ในการตัดสิ นใจทางการเมือง
ข. มีกฎหมายที่ยอมรับสิทธิในการดาเนินกิจกรรม
ทางการเมืองของประชาชน
12

49. ข้อใดเป็ นคากล่าวที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการ 52. ข้อใดเป็ นพระราชอานาจที่ไม่ปรากฎเป็ นลาย


ปกครองของไทย ( 0-net 58 ) ลักษณ์อกั ษรในรัฐธรรมนู ญ ( 0-net 60 )
ก. ประเทศไทยเป็ นรัฐเดี่ยวแต่ก็มีการกระจาย ก. การพระราชทานคาปรึ กษาแก่รัฐบาล
อานาจการปกครองไปยังท้องถิ่น ข. การพระราชทานเครื่ องราชย์อิสริ ยาภรณ์
ข. ประเทศไทยเป็ นรัฐเดี่ยวเพราะมีรัฐบาล ค. การโปรดเกล้าฯแต่งตั้งฐานันดรศักดิ์
ปกครองเพียงรัฐบาลเดียวเท่านั้น ง. การโปรดเกล้าฯแต่งตั้งองคมนตรี
ค. ประเทศไทยเป็ นรัฐเดี่ยวและมีท้ งั รัฐบาลกลาง จ. การพระราชทานอภัยโทษ
และรัฐบาลท้องถิ่น 53. ข้อใดจับคู่ระบบการเมืองการปกครองกับ
ง. กรุ งเทพมหานครมีลกั ษณะเป็ นการปกครอง ข้อด้อยของระบบนั้นไม่ถูกต้อง (0-net 60)
ระดับท้องถิ่นรู ปแบบพิเศษ ก. ประชาธิปไตยกับปัญหาเสี ยงข้างมากไม่รับฟัง
จ. จังหวัดเป็ นส่วนหนึ่งของการปกครองส่วน เสี ยงข้างน้อย
ภูมิภาค ข. เสรี นิยมกับปัญหาการขาดเสถียรภาพทาง
50. กิจกรรมใดเป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ ม การเมือง
ประชาธิปไตย ( 0-net 58 ) ค. อนุรักษ์นิยมกับปัญหาการพัฒนาที่ล่าช้า
ก. การจัดอาสาสมัครประจาหมู่บา้ น ง. อานาจนิยมกับปัญหาการขาดระเบียบและ
ข. การเลือกตั้งสภานักศึกษาในมหาวิทยาลัย กติกาในสังคม
ค. การจัดกิจกรรมลูกเสือชาวบ้านในแต่ละจังหวัด จ. สังคมนิยมกับปัญหาการริ ดรอนเสรี ภาพทาง
ง. การจัดกิจกรรมประเพณีวนั ปี ใหม่ของชุมชน เศรษฐกิจ
จ. การรวมกลุ่มเพื่อผลิตสินค้า 0TOP
51. หลักใดต่อไปนี้ไม่ใช่หลักทัว่ ไปที่กาหนดใน
รัฐธรรมนูญ ( 0-net 58 )
ก. การกาหนดอานาจหน้าที่ของฝ่ ายบริ หาร ฝ่ าย
ตุลาการและฝ่ ายนิติบญั ญัติ
ข. การกาหนดให้ศาสนาพุทธเป็ นศาสนาประจา
ชาติ
ค. การคุม้ ครองสิทธิและเสรี ภาพ
ง. การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
จ. แนวนโยบายพื้นฐานของรัฐ
13

ตัวชี้วัด ส 2.2 ม. 4-6/4 เสนอแนวทางและมีส่วน ก. การร่ ารวยผิดปกติ


ร่ วมในการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ ข.การกระทาความผิดฐานหมิ่นประมาท
54. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ( 0-net 59 ) ค. การกระทาความผิดฐานฉ้อโกง
ก. ศาลรัฐธรรมนูญมีอานาจตัดสินใจให้ ง. การกระทาความผิดต่อความมัน่ คงของรัฐ
นักการเมืองเป็ นบุคคลล้มละลาย ภายในราชอาณาจักร
ข. ผูต้ รวจการแผ่นดินมีอานาจหน้าที่ตรวจสอบ จ. การกระทาความผิดฐานปลอมเงินตรา
การปฏิบตั ิหน้าที่ของข้าราชการที่ก่อให้เกิดความ 57. ข้อใดคือบทลงโทษผูด้ ารงตาแหน่งทาง
เสี ยหายไม่ว่าการกระทาของข้าราชการจะไม่ชอบ การเมืองที่จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการ
หรื อชอบด้วยอานาจหน้าที่ก็ตาม ทรัพย์สินและหนี้สิน ( 0-net 59 )
ค. องค์กรอัยการมีความอิสระในการดาเนินการ ก. ต้องตกเป็ นบุคคลล้มละลาย
ไม่อยู่ภายใต้บงั คับบัญชาของนายกรัฐมนตรี ข. ถูกยึดทรัพย์สินให้ตกเป็ นของแผ่นดิน
ง. คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็ นองค์กรที่จดั ตั้ง ค. ต้องพ้นจากตาแหน่งและห้ามดารงตาแหน่ง
ขึ้นเพื่อทาหน้าที่แทนกระทรวงมหาดไทยซึ่งเดิม ทางการเมืองเป็ นเวลา 5 ปี
มีอานาจหน้าที่ในการจัดการเลือกตั้ง ง. ต้องตกเป็ นบุคคลเสมือนไร้ความสามารถ
จ. คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอานาจหน้าที่ จ. ต้องห้ามทานิติกรรมเกี่ยวข้องกับหน่วยงาน
ตรวจสอบการดาเนินการของพรรคการเมือง ของรัฐ
55. ผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมืองมีหน้าที่ตอ้ งยื่น
บัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน
แก่องค์กรใด ( 0-net 59 )
ก. กรมบัญชีกลาง สังกัดกระทรวงการคลัง
ข. นายทะเบียนพรรคการเมือง
ค. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ง. ผูต้ รวจการแผ่นดิน
จ. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ
ทุจริ ตแห่งชาติ
56. ข้อใดคือข้อกล่าวหาที่คณะกรรมการการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติมี
อานาจที่จะดาเนินคดีต่อผูด้ ารงตาแหน่งทาง
การเมือง ( 0-net 59 )
14

58. ข้อใดจับคู่องค์กรกับอานาจตรวจสอบการใช้
อานาจรัฐตามรัฐธรรมนูญได้ถูกต้อง (0-net 61)
ก. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ
ทุจริ ตแห่งชาติ-ไต่สวนเจ้าหน้าที่ของรัฐระดับสู ง
ที่ถูกกล่าวหาว่าร่ ารวยผิดปกติ
ข. ศาลรัฐธรรมนูญ-ถอดถอนผูด้ ารงทางการเมือง
ที่กระทาการฝ่ าฝื นมาตรฐานทางจริ ยธรรมอย่าง
ร้ายแรง
ค. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน-ยึดทรัพย์สิน
ของข้าราชการระดับสูงที่ทุจริ ตเงินแผ่นดิน
ง. คณะกรรมการการเลือกตั้ง-ยึดทรัพย์ผสู้ มัครรับ
เลือกตั้งที่กระทาผิดกฎหมายเลือกตั้ง
จ. ศาลปกครอง-พิจารณาคดีอาญาผูด้ ารงตาแหน่ง
ทางการเมือง

You might also like