You are on page 1of 14

1

คณะกรรมการนักศึกษาเนติบัณฑิตย สมัยที่ 58
สรุป วิชาครอบครัว
กฎหมายครอบครัวที่ศึกษาในชั้นเนติบัณฑิต ลักษณะขอสอบจะเปนปญหาตุกตาใหวินิจฉัยโดยคําถามกฎหมาย
ครอบครัวจะผสมกับกฎหมายมรดกในขอเดียวกัน หรือจะเปนคําถามกฎหมายครอบครัวอยางเดียว หรือกฎหมายมรดก
แตเพียงอยางเดียวก็ได
การหมั้น มีมาตราที่เกี่ยวของตั้งแต (1435-1447) สาระสําคัญของการหมั้นมีดังตอไปนี้
1. ชายและหญิงจะทําการหมั้นไดตองมีอายุ 17 ปบริบูรณ ( ม. 1435 ) หากการหมั้นกระทําโดยฝาฝน ม. 1435 ผล
คือการหมั้นตกเปนโมฆะ ( ม. 1435 ว. 2 )
2. ผูเยาวทําการหมั้นจะตองไดรับความยินยอมของบิดามารดาหรือผูปกครองดวย ( ม. 1436 ) หากการหมั้นที่ผูเยาว
ทําโดยปราศจากความยินยอมดังกลาวการหมั้นนั้นตกเปนโมฆียะ
ขอสังเกต
1. ผูเยาวมีสิทธิที่จะบอกลางการหมั้นนั้นไดตาม ม. 175 (1 ) ถาไดรับความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรม เมื่อ
บอกลางก็ถือวาเปนโมฆะมาแตเริ่มแรก
2. ผูเยาวอาจใหสัตยาบันในการหมั้นนั้นไดเมื่อตนบรรลุนิติภาวะแลวตาม ม. 177
กรณีผูเยาวบรรลุนิติภาวะดวยการสมรสตาม ม. 20 โดยทําการสมรสกอนอายุครบ 17 ปบริบูรณดวยการขออนุญาตศาล
ใหทําการสมรสตาม ม. 1448
หากตอมาไดขาดจากการสมรสและอายุยังไมครบ 17 ปบริบูรณ แมตนเองจะบรรลุนิตภิ าวะแลวก็ตาม หากจะ
ทําการหมั้นใหมอีกครั้งก็อยูในเงื่อนไขของการหมั้นและจะตองมีอายุครบ 17 ปบริบูรณดวย หากฝาฝนการหมั้นเปน
โมฆะ
ฎ. 3072 / 2547 (ญ.)
วินิจฉัยหลักกฎหมายเรื่อง โมฆะกรรม ( ม. 172 ) , ลาภมิควรได ชําระหนี้ตามอําเภอใจ(ม. 407 )
คืนเงิน ( ม. 412 ) , คืนทรัพย ( ม. 413 ) , หมั้น ( ม. 1435 )
ในขณะที่นาย อ. ทําการหมั้นกับนางสาว ข. นางสาว ข. อายุยังไมครบ 17 ปบริบูรณ การหมั้นดังกลาวจึงฝา
ฝน ม. 1435 ว. 1 ยอมตกเปนโมฆะตาม ม. 1435 ว. 2 และ ม. 172 ว. 2 ถาจะตองคืนทรัพยสินอันเกิดจากโมฆะกรรม
ใหนําบทบัญญัติวาดวยลาภมิควรไดมาใชบังคับ เมื่อโจทกซึ่งเปนบิดานาย อ. ไมทราบวานางสาว ข. อายุ 17 ป ดังนั้น
นางสาว ข. และบิดามารดาซึ่งเปนจําเลย ตองคืนของหมั้นและสินสอดใหแกโจทกตาม ม. 412 และ ม. 413 โดยจะ
ถือวาโจทกชําระหนี้ตามอําเภอใจตาม ม. 407 หาไดไม ดังนั้นบันทึกขอตกลงระหวางโจทก-จําเลย ที่จําเลยยอมชดใชคา
เสียหายแกโจทก จึงมีมูลหนี้และใชบังคับได หาขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนไม
แบบของการหมั้น
การหมั้นจะสมบูรณเมื่อฝายชายไดสงมอบหรือโอนทรัพยสินอันเปนของหมั้นใหแกหญิง เพื่อเปนหลักฐานวาจะ
สมรสกับหญิงนั้น ( ม. 1437 ) สัญญาหมั้นเปนสัญญาพิเศษผิดกับสัญญาธรรมดาฉะนั้นการหมั้นจะตองมีของหมั้นมิ
ฉะนั้นการหมั้นไมสมบูรณ
2

ฏ. 525 / 2509 การหมั้นจะเรียกวาหมั้นก็ตอเมื่อฝายชายนําของหมั้นไปมอบใหฝายหญิงอันเปนเรื่องที่เขาใจกัน


ตามธรรมดาและตามประเพณีเมื่อมีการหมั้นและฝายใดผิดสัญญาหมั้นฝายนั้นตองรับผิดใชคาทดแทน โดยที่กฎหมาย
บัญญัติไวเปนพิเศษเชนนี้ เมื่อฝายชายเพียงแตตกลงวาจะสมรสโดยไมมีการหมั้นจึงอยูนอกขอบเขตที่กฎหมายรับรอง
หากไมปฏิบัติตามที่ตกลงไวจะเรียกคาทดแทนหาไดไม
การที่ไมมีประเพณีทองถิ่นวาจะตองมีของหมั้นไมใชเหตุอันจะพึงยกขึ้นลบลางบทกฎหมายได
ของหมั้น คือทรัพยสินที่ฝายชายไดสงมอบหรือโอนใหแกฝายหญิงเพื่อเปนหลักฐานวาจะสมรสกับหญิงนั้น เมื่อ
หมั้นแลวของหมั้นตกเปนสิทธิแกหญิงทันที
ลักษณะสําคัญของของหมั้นจะตองเขาหลักเกณฑ 4 ประการ คือ
1. ตองเปนทรัพยสิน สิทธิเรียกรอง ลิขสิทธิ์ ถือวาเปนทรัพยสินที่นํามาเปนของหมั้นได
2. ตองเปนของที่ฝายชายใหไวแกหญิง
3. ตองใหไวในเวลาทําสัญญาและหญิงตองไดรับไวแลว
ตองเปนการใหไวเพื่อเปนหลักฐานวาจะสมรสกับหญิงนั้น และตองใหไวกอนสมรส ถาใหเมื่อหลังสมรสแลวทรัพยนั้น
ไมใชของหมั้น
ฎ. 592 / 2540 โจทกตกลงแตงงานกับจําเลยที่ 3 โดยวิธีผูกขอมือ แสดงวาโจทกและจําเลยที่ 3 มิไดมี
เจตนาจะทําการสมรสโดยจดทะเบียนสมรสตาม ป.พ.พ. ม. 1457 ฉะนั้นทรัพยสินที่โจทกมอบใหจําเลยทั้งสามจึงไมใช
ของหมั้น เพราะไมใชทรัพยสินที่โจทกมอบใหจําเลยทั้งสามเพื่อเปนหลักฐานการหมั้นและประกันวาจะสมรสกับจําเลยที่
3 เพื่อตอบแทนการที่จําเลยที่ 3 ยอมสมรสตาม ป.พ.พ. ม. 1437 โจทกจึงไมมีสิทธิเรียกคืน สวนการที่จําเลยที่ 3 ไม
ยอมใหโจทกรวมหลับนอนนั้นเปนสิทธิของจําเลยที่ 3 เพราะการสมรสระหวางโจทกและจําเลยที่ 3 จะทําไดตอเมื่อ
จําเลยที่ 3 ยินยอมเปนสามีภรรยากับโจทกตาม ป.พ.พ. ม.1458 การที่จําเลยที่ 3 ไมยินยอมหลับนอนกับโจทก ไมเปน
การละเมิดตอโจทกหรือผิดสัญญาหมั้น โจทกจึงไมมีสิทธิเรียกคาทดแทนหรือคาเสียหายจากจําเลยทั้งสามตาม ปพ.พ.
ม. 1439 และ ม. 1440
การรับผิดตามสัญญาหมั้น เมื่อมีการหมั้นแลว ถาฝายใดผิดสัญญาหมั้น อีกฝายหนึ่งมีสิทธิเรียกใหรับผิดใชคาทด
แทน ในกรณีที่ฝายหญิงเปนฝายผิดสัญญาหมั้นใหคืนของหมั้นแกฝายชาย ( ม. 1439 ) อายุความ(ม.1447/2)
คูสัญญาที่ตองรับผิดตามสัญญาหมั้น มี 3 จําพวกคือ
1. ชายหญิงที่เปนคูหมั้น
2. บิดามารดาของชายหญิงคูหมั้นซึ่งเปนคูสัญญาหมั้น
3. บุคคลผูกระทําในฐานะเชนบิดามารดาของชายหญิงคูหมั้น
สินสอด เปนทรัพยสินที่ฝายชายใหแกบิดามารดา ผูรับบุตรบุญธรรม หรือผูปกครองฝายหญิง แลวแตกรณี
เพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส ( ม. 1437 ว. 3 )
ถาไมมีการสมรสโดยมีเหตุสําคัญอันเกิดแกหญิง หรือโดยพฤติการณซึ่งหญิงตองรับผิด ทําใหชายไมสมควร
หรือไมอาจสมรสกับหญิงนั้น ฝายชายเรียกสินสอดคืนได
ลักษณะสําคัญของสินสอดมีอยู 3 ประการ คือ
3

1. ตองเปนทรัพยสิน ตัวทรัพยสินที่เปนสินสอดไมจําเปนตองมอบใหในขณะทําสัญญา จะตกลงใหนํามา


มอบภายหลังก็ได
2. ตองเปนฝายชายใหแกบิดามารดา ผูรับบุตรบุญธรรม หรือผูปกครองฝายหญิง
3. ใหเพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส
ขอสังเกต
1. ทรัพยที่เปนสินสอดนั้นเมื่อไดสงมอบไปแลวยอมตกเปนสิทธิเด็ดขาดแกฝายหญิงทันที โดยไมตองรอใหมีการ
สมรสกันกอนแตอยางใด
2. การตกลงจะใหสินสอดแกกันนั้นจะตองตกลงใหแกกันกอนสมรส แตการสงมอบจะมอบใหกอนสมรสหรือ
หลังสมรสก็ได
3. ในการตกลงใหสินสอดนี้กฎหมายมิไดกําหนดแบบไว เพียงตกลงดวยวาจาก็ใชบังคับได
4. สินสอดไมใชสาระสําคัญของการหมั้นหรือการสมรส ชายหญิงจะทําการหมั้นหรือการสมรสกันโดยไมตองมี
สินสอดก็ได
ขอสังเกต หากไดมีการตกลงวาจะใหสินสอดแกกันแลว ฝายชายไมยอมให บิดามารดาหรือผูปกครองฝาย
หญิงฟองเรียกสินสอดได
5. ชายมีสิทธิเรียกสินสอดคืนไดนั้น มี 2 กรณี คือ
• ถาไมมีการสมรสโดยมีเหตุสําคัญอันเกิดแกหญิง ( ม. 1442 )
ถาไมมีการสมรสโดยมีพฤติการณซึ่งฝายหญิงตองรับผิดชอบ ( ม. 1444 - 1445 )
ผลของการหมั้น
1. สิทธิเรียกคาทดแทนจากคูหมั้นอีกฝายหนึ่ง ( ม. 1440 )
(1) คาทดแทนความเสียหายตอกายหรือชื่อเสียงแหงชายหรือหญิงนั้น
ฎ. 5777 / 2540 การที่โจทกจําเลยไดอยูกินดวยกันฉันสามีภริยาแลวโจทกตองเลิกรางจากจําเลยดวย
เหตุที่จําเลยผิดสัญญาหมั้นนั้นยอมเกิดความเสียหายแกกายและชื่อเสียงของโจทกซึ่งเปนหญิง ในการที่จะทําการสมรส
ใหม โจทกจึงมีสิทธิเรียกคาทดแทนจากจําเลยไดตาม ป.พ.พ. ม. 1439 และ ม. 1440 ( 1 ) เมื่อคํานึงถึงการที่โจทก ไม
เคยผานสมรสมากอน มีฐานะพอสมควร มีการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนเงินคาทดแทนที่ศาลลางกําหนดให
250,000 บาท นับวาเหมาะสมแกพฤติการณแลว
(2) คาทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คูหมั้น บิดา มารดา หรือบุคคลผูกระทําการใน
ฐานะบิดา มารดา ไดใชหรือตองตกเปนลูกหนี้ เนื่องในการเตรียมการสมรสโดยสุจริตและตามสม
ควร
(3) คาทดแทนความเสียหายที่คูหมั้นไดจัดการทรัพยสิน หรือการอื่นอันเกี่ยวแกอาชีพ หรือ
ทางทํามาหาไดของตนไปโดยสมควร ดวยคาดหมายวาจะมีการสมรส
4

2. สิทธิเรียกคาทดแทนจากชายอื่น ถาหากชายอื่นมาลวงเกินหญิงคูหมั้น
การที่ชายอื่นรวมประเวณีกับหญิงคูหมั้น โดยหญิงคูหมั้นยินยอมมีหลักกฎหมายตาม ม. 1445
ดังตอไปนี้
-- ชายอื่นรวมประเวณีกับหญิงคูหมั้น
-- ชายอื่นนั้นรูหรือควรรูวาหญิงไดหมั้นกับชายคูหมั้นแลว และรูดวยวาชายคูหมั้นเปนใคร
-- ชายคูหมั้นไดบอกเลิกสัญญาหมั้นแลว ( จะตองบอกเลิกสัญญาหมั้นกอนจึงจะเรียกคาทดแทน
ได )
การที่ชายอื่นขมขืนหรือพยามขมขืนกระทําชําเราหญิงคูหมั้นมีหลักกฎหมายตาม ม. 1446
-- ชายอื่นจะตองรูวาหญิงมีคูหมั้นแลว แตไมจําเปนตองรูวาชายคูหมั้นเปนใคร
-- ชายคูหมั้นไมจําเปนตองบอกเลิกสัญญาหมั้นกอน ก็เรียกคาทดแทนจากชายอื่นได
ขอสังเกต กรณีมีหญิงอื่นมาลวงเกินชายคูหมั้นทางประเวณี หญิงคูหมั้นไมมีสิทธิเรียกคาทดแทนจาก
หญิงอื่น โดยจะนํา ม. 1445 และ ม. 1446 มาอนุโลมใชบังคับไมได (กฎหมายใชคําวา “ ชายอื่น ”)
3. สิทธิเกี่ยวกับของหมั้น ทรัพยสินของหมั้นนั้นยอมตกเปนสิทธิของหญิงในทันที แตมีบางกรณีที่ฝาย
หญิงตองคืนของหมั้นใหแกฝายชายก็ได
กรณีที่ของหมั้นตกเปนสิทธิแกหญิงโดยไมตองคืนใหแกฝายชาย
1. เมื่อฝายชายผิดสัญญาหมั้น ( ม. 1439 )
2. เมื่อชายหรือหญิงตายกอนสมรส ( ม. 1441 )
3. เมื่อหญิงบอกเลิกสัญญาหมั้น เพราะมีเหตุสําคัญเกิดแกชาย ( ม. 1443 )
กรณีที่หญิงตองคืนของหมั้นใหแกชาย มีดังนี้
1. เมื่อหญิงผิดสัญญาหมั้น ( ม. 1439)
2. เมื่อชายบอกเลิกสัญญาหมั้น เพราะมีเหตุสําคัญเกิดแกหญิง ( ม. 1442 )
การหมั้นไมเปนเหตุที่จะรองขอใหศาลบังคับใหสมรสได ถามีขอตกลงเรื่องคาปรับในกรณีผิดสัญญา
หมั้น ขอตกลงนั้นเปนโมฆะ
การสิ้นสุดของการหมั้น
1. กรณีที่คูหมั้นฝายใดฝายหนึ่งตายกอนสมรส
2. กรณีมีการบอกลางสัญญาหมั้น
3. กรณีที่มีการสมรส
4. การสิ้นสุดโดยความยินยอมของทั้งชายและหญิง
5. กรณีฝายใดฝายหนึ่งบอกเลิกสัญญาหมั้นเนื่องจากมีเหตุสําคัญอันเกิดแกคูหมั้น
• ชายบอกเลิกสัญญาหมั้นโดยมีเหตุสําคัญอันเกิดแกหญิงคูหมั้น
หญิงบอกเลิกสัญญาหมั้นโดยมีเหตุสําคัญอันเกิดแกชายคูหมั้น
5

กรณีคาทดแทนในการเลิกสัญญาหมั้น มีประเด็นที่นาสนใจดังนี้
คาทดแทนความเสียหายเรื่องการหมั้น ตองเปนคาเสียหายที่เกิดขึ้นแลว มิใชคาขาดกําไรอันควรได และสิทธิเรียกคา
ทดแทนเรื่องการหมั้นนี้นอกจากกรณีตาม ม. 1440 ( 2 ) ไมอาจโอนกันไดและไมตกทอดไปถึงทายาท (ม. 1440 ( 2 )
เปนสิทธิเฉพาะตัว เวนแต สิทธินั้นจะไดรับสภาพกันไวเปนหนังสือหรือผูเสียหายไดเริ่มฟองคดีตามสิทธินั้นแลว)
อายุความในเรื่องการหมั้น
• กฎหมายกําหนดไว 6 เดือน เริ่มนับตั้งแตขณะที่อาจบังคับสิทธิเรียกรอง ( ม. 1447/2 )
• กรณีที่เรียกสินสอดคืน กฎหมายมิไดกําหนดอายุความไวโดยเฉพาะ จึงตองถืออายุความ 10 ป
( ม.193/30 )
การสมรส คือการที่ชายและหญิงสมัครใจเขามาอยูกินกันฉันสามีภริยากันชั่วชีวิต โดยจะไมเกี่ยว
ของทางชูสาวกับบุคคลอื่นใดอีก
เงื่อนไขการสมรส
1. การสมรสจะทําไดในระหวางชายกับหญิงเทานั้น และจะทําการสมรสไดก็ตอเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17 ป
บริบูรณ แตในกรณีมีเหตุอันสมควร ศาลอนุญาตใหทําการสมรสกอนนั้นได ( ม. 1448 )
2. หากผูเยาวจะทําการสมรส ตองไดรับความยินยอมจากบุคคลตาม ม. 1454 , 1455 เสียกอน
3. ชายหรือหญิงตองไมเปนคนวิกลจริต หรือเปนบุคคลซึ่งศาลสงใหเปนคนไรความสามารถตาม ม. 1449 ถาฝาฝน
การสมรสตกเปนโมฆะตาม ม. 1495
4. ชายหรือหญิงไมไดเปนญาติสืบสายโลหิตตอกันหรือเปนพี่นองรวมบิดามารดาหรือรวมแตบิดาหรือมารดาตาม ม.
1450 ถาฝาฝนการสมรสตกเปนโมฆะตาม ม. 1495
5. ผูรับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะสมรสกันมิไดตาม ม. 1451 แตกฎหมายมิไดบัญญัติใหการสมรสที่ฝาฝน
เงื่อนไขขอนี้เปนโมฆะหรือโมฆียะ เนื่องจากผูรับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมไมมีความสัมพันธในทางสาย
โลหิตกันเลย และมี ม. 1598 / 32 การรับบุตรบุญธรรมเปนอันยกเลิกเมื่อมีการฝาฝน ม. 1451
6. ชายหรือหญิงมิไดเปนคูสมรสของบุคคลอื่นอยูตาม ม. 1452 การสมรสที่ฝาฝนบทบัญญัติดังกลาวเปนโมฆะตาม
ม. 1495
7. หญิงหมายจะสมรสใหมไดก็ตอเมื่อขาดจากการสมรสเดิมแลวไมนอยกวา 310 วัน แตมีขอยกเวนตาม ม. 1453
8. ชายและหญิงยินยอมสมรสกันตาม ม. 1458 โดยเปดเผยตอหนานายทะเบียน และใหนายทะเบียนบันทึกความยิน
ยอมนั้นไวดวย
แบบแหงการสมรส การสมรสจะมีไดเฉพาะเมื่อไดจดทะเบียนสมรสแลวเทานั้นตาม ม. 1457
ขอสังเกตที่นาสนใจ
1. เมื่อชายและหญิงจดทะเบียนสมรสกันแลว ชายหญิงยอมเปนสามีภริยาตามกฎหมาย แมจะไดเลิกรางกัน
ไป 20 ถึง 30 ป ทรัพยสมบัติแบงแยกกันไปเปนสัดสวน แตตราบใดที่ยังไมไดจดทะเบียนหยา หญิง
นั้นยังเปนภริยาชายโดยชอบดวยกฎหมายอยู
2. การที่สามีภริยาตกลงหยาและแบงทรัพยสินกัน โดยชอบดวยกฎหมายแลวแมภายหลังจะกลับมาอยูกิน
กันใหมแตไมไดจดทะเบียนสมรสกันก็ไมถือวาเปนสามีภริยากันโดยชอบดวยกฎหมาย
6

3. การที่ชายหญิงสมรสกันตามกฎหมายลักษณะผัวเมียกอนวันที่ 1 ตุลาคม 2478 โดยไมไดจดทะเบียน


สมรสกันนั้น การสมรสดังกลาวเปนอันสมบูรณ ในปจจุบันนี้โดยไมจําเปนตองมาจดทะเบียนสมรสกัน
ใหมอีก
ฎ. 2616 / 2543 แมใบทะเบียนการสมรสมิไดประทับตรานายทะเบียนก็หาทําใหทะเบียนการ
สมรสไมสมบูรณหรือเปนโมฆะเพราะ พ.ร.บ. การจดทะเบียนครอบครัวกําหนดเพียงใหนายทะเบียนลงลายมือชื่อไวเปน
สําคัญ มิไดวาตองประทับตราแตอยางใด
ความสัมพันธระหวางสามีภริยา มี 2 ประเภท คือความสัมพันธในทางสวนตัวกับความสัมพันธในทาง
ทรัพยสิน
ความสัมพันธในทางสวนตัว
1. การอยูกินดวยกันฉันสามีภริยา
2. การชวยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกัน หากสามีภริยาไมชวยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามสมควร อีกฝายหนึ่งยอมฟอง
เรียกคาอุปการะเลี้ยงดูไดตาม ม. 1598 / 38 หรือหากประสงคจะหยาขาดจากกันก็อาจฟองหยาไดตาม ม. 1518
(6) สิทธิที่จะไดคาอุปการะเลี้ยงดูนี้จะสละหรือโอนมิได และไมอยู ในขายแหงการบังคับคดีตาม ม. 1598 / 41
3. การแยกกันอยูตางหากชั่วคราว
• สามีภริยาอาจทําขอตกลงระหวางกันเพื่อแยกกันอยูตางหากเปนการชั่วคราวได ขอตกลงนี้ใชบังคับได
แตสถานะความเปนสามีภริยายังคงมีอยูยังไมถือวาการสมรสสิ้นสุดลง ดังนั้นสามีหรือภริยาจะทําการ
สมรสใหมไมได ซึ่งผลของขอตกลงนี้มีเพียงทําใหการแยกกันอยูนี้แมจะเปนเวลานานเกิน 1 ป ก็ไม
ถือวาเปนการจงใจทิ้งราง คูสมรสฝายใดฝายหนึ่งจะมาอางเปนเหตุฟองอยาตาม ม. 1516 ( 4 ) ไมได แต
ถาหากการตกลงแยกกันอยูนี้เปนเพราะเหตุที่ไมอาจอยูรวมกันฉันสามีภริยาไดโดยปกติสุขและสามีภริยา
ไดแยกกันอยูแลวเปนเวลาเกิน 3 ป สามีหรือภริยาฝายใดฝายหนึ่งมีสิทธิฟองหยาไดตาม ม. 1518 (4/2)
ศาลมีคําสั่งอนุญาตใหแยกกันอยูตางหากเปนการชั่วคราวตาม ม. 1462
--การอยูรวมกันจะเปนอันตรายแกกายอยางมากของสามีหรือภริยา
--การอยูรวมกันจะเปนอันตรายแกจิตใจอยางมากของสามีหรือภริยา เชน สามีชอบผูชายดวยกันและนํา
เขามาอยูในบานดวยเชนนี้เปนการทํารายจิตใจของภริยาอยางมาก ภริยามีสิทธิรองขอใหแยกกันอยูตางหากเปนการชั่ว
คราวได
--การอยูรวมกันจะเปนการทําลายความผาสุขอยางมากของสามีหรือภริยา
ขอสังเกต มีคําพิพากษาที่นาสนใจที่วินิจฉัยวา การที่จําเลยชอบดุดา ชอบเสพสุรา เคยฟน
โจทย 2 ครั้งที่แขนซายและมือซาย เคยเอากาแฟรอนสาดหนาและตอยโจทก และโจทกก็เคยฟนจําเลยถึงกระดูกนิ้วขาด
พฤติการณเชนนี้เกิดขึ้นเปนครั้งคราวจากการที่เปนสามีภริยากันมารวม 2 ระยะ เปนเวลาประมาณ 7- 8 ป ศาลฎีกา
วินิจฉัยวา ถือวาไมมีลักษณะจะเปนเหตุที่โจทกพอจะใหตนแยกกันอยูตางหากจากจําเลย ดังที่บัญญัติไวใน ม. 1462 ( ฎ.
369 / 2509 )
7

การสิ้นสุดของการแยกกันอยู
--สามีภริยาตกลงยกเลิกการแยกกันอยู
--สามีภริยาอยาขาดจากกัน
--สามีภริยาฝายใดฝายหนึ่งถึงแกความตาย
ความสัมพันธในทางทรัพยสิน ( ม. 1470 )
1. สินสวนตัว ( ม. 1471 ) คือทรัพยสินที่เปนกรรมสิทธิ์ของคูสมรสฝายใดฝายหนึ่งโดยเฉพาะ
(1) ทรัพยสินที่คูสมรสฝายใดฝายหนึ่งมีอยูกอนสมรส ทรัพยสินเชนวานี้จะตองตกเปนกรรมสิทธิ์ของคู
สมรสฝายนั้นแลว แตถาทรัพยสินนั้นยังไมตกเปนกรรมสิทธเด็ดขาดของคูสมรสฝายใด แมจะอยูในเงื่อนไข
ที่จะตองไดกรรมสิทธิ์มาในภายหลัง ก็ไมถือวาเปนทรัพยสินที่มีอยูกอนสมรส เชนโจทกและจําเลยไดรวม
กันดําเนินกิจการรานเสริมสวยตั้งแตกอนจดทะเบียนสมรสกัน กิจการรานเสริมสวยจึงเปนทรัพยสินที่โจทก
และจําเลยมีอยูแลวกอนสมรส จึงเปนสินสวนตัวของโจทกและจําเลยตาม ม. 1471(1)
ตามแนว ฎ. 4650 / 2545
แตถา กรณีที่โจทกมีที่ดินอยูแลวกอนสมรสแมในระหวางสมรสโจทกสมัครเขาเปนสมาชิกนิคมสรางตนเอง
และไดสิทธิในการขอออกหนังสือรับรองการทําประโยชนและไดขอออก น.ส. 3 สําหรับที่ดินของโจทก เชนนี้เปนเพียง
ขั้นตอนที่โจทกจะไดรับหนังสือรับรองการทําประโยชนสําหรับที่ดินเทานั้น ไมกระทบถึงสิทธิของโจทกที่มีเหนือที่ดิน
เมื่อที่ดินของโจทกมีมากอนอยูกินและจดทะเบียนสมรสกับจําเลย จึงมิใชทรัพยสินที่โจทกไดมาระหวางสมรส ไมเปน
สินสมรสแตเปนสินสวนตัวตาม ฎ. 7174 / 2539
(2) ทรัพยสินที่เปนเครื่องใชสอยสวนตัว เครื่องแตงกายหรือเครื่องประดับตามควรแกฐานะ หรือเครื่องมือ
เครื่องใชที่จําเปนในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพของคูสมรสฝายใดฝายหนึ่ง
(3) ทรัพยที่ฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยการรับมรดกหรือการใหโดยเสนหา คือ ทรัพยสินเหลานี้
ถือวาเปนสินสวนตัวของสามีหรือภริยาผูที่ไดรับมาทั้งสิ้น ไมถือวาเปนสินสมรสทั้งๆที่ไดมาระหวางสมรส
เชน กรณีไดที่ดินพิพาทมาในระหวางสมรสกับผูตาย แตปรากฏวาเปนกรณีไดรับการยกใหที่ดินภายหลังใช
บรรพ 5 ใหม พ.ศ. 2519 แลว เมื่อไมปรากฏมีหนังสือยกใหโดยระบุใหเปนสินสมรส ก็ตองถือวาเปนการ
ยกใหที่ดินเปนสินสวนตัวของผูรองตาม ม. 1471 (3) ตามแนว ฎ. 4982 / 2541
(4) ทรัพยที่เปนของหมั้นเปนสินสวนตัวของภริยา
ขอสังเกต
( 1 )ในกรณีที่สามีหรือภริยาไดรับรางวัลจากการกระทําสิ่งใดหรือจากการประกวดชิงรางวัล รางวัลที่ไดรับ
มานั้นเปนสินสวนตัว
( 2 ) ของแทนสินสวนตัว ทรัพยสินที่เปนสินสวนตัวนั้นถาไดมีการแลกเปลี่ยนเปนทรัพยสินอื่นก็ดี ซื้อขาย
ทรัพยสินอื่นมาดวยสินสวนตัวก็ดี หรือขายสินสวนตัวไดเงินมาก็ดี ทรัพยสินอื่นหรือเงินที่ไดมานั้นยังคง
เปนสินสวนตัวอยูตามเดิม เพราะเปนไปตามหลักในเรื่องชวงทรัพยตาม ม. 226 ว. 2 หรือสินสวนตัวที่ถูก
ทําลายไปทั้งหมดหรือบางสวน แตไดทรัพยสินหรือเงินทดแทน ทรัพยสินอื่นหรือเงินที่ไดมานั้นเปนสิน
สวนตัวเชนเดียวกัน
8

(3) การจัดการสินสวนตัวของคูสมรสฝายใดใหฝายนั้นเปนผูจัดการตาม ม. 1473

2. สินสมรส บัญญัติไวใน ม. 1474 มี 3 ชนิดดังนี้


( 1) ทรัพยสินที่คูสมรสไดมาระหวางสมรส โดยไมตองคํานึงวาฝายใดมีสวนรวมในการทํามาหาได
นั้นหรือไม นอกจากนี้การที่สามีภริยาแยกกันอยูหรือทิ้งรางกันโดยไมไดอยาขาดจากกันโดยเด็ดขาด
ทรัพยสินที่ทํามาหาไดในระหวางนั้นก็ถือวาเปนสินสมรสดวย
( 2 ) ทรัพยสินที่คูสมรสฝายใดฝายหนึ่งไดมาโดยพินัยกรรม หรือ โดยการใหเปนหนังสือ ทรัพยสิน
เชนวานี้เปนสินสวนตัวของฝายนั้นตาม ม. 1471 (3) แตหากเจามรดกหรือผูใหระบุไวในพินัยกรรม
หรือหนังสือยกให ระบุวาใหเปนสินสมรสจึงจะเปนสินสมรส
ฎ. 2062 / 2535 จําเลยไดที่พิพาทมาโดยบิดายกให แมเปนการยกใหระหวางสมรส แตเมื่อการยกใหมิได
ทําเปนหนังสือระบุวาใหเปนสินสมรส ที่พิพาทจึงตกเปนสินสวนตัวตาม ม. 1471 (3) บทบัญญัติ ม. 1474 ว. 2 ที่วา
กรณีเปนที่สงสัยวาทรัพยสินอยางหนึ่งเปนสินสมรสหรือไมใช ใหสันนิษฐานวาเปนสินสมรสนั้นไมใช ในกรณีที่ขอเท็จ
จริงในคดีนี้เห็นไดอยางชัดแจงวาที่พิพาทเปนสินสวนตัวโดยปราศจากขอสงสัย
( 3 ) ทรัพยสินที่เปนดอกผลของสินสวนตัว

การจัดการสินสมรส
หลัก สามีหรือภริยาฝายใดฝายหนึ่งมีอํานาจจัดการสินสมรสไดโดยลําพัง เวนแต การจัดการที่สําคัญจึงจะ
ตองจัดการรวมกันตาม ม. 1476 ( เมื่อการจัดการใดๆที่ทําใหเสียประโยชน หรือ เพิ่มภาระใหสินสมรส)
1. สามีภริยาเพียงคนเดียวมีอํานาจฟองหรือตอสูคดีเกี่ยวกับสินสมรสตาม ม. 1477
2. ถาสามีหรือภริยาฝายใดฝายหนึ่งไมใหความยินยอมในการจัดการสินสมรสที่สําคัญ อีกฝายหนึ่งอาจขอใหศาลสั่ง
อนุญาตแทนความยินยอมไดตาม ม. 1478
3. ถาสามีหรือภริยาจัดการสินสมรสที่สําคัญไปโดยลําพัง คูสมรสอีกฝายหนึ่งที่มิไดยินยอมอาจขอใหศาลเพิกถอน
นิติกรรมนั้นไดตาม ม. 1480 แตการเพิกถอนนิติกรรมดังกลาวอาจจะเปนที่เสียหายแกบุคคลภายนอกได ดังนั้น
ม. 1480 จึงไดบัญญัติคุมครองบุคคลภายนอกผูทําการโดยสุจริตและเสียคาตอบแทนซึ่งการเพิกถอนนิติกรรมนั้น
จะไปกระทบกระเทือนสิทธิบุคคลภายนอกไมได ซึ่ง ม. 1480 วรรคทาย กําหนดใหคูสมรสที่ไมไดใหความยิน
ยอมในการทํานิติกรรมนั้นจะตองฟองขอใหศาลเพิกถอนนิติกรรมนั้นเสียภายในกําหนด 1 ป นับแตวันที่รูวาได
มีการทํานิติกรรมหรืออยางชาภายใน 10 ป นับแตวันที่ไดทํานิติกรรม
4. สามีหรือภริยาไมมีอํานาจทําพินัยกรรมยกสินสมรสที่เกินกวาสวนของตนใหแกบุคคลใดไดตาม ม. 1481
5. สามีหรือภริยาโดยลําพังมีอํานาจจัดการบานเรือนหรือจัดหาสิ่งจําเปนสําหรับครอบครัวไดเสมอตาม ม. 1482
6. สามีหรือภริยาอาจขอใหศาลสั่งหามคูสมรสอีกฝายหนึ่งมิใหจัดการสินสมรสอันจะกอใหเกิดความเสียหายถึง
ขนาดไดตาม ม. 1483
7. ถามีเหตุจําเปน สามีหรือภริยาอาจขอใหศาลสั่งอนุญาตใหตนเปนผูจัดการสินสมรสแตผูเดียวหรือขอใหแยกสิน
สมรสไดตาม ม. 1484
หมายเหตุ สินสมรสระหวางสามีภริยาที่ไดจดทะเบียนกัน ตองถือวาตางมีสิทธิเปนเจาของคนละครึ่ง
9

ความรับผิดในหนี้สินของสามีภริยา หนี้สินของสามีภริยาแบงออกไดเปน 2 กรณี


1. หนี้ที่มีมากอนสมรส เปนหนี้ที่ฝายนั้นจะตองรับผิดเปนสวนตัวแตเพียงผูเดียว แมจะเปนหนี้ที่สามีภริยาเปนหนี้
ระหวางกันเองมากอนก็ตาม ก็ยังคงเปนลูกหนี้กันอยู
2. หนี้ที่กอขึ้นในระหวางสมรส อาจจะเปนหนี้สวนตัวของสามีหรือภริยาฝายใดฝายหนึ่ง หรือเปนหนี้รวมที่สามี
ภริยาเปนลูกหนี้รวมกันก็ไดแลวแตกรณี ซึ่งโดยหลัก คูสมรสฝายใดเปนผูกอใหเกิดหนี้ หนี้ที่เกิดขึ้นก็เปนหนี้
ของฝายนั้น เวนแตจะเขาขอยกเวนวาเปนลูกหนี้รวมตาม ม. 1490 เชน หนี้ที่สามีหรือภริยากอขึ้นในระหวาง
สมรส ซึ่ง ม. 1490 บัญญัติใหถือเปนหนี้รวมนั้นหมายถึงการเปนสามีภริยากันโดยชอบดวยกฎหมายตามแนว
ฎ. 1908 / 2450
หนี้รวมระหวางสามีภริยา หนี้ที่เกิดขึ้นระหวางสมรส ม. 1490 กําหนดใหเปนหนี้รวมระหวางสามีภริยามี
อยู 4 กรณี คือ
1. หนี้เกี่ยวแกการจัดการบานเรือนและจัดหาสิ่งจําเปนสําหรับครอบครัว การอุปการะเลี้ยงดู ตลอดถึงการรักษา
พยาบาลบุคคลในครอบครัวและการศึกษาของบุตรตามอัตภาพ ม. 1490 (1)
2. หนี้ที่เกี่ยวของกับสินสมรส จะตองเปนหนี้ที่เกี่ยวกับตัวทรัพยสินอันเปนสินสมรสโดยตรง เชน จําเลยกูเงิน
โจทกไปไถจํานองที่ดินและบานอันเปนสินสมรส หนี้รายนี้จึงเปนหนี้ที่เกี่ยวของกับสินสมรสอันเปนหนี้ที่สามี
ภริยาเปนลูกหนี้รวมกันตาม ม. 1490 (2) ผูรองซึ่งเปนภริยาจําเลยไมมีสิทธิรองขอกันสวนของตน ตามแนว
ฎ. 3141 / 2532
3. หนี้ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการงานซึ่งสามีภริยาทําดวยกัน ซึ่งการงานทุกอยางที่สามีภริยาทําดวยกันและเกิดเปนหนี้ขึ้น
เนื่องจากกิจการนั้นถือวาเปนหนี้รวมทั้งสิ้น ม. 1490 (3)
4. หนี้ที่สามีหรือภริยากอขึ้นเพื่อประโยชนตนฝายเดียว แตอีกฝายหนึ่งไดใหสัตยาบัน คูสมรสจะใหสัตยาบันดวย
วาจาก็ได
ขอสังเกต การที่คูสมรสฝายหนึ่งลงลายมือชื่อในฐานะเปนพยานในสัญญาที่คูสมรสอีกฝายหนึ่งทําขึ้น
ก็ถือวาเปนการใหสัตยาบันในสัญญานั้นโดยปริยายแลว

การแยกสินสมรส ในระหวางที่ยังเปนสามีภริยากันนั้น อาจมีการแยกสินสมรสระหวางสามีภริยาทั้งหมดออก


จากกันโดยคําสั่งศาลหรือโดยผลของกฎหมาย อันมีผลทําใหสามีภริยาไมมีสินสมรสอยูอีกตอไป คงมีแตสินสวนตัวเทา
นั้นตาม ม. 1492 มี 3 กรณีดังตอไปนี้
1. สามีหรือภริยาถูกศาลมีคําสั่งใหแยกสินสมรส เมื่อมีการจัดการสินสมรสเปนที่เสียหายถึงขนาด หรือจะทําความ
เสียหายใหแกสินสมรสตาม ม. 1484 ว. 2
2. สามีหรือภริยาตองคําพิพากษาใหเปนคนลมละลายตาม ม. 1491
3. ศาลมีคําสั่งใหแยกสินสมรส ในกรณีที่สามีหรือภริยาเปนคนไรความสามารถและมีการตั้งบิดา มารดา หรือ
บุคคลภายนอกเปนผูอนุบาลตาม ม. 1598 / 17 ว. 2
ผล เมื่อมีการแยกสินสมรสระหวางสามีภริยาทั้งหมดออกจากกันใน 3 กรณีนี้แลว สินสมรสสวนที่แยก
ออกตกเปนสินสวนตัวของสามีหรือภริยาแตละฝาย
10

ขอสังเกต เมื่อมีการแยกสินสมรสระหวางสามีภริยาทั้งหมดออกจากกันโดยคําสั่งศาลหรือโดยผลของกฎหมาย
ทั้ง 3 กรณี เนื่องจากคูสมรสทั้งสองฝายตางยังคงเปนสามีภริยากันอยู คูสมรสจึงอาจมีความประสงคที่จะใหมีการรวม
สินสมรสกันใหมก็ไดตาม ม. 1492 / 1 เฉพาะสินสมรสที่เกิดใหมเทานั้นจึงจะเปนสินสมรส

การสมรสเปนโมฆะ เหตุที่ทําใหการสมรสเปนโมฆะมี 4 กรณี


1. การสมรสที่ชายหรือหญิงเปนบุคคลวิกลจริตหรือเปนบุคคลที่ศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ อันเปนการฝา
ฝนตาม ม. 1449 ผลเปนโมฆะตาม ม. 1495
2. การสมรสที่ชายหรือหญิงเปนญาติสืบสายโลหิตโดยตรงตอกันหรือเปนพี่นองรวมบิดามารดาหรือรวมแตบิดาหรือ
มารดา อันเปนการฝาฝน ม. 1450 ผลเปนโมฆะตาม ม. 1495
3. การสมรสซอน อันเปนการฝาฝน ม. 1452 ผลเปนโมฆะตาม ม. 1495
4. การสมรสที่ชายหญิงไมยอมเปนสามีภริยากัน อันเปนการฝาฝน ม. 1458 ผลเปนโมฆะตาม ม. 1495
ขอสังเกตที่สําคัญ คําพิพากษาของศาลเทานั้น ที่จะแสดงวาการสมรสที่ฝาฝน ม. 1449 , 1450 ,1458 เปน
โมฆะตาม ม. 1496 สวนเหตุที่จะแสดงวาการสมรสซอนที่ฝาฝนม.1452เปน โมฆะได 2 กรณี คือ
1. บุคคลที่มีสวนไดเสียคนใดคนหนึ่งไดกลาวอางขึ้น หรือ
2. มีคําพิพากษาถึงที่สุดของศาลแสดงวาการสมรสเปนโมฆะ

ผลของการสมรสที่เปนโมฆะ
1. การสมรสที่เปนโมฆะไมกอใหเกิดความสัมพันธทางทรัพยสินระหวางสามีภริยาตาม ม. 1498
2. การสมรสที่เปนโมฆะไมทําใหคูสมรสที่สุจริตเสื่อมสิทธิที่ไดมาเพราะการสมรสและยังมีสิทธิเรียกคาเลี้ยงชีพและ
คาทดแทนอีกดวยตาม ม. 1499 ในการสมรสที่เปนโมฆะคูสมรสฝายใดฝายหนึ่งอาจจะทําการสมรสโดย
สุจริต ไมทราบเหตุที่ทําใหการสมรสเปนโมฆะไดตาม ม. 1499 จึงใหความคุมครองคูสมรสไว 3 กรณี
• ชายหญิงผูสมรสโดยสุจริตไมเสื่อมสิทธิที่ไดมาเพราะการสมรสนั้น
• ชายหรือหญิงผูสมรสโดยสุจริตมีสิทธิเรียกคาทดแทนได เชนตาม ฎ. 8882 / 2544
ชายหรือหญิงผูสมรสโดยสุจริตมีสิทธิเรียกคาเลี้ยงชีพได
ฎ. 3134 / 2530 ขณะที่โจทกจดทะเบียนสมรสกับจําเลยนั้นโจทกไมทราบวาจําเลยไดจดทะเบียนสมรสกับหญิง
อื่นอยูแลว โจทกจึงเปนผูสมรสโดยสุจริต เมื่อโจทกฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาแสดงวาการสมรสระหวางโจทกกับ
จําเลยเปนโมฆะ โจทกจึงมีสิทธิเรียกคาทดแทนและคาเลี้ยงชีพจากจําเลยได ที่ศาลชั้นตนกําหนดคาทดแทนเปนเงิน
40,000 บาท และคาเลี้ยงชีพเดือนละ 1,000 บาท เปนการสมควรและเหมาะสมกับพฤติการณแหงรูปคดีแลว
3. การสมรสที่เปนโมฆะไมกระทบถึงสิทธิของบุคคลภายนอก ผูกระทําการโดยสุจริตตาม ม. 1500
4. การสมรสที่เปนโมฆะไมมีผลกระทบกระเทือนถึงการเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายตาม ม. 1536, 1538, 1499 / 1

การสมรสเปนโมฆียะ คือการสมรสที่ฝาฝนเงื่อนไขที่กฎหมายกําหนดไว เหตุที่ทําใหการสมรสเปนโมฆียะ


1. การสมรสที่ชายและหญิงอายุยังไมครบ 17 ปบริบูรณตาม ม. 1448, 1504
11

ขอสังเกต กรณีที่ศาลมิไดสั่งใหเพิกถอนการสมรสที่เปนโมฆียะเพราะเหตุคูสมรสอายุยังไมครบ 17 ปบริบูรณ


จนชายและหญิงมีอายุครบ 17 ปบริบูรณ กฎหมายใหถือวาการสมรสสมบูรณมาตั้งแตเวลาสมรส ที่ไมอาจมีใครมา
รองขอใหศาลเพิกถอนได และตองเปนกรณีวาทั้งชายและหญิงจะตองอายุครบ 17 ปดวยกันทั้งสองคนจึงจะเขา
ขอยกเวนที่ใหถือวาการสมรสสมบูรณมาตั้งแตเวลาสมรส
2. กรณีที่หญิงมีครรภกอนอายุครบ 17 ปบริบูรณแมชายจะมีอายุเทาใดก็ตามก็ขอใหเพิกถอนไมได
การสมรสโดยสําคัญผิดตัวคูสมรสตาม ม. 1505 คือการเขาใจผิดในตัวบุคคลอันเปนผลใหมิไดทําการสมรสกับ
บุคคลที่ตนประสงค แตหากเปนการสําคัญผิดในฐานะของบุคคลแลว เหตุที่สําคัญผิดในฐานะของบุคคลนี้ไมทํา
ใหการสมรสตองเสื่อมเสียไป
3. การสมรสโดยถูกกลฉอฉลตาม ม. 1506 กลฉอฉลตามความหมายนี้คือ การลวงใหเขาแสดงเจตนาสมรสแต
หากกลฉอฉลนั้นเกิดขึ้นโดยบุคคลภายนอกโดยคูสมรสอีกฝายหนึ่งไมรูเห็นดวยผลคือการสมรสที่ไดกระทํานั้น
ไมเปนโมฆียะ
การขอเพิกถอนการสมรสที่เปนโมฆียะเพราะถูกกลฉอฉลนี้เฉพาะแตคูสมรสที่ถูกกลฉอฉลเทานั้นจึงจะมี
สิทธิขอใหเพิกถอนตาม ม. 1508
4. การสมรสโดยถูกขมขูตาม ม. 1507
5. การสมรสของผูเยาวที่ไมไดรับความยินยอมของบิดามารดา ผูรับบุตรบุญธรรมหรือผูปกครอง ตาม ม. 1509,
1510
ผลของการเพิกถอนการสมรสที่เปนโมฆียะ
1. การสมรสที่เปนโมฆียะยอมสิ้นสุดลงในวันที่ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหเพิกถอนตาม ม. 1511 การสมรสที่เปน
โมฆียะจะสิ้นสุดลงในวันที่คําพิพากษาถึงที่สุดซึ่งก็คือในวันที่ศาลไดอานคําพิพากษา
ในระหวางการสมรสยังไมถูกเพิกถอนคูสมรสมีความสัมพันธกันฉันสามีภริยาทั้งในทางสวนตัวและทาง
ทรัพยสินกอใหเกิดสินสวนตัวและสินสมรสขึ้น คูสมรสฝายหนึ่งมีสิทธิรับมรดกของคูสมรสอีกฝายหนึ่งไดถาคูสมรสฝาย
หลังนี้ตายกอนศาลพิพากษาใหเพิกถอนการสมรส
2. ตองมีการแบงทรัพยสินระหวางสามีภริยาและกําหนดการปกครองบุตรเชนเดียวกับการหยาโดยคําพิพากษาตาม
ม. 1512
3. มีการชดใชคาเสียหายและคาเลี้ยงชีพตาม ม. 1513
การหยา หลักการเรื่องการหยามี 2 กรณี คือ
1. การหยาโดยความยินยอมของทั้งสองฝายมีหลักดังนี้
• การหยาโดยความยินยอมตองทําเปนหนังสือและมีพยานอยางนอย 2 คนตาม ม. 1514 ( การที่พยาน
อยางนอยสองคนจะตองลงลายมือชื่อในหนังสือหยา แตกฎหมายไมไดกลาวถึงคูหยาเองวาจะตองลงลาย
มือชื่อหรือไม กรณีนี้ตองเปนไปตาม ม. 9 ที่คูหยานั้นจะตองลงลายมือชื่อในหนังสือหยา มิฉะนั้นจะ
เปนหนังสือหยาไมได
การหยาโดยความยินยอมจะสมบูรณตอเมื่อไดจดทะเบียนการหยาตาม ม. 1515
2. การหยาโดยคําพิพากษาของศาล โดยอาศัยเหตุฟองหยาตาม ม. 1516
12

ฎ.1412 / 2543 ใหหลักถึงเหตุฟองหยาไววาเหตุฟองหยาตาม ม. 1516 แยกไดเปน 2 กรณี คือ


• เหตุฟองหยาที่มิไดเกิดจากความยินยอมพรอมใจกันของคูกรณีทั้งสองฝายจึงตองกลาวอางวาฝายใด
ฝายหนึ่งกระทําการเขาเงื่อนไขอยางใดอยางหนึ่งตาม ม. 1516
เหตุฟองหยาที่เกิดจากความสมัครใจของคูกรณีทั้งสองฝายตาม ม. 1516 (4/2 )
ขอสังเกต 1. เหตุฟองหยาอันเนื่องจากกรณีที่หนึ่งนั้นโจทกตองพิสูจนใหศาลเชื่อวาจําเลยเปนฝายประพฤติตนไม
สมควร หรือการกระทําอันเขาเงื่อนไขที่ ม. 1516 ไดระบุไวนอกจากอนุมาตรา ( 4/2 )
2. สวนเหตุฟองหยาอันเกี่ยวจากกรณีที่สองก็ตองเกิดจากความสมัครใจโดยแทจริงของคูกรณีทั้งสอง
ฝาย มิใชสมัครใจเพียงฝายเดียว ดังนั้นหากพฤติการณแหงคดีมิไดเปนไปทั้งสองกรณีนี้ โจทกไมมีสิทธิ
ฟองหยาจําเลย แมวาจะมิไดอยูรวมกันหรือไมมีเยื่อใยตอกัน และไมมีความหวังที่จะคืนดีกันอีกก็ตาม

อายุความฟองหยาพิจารณาไดดังนี้
1. ในการฟองหยาหรือการฟองเรียกคาทดแทนจากชายชูหรือหญิงอื่นที่มีความสัมพันธทางชูสาวกับสามีตาม ม.
1529 กําหนดอายุความไวเพียง 1 ป นับแตวันที่คูสมรสฝายที่มีสิทธิฟองหยาไดรูหรือควรรูความจริง
2. ในการฟองหยาในกรณีที่มีลักษณะตอเนื่องกันไปหรือเปนการถาวรตาม ม. 1516 (5) ไมมีอายุความตราบใดที่
เหตุนั้นๆยังมีอยูก็ฟองหยาไดแตถาเหตุเหลานี้สิ้นสุดลงแลวจะยกขึ้นอางเปนเหตุฟองหยาไมได
3. ในกรณีฟองหยาเพราะผิดทัณฑบนที่ทําไวเปนหนังสือในเรื่องความประพฤติตาม ม. 1518 (8) ไมมีลักษณะเปน
การตอเนื่องแตกฎหมายมิไดกําหนดอายุความไว จึงตองใชอายุความ 10 ปตาม ม. 193 / 30

ผลของการหยา การแบงทรัพยสินของสามีภริยา เมื่อหยากันแลวใหแบงทรัพยสินโดยใหชายและหญิงมี


สวนเทาๆกันตาม ม. 1533 และในกรณีที่มีหนี้ทั้งตองรับผิดรวมกันก็ใหแบงแยกความรับผิดนั้นออกเปนสวนเทาๆกัน
ตาม ม. 1535

บิดามารดากับบุตร
การเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมาย หลัก บุตรที่เกิดจากหญิงยอมเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายของมารดาเสมอ
ขอยกเวน
1. เด็กที่เกิดระหวางสมรสตาม ม. 1536 ใหสันนิษฐานวาเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายของชายผูเปนสามี ขอ
สันนิษฐานใชบังคับกับกรณีเด็กเกิดแกหญิงหมายภายใน 310 วัน หลังจากชายผูเปนสามีตาย หยาหรือศาล
พิพากษาใหเพิกถอนการสมรสกับหญิงดวย
2. เด็กที่เกิดจากการสมรสเปนโมฆะ กรณีการสมรสซอน
• หญิงทําการสมรสซอนตาม ม. 1452 ผลคือการสมรสครั้งที่สองเปนโมฆะ หญิงคลอดบุตรออกมา
กฎหมายใหสันนิษฐานไวกอนวาเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของชายซึ่งเปนสามีคนที่สองตาม ม. 1538
(ในกรณีสามีคนที่สองอาจพิสูจนโดยการฟองคดีไมรับเด็กเปนบุตรไดตาม ม. 1539 ผล เมื่อศาลไดมี
คําพิพากษาถึงที่สุดแสดงวาเด็กไมใชบุตรชอบดวยกฎหมายของสามีคนที่สองแลว กฎหมายให
สันนิษฐานไวกอนวาเด็กเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของสามีคนที่หนึ่งตาม ม. 1538 ว. 2 ตอนทาย )
13

ชายสมรสซอน เปนกรณีชายจดทะเบียนสมรสกับภริยาสองคนหรือกวานั้นขึ้นไป ผลคือการสมรสครั้ง


ที่สองเปนโมฆะ บุตรที่เกิดจากภริยาคนที่สองและภริยาคนตอๆไปก็ตองดวยขอสันนิษฐานวาเปนบุตร
ชอบดวยกฎหมายของสามีตาม ม. 1538 ว. แรก
3. กรณีเด็กเกิดจากการสมรสที่เปนโมฆียะตาม ม. 1448 , 1505 , 1506 , 1507 ,1509 บุตรเกิดระหวางสมรสซึ่ง
ศาลพิพากษาใหเพิกถอนภายหลังใหถือวาเปนบุตรชอบดวยกฎหมายตาม ม. 1560
4. กรณีเด็กเกิดจากหญิงหมาย ซึ่งทําการสมรสใหมภายในเวลาไมเกิน 310 วันนับแตวันขาดจากการสมรสเดิมตาม
ม. 1537 ซึ่งเปนการฝาฝนตาม ม. 1453 กฎหมายใหสันนิษฐานไวกอนวาเด็กที่เกิดแตหญิงนั้น ใหเปนบุตรชอบ
ดวยกฎหมายของชายสามีคนใหม แตหามมิใหนําขอสันนิษฐานตาม ม. 1536 วาเด็กเปนบุตรชอบดวยกฎหมาย
ของสามีเดิมมาใชบังคับ ทั้งนี้ เวนแตมีคําพิพากษาของศาลแสดงวาเด็กมิใชบุตรของชายผูเปนสามีคนใหม
5. กรณีเด็กที่มิไดเกิดแตบิดาที่จดทะเบียนสมรสโดยชอบดวยกฎหมาย
• เด็กเกิดจากหญิงที่มิไดสมรสกับชาย ใหถือวาเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของหญิงนั้นตาม ม. 1546
• บิดามารดาสมรสกันภายหลัง หรือบิดาไดจดทะเบียนวาเปนบุตรตาม ม. 1547
ศาลพิพากษาวาเปนบุตรซึ่งจะมีผลเปนบุตรชอบดวยกฎหมายนับแตวันมีคําพิพากษาถึงที่สุดตาม ม. 1557
(3) ( เด็กจะมีฐานะเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของชายตั้งแตวันที่ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดโดยไมยอน
หลังไปถึงวันที่เด็กเกิดแตอยางใด )
ขอสังเกต กรณีตาม ม. 1558 ว. 1 การฟองคดีขอใหรับเด็กเปนบุตรของผูตายที่ไดฟองภายในกําหนดอายุความ
มรดก หากวาศาลไดพิพากษาวาเด็กเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของผูตาย เด็กนั้นมีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม
• กรณีบุตรนอกกฎหมายที่บิดาไดรับรองแลว บุตรบุญธรรมใหถือวาเปนผูสืบสันดานเหมือนกับบุตรที่
ชอบดวยกฎหมายตาม ม. 1627

การรับบุตรบุญธรรม หลักเกณฑในการรับบุตรบุญธรรมตาม ม. 1598 / 19


1. ผูที่จะรับบุตรบุญธรรมนั้นตองมีอายุไมต่ํากวา 25 ป
2. ผูรับบุตรบุญธรรมตองมีอายุแกกวาผูที่จะเปนบุตรบุญธรรมอยางนอย 15 ป
3. ในการรับบุคคลที่ยังไมบรรลุนิติภาวะเปนบุตรบุญธรรม จะทําไดตอเมื่อไดรับความยินยอมจากบิดาและ
มารดาของผูเยาวกอน ในกรณีที่ผูเยาวนั้นถูกทอดทิ้งและอยูในความดูแลของสถานสงเคราะหเด็กใหขอ
ความยินยอมจากผูมีอํานาจในสถานสงเคราะหเด็กนั้นแทน
4. ในกรณีที่ผูรับบุตรบุญธรรมหรือผูที่จะเปนบุตรบุญธรรมที่มีคูสมรสแลว ในการรับหรือเปนบุตรบุญ
ธรรมตองไดรับความยินยอมจากคูสมรสกอน
5. ผูเยาวเปนบุตรบุญธรรมของบุคคลหนึ่งอยู จะเปนบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นอีกในขณะเดียวกันไมได
เวนแตจะเปนบุตรบุญธรรมของคูสมรสของผูรับบุตรบุญธรรม
6. การรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณตอเมื่อไดจดทะเบียนตามกฎหมาย
สิทธิและหนาที่ของผูที่เปนบุตรบุญธรรม
1. มีฐานะอยางเดียวกับบุตรชอบดวยกฎหมายของผูรับบุตรบุญธรรมตาม ม. 1598 / 28
14

2. มีหนาที่ตองอุปการะเลี้ยงดูผูรับบุตรบุญธรรม ทํานองเดียวกับบุตรโดยชอบดวยกฎหมายตาม ม. 1563


สิทธิและหนาที่ของผูรับบุตรบุญธรรม
1. มีสิทธิใชอํานาจปกครองบุตรบุญธรรม
2. ผูรับบุตรบุญธรรมไมมีสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดยธรรม อยางไรก็ตาม ถาบุตรบุญธรรม
ตายกอนโดยไมมีคูสมรสหรือผูสืบสันดาน ผูรับบุตรบุญธรรมมีสิทธิเรียกรองทรัพยสินที่ตนไดใหแกบุตรบุญ
ธรรมคืนจากกองมรดก เพียงเทาที่ยังคงเหลืออยูหรือภายหลังจากชําระหนี้กองมรดกแลวตาม ม. 1598 / 29 ,
1598 / 30
3. ผูรับบุตรบุญธรรมมีหนาที่ตองอุปการะเลี้ยงดูบุตรบุญธรรม
การเลิกรับบุตรบุญธรรม
1. โดยความตกลงตาม ม. 1598 / 31 แตจะมีผลสมบูรณตอเมื่อไดจดทะเบียนตามกฎหมาย
2. การเลิกเมื่อมีการสมรสฝาฝนตาม ม. 1598 / 32
3. การเลิกรับโดยคําสั่งศาลตาม ม. 1598 / 33 และมีผลตั้งแตเวลาที่ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุด แตจะยกขึ้นอางบุคคล
ภายนอกไดตอเมื่อจดทะเบียนแลว
4. อายุความคดีฟองขอเลิกการรับบุตรบุญธรรม ตองฟองภายในกําหนด 1 ป นับแตวันที่ผูขอเลิกรับบุตรบุญธรรม
รูหรือควรไดรู หรือภายในกําหนด 10 ป นับแตเหตุนั้นเกิดขึ้น

…………………………………………………………..

หลวงวิจิตรวาทการ......กลาววา.......
.....สิ่งสําคัญที่สุดในจริยวัตรของมนุษย คือตองพยายามที่จะไมใหเวลาลวงไปโดยไมมีประโยชน
เราตองตีราคาคุณคาของเวลาใหสูงมาก การเสียเวลาเทากันกับเสียทรัพย เสียโอกาส
เสียหนทางแหงความกาวหนา และเปนการสูญเสียที่เราไมสามารถจะโทษผูอื่นได
นอกจากตัวของเราเอง.......

ลิขสิทธิ์ของคณะกรรมการนักศึกษาสมัยที่ 58

You might also like