You are on page 1of 24

1

การสอบไล่ภาค 1 ปี การศึกษา 2551


ข้ อสอบกระบวนวิชา LAW 1004 (LA 104) (LW 104) ความรู้เบื้องต้ นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

คำสั่ง ให้นกั ศึกษำเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (ข้อสอบมีท้งั หมด 120 ข้อ)


1. ระบบกฎหมำยใดที่ศำลสำมำรถใช้จำรี ตประเพณี แห่งท้องถิน่ มำปรับใช้กบั ข้อเท็จจริ งแห่งคดีได้กรณี ที่
ไม่มีกฎหมำยลำยลักษณ์อกั ษรบัญญัติไว้
(1) ระบบคอมมอน ลอว์ (2) ระบบซีวิล ลอว์
(3) ระบบกฎหมำยจำรี ตประณี ต (4) ระบบกฎหมำยไม่เป็ นลำยลักษณ์อกั ษร
ตอบ 2 หน้ำ 101 - 102 กำรที่ศำลสำมำรถใช้จำรี ตประเพณี แห่งท้องถิ่นมำปรับใช้กบั ข้อเท็จจริ งแห่งคดี
ได้ในกรณี ที่ไม่มีกฎหมำยลำยลักษณ์อกั ษรบัญญัติไว้น้ นั เป็ นวิธีอุดช่องว่ำงแห่งกฎหมำย
ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิ ชย์ มำตรำ 4 วรรคสอง ซึ่งเป็ นกฎหมำยที่ใช้อยู่ในประเทศไทย
ซึ่งเป็ นประเทศที่ใช้กฎหมำยระบบซีวิล ลอว์ หรื อกฎหมำยลำยลักษณ์อกั ษร
2. ยุคกฎหมำยใดที่หลักกฎหมำยเกิดขึ้นจำกข้อพิพำทและกำรนำกฎหมำยประเพณี มำปรับใช้เหมำะสม
(1) ยุคกฎหมำยลำยลักษณ์อกั ษร (2) ยุคกฎหมำยชำวบ้ำน
(3) ยุคกฎหมำยของนักกฎหมำย (4) ยุคกฎหมำยเทคนิค
ตอบ 3 หน้ำ 10 – 11 ( บรรยำย ) เนื่องจำกสังคมมนุษย์มีขนำดใหญ่ข้ นึ เจริ ญขึ้นและมีกำรพัฒนำ
ไปมำกพอสมควร ข้อพิพำทจึงเกิดขึ้นมำกตำมไปด้วย ดังนั้นกำรที่จะนำกฎหมำยประเพณี
หรื อกฎหมำยชำวบ้ำนมำปรับใช้จึงไม่เหมำะสม ไม่พอใช้บงั คับกับชีวิตในสังคมที่เจริ ญแล้ว
กฎหมำยของนักกฎหมำยจึงถูกพัฒนำขึ้นมำเพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของสังคม และ
เพื่อแก้ไขปัญหำที่เกิดในคดีสลับซับซ้อน ทำให้เกิดกฎเกณฑ์ข้ นึ ใหม่เป็ นกำรเสริ มกฎเกณฑ์เก่ำ
3. เงื่อนไขของกำรตรำพระรำชกำหนด จะกระทำได้เฉพำะเมื่อคณะรัฐมนตรี เห็นว่ำ
(1) จำเป็ นรี บด่วนมิอำจหลีกเลี่ยงได้ (2) เพื่อรักษำควำมมัน่ คงทำงเศรษฐกิจ
(3) เพื่อประโยชน์แก่บุคคลที่มีโทษทำงกำรเมือง (4) ถูกทั้งข้อ (1) และ (2)
ตอบ 4 หน้ำ 32 ( คำบรรยำย) พระรำชกำหนด มี 2 ประเภท ได้แก่
1. พระรำชกำหนดทัว่ ไป เป็ นกรณี ที่ตรำพระรำชกำหนดเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษำควำมปลอดภัย
ของประเทศ ควำมปลอดภัยสำธำรณะ ควำมจำเป็ นรี บด่วนอันมิอำจหลีกเลี่ยงได้ และ
2. พระรำชกำหนดเกี่ยวด้วยภำษีเงินตรำ เป็ นกรณี ที่ตรำพระรำชกำหนดเกี่ยวกับภำษีอำกร
หรื อเงินตรำ ซึ่งต้องพิจำรณำโดยด่วนละลับเพื่อรักษำประโยชน์ของแผ่นดินในระหว่ำง
สมัยประชุมสภำเท่ำนั้น
4. กำรตรำพระรำชกำหนดเรื่ องใดที่สำมำรถกระทำในสมัยประชุมสภำได้
(1) ป้องปัดภัยพิบตั ิสำธำรณะ (2) ควำมปลอดภัยของประเทศ
(3) ภำษีอำกร (4) ถูกทุกข้อ
ตอบ 3 ดูคำอธิบำยข้อ 3. ประกอบ
5. องค์กรที่มีหน้ำที่ตรวจสอบเงื่อนไขในกำรตรำพระรำชกำหนดว่ำเป็ นไปตำมกฎหมำยรัฐธรรมนูญหรื อไม่
(1) ผูต้ รวจกำรแผ่นดิน (2) วุฒิสภำ (3) ศำลปกครอง (4) ศำลรัฐธรรมนูญ
2
LW 104 page 2 1/51

ตอบ 4 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบนั มำตรำ 185 ได้บญ ั ญัติให้อำนำจแก่ประธำนรำษฎรและ


ประธำนวุฒิสภำในกำรส่งควำมเห็นไปยังศำลรัฐธรรมนูญเพื่อให้วิจยั ว่ำ พระรำชกำหนด
ที่ออกมำใช้บงั คับนั้นเป็ นไปตำมกฎหมำยรัฐธรรมนูญหรื อไม่
6. นำยสิ น อำยุ 40 ปี จดทะเบียนกับ น.ส.เดือน อำยุ 22 ปี ซึ่ง น.ส.เดือนเป็ นบุตรบุญธรรมของนำยสิ น
โดยที่ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมของ น.ส.เดือน มิได้ยินยอมด้วย เช่นนี้ กำรสมรสระหว่ำงนำยสิ น และ น.ส.เดือน
จะมีผลทำงกฎหมำยอย่ำงไร
(1) สมบูรณ์ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศำล
ตอบ 1 หน้ำ 177 ผูร้ ับบุตรบุญธรรมจะสมรสกับบุตรบุญธรรมไม่ได้ ในกรณี ที่มีกำรฝ่ ำฝื น ให้ถือว่ำ
กำรรับบุตรบุญธรรมย่อมเป็ นอันยกเลิกไป แต่กำรสมรสยังมีผลสมบูรณ์
7. คู่สำรสที่ชอบด้วยกฎหมำยจะต้อง (1) ทำกำรหมัน่ ก่อนเสมอ
(2) จดทะเบียนสมรสเท่ำนั้น (3) ต้องจดทะเบียนสมรสและมอบสิ นสอดด้วย
ตอบ 2 กำรสมรสนั้นเป็ นกำรตกลงระหว่ำงชำยหญิงที่จะอยู่กินฉันสำมีภริ ยำ ซึ่งสำมำรถ
กระทำได้โดยไม่ตอ้ งมีสัญญำหมัน่ กันก่อนแต่อย่ำงใด อีกทั้งในกำรสมรสนั้นกฎหมำยก็มิได้
บังคับให้ตอ้ งมีสินสอดดังเช่นกำรหมัน่ ที่ถือว่ำของหมัน่ นั้นเป็ นสำระสำคัญของสัญญำหมัน่
เพรำะกฎหมำยถือว่ำกำรสมรสที่ชอบด้วยกฎหมำยก็คือกำรจดทะเบียนสมรสเท่ำนั้น
8. บุตรในกรณี ใดต่อไปนี้ถือว่ำคือบุตรที่ชอบด้วยกฎหมำยของบิดำ
(1) บุตรที่บิดำอุปำระเลี้ยงดูอย่ำงดี (2) บุตรที่บิดำให้ใช้นำมสกุล
(3) บุตรที่บิดำได้จดทะเบียนสมรสกับหญิงมำรดำ (4) บุตรที่บิดำได้แจ้งเกิดในสูติบัตรว่ำเป็ นบิดำ
ตอบ 3 หน้ำ 173, 192, (คำบรรยำย) กรณี ที่จะถือว่ำบุตรนั้นเป็ นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมำยของบิดำนั้น
จะต้องเป็ นบุตรที่เกิดจำกบิดำมำรดำซึ่งได้จดทะเบียนสมรสกัน เว้นแต่ถำ้ เป็ นบุตรที่เกิดจำก
บิดำมำรดำไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน จะเป็ นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมำยของบิดำก็ต่อเมื่อบิดำ
มำรดำได้สมรสกันภำยหลัง หรื อบิดำได้จดทะเบียนว่ำเป็ นบุตร หรื อศำลพิพำกษำว่ำเป็ นบุตร
9. กำรสมรสในกรณี ใดต่อไปนี้ที่กำรสมรสจะสมบูรณ์
(1) กำรสมรสกับบุคคลวิกลจริ ต (2) กำรสมรสกับคนไร้ควำมสำมำรถ
(3) กำรสมรสกับคนเสมือนไรควำมสำมำรถ (3) กำรสมรสกับบุพกำรี
ตอบ 3 หน้ำ 175, (คำบรรยำย) ตำมกฎหมำยห้ำมมิให้สมรสกับบุคคลวิกลจริ ตหรื อบุคคลไร้ควำมสำมำรถ
และห้ำมมิให้สมรสกับญำติสืบสำยโลหิตโดยตรงขึ้นไปหรื อลงมำหรื อกับพี่น้องร่ วมบิดำหรื อมำรดำ
ถ้ำมีกำรฝ่ ำฝื นกำรสมรสจะตกเป็ นโมฆะ แต่อย่ำงไรก็ดี กำรสมรสกับคนเสมือนไร้ควำมสำมำรถนั้น
ไม่มีกฎหมำยบัญญัติห้ำมไว้ กำรสมรสจึงมีผลสมบูรณ์
10. กำรสมรสใดต่อไปนี้ที่กำรสมรสสิ้นสุดลงได้เพรำะศำลพิพำกษำให้เพิกถอน
(1) กำรสมรสซ้อน (2) กำรสมรสโดยปรำศจำกควำมยินยอม
(3) กำรสมรสกับผูส้ ื บสันดำร (4) กำรสมรสเพรำะเหตุสำคัญผิด
3
LW 104 page 3 1/51

ตอบ 4 หน้ำ 176 กำรสมรสที่จะตกเป็ นโมฆียะ และศำลอำจเพิกถอนกำรสมรสนั้นได้ ได้แก่


1. กำรสมรสที่ชำยและหญิงมีอำยุไม่ครบ 17 ปี บริ บูรณ์
2. ผูเ้ ยำว์ได้ทำกำรสมรสโดยปรำศจำกควำมยินยอมจำกบิดำมำรดำหรื อผูป้ กครอง
3. กำรสมรสโดยสำคัญผิดตัวคู่สมรสอีกฝ่ ำยหนึ่ง
4. กำรสมรสโดยถูกกลฉ้อฉลถึงขนำด 5. กำรสมรสโดยถูกข่มขู่อนั ถึงขนำด
11. กำรสมรสในกรณี ใดต่อไปนี้ที่กำรสมรสได้สิ้นสุดลงแล้ว
(1) กำรสมรสที่คู่สมรสตกลงแยกกันอยู่มำหลำยปี แล้ว
(2) กำรสมรสที่คู่สมรสฝ่ ำยใดที่ศำลได้มีคำสัง่ เป็ นผูส้ ำบสูญแล้ว
(3) กำรสมรสที่เกิดขึ้นเพรำะเหตุข่มขู่
(4) ไม่มีขอ้ ใดถูกต้อง
ตอบ 4 หน้ำ 161, 184 – 185 กำรสมรสจะสิ้นสุดลงได้ดว้ ยเหตุ 3 ประกำรเท่ำนั้น ได้แก่
1. ควำมตำย 2. ศำลพิพำกษำเพิกถอน และ 3. กำรหย่ำ (กำรที่คู่สมรสสมัครใจแยกกันอยู่
หรื อกำรที่ศำลสั่งให้คู่สมรสฝ่ ำยใดฝ่ ำยหนึ่งเป็ นคนสำบสูญนั้น เป็ นเพียงเหตุที่ทำให้อีกฝ่ ำยหนึ่ง
ฟ้องหย่ำได้เท่ำนั้น แต่ไม่ทำให้กำรสมรสสิ้นสุดลง)
12. นำยเออยู่กินกับนำงจันทร์โดยมิได้จดทะเบียนสมรส มีบุตรคือ นำยพุธและนำยศุกร์ ซึ่งนำยเอได้ให้นำยพุธ
และนำยศุกร์ใช้นำมสกุล ต่อมำหำกนำยเอตำย มรดกของนำยเอจะตกทอดใครบ้ำง
(1) นำงจันทร์ (2) นำยพุธและนำยศุกร์
(3) นำงจันทร์ นำยพุธ และนำยศุกร์ (3) แผ่นดิน
ตอบ 2 หน้ำ 191 - 194 เมื่อนำยเอตำย มรดกของนำยเอจะตกได้แก่นำยพุธและนำยศุกร์ เพรำะแม้
นำยพุธและนำยศุกร์จะเป็ นบุตรนอกกฎหมำยของนำยเอเจ้ำมรดก แต่เมื่อข้อเท็จจริ งปรำกฏว่ำ
นำยเอให้นำยพุธและนำยศุกร์ใช้นำมสกุลถือว่ำนำยเอได้รับรองว่ำนำยพุธและนำยศุกร์ เป็ นบุตร
ทั้งสองจึงมีสิทธิรับมรดกในฐำนะผูส้ ื บสันดำร ส่วนนำงจันทร์เป็ นภริ ยำที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส
จึงไม่ใช่คู่สมรสและไม่ใช่ทำยำทโดยธรรมจึงไม่มีสิทธิรับมรดก
13. นำยภพ อำยุ 22 ปี ตกลงหมัน่ กับ น.ส. เจน อำยุ 191 ปี ซึ่งรับกำรจดทะเบียนเป็ นบุตรบุญธรรมของ
นำยสิ นและเป็ นบุตรของนำยดำและนำงแดง น.ส.เจนตกลงหมัน่ โดยได้รับควำมยินยอมจำกนำยดำและ
นำงแดงแล้ว เช่นนี้ กำรหมัน่ นี้จะมีผลทำงกฎหมำยอย่ำงไร
(1) สมบูรณ์ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลยพินิจของศำล
ตอบ 2 หน้ำ 172 ในกรณี ที่ผเู ้ ยำว์มีฐำนะเป็ นบุตรบุญธรรมบุคคลใด เมื่อจะทำกำรหมั้นก็ตอ้ งไปขอ
ควำมยินยอมจำกผูร้ ับบุตรบุญธรรมนั้น เพรำะนับตั้งแต่วนั ที่ผเู ้ ยำว์ไปเป็ นบุตรบุญธรรมอำนำจ
ปกครองของบิดำมำรดำย่อมหมดไป ผูร้ ับบุตรบุญธรรมจะต้องเป็ นผูใ้ ช้อำนำจปกครองแทน
14. นำยคม อำยุ 22 ปี ตกลงหมั้นกับ น.ส. ดำว อำยุ 18 ปี ซึ่งเป็ นบุตรของนำยเขียวและนำงพุธ ซึ่งมิได้
จดทะเบียนสมรสกัน น.ส.ดำว ตกลงหมั้นกับนำยคมโดยได้รับควำมยินยอมจำกนำงพุธเท่ำนั้น เช่นนี้
กำรหมั้นนี้จะมีผลทำงกฎหมำยอย่ำไร
(1) สมบูรณ์ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศำล
ตอบ 1 หน้ำ 173 ในกรณี ที่ผูเ้ ยำว์เกิดจำกมำรดำ ซึ่งมิได้จดทะเบียนกับบิดำ กฎหมำยถือว่ำผูเ้ ยำว์น้ นั
เป็ นบุตรชอบด้วยกฎหมำยของมำรดำเพียงผูเ้ ดียวและมำรดำเท่ำนั้นที่เป็ นผูใ้ ช้อำนำจปกครอง
ดังนั้นเมื่อผูเ้ ยำว์จะทำกำรหมั้นจึงต้องขอควำมยินยอมจำกมำรดำเท่ำนั้น ไม่ตอ้ งขอจำกบิดำอีก
4
LW 104 page 4 1/51

15. นำยเอกตกลงว่ำจะไปทำพิธีหมั้นที่บำ้ น น.ส.โท ในอีก 7 วันข้ำงหน้ำโดยตกลงว่ำจะมอบแหวนเพชรและ


นำฬิกำฝังเพชรให้ เมื่อถึงวันหมั้นนำยเอกได้มอบแหวนให้แก่ น.ส. โท ในกำรทำสัญญำหมั้นเช่นนี้
ทรัพย์สินใดที่ถือเป็ นของหมั้น
(1) แหวนเพชรและนำฬิกำฝังเพชร (2) แหวนเพชรเท่ำนั้น
(3) นำฬิกำฝังเพชรเท่ำนั้น (3) ไม่มีของหมั้นเลย
ตอบ 2 หน้ำ 173 - 174 ของหมั้นนั้นจะต้องมีลกั ษณะดังต่อไปนี้
1. เป็ นทรัพย์สิน
2. เป็ นทรัพย์สินที่ฝ่ำยชำยให้แก่หญิงเพื่อเป็ นหลักฐำนว่ำจะสมรสกับหญิงนั้น
3. ของหมั้นจะต้องให้ไว้แก่หญิง กล่ำวคือ จะต้องมีกำรส่งมอบให้กนั ในเวลำทำสัญญำหมั้น
และจะต้องปรำกฏว่ำฝ่ ำยชำยได้มีกำรมอบของหมั้นให้แก่หญิงอย่ำงแท้จริ งด้วย และหญิง
ต้องได้รับไว้แล้ว โดยของหมั้นนั้นจะตกเป็ นสิ ทธิ์ของหญิงนั้น
16. นำยพิชยั อำยุ 16 ปี จดทะเบียนสมรสกับ น.ส. อิ๋ว อำยุ 16 ปี เช่นนี้ กำรสมรสระหว่ำงนำยพิชยั และนำงสำว อิ๋ว
จะมีผลกระทบทำงกฎหมำยอย่ำงไร
(1) สมบูรณ์ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศำล
ตอบ 2 หน้ำ 176 กำรสมรสจะทำได้ก็ต่อเมื่อชำยและหญิงมีอำยุครบ 17 ปี บริ บูรณ์ ( ถ้ำทำกำรสมรส
โดยฝ่ ำฝื นเงื่อนไขดังกล่ำว กำรสมรสนั้นเป็ นโมฆียะ แม้ว่ำจะได้รับควำมยินยอมจำกบิดำมำรดำ
หรื อผูป้ กครอง ) เว้นแต่ในกรณี ที่มีเหตุอนั ควรศำลอำจอนุญำตให้ทำกำรสมรสก่อนนั้นได้ และ
ถ้ำผูเ้ ยำว์จะสมรสต้องได้รับควำมยินยอมจำกบิดำมำรดำหรื อผูป้ กครองด้วย
17. บุคคลใดต่อไปนี้คือคู่สมรสที่ชอบด้วยกฎหมำย
(1) นำยเหลืองอยู่กินกับนำงฟ้ำมำเป็ นเวลำนำนกว่ำ 30 ปี
(2) นำยปรุ งจดทะเบียนสมรสกับ น.ส. ดำ ต่อมำจดทะเบียนหย่ำกัน แต่กลับยังอยู่กินด้วยกัน
(3) นำยทองจดทะเบียนสมรสกับ น.ส. พู่ ต่อมำตกลงแยกกันอยู่
(4) ถูกทุกข้อ
ตอบ 3 ดูคำอธิบำยข้อ 7 และข้อ 11 ประกอบ
18. นำยสนได้ใช้ปืนข่มขู่ น.ส. เพชร ให้จดทะเบียนสมรสกับตนมิฉะนั้นจะยิงน.ส.เพชร ด้วยควำมกลัว
น.ส. เพชรจึงยอมจดทะเบียนสมรสกับนำยสน เช่นนี้ กำรสมรสระหว่ำงนำยสนกับ น.ส.เพชร จะมีผล
ทำงกฎหมำยอย่ำงไร
(1) สมบูรณ์ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศำล
ตอบ 2 หน้ำ 176 กำรสมรสโดยถูกข่มขู่มีผมเป็ นโมฆียะ โดยจะต้องเป็ นกำรข่มขู่อนั ถึงขนำดซึ่งถ้ำ
มิได้มีกำรข่มขู่น้ นั จะไม่ทำกำรสมรส กล่ำวคือ จะต้องมีกำรข่มขู่ที่จะให้เกิดภัยอันใกล้จะถึง
และร้ำยแรงถึงขนำดเป็ นเหตุที่จะจูงใจให้ผูข้ ่มขู่ตอ้ งกลัว
19. นำงบุญจดทะเบียนกับนำยขำวหลังจำกจดทะเบียนหย่ำกับนำยดำคู่สมรสคนเก่ำเพียง 7 วัน เช่นนี้
(1) สมบูรณ์ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศำล
ตอบ 1 หน้ำ177, ( คำบรรยำย ) หญิงที่สำมีตำยหรื อที่กำรสมรสนั้นสิ้นสุดลงด้วยประกำรอื่น
จะทำกำรสมรสใหม่ได้ก็ต่อเมื่อระยะเวลำ 310 วัน นับแต่สิ้นสุดแห่งกำรสมรส ได้ผ่ำนพ้นไป
แต่อย่ำงไรก็ตำม ถ้ำหำกมีกำรฝ่ ำฝื นกำรสมรสนั้นก็มีผลสมบูรณ์ เพรำะกฎหมำยมิได้บญ ั ญัติให้
มีผลเป็ นโมฆะหรื อโมฆียะแต่อย่ำงใด
5
LW 104 page 5 1/51

20. นำยหนึ่งตกลงทำสัญญำซื้อลำจำกนำยสองเพื่อนำไปทำงำนลำกไม้ เช่นนี้สมบูรณ์


(1) ต้องทำเป็ นหนังสื อ (2) ต้องทำเป็ นหนังสื อและจดทะเบียน
(3) ต้องจดทะเบียน (4) ต้องส่งมอบช้ำง
ตอบ 2 หน้ำ 205 กำรทำนิติกรรมจำหน่ำยจ่ำยโอนสังหำริ มทรัพย์ชนิดพิเศษ ซึ่งปัจจุบนั ได้แก่
1. เรื อที่มีระวำงตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป 2. แพ และ 3. สัตว์พำหนะซึ่งได้แก่ ช้ำง ม้ำ โค กระบือ
ลำ ล่อ จะต้องทำเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อพนังงำเจ้ำหน้ำที่เช่นเดียวกับกำรจำหน่ำย
จ่ำยโอน อสังหำริ มทรัพย์ดว้ ย นิติกรรมนั้นจึงจะสมบูรณ์
21. เรื อนแพถือเป็ นทรัพย์สินประเภทใด
(1) อสังหำริ มทรัพย์ทวั่ ไป (2) สังหำริ มทรัพย์ทวั่ ไป
( 3) อสังหำริ มทรัพย์ชนิดพิเศษ (4) สังหำริ มทรัพย์ชนิดพิเศษ
ตอบ 4 ดูคำอธิบำยข้อ 20 ประกอบ
22. รถบรรทุกสิ บล้อถือเป็ นทรัพย์สินประเภทใด
(1) อสังหำริ มทรัพย์ทวั่ ไป (2) สังหำริ มทรัพย์ทวั่ ไป
( 3) อสังหำริ มทรัพย์ชนิดพิเศษ (4) สังหำริ มทรัพย์ชนิดพิเศษ
ตอบ 2 ดูคำอธิบำยข้อ 20 ประกอบ
23. เรื อยนต์และเรื อกลไฟที่มีระวำงตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป ถือเป็ นทรัพย์สินประเภทใด
(1) อสังหำริ มทรัพย์ทวั่ ไป (2) สังหำริ มทรัพย์ทวั่ ไป
( 3) อสังหำริ มทรัพย์ชนิดพิเศษ (4) สังหำริ มทรัพย์ชนิดพิเศษ
ตอบ 4 ดูคำอธิบำยข้อ 20 ประกอบ
24. หำกนำยเอได้ตกลงทำสัญญำหมั้นกับ น.ส.จันทร์แล้ว ปรำกฏว่ำต่อมำ น.ส.จันทร์ ไม่ยอมสมรสกับนำยเอ
เช่นนี้ นำยเอจะฟ้องบังคับ น.ส.จันทร์ ให้สมรสกับตนตำมสัญญำหมั้นนั้นได้หรื อไม่ เพรำะเหตุใด
(1) ได้ เพรำะสัญญำหมั้นคือสัญญำจะสมรสกันในวันข้ำงหน้ำ
(2) ไม่ได้ เพรำะเป็ นสัญญำที่ไม่อำจนำไปบังคับให้อีกฝ่ ำสมรสได้
(3) ได้ หำกมีกำรทำสัญญำหมั้นเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรให้ฟ้องได้
(4) ไม่ได้ กำรฟ้องบังคับเช่นนี้ตอ้ งให้ฝ่ำยหญิงฝ่ ำยชำยเท่ำนั้น
ตอบ 2 หน้ำ 174 สัญญำหมั้น คือสัญญำว่ำชำยกับหญิงจะสมรสกันในวันข้ำงหน้ำ แต่เมื่อมีกำรหมั้นแล้ว
ต่อมำมีเหตุอนั จะทำให้ไม่สำมำรถสมรสกันได้ไม่ว่ำจะเพรำะเหตุผิดสัญญำหมั้นหรื อมีกำรบอก
เลิกสัญญำหมั้นก็ตำม คู่หมั้นก็มิอำจร้องขอให้ศำลบังคับให้มีกำรสมรสได้ คงมีเพียงสิ ทธิใน
กำรเรี ยกค่ำทดแทนได้เท่ำนั้น
25. นำยเขียว อำยุ 16 ปี ตกลงทำสัญญำหมั้นกับ น.ส. พุธ อำย 16 ปี โดยทั้งนำยเขียว และ น.ส. พุธ ได้รับ
ควำมยินยอมจำกผูแ้ ทนโดยชอบธรรมของตนแล้ว เช่นสัญญำหมั้นนี้จะมีผลทำงกฎหมำยอย่ำงไร
(1) สมบูรณ์ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศำล
ตอบ 3 หน้ำ 171 – 172 กำรหมั้นจะทำได้ก็ต่อเมื่อชำยและหญิงมีอำยุครบ 17 ปี บริ บูรณ์ ซึ่งกำรหมั้น
ที่ฝ่ำฝื นเงื่อนไขดังกล่ำว มีผลเป็ นโมฆะ แม้จะได้รับควำมยินยอมจำกบิดำมำรดำหรื อผูป้ กครอง
แล้วก็ตำม และถ้ำผูเ้ ยำว์จะทำกำรหมั้นต้องได้รับควำมยินยอมจำกบิดำมำรดำหรื อผูป้ กครองด้วย
มิฉะนั้นกำรหมั้นจะมีผลเป็ นโมฆียะ
6
LW 104 page 6 1/51

26. นำยฉัตร อำยุ 23 ปี ตกลงทำสัญญำหมั้นกับ น.ส. อิน อำยุ 18 ปี เช่นนี้ กำรหมั้นนี้จะมีผลทำงกฎหมำยอย่ำงไร


(1) สมบูรณ์ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศำล
ตอบ 2 ดูคำอธิบำยข้อ 25 ประกอบ
27. นำยเทิด อำยุ 19 ปี แอบตกลงทำสัญญำหมั้นกับ น.ส.ทอง อำยุ 19 ปี โดยไม่ให้ใครรู ้ เช่นนี้ กำรหมั้นนี้
จะมีผลทำงกฎหมำยอย่ำงไร
(1) สมบูรณ์ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลพินิจของศำล
ตอบ 2 ดูคำอธิบำยข้อ 25 ประกอบ
28. ข้อใดทำให้สิทธิ ระงับ
(1) ขำดตัวผูท้ รงสิ ทธิ (2) กำรชำระหนี้ ตำมกำหนด (3) กำรสูญสิ้นวัตถุแห่งสิ ทธิ (4) ถูกทุกข้อ
ตอบ 4 หน้ำ 134 สิ ทธิอำจจะระงับได้ดว้ ยเหตุต่อไปนี้ คือ 1. ขำดตัวผูท้ รงสิ ทธิ 2 กำรชำระหนี้ตำมกำหนด
เช่น กำรชำระหนี้ กำรปลดหนี้ เป็ นต้น 3 กำรสูญสิ้นวัตถุแห่งสิ ทธิ 4. กำรระงับแห่งสิ ทธิโดย
บทบัญญัติแห่งกฎหมำย
29. องค์ประกอบในกำรร้องขอศำลให้บุคคลใดเป็ นบุคคลเสมือนไร้ควำมสำมำรถ ได้แก่
(1) จิตฟั่นเฟื องไม่สมประกอบ (2) ตำบอดหูหนวก
(3) ติดกำรพนัน (4) มีควำมบกพร่ องทำงร่ ำงกำยและไม่สำมำรถจัดกำรงำนของตนเองได้
ตอบ 4 หน้ำ 151-152 (คำบรรยำย) บุคคลที่จะเป็ นคนเสมือนไร้ควำมสำมำรถนั้น จะต้องประกอบด้วย
หลักเกณฑ์ที่สำคัญ 3 ประกอบ คือ 1. มีเหตุบกพร่ องบำงอย่ำงตำมที่กฎหมำยกำหนดไว้
2. ไม่สำมำรถจัดทำกำรงำนของตนได้หรื อจัดกิจกำรไปในทำงที่อำจจะเสื่ อมเสี ยแก่ทรัพย์สิน
ของตนเองหรื อครอบครัวเพรำะเหตุบกพร่ อง และ 3. ศำลสัง่ ให้เป็ นคนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ
30. ผูเ้ ยำว์จะให้สัตยำบันโมฆียกรรมได้เมื่อใด
(1) เมื่อรู ้ถึงโมฆียกรรมนั้น (2) เมื่อบรรลุนิติภำวะแล้ว
(3) ภำยใน 10 ปี นับแต่ทำนิติกรรม (4) ภำยใน 10 ปี นับแต่รู้ถึงโมฆียกรรม
ตอบ 2. หน้ำ 119 (เลขพิมพ์ 44289 หน้ำ 175) กำรให้สัตยำบันแก่โมฆียกรรม จะสมบูรณ์ต่อเมื่อ
ได้กระทำภำยหลังเวลำที่มูลเหตุให้เป็ นโมฆียกรรมนั้นหมดสิ้นไปแล้ว (ป.พ.พ. มำตรำ 179)
ดังนั้นผูเ้ ยำว์จะให้สัตยำบันแก่โมฆียกรรมนั้นได้ก็ต่อเมื่อผูเ้ ยำว์ได้บรรลุนิติภำวะแล้ว
31. ข้อใดมิใช่ลกั ษณะของควำมยินยอมที่ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมจะอนุญำตให้ผูเ้ ยำว์ทำนิ ติกรรม
(1) ทำหนังสื อ (2) ให้ควำมยินยอมด้วยวำจำก็ได้
(3) ให้ภำยหลังจำกผูเ้ ยำว์ทำนิติกรรมแล้ว (4) ให้ควำมยินยอมโดยปริ ยำย
ตอบ 3 (เลขพิมพ์ 44289 หน้ำ 152) (คำบรรยำย) กำรให้ควำมยินยอมของผูแ้ ทนโดยชอบทำนั้น
ไม่มีแบบจะให้ควำมยินยอมเป็ นลำยลักษณ์อกั ษร หรื อด้วยวำจำ หรื อโดยปริ ยำยก็ได้
แต่จะต้องให้ก่อนหรื อทำนิติกรรม ถ้ำให้ควำมยินยอมภำยหลังจำกทำนิติกรรมไปแล้ว
กฎหมำยถือว่ำเป็ นกำรรับรองนิติกรรมที่เป็ นโมฆียะ ซึ่งเรี ยกว่ำเป็ นกำรให้สัตยำบัน
32. เก่งโดยสำรเรื อสำรำญออกเดินทำงเมื่อวันที่ 22 ธันวำคม 2549 เกิดคลื่นพำยุทำให้เรื ออับปำง เมื่อวันที่
26 ธันวำคม 2549 เก่งได้สูญหำยไปโดยไม่มีใครทรำบ ดังนี้ญำติของเก่ง จะร้องขอให้ศำลสัง่ ให้เก่งเป็ น
บุคคลสำบสูญได้เมื่อใด
(1) 23 ธันวำคม 2551 (2) 23 ธันวำคม 2554 (3) 27 ธันวำคม 2551 (4) 27 ธันวำคม 2554
7
LW 104 page 7 1/51

ตอบ 3 หน้ำ 159-160 กำรร้องขอให้ศำลสัง่ ให้บุคคลใดเป็ นคนสำบสูญได้น้ นั จะกระทำได้ต่อเมื่อ


บุคคลนั้นได้หำยไปมีกำหนดระยะเวลำ 5 ปี ในกรณี ธรรมดำ หรื อ 2 ปี ในกรณี พิเศษ (ในกรณี
ของเก่งถือว่ำเป็ นกรณี พิเศษ จะครบกำหนด 2 ปี นับแต่เมื่อเรื ออับปำงคือวันที่ 26 ธันวำคม 2551
และญำติของเก่งจะร้องขอให้ศำลสั่งให้เก่งเป็ นบุคคลสำบสูญได้ หลังจำกครบกำหนด 2 ปี แล้ว
คือตั้งแต่วนั ที่ 27 ธันวำคม 2551)
33. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ทรัพย์
(1) เส้นผมที่นำมำทำวิก (2) ตุ๊กตำหมี (3) วิทยุติดรถยนต์ (4) ลิขสิ ทธิ์
ตอบ 4 หน้ำ 201 “ทรัพย์” หมำยถึง วัตถุมีรูปร่ ำง ซึ่งอำจมีรำคำและอำจถือเอำได้เช่น รองเท้ำ
นำฬิกำ ตุ๊กตำหมี เส้นผมที่นำมำทำวิก วิทยุติดรถยนต์ ฯลฯ ส่วน “ทรัพย์สิน” หมำยถึง
ทรัพย์ และวัตถุไม่มีรูปร่ ำงซึ่งอำจมีรำคำและอำจถือเอำได้ เช่น พลังงำนปรมำณู แก๊ส
กรรมสิ ทธิ์ ลิขสิ ทธิ์ สิ ทธิบัตร ฯลฯ ดังนั้นถ้ำสิ่ งใดเป็ นทรัพย์สิ่งนั้นย่อมเป็ นทรัพย์สินเสมอ
34. ดอกเบี้ย คือ
(1) ดอกผลธรรมดำ (2) ดอกผลนิตินยั
(3) ดอกผลธรรมดำและดอกผลนิตินยั (4) ไม่ใช่ดอกผล
ตอบ 2 หน้ำ 211-212 ดอกผลของทรัพย์แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่
1. ดอกผลธรรมดำ คือ สิ่ งที่เกิดขึ้นตำมธรรมชำติของทรัพย์ซ่ ึงได้มำจำกตัวทรัพย์หรื อจำก
ตัวแม่ทรัพย์ เมื่อได้ขำดตกออกจำกตัวแม่ทรัพย์แล้วโดยมี่ตวั แม่ทรัพย์ไม่ได้เปลี่ยนสภำพ
หรื อเปลี่ยนรู ปร่ ำงไป เช่น ผลไม้ หรื อลูกของสัตว์ เป็ นต้น
2. ดอกผลนิตินยั เป็ นดอกผลที่มิได้เกิดขึ้นตำมธรรมชำติ แต่เกิดขึ้นจำกกำรที่ผอู ้ ื่นได้ใช้ทรัพย์
และจำกกำรใช้ทรัพย์น้ นั ได้ให้ประโยชน์เป็ นกำรตอบแทน เช่น
ดอกเบี้ย ค่ำเช่ำ เป็ นต้น
35. ข้อใดต่อไปนี้คือส่วนควบ
(1) ที่งอกริ มตลิ่ง (2) ตะเกียบ 1 คู่ (3) วิทยุติดรถยนต์ (4) ปลอกใส่แว่นตำ
ตอบ 1 หน้ำ 208 “ส่วนควบ” ของทรัพย์คือส่วนซึ่งโดยสภำพแห่งทรัพย์หรื อโดยจำรี ตประเพณี แห่ง
ท้องถิ่นเป็ นสำระสำคัญในควำมเป็ นอยู่ของทรัพย์น้ นั และไม่อำจแยกจำกกันได้ นอกจำกจะ
ทำลำยทำให้บุบสลำย หรื อทำให้ทรัพย์น้ นั เปลี่ยนแปลงรู ปหรื อสภำพไป เช่น บ้ำนบนที่ดิน และ
ที่งอกรอมตลิ่งเป็ นส่วนควบของที่ดิน แว่นตำเป็ นส่วนควบของเลนส์ เป็ นต้น
36. ข้อใดต่อไปนี้คือสำธำรณสมบัติของแผ่นดิน
(1) ทรัพย์ที่ศำลสั่งริ บ (2) ทำงหลวง (3) รถยนต์ของทำงรำชกำร (4) เอกสำรของทำงรำชกำร
ตอบ 2 หน้ำ 207 (คำบรรยำย) สำธำรณสมบัติของแผ่นดิน เป็ นทรัพย์นอกพำณิ ชย์อย่ำงหนึ่ง กล่ำวคือ
ในฐำนะเอกชนได้ เพรำะมีกฎหมำยบัญญัติห้ำมโอน แต่ถำ้ ภำยหลังมีกฎหมำยบัญญัติให้โอนได้
ก็ถือว่ำทรัพย์สินนั้นสิ้นสุกจำกกำรเป็ นทรัพย์นอกพำณิ ชย์ เช่น ทำงหลวง ที่ชำยตลิ่ง
สำนักรำชกำรบ้ำนเมือง ฯลฯ
8
LW 104 page 8 1/51

37. ข้อใดไม่ถูกต้อง
(1) บุคคลใดถูกศำลสั่งให้เป็ นบุคคลสำบสูญแล้วกฎหมำยถือว่ำถึงแก่ควำมตำย
(2) เมื่อบุคคลใดถูกศำลสั่งให้เป็ นบุคคลสำบสูญ มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ทำยำท
(3) กำรเป็ นคนสำบสูญอำจมีกำรเพิกถอนคำสั่งได้
ตอบ 3 ดูคำอธิบำยข้อ 11 ประกอบ
38. กำรสิ้นสภำพบุคคลธรรมดำ ได้แก่
(1) ถูกศำลพิพำกษำลงโทษจำคุกตลอดชีวิต (2) สำบสูญ
(3) ล้มละลำย (4) ถูกศำลสัง่ ให้เป็ นบุคคลไร้ควำมสำมำรถ
ตอบ 2 หน้ำ 154-155 สภำพบุคคลย่อมสิ้นสุดลงเมื่อตำย ซึ่งกำรตำยนั้นมี 2 กรณี คือ
1. ตำยธรรมดำ และ 2. ตำยโดยผลของกฎหมำย คือ เมื่อบุคคลนั้นถูกศำลสั่ง
ให้เป็ นบุคคลสำบสูญ และได้ประกำศคำสั่งนั้นในรำชกิจจำนุเบกษำแล้ว
39. นิติบุคคลแสดงเจตนำต่ำงๆได้โดย
(1) ผ่ำนตัวแทน (2) แสดงเจตนำเป็ นลำยลักษณ์อกั ษร (3) แสดงเจตนำได้เอง (4) ผ่ำนผูแ้ ทนนิติบุคคล
ตอบ 4 หน้ำ 167-168 นิติบุคคล เป็ นสิ่ งไม่มีชีวิตจิตใจ จึงไม่สำมำรถที่จะแสดงเจตนำหรื อทำกำรใด
โดยตนเองได้ ดังนั้น กฎหมำยจึงบัญญัติให้นิติบุคคลแสดงเจตนำต่ำงๆ โดยผ่ำนผูแ้ ทนนิติบุคคล
ซึ่งอำจมีคนเดียวหรื อหลำยคนก็ได้ เช่น รัฐมนตรี เป็ นผูแ้ ทนกระทรวง อธิบดีเป็ นผูแ้ ทนกรม
เจ้ำอำวำสเป็ นผูแ้ ทนวัดวำอำรำม หุ้นส่วนผูจ้ ดั กำรเป็ นผูแ้ ทนห้ำงหุ้นส่วนที่จดทะเบียนแล้ว
กรรมกำรเป็ นผู ้ แทนของบริ ษทั จำกัด คณะกรรมกำรของสมำคมเป็ นผูแ้ ทนของสมำคม
คณะกรรมกำรมูลนิธิเป็ นผูแ้ ทนของมูลนิธิ เป็ นต้น
40. ข้อใดถือเป็ นภูมิลำเนำของนิติบุคคล
(1) ที่ต้งั ที่ทำกำร (2) ภูมิลำเนำเฉพำะกำรตำมข้อตกลง (3) สำขำ (4) ถูกทุกข้อ
ตอบ 4 หน้ำ 168-169 ภูมิลำเนำของนิติบุคคลแยกเป็ น 3 ประเภท 1. สิ่ งที่ต้งั สำนักงำนใหญ่ หรื อ
ที่ต้งั ที่ทำกำร 2. ถิ่นที่เลือกเป็ นภูมิลำเนำเฉพำะกำรตำมข้อตกลงหรื อครำสำรจัดตั้ง
3. ถิ่นของสำนักงำนสำขำในส่วนที่กิจกำรนั้นได้ทำขึ้น
41. ผูป้ กครองของผูเ้ ยำว์มีได้ในกรณี
(1) ผูเ้ ยำว์ไม่มีบิดำมำรดำ (2) บิดำมำรดำถูกถอนอำนำจกำรปกครอง
(3) บิดำมำรดำหย่ำขำดจำกกัน (4) ถูกเฉพำะข้อ (1) และ (3)
ตอบ 4 หน้ำ 147 ผูป้ กครองของผูเ้ ยำว์ซ่ ึงจะเป็ นผูแ้ ทนโดยชอบธรรม จะมีได้ใน 2 กรณี คือ
(1) ผูเ้ ยำว์ไม่มีบิดำมำรดำ (กรณี บิดำมำรดำตำยหรื อไม่ปรำกฏบิดำมำรดำ)
(2) บิดำมำรดำถูกถอนอำนำจกำรปกครอง
42. บุคคลธรรมดำที่กฎหมำยมิได้กำหนดภูมิลำเนำให้ได้แก่
(1) คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ (2) คนไร้ควำมสำมำรถ
(3) ผูเ้ ยำว์ (4) ผูถ้ ูกจำคุกตำมคำพิพำกษำถึงที่สุดของศำล
ตอบ 1 หน้ำ 144-145 บุคคลที่กฎหมำยกำหนดภูมิลำเนำให้ได้แก่ 1. ผูเ้ ยำว์ 2. คนไร้ควำมสำมำรถ
3. สำมีและภริ ยำ 4. ข้ำรำชกำร 5. ผูถ้ ูกจำคุกตำมคำพิพำกษำถึงที่สุดของศำล
9

LW 104 page 9 1/51

43. ข้อใดถูกต้อง
(1) บุคคลฝ่ ำยเดียวสำมำรถทำสัญญำได้
( 2) สัญญำเกิดขึ้นเมื่อคำเสนอคำสนองถูกต้องตรงกัน
(3) สัญญำที่ทำขึ้นนั้นจะก่อให้เกิดผลผูกพันในทำงกฎหมำยทุกกรณี
(4) กำรเลิกสัญญำต้องตกลงกันไว้ในเนื้อหำของสัญญำเสมอ
ตอบ 2 หน้ำ 122, 125 สัญญำเกิดขึ้นได้ต้องมีองค์ประกอบ ดังนี้
1. ต้องมีบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่ ำยขึ้นไปเป็ นคู่สัญญำ 2. ต้องมีกำรตกลงยินยอมระหว่ำงคู่สัญญำ
กล่ำวคือคู่สัญญำฝ่ ำยหนึ่งแสดงเจตนำเป็ นคำเป็ นคำเสนอ และอีกฝ่ ำยแสดงเจตนำเป็ นคำสนอง
รับคำเสนอนั้น สัญญำจึงจะเกิดขึ้น 3.ต้องมีวตั ถุประสงค์แห่งสัญญำ ซึ่งวัตถุประสงค์น้ ีจะต้อง
ไม่เป็ นกำรต้องห้ำมตำมกฎหมำยต้องไม่เป็ นกำรพ้นวิสัย และต้องไม่ขดั ต่อควำมสงบเรี ยบร้อย
หรื อศีลธรรมอันดีของประชำชน มิฉะนั้นสัญญำจะตกเป็ นโมฆะไม่ก่อให้เกิดผลผูกพันในทำงกฎหมำย
44. กำรกระทำที่เป็ นโมฆียะจะมีผลคือ
(1) กำรให้สัตยำบันไม่ได้ (2) กำรกล่ำวอ้ำงไม่กำหนดเวลำ
(3) สมบูรณ์จนกว่ำจะบอกล้ำง (4) ผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกคนกล่ำวอ้ำงได้
ตอบ 3 หน้ำ 116 นิติกรรมที่เป็ นโมฆียะ คือ นิ ติกรรมซึ่งเมื่อได้ทำขึ้นมำแล้วจะมีผลใช้บงั คับกันได้
ตำมกฎหมำย ซึ่งอำจมีกำรบอกล้ำงให้ตกเป็ นโมฆะ หรื ออำจมีกำรสัตยำบันเพื่อให้
นิ ติกรรมนั้นมีผลสมบูรณ์ก็ได้ ( ข้อ (1), (2) และ(4) เป็ นผลของนิติกรรมที่เป็ นโมฆะ)
45. ข้อใดมิใช่นิติเหตุ
(1) กำรเกิด (2) กำรตำย (3) กำรให้ (4) กำละมิด
ตอบ 3 หน้ำ 125 – 129 นิติเหตุ หรื อเหตุที่ก่อให้เกิดผลทำงกฎหมำย โดยอำจจะเป็ นเหตุที่เกิดจำก
พฤติกำรณ์ตำมธรรมชำติ เช่น กำรเกิด กำรตำย หรื อเป็ นเหตุที่เกิดจำกกำรงำนนอกสั่ง ลำภมิควรได้
และละเมิด หรื ออำจจะเป็ นเหตุที่ได้มำตำม ป.พ.พ. ลักษณะทรัพย์และสิ น เช่น
กำรได้กรรมสิ ทธิ์โดยหลักส่วนครบ เป็ นต้น (กำรให้เป็ นนิติกรรมประเภทหนึ่ง)
46. ข้อใดถูกต้อง
(1) คนไร้ควำมสำมรถทำนิติกรรมรับรองบุตรได้
(2) คนไร้ควำมสำมำรถทำนิติกรรมรับกำรปลดหนี้จำกเจ้ำหนี้ไม่ได้
(3) คนไร้ควำมสำมำรถรับรองกำรสมรสได้
(4) คนไร้ควำมสำมำรถทำนิติกรรมที่เป็ นกำรอันจำเป็ นในกำรดำรงชีพได้ตำมสมควร
ตอบ 2 หน้ำ 150 -151 คนไร้ควำมสำมำทำนิติกรรมใดๆ นิติกรรมนั้นจะตกเป็ นโมฆียะทั้งสิ้นไม่ว่ำ
จะได้ทำนิติกรรมในขณะจริ ตวิกลหรื อไม่ก็ตำม หรื อได้ทำนิติกรรมโดยผูอ้ นุบำลจะได้ยินยอมหรื อ
ไม่ก็ตำม (คนไร้ควำมสำมำรถ กฎหมำยห้ำมทำกำรสมรส ถ้ำมีกำรฝ่ ำฝื น กำรสมรสเป็ นโมฆะ)
47. ข้อใดถูกที่สุด
(1) ทำรกในครรภ์มำรดำถือเป็ นทำยำทแล้ว
(2) สภำพบุคคลเริ่ มแต่เมื่อคลอด
(3) เมื่อทำรกคลอดแล้วปรำกฏว่ำมีกำรเต้นของหัวใจเช่นนี่ ทำรกมีสภำพบุคคล
(4) เมื่อทำรกคลอดแล้วต้องมีกำรหำยใจอย่ำงน้อย 1 ชัว่ โมง จึงจะถือว่ำมีสภำพบุคคล
10
LW 104 page 10 1/51

ตอบ 3 หน้ำ 137-139 สภำพบุคลย่อมเริ่ มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็ นทำรก ซึ่งกำรอยู่รอด


เป็ นทำรกนั้น อำจดูที่กำรเต้นของหัวใจ กำรเคลื่อนไหวของกล้ำมเนื้อหรื อดูที่กำรหำยใจ
ซึ่งกำรหำยใจนั้นไม่จำกัดว่ำจะมีระยะเวลำเท่ำใด ดังนั้นทำรกที่อยู่ในครรภ์มำรดำจึงยังไม่มี
สภำพบุคคล
48. ทำรกในครรภ์มำรดำ ขณะที่เจ้ำมรดกถึงแก่ควำมตำย
(1) มีสภำพบุคคล
(2) ไม่มีสิทธิรับมรดก
(3) มีสิทธิรับมรดกหำกเกิดมำรอดอยู่ภำยใน 310 วันนับแต่วนั เจ้ำมรดกตำย
(4) มีสิทธิรับมรดกถ้ำเจ้ำมรดกทำพินยั กรรมให้
ตอบ 1 หน้ำ 139 ทำรกในครรภ์มำรดำยังไม่มีสภำพบุคคล (ดูคำอธิบำยข้อ 47. ประกอบ) แต่สำมำรถมี
สิ ทธิต่ำง ๆ ได้ เช่น สิ ทธิในกำรรับมรดก ถ้ำหำกว่ำภำยหลังเกิดมำแล้วอยู่รอดเป็ นทำรก
49. นิติบุคคลมีสิทธิ
(1) เป็ นโจทก์ฟ้องคดีแพ่ง (2) รับโทษทำงอำญำทุกโทษ (3) รับรองบุตร (4) สมรส
ตอบ 1 หน้ำ 166-167 นิติบุคคลมีสิทธิหน้ำที่ภำยในขอบวัตถุประสงค์ของตน เช่น อำจเป็ นโจทก์
ฟ้องคดี หรื ออำจถูกฟ้องต่อศำล อีกทั้งยังมีสิทธิหน้ำที่เหมือนบุคคลธรรมดำ เว้นแต่สิทธิและหน้ำที่
ซึ่งโดยสภำพจะพึงเป็ นได้แก่บุคคลธรรมดำเท่ำนั้นเช่น กำรสมรส กำรกำรรับรองบุตร ฯลฯ
50. ข้อใดมิใช่ผูแ้ ทนนิติบุคคล
(1) กรรมกำรสมำคมเป็ นผูแ้ ทนสมำคม (2) พระในวัดเป็ นผูแ้ ทนวัด
(3) หุ้นส่วนผูจ้ ดั กำรเป็ นผูแ้ ทนห้ำงหุ้นส่วนจำกัด (4) อธิ บดีเป็ นผูแ้ ทนกรม
ตอบ 2 ดูคำอธิบำยข้อ 39. ประกอบ
51. ผูเ้ ยำว์ทำนิติกรรมต่อไปนี้ได้โดยไม่ตอ้ งรับใบอนุญำตจำกศำล
(1) ทำนิติกรรมเมื่ออำยุครบ 15 ปี (2) ประนีประนอมยอมควำม
(2) ให้กยู้ ืมเงิน (4) ขำยอสังหำริ มทรัพย์
ตอบ 1 หน้ำ 149 – 150 นิติกรรมที่ผูเ้ ยำว์สำมำรถทำได้เองโยไม่ตอ้ งรับใบอนุญำตจำกศำล ได้แก่
1. นิติกรรมที่ทำให้ผเู ้ ยำว์ได้ซ่ ึงสิ ทธิ หรื อหลุดพ้นจำกหน้ำที่ เช่น กำรทำนิติกรรมรับกำรปลดหนี้
จำกเจ้ำหนี้ โดยปรำศจำดเงื่อนไขหน้ำหรื อภำระติดพัน
2. นิติกรรมที่ผูเ้ ยำว์ตอ้ งทำเองเฉพำะตัว เช่น กำรจดทะเบียนรับรองบุตร
3. นิติกรรมที่สมแก่ฐำนนุรูปและจำเป็ นในกำรดำรงชีวิตพอสมควร เช่น ซื้ออำหรำรับประทำน
4. ผูเ้ ยำว์อำจทำพินยั กรรมได้เมื่ออำยุครบ 15 ปี บริ บูรณ์
52. ข้อใดที่คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ ทำนิติกรรมได้ดว้ ยตนเอง
(1) กำรนำทรัพย์ไปลงทุน (2) กูย้ ืมเงิน
(3) ให้กยู้ ืมเงิน (4) เช่ำบ้ำนอยู่อำศัยเป็ นระยะเวลำ 1 ปี
ตอบ 4 หน้ำ 152 คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ โดยหลักแล้วสำมำรถทำนิติกรรมได้ทุกประเภท
ยกเว้นบำงประเภทที่ได้รับกำรยินยอมจำกผูพ้ ิทกั ษ์เสี ยก่อน เช่น กำรนำทรัพย์สินไปลงทุน
กูย้ ืมเงิน หรื อ ให้กยู้ ืมเงิน เช่ำหรื อให้เช่ำอสังหำริ มทรัพย์ มีกำหนดระยะเวลำเกินกว่ำ 6 เดือน
หรื ออสังหำริ มทรัพย์เกินกว่ำ 3 ปี เป็ นต้น
11
LW 104 page 11 1/51

53. คนไร้ควำมสำมำรถทำนิติกรรมข้อใดได้ หำกผูอ้ นุบำลยินยอม


(1) นิติกรรมที่เป็ นกำรเฉพำะตัว (2) นิติกรรมที่เกี่ยวกับสังหำริ มทรัพย์
(3) นิติกรรมที่ได้ไปซึ่งสิ ทธิ (4) ทำนิติกรรมใดๆ ก็ไม่ได้ท้งั สิ้น
ตอบ 4 ดูคำอธิบำยข้อ 46. ประกอบ
54. ข้อใดคือผูห้ ย่อนควำมสำมำรถ
(1) คนล้มละลำย (2) คนตำบอดขำยล็อตเตอรี่ (3) คนไร้ควำมสำมำรถ (4) คนสำบสูญ
ตอบ 3 หน้ำ 146, (คำบรรยำย) ผูห้ ย่อนควำมสำมำรถ คือ บุคคลบำงประเภทที่กฎหมำยได้จำกัด
หรื อตัดทอนควำมสำมำรถปัจจุบนั มี 3 ประเภท คือ 1. ผูเ้ ยำว์ 2. คนไร้ควำมสำมำรถ
3. คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ
55. นิติกรรมข้อใดที่ผูเ้ ยำว์ทำได้เอง
(1) นำยเออำยุ 15 ปี ทำนิติกรรมรับกำรปลดหนี้จำกเจ้ำหนี้โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ
(2) นำยหนึ่งอำยุ 14 ปี ทำพินยั กรรม
(3) นำยหนุ่มกับนำงสำวสวยอำยุ 18 ปี ทำกำรสมรสกันเองโดยบิดำมำรดำไม่ยินยอม (4) ถูกทุกข้อ
ตอบ 1 ดูคำอธิบำยข้อ 51 ประกอบ
56. โมฆะกรรม หมำยถึง นิติกรรมที่
(1) ตกเป็ นอันเสี ยเปล่ำใช้บงั คับไม่ได้ เสมือนหนึ่งมิได้อะไรเกิดขึ้นเลย
(2) ตกเป็ นอันเสี ยเปล่ำใช้บงั คับไม่ได้ แต่อำจได้รับสัตยำบันให้กบั สมบูรณ์ได้
(3) มีผลในทำงกฎหมำยผูกพันกัน แต่อำจถูกกล่ำวอ้ำงได้
(4) มีผลในทำงกฎหมำยผูกพันกัน แต่อำจถูกบอกล้ำงได้
ตอบ 1 หน้ำ 155 โมฆะกรรม หมำยถึง นิติกรรมที่ตกเป็ นอันเสี ยป่ ำวใช้บงั คับกันไม่ได้เลย เสมือนหนึ่งว่ำ
มิได้มีอะไรเกิดขึ้นเลย และจะให้สัตยำบันไม่ได้ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยคนใดคนหนึ่งจะยกเอำ
ควำมเสี ยเปล่ำแห่งโมฆะกรรมนั้นขึ้นกล่ำวอ้ำงได้
57. บุคคลที่อำยุ 16 ปี บิบูรณ์แล้ว
(1) มีสิทธิสมรสแต่ยงั ไม่บรรลุนิติภำวะ (2) มีสิทธิสมรสและบรรลุนิติภำวะ
(3) บิดำมำรดำทั้งสองฝ่ ำยต้องให้ควำมยินยอมจึงจะสมรสได้ (4) ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 4 หน้ำ146 บุคคลตัวย่อมบรรลุนิติภำวะในกรณี ใดกรณี หนึ่ง คือ 1. เมื่อมีอำยุครบ 20 ปี บริ บูรณ์
หรื อ 2. เมื่อได้ทำกำรสมรสในขณะที่มีอำยุครบ 17 ปี บริ บูรณ์ หรื อ อำยุไม่ครบ 17 ปี บริ บูรณ์
แต่รับอนุญำตจำกศำลให้ทำกำรสมรสได้
58. นำยน้อยไม่รู้ว่ำเกิดเมื่อใดทรำบแต่เกิดปี พ ศ 2520 ดังนี้ตำมกฎหมำยถือว่ำนำยน้อยเกดเมื่อใด
(1) 1 มกรำคม 2520 (2) แล้วแต่นำยอำเภอท้องที่จะกำหนดว่ำเกิดเมื่อใดในปี 2520
(3) 1 เมษำยน 2520 (4) แล้วแต่นำยน้อยจะเลือกว่ำเกิดเมื่อใดในปี พ ศ 2520
ตอบ 1 หน้ำ 140 (คำบรรยำย) ในกรณที่ไม่รู้ว่ำบุคคลเกิดวันใด เดือนใด แต่รู้ปีเกิด ให้ถือว่ำบุคคลนั้น
ได้เกในวันต้นปี ซึ่งเป็ นปี ที่บุคคลนั้นเกิด ในกรณี ที่เกิดก่อนวันที่ 18 ตุลำคม 2438 ให้ถือเอำ
วันที่ 1 เมษำยน เป็ นวันต้นปี หำกเกิดภำยหลังจำกนั้นให้ถือเอำวันที่ 1 มกรำคม เป็ นวันต้นปี
เช่น นำยน้อยไม่รู้ว่ำเกิดเมื่อใดทรำบแต่เกิดปี พ ศ 2520 ดังนี้ถือว่ำนำยน้อยเกิด
เมื่อวันที่ 1 มกรำคม 2520
12
LW 104 page 12 1/51

59. ผลของกำรเป็ นคนไร้ควำมสำมำรถเริ่ มตั้งแต่เมื่อใด


(1) เริ่ มวันที่วิกลจริ ต (2) เริ่ มวันที่ฟ้องศำล
(3) เริ่ มวันที่ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ (4) เริ่ มวันที่ศำลสั่ง
ตอบ 4 หน้ำ 150 (คำบรรยำย) กำรเป็ นคนไร้ควำมสำมำรถนั้น จะต้องประกอบด้วยหลัดเกณฑ์
2 ประกำรคือ 1. เป็ นคนวิกลจริ ต และ 2. ถูกศำลสั่งให้เป็ นคนไร้ควำมสำมำรถ และเมื่อ
ศำลสั่งให้บุคคลใดเป็ นบุคคลไร้ควำมสำมำรถแล้ว ผลของกำรเป็ นคนไร้ควำมสำมำรถในเริ่ มนับแต่
วันที่ศำลสั่ง (กำรที่ตอ้ งประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ เป็ นเรื่ องของกำรปฏิบัติเท่ำนั้น
60. สิ ทธิหมำยถึง
(1) กำรที่บุคคลทุกคนต้องปฏิบตั ิตำมที่กฎหมำยกำหนด (2) หน้ำที่ที่ทุกคนต้องปฏิบตั ิตำม
(3) ประโยชน์ที่กฎหมำยรับรองและคุม้ ครองให้ (4) ถูกทุกข้อ
ตอบ 3 หน้ำ 105 สิ ทธิ คือ ประโยชน์ที่กฎหมำยรับรองและคุม้ ครองให้ แบ่งออกเป็ น
1. สิ ทธิในตัวบุคคล เช่น สิ ทธิในร่ ำงกำย อนำมัย ชื่อเสี ยง ควำมคิดเห็น
2. สิ ทธิในทรัพย์สิน เช่น ทรัพย์สิทธิ สิ ทธิที่เรี ยกร้องให้ชำระหนี้
3. สิ ทธิในครอบครัว เช่น สิ ทธิในกำรรับมรดก 4. สิ ทธิในทำงกำรเมือง เช่น สิ ทธิ เลือกตั้ง
61. บุคคลวิกลจริ ตทำนิติกรรมโดยที่ไม่มีอำกำรวิกลจริ ตและคู่กรณี อีกฝ่ ำยหนึ่งไม่รู้ว่ำบุคคลหนึ่งวิกลจริ ต
นิติกรรมที่ทำมีผลเป็ น
(1) โมฆะ (2) โมฆียะ (3) สมบูรณ์ (4) ไม่มีผลทำงกฎหมำยแต่อย่ำงใด
ตอบ 3 หน้ำ 150 คนวิกลจริ ตศำลยังมิได้สั่งให้เป็ นคนไร้คมสำมำรถทำนิติกรรมใด ๆ นิติกรรมนั้น
จะมีผลสมบูรณ์ เว้นแต่จะเป็ นโมฆียะก่อต่อเมื่อ 1 ได้ทำนิติกรรมในขณะที่จริ ตวิกล และ
2. คู่กรณี อีกฝ่ ำยหนึ่งได้รู้อยู่แล้วในขณะทำนิติกรรมว่ำผูน้ ้ นั เป็ นวิกลจริ ต
62. ควำมผิดใดแม้ทำนอกรำชอำนำจักรและไม่ว่ำบุคคลจะมีสัญชำติใด ศำลไทยมีอำนำจพิจำรณำคดี
(1) ควำมผิดตำม พ ร บ ยำเสพติด (2) ควำมผิดฐำนลักพำคนข้ำมชำติ
(3) ควำมผิดฐำนปล้นทรัพย์ซ่ ึงกระทำในทะเลหลวง (4) ถูกทุกข้อ
ตอบ 3 หน้ำ 88 ประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ 7 ได้บัญญัติอำนำจแก่ศำลไทยที่จะพิจำรณำ
พิพำกษำคดีที่แม้จะได้กระทำนอกรำชอำณำจักร และผูก้ ระทำควำมผิดจะมีสัญชำติใดก็ตำม
1. ควำมผิดเกี่ยวกับควำมมัน่ คงแห่งรำชอำณำจักร
2. ควำมผิดเกี่ยวกับกำรปลอม และกำรแปลงเหรี ยญกษำปณ์ ธนบัตรหรื อสิ่ งอื่นใด
3. ควำมผิดฐำนชิงทรัพย์ และปล้นทรัพย์ซ่ ึงได้กระทำในทะเลหลวง
63. ควำมผิดอำญำลหุโทษ คือควำมผิดที่กฎหมำยระวำงโทษ (1) จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน
(2) จำคุกไม่เกิน 2 เดือน (3) จำคุกไม่เกิน 3 เดือน (4) จำคุกไม่กิน 4 เดือน
ตอบ 1 หน้ำ 67 ควำมผิดหลุโทษเป็ นควำมผิดเล็ก ๆ น้อย ๆ มีอตั รำโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรื อ
ปรับไม่เกิน 1000 บำท หรื อทั้งจำทั้งปรับ
64. ศำลแพ่งมีคำพิพำกษำถึงที่สุด ให้นำยดำชำระหนี้ให้แก่นำยงก เมื่อพ้นเวลำที่ศำลกำหนดนำยดำไม่ยอมชำระหนี้ดงั นี้
(1) นำยงกเข้ำมำยึดทรัพย์ของนำยดำชำระหนี้ได้
(2) นำยกให้เจ้ำพนักงำนตรวจจับตัวนำยดำดำเนินคดี
(3) นำยงกนำเจ้ำพนักงำนบังคับคดียึดทรัพย์นำยดำได้
(4) ผิดทุกข้อ
13
LW 104 page 13 1/51

ตอบ 4 หน้ำ 76, 245 ในกรณี ที่ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ภำยในกำหนดระยะเวลำที่ศำลกำหนด


ตำมคำพิพำกษำจะต้องขอให้ศำลออกหมำยบังคับคดียึดทรัพย์สินของจำเลยก่อน จำกนั้นจึงจะ
มีกำรบังคับคดีตำมคำพิพำกษำคือให้เจ้ำพนักงำนบังคับคดียึดทรัพย์ของลูกหนี้เพื่อนำออกขำย
ทอดตลำด
65. ข้อใดเป็ นกำรยกเลิกกฎหมำย
(1) กฎหมำยนั้นประกำศใช้มำครบ 100 ปี แล้ว
(2) มีกฎหมำยที่มีลกั ษณะเดียวกันระบุยกเลิก
(3) เมื่อได้มีกำรประกำศพระรำชกำหนด แต่ต่อมำรัฐสภำไม่อนุมตั ิ (4) ถูกเฉพำะข้อ (2) และ (3)
ตอบ 4 หน้ำ 82-83 เมื่อได้เริ่ มใช้กฎหมำยแล้ว กฎหมำยก็จะใช้บงั คับอยู่ต่อไปจนกว่ำจะได้มีกำร
ยกเลิก ซึ่งอำจจะเป็ นกำรยกเลิกโดยตรง เช่น มีกฎมำยใหม่ที่มีลกั ษณะเช่นเดียวกับระบุยกเลิกไว้
โดยตรง หรื อเมื่อได้มีกำรประกำศใช้พระรำชกำหนด แต่ต่อมำรัฐสภำไม่อนุมตั ิพระรำชกำหนดนั้น
เป็ นต้น หรื ออำจจะเป็ นกำรยกเลิกกฎหมำยโดยปริ ยำยก็ได้ เช่น กรณี ที่กฎหมำยเก่ำมีควำมขัดแย้ง
กับกฎหมำยใหม่ ดังนี้ให้ถือว่ำเป็ นกำรยกเลิกกฎหมำยเก่ำไปโดยปริ ยำย เป็ นต้น
66. โทษทำงอำญำที่รองจำกโทษจำคุก
(1) กักกัน (2) ปรับ (3) กักขัง (4) ยึดทรัพย์
ตอบ 3 หน้ำ 16 สภำพบังคับในมำงกฎหมำยอำญำ คือ โทษนั้น เรี ยงจำกหนักที่สุดไปเบำที่สุด ได้แก่
1. ประหำรชีวิต 2. ปรับ 3. กักขัง 4. ปรับ 5. ริ บทรัพย์สิน
67. นำยดำขับรถโดยประมำทเป็ นเหตุ ให้ชนนำยขำวถึงแก่ควำมตำย คดีน้ ีเป็ นควำมผิดอำญำแผ่นดิน
ดังนี้เมื่อนำยดำชดใช้ค่ำเสี ยหำยให้บิดำมำรดำของนำยขำวแล้ว ถือว่ำคดีน้ ี
(1) ถือว่ำคดีอำญำเลิกกัน (2) บิดำมำรดำนำยขำวถอนฟ้องได้
(3) ศำลต้องจำหน่ำยคดี (4) คดีอำญำยังไม่ระงับ
ตอบ 4 (คำบรรยำย) สิ ทธินำคดีอำญำมำฟ้องย่อมระงับไปดังต่อไปนี้ 1. โดยควำมตำยของผูก้ ระทำผิด
2. ในคดีควำมผิดต่อส่วนตัว เมื่อได้ถอนคำร้องทุกข์ ถอนฟ้อง หรื อยอมควำมกันโดยถูกต้อง
ตำมกฎหมำย 3. เมื่อคดีเลิกกัน เช่น คดีมีโทษปรับสถำนเดียว และผูก้ ระทำผิด
ยอมเสี ยค่ำปรับในอัตรำอย่ำงสูงสำหรับควำมผิดนั้น ( ป.ว.อำญำ มำตรำ 39)
68. บุคคลมีอำนำจเป็ นโจทก์ฟ้องคดีอำญำ ได้แก่
(1) ผูเ้ สี ยหำย (2) พนักงำนอัยกำร
(3) พนักงำนสอบสวน (4) ถูกเฉพำะข้อ (1) และ (2)
ตอบ 4 หน้ำ 73 ในกำรฟ้องคดีอำญำนั้น บุคคลผูม้ ีสิทธิฟ้องคดีน้ นั ได้แก่
1. พนักงำนอัยกำร ซึ่งจะฟ้องคดีได้ก็ต่อเมื่อมีกำรสอบสวนของพนักงำนสอบสวนแล้ว
2. ผูเ้ สี ยหำย ซึ่งในกรณี ที่ผเู ้ สี ยหำยเป็ นโจทก์ฟ้องคดีอำญำด้วยตัวเองนั้น ศำลจะต้องไต่สวน
มูลฟ้องก่อนเสมอ เพรำะเป็ นกำรฟ้องคดีโดยไม่มีกำรสอบสวน
69. ผูเ้ สี ยหำยที่มีสิทธิขอรับค่ำตอบแทนจำกกรมคุม้ ครองสิ ทธิและเสรี ภำพ จะต้องเป็ นผูเ้ สี ยหำยในควำมผิด
เกี่ยวกับ
(1) ทรัพย์สิน (2) ถูกฆ่ำถูกทำร้ำย
(3) ถูกบุกรุ กที่ดิน (4) ควำมผิดทุกประเภท
14
LW 104 page 14 1/51

ตอบ 2 ตำม พ ร บ ค่ำตอบแทนผูเ้ สี ยหำยและค่ำใช้จ่ำยแก่จำเลยในคดีอำญำ พ ศ 2544


มำตรำ 17 ได้บัญญัติว่ำ ควำมผิดกระทำต่อผูเ้ สี ยหำย อันอำจขอรับค่ำตอบแทนได้ต้องเป็ น
ควำมผิดตำมประมวลกฎหมำยอำญำ ได้แก่ 1. ควำมผิดเกี่ยวกับเพศ 2. ควำมผิดต่อชีวิต
3. ควำมผิดต่อร่ ำงกำย 4. ควำมผิดฐำนทำให้แท้งลูก 5. ควำมผิดฐำนทอดทิ้งเด็ก
คนป่ วยเจ็บ และคนชรำ
70. นำยชัว่ ไปลวงผูห้ ญิงมำให้นำยเลวกับพวกข่มขืนกระทำชำเรำ โดยกฎหมำยระวำงโทษจำคุกตั้งแต่ 15 ปี
ถึงตลอดชีวิตโดยนำยชัว่ ไม่ได้ข่มขืนด้วยแต่ดื่มสุรำอยู่หน้ำห้อง ดังนี้นำยชัง่ ต้องรับผิดร่ วมกับนำเลวกับพวก
ในฐำนเป็ น
(1) ผูส้ นับสนุน (2) ผูช้ ่วยเหลือ (3) ผูใ้ ช้ (4) ตัวกำร
ตอบ 4 หน้ำ 67 ควำมผิดฐำนเป็ นตัวกำรนั้นหมำยถึงกำรที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปร่ วมกระทำควำมผิด
ด้วยกัน ซึ่งอำจเป็ นกำรร่ วมกระทำส่วนหนึ่งของกำรกระทำทั้งหมดที่รวมกันเป็ นควำมผิดขึ้น
หรื ออำจเป็ นกำรแบ่งหน้ำที่กนั ทำก็ได้ ดังนั้นนำยชัง่ ถึงแม้จะไม่ได้ข่มขืนผูห้ ญิง แต่กำรที่ยำนชัว่ ได้
ไปลวงผูห้ ญิงมำให้นำยเลวกับพวกข่มขืนกระทำชำเรำ ควำมผิดที่เกิดขึ้นถือว่ำนำยชัว่ มีส่วนร่ วม
ในกำรกระทำควำมผิดนั้นด้วย
71. นำยดำจ้ำงนำยขำวไปลักพระพุทธรู ปบ้ำนนำยรวยขณะนำยขำวอยู่หน้ำบ้ำนนำยดำเพื่อจะปี นเข้ำไปลัก
ถูกงูกัดตำยเสี ยก่อน ดังนี้ นำยดำ
(1) ไม่มีควำมผิดเพรำะนำยขำวยังไม่ได้ลกั (2) มีควำมผิด แต่ไม่ตอ้ งรับโทษ
(3) มีควำมผิดเป็ นผูใ้ ช้ รับโทษ 1 ใน 3 (4) ผิดทุกข้อ
ตอบ 3 หน้ำ 68 ควำมผิดฐำนเป็ นผูใ้ ช้น้ นั ถ้ำผูถ้ ูกใช้ได้กระทำควำมผิดผูใ้ ช้ตอ้ งรับโทษเสมือนเป็ นตัวกำร
ถ้ำควำมผิดมิได้กระทำลง ไม่ว่ำจะเป็ นเพรำะถูกใช้ไม่ยอมกระทำ ยังไม่ได้กระทำหรื อเหตุอื่นใด
ผูใ้ ช้ตอ้ งระวำงโทษเพียงหนึ่งในสำมของโทษที่กำหนดไว้สำหรับควำมผิดนั้น
72. ข้อใดไม่เป็ นควำมผิดอำญำ
(1) นำยซิ่งขับรถยนต์โดยประมำทชนรถยนต์ของ น ส ดวงดำวเสี ยหำย
(2) นำยซิ่งขับรถยนต์โดยประมำทชนสุนขั ของ น ส ดวงดำวตำย
(3) นำยซิ่งขับรถยนต์เจตนำชนรถของ น ส ดวงดำวให้เสี ยหำย
(4) ถูกเฉพำะข้อ (1) และ (2)
ตอบ 4 หน้ำ 58 62 กำรกระทำที่ถือว่ำเป็ นควำมผิดทำงอำญำนั้น จะต้องเป็ นกำรกระทำที่กฎหมำย
ที่ใช้ในขณะกระทำได้บัญญัติว่ำเป็ นควำมผิด และได้กำหนดโทษไว้ ควำมผิดฐำนทำให้เสี ยทรัพย์
ตำมประมวลกฎหมำยอำญำมำตรำ 358 จะเป็ นควำมผิดก็ต่อเมื่อได้กระทำโดยเจตนำเท่ำนั้น
ดังนั้นกำรกระทำโดยประมำททำให้ทรัพย์สินของผูอ้ ื่นเสี ยหำย ผูก้ ระทำจึงไม่มีควำมผิดทำงอำญำ
เพรำะกฎหมำยมิได้บญ ั ญัติว่ำเป็ นควำมผิดนัน่ เอง
73. เมื่อศำลมีคำพิพำกษำให้ถึงที่สุดให้จำคุก เจ้ำพนักงำนผูม้ ีหน้ำที่ดำเนินกำรให้เป็ นไปตำมคำพิพำกษำคือ
(1) เจ้ำหน้ำที่ตำรวจ (2) เจ้ำหน้ำที่ศำล
(3) เจ้ำพนักงำนบังคับคดี (4) เจ้ำพนักงำนรำชทัณฑ์
ตอบ 4 (เลขพิมพ์ 44289 หน้ำ 99) ในคดีอำญำ เมื่อถึงที่สุดและศำลสั่งพิพำกษำลงโทษจำเลย
ให้ประหำรชีวิตหรื อจำคุก ก็จะเป็ นหน้ำที่ของ “เจ้ำหน้ำที่ของฝ่ ำยรำชทัณฑ์” จะเป็ นผูด้ ำเนินกำร
บังคับคดีให้เป็ นไปตำมคำพิพำกษำต่อไป
15
LW 104 page 15 1/51

74. นำยกล้ำเดินมำตำมถนน เห็นรถยนต์จอดอยู่มีเด็กกำลังดิน้ รน เนื่องจำกอำกำศร้อนและขำดอำกำศหำยใจ


นำยกล้ำจึงเข้ำไปเปิ ดประตูรถยนต์แต่เปิ ดไม่ได้เพรำะถูกล็อกไว้ นำยกล้ำจึงใช้ไม้ทุบกระจกรถแตกช่วยเด็ก
ออกมำได้ดงั นี้ กำรกระทำของนำยกล้ำ
(1) กระทำผิดด้วยควำมจำเป็ นไม่ตอ้ งรับโทษ (2) เป็ นกำรป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมำยไม่มีควำมผิด
(3) เป็ นกำรบันดำลโทสะไม่ตอ้ งรับโทษ (4) มีควำมผิดเจตนำทำให้ทรัพย์ผูอ้ ื่นเสี ยหำย
ตอบ 1 หน้ำ 63 กำรกระทำของนำยกล้ำ เป็ นกำรกระทำควำมผิด (ฐำนทำให้เสี ยทรัพย์) แต่เป็ นกำร
กระทำควำมผิดด้วยควำมจำเป็ น เพรำะเพรำะเพื่อให้ผูอ้ ื่นพ้นจำกภยันตรำยที่ใกล้จะถึงและไม่สำมำรถ
หลีกเลี่ยงให้พน้ โดยวิธีอื่นใดได้ เมื่อภยันตรำยนั้นตนมิได้ก่อให้เกิดขึ้นเพรำะควำมผิดของตน
จึงได้รับกำรยกเว้นโทษ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ 67
75. กำรอุดช่องว่ำงแห่งกฎหมำยตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มีลำดับขั้นตอนดังนี้
(1) กำรเทียบเคียงกฎหมำยที่ใกล้เคียง-จำรี ตประเพณี -หลักกฎหมำยทัว่ ไป
(2) จำรี ตประเพณี -กำรเทียบเคียงกฎหมำยที่ใกล้เคียง-หลักกฎหมำยทัว่ ไป
(3) กำรเทียบเคียงกฎหมำยที่ใกล้เคียง-หลักกฎหมำยทัว่ ไป-จำรี ตประเพณี
(4) หลักกฎหมำยทัว่ ไป-จำรี ตประเพณี -กำรเทียบเคียงกฎหมำยที่ใกล้เคียง
ตอบ 2 หน้ำ 102 - 103 กฎหมำยกำหนดวิธีกำรอุดช่องว่ำงแห่งกฎหมำยไว้ 3 วิธี ตำมลำดับกล่ำวคือ
ถ้ำไม่มีกฎหมำยมำใช้ปรับกับคดีได้ให้ใช้จำรี ตประเพณี แห่งท้องถิ่นวินิจฉัยคดีน้ นั ก่อน ถ้ำไม่มี
จำรี ตประเพณี ดงั กล่ำวก็ให้ใช้กำรเปรี ยบเทียบบทกฎหมำยที่ใกล้เคียงอย่ำงยิ่ง ซึ่งเป็ นกำรใช้กฎหมำย
โดยกำรเทียบเคียงกับกฎหมำยอื่นที่มีควำมคล้ำยคลึงกันหรื อใกล้เคียงกัน แล้วถ้ำบทใกล้เคียง
อย่ำงยิง่ ก็ไม่มีดว้ ยแล้วก็ตอ้ งใช้หลักกฎหมำยทัว่ ไปมำปรับกับคดี
76. รัฐธรรมนูญ พ ศ 2550 กำหนดให้นำยกรัฐมนตรี ตอ้ งแต่งตั้งจำก
(1) หัวหน้ำพรรคกำรเมืองเท่ำนั้น (2) สมำชิกสภำผูแ้ ทนรำษฎรแบบสัดส่วน
(3) สมำชิกสภำผูแ้ ทนรำษฎร (4) ผูท้ ี่เคยดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่ำอธิบดีมำก่อน
ตอบ 3 รัฐธรรมนูญฯ พ ศ 2550 มำตรำ 172 กำหนดให้นำยกรัฐมนตรี ตอ้ งแต่งตั้งจำก
สมำชิกสภำผูแ้ ทนรำษฎรเท่ำนั้น โดยให้สภำผูแ้ ทนรำษฎรพิจำรณำให้ควำมเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควร
ได้รับแต่งตั้งเป็ นนำยกรัฐมนตรี ให้แล้วเสร็จภำยใน 30 วันนับแต่วนั ที่มีกำรเรี ยกประชุมรัฐสภำ
เป็ นครั้งแรก
77. ข้อใดไม่ใช่วตั ถุประสงค์ของกฎหมำยปกครอง
(1) เพื่อปกครองบังคับพลเมืองที่อยู่ในปกครอง
(2) จัดบริ กำรสำธำรณะเพื่อสนองควำมต้องกำรของปะชำชน
(3) จัดระเบียบกำรปกครองภำยในรัฐ
(4) กำหนดควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยปกครองกับเอกชน
ตอบ 1 หน้ำ 54 กฎหมำยปกครอง คือ กฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดระเบียบกำรปกครองหรื อกำรบริ หำร
ภำยในรัฐ ซึ่งเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับกำรจัดกำรสำธำรณะ ( Public Service ) ในด้ำนต่ำง ๆ
เพื่อสนองควำมต้องกำรส่วนรวมของประชำชนซึ่งเป็ นภำรกิจของรัฐ ทั้งยังเป็ นกฎหมำยที่วำง
หลักกำรว่ำด้วยควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยปกครองกับเอกชน
78. กำรยื่นคำขอเป็ นผูจ้ ดั กำรมรดก ต้องทำเป็ น
(1) คำฟ้อง (2) คำร้อง (3) ประกำศ (4) ผิดทุกข้อ
16
LW 104 page 16 1/51

ตอบ 2 หน้ำ 75, (คำบรรยำย) คดีไม่มีขอ้ พิพำท เป็ นคดีที่ไม่มีกำรโต้แย้งสิ ทธิกนั แต่เป็ นเรื่ องที่บุคคล
มีควำมจำเป็ นที่จะใช้สิทธิทำงศำล เพื่อให้ศำลแสดงสิ ทธิของตนหรื อให้ตนมีสิทธิอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง
เช่น กำรยื่นคำขอเป็ นผูจ้ ดั กำรมรดก เป็ นต้น บุคคลนั้นจะต้องดำเนินกำรโดยกำรยื่นเป็ นคำร้องต่อศำล
79. ควำมผิดทำงอำญำอันยอมควำมได้ ผูเ้ สี ยหำยจะต้องร้องทุกข์ภำยในระยะเวลำเท่ำใดนับแต่วนั กระทำควำมผิด
มิฉะนั้นจะทำให้ขำดอำยุควำมไม่สำมำรถฟ้องให้ศำลลงโทษผูก้ ระทำควำมผิดได้
ตอบ 3 (คำบรรยำย) ในกรณี ควำมผิดอันยอมควำมได้ ถ้ำผูเ้ สี ยหำยมิได้ร้องทุกข์ภำยใน 3 เดือน
นับแต่วนั ที่รู้เรื่ องควำมผิด และรู ้ตวั ผูก้ ระทำผิด เป็ นอันขำดอำยุควำม (ประมวลกฎหมำยอำญำ
มำตรำ 96 )
80. ควำมผิดใดที่กฎหมำยให้ถือเป็ นควำมผิดอันยอมควำมได้
(1) สำมีทำร้ำยร่ ำงกำยภรรยำจนบำดเจ็บสำหัส (2) ภรรยำลักทรัพย์สำมี
(3) น้องสำวลักทรัพย์พี่ชำย (4) บุตรเขยลักทรัพย์พ่อตำ
ตอบ 2 หน้ำ 63, (คำบรรยำย) ในควำมผิดอำญำเกี่ยวกับลักทรัพย์บำงประเภท คือ ลักทรัพย์ วิ่งรำวทรัพย์
ฉ้อโกง โกงเจ้ำหนี้ ยกยอก รับของโจร ทำให้เสี ยทรัพย์และบุกรุ กถ้ำเป็ นกำรกระทำที่สำมี
กระทำต่อภรรยำ หรื อภรรยำกระทำต่อสำมี ผูก้ ระทำไม่ตอ้ งรับโทษ แต่ถำ้ เป็ นกำรกระทำที่บุพกำรี
กระทำต่อผูส้ ื บสันดำน ผูส้ ื บสันดำนกระทำต่อบุพกำรี หรื อพี่น้องร่ วมบิดำมำรดำเดียวกัน
กระทำต่อกัน แม้กฎหมำยมิได้บญ ั ญัติให้เป็ นควำมผิดอันยอมควำมได้ ก็ให้เป็ นควำมผิด
อันยอมควำมได้ และนอกจำกนั้นศำลจะลงโทษน้อยกว่ำที่กฎหมำยกำหนดไว้สำหรับควำมผิดนั้น
เพียงใดก็ได้ (ประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ 71 )
81. ข้อใดไม่ใช่กฎหมำยของมหำชน
(1) กฎหมำรัฐธรรมนูญ (2) กฎหมำยอำญำ (3) กฎหมำยแรงงำน (4) กฎหมำยปกครอง
ตอบ 3 หน้ำ 45-49, 54, 57 กฎหมำยมหำชน คือ กฎหมำยที่กำหนดควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐ หรื อ
หน่วยงำนของรัฐกับรำษฎร หรื อระหว่ำงหน่วยงำนของรัฐด้วยกันเอง เช่น กฎหมำยรัฐธรรมนูญ
กฎหมำยปกครอง กฎหมำยอำญำฯลฯส่วนกฎหมำยเอกชนเป็ นกฎหมำยพำณิ ชย์ กฎหมำยแรงงำน เป็ นต้น
82. นำยเขียวถือปื นไปยิงนำยแก้วที่บำ้ น ในตอนกำงคืนเห็นหุ่นโชว์เสื้ อผ้ำ เข้ำใจว่ำเป็ นนำยแก้วจึงใช้ปืนยิง
ไปถูกหุ่นเสี ยหำยดังนี้
(1) ไม่มีควำมผิดเพรำะขำดองค์ประกอบ
(2) มีควำมผิดฐำนเจตนำทำให้ทรัพย์ของผูอ้ ื่นเสี ยหำย
(3) มีควำมผิดฐำนพยำยำมฆ่ำซึ่งไม่สำมำรถบรรลุผลอย่ำงแน่แท้
(4) มีควำมผิดฐำนประมำททำให้เสี ยทรัพย์
ตอบ 3 หน้ำ 66 – 67 (คำบรรยำย) กำรกรทำของนำยเขียวถือว่ำเป็ นกำรพยำยำมกระทำควำมผิด
ที่ไม่สำมำรถบรรลุผลอย่ำงแน่แท้ เพรำะเหตุแห่งวัตถุที่มุ่งหมำยกระทำต่อ ซึ่งตำมกฎหมำย
ถือว่ำมีควำมผิดฐำนพยำยำมกระทำควำมผิด แต่ให้ลงโทษไม่เกินกึ่งหนึ่งของโทษที่กฎหมำย
ได้กำหนดไว้สำหรับควำมผิดนั้น
17
LW 104 page 17 1/51

83. นำยโก๋ ดื่มสุรำจนเมำเห็นกลุ่มวัยรุ่ นวิ่งแข่งกันมำ นึกสนุกเอำปื นยิงใส่กลุ่มวัยรุ่ น ปรำกฏว่ำลูกกระสุน


ถูกนำยแก่นน้องชำยนำยโก๋ ถึงแก่ควำมตำย ดังนี้นำยโก๋ มีควำมผิด
(1) ประมำทเป็ นเหตุให้ผูอ้ ื่นถึงแก่ควำมตำย (2) ฆ่ำคนตำยโดยไม่เจตนำ
(3) มีควำมผิดแต่ได้ลดโทษเพรำะกระทำขณะมึนเมำ (4) ฆ่ำคนตำยโดยเจตนำ
ตอบ 4 หน้ำ 62 เจตนำย่อมเล็งเห็นผล หมำยถึง ไม่ได้ประสงค์ต่อผลของกำรกระทำ แต่โดยลักษณะ
ของกำรกระทำย่อมเล็งเห็นได้ว่ำกำรกระทำของตนจะเกิดผลขึ้นอย่ำงไร (กำรกระทำของนำยโก๋
เป็ นกำรกระทำโดยเจตนำ โดยหลักย่อมเล็งเห็นผล
84. กฎหมำยมหำชน ได้แก่
(1) กฎหมำยรัฐธรรมนูญ (2) กฎหมำยปกครอง
(3) กฎหมำยกำรคลังและภำษีอำกร (4) ถูกทุกข้อ
ตอบ 4 หน้ำ 49-69, 73, (คำบรรยำย) กฎหมำยซึ่งจัดอยู่ในหมวดหมู่กฎหมำยมหำชน ได้แก่
1 กฎหมำยรัฐธรรมนูญ 2 กฎหมำยปกครอง 3. กฎหมำยอำญำ
4 พระธรรมนูญศำลยุติธรรม 5 กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ เป็ นต้น
85. ข้อใดไม่ใช่เหตุผลที่ทำให้กฎหมำยรัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมำยสูงสุด
(1) ป้องกันกำรปฏิวตั ิรัฐประหำร
(2) เป็ นสัญญำประชำคมที่สมำชิกทุกคนในสังคมตกลงร่ วมกันสร้ำง
(3) จัดตั้งองค์กำรทำงกำรเมืองและแบ่งแยกกำรใช้อำนำจอธิปไตย
(4) เป็ นหลักคุม้ ครองสิ ทธิมนุษย์ชน ศักดิ์ศรี ควำมเป็ นมนุษย์
ตอบ 1 หน้ำ 50-51 รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมำยสูงสุด เพรำะ
1. สมำชิกในสังคมทุกคนร่ วมกันสร้ำงขึ้นเป็ นกฎเกณฑ์ในกำรปกรองสังคม
2. กระบวนกำรตรำรัฐธรรมนูญเป็ นกระบวนกำรพิเศษ
3. รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมำยก่อตั้งทำงกำรเมือง
4. รัฐธรรมนูญกำหนดกำรใช้อำนำจอธิปไตรของรัฐ อีกทั้งยังรับรองและคุม้ ครองสิ ทธิเสรี ภำพ
ของบุคคล
86. ลำดับชั้นกฎหมำยเรี ยงลำดับชั้นลงไป
(1) รัฐธรรมนูญ พระรำชกฤษฎีกำ พระรำชกำหนด เทศบัญญัติ
(2) รัฐธรรมนูญ พระรำชบัญญัติ กฎกระทรวง พระรำชกฤษฎีกำ
(3) รัฐธรรมนูญ พระรำชกำหนด พระรำชกฤษฎีกำ กฎกระทรวง
(4) รัฐธรรมนูญ กฎกระทรวง เทศบัญญัติ พระรำชกำหนด
ตอบ 3 หน้ำ 77 -79 ในระบบกฎหมำยลำยลักษณ์อกั ษรนั้น จะมีกำรจัดลำดับของชั้นกฎหมำย
(Hierarchy of Law) โดยเรี ยงตำมลำดับชั้นสูงที่สุดดังต่อไปนี้
1. กฎหมำยรัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมำยสูงสุด
2. พระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระรำชบัญญัติและพระรำชกำหนด
3. พระรำชกฤษฎีกำ 4. กฎกระทรวง 5. กฎหมำยที่ออกโดยองค์กรบริ หำรส่วนท้องถิ่นต่ำงๆ
ได้แก่ ข้อบัญญัติองค์กำรบริ หำรส่วนตำบล เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติองค์กำรบริ หำรส่วนจังหวัด
ข้อบัญญัติกรุ งเทพมหำนคร ข้อบัญญัติเมืองพัทยำ เป็ นต้น
18
LW 104 page 18 1/51

87. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของกฎหมำยอำญำ


(1) ไม่มีกฎหมำย ไม่มีควำมผิด ไม่มีโทษ (2) ออกกฎหมำยย้อนหลังลงโทษได้
(3) ต้องตีควำมโดยเคร่ งครัด (4) ออกกฎหมำยย้อนหลังลดโทษได้
ตอบ 2 หน้ำ 58 – 59 สำระสำคัญทำงกฎหมำยอำญำ คือ ต้องมีกฎหมำยบัญญัติว่ำ กำรกระทำใด
เป็ นควำมผิด และต้องเป็ นกฎหมำย ซึ่งมีผลบังคับใช้อยู่ในขณะซึ่งเกิดกำรกระทำนั้นด้วย และ
ไม่มีผลย้อนหลังไปลงโทษบุคคลให้หนักขึ้นเป็ นอันขำด แต่อำจย้อนหลังเป็ นคุณแก่ผกู ้ ระทำผิด
กล่ำวคือ อำจยอนหลังไปบัญญัติว่ำกำรกระทำนั้นๆ ไม่เป็ นควำมผิด หรื อเป็ นควำมผิดแต่
ยกโทษให้ หรื อลงโทษบุคคลน้อยกว่ำที่กำหนดไว้ในกฎหมำยที่ใช้อยู่ในขณะทำควำมผิดได้
88. กำรยุบสภำผูแ้ ทนรำษฎรต้องทำเป็ น
(1) คำสั่งนำยกรัฐมนตรี (2) พระรำชกำหนด (3) กฎกระทรวง (4) พระรำชกฤษฎีกำ
ตอบ 4 รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำญำจักรไทย ฉบับปัจจุบนั มำตรำ 108 บัญญัติว่ำ
“พระมหำกษัตริ ยท์ รงไว้ซ่ ึงพระรำชอำนำจที่จะยุบสภำผูแ้ ทนรำษฎรเพื่อให้มีกำรเลือกตั้ง
สมำชิกสภำผูแ้ ทนรำษฎรใหม่
กำรยุสภำผูแ้ ทนรำษฎรให้กระทำโดยพระรำชกฤษฎีกำ”
89. รัฐธรรมนูญฉบับ พ ศ 2550 กำหนดให้จำนวนวุฒิสมำชิกซึ่งมำจำกกำรสรรหำมีจำนวน
(1) 50 คน (2) 74 คน (3) 76 คน (4) 100 คน
ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฉบับ พ ศ 2550 มำตรำ 111 กำหนดให้จำนวนวุฒิสมำชิกวุฒิสภำจำนวนทั้งสิน
150 คน โดยมำจำกกำรเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จังหวัดละ 1 คน และมำจำกกำรสรรหำ 74 คน
90. รัฐธรรมนูญฉบับ พ ศ 2550 กำหนดให้สมำชิกสภำผูแ้ ทนรำษฎรซึ่งมำจำกกำรเลือกตั้งแบบสัดส่วนจำนวน
(1) 50 คน (2) 80 คน (3) 100 คน (4) 150 คน
ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฉบับ พ ศ 2550 มำตรำ 93 กำหนดให้สมำชิกสภำผูแ้ ทนรำษฎร จำนวน
ทั้งสิ้น 480 คน โยมำจำกกำรเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง 400 คน แลมำจำกกำรเลือกตั้ง
แบบสัดส่วน 80 คน
91. สมำชิกภำพของสมำชิกวุฒิสภำมีกำหนดครำวละ
(1) 3 ปี (2) 4 ปี (3) 5 ปี (4) 6 ปี
ตอบ 4 รัฐธรรมนูญฉบับ พ ศ 2550 มำตรำ 117 กำหนดให้มีสมำชิกสมำชิกภำพของสมำชิกวุฒสิ ภำมีกำหนด
ครำวละ 6 ปี นับแต่วนั เลือกตั้งหรื อวันที่คณะกรรมกำรกำรเลือกตั้งประกำศกำรสรรหำ
แล้วแต่กรณี โดยสมำชิกวุฒิสภำจำดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินกว่ำวำระไม่ได้
92. ผูท้ ี่มีอำนำจตรำพระรำชกฤษฎีกำ
(1) พระมหำกษัตริ ย์ (2) นำยกรัฐมนตรี (3) ประธำนสภำผูแ้ ทนรำษฎร (4) ประธำนวุฒิสภำ
ตอบ 1 หน้ำ 32 พระรำชกฤษฎีกำ คือกฎหมำยที่ตรำขึ้นโดยพระมหำกษัตริ ย์ โดยคำแนะนำของ
คณะรัฐมนตรี
93. ข้อใดถูกต้องที่สุด
(1) ระบบคอมมอน ลอว์ ศำลจะเป็ นผูส้ ร้ำงกฎหมำย
(2) ระบบซีวิล ลอว์ คำพิพำกษำเป็ นที่มำของกฎหมำย
(3) ระบบคอมมอน ลอว์ ไม่มีกฎหมำยลำยลักษณ์อกั ษรบังคับใช้
(4) ระบบซีวิล ลอว์ จะตีควำมกฎหมำยตำมตัวอักษรโดยเคร่ งครัด
19
LW 104 page 19 1/51

ตอบ 1 หน้ำ 20 – 21 ตำมหลักของระบบกฎหมำย Common Law นั้น


1. ถ้ำมีหลักกฎหมำยซึ่งเป็ นหลักเกณฑ์ทวั่ ไปอยู่แล้ว ศำลหรื อผูพ้ ิพำกษำเป็ นแต่เพียง
ผูแ้ สดงหลัดเกณฑ์น้ นั ๆ แล้วนำมำปรับแก่คดีเท่ำนั้น
2. ถ้ำไม่มีกฎหมำยดังกล่ำว ก็ให้ศำลหรื อผูพ้ ิพำกษำเป็ นผูส้ ร้ำงหลักกฎหมำยขึ้นมำ
โดยคำพิพำกษำเป็ นผูส้ ร้ำงหลักกฎหมำยขึ้นมำ
ซึ่งเรี ยกว่ำ “ Jude Made Low ”
94. กฎเกณฑ์ (Norm) ควบคุมควำมประพฤติของบุคคลใด บุคคลหนึ่งจะฝ่ ำฝื นหรื อไม่ข้ นึ ออยู่กบั จิตสำนึกทำง
ศีลธรรมของผูบ้ ญ ั ญัติ
(1) กำรทำร้ำยผูอ้ ื่น (2) กำรขับรถฝ่ ำสัญญำณไฟแดง
(3) กำรหลบเลี่ยงภำษี (4) กำรตัดไม้ทำลำยป่ ำ
ตอบ 1 หน้ำ 8 – 12 ยุคกฎหมำยชำวบ้ำน(กฎหมำยประเพณี ) เป็ นกฎหมำยที่มีลกั ษณะเป็ นกฎเกณฑ์
ควบคุมควำมประพฤติที่ออกมำในรู ปของขนบธรรมเนียมจำรี ตประเพณี ที่มีอยู่ในควำมรู ้สึกนึกคิด
ของประชำชนโดยทัว่ ไป ซึ่งมีวิวฒั นำกำรมำจำกศีลธรรมหรื อควำมรู ้สึกผิดชอบชัว่ ดีของมนุษย์ว่ำ
ถ้ำไม่ปฏิบตั ิตำมแล้วจะรู ้สึกว่ำเป็ นควำมผิด ซึ่งจะแตกต่ำงกับกฎหมำยในยุคกฎหมำยเทคนิค
ที่เป็ นกฎเกณฑ์ที่ต้งั ขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์บำงอย่ำงไม่เกี่ยวกับศีลธรรม เช่น กฎหมำยเกี่ยวกับภำษี
กฎหมำยป่ ำไม้ หรื อกฎจรำจร เป็ นต้น
95. รู ปแบบกฎหมำยใดที่จะต้องมีบทกำหนดโทษสูงและให้มีกำรบังคับลงโทษอ่ำงสม่ำเสมอเพื่อให้กำรบังคับใช้
กฎหมำยมีประสิ ทธิภำพ
(1) กฎหมำประเพณี (2) หลักกฎหมำย
(3) กฎหมำยที่บญ ั ญัติข้ นึ (4) กฎหมำยชำวบ้ำน
ตอบ 3 หน้ำ 11 – 12 กฎหมำยที่บญ ั ญัติข้ นึ ในยุคกฎหมำยเทคนิค เป็ นกฎเกณฑ์ที่ต้งั ขึ้นเพื่อ
วัตถุประสงค์เฉพำะเจำะจงบำงอย่ำงหรื อเพื่อไขปั ญหำเฉพำะหน้ำบำงอย่ำงโดยไม่คำนึงถึง
ศีลธรรมหรื อขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น กำรจรำจรเป็ นต้น และเพื่อให้กำรบังคับใช้กฎหมำย
มีประสิ ทธิภำพจึงต้องมีบทกำหนดโทษสูง และให้มีกำรบังคับใช้ลงโทษอยู่สำหม่ำเสมอ
96. บ่อเกิดของกฎหมำยในระบบคอมมอน ลอว์ หรื อระบบกฎหมำยไม่เป็ นลำยลักอักษร ได้แก่
(1) กฎหมำยโรมัน (2) หลักกฎหมำยจำกคำพิพำกษำ
(3) กฎหมำยสิ บสองโต๊ะ (4) ปะมวลกฎหมำยของพระเจ้ำจัสติเนียน
ตอบ 2 หน้ำ 19 – 21 กฎหมำยในระบบคอมมอน ลอว์ (กฎหมำยที่ไม่เป็ นลำยลักษณ์อกั ษร) ซึ่งนิยมใช้กนั ใน
ประเทศอังกฤษและเครื่ องจักรพบอังกฤษ เป็ นกฎหมำยถือเอำคำพิพำกษำเป็ นตัวบทกฎหมำย
ดังนั้นบ่อเกิดของกฎหมำยในระบบนี้จึงมำจำกคำพิพำกษำ
97. กำรที่รัฐบำรณรงค์ให้ “เมำไม่ขบั ” มีลกั ษณะเป็ นกฎหมำยหรื อไม่
(1) มีเพรำะเป็ นอำนำจของรัฐ (2) มีเพรำะควบคุมควำมประพฤติของผูข้ บั รถ
(3) ไม่มีเพรำะขำดสภำพบังคับ (4) ไม่มีเพรำะต้องประกำศให้ประชำชนรับทรำบ
ตอบ 3 หน้ำ 15 – 17 ลักษณะที่สำคัญของกหมำยได้แก่ 1. ต้องมีลกั ษณะเป็ นกฎเกณฑ์
2. ต้องกำหนดควำมประพฤติของมนุษย์ (บุคคล) 3. ต้องมีสภำพบังคับและ
4. ต้องมีกระบวนกำรบังคับที่จะเป็ นกิจจะลักษณะ….กำรขอควำมร่ วมมือ หรื อกำรรณรงค์
ให้กระทำกำรอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ถือว่ำขำดสภำพบังคับ เพรำะบุคคลจะทำหรื อไม่ทำก็ได้
20
LW 104 page 20 1/51

98. คำว่ำ “UBI SOCIETAS IBI JUS” หมำยถึง


(1) ที่ใดมีสังคม ที่นนั่ มีควำมยุติธรรม (2) ที่ใดมีชุมชน ที่นนั่ มีวฒั นธรรม
(3) ที่ใดมีสังคม ที่นนั่ มีกฎหมำย (4) ที่ใดมีวฒั นธรรม ที่นนั่ มีกฎหมำย
ตอบ 3 หน้ำ 4 คำว่ำ “UBI SOCIETAS IBI JUS” หมำยถึง “ที่ใดมีสังคม ที่นนั่ มีกฎหมำย”
เป็ นคำกล่ำวที่แสดงว่ำกฎหมำยกับสังคมมีควำมสัมพันธ์กนั อย่ำงใกล้ชิด คือกำรที่มนุษย์
จะอยู่ร่วมกันในสังคมและเพื่อให้สังคมเกิดควำมสงบสุข จึงต้องมีระบบควบคุมสังคม ซึ่งได้แก่
ศีลธรรม จำรี ตประเพณี ศำสนำ และกฎหมำย
99. ระบบกฎหมำยใดที่ศีลธรรมและจำรี ตประเพณี แยกจำกกัน ไม่สำมำรถนำมำใช้เป็ นกฎหมำยได้
(1) ระบบกฎหมำยซีวิล ลอว์ (2) ระบบกฎหมำยลำยลักษณ์อกั ษร
(3) ระบบกฎหมำยคอมมอน ลอว์ (4) ระบบประมวลกฎหมำย
ตอบ 3 หน้ำ 21 ระบบกฎหมำยซีวิล ลอว์ ยอมรับว่ำกฎหมำยลำยลักษณ์อกั ษรรออยู่คู่เคียงกับ
จำรี ตประเพณี และถือว่ำกฎหมำยเป็ นสิ่ งค้ ำจุนศีลธรรมด้วย ส่วนระบบกฎหมำยคอมมอน ลอว์
ศีลธรรม และประเพณี เป็ นคนละเรื่ อง
100. ระบบกฎหมำยใดที่คำพิพำกษำศำลชั้นต้นสำมำรถเลี่ยนแปลงแก้ไขโดยศำลสูงได้
(1) ระบบกฎหมำยไม่เป็ นลำยลักษณ์อกั ษร (2) ระบบกฎหมำยจำรี ตประเพณี
(3) ระบบคอมมอน ลอว์ (4) ระบบซีวิล ลอว์
ตอบ 4 หน้ำ 21 ระบบกฎหมำยซีวิล ลอว์ คำพิพำกษำของศำลเป็ นเพียงคำอธิบำยกำรใช้ตวั บทกฎหมำย
ปรับแก่คดี สำมำรถเปลี่ยนแปลงหรื อกับคำพิพำกษำได้โดยอำศัยเหตุผลควำมคลำดเคลื่อน
ไม่สอดคล้อกับหลักหรื อตัวบทกฎหมำย
101. บทบัญญัติรัฐธรรมนูญฯ ฉบับปัจจุบนั หมวดใดที่ให้ผมู ้ ีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่ำ 10000 คน
เข้ำชื่อเสนอร่ ำงพระรำชบัญญัติได้
(1) หมวด 1 บททัว่ ไป (2) หมวด 4 หน้ำที่ของชนชำวไทย
(3) หมวด 5 แนวนโยบำยพื้นฐำนแห่งรัฐ (4) หมวด 9 คณะรัฐมนตรี
ตอบ 3 รัฐธรรมนูญฯ พ ศ 2550 มำตรำ 163 บัญญัติให้ประชำชนผูม้ ีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่ำ 10000 คน
มีสิทธิเข้ำชื่อร้องขอต่อประธำนรัฐสภำเพื่อให้รัฐสภำพิจำรณำร่ ำงพระรำชบัญญัติตำมที่กำหนด
ในหมวด 3 สิ ทธิและเสรี ภำพของชนชำวไทย และหมวด 5 แนวนโยบำยพื้นฐำนแห่งรัฐ ได้
102. เหตุใดกฎหมำยจรำจรเป็ นกฎหมำยเทคนิค
(1) เป็ นกฎหมำยที่ไม่มีลกั ษณะบงคับตำมธรรมชำติ (2) มีหลักทำงศีลธรรมอยู่เบื้องหลัง
(3) หำกไม่ปฏิบตั ิตำมกฎจรำจรแล้วจะรู ้สึกผิด (4) ต้องใช้ระยะเวลำประพฤติปฏิบัติเป็ นเวลำนำน
ตอบ 1 หน้ำ 12 กฎหมำยเทคนิค เป็ นกฎหมำยที่ไม่มีขนบธรรมเนียมประเพณี และศีลธรรมคอย
หนุนหลัง ถ้ำใครผิดก็ไม่รู้สึกว่ำคนนั้นทำชัว่ หรื อทำผิดศีลธรรม เพรำะฉะนั้นกฎหมำยเทคนิค
จึงไม่มีลกั ษณะบังคับตำมธรรมชำติ ( ดูคำอธิบำยข้อ 94, 95 ประกอบ)
103. ข้อใดเป็ นกฎหมำยตำมแบบพิธี
(1) พระรำชบัญญัติกำรพนัน (2) พระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี
(3) พระรำชบัญญัติยำเสพติดให้โทษ (4) ประมวลกฎหมำยอำญำ
21
LW 104 page 21 1/51

ตอบ 4 (เลขที่พิมพ์ 44289 หน้ำ 40 ) กฎหมำยตำมแบบพิธี คือกฎหมำยที่ออกมำโดยวิธีบญ ั ญัติกฎหมำย


ทั้งนี้โดยมิได้คำนึงถึงว่ำกฎหมำยนั้นเข้ำลักษณะเป็ นกฎหมำยตำมเนื้อควำมหรื อไม่ เช่น
พ.ร.บ. งบประมำณรำยจ่ำยประจำปี เป็ นต้น
104. กฎเกณฑ์ใดที่บุคคลใดฝ่ ำฝื นจะได้รับกำรตำหนิจำกสังคม
(1) จำรตีประเพณี (2) ศีลธรรม (3) ศำสนำ (4) กฎหมำย
ตอบ 1 ( เลขที่พิมพ์ 44289 หน้ำ 40 ) กำรกระทำผิดหรื อฝ่ ำฝื นกฎหมำย ผูก้ ระทำผิดจะมีควำมผิดและ
ถูกลงโทษ แต่กำรกระทำผิดหรื อฝ่ ำฝื นจำรตีประเพณี จะได้รับเพียงกำรติเตียนจำกสังคมเท่ำนั้น
105. ควำมผิดในทำงเทคนิคหมำยถึง
(1) ควำมผิดอำญำที่เป็ นควำมผิดศีลธรรมด้วย
(2) ควำมผิดอำญำที่ไม่เป็ นควำมผิดศีลธรรม
(3) ควำมผิดอำญำที่ผิดทั้งศีลธรรมและผิดเพรำะกฎหมำยห้ำม (4) ถูกทุกข้อ
ตอบ 2 (คำบรรยำย) ควำมผิดในทำงเทคนิค (Technical Offence) คือควำมผิดอำญำที่ไม่ผิดศีลธรรม
แต่ผิดเพรำะกฎหมำยห้ำม
106. บทบัญญัติที่ว่ำ “เจ้ำของที่ดินริ มทำงน้ ำ หรื อมีทำงน้ ำผ่ำน ไม่มีสิทธิที่จะชักน้ ำไว้เกินกว่ำจำเป็ นแก่ประโยชน์
ของตนตำมควร ให้เป็ นเหตุเสื่ อมเสี ยแก่ที่ดินแปลงอื่นซึ่งอยู่ตำมทำงน้ ำนั้น” ท่ำนคิดว่ำหลักกฎหมำยที่อยู่
เบื้องหลังบทบัญญัติดงั กล่ำวได้แก่
(1) หลักสุจริ ต (2) หลักคุม้ ครองบุคคลที่สำมที่กระทำโดยสุจริ ต
(3) หลักเพื่อนบ้ำนที่ดี (4) หลักกรรมเป็ นเครื่ องชี้เจตนำ
ตอบ 3 หน้ำ 44 บทบัญญัติตำม ป.พ.พ. มำตรำ 1355 ดังกล่ำว เมื่อมีกำรพิเครำะห์แล้ว ก็จะพบ
หลักใหญ่ที่อยู่เบื้องหลังบทบัญญัติดงั กล่ำว
107. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกำรใช้กฎหมำยจำรี ตประเพณี ในระบบกฎหมำยซีวิล ลอว์
(1) ยกเว้นควำมรับผิดทำงอำญำได้ (2) กำหนดควำมรับผิดทำงอำญำได้
(3) นำโทษมำใช้แทนกฎหมำยลำยลักษณ์อกั ษรได้ (4) เพิ่มโทษทำงอำญำ
ตอบ 1 (คำบรรยำย) ข้อจำกัดกำรใช้กฎหมำยจำรี ตประเพณี ในระบบกฎหมำยซีวิล ลอว์ มีดงั นี้
1. จะสร้ำงควำมผิดทำงอำญำขึ้นใหม่ไม่ได้
2. จะนำโทษตำมกฎหมำยจำรี ตประเพณี มำใช้แทนกฎหมำยลำยลักษณ์อกั ษรไม่ได้
3. จะ เพิ่มโทษทำงอำญำสูงกว่ำไม่ได้ 4. จะกำหนดหน้ำที่ของบุคคลไม่ได้
108. จำนวนสมำชิกสภำผูแ้ ทนรำษฎรที่สำมำรถเสนอร่ ำงพระรำชบัญญัติได้
(1) ไม่น้อยกว่ำ 15 คน (2) ไม่น้อยกว่ำ 20 คน (3) ไม่น้อยกว่ำ 25 คน (4) ไม่น้อยกว่ำ 30 คน
ตอบ 2 ตำมรัฐธรรมนูญฯ ฉบับปัจจุบนั กำรเสนอร่ ำงพระรำชบัญญัติของสมำชิกสภำผูแ้ ทนรำษฎร
จะกระทำได้ตอ้ งมีสมำชิกสภำผูแ้ ทนรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 20 คนรบรอง
109. กำรศึกษำกฎหมำยในต่ำงประเทศที่ตอ้ งศึกษำกฎหมำยจำกคำพิพำกษำเป็ นเรื่ องๆ แสดงให้เห็นได้ว่ำ
ประเทศนั้นใช้ระบบกฎหมำยใด
(1) ระบบคอมมอน ลอว์ (2) ระบบซีวิล ลอว์
(3) ระบบกฎหมำยลำยลักษณ์อกั ษร (4) ระบบประมวลกฎหมำย
ตอบ 2 ตำมรัฐธรรมนูญฯ ฉบับปัจจุบนั กำรเสนอร่ ำงพระรำชบัญญัติของสมำชิกสภำผูแ้ ทนรำษฎร
จะกระทำได้จะต้องมีสมำชิกสภำผูแ้ ทนรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 20 คนรับรอง
22
LW 104 page 22 1/51

109. กำรศึกษำกฎหมำยต่ำงประเทศที่ตอ้ งกำรศึกษำหลักกฎหมำยจำกคำพิพำกษำเป็ นเรื่ อง ๆ แสดงให้เห็นได้ว่ำ


ประเทศนั้นใช้ระบบกฎหมำยใด
(1) ระบบคอมมอน ลอว์ (2) ระบบกฎหมำยซีวิล ลอว์
(3) ระบบกฎหมำยลำยลักษณ์อกั ษร (4) ระบบประมวลกฎหมำย
ตอบ 1 หน้ำ 21 กำรศึกษำหลักกฎหมำยจำกคำพิพำกษำเป็ นเรื่ อง ๆ นั้น
จะใช้กบั ประเทศที่ใช้ระบบกฎหมำยในระบบคอมมอน ลอว์ เพรำะในระบบคอมมอน ลอว์ นี้
ถือว่ำคำพิพำกษำเป็ นตัวบทกฎหมำย ฉะนั้นคำพิพำกษำต่อ ๆ มำในกรณี อย่ำงเดียวกันย่อมต้อง
ตัดสิ นตำมแนวคำพิพำกษำก่อนนั้นเสมอ
110. กรณี ที่สมำชิกรัฐสภำได้ยืนยันเห็นชอบกับร่ ำงพระรำชบัญญัติอีกครั้ง แม้ว่ำสมำชิกสภำจะไม่เห็นชอบ
กับร่ ำงพระรำชบัญญัติน้ นั มำแล้ว ดังนี้
(1) ให้สำมำชิกสภำนำร่ ำงพระรำชบัญญัติน้ นั กลับมำพิจำรณำใหม่อีกครั้ง
(2) ให้ถือว่ำร่ ำงพระรำชบัญญัติฉบับนั้นได้รับควำมเห็นชอบจำกรัฐสภำ
(3) ให้สมำชิกทั้งสองร่ วมพิจำรณำใหม่อีกครั้ง
(4) ให้นำยกรัฐมนตรี ประกำศใช้ในรำชกิจจำนุเบกษำได้เลย
ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฯ ฉบับปัจจุบนั มำตรำ 167 ถ้ำสภำผูแ้ ทนรำษฎรลงมติยืนยันร่ ำงพระรำชบัญญัติน้ นั
ด้วยคะแนนเสี ยงมำกกว่ำหนึ่ง ให้ถือว่ำร่ ำงพระรำชบัญญัติน้ นั เป็ นอันได้รับควำมเห็นชอบ
ของรัฐสภำ และให้นำยกรัฐมนตรี นำขึ้นทูลเกล้ำฯ เพื่อทรงลงพระปรมำภิไธย
111. กฎหมำยของฝ่ ำยบริ หำรที่พระมหำกษัตริ ยท์ รงตรำขึ้นโดยควำมเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ได้แก่
(1) พระรำชบัญญัติ (2) พระรำชกฤษฎีกำ (3) กฎกระทรวง (4) ประกำศกระทรวง
ตอบ 2 ดูคำอธิ บำยข้อ 92 ประกอบ
112. หลักกฎหมำยเกี่ยวกับกำรได้มำซึ่งกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์สิน โดยกำรครอบครองปรปั กษ์เกิดจำกเหตุผลใด
(1) เหตุผลทำงเทคนิค (2) เหตุผลจำกจำรี ตประเพณี
(3) เหตุผลจำกศีลธรรม (4) เหตุผลของนักกฎหมำย
ตอบ 4 หน้ำ 10 – 11 เนื่องจำกกฎหมำยในยุคแรกคือ กฎหมำยชำบ้ำนหรื อกฎหมำยประเพณี
มีไม่เพียงพอ ดังนั้นนักกฎหมำยที่เกิดขึ้นในยุคที่ 2 (ยุคนักกฎหมำย) จึงได้สร้ำงนักกฎหมำย
ขึ้นมำเพื่อเสริ มกับกฎหมำยประเพณี ซึ่งหลักกฎหมำยของนักกฎหมำยนี้จะเกิดขึ้นจำกกำรปรุ งแต่ง
เหตุผลที่เกิดขึ้นจำกควำมคิดในทำงกฎหมำยของตน ดังนั้นจึงเป็ นกฎหมำยที่
สำมัญชนใช้สำมัญสำนึกคิดเอำเองไม่ได้ ต้องอำศัยกำรศึกษำค้นคว้ำ และกำรเรี ยนรู ้ดว้ ยเหตุผล
จึงเข้ำใจ ซึ่งกฎหมำยของนักกฎหมำยดังกล่ำวที่ยงั มีใช้อยู่ในปัจจุบนั ได้แก่ กำรปกครองปรปักษ์
สิ ทธิเรี ยกร้องขำดอำยุควำม เป็ นต้น
113. กฎเกณฑ์ใดที่ควบคุมควำมประพฤติภำยนอกและภำยในของมนุษย์
(1) ศีลธรรม (2) ขนบธรรมเนียมจำรี ตประเพณี
(3) กฎหมำย (4) วัฒนธรรม
ตอบ 1 (เลขที่พิมพ์ 44289 หน้ำ 39) ศีลธรรม เป็ นเกณฑ์ที่กำหนดและควบคุมควำมประพฤติ
ทั้งภำยในและภำยนอกของมนุษย์ แต่กฎหมำยและจำรี ตประเพณี จะกำหนดควำมประพฤติ
ภำยนอกของมนุษย์เท่ำนั้น
23
LW 104 page 23 1/51

114. ข้อใดเป็ นโทษทำงอำญำตำมประมวลกฎหมำยอำญำ


(1) ปรับ ยึดทรัพย์สิน (2) กักขัง ริ บทรัพย์สิน
(3) กักขัง ควบคุมควำมประพฤติ (4) ประหำรชีวิต ยึดทรัพย์สิน
ตอบ 2 หน้ำ 16 – 17 สภำพบังคับของกฎหมำยนั้น ถ้ำเป็ นกฎหมำยอำญำสภำพบังคับคือโทษนัน่ เอง
ซึ่งเรี ยกจำกหนักที่สุดไปเบำที่สุดได้แก่ 1) ประหำรชีวิต 2) จำคุก 3) กักขัง 4) ปรับ
และ 5) ริ บทรัพย์สิน ส่วนสภำพบังคับในทำงกฎหมำยแพ่งได้แก่ กำรชดใช้ค่ำสิ นไหมทดแทน
หรื อควำมเป็ นโมฆะกรรม หรื อโมฆียกรรม ซึ่ งเป็ นสภำพบังคับที่เป็ นผลร้ำย ส่วนสภำพบังคับ
ที่เป็ นผลดี เช่น กำรได้รับกำรลดย่อนภำษี เป็ นต้น
115. ประเทศใดที่ใช้ระบบกฎหมำยคอมมอน ลอว์
(1) ฝรั่งเศส (2) เยอรมัน (3) อังกฤษ (4) ไทย
ตอบ 3 ดูคำตอบข้อ 96. ประกอบ
116. กำรพิจำรณำร่ ำงพระรำชบัญญัติของสภำผูแ้ ทนรำษฎรเพื่อพิจำรณำว่ำจะรับหลักกำรของร่ ำงพระรำชบัญญัติ
ดังกล่ำวหรื อไม่ เป็ นกำรพิจำรณำในวำระใด
(1) วำระที่ 1 (2) วำระที่ 2 (3) วำระที่ 3 (4) วำระที่ 4
ตอบ 1 (เลขที่พิมพ์ 44289 หน้ำ 64) ในกำรพิจำรณำร่ ำงพระรำชบัญญัติน้ นั มี 3 วะระคือ วำระที่ 1
ขั้นรับหลักกำร เป็ นกำรพิจำรณำหลักกำรโดยทัว่ ๆ ไป ว่ำสมควรได้รับพระรำชบัญญัติน้ นั
ไว้พิจำรณำหรื อไม่ วำระที่ 2 ขั้นพิจำรณำ เป็ นกำรพิจำรณำเรี ยงตำมลำดับมำตรำ ในกรณี ที่มี
กำรแก้ไข เพิ่มเติมหรื อเปลี่ยนแปลงจำกร่ ำงเดิม คณะกรรมำธิกำรต้องชี้แจ้งเหตุผลในกำรแก้ไข
หรื อเพิ่มเติมด้วย และ วำระที่ 3 ขั้นให้ควำมเห็นชอบ คือ กำรลงมติว่ำร่ ำงพระรำชบัญญัติน้ นั
สมควรตรำเป็ นพระรำชบัญญัติหรื อไม่
117. นำยเอออยู่กินกับนำงจันทร์โดยมิได้จดทะเบียนสมรส มีบุตร คือ นำยพุธและนำยศุกร์ ซึ่งนำยเอได้ให้
นำยพุธและนำยศุกร์ ใช้นำมสกุล ต่อมำหำกนำยพุธตำย มรดกของนำยพุธจะตกทอดใครบ้ำง
(1) นำยเอและนำงจันทร์ (2) นำยเอ
(3) นำงจันทร์ (4) นำยเอ นำงจันทร์และนำยศุกร์
ตอบ 3 หน้ำ 191 – 194 เมื่อนำยพุธตำยจะมีทำยำทโดยธรรมอยู่ 2 คน คือ นำงจันทร์ซ่ ึงเป็ นมำรดำ
โดยชอบด้วยกฎหมำย และเป็ นทำยำทในลำดับที่ 2 ส่วนนำยศุกร์เป็ นทำยำทลำดับที่ 3
จึงไม่มีสิทธิรับมรดกตำมหลักญำติสนิทตัดญำติห่ำง ดังนั้นนำงจันทร์จึงมีสิทธิรับมรดกของนำยพุธ
แต่เพียงผูเ้ ดียว สำหรับนำยเอ เป็ นบิดำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมำยจึงไม่ใช่ทำยำทโดยธรรม
ตำมมำตรำ 1629(2) จึงไม่มสี ิ ทธิรับมรดก
118. นำยธงจดทะเบียนสมรสกับนำงศรี แต่ไม่มีบุตร นำยธงจึงจดทะเบียนรับนำยดำมำเป็ นบุตรบุญธรรมของตน
โดยนำงศรี ให้ควำมยินยอม ต่อมำนำงศรี มีบุตรคือนำยเขียว ต่อมำนำยธงตำย มรดกของนำยธงตกทอดแก่ใครบ้ำง
(1) นำยธง และนำยเขียว (2) นำยเขียว และนำยดำ
(3) นำงศรี นำยเขียว และนำยดำ (4) นำงศรี และนำยดำ
ตอบ 3 หน้ำ 191 – 194 เมื่อนำยธงเจ้ำมรดกตำย มรดกของนำยธงจะตกได้แก่
1. นำงศรี ซึ่งเป็ นทำยำทโดยธรรมที่เป็ นคู่สมรส
2. นำยเขียว บุตรของนำยธงซึ่งเป็ นทำยำทโดยธรรมในฐำนะผูส้ ื บสันดำร
3. นำยดำ ซึ่งเป็ นบุตรบุญธรรมของนำยธงซึ่งตำมกฎหมำยถือว่ำบุตรบุญธรรมย่อมมีสิทธิรับมรดก
24
LW 104 page 24 1/51

119. นำยธงจดทะเบียนสมรสกับนำงศรี แต่ไม่มีบุตร นำยธงจึงจดทะเบียนรับนำยดำมำเป็ นบุตรบุญธรรมของตน


โดยนำงศรี ให้ควำมยินยอม ต่อมำนำงศรี มีบุตรคือนำยเขียว ต่อมำนำงศรี ตำย มรดกของนำงศรี ตกทอดแก่ใคร
บ้ำง
(1) นำยธง และนำยเขียว (2) นำยเขียว และนำยดำ
(3) นำงศรี นำยเขียว และนำยดำ (4) นำยธง และนำยดำ
ตอบ 1 หน้ำ 191 – 194 เมื่อนำงศรี ตำย มรดกของนำงศรี จะตกได้แก่
1. นำยธง สำมีของนำงศรี ซึ่งเป็ นทำยำทโดยธรรมที่เป็ นคู่สมรส
2. นำยเขียว บุตรของนำงศรี ซ่ ึงเป็ นทำยำทโดยธรรมในฐำนะผูส้ ื บสันดำร
ส่วนนำยดำ บุตรบุญธรรมของนำยธงไม่มีสิทธิรับมรดก เพรำะไม่ใช่บุตรบุญธรรมของนำงศรี
120. นำยธงจดทะเบียนสมรสกับนำงศรี แต่ไม่มีบุตร นำยธงจึงจดทะเบียนรับนำยดำมำเป็ นบุตรบุญธรรมของตน
โดยนำงศรี ให้ควำมยินยอม ต่อมำนำงศรี มีบุตรคือนำยเขียว ต่อมำนำยดำตำย มรดกของนำยดำ ตกทอดแก่ใคร
(1) นำยธง และนำงศรี (2) นำยธง (3) นำงศรี (4) แผ่นดิน
ตอบ 4 หน้ำ 191 – 194 เมื่อบุคคลใดตำยลงโดยไม่มีทำยำทโดยธรรมและมิได้ธรรมพินยั กรรมไว้
มรดกของบุคคลนั้นย่อมตกทอดแก่แผ่นดิน (นำยธง และนำงศรี มิใช่บิดำมำรดำที่ชอบด้วยกฎหมำย
จึงไม่ใช่ทำยำทโดยธรรม และตำมกฎหมำยบิดำบุญธรรมไม่มีสิทธิรับมรดกบุตรบุญธรรม
ส่วนนำยเขียวไม่ใช่พี่หรื อน้องร่ วมบิดำมำรดำเดียวกับนำยดำจึงไม่ใช่ทำยำทโดยธรรม
ที่จะมีสิทธิรับมรดกของนำยดำ)

MY LECTURE
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
........................................................... ......................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................

เอ็มเจ ชีทรำม คลังดำวโหลดเฉลยข้อสอบ มหำวิทยำลัยรำมคำแหง


http://www.mjsheetramfree.com

You might also like