You are on page 1of 28

คณะกรรมการนักศึกษาเนติบัณฑิต สมัยที่ 58

วิชา ตั๋วเงิน
ตั๋วเงิน แบงออกไดเปน 3 ประเภทคือ ตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใชเงิน,เช็ค (898)
ตั๋วเงินทั้ง 3 ประเภทแบงเปน 2 ชนิดคือ
1. ชนิดตั๋วระบุชื่อ (มีในตั๋วเงินทั้ง 3 ประเภท)
2. ชนิดตั๋วผูถือ (มีในตั๋วแลกเงินและเช็คเทานั้น)
ในการทําความเขาใจวิชาตั๋วเงินนี้ ตองทําความเขาใจตามลําดับเพื่องายตอการจดจํา โดยแบงหัวขอไดดังนี้
1. ตั๋วเงินมีลักษณะพิเศษอยางไร
2. ลูกหนี้ในตั๋วเงิน (ม.900)
3. เจาหนี้ในตั๋วเงิน (ม.904,905)
4. การโอนตั๋วเงิน (ม.920,917,918,919,922)
5. การหามโอนดวยวิธีลักษณะตั๋วเงิน
6. การอาวัล
7. เช็ค
8. การแกไขตั๋วเงิน
9. ลายมือชื่อปลอม
10. อายุความ
ลักษณะพิเศษของตั๋วเงินสามารถแบงออกไดเปน 3 หัวขอคือ
1. ขอความที่จะเขียนลงในตั๋วเงินและมีผลใชบังคับไดนั้นตองเปนขอความที่ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ลักษณะตั๋วเงิน
บัญญัติไวใหเขียนลงไปไดเทานั้น ซึ่งหากไปเขียนขอความอื่นลงไปแลว จะมีผลคือเทากับไมมีการเขียนขอความใด ๆ ลงไปนั่นเอง ( โดยไม
ทําใหตั๋วเงินนั้นเสียไปแตอยางใด ตามมาตรา 899
2. ผูที่รับโอนตั๋วเงินมาโดยสุจริต มีสิทธิดีกวาผูโอน ตามมาตรา 905 วรรค 2,3 มาตรา 916 , มาตรา 312 , มาตรา 313
3. การลงลายมือชื่อตั๋วเงินนั้น ตองเปนการลงลายมือชื่ออยางแทจริงเทานั้น จึงจะถือเปนการลงลายมือชื่อ ซึ่งตองรับผิดตามมาตรา
900 โดยจะใชวิธี ประทับตรา หรือ พิมพลายนิ้วมือ หรือ แกงได อยางกฎหมายในลักษณะอื่นไมได ตามมาตรา 900 วรรค 2 ประกอบ มาตรา
9 มาตรา 1008
อธิบาย 1. ม.899 ขอความที่เขียนลงในตั๋วเงิน จะตองเปนไปตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะตั๋วเงินเทานั้น
“ขอความอันใดซึ่งมิไดบัญญัติไวในประมวลกฎหมายนี้ ถาเขียนลงในตั๋วเงิน ทานวาขอความอันนั้นหาเปนผลอยางหนึ่งอยางใดแกตั๋วเงินนั้น
ไม”
เหตุผล เนื่องจากตั๋วเงินใชในการประกอบธุรกิจการคาตองมีความสะดวกในการโอนตั๋วเปลี่ยนมืองาย และตองการความเชื่อถือเปน
สําคัญ กฎหมายจึงบัญญัติหลักเกณฑในการเขียนขอความใหมีผลผูกพันไดเฉพาะที่กฎหมายบัญญัติไวใหเขียนไดเทานั้น มิฉะนั้นแลวถาใหมี
การเขียนสิ่งใดๆ ลงไปก็ไดแลว ก็จะเกิดการเขียนเงื่อนไขตาง ๆ มากมาย ใครจะรับโอนแตละครั้งก็ตองตรวจดูเงื่อนไขอยางละเอียด ซึ่งก็จะ
ไมตรงกับความมุงหมายที่ตองการใหตั๋วเงินโอนกันไดงาย สะดวก และมีความนาเชื่อถือ
แตกตางกับกฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญาหรือสัญญาอื่นๆที่คูสัญญาสามารถตกลงกันอยางใดๆก็ได ตาม ม.151 ถึงแมจะตกลงให
แตกตางจากบทบัญญัติของกฎหมายก็ไดถาไมใชบทบัญญัติอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยแลวการตกลงนั้นไมเปนโมฆะ


ฉะนั้น ในเรื่องตั๋วเงินถาจะเขียนอะไรลงไปตองคํานึงถึงวา ป.พ.พ.ลักษณะตั๋วเงิน อนุญาตใหเขียนไดหรือไม ซึ่งถากฎหมายไม
อนุญาตใหเขียนลง แตฝาฝนไปเขียนลงก็จะมีผลเทากับขอความนั้นใชบังคับไมได หรือเทากับไมมีการเขียนอะไรเลย จะไมทําใหตั๋วเงินนั้น
เสียไปแตอยางใด
ขอยกเวน ตองไมใชขอความที่กฎหมายลักษณะตั๋วเงินบัญญัติไววา ถาเขียนลงไปในตั๋วเงินแลวจะกระทบกับความสมบูรณของตั๋วเงิน
เชน ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใชเงิน หรือเช็ค ผูสั่งจายหรือผูออกตั๋วจะเขียนเงื่อนไขลงในตั๋วเงินไมได ถาเขียนลงไปตั๋วเงินจะไมสมบูรณเปนตั๋ว
Ex. นาย ก. ไปเขียนวา ถานาย ข. ส อบไดเปนเนติฯแลวจึงใหจายเงินตามตั๋วอยางนี้ ม.909 (2),983 (2),988 (2) ทําใหไม
สมบูรณเปนตั๋วเงินใชบังคับอยางตั๋วเงินไมไดเลย

สิ่งที่เขียนได และสิ่งที่เขียนไมได มีดังนี้


1. การคิดอัตราดอกเบี้ย
ม.911 ตั๋วแลกเงิน อนุญาตใหคิดดอกเบี้ยได “ผูสั่งจายจะเขียนขอความกําหนดไววา จํานวนเงินอันจะพึงใชนั้น ใหคิดดอกเบี้ยดวย
ก็ได” เปนการใหสิทธิผูสั่งจายที่จะระบุดอกเบี้ย เขียนลงในตั๋วแลกเงินได
ม.985 ตั๋วสัญญาใชเงินอนุญาตใหคิดดอกเบี้ยได “บทบัญญัติทั้งหลายในหมวด 2 วาดวยตั๋วแลกเงินดังกลาว ทานใหยกมาบังคับใชใน
เรื่องตั๋วสัญญาใชเงิน...ม.911”
ม.989 เช็ค ไมอนุญาตใหคิดดอกเบี้ย “บทบัญญัติทั้งหลายในหมวด 2 วาดวยตั๋วแลกเงินดังจะกลาวตอไปนี้ ทานใหยกมาบังคับ
ในเรื่องเช็ค...(ไมมีม.911)” ดังนั้นในเรื่องเช็คจึงไมอนุญาตใหนําเรื่องดอกเบี้ยมาระบุไวในเช็คได ซึ่งถาฝาฝนไปเขียนระบุจํานวนดอกเบี้ยลง
ในเช็คก็จะเปนไปตาม ม.899 คือ ไมมีผลบังคับใดๆในสิ่งที่เขียนไป ซึ่งธนาคารผูจายเงินก็จะไมปฏิบัติตามที่เขียนคือเทากับไมมีการเขียน
ขอความใดๆเลยนั่นเอง แตไมทําใหเช็คเสียไป
เหตุผล เนื่องจากเช็คนั้นเปนเรื่องที่ตองจายเงินเมื่อไดเห็น หรือนําไปขึ้นเงินเมื่อไรก็จายเมื่อนั้นตามที่ระบุไว จึงไมสามารถกําหนด
ดอกเบี้ยได
2. การขีดครอมตั๋วเงิน
จะมีการขีดครอมกันไดเฉพาะในเช็คเทานั้น ม.944 ดังนั้นตั๋วแลกเงินหรือตั๋วสัญญาใชเงินจะไมมีการขีดครอม ซึ่งถาฝาฝนไปขีด
ครอมแลวก็จะเปนไปตาม ม.899 คือ “ขอความอันนั้นหาเปนผลอยางหนึ่งอยางใดในตั๋วเงินนั้นไม” เทากับไมมีการขีดครอมหรือไมไดทํา
อะไรในตั๋วเงินเลย
การขีดครอมตั๋วแลกเงินไมไดบัญญัติไวใน ป.พ.พ.ลักษณะตั๋วเงิน เพราะฉะนั้นการขีดครอมดังกลาวจึงหามีผลอยางหนึ่งอยางใดใน
ตั๋วเงิน ตามม.899
3. ตั๋วสัญญาใชเงิน
ตั๋วสัญญาใชเงินจะมีไดเฉพาะ”ตั๋วระบุชื่อผูรับเงินเทานั้น” ตั๋วสัญญาใชเงินชนิดผูถือไมมี หากไปเขียน คําวาหรือผูถือลงไปก็จะเขา
กรณีมาตรา 899 คือ ขอความ ..หรือผูถือ.. ก็จะไมมีผลใด ๆ นั่นเอง ( ตามม.983(5) )
4. การโอนตั๋วเงิน
ม.917ว.2 ใชกับตั๋วเงินทั้ง 3 ประเภท “เมื่อผูสั่งจายเขียนลงในดานหนาแหงตั๋วแลกเงินวา เปลี่ยนมือไมได ดังนี้ก็ดี หรือเขียนคําอื่น
อันไดความเปนทํานองเดียวกันนั้นก็ดี ทานวาตั๋วเงินนั้นยอมโอนใหกันไดโดยรูปการแลดวยผลอยางการโอนสามัญ”
เมื่อตองการโอนโดยจํากัดไมใหมีการโอนตอไป ก็ทําไดโดยการเขียนลงในตั๋วเงินดานหนาตั๋วเทานั้น ดังนั้นถาฝาฝนไปเขียนลง
ดานหลัง ดังนี้ ตั๋วเงินนี้ก็โอนใหกันไดอยางปกติ เพราะขอความนั้นเทากับไมมีผลบังคับหามโอนตาม ม.899
การตีความของศาลฎีกา ถอยคํา”คําอื่นอันไดความเปนทํานองเชนเดียวกันนั้น”
ฎ. 4975/2533 เขียนดานหนาดวยคําวา “เฉพาะ”ลงดานหนาตั๋วเงิน ถือไมไดวาเปนคําอื่นอันไดความเปนทํานอง
เชนเดียวกันนั้น ดังนั้นจึงเทากับเปนการเขียนในสิ่งที่กฎหมายไมอนุญาตมีผลเทากับม.899 ไมมีผลบังคับอยางใดในตั๋วเงิน
ฎ. 3509/2542 ผูสั่งจายออกเช็คโดยไมลงวันที่ แลวใชปากกาสีดําขีดเสนไวในชองวันที่ ศาลฎีกาตีความวา เสนสีดําเปน
เสมือนขอความอยางหนึ่ง เมื่อไมมีบทกฎหมายใหกระทําเชนนั้นไดจึงเปนไปตาม ม.899

สรุปมาตรา 899 ผลของการที่เขียนขอความแตกตางกับ ปพพ.ลักษณะตั๋วเงินบัญญัติไวจะมีผลเทากับเพียงวา “ขอความนั้นไมมีผล
อยางหนึ่งอยางใดในตั๋วเงิน แตตั๋วเงินนั้นยังสมบูรณไมเสียไป”

อธิบาย 2 ผูรับโอนตั๋วเงินโดยสุจริตมีสิทธิดีกวาผูโอน เปนลักษณะพิเศษของตั๋วเงินที่แตกตางจากกฎหมายอื่น ในประเด็นที่วา “ถาหาก


ผูรับโอนไดรับโอนตั๋วเงินมาโดยสุจริต ผูรับโอนก็จะมีสิทธิดีกวาผูโอน”
เหตุที่กฎหมายบัญญัติใหผูรับโอนมีสิทธิดีกวาผูโอน เพราะตั๋วเงินเปนตราสารที่เปลี่ยนมือไดและเปลี่ยนมือไดโดยงาย อาจเปนเพียง
การสลักหลังหรือสงมอบ ดังนั้น หากไมคุมครองแบบนี้ก็คงไมมีผูใดประสงคชําระหนี้ดวยตั๋วเงิน
บทบัญญัติกฎหมายที่คุมครอง “ผูรับโอนตั๋วเงินโดยสุจริตมีสิทธิดีกวาผูรับโอน” คือ ม. 905ว.2,3 ม.916,312,313
สิทธิของผูรับโอนตั๋วเงินมาโดยสุจริตกฎหมายคุมครองแยกพิจารณา 2 กรณี
1. กรณีบทบัญญัติม.905ว.2,3 ผูรับโอนตั๋วเงินมาโดยสุจริตหาจําตองสละตั๋วเงินนั้นไม
2. บทบัญญัติ ม.916 มีสิทธิเรียกเงินจากลูกหนี้ในตั๋วเงิน แมวาผูโอนจะไมมีสิทธิในตั๋วเงิน
ม.905 ว.2 “ถาบุคคลผูหนึ่งผูใดตองปราศจากตั๋วเงินไปจากการครอบครอง ทานวาผูทรงซึ่งแสดงใหปรากฎสิทธิของตนในตั๋วตาม
วิธีการ ดังกลาวมาในวรรคกอนนั้น หาตองสละตั๋วเงินไม เวนแตจะไดมาโดยทุจริตหรือไดมาดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง
ตัวอยาง .นายหนึ่งออกตั๋วสั่งนายสองใหใชเงินนายสาม นายสามโอนใหนายสี่ นายสี่โอนใหนายหา นายหาเปนผูมีตั๋วเงินใน
ครอบครองและสามารถแสดงใหปรากฎสิทธิดวยการสลักหลังไมขาดสายตาม ม.904,905 ถึงแมวานายสามจะโอนใหนายสี่เพราะถูกขมขู ถูก
ฉอฉลหรือวิธีอื่นใดที่ทําใหการโอนไมสมบูรณก็ตาม ซึ่งโดยปกตินายสามก็จะสามารถเรียกตั๋วเงินคืนจากนายสี่ได แตเมื่อนายสี่โอนใหนาย
หาไปแลว นายสามจึงไมสามารถเรียกจากนายหาได ตามม.902ว.2 เวนแตนายหาจะรูวานายสามโอนใหนายสี่มาโดยวิธีการไมสมบูรณ แต
นายหาก็รับโอนมาจากนายสี่ อันเปนการรับโอนโดยสุจริต หรือรับโอนมาดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง นายหาจึงจะตองคืนให
นายสามตาม ม.905ว.2
ม.905 ว.3 “อนึ่งขอความในวรรคกอนนี้ ใหใชบังคับตลอดถึงผูทรงตั๋วเงินสั่งจายใหแกผูถือดวย” หมายความวา ตาม ว.2 เปนการ
บังคับเรื่องตั๋วระบุชื่อ ว.3 จึงใหนําไปใชกับตั๋วผูถือดวย
ตัวอยาง หนึ่งสั่งจายเช็คใหสอง สองทําหาย นายสามเก็บไดไปโอนใชหนี้ใหนายสี่ ดังนี้ ถานายสองมาทวงกับนายสี่ใหคืนตั๋ว
ไมสามารถเรียกคืนได ฎ.480/14,6005/39
กลาวโดยสรุป มาตรา 905วรรค .2 และวรรค.3 หลักเกณฑ -ถาผูรับโอนตั๋วเงินมาโดยสุจริตแลว ไมตองคืนตั๋วเงินตาม
บทบัญญัติ “หาจําตองสละตั๋วเงินไม”
ขอยกเวน - ตองคืนตั๋วเงินเมื่อ
- รับโอนมาโดยทุจริตหรือ
- ประมาทเลินเลออยางรายแรง
- กรณีตาม ม.1008 คือไดตั๋วเงินมาโดยการสลักหลังปลอม “จะยึดหนวงตั๋วเงินนั้นไวไมได”
ม.916 เปนเรื่องตั๋วแลกเงิน
- เช็ค ม.989 ใหนํา ม.916 ไปใชในเรื่องเช็ค
- ตั๋วสัญญาใชเงิน ม. 989 ใหนํา ม.916 ไปใชในตั๋วสัญญาใชเงิน
ม.312 และม.313 ก็บัญญัติไวในทํานองเดียวกันกับม. 916 “หนี้อันพึงตองชําระตามเขาสั่ง” คือ หนี้ที่ทางฝายลูกหนี้สัญญาวาจะ
ชําระใหทางฝายเจาหนี้หรือผูที่เจาหนี้สั่งใหจายให โดยอาศัยการแสดงสิทธิตามตราสาร หรืออีกนัยหนึ่งคือหนี้ตามตั๋วเงินนั้นเอง
ม.312,313,916 สรุป ลูกหนี้มีขอตอสูยกขึ้นใชยันผูโอนไดอยางไร จะยกขึ้นใชยันตอผูรับโอนโดยสุจริตไมได
Ex. หนึ่งใชปนขูสองใหออกเช็คใหหนึ่ง ตอมาสองโอนเช็คให สาม ตอมาธนาคารปฏิเสธการจายเงิน ขอตอสูหนึ่งและสองจะ
ยกขึ้นเปนขอตอสูสามไมได
ฎ.1545/24 แมจําเลยจะจายเช็คคาสลากกินรวบซึ่งเปนมูลหนี้ที่ไมชอบ แตจําเลยก็ไมสามารถยกขอตอสูระหวางจําเลยกับผูโอน มา
เปนขอตอสูโจทกซึ่งเปนผูรับโอนโดยสุจริตไมได


หลัก ถูกฟองจะยกขอตอสูที่สามารถใชยันกันระหวางผูถูกฟองคนอื่นขึ้นตอสูกับโจทก็ผูทรงไมได
ขอยกเวน ผูถูกฟองยกขอตอสูไดในกรณีนี้
1. ผูทรงหรือโจทกคบคิดกันฉอฉลกับผูโอน รูอยูแลววาเปนการโอนโดยไมชอบยังรับโอน ฎ.1863/33,371/34 ความคบคิดกันฉอ
ฉลจะตองเกิดขณะผูทรงรับโอนเช็คมา ฏ.467/32,4279/36 ไมไดเกิดภายหลังการรับโอน(ไมใชการคบคิดกันฉอฉลภายหลังฟงซึ่งเรียกวาเงิน
ตามเช็คแลว) ฎ.4279/36
2. ขอตอสูระหวางผูถูกฟองกับผูทรงซึ่งเปนโจทก็ฟองเอง (ถามีขอตอสูระหวางกันอยางไร สามารถยกขึ้นฟองได
Ex. โจทกฟองวาจําเลยที่ 1 และที่ 2รวมกันกูยืมเงินโจทก และจําเลยที่ 1 สั่งจายเช็ค จําเลยที่ 2 สลักหลัง โอนใหโจทก็ ถาปรากฏ
ขอเท็จจริงวา จําเลยที่ 2 ไมไดกูเงินโจทกเลยดังนี้ จําเลยที่ 2 ก็สามารถยกขอตอสูโจทก็ได เพราะเปนขอตอสูระหวางผูถูกฟองกับโจทกซึ่ง
เปนผูรับสลักหลัง ฎ.716/04
ฎ.755/26 เปนขอตอสูโดยตรงระหวางผูถูกฟองกับโจทกผูทรง จึงสามารถยกขึ้นตอสูได ฎีกานี้ผูถูกฟองสูวามูลหนี้ตามเช็ค สอง
แสนบาท ความจริงกูกันเพียง หนึ่งแสนบาท สามารถยกขึ้นสูได
1. กรณีสิทธิผูทรงที่เปนโจทกฟองเองบกพรอง
ฏ.2932/19 หนึ่งสั่งจายเช็คใหสอง สองนําเช็คไปสลักหลังโดยชําระคาซื้อเฮโรอีนใหกับนายสาม เมื่อธนาคารปฏิเสธการจายเงิน
หนึ่งยกขอตอสูวานายสามรับโอนเช็คนั้นไมสมบูรณ ซึ่งสามารถตอสูได เพราะไมใชความสัมพันธระหวางนายหนึ่งกับนายสอง และก็
ยอมรับวาสั่งจายเช็คจริง และสั่งจายใหสองจริง แตสูวาหนี้ของผูทรงบกพรอง
2. ถาหากเปนขอตอสูที่ปรากฏในตั๋วเงินนั้นเอง ไมใชขอตอสูในระหวางความเกี่ยวพันระหวางผูถูกฟองดวยกัน เชน ตั๋วเงินไม
สมบูรณ ขาดรายการในตั๋วเงิน อยางนี้สามารถยกขึ้นเปนขอตอสูไดเสมอ
Ex. นาย ก. ถูกฟองใหตองรับผิดตามตั๋วแลกเงิน ก. ตอสูวาตั๋วที่นํามาฟองไมปรากฏคําบอกชื่อวาเปนตั๋วแลกเงิน จึงไมสมบูรณ
เปนตั๋วแลกเงินตามกฎหมาย อยางนี้เปนขอตอสูตามม.312 ผูถูกฟองสามารถยกเปนขอตอสูได
อีกกรณีหนึ่งที่ผูถูกฟองสามารถยกขึ้นเปนขอตอสูได และมิใชเปนเรื่องตามม.916 คือ
กรณีเรื่องอํานาจการเปนคูสัญญานาตั๋วเงิน กับเรื่องความสามารถคูสัญญาในตั๋วเงินตามม.902 “ถาตั๋วเงินลงลายมือชื่อของบุคคล
หลายคน มีทั้งบุคคลที่ไมอาจเปนคูสัญญาแหงตั๋วเงินนั้นไดเลย หรือเปนไดแตไมเต็มผลไซร ทานวาการนี้ยอมไมกระทบกระทั่งถึงความรับ
ผิดของบุคคลอื่นๆนอกนั้นซึ่งคงตองรับผิดตามตั๋วเงิน
ตัวอยาง ก. สั่งจายเช็คให ข.(ผูเยาว) และ ข.สลักหลังให ค. ถาเช็คถูกปฏิเสธการจายเงิน ข. ยกขอตอสูเรื่องผูเยาวของตนได แต
ก. จะยกเรื่องผูเยาวของ ข. ตอสู ค.ไมได เพราะเปนสิทธิเฉพาะตัวของ ข. ตามม.902
****จุดที่นาสนใจ ถาเปนขอตอสูที่เปนเรื่องโจทกไมใชผูทรง หรือสิทธิของโจทกบกพรองสามารถตอสูได
ม.916 ใชทั้งตั๋วที่ระบุชื่อและผูถือเปนหลักเกณฑเดียวกัน
ฎ.6582/39 จําเลยไมไดตอสูวาโจทก็ไมไดเปนผูทรงโดยชอบ โดยตอสูวาจําเลยเปนผูสั่งจายใหนายเสรี และมูลระหวางจําเลยและ
นายเสรีก็ระงับไปแลว แตนายเสรีไมไดคืนเช็คใหจําเลยแตกลับไปโอนใหโจทกและจําเลยก็ไมไดสูวานายเสรีกับโจทกคบคิดกันฉอฉลแต
อยางใด สูเพียงวาหนี้ระหวางตนกับนายเสรีระงับไปแลว จึงเปนการยกขอตอสูเรื่องความสัมพันธระหวางผูถูกฟองดวยกันขึ้นตอสูอันเปน
เรื่องตองหาม ม.916

ลูกหนี้ในตั๋วเงินมาตรา 900
โดยหลัก ผูจะตองรับผิดในตั๋วเงินคือ ผูลงลายมือชื่อในตั๋วเงิน “บุคคลผูลงลายมือชื่อของตนในตั๋วเงินยอมจะตองรับผิดตาม
เนื้อความในตั๋วเงินนั้น”
ม.908 ตั๋วแลกเงิน ม.982 ตั๋วสัญญาใชเงิน ม.987 เช็ค กฎหมายจะบัญญัติขอความที่เหมือนกันอยูคําหนึ่งวา “หนังสือตราสาร”
ดังนั้น จึงปรับตาม ม.9 “เมื่อมีกิจการอันใดซึ่งกฎหมายบังคับใหทําเปนหนังสือบุคคลผูจะตองทําหนังสือไมจําเปนตองเขียนเองแตหนังสือนั้น
ตองลงลายมือชื่อของบุคคลนั้น”


จึงไดหลักวา ขอความหรือรายการในตั๋วเงินนั้น ตัวผูสั่งจายหรือผูออกตั๋วไมจําเปนตองเขียนเอง มอบหมายใหผูอื่นเขียนหรือพิมพ
แทนก็ได แตตองลงลายมือชื่อดวยตนเอง และม.900 ถือเอาผูลงลายมือชื่อเปนลูกหนี้ ไมใชคนเขียนขอความ ฎ. 5645/44,2512/39 ,1973/29
รายการในเช็คและจํานวนเงิน ผูสั่งจายหาจําตองเขียนเองไม หากใหบุคคลอื่นเขียนหรือพิมพใหก็ไดหากขอความตรง ตามเจตนาหรือความ
ประสงคของผูสั่งจายแลวในการออกเช็คก็ถือเปนสมบูรณแลว
แตการลงลายมือชื่อไวเฉย ๆ หากมีผูอื่นนําไปกรอกขอความโดยมิไดรับความยินยอมของเจาของลายมือ ผูลงลายมือชื่อก็ไมตองรับ
ผิด ***ฎ.1541/14 จําเลยเพียงแตลงชื่อในเช็ค ไมไดกรอกขอความใดๆมอบใหโจทกไวเพื่อประกันหนี้ โจทกนําเช็คไปกรอกขอความ
โดยจําเลยมิไดมอบหมายหรือยินยอมใหกระทํา เช็คพิพาทยอมไมสมบูรณตามกฎหมาย เพราะขาดรายการที่ตองมีในเช็คดังนั้นธนาคารไม
จายเงิน ผูลงลายมือชื่อคือจําเลยก็ไมตองรับผิดในเนื้อความตราสารนั้น ม.900
จึงไดหลักวา ในการลงรายการหรือกรอกขอความในเช็คโดยบุคคลอื่นนั้นตองไดรับความยินยอมจาก ผูลงลายมือชื่อจึงจะสมบูรณ
มาตรา 900 “บุคคลผูลงลายมือชื่อของตน…”บุคคลอาจเปนบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคลก็ได ซึ่งถาเปนนิติบุคคลก็ตองลงโดย
ผูแทนตาม ม.70 และในการลงชื่อนี้อาจลงโดย เขียนชื่อจริง ชื่อเลน หรือชื่อรานก็ได ถาหากมีเจตนาใชชื่อนั้นแทนตน
ฎ.2417/36 จําเลยลงชื่อดานหลังเช็ควา “แสงรุงเรือง” เปนชื่อรานคาที่ไดจดทะเบียนพาณิชยไว แมไมไดเปนนิติบุคคล ก็ถือไดวา
ไดลงลายมือชื่อของตนตาม ม.900 จึงตองรับผิด
ในบทบัญญัติกฎหมายไมมีการมอบอํานาจใหลงลายมือชื่อแทนกันได เพราะไมมีกฎหมายใหอํานาจ(ฎ.1020/17,1526/45)ลงลายมือ
ชื่อแทนกันไมได แตในเรื่องตั๋วเงินสามารถมอบอํานาจใหลงลายมือชื่อแทนกันได ตามมาตรา 1008 “เมื่อใดลายมือชื่อในตั๋วเงิน เปนลายมือ
ชื่อลงไว โดยที่บุคคลซึ่งอางเอาเปนเจาของลายมือชื่อนั้น มิไดมอบอํานาจใหลงก็ดี”เทากับวามาตรา 1008 แหงลักษณะตั๋วเงินนั้น อนุญาต
ใหมีการมอบใหอํานาจลงลายมือชื่อแทนกันได
Ex. นาย ก. มอบอํานาจใหนาย ข. ลงชื่อแทน( นาย ข เขียนชื่อของนาย ก ลงในตั๋ว ) ดังนี้ เทากับวา นาย ก. เปนผูลงลายมือชื่อ
ดวยตนเอง ลูกหนี้ในตั๋วเงิน ตั๋วเงินเปนตราสารโอนกันได การเขามาผูกพันเปนคูสัญญาในตั๋วเงินจึงมีไดไมจํากัดจํานวน ซึ่งเปนลูกหนี้ดวย
การลงลายมือชื่อตาม ม.900
มาตรา 900 ว.2 ตองลงลายมือชื่อจริงๆเทานั้น จะลงเครื่องหมายอยางหนึ่งอยางใด เชน แกงได หรือลายพิมพนิ้วมือไมได แมจะมี
พยานลงลายมือชื่อรับรองก็ไมทําใหตั๋วนั้นสมบูรณขึ้นมาได เพราะเรื่องตั๋วเงินตองการใหบุคคลซึ่งรูหนังสือเทานั้นเปนผูลงลายมือชื่อและใช
ตั๋วเงินนั้นได เพราะสวนมากใชในวงการธุรกิจการคา
มาตรา900 ว.2 จึงเปนขอยกเวนของมาตรา 9 ที่บัญญัติใหพิมพลายนิ้วมือหรือแกงได โดยมีพยานรับรองได(เรื่องการใชตราประทับ
แทนการลงลายมือชื่อ ม.9 ใหทําได แต ม.900ว.2 ทําไมได
บุคคลผูจะเขามาเปนลูกหนี้ในตั๋วเงินนั้น สามารถเขามาไดโดยการลงลายมือชื่อในตั๋วเงินมาตรา 900 สวนลงลายมือชื่อแลวจะรับ
ผิดในฐานะใดก็ตองดูที่วา ลงชื่อในฐานะใดก็ตองรับผิดในฐานะนั้น ซึ่งแยกฐานะของลูกหนี้ในตั๋วเงินไดดังนี้

1. ผูสั่งจาย หรือ ผูออกตั๋ว เปนลูกหนี้ลําดับแรกที่ทําใหตั๋วเงินนั้นเกิดขึ้นมา ตามมาตรา 900 ,914


2. ผูสลักหลังตั๋วเงิน ( มีเฉพาะตั๋วชนิดระบุชื่อ ) ตามมาตรา 900 , 914
3. ผูรับอาวัล ตามมาตรา 900 , 940
4. ผูรับรอง ( เฉพาะตั๋วแลกเงิน ) ตามมาตรา 900 , 931
5. ผูที่สมัครใจเขารับผิด ตามมาตรา 900 ( ฎ.4872/2533 ป. )
**ฎ.4872/33,3788/24 . จําเลยที่ 1 สั่งจายเช็คเพื่อชําระหนี้ใหแก ก.(ระบุชื่อ) ในเช็คมีจําเลยที่ 2 ลงลายมือชื่อดานหลังเช็ค
ธนาคารปฏิเสธการจายเงินผูทรงเช็คจึงฟองใหทั้งสองรับผิด จําเลยที่ 2 ตอสูวาไมตองรับผิดเพราะขณะที่ตนลงชื่อตนไมเคยเปนผูทรง
เนื่องจากตนลงชื่อพรอมกับ จําเลยที่ 1 ไมเปนการสลักหลังลอยตามม.919ว.2
ศาลฎีกาวินิจฉัยวาจําเลยที่ 2 ไมใชผูรับอาวัล เพราะเช็คชนิดนี้เปนเช็คระบุชื่อผูรับเงิน การจะเปนผูรับอาวัลตาม ม.921 จะตองเปน
การสลักหลังลงในเช็คที่สั่งจายเงินแกผูถือ จึงจะถือวาเปนผูรับอาวัล และไมใชผูสลักหลังลอยตามมาตรา 919ว.2 แตกรณีเชนนี้ การที่จําเลย


ที่ 2 ไปลงลายมือชื่อดานหลังเช็คโดยที่จําเลยที่ 2 ไมเคยเปนผูทรงเช็คมากอน ถือวาจําเลยที่ 2 สมัครใจเขารับผิดตอโจทกในอันที่จะเขารับผิด
ตามเนื้อความในเช็ค โดยการลงลายมือชื่อตามมาตรา 900
ขอสังเกต สมัครใจรับผิดรวมกับจําเลยที่ 1 ลักษณะผูออกเช็ครวมกัน ถาเปลี่ยนขอเท็จจริงวาเช็คฉบับนี้จําเลยที่ 2 เคยเปนผูทรง
จําเลยที่ 2 จะตองเปนผูรับผิดในฐานะเปนผูสลักหลังลอยตาม ม.919ว.2

ผูที่ปลอมลายมือชื่อผูอื่นจะตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินหรือไม
ผูปลอมลายมือชื่อผูอื่นตองรับผิด เพราะผูปลอมก็คือผูที่ลงลายมือชื่อนั้นเองตามมาตรา 900 แมเจาของบัญชีจะเปนคนอื่น เพราะการ
จะตองรับผิดตามม.900 นั้นดูที่ผูลงลายมือชื่อ
ฎ.1853/11 ออกเช็คโดยใชแบบพิมพเช็คของผูอื่น หากผูทรงนําไปขึ้นเงินไมไดตัวผูสั่งจาย ผูสลักหลัง หรือผูอาวัลยอมตองรวมกัน
รับผิดกับผูทรง
ฎ.854/83 โจทกฟองจําเลยโดยระบุชื่อวานายทวีศักดิ์ แตจากกันตรวจสอบบัญชีพบวา เช็คที่ออกนี้เปนของบัญชีที่ชื่อวานายกูเจี๊ยก
ขอเท็จจริงปรากฏวานายทวีศักดิ์และนายกูเจี๊ยก เปนบุคคลคนเดียวกัน ศาลฎีกาวินิจฉัยวา จําเลยออกเช็คผูถือ แมจะใชบัญชีชื่อวานายเจี๊ยก
แตเมื่อไดความวาเปนผูที่ลงลายมือชื่อสั่งจายก็ตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินนั้น
เห็นไดวา แมจะลงชื่อจริง ชื่อเลน ชื่อฉายา ชื่อรานคา ก็ตองรับผิดทั้งนั้น ถาปรากฏวาเปนผูลงลายมือชื่อตามม.900
**ถามีการลงลายมือชื่อภายหลังจากการที่ธนาคารปฏิเสธการจายเงินแลว จะตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินนั้นหรือไม
ฎ.313/21 ฎ.5766/37 กรณีเช็คผูถือ เช็คเมื่อเปนเช็คแลวถึงแมวาธนาคารจะปฏิเสธการจายเงินแลว ก็ยังคงเปนเช็คอยู เช็คนั้นไมได
เสียไป เพราะฉะนั้นเมื่อมีการไปลงลายมือชื่อในเช็คหลังจากธนาคารปฏิเสธการจายเงินแลวก็ตองรับผิดฐานเปนผูรับอาวัล เพราะเช็คที่ลงชื่อ
เปนเช็คผูถือ
หลัก ผูที่จะตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงิน คือ ผูที่ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินเทานั้น ผูที่ไมไดลงลายมือชื่อในตั๋วเงินก็ไม
ตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงิน
ขอยกเวน ผูที่ลงลายมือชื่อลงในเช็คแลว ไมตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วมีอยู 3 ประการดังตอไปนี้

1. ม.901 “ถาบุคคลใดลงลายมือชื่อของตนในตั๋วเงินและมิไดเขียนแถลงวา กระทําการแทนบุคคลอีกคนหนึ่งไซร ทานวาบุคคลนั้น


ยอมเปนผูรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินนั้น”
ดังนั้น ถาบุคคลใดลงลายมือชื่อของตนในฐานะเปนตัวแทนบุคคลอื่นแลว ก็ใหเขียนแถลงลงไปในตั๋วเงินเลยทีเดียว จะมาอาง
ภายหลังวาทําแทนไมได ตองรับผิดอยางเดียวถาไมเขียนแถลงไวตั้งแตแรก(กฎหมายปดปาก)
ดังนั้น เมื่อทําถูกตองตามม.901 แลว ผูใดลงลายมือชื่อในตั๋วเงิน แตไดระบุแถลงวาทําการแทนบุคคลอื่นแลว ผูลงลายมือชื่อก็ไม
ตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงิน
2 .ม.902 “ถาตั๋วเงินลงลายมือชื่อบุคคลหลายคนมีทั้งบุคคลที่ไมอาจเปนคูสัญญาแหงตั๋วเงินนั้นไดเลยหรือเปนไดแตไมเต็มผลไซร
ทานวาการนี้ยอมไมกระทบกระทั่งถึงความรับผิดของบุคคลอื่นๆ นอกนั้นซึ่งคงตองรับผิดตามตั๋วเงิน”
ดังนั้นถาผูไรความสามารถลงลายมือชื่อหรือผูเยาวที่ผูแทนโดยชอบธรรมไมไดใหความยินยอมไปลงลายมือชื่อแลว ยอมไมตองรับ
ผิด แตถามีลายมือชื่อผูอื่นที่ลงลายมือไว ตอจากผูเยาวนั้น ผูนั้นก็ตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินตอไป
3. ม.70 ผูแทนของนิติบุคคล ลงลายมือชื่อในฐานะผูแทน ดังนั้นเทากับวานิติบุคคลเปนผูลงลายมือชื่อ ผูแทนไมตองรับผิดเปนการ
สวนตัว

กรณีที่ไมตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินในกรณีอื่น ๆ มีดังนี้
1. กรณีนิติบุคคล ซึ่งการทําการใดแทนนิติบุคคลนั้น ก็จะเปนไปตามวัตถุประสงคในการตั้งนิติบุคคลซึ่งระบุไวในหนังสือบริคณ
สนธิและระบุวาใหใครทําแทนไดภายในเงื่อนไขอยางใด ดังนั้นหากมีการลงชื่อจายเงินในตั๋วเงินชนิดใดก็ตาม ถาทําไมถูกตองตามระเบียบ
ตามที่หนังสือบริคณหสนธิระบุไวแลว นิติบุคคลก็จะไมเขามาเปนคูสัญญา ซึ่งหมายความวาไมตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินนั้นเลย


2. ผูบกพรองในเรื่องความสามารถ ผูเยาว ผูไรความสามารถลงชื่อในตั๋วเงิน ตอมามีการบอกลางโมฆียะกรรม ผูลงลายมือชื่อก็ไม
ตองรับผิด เพราะบุคคลเหลานี้บกพรองในเรื่องความสามารถ ม.902 ซึ่งเปนเรื่องเฉพาะตัวของคูสัญญาในตั๋วเงิน
3. กรรมการบริษัทเปนผูแทนของบริษัทลงลายมือชื่อแลวไมตองรับผิดเปนการสวนตัว
- ในทางแพงไมตองรับผิด
- ในทางอาญาอาจจะตองรับผิดในฐานตัวการรวม
กรณีบุคคลที่ไมไดลงลายมือชื่อดวยตนเอง แตก็มีผลเทากับลงลายมือชื่อดวยตนเองซึ่งตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินนั้นมีดังนี้
1. - คือกรณีที่เจาของลายมือชื่อ มอบอํานาจใหคนอื่นลงลายมือชื่อ ของเจาของลายมือชื่อตามม.1008
- ถามอบอํานาจใหคนเปนตัวแทนเปนเรื่องของมาตรา 901
2 .- เปนเรื่องของเจาของลายมือชื่อถูกตัดบท ม.1008 คือ เจาของลายมือชื่อลงโดยปราศจากอํานาจ เชน เจาของลายมือชื่อรูเห็น
เปนใจ ใหคนอื่นปลอมลายมือชื่อตนเองอาจจะใหผูอื่นเอาลายมือชื่อที่ตนลงไวในกระดาษแผนอื่นเอาไปทาบเขียนลายมือชื่อตน เพื่อจะโกง
ธนาคาร ดังนี้เจาของลายมือชื่อเปนผูตองตัดบทไมใหยกเรื่องลายมือชื่อปลอมหรือลายมือชื่อที่ปราศจากอํานาจขึ้นตอสูเพื่อพนผิด
3 .-เปนเรื่องมีบุคคลอื่นลงลายมือชื่อ ของเจาของลายมือชื่อโดยปราศจากอํานาจ แลวตอมาเจาของลายมือชื่อใหสัตยาบัน บุคคลที่
ไมไดลงลายมือชื่อ อาจถูกฟองใหรับผิดไดแตตองฟองในเรื่องตัวแทน (ฐานะเปนตัวการ)
****ฎ.2109/43 จําเลยไปเปดบัญชีกระแสรายวันและขอใหเช็คโดยใหลายมือชื่อ และตกลงวา ใหนาย ข.สั่งจายใหดวย โดยที่จําเลย
ยินยอมรับ ผิดตามที่นาย ข.ทําไป อยางนี้ถานาย ข.สั่งจายเช็ค ตัวจําเลยก็ไมตองรับผิดเพราะไมไดลงลายมือชื่อตามมาตรา 900 แตคดีนี้
โจทกมาฟองจําเลยในฐานะตัวการ ใหรับผิดที่ตั๋วเงินที่นาย ข.สั่งจายในฐานะตัวแทนจําเลยตาม ม.917,810 (ฎ.2109/43)

เจาหนี้ในตั๋วเงิน แบงไดเปน 3 ประเภท


1 . ผูทรงตาม ม.904 มี หลักเกณฑ
1. มีตั๋วในครอบครอง
2. ตองมีมูลหนี้โดยชอบ
2. ผูทรงตามมาตรา . 905 (ชนิดระบุชื่อ) มีหลักเกณฑดังนี้
1. มีตั๋วไวในครอบครอง
2. มีมูลหนี้โดยชอบ
3. เปนผูทรงในฐานะผูรับสลักหลัง(ไมใชกับตั๋วผูถือ)
4. ตองพิสูจนดวยวาไดรับตั๋วมาดวยการสลักหลังไมขาดสายตามม.905

3. ลูกหนี้ในตั๋วที่ไดใชเงินใหผูทรง ม.967ว.3 “สิทธิเชนเดียวกันนี้ยอมมีแกบุคคลทุกคนซึ่งไดลงลายมือชื่อในตั๋วเงินและเขาถือเอา


ตั๋วเงินนั้น ในการที่จะใชบังคับเอาแกผูที่มีความผูกพันอยูกอนตน” เปนการไลเบี้ยเอาแกผูมีลายมือชื่อกอนตนหรือเหนือตนขึ้นไป

อธิบายม.904 “มีตั๋วเงินไวในครอบครอง”
1. บุคคลใดก็ตามที่ไดเช็คผูถือมาโดยสุจริตแลว แมผูทรงคนกอนตนจะไดมาโดยมิชอบก็ตามก็ยังเปนผูทรงโดยชอบ
Ex. ก. ทําเช็คตกหายไป ข. เก็บไดจึงนําไปสงมอบ เพื่อชําระหนี้ให ค. ปรากฏวา ค. ไมทราบวาเปนเช็คที่เก็บไดถือวา ค. เปนผูทรง
โดยชอบดวยกฎหมายตาม ม.904,905ว.3
2. คําวาครอบครอง ตองตาม ม.1367 ตองเปนการครอบครองโดยเจตนจะยึดถือเพื่อตนดวย ในทางตรงกันขาม ม.1368 “บุคคล
อาจไดมาซึ่งการครอบครองโดยบุคคลอื่นยึดถือไวให” ดังนั้น บุคคลที่ผูอื่นยึดถือไวใหจึงเปนผูทรงโดยชอบ
สรุป ใครเปนผูครอบครองตั๋วเงิน เราถือตามความเปนจริง
ตราบใดที่ยังไมไดยึดถือตั๋วเงินเลย ยังถือไมไดวาเปนผูทรง


ฎ.5422/41 โจทกไปรับซอมเครื่องถายเอกสารจากบริษัท ส.โจทกมอบหมายใหลูกจางไปรับเงินคาซอมเครื่องถายเอกสาร เมื่อไป
ถึงจําเลยจึงใหลูกจางของโจทกลงชื่อไววารับเช็คแลว พอลงชื่อเสร็จจําเลยกลับไมมอบเช็คพิพาท ใหกับลูกจางของโจทกโดยอางวาจะติดตอ
กับโจทกเอง ตอมาโจทกจึงฟองวา จําเลยลักเช็คโจทก
ศาลฎีกาวินิจฉัยวา แมเช็คดังกลาวเปนเช็คที่บริษัท ส. ออกใหเพื่อชําระคาซอมเครื่องถายเอกสารใหแกโจทกก็ตาม แตจําเลยยังไมสง
มอบเช็คใหโจทก อีกทั้งลูกจางของโจทกยังไมไดเขายึดถือครอบครองเช็คพิพาทไว โจทกจึงยังไมไดเปนผูทรงเช็คพิพาทโดยชอบตามม.904
เช็คยังอยูในครอบครองของบริษัท ส. การกระทําของจําเลยจึงไมเปนการเอาทรัพยของผูอื่นหรือที่ผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวยไปโดยทุจริต
จึงไมเปนความผิดฐานลักทรัพย
สรุป โจทกยังไมเปนผูทรงนั่นเอง
การฝากเช็คใหผูอื่นเรียกเก็บเงินผานบัญชี ยังถือวาผูฝากยังคงเปนผูทรงอยู เพียงแตฝากใหเรียกเก็บเงินแทนเทานั้น
ฎ.1084/42,349/43 จําเลยจายเช็คใหโจทก โจทกจึงฝากมารดาใหนําเขาบัญชีของมารดาโจทก เพื่อเรียกเก็บเงิน ธนาคารปฏิเสธการ
จายเงิน โจทกจึงฟอง จําเลยตอสูวาโจทกไมใชผูทรง
ศาลฎีกาวินิจฉัยวา แมโจทกจะนําเขาบัญชีของมารดาโจทกเพื่อเรียกเก็บเงินก็ตาม ก็เปนแตเพียงนําเช็คเขาเรียกเก็บโดย
อาศัยบัญชีของมารดาเทานั้น เมื่อโจทกไมไดมอบหรือโอนสิทธิในเช็คพิพาทใหมารดาโจทก โจทกก็ยังเปนผูทรงเช็คพิพาทอยูในขณะที่
ธนาคารปฏิเสธการจายเงิน และเปนผูเสียหายมีอํานาจฟองได
หมายเหตุ ในทางตรงกันขามถามารดาโจทกมาฟองถือวาไมใชผูทรง
บุคคลใดมีชื่อในตั๋วก็ตาม แตถาเปนการยึดถือเช็คพิพาทแทนบุคคลอื่นผูมีชื่อในเช็คก็ไมใชผูทรง
ฎ.7854/42,15/37 จําเลยออกเช็คระบุชื่อ ช. สาเหตุที่จําเลยออกเช็คสั่งจายเพราะจําเลยทําละเมิดโจทก และจายคาเสียหายโจทกโดย
ออกเช็ค แตโจทกเปนชาวตางชาติไมมีบัญชีในไทย จึงออกเช็คระบุชื่อ ช. ซึ่งเปนญาติชาวไทย ธนาคารปฏิเสธการจายเงิน โจทกฟอง จําเลย
ตอสูวา โจทกไมใชผูทรงไมมีอํานาจฟอง
ศาลฎีกาวินิจฉัยวา ช. ยึดถือเช็คพิพาทแทนโจทกถึงแม ช.จะยึดถือไวแทน ช. ก็ไมใชผูทรง เพราะฉะนั้นเมื่อโจทกเปนผูมีเช็คไวใน
ครอบครองโดยโจทกเปนผูมีสิทธิรับเงินตามเช็ค ถือวาโจทกเปนผูทรงมีอํานาจฟอง
ฎ.2232/33 จําเลยสั่งจายเช็คระบุชื่อ ว. เปนผูรับเงินโดยไมไดขีดฆาคําวา หรือผูถือออก โดยจําเลยเขาใจผิดคิดวา ว.เปนเจาของ
กิจการเพราะเคยเห็นแต ว.เปนผูติดตอคาขาย
ศาลฎีกาวินิจฉัยวา จําเลยออกเช็คให ก็เจตนจะใหโจทกนั่นเอง จําเลยหาไดสั่งจายให ว. ในฐานะสวนตัวไม โจทกจึงเปนผูทรงเช็ค
พิพาทโดยชอบดวยกฎหมายมีอํานาจฟอง

อธิบาย ม.905 “ภายในบังคับแหงบทบัญญัติมาตรา 1008” หมายความวา ม.1008 บัญญัติไวอยางไรก็ใชตามนั้น บังคับตามนั้น


ตอ เมื่อไมเขากรณีม.1008 แลวจึงจะมาบังคับตาม ม.905ว.1
ม.1008 บัญญัติวา “เมื่อใดลายมือชื่อในตั๋วเงินเปนลายมือชื่อปลอมก็ดี เปนลายมือชื่อลงไวโดยที่บุคคลซึ่งปราศจากอํานาจ” ดังนั้น
ถาเปนลายมือชื่อปลอมหรือลงโดยปราศจากอํานาจก็ตองบังคับใชตามม.1008 แตถาไมใชลายมือปลอมหรือเปนการลงลายมือชื่อโดยผูมี
อํานาจจึงมาใชม.905 ได
หลัก ม.905ว.1 ลายมือชื่อที่ลงในตั๋วเงินตองเปนลายมือชื่อที่แทจริง และเปนการลงลายมือชื่อที่มีอํานาจเทานั้น

ถอยคําตามตัวบทที่วา “… บุคคลผูไดตั๋วเงินไวในครอบครองถาแสดงใหปรากฏสิทธิดวยสลักหลังไมขาดสาย................ทานให
ถือวาเปนผูทรงโดยชอบดวยกฎหมาย... ” หมายความวา ผูไดตั๋วมาตองพิสูจนวาตนไดรับตั๋วที่มีการสลักหลังของคนกอนๆ จนมาถึงตนนั้น
ตอเนื่องไมขาดสาย ตั้งแตผูรับเงินที่มีผูสลักหลังติดตอกันมาเปนลําดับจนถึงผูที่โอนตั๋วใหแกตนไมมีการขาดตอนเลย
ตัวอยางที่ 1 นายกบ สั่งจายเช็คโดยระบุชื่อนายบอม มอบใหแกนายบอมเพื่อชําระหนี้คาสินคา ตอมานายบอมสลักหลัง
เช็คแลวสงมอบใหนางสาวกิ๊กเพื่อชําระหนี้เงินกู นางสาวกิ๊กสลักหลังและสงมอบเช็คฉบับดังกลาวใหนายเอกเพื่อชําระคาเสื้อผา ดังนี้นาย
เอกเปนผูทรงเช็คฉบับนี้โดยชอบดวยกฎหมายเพราะมีเช็คไวในครอบครอง ซึ่งไดมาเพราะมีมูลหนี้ตอกันจริง และเปนผูรับสลักหลัง ทั้งยัง


พิสูจนไดวาเช็คฉบับนี้โอนมายังตนโดยไมขาดสาย เพราะมีลายมือชื่อตอกันมาเปนทอด ๆ ตั้งแตนายกบผูสั่งจาย นายบอมผูสลักหลังคนแรก
นางสาวกิ๊กผูสลักหลังและสงมอบใหตน

ถอยคําตามตัวบทที่วา “… แมถึงวาการสลักหลังรายที่สุดจะเปนสลักหลังลอยก็ตาม ทานใหถือวาเปนผูทรงโดยชอบดวย


กฎหมาย.... ” หมายความวา ผูลงลายมือชื่อคนสุดทายในตั๋วระบุชื่อแมจะลงชื่อโดยสลักหลังลอย ผูรับการสลักหลังก็ถือเปนผูทรงโดยชอบ
ตัวอยางที่ 2 หากขอเท็จจริงเปนไปตามตัวอยางที่ 1 นายเอกซึ่งรับการสลักหลังลอยมาจากนางสาวกิ๊ก ถือเปนผูทรงโดยชอบ
ถอยคําตามตัวบทที่วา “.... เมื่อใดรายการสลักหลังลอย มีสลักหลังรายอื่นตามหลังไปอีกทานใหถือวา บุคคลผูที่ลงลายมือ
ชื่อในการสลักหลังรายทีสุดนั้น เปนผูไดไปซึ่งตั๋วเงินดวยการสลักหลังลอย...”
ตั๋วเงินถามีการสลักหลังลอย จะเกิดผลตาม 920 ว.2 คือ ผูรับสลักหลังจะเกิดสิทธิ์ 3 ประการ ดังนี้ 1. ทําใหตั๋วเปนตั๋ว
สลักหลังเฉพาะตอไป 2. สลักหลังลอยแลวโอนตอไป 3. สงมอบตอไป(โดยไมลงลายมือชื่อ) ดังนั้นจึงทําใหเกิดการสงมอบตั๋วโดยไมมี
การลงลายมือชื่อได บุคคลผูสลักหลังรายที่สุดก็คือ บุคคลที่ลงชื่อสลักหลังเปนคนแรกหลังจากตั๋วเงินไดมีการสงมอบกันมาโดยไมมีการลง
ลายมือชื่อ
ตัวอยางที่ 3 หากขอเท็จจริงเปนไปตามตัวอยางที่ 1 นายเอกไดรับสลักหลังเช็คมาจากนางสาวกิ๊กแลว ก็โดนเช็คตอใหนายโตง
เพื่อชําระหนี้โดยนายเอกไมลงลายมือชื่อใด ๆ ( มาตรา 920 วรรค 2 ( 3 ) ) นายโตงก็โอนเช็คตอไปใหนายขวัญโดยไมลงลายมือชื่อเชนกัน
ตอมานายขวัญลงลายมือชื่อสลักหลังโอนเช็คใหนายอ่ําเพื่อชําระหนี้
ตามตัวอยางบุคคลผูลงลายมือชื่อในการสลักหลังลายที่สุดคือ ผูที่ลงชื่อเปนคนแรกตอจากผูสลักหลังลอย นั่นก็คือ นายขวัญ ซึ่งลง
ลายมือชื่อเปนคนแรกตอจากการที่นางสาวกิ๊กไดสลักหลังลอยสงมอบเช็คใหนายเอก กฎหมายใหถือวา นายขวัญไดรับเช็คไปจากนางสาว
กิ๊กโดยตรง ที่กฎหมายเขียนลักษณะนี้ก็เพราะ ใหถือเสมือนวาเช็ครายนี้มีการสลักหลังกันมาไมขาดตอน (เพราะกรณีนี้ นายเอก กับนายโตง
ไมไดลงลายมือชื่อ เมื่อนายขวัญไดเช็คมาจึงโอนใหใครก็ได สรุปวา นายอ่ําเปนผูทรงโดยชอบโดยพิสูจนไดวารับเช็คมาโดยไดรับสลักหลัง
ไมขาดสายจาก นายกบ---นายบอม---นางสาวกิ๊ก---นายขวัญ----และโอนมายังตน
ถอยคําตัวบทที่วา “...อนึ่งคําสลักหลังเมื่อขีดฆาเสียแลว ทานใหถือเสมือนวาไมไดมีเลย...” หมายความวา กฎหมายใหอํานาจขีดทิ้ง
ได ไมเปนการปลอมตั๋วเงิน เพราะกฎหมายใหอํานาจไว

ดอกเบี้ยในตั๋วเงิน
ป.พ.พ.มาตรา 911 “ผูสั่งจายจะเขียนกําหนดลงไววาจํานวนเงินอันจะพึงใชนั้นใหคิดดอกเบี้ยดวยก็ได และในกรณีเชนนั้น ถามิได
กลาวลงไวเปนอยางอื่น ทานวาดอกเบี้ยยอมคิดแตวันที่ลงในตั๋วเงิน”
ม.985 “ใหนําบทบัญญัติ ม.911 มาใชดวย” (ตั๋วสัญญาใชเงิน) เพราะฉะนั้น ตั๋วแลกเงินและตั๋วสัญญาใชเงิน จึงสามารถที่จะเขียน
ขอความเรื่องดอกเบี้ยลงในตั๋วดวยก็ได ม.988
เช็ค กฎหมายไมไดบัญญัติใหนําเรื่อง ม.911 ไปใช จึงไมสามารถเขียนเรื่องดอกเบี้ยลงในเช็คได ซึ่งถาเขียนลงไป ผลก็จะเปนไป
ตาม ม.899 คือ จะไมมีผลใด ๆ เลยเหมือนกับไมมีขอความนั้นอยู
เหตุที่กฎหมายบัญญัติใหเรื่องดอกเบี้ยแตกตางกันนั้น ในเพราะ ใน ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใชเงิน ม.913(1) ,(2), (3) มีกําหนดเวลาใช
เงินหางกันกับเวลาออกตั๋วเปนชวงเวลาที่นาน สวนเรื่อง เช็ค เปนเรื่องสั่งใหธนาคารใชเงินเมื่อทวงถาม จึงมีระยะเวลาสั้น ไมจําตองเขียน
ดอกเบี้ย
Ex. ออกตั๋วสัญญาใชเงิน เมื่อ 1 มิ.ย. 46 ใหใชเงินเมื่อวันที่ 1 ธ.ค.46 ดังนั้นมีระยะเวลานาน จึงใหเขียนดอกเบี้ยได
ม.911 ในเรื่องการเขียนระบุดอกเบี้ยนั้น ถาจะเขียนก็ตองเขียนลงในตั๋วแลกเงิน หรือ ตั๋วสัญญาใชเงินเทานั้น จะเขียนลงในที่อื่น
หรือเอกสารแผนอื่นไมได แมจะมีพยานมาสืบก็ตามก็ไมสามารถอางได ในทางเดียวกัน การตกลงดวยวาจาวาจะใหดอกเบี้ยนั้น จึงไมมีผล
เพราะกฎหมายบัญญัติวาใหเขียนลงในตั๋วเงิน


ฏ.335/2509 ขอกําหนดใหคิดดอกเบี้ยตามที่โจทกนําสืบมิไดระบุในตั๋วแลกเงิน ฉะนั้นแมโจทกจะมีพยานบุคคลสืบไดความวา
จําเลยยอมเสียดอกเบี้ยใหโจทกรอยละ 15 ตอป หามีผลบังคับใหจําเลยตองเสียดอกเบี้ยตามที่โจทกนําสืบไม เพราะฉะนั้นจะไปเรียกดอกเบี้ย
ตั้งแตวันออกตั๋วถึงวันกําหนดใชเงินไมได
สรุป การที่จะบังคับเรื่องดอกเบี้ยในตั๋วแลกเงิน หรือ ตั๋วสัญญาใชเงินได ตองเขียนระบุไวในตั๋วเงินเทานั้น
ในกรณี ผูสั่งจายตั๋วแลกเงินก็ดี ผูออกตั๋วสัญญาใชเงินก็ดี เขียนขอกําหนดดอกเบี้ยลงในตั๋วเงินนั้น นอกจากจะมีผลผูกพัน ผูสั่ง
จายหรือผูออกตั๋วแลว ใหมีผลผูกพันถึงคูสัญญาอื่น ๆ ในตั๋วเงินดวยทุกคน ถาตอมามีการสลักหลังตอไป
หลัก ที่ตองผูกพันเพราะผูสั่งจายหรือผูออกตั๋วเปนผูใหกําเนิดตั๋วขึ้นมา เพราะฉะนั้นใครก็ตามที่เขามาผูกพันเมื่อเห็นขอความใน
ตั๋วแลว ถือวาสมัครใจเขามาผูกพันจึงตองรับผิดในตั๋ว
ขอยกเวน ในตั๋วแลกเงิน ม.915 ผูสั่งจายตั๋วแลกเงิน หรือ ผูสลักหลังคนใด ๆ ก็ดี จะจดขอความลงไวในตั๋ว (1) ลบลางหรือจํากัด
ความรับผิด ดังนั้น ผูใดเขียนยกเวนความรับผิดไว คนนั้นก็ไมตองรับผิด
ระยะเวลาในการคิดดอกเบี้ย เริ่มนับเมื่อใด
- ถาระบุอัตราดอกเบี้ยไว ตาม ม.911 แตไมไดระบุใหชัดเจนวาจะใหเริ่มนับเมื่อใดนั้น ใหคิดตั้งแตวันที่ลงในตั๋ว (วันออกตั๋ว)
- แตถาระบุลงในตั๋ววา อัตราดอกเบี้ย จํานวน .... ใหคิดตั้งแตวันที่ .... (ซึ่งไมใชวันที่ออกตั๋ว) อยางนี้ใชบังคับได
*** อัตราดอกเบี้ยระบุใหคิดตั้งแตเมื่อใดใหเปนไปตามนั้น
คําถาม เมื่อมีการผิดนัดใชเงินตามตั๋วแลว อัตราดอกเบี้ยที่ระบุไวจะลดลงหรือไม
ตอบ ไมลดลง ใหถือไปตามนั้นจนกวาจะชําระเงินเสร็จสิ้น
ฏ.943/2539, 193/2536 -- ตั๋วสัญญาใชเงินระบุวาผูออกตั๋วไดออกตั๋วเมื่อวันที่ 17 มิ.ย. 2528 สัญญาวาจะจายเงิน 10 ลานบาทพรอม
ดอกเบี้ยรอยละ 15 ตอป ในวันที่ 17 มิ.ย. 2529 โจทกจึงมีสิทธิคดิ อกเบี้ยไดตั้งแต 17 มิ.ย. 2528 ซึ่งเปนวันออกตั๋วสัญญาใชเงิน เมื่อระบุอัตรา
ดอกเบี้ยไวแตไมไดระบุวาใหคิดดอกเบี้ยตั้งแตเมื่อใด ตาม ม.911 บัญญัติไวใหคิดตั้งแตวันออกตั๋ว
ฏ. 64/2537, 5007/2536 -- เมื่อไดกําหนดอัตราดอกเบี้ยไวโดยนิติกรรม ตั๋วสัญญาใชเงิน และครอบกําหนดใชเงิน จําเลยเปนฝาย
ผิดนัด โจทกผูทราบจึงมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในอัตราดังกลาวจากตนเงินตามตั๋วสัญญาใชเงินตอไปจนกวาจะชําระเสร็จ ตาม ม.224 ว.1
กรณีผูสั่งจายตั๋วแลกเงินหรือผูออกตั๋วสัญญาใชเงินไมไดระบุดอกเบี้ยลงในตั๋ว
ถาม มีการออกตั๋วสัญญาใชเงิน หรือ สั่งจายตั๋วแลกเงิน เมื่อตั๋วถึงกําหนด มีการนําตั๋วไป เรียกเก็บเงินโดยในตั๋วไมไดกําหนดระบุ
ดอกเบี้ยเอาไว กรณีอยางนี้ตองมีการใชดอกเบี้ยดวยหรือไม ตอบ ไมตองใชดอกเบี้ย
ม.911 กฎหมายใหสิทธิเขียนระบุดอกเบี้ยแลว เมื่อไมเขียนลงไป ผูทรงก็จะเรียกดอกเบี้ยไมได แตผูทรงจะคิดอกเบี้ยได ก็ตอเมื่อ
กรณีมีการผิดนัดไมใชเงินตามตั๋ว ซึ่งดอกเบี้ยผิดนัด **ไมใชรอยละ 7.5 ตอป ตามมาตรา 224 เพราะเรื่องตั๋วเงิน ม.968(2) “ผูทรงเรียกรอง
เอาเงินใชจากบุคคลซึ่งตนใชสิทธิไลเบี้ยนั้นก็ได คือ (2) ดอกเบี้ย ***อัตรารอยละ 5 ตอป นับแตวันถึงกําหนด”
ฏ.312/2531 --- ตั๋วสัญญาใชเงินซึ่งมิไดระบุเรื่องดอกเบี้ยไว เมื่อถึงกําหนดชําระ ผูทรงมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยไดในอัตรารอยละ 5 ตอ
ป นับแตวันที่ตั๋วสัญญาใชเงินถึงกําหนด จากบรรดาผูสลักหลังผูสั่งจายและบุคคลอื่น ๆ ผูตองรับผิดในตั๋วเงินนั้น ผูทรงจึงมีสิทธิเรียกเอา
ดอกเบี้ยได ในอัตราเพียงรอยละ 5 ตอป จากผูรับอาวัลตั๋วสัญญาใชเงิน ซึ่งตองรวมกันรับผิดกับบุคคลดังกลาว
กฎหมายใชคํา 2 คําดังนี้
1. ลูกหนี้ชั้นตน หมายความถึง บุคคลผูจะตองรับผิดตอผูทรงเปนลําดับแรก คือ ผูที่ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินและจายเงินตามตั๋ว
2. ลูกหนี้ที่ถูกไลเบี้ย เปนเรื่องผูสั่งจายเช็คหรือผูสั่งจายตั๋วแลกเงินหรือผูสลักหลังก็ดี บุคคลเหลานี้ไมไดมีหนาที่ตองจายเงินตามตั๋ว
การจะฟองบุคคลเหลานี้ จึงตองทําตามขั้นตอนกอน ใหอยูในเงื่อนไขวา ผูถูกสั่งใหจายเงินไมจายเงิน หรือทวงถามเงินเมื่อเช็คถูกปฏิเสธ
กอน (ผูจายคือธนาคาร)
ในเรื่อง ตั๋วสัญญาใชเงิน ลูกหนี้ชั้นตน คือ ผูออกตั๋ว เพราะเปนผูจายเงินเอง
อยางไรก็ตาม ทั้ง 2 จําพวกนี้ก็ตองรวมกันรับผิดในตั๋วเงินอยูดีนั้นเอง และการรับผิดในดอกเบี้ยก็ตองรับผิดเหมือนกันเทากันหมด
ทุกคน

๑๐
ดอกเบี้ยในเรื่องเช็ค
ผูทรงจะสามารถเรียกดอกเบี้ยได ก็ตอเมื่อธนาคารปฏิเสธการจายเงินตามเช็ค เพราะหนี้ตามเช็ค ถือเปนหนี้เงิน ตาม ม.224 และหนี้
เงินตามเช็คจะถือวา ลูกหนี้ผิดนัดก็ตอเมื่อธนาคารปฏิเสธการจายเงินเทานั้น
หลัก ธนาคารปฏิเสธการจายเงินเมื่อใด เริ่มคิดดอกเบี้ยไดตั้งแต ตอนนั้นเปนตนไป โดยเรียกไดในอัตรา 7.5 ตอป ตาม ม.224
โดยเรียกไดจากลูกหนี้ทุกคนในเช็ค ซึ่งตองรวมกันรับผิด ฏ.4686/2536, 41 – 42 /2539
ดอกเบี้ยตามสัญญาขายลดเช็ค
อัตราดอกเบี้ยใหเปนไปตามสัญญา สัญญาตกลงไววาอยางไรก็ใหเปนไปตามนั้น เพราะ เขาไมไดฟองตามตั๋วเงิน เขาฟองตาม
สัญญาใชเงิน
กรณีมีคูสัญญาหลายคน ฏ.3567/2525 --- จําเลยที่ 1 ขายลดเช็คทําสัญญาจะใชดอกเบี้ยถาถูกปฏิเสธการจายเงิน รอยละ 15 ตอป
สวนจําเลยที่ 2 เปนผูสั่งจายเช็คไมไดเปนคูสัญญา ดังนั้น ตองแยก ดอกเบี้ยสําหรับจําเลยที่ 1 เรียกได รอยละ 15 ตอป จําเลยที่ 2 รอยละ 7.5
ตอป
วันถึงกําหนดใชเงิน
ตั๋วแลกเงิน และ ตั๋วสัญญาใชเงิน ม.913 , 985 , 983(3) จะถึงกําหนดไดหลายกรณี
ม.913 (1) --- วันใดวันหนึ่งที่กําหนดไว เมื่อลูกหนี้ในตั๋วไมใชเงินก็จะตกเปนผูผิดนัดโดยมิพักตองเตือน
ม.913 (2) --- เมื่อสิ้นระยะเวลาอันกําหนดไว นับแตวันที่ลงในตั๋วนั้น หรือ นับจากวันออกตั๋วไปจนครบระยะเวลาที่กําหนดในวัน
ออกตั๋ว เชน 3 เดือนนับแตวันออกตั๋ว หรือ 30 วัน นับแตวันออกตั๋ว
ฏ.557/2532 -- (ตั๋วสัญญาใชเงินระบุวา 56 วันจะใชเงิน) ตั๋วตามที่กําหนดไวใน ป.พ.พ. ม.913(2) เมื่อครบกําหนดแลวใหตกเปนผู
ผิดนัดโดยมิพักตองเตือนเลย เพราะถือวากําหนดวันที่แนนอนตามวันแหงปฏิทิน
ม.913 (3) --- เมื่อทวงถาม หรือเมื่อไดเห็น หรือ ถึงกําหนดใชเงินเมื่อไดเห็น ผูทรงตั๋วตองยื่นตั๋วใหกับผูจายหรือผูออกตั๋วภายใน
กําหนด 6 เดือน นับแตวันที่ลงในตั๋วนั้น
Ex. ตั๋วลงวันที่ 1 มิ.ย.46 เขียนในตั๋ววา ใชเงินเมื่อไดเห็น ตั๋วแลกเงินฉบับนี้ โปรดจายใหแกนาย ก. ดังนั้น นาย ก. จึงตองนําตั๋ว
ไปยื่นภายใน 6 เดือน (ม.944,928) นับแตวันออกตั๋ว
ขอสังเกต 1. ตั้งแตวันออกตั๋วจนครบกําหนด 6 เดือน นับแตวันออกตั๋ว ยื่นวันไหน ถึงกําหนดใชเงินวันนั้น
2. ตั๋วสัญญาใชเงิน หรือ ตั๋วแลกเงินจะยื่นวันไหนก็ได นับแตวันออกตั๋วหรือวันสั่ง แตตองไมเกิน 6 เดือน นับแตวัน
ออกตั๋ว
ในกรณีเช็ค วันถึงกําหนดใชเงินตามเช็ค คือ เมื่อทวงถาม หมายความวา ทวงถามเมื่อไร ก็ตองใชเงินเมื่อนั้นและจะเริ่มทวงถาม
ไดเมื่อตั้งแตวันที่ลงในเช็คนั้นเปนตนไป
วันถึงกําหนดใชเงินตามตั๋วแลกเงิน หรือ ตั๋วสัญญาใชเงิน ตาม ม.913
1. เมื่อทวงถาม ประเภทนี้จะไมอยูในบังคับ ม.944 ที่ผูทรงจะตองยื่นภายใน 6 เดือนนับแตวันที่ลงในตั๋ว โดยถือเอาวันที่ผูทรง
ทวงถามเปนวันถึงกําหนดใชเงินและกฎหมายก็ไมไดบังคับวาจะตองทวงถามในระยะเวลาใด
2. เมื่อไดเห็น คือ ตั้งแตวันที่ออกตั๋วเปนตนไป (คือ วันที่ที่ลงในตั๋วนั่นเอง) แตจะยื่นใหใชเงินภายหลัง 6 เดือนนับแตวันออกตั๋ว
ไมได สรุปก็คือ เอาตั๋วไปใหเห็นวันไหนก็ถึงกําหนดใชเงินวันนั้น แตตองยื่นภายใน 6 เดือนเทานั้น
ฏ.1062/2540(ป) --- จําเลยออกตั๋วสัญญาใชเงินใหแกโจทกลงวันที่ 19 ธ.ค.2529 สัญญาวาจะใชเงิน 1286 ลานบาทเศษ โดยมีวัน
ถึงกําหนดใชเงินเมื่อทวงถาม (วันถึงกําหนดใชเงินจึงเปนไปตาม ม.913(3)) ปรากฎวาเมื่อป พ.ศ. 2533 โจทกมีหนังสือทวงถามไปถึงจําเลย
เมื่อวันที่ 7 ก.ย.2533 (คือวันที่ลงในหนังสือทวงถาม) จําเลยไดรับหนังสือ เมื่อ 12 ก.ย. 2533 แลวจําเลยไมชําระ โจทกจึงนําคดีมาฟอง เมื่อ
14 ก.ย. 2536 (กําหนดฟองดดีภายใน 3 ป นับแตวันถึงกําหนดใชเงิน)
ปญหามีวาจะถือวาตั๋วสัญญาใชเงินถึงกําหนดทวงถามวันไหน ขอเท็จจริงมีวา ในหนังสือทวงถามระบุวา “ขอใหทานใชเงิน
ภายใน 7 วันนับแตวันที่ไดรับหนังสือทวงถามฉบับนี้” (ปญหามีวาจะตอง บวกอีก 7 วันนับแตวันที่จําเลยไดรับหนังสือทวงถามหรือไม
เพราะถาบวกอีก 7 วัน เขาไปก็จะครบกําหนด 3 ป ในวันที่ 19 ก.ย.2536 อายุความก็จะไมขาด)
๑๑
ศาลฏีกาวินิจฉัยวา ตาม ป.พ.พ. ม. 169 (ใชบังคับในขณะนั้น) กําหนดอายุความเริ่มนับตั้งแตวันที่อาจบังคับตามสิทธิเรียกรองได
เปนตนไป เมื่อตั๋วสัญญาใชเงินกําหนดไวชัดเจนวา ผูออกตั๋วสัญญาจะใชเงินเมื่อทวงถาม ดังนั้น วันถึงกําหนดใชเงินของตั๋วสัญญาใชเงิน
พิพาท จึงหมายถึง วันที่โจทกผูทรงตั๋วสัญญาใชเงินทวงถามใหผูออกตั๋วใชเงิน ตาม ม.913(3) หาใชถึงกําหนดใชเงินในวันออกตั๋วไม ตอง
นับวันที่ครบกําหนดทวงถามเปนวันที่ครบกําหนด และกําหนดใชเงินตามหนังสือทวงถามของโจทกกําหนดใหจําเลยใชเงินภายใน 7 วันนับ
แตไดรับหนังสือดังกลาว (อยางนี้ก็ตองตีความวาโจทกซึ่งเปนเจาหนาในตั๋วนั้น จะเรียกใหชําระเงินกอนถึงกําหนด 7 วันนั้นไมได แตฝาย
จําเลยซึ่งเปนลูกหนี้สามารถจะชําระกอนครบกําหนดนี้ได ดังนั้น หากพนกําหนด 7 วันดังกลาวนี้ แลวจึงจะถือวาจําเลยผิดนัด ซึ่งโจทกอาจ
บังคับใหจําเลยใชเงินตามตั๋วพิพาทนี้ได นับแตวันครบกําหนด 7 วัน ตามหนังสือทวงถามเปนตนไป) ดังนั้น จึงตอง บวก 7 วันเขาไปดวย
อายุความจึงเริ่มนับ วันที่ 20 ก.ย. 2533 เปนตนไป ดังนั้นเมื่อโจทกนําคดีมาฟองเมื่อวันที่ 14 ก.ย. 36 จึงไมพนกําหนด 3 ป คดีโจทกจึงไมขาด
อายุความ (ตาม ม.1001)
ม.913 (4) --- เมื่อสิ้นระยะเวลาอันกําหนดไวนับแตไดเห็น เปนการนับตั้งแตผูสั่งจายไดเห็นตั๋ว หรือรับรองตั๋วนั้น นับไปจนครบ
กําหนดระยะเวลาที่กําหนดไว
Ex. นาย ก. ออกตั๋วแลกเงินสั่งใชเงินให ค. ภายใน 180 วัน นับแตไดเห็น (วันถึงกําหนดใชเงินกรณีนี้จะนับตั้งแตผูจายเงินไดเห็น
หรือรับรองตั๋ว คือ เอาตั๋วไปใหผูจายเห็นเสียกอนแลวนับไปอีก 180 วัน)
ปญหามีวา ผูทรงจะตองเอาตั๋วไปใหผูจายเงินเห็นภายในระยะเวลาใด กฎหมายกําหนดไวใน ม.928, 913 (ภายใน 6 เดือนผูทรง
จะตองเอาตั๋วไปใหผูจายเห็น เมื่อผูจายเห็นแลวก็เริ่มนับระยะเวลา 180 วัน จนครบ)
สรุป ถามีการอื่นตั๋วใหรับรองในวันใด และผูจายรับรองวันนั้นก็จะเปนวันเริ่มเห็นตั๋ว
Ex. ตามตัวอยาง ค. นําตั๋วไปให ข. เห็น วันที่ 1 ธ.ค. 45 ก็จะเริ่มนับตั้งแตวันที่ 1 ธ.ค. 45 ไปจนครบ 180 วัน เมื่อครบ 180 วัน ก็จะ
เปนวันถึงกําหนดใชเงินตั้งแตวันครบ 180 วันนั้นเปนตนไป

การโอนตั๋ว
ตั๋วแลกเงิน – ตั๋วสัญญาใชเงิน - เช็ค เปนตราสารที่สามารถโอนกันได เปนทอด ๆ บุคคลที่เขามาเปนคูสัญญา จึงมีไดไมจํากัด
จํานวนโดยการลงลายมือชื่อ
ตั๋วเงิน สามารถแบงออกเปน 2 ชนิด
1. ชนิดระบุชื่อ มีไดทั้ง 3 ชนิดคือ ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใชเงิน และ เช็ค
2. ชนิดผูถือ มีได 2 ชนิดคือ ตั๋วแลกเงิน และ เช็ค
วิธีการโอน ตั๋วเงินชนิดระบุชื่อ ตาม ม.917 เปนการโอนตั๋วแลกเงินชนิดระบุชื่อ แตนําไปใชในเรื่องตั๋วสัญญาใชเงินและเช็คดวย
โดยผล ม. 985 และ 989
ม.917 วรรคแรก อันตั๋วเงินทุกประเภท (3 ประเภท) “ถึงแมวาจะมิใชสั่งจายใหแกบุคคลเพื่อเขาสั่งก็ตาม” หมายความวา
ถึงแมวาผูสั่งจายหรือผูออกตั๋ว จะสั่งจายโดยระบุชื่อผูรับเงิน ไมมีขอความ “หรือตามเขาสั่ง” ตั๋วเงินฉบับนั้นก็สามารถจะโอนตอไปได
ดวยการสลักหลังและสงมอบ
การโอนตั๋วชนิดระบุชื่อจึงอยูภายใต ม.917 คือ “ยอมโอนใหกันไดดวย สลักหลังและสงมอบ”
วิธีสลักหลัง ม.919 ว.1 ซึ่งแบงวิธีสลักหลังออกเปน 2 วิธี
1. สลักหลังเฉพาะ คือ สลักหลังโดยระบุชื่อผูรับโอนหรือผูรับประโยชนไวแลวลงลายมือชื่อผูโอน
2. สลักหลังลอย คือ การลงชื่อผูโอนไวโดยไมไดระบุชื่อผูรับโอนหรือผูรับประโยชน
การสลักหลังเฉพาะ จะสลักหลังไวที่ใดกฎหมายไมไดระบุไว แตทางปฏิบัติจะนิยมสลักหลังไวที่ดานหลังตั๋ว เนื่องจากมีอักษร
ขอความกํากับอยูแลววาโอนใหคนนี้ แมจะเขียนไวดานไหนก็ไมทําใหหรือแปลความไปเปนอยางอื่น

๑๒
การสลักหลังลอย สรุปไดดังนี้
1. การสลักหลังลอยจะมีเฉพาะในตั๋วระบุชื่อผูรับเงินเทานั้น
2. การสลักหลัง หมายความถึง การที่ผูสลักหลังลงลายมือชื่อดานหลัง ตั๋วเงิน “เนน” ---> ตองกระทําดาน “หลัง” เทานั้น และ
ตองไมระบุชื่อผูรับประโยชนหรือผูรับโอนตั๋ว
3. สงมอบตั๋วใหแกผูรับโอน
ถาม ไปลงลายมือชื่อที่ดานหนาของตั๋วเงินผลจะเปนเชนไร ตอบ จะเปนการอาวัล (ม.939 วรรคสาม)
ม.920 การสลักหลังยอมโอนไปซึ่งสิทธิอันเกิดแตตั๋วแลกเงิน
(1) หมายความวา ผูรับโอนตั๋วดวยการสลักหลังลอยมา อาจจะตองการโอนตั๋ว เชน ตองการโอนตั๋วที่ นาย ก. สลักหลังลอยมาให
ตน ใหกับนาย ข. ก็อาจจะเขียนดานหลังวาโอนใหแก ข. เหนือลายมือชื่อ นาย ก. ก็ได ซึ่งจะมีผลวา นาย ก. โอนตั๋วแบบเฉพาะให ข. ก็มีผล
ใชบังคับได
(2) เชน ถา ค. ซึ่งรับโอนแบบสลักหลังมาจาก ก. ตองการโอนตอให ข. ก็อาจโอนแบบเฉพาะ หรือ แบบสลักหลังลอยให ข.ก็ได
ทั้งสองแบบ
***(3) สามารถโอน แบบสงมอบเฉย ๆ เหมือนตั๋วผูถือได โดยผูโอนแบบนี้ไมตองรับผิดหากมีการผิดสัญญาขึ้นมา เพราะไมได
ลงลายมือชื่อ ตาม ม.900
แตขอสังเกต แมจะโดนโดยสงมอบเฉย ๆ ก็ตาม ตั๋วเงินนั้นก็ยังคงสภาพเปนตั๋วชนิดระบุชื่ออยูเชนเดิม
ม.922 เปนหลักของการสลักหลัง หามสลักหลังโดยมีเงื่อนไขในการโอนตั๋วเงิน ซึ่งถาเขียนเงื่อนไข ก็ใหถือเสมือนไมมีการเขียน
ขอความใด ๆ ลงไปในตั๋วเงินนั้นเลย
Ex. เขียนลงไปในตั๋ววา ใหเปนผลวาจะโอนตอเมื่อนาย ก. สอบเนติฯได ผลก็คือ เทากับไมไดเขียนขอความใด ๆ ลงไปเลย ซึ่ง ก.
ก็กลายเปนผูทรงตั๋วโดยสมบูรณ แมจะยังสอบเนติฯ ไมไดก็ตาม
ขอระวัง อยาจําสับสนกับชั้นในการออกตั๋วเงิน ซึ่งจะไปวางเงื่อนไขไมได เพราะจะทําใหตราสารนั้นไมสมบูรณเปนตั๋วเงิน
Ex. ไประบุวาจายเงินเมื่อ นาย ก. สอบเนติฯ ได อยางนี้ตราสารไมสมบูรณเปนตั๋วเงิน แตถาไปวางเงื่อนไขเกี่ยวกับความรับผิด
สามารถทําได (ม.915)
Ex. นาย ก. ออกตั๋วให ข. และเขียนระบุเงื่อนไขวา แตทั้งนี้ ขาพเจาขอรับผิดตามตั๋ว เพียงกึ่งหนึ่ง (สามารถทําได)
ม.922 วรรคทาย สลักหลังโอนแตบางสวนเปนโมฆะ
การโอนตั๋วชนิดผูถือ (ม.918,921) นําไปใชเรื่องเช็ค ม.989 มี 2 กรณี
1. ตั๋วผูถือลวน ๆ (ไมไดระบุชื่อใครลงในตั๋ว)
2. ตั๋วระบุชื่อผูรับเงินและมีขอความหรือผูถืออยูดวย ซึ่ง ศาลฏีกา แปลความวา ผูสั่งจายไมไดประสงคจะใหใชเงินใหแตเฉพาะผูที่
ระบุชื่อไวเทานั้น หากแตยังสงใหใชเงินแกผูถือดวย
ขอที่จําสับสน บอย ๆ
เช็คขีดครอม ซึ่งการขีดครอมจะมีไดเฉพาะในเช็คเทานั้น ถาไปขีดครอมในตั๋วแลกเงินหรือตั๋วสัญญาใชเงินก็จะไมมีผลตาม ม.899
หลัก การขีดครอมนั้น มีแตเพียงวา ธนาคารผูใชเงินจะใชเงินตามเช็คใหแกผูทรางที่มาขึ้นเงินโดยตรงไมได แตธนาคารจะเงินได
โดยผานธนาคารดวยกัน เพราะฉะนั้น ถาหากเช็คที่มีการขีดครอมก็ยอมโอนกันไดตามปกติ
ซึ่งถาเปนเช็คระบุชื่อ แลวมีการขีดครอม --> โอนโดยการสลักหลังแลวสงมอบ
ถาเปนเช็คชนิดผูถือ แลวมีการขีดครอม --> โอนโดยการสงมอบ
ฏ.2485/2523, 1015/2532 , 4336/2534
- เช็คพิพาทเปนเช็คที่สั่งจายแกบริษัท ธ. ผูถือ แมจะมีการขีดครอม แตมิไดระบุหามโอนจึงมีการโอนไดโดนสงมอบ
- เช็คพิพาทเปนเช็คขีดครอมโดยทั่วไปสั่งจายเงินใหแกจําเลยที่ 3 โดยมิไดมีการระบุวาหามเปลี่ยนมือ จําเลยที่ 3 ยอมโอนโดยสลัก
หลังและสงมอบตอได

๑๓
เช็คผูถือ ถึงแมธนาคารไดปฏิเสธ การจายเงินแลวก็สามารถโอนกันได ดังนั้น แมธนาคารปฏิเสธการจายเงินในเช็คผูถือแลว เมื่อ
ไปลงลายมือชื่อโอนตอก็ตองรับผิด (ในฐานะผูอาวัล) ฏ.2062/2537,1043/2534,5435/2533
ม.990 ผูทรงจะตองยื่นเช็คใหธนาคารใชเงินภายในกําหนด (1,3 เดือน) ถาไมยื่นจะสิ้นสิทธิที่จะไลเบี้ย...
คําวา “ผูสลักหลัง” หมายถึง เช็คระบุชื่อ
การโอนตั๋วที่มีขอกําหนดวาเปลี่ยนมือไมได ตามบทบัญญัติที่เกี่ยวของ มี 3 มาตรา
1. ม.917 วรรค 2 เปนเรื่องผูสั่งจายหรือผูออกตั๋ว เขียนคําวา “เปลี่ยนมือไมได ซึ่งเปนการคุมครองผูสั่งจายหรือผูออกตั๋ว
2. ม.923 ผูสลักหลัง “หามสลักหลัง” ลงในตั๋ว ซึ่งเปนการคุมครอง ผูสลักหลัง
3. ม.995(3) เช็คขีดครอมที่ผูทรงจะเติมคําวา “หามเปลี่ยนมือ” ลงในเช็คขีดครอม ซึ่งเปนการคุมครองผูทรง
1. ม. 917 วรรคสอง ซึ่งเปนบทบัญญัติในเรื่องตั๋วแลกเงิน แตนําไปใชกับเรื่องตั๋วสัญญาใชเงินและเช็คดวย โดยผานมาตรา
985,989
โดยหลัก ตาม ม.917 วรรคแรก ตั๋วเงินทั้ง 3 ประเภท (ตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใชเงิน,เช็ค) เปนตราสารที่สามารถโอนเปลี่ยนมือได
และสามารถโอนใหกันไดดวยสลักหลังและสงมอบ
แตเมื่อผูสั่งจายหรือผูออกตั๋วไมตองการใหตั๋วเงินโอนกันไดในวิธีการอยางตั๋วเงินจะตองการทําอยางไร
ตอบ เปนเรื่องของมาตรา 917 วรรค 2
ขอสังเกต 1. ตั๋วที่จะเขียนคําวา “เปลี่ยนมือไมได” ตองเปนตั๋วชนิดระบุชื่อ หมายความวา ถาผูสั่งจายหรือผูออกตั๋วไมตองการให
มีการโอนหรือเปลี่ยนมือกันไมไดตอไปแลวจะตองเขียนลงในตั๋วดวยขอความวา “เปลี่ยนมือไมได” แตตองอยูภายในเงื่อนไขวาตั๋วที่จะหาม
เปลี่ยนมือไดนี้ ตองเปนตั๋วชนิดระบุชื่อเทานั้น จะเปนตั๋วผูถือไมได เนื่องจากตั๋วผูถือมีการโอนดวยการสงมอบเพียงอยางเดียวก็สมบูรณแลว
ตาม ม.918 ดังนั้น แมไปเขียนหามเปลี่ยนมือเอาไวก็ไมมีประโยชน เพราะถามีการเปลี่ยนมือหรือสงมอบก็ไมอาจรูไดตางกับตั๋วชนิดระบุชื่อ
ซึ่งตองมีการสลักหลังแลวสงมอบ อันเห็นเปนหลักฐานไดวามีการเปลี่ยนมือกัน
ตั๋วผูถือ แบงไดเปน 2 ประเภทดังนี้
1. ตัวผูถือลวน ๆ คือ ตั๋วที่มีขอความวา “ใหใชเงินแกผูถือ” หรือ “ผูถือ “ หรือ “จายสดแกผูถือ” สรุป คือ ไมไดระบุชื่อใครลง
ในตั๋วนั่นเอง ตั๋วแบบนี้ ผูสั่งจาย หรือผูออกตั๋วจะไปเขียนขอความวา “เปลี่ยนมือไมได” ลงไปในตั๋วไมได เพราะวา ตั๋วผูถือนั้น สงมอบ
โดยไมตองเขียนอะไรลงไปเลยก็ไดอยูแลว จะมีประโยชนอะไรที่ไปหามเปลี่ยนมือ แมจะหามไว แตมีการฝาฝนโดยสงมอบเปลี่ยนมือกัน
เปนรอยเปนพันคน ธนาคารก็ไมอาจรูได ดังนั้น ตั๋วผูถือชนิดนี้ จึง หามเปลี่ยนมือไมได
2. ตั๋วที่ระบุชื่อผูรับเงิน และไมมีขีดฆาคําวา “หรือผูถือ” คือ ตั๋วที่ระบุชื่อผูรับเงินลงไปแลวไมไดขีดฆาคําวา “หรือผูถือ” ออก
(เนื่องจากในแบบฟอรมของตั๋วจะเขียนเอาไว) ถาผูสั่งจายหรือผูออกตั๋วไปเขียนคําวา “เปลี่ยนมือไมได” หรือ A/C PAYEE ONLY” ถือวา
ตั๋วฉบับเปนตั๋วที่หามโอน ตาม ม.917 วรรค 2 ดวยเชนกัน
ดังนั้น ถาตั๋วผูถือที่ระบุชื่อผูรับเงิน แ ละไมไดขีดฆา คําวา “หรือผูถืออก” เมื่อผูสั่งจายหรือออกตั๋วไปเชียน คําวา “เปลี่ยนมือ
ไมได” เพิ่มลงไป ตั๋วนี้ก็จะกลายเปนวาไมใชตั๋วผูถืออีกตอไป ตามฏีกา 2055/2536
ทางปฏิบัติ แมไมไดเขียนคําวา หามเปลี่ยนมือลงไป ถาเปนตั๋วที่ระบุชื่อผูรับเงินและไมไดขีดคําวา หรือ ผูถือออกแลวทางธนาคาร
ก็จะไมคอยจายเงินใหผูถือที่ไมใชผูที่ระบุชื่อไวในตั๋วนั้นเพราะเปนการเสี่ยง
สรุปแลว ถาเปนตั๋วที่ระบุชื่อผูรับเงิน และไมไดขีดฆาคําวา หรือผูถือออก ถาหากวาผูสั่งจายหรือผูออกตั๋วไปเขียนคําวา “ให
จายเงินแกผูรับเงิน” หรือ “เปลี่ยนมือไมได” หรือ “A/C PAYEE ONLY” ลงไปในตั๋วแลว ตั๋วนี้ก็จะไมใชตั๋วผูถืออีกตอไป แตจะเปนตั๋ว
หามเปลี่ยนมือ ตาม ม.917 วรรคสอง
หลักของมาตรา 917 วรรคสอง ประกอบดวย
1. ตองเขียนลงในดานหนาแหงตั๋วเงินเทานั้น
2. ตองมีขอความวา “เปลี่ยนมือไมได” หรือเปนขอความอื่นที่มีความหมายทํานองเดียวกันนี้
ในทางปฏิบัติขอความที่มักใชก็คือ “A/C PAYEE ONLY” ซึ่งแปลเปนภาษาไทยไดวา “เฉพาะบัญชีผูรับเงินเทานั้น”
Ex. คําอื่นที่ทํานองเดียวกันกับคําวา “เปลี่ยนมือไมได”

๑๔
ฏ.4975/2533 (ออกสอบแลว) เขียนคําวา “เฉพาะ” ลงในดานหนา ศาลฏีกา แปลวา คําวา เฉพาะยังถือไมไดวาเปนถอยคําทํานอง
เดียวกันกับคําวา “เปลี่ยนมือไมได” ฉะบั้น เช็คฉบับนี้จึงสามารถโอนเปลี่ยนมือได ตาม ม.917 วรรคแรก และคําวาเฉพาะจึงเปนขอความที่
ไมถือวามีขอความใด ๆ ในตั๋ว ตาม ม.899
หากมีการฝาฝน ม.917 วรรคสอง ผลจะเปนประการใด ม.917 วรรคสอง บัญญัติคุมครองผูสั่งจาย หากฝาฝนโดยมีการโอนโดย
สลักหลัง ผลก็คือจะกลายเปนการโอนที่ไมชอบสิทธิตาง ๆ ในตั๋วก็ไมโอนไป จึงทําใหผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน ในทางอาญาก็จะ
ไมใชผูเสียหายไมสามารถนําเช็คมาฟองผูสั่งจายได
ปญหาตอไปก็คือ ผูทรงจะฟองใครไดบาง ซึ่งยังไมมีฏีกาตรง ๆ วา จะฟองผูสั่งจายไดหรือไม แตมีฏีกา
ฏ.2742/2525 ใหผูสลักหลังแตผูเดียวรับผิดตอผูทรง
ฏ.3329/2531 เมื่อโอนโดยฝาฝน ม.917 วรรคสอง ผูทรงจึงไมใชผูทรงโดยชอบดวยกฎหมาย ไมใชผูเสียหายที่จะมีอํานาจฟองผูสั่ง
จายได
กรณีผูสั่งจาย หรือออกตั๋วเขียนขอความวา “หามเปลี่ยนมือ” ผูรับโอนที่มีชื่อระบุอยูนั้นจะไปโอนตอไมได ถาฝาฝนผูรับโอนนั้นก็
จะไมใชผูทรงโดยชอบดวยกฎหมาย ไมมีสิทธิที่จะไปฟองผูสั่งจายหรือผูออกตั๋วซึ่งระบุขอความวา “เปลี่ยนมือไมได” ไมได
ม.917 “ทานวาตั๋วเงินนั้นยอมจะโอนใหกันได แตโดยรูปการและดวยผลอยางการโอนสามัญ” ตั๋วที่ผูสั่งจาย หรือผูออกตั๋วระบุ
ขอความวา “เปลี่ยนมือไมได” ยังสามารถโอนกันได แตตองโอนดวยวิธีการโอนสิทธิเรียกรองตาม ม.306 คือ โอนเหมือนกับโอนหนี้
ธรรมดาจะไปโอนเหมือนกับการสงมอบไมได
หลักเกณฑ
1. การโอนระหวางผูโอน (ผูมีชื่อเปนผูรับเงินในตั๋ว) กับผูรับโอนตองทําเปนหนังสือ คือ ทําบันทึกเปนหนังสือ
2. จะตองบอกกลาวการโอนไปยังลูกหนี้ในตั๋วเงิน หรือใหลูกหนี้ทําความยินยอมแหงการยินยอมแหงการโอนเปนหนังสือ (ลูกหนี้
คือ ผูสั่งจายหรือผูออกตั๋ว)
** ถาขาดขอใดขอหนึ่งจะไมถือเปนการโอน
ฏ.3292/2536 เปนตั๋วอยางการโอนโดยชอบ
ฏ.5127/2531,ฏ.2419/2533 การโอนระหวางผูโอนกับผูรับโอนไมไดทําเปนหนังสือจึงไมสมบูรณ
ขอเท็จจริง ครั้งแรกเปนการโอนโดยไมชอบ ซึ่งไมไดมีหนังสือบอกกลาวการโอนไปยังลูกหนี้ ตอมาภายหลังถึงแมจะทําเปน
หนังสือบอกกลาวไปยังลูกหนี้ก็ตาม แตการโอนนั้นไมชอบดวยกฎหมาย เพราะไมทําตามขอ 1 คือ การโอนระหวางผูโอนกับผูรับโอนไมทํา
เปนหนังสือ
ฏ.1162/2533 การโอนระหวางผูโอนกับผูรับโอนทําเปนหนังสือ แตไมไดบอกกลาวไปยังลูกหนี้ ผูรับโอนจึงไมมีสิทธิใด ๆ ในตั๋ว
(ขาดองคประกอบขอ 2 จึงเปนการโอนไมชอบ)
2. ม.923 ผูสลักหลัง “การสลักหลังนั้นตองใหเปนขอความอันปราศจากเงื่อนไข ถาและวางเงื่อนไขบังคับลงไวอยางใด ทานให
ถือเสมือนวาขอเงื่อนไขนั้นมิไดเขียนลงไวเลย” นําไปใชเรื่องตั๋วสัญญาใชเงิน (ม.985) และเช็คดวย (ม.989) เปนกรณีผูสลักหลังระบุ
ขอความวาหามสลักหลังลงไวในตั๋ว ซึ่งสามารถใชขอความ เหมือนกับผูสั่งจายหรือผูออกตั๋วใช
Ex. จะเขียนดานหนาหรือดานหลังก็ได (ไมเหมือนผูสั่งจาย) แตกรณีผูสลักหลังเขียนหามโอนจะไมมีผลใหการโอนตั๋วนั้น หาม
โอนตอไป
การที่ผูสลักหลังเขียนในตั๋ววาหามโอนมีผลเพียงถาฝาฝนไปโอนแลวเขาจะไมรับผิด แตไมใชวาตั๋วฉบับนี้จะโอนตอไมไดเลย
หมายความวา ยังคงสามารถโอนโดยสลักหลังโอนตอไปได ไมมีผลเปนการหามโอนนั่นเอง
แตผูที่เขียนหามโอนนั้น ไมตองรับผิดในการโอนครั้งตอไป คือ เขาจํากัดวาเขาจะรับผิดตอผูรับโอนตอจากเขาคนเดียวเทานั้น ถา
บุคคลที่รับโอนตอจากเขาฝาฝนโดยไปโอนตอไปอีก ผูรับโอนก็จะมาฟองเขาไมได
ม.923 เปนบทบัญญัติที่ใหสิทธิผูสลักหลังจํากัดสิทธิของตนได และเงื่อนไขอีกประการหนึ่งของ ม.923 คือ จะใชกับตั๋วระบุชื่อ
เทานั้น ซึ่งถาเปนตั๋วผูถือแลว ผูที่ลงชื่อในดานหลังตั๋วหรือลงชื่อดานหนาตั๋วนี้เปนเพียงผูอาวัลเทานั้น จะไมมีอํานาจไปหามไมใหโอนใด ๆ
เลย แมเขียนลงไปก็จะไมมีผลใดๆ

๑๕
3. ม.995 (3) ผูทรง เปนบทบัญญัติที่คุมครองผูทรงใหสามารถหามมิใหเปลี่ยนมือในเช็คที่ตนเองครอบครองอยูได (อาจกลัววา
เช็คจะหายไปหรือมีคนมาขโมยไปจึงเขียนเอาไวกอนเลยวาหามโอน)
โดยจะสามารถทําไดก็แตเช็คฉบับนั้น เปนเช็คขีดครอม ดังนั้น ตองดูกอนวาเช็คขีดครอม คืออะไร
เช็คขีดครอม คือ เช็คที่ขีดเปนบรรทัดคูขนานกันไวบนตัวเช็ค โดยใหมีความหมายวา ใหธนาคารจายเงินเขาบัญชีของผูทรงเทานั้น
จะจายเปนเงินสดใหไมได และเช็คขีดครอมนี้แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
1. เช็คขีดครอมทั่วไป คือ การทีดานหนาของเช็คขีดเสนขนาดไว 2 เสน
2. เช็คขีดครอมเฉพาะ คือ มีเสนขนานคูกันขีดไวดานหนาเหมือนขีดครอมทั่วไป แตในระหวางเสน ตรงกลาง มีขอความวา “เปน
ชื่อธนาคาร”
เช็คขีดครอมนี้จะไมมีผลตอการโอนวาสามารถโอนได หรือไม คือ แมเปนเช็คขีดครอมก็สามารถโอนกันไดตามปกติ แลวแต
ประเภทเช็ค ถาเปนเช็คผูถือก็โอนโดยการสงมอบ ถาเปนเช็คระบุชื่อก็โอนโดยการสลักหลังแลวสงมอบ การขีดครอม มีผลเฉพาะในเรื่อง
การจายเงินของธนาคาร เมื่อนําไปขึ้นเงินเทานั้น โดยธนาคารจะจายเงินเขาบัญชี แลวธนาคารจะไปเรียกเก็บเงินกับธนาคารตามเช็คอีกที
หนึ่ง สรุปวา จะจายเงินสดใหผูทรงในขณะไปขึ้นเงินไมได
หลัก ตั๋วเงินจะโอนไมไดเลย ก็จะมีกรณีเดียวเทานั้น คือ ผูสั่งจายเขียนลงไปดานหนาตั๋วชนิดระบุชื่อ หรือ ชนิดระบุชื่อแตไมไดขีด
ฆาคําวา หรือผูถือออก วา “เปลี่ยนมือไมได” หรือ “ A/C PAYEE ONLY”
ม.995 (3) เปนเพียงผูทรงเขียนคําวา “หามเปลี่ยนมือ” ลงในเช็คขีดครอม ก็สามารถโอนกันได แตมีผลเพียงเปนไปตาม มาตรา
999 “บุคคลใดไดเช็คขีดครอมของเขามาซึ่งมีคําวา “หามเปลี่ยนมือ” ทานวาบุคคลนั้นไมมีสิทธิในเช็คนั้น ยิ่งไปกวาและไมสามารถใชสิทธิ
ในเช็คนั้นตอไปไดดีกวาสิทธิของบุคคลอันตนไดเช็คของเขามา”
สรุป
1. ผูออกตั๋วเงิน ม.917วรรคสอง ตั๋วหามโอนเด็ดขาด เวนแต โอนตามมาตรา 306 โอนสิทธิเรียกรอง
2. ผูสลักหลัง ม.923 ไมหามโอนแตเปนขอจํากัดสิทธิของผูสลักหลัง
3. ผูทรง ม.995(3) ประกอบ ม.999 ผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน
การอาวัล
การอาวัล คือ การประกันความรับผิดขอบลูกหนี้ตามตั๋วเงินนั้น การอาวัลจะมีหรือไมมีก็ได โดยการอาวัลจะมีขึ้นก็ดวยเครดิตของ
ลูกหนี้ไมดี ไมไดรับความเชื่อถือ จึงตองการใหบุคคลอื่นเขามารับผิดดวย

เพื่อความเขาใจ จึงเปรียบเทียบกับการค้ําประกันไดดังนี้

การอาวัล การค้ําประกัน
ม.967 ในเรื่องตั๋วเงิน ผูอาวัลตองรวมกันรับผิดตอผูทรง เปนเรื่องที่ยอมผูกพันตนเขารับิดในกรณีลูกหนี้ชั้นตนไม
โดยผูทรงจะเรียกเอากับลูกหนี้ในตั๋วเรียงตัว หรือรวมกันได ชําระหนี้นั้น ผูค้ําประกับถือเปนลูกหนี้ชั้นสอง สามารถเกี่ยง
โดยมิพักตองเรียงตามลําดับ ใหบังคับเอากับลูกหนี้กอนไดตามเงื่อนไข ม.688,689,690
เห็นไดชัดวาผูอาวัลถือเปนลูกหนี้ฐานะชั้นเดียวกับลูกหนี้
ในตั๋วจะไปเกี่ยงใหผูอื่นรับผิดกอนตนไมได

ฏ.422/2521 ผูทรงผอนเวลาใหผูสั่งจายในตั๋วเงินไมเปนเหตุใหผูรับอาวัลพนผิดไปไดแตอยางใด
สรุป การอาวัลจึงไมใชผูค้ําประกันจะนําเรื่องคําประกันมาใชบังคับกับการอาวัลไมได (ฏ.1853/2511)

๑๖
บุคคลที่จะเขามารับอาวัล

บุคคลภายนอก เขามาเปนผูรับอาวัล คูสัญญาในตั๋วนั้นเอง ม.939 ว.3 และม.938 ว.2 เปนผูรับอาวัลอีก


ได ม.938 ว.2 ฐานะหนึ่งก็ได เพียงแตมีเงื่อนไขสําหรับผูสั่งจายกับผูจาย

ผูสั่งจายลงชื่อดานหนาโดยไมกรอกขอความอื่น ม.939 ผูจายตาย ม.931 ถาลงชื่อดานหนาจะกลายเปนผูรับรอง ตาม ม.931 หาก


ว.3 ก็ยังเปนผูจายอยูเชนเดิม จึงเปนผูอาวัลไมได ตองการอาวัลตองเขียนขอความเพิ่มวา “ใชไดเปนอาวัล” ตาม ม.939 ว.
2

วิธีการอาวัลนั้น มี 2 แบบ

การรับอาวัลตามรูปแบบของกฎหมาย ตาม ม.939 ว.1และ 2 กรณีที่ใหถือเปนการรับอาวัล เปนกรณีที่ไมมีขอความ “ใชได


1.ตองเขียนขอความลงในตั๋วเงิน หรือในใบประจําตอ (ถา เปนอาวัล” หรือ ถอยคําทํานองนี้ แตกฏหมายใหถือวาเปนอาวัล
ไปเขียนที่อื่นจะไมเปนการอาวัล) แบงเปน 3 ประการ
2. ขอความที่เขียน คือ “ใชไดเปนอาวัล” หรือ สํานวนอื่นที่ 1. การลงลายมือชื่อที่ดานหนาตั๋ว ม.939 ว.3 (บังคับทั้งตั๋วผูถือ
มีความหมายทํานองเดียวกันนี้ และตั๋วระบุชื่อ) มีขอยกเวน 2 คน คือ ผูจาย กับผูสั่งจาย เพราะ
3. สามารถเขียนไดทั้งดานหนาและดานหลัง ผลของ ม.931
4. ลงลายมือชื่อผูรับอาวัล 2. เฉพาะตั๋วผูถือ หากลงชื่อดานหลังจะเปนการอาวัลผูสั่งจาย
เมื่อครบ 4 ขั้นตอน ถือ เปนการอาวัลที่สมบูรณ ตาม ม.921
ฏ.3519/2542 ตั๋วผูถือจะไมสามารถสลักหลังโอนกันไดอยางตั๋ว
ระบุชื่อ โดยผูใดไปลงชื่อดานหลังเช็คผูถือจะกลายเปนผูอาวัล

จัดลําดับฐานะในการลงชื่อ
ตั๋วผูถือ ตั๋วระบุชื่อ

ลงชื่อดานหนาโดยไมกรอก ลงชื่อดานหลังโดยไมกรอก ลงชื่อดานหนาโดยไมกรอก ลงชื่อดานหลังโดยไมกรอก


ขอความใด เปนผูอาวัล ขอความใด เปนผูอาวัล ม.921 ขอความใด เปนผูอาวัล ขอความใด ฏ.3788/2524
ม.939 ว.3 ม.939 ว.3

กรณีกฎหมายบังคับใหลงชื่อและเขียนขอความ หากเคยเปนผูทรงมากอนก็เปน หากไมเคยเปนผูทรงมากอน แตลงชื่อพรอม


- ดานหนาเทานั้น ม.917 ว.2 “เปลี่ยนมือ การสลักหลังลอย ม.919 ว.2 กับผูสั่งจายก็ตองรับผิดฐานผูสมัครใจเปน
ไมได” ลูกหนี้ ม.900 ฏ.3788/2524,4872/2533 (ป)
- ดานหลังเทานั้น ม.919 ว.2 สลักหลังลอย

๑๗
บุคคลที่ถูกรับอาวัลนั้น ม.939 ว.4 ตองระบุวารับอาวัลผูใดใหชัดเจน ซึ่งหากมิไดระบุไว ถือวารับอาวัลผูสั่งจาย และ ม.938 วรรคแรก อาวัล
กําหนดจํานวนเงินทั้งหมดหรือบางสวนก็ได
ผลของการรับอาวัล ม.940 และม.967 ผูรับอาวัลยอมตองเปนอยางเดียวกันกับบุคคลซึ่งตนประกัน (ตางกับเรื่องค้ําประกัน ซึ่งผูค้ํา
เปนลูกหนี้ชั้นสอง ผูอาวัลเปนลูกหนี้ชั้นเดียวกับลูกหนี้) แตอยางไรก็ตาม ผูอาวัลกับผูถูกรับอาวัลไมใชลูกหนี้รวมกัน เพียงแตตองรับผิดตอผู
ทรงรวมกันเทานั้นเอง และแมถึงวาความรับผิดใชเงินอันผรับอาวัลไดประกันอยูนั้นจะตกเปนใชไมไดดวยเหตุใด ๆ นอกจากเพราะกระทํา
ผิดแบบระเบียบทานวาขอที่สัญญารับอาวัลนั้นก็คงสมบูรณ
สิทธิไลเบี้ยของผูอาวัล เมื่อไดใชเงินตามตั๋วไปแลว
1. ไลเบี้ยเอาแกผูซึ่งตนไดประกันไว
2. ไลเบี้ยเอาจากลูกหนี้ของผูซึ่งตนประกัน (ในเรื่องตั๋วเงินคนลงชื่อกอนจะตองรับผิดตอคนลงชื่อหลัง)
กรณีอาวัลถามีผูอาวัลหลายคนจะไลเบี้ยผูอาวัลดวยกัน ถาเปนเรื่องค้ําประกันรวมกันจายเงินแลวไลเบี้ยตอกันได แตเรื่องอาวัล
แยกดังนี้
ผูรับอาวัลหลายคนเขาอาวัลลูกหนี้ตางคนกัน ดังนั้น ผูรับอาวัลผูสลักหลัง จึงเขาไลเบี้ยผูรับผูสั่งจายได (ตามลําดับลงชื่อกอนหลัง)
กรณีเขาอาวัลบุคคลเดียวกัน
Ex. หนึ่งและสองเขารับอาวัลผูสั่งจาย คือ A คนเดียวกัน ตอมาหนึ่งใชเงินไปแกผูทรง ม.967 จะตองไลเบี้ยเอาแกบุคคลผูมีความผูกพันตอ
ตน คือลงลายมือชื่อกอนตนหรือเหนือตนขึ้นไป
ดังนั้น ผูรับอาวัลที่อยูในลําดับเดียวกันจึงไมสามารถไลเบี้ยกันได
ฏ.1839/2538 ผูรับอาวัลถูกศาลพิพากษาใหรวมกันรับผิดใชเงินแกผูทรง เมื่อคนหนึ่งใชเงินไปแลวจึงมาไลเบี้ยเอาแกอีกคนหนึ่งได
เพราะเปนลูกหนี้รวมตามคําพิพากษาเรื่องเดิม (ไมใชรับผิดรวมกันเพราะอาวัลรวมกัน)

เช็ค
มาตราที่เกี่ยวของ ม.987-1000
ขอแตกตางจากตราสารประเภทอื่นคือ
1. ผูจายเงิน ตองเปนธนาคารเทานั้น
2. ผูสั่งจายนอกจากจะตองรับผิดตามเนื้อความในเช็ค 900, 914, 989 แลวผูสั่งจายยังอาจตองรับผิดทางอาญาซึ่งอายุความนับจากวันที่
ธนาคารปฏิเสธการจายเงินซึ่งถือวาเปนวันที่ความผิดเกิด เช็คเปนความผิดตอสวนตัวจึงตองฟองหรือรองทุกขภายใน 3 เดือน
3. จะมีวันถึงกําหนดใชเงินประการเดียวคือ วันทวงถามสังเกตุจากแบบฟอรมวามีเฉพาะวันออกเช็คจะไมมีวันถึงกําหนดจายเงิน คือวันที่เช็ค
ถึงกําหนดคือ วันที่ลงในเช็คนั้นเอง (หรือวันที่ทางถามนั่นเอง) เช็คจะลงวันที่ลวงหนาไดเพื่อใหไปทวงถามเมื่อถึงกําหนดวันที่ลงในเช็ค
กําหนดอายุความ 1 ปก็จะเริ่มนับจากวันที่ที่ลงในเช็ค แตเรื่องดอกเบี้ยเรียกได7.5 ตอป ตาม ม.224, 7 โดยนับแตวันที่ธนาคารปฏิเสธการ
จายเงินไมใชวันที่ฟองในเช็ค เพราะหนี้ตามเช็คเปนหนี้เงินจึงเรียกได7.5 ตอป ตาม ม.224
4. เรื่องการขีดครอมเช็ค ขีดครอมคือการขีดเสนขนานไวดานหนาเช็ค และมีผลพิเศษจากเช็คธรรมดาทั่วไปเพียงประการเดียว คือธนาคาร
ผูจายเงินตามเช็คจะใชเงินตามเช็คใหแกผูทรงโดยตรงไมได ตองใชเงินใหแกธนาคารดวยกัน 994 และเช็คขีดครอมโอนกันไดตามปกติ
เช็คจะโอนกันไมไดอยูกรณีเดียว 917 ว.2
: ประเภทตางๆ ของเช็ค
1. เช็คระบุชื่อผูรับเงินและขีดฆาคําวา"หรือผูถือ"ออก โอนดวยการสลักหลังและสงมอบ
2. เช็คผูถือ คือไมระบุชื่อผูรับเงินและระบุคําวา หรือผูถืออยู ม. 918 โอนไดดวยการสงมอบเฉยๆก็สมบูรณ ถาเผลอไปลงชื่อดวยจะ
กลายเปนผูรับอาวัล
- เช็คระบุชื่อผูรับเงินและไมขีดฆาคําวา"หรือผูถือ" ออก ซึ่งชนิดนี้ศาลฏีกาวินิจฉัยวา ผูสั่งจายไมเฉพาะเจาะจงจายเงินใหผูที่ระบุชื่อไว
เทานั้นยังเจตนาใหจายเงินแกผูถือดวย ฏ. 3509/42 ถือเปนเช็คผูถือ
3. แคชเชียรเช็คจะออกในรูปของระบุชื่อผูรับเงินโดยจะไมมีชนิดผูถือ ศาลฏีกาวา แปลวา เพียงแตมีชื่อหรือยี่หอผูรับเงินก็สมบูรณแลว
๑๘
ไมจําเปนตองมีคําวาหรือผูถือขอแตกตางกับเช็คชนิดอื่นคือ ผูจายและผูสั่งจายนั้นจะเปนธนาคารดวยกัน ฎ. 4531/33 , 772/26 , 2201/42 ,260/37
แคชเชียรเช็คถือเปนเช็คประเภทหนึ่งตาม ป.พ.พ. 937
4. เช็คขีดครอม ม. 994 มีเสนขนานตีคูกันขีดครอมไว และจะมีขอความวาและบริษัทหรือไมก็ตาม ถือเปน “เช็คขีดครอมทั่วไป” แตถา
ระหวางเสนที่คูขนานนั้น มีระบุชื่อธนาคารไวก็เรียกวา “เช็คขีดครอมเฉพาะ” เช็คขีดครอมนี้จะมีคุณสมบัติเพียงอยางเดียววาธนาคารจะ
จายเงินใหแกผูนําเช็คไปเบิกเงินโดยตรงไมไดตองเอาเขาบัญชี (เพื่อปองกันผูไดเช็คโดยมิชอบนําไปเบิกเงินโดยงาย ตองนําเขาบัญชีเพื่อ
ตรวจสอบไดวาเขาบัญชีใคร)
อยาไปสับสนวา เช็คขีดครอมโอนไดหรือไมเพราะถาขีดครอมแลวก็ยังโอนไดเสมอ แตจะโอนไมไดนั้นมีอยูกรณีเดียวตาม ม. 917 ผูที่จะสั่งจายระบุ
ลงดานหนาวา " เปลี่ยนมือไมได " หรือคําอื่นในทํานองเดียวกันซึ่งจะโอนแกกันก็ยังมีทางแกคือ โอนตาม ม. 306 คือโอนสิทธิเรียกรองเทานั้น
ม. 990 กําหนดหนาที่ผูทรงเช็ค
ม. 990 “ผูทรงเช็คตองยื่นเช็คแกธนาคารกอน.....”
ม. 914 " บุคคลผูสั่งจายหรือสลักหลังเช็ค ยอมเปนอันสัญญาวา เมื่อตั๋วนั้นได นํายื่นโดยชอบแลวจะมีผู.... ประกอบมาตรา 989
ม. 959 " ไลเบี้ยไดเมื่อตั๋วเงินถึงกําหนดในกรณีไมใชเงิน
โดยหลัก ตองยื่นเรียกเงินกอนจะจะฟองได
ฏ. 610/20เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา โจทกมิไดนําเช็คไปยื่นตอธนาคารเพื่อใหใชเงินและธนาคารก็ยังไมไดปฏิเสธการใชเงิน
ดังนั้นโจทกจะนํามาฟองใหใชเงินเสียทีเดียวไมได ฏ. 610/20
ขอยกเวน 1. กรณีผูสั่งจายถึงแกความตายไมตองนําไปยื่นตอธนาคารกอนก็ฟองได ม. 992(2) ,959 เปนขอยกเวนของ ม. 990
- อาจทวงถามแกทายาท โดยไมตองยื่นหรือเรียกเก็บเงินจากธนาคารตาม ม.990 กอน เนื่องจากหนาที่ของธนาคารเปนอัน
สิ้นสุดไมตองจายเงินตามเช็คเมื่อผูสั่งจายถึงแกกรรมตาม (ฏ. 1003/24,3973/26 ,4027/27)
2. กรณีนําเช็คไปยื่นกอนกําหนด ปรากฎวาธนาคารแจงวา "บัญชีปดแลว" (กรณีออกเช็คหลายฉบับหางกันเปนระยะเวลา
แตเมื่อนําฉบับแรกไปยื่นแลว บัญชีปดอยางนี้นําทั้งฉบับอื่นยื่นแลวธนาคารปฏิเสธและฉบับที่ยังไมไดยื่นไปฟองไดเลยตาม
ม. 959 ข (2), 989 ฏ. 755/26, 1865/17
ถาเปนเช็คในเมืองเดียวกันตองนําเช็คไปยื่นใหใชเงินภายใน 1 เดือน นับแตวันออกเช็ค
: สถานที่ออกเช็ค กับ สถานที่ตั้งของธนาคารที่สั่งใหใชเงินอยูคนละจังหวัดกันหรือไม
- ถาเปนสถานที่เดียวกันตองยื่นภายใน 1 เดือน
- ถาเปนคนละที่กันตองยื่นภายในกําหนด 3 เดือน
ผลของการฝาฝนไมยื่นตาม มาตรา 990 คือ
1. ผูทรงสิ้นสิทธิไลเบี้ยเอาแกผูสลักหลังทั้งปวง ดังนั้นจึงเห็นไดวา ม.990 ใชกับเช็คชนิดระบุชื่อเทานั้น ฏ. 1007/42
2. ทั้งเสียสิทธิอันมีตอผูสั่งจายดวยเพียงเทาที่จะเกิดความเสียหายอยางหนึ่งอยางใดแกผูสั่งจายเพราะการที่ละเลยเสียไมยื่นเชนนั้น
ฏ. 3597/34 เช็คใหใชเงินเมืองเดียวกัน เมื่อยื่นเกิน 1 เดือน โจทกจึงสิ้นสิทธิไลเบี้ยเอาแกผูสลักหลังโดยไมตองคํานึงถึง
ความเสียหายหรือไมของผูสลักหลัง(เช็คระบุชื่อเทานั้น)
* แตถาเปนผูสั่งจายนั้น ตองคํานึงดวยวาถาไมยื่นภายในกําหนดแลวผูสั่งจายจะเสียหายเพียงใดก็พนความรับผิดไปแตนั้น แตถาไมเสียหาย
เลยถาผูทรงยื่นชา ผูสั่งจายก็ไมพนความรับผิด คือตองรับผิดเชนเดิม
Ex . ผูสั่งจายจะรับผิดก็มีกรณี เขามีเงินอยูในบัญชีตอมาผูทรงไมยื่นเรียกเงินตอธนาคารภายในเวลาที่กําหนดแลวตอมาธนาคารเกิดลมละลาย
ผูสั่งจายจึงพนความรับผิดในจํานวนตามตั๋ว ทางปฎิบํติตัวผูสั่งจายจะไมไดรับความเสียหาย จึงไมพนความรับผิด ฏ. 1162/15, 3242/30 ผูสั่ง
จายจะหลุดพนตอเมื่อสูญเสียเงินที่มีอยูในธนาคาร (ทําใหไมไดใชเงินใหเสร็จเพราะผูทรงยื่นชา) ฎ. 1007/42 * เปนฏีกาที่งายแตเปน หลัก
กฏหมายดีใหดูดีๆ
* ม. 991(2) เช็คนั้นยื่นเพื่อใหใชเงิน เมื่อพนเวลาหกเดือนนับแตวันออกเช็คหมายความวา กฎหมายใหสิทธิแกธนาคารวา เพื่อพนหกเดือนไป
แลว แมผูสั่งจายจะมีเงินในธนาคารก็ตาม ธนาคารก็มีสิทธิไมตองจายเงินใหแกผูทรงได
แต ม. 990 เปนเรื่องสิทธิระหวางผูสั่งจายกับผูทรงวา ถาผูทรงไมยื่นเช็คภายใน 1 เดือน กรณีเมืองเดียวกัน หรือ 3 เดือนกรณีตางเมืองกันนั้น

๑๙
ผูทรงจะสิ้นสิทธิไลเบี้ยเอาแกผูผูสลักหลังหรือผูสั่งจายแลวแตกรณี
ถาม : เช็คที่ผูทรงยื่นเกิน 6 เดือน แลวธนาคารปฏิเสธการจายเงิน ผูทรงจะไปยื่นฟองไลเบี้ยผูสั่งจายไดหรือไม
ตอบ : ม.990 ผูสั่งจายจะหลุดพนก็ตอเมื่อผูสั่งจายไดรับความเสียหาย แตถาไมไดรับความเสียหายก็จะไมหลุดพน ตามนัย ฏีกาที่ 169/28,
715/21, 640/96, 2514/26 อาจารยเนนจุดนี้ ใหดูดีๆ คือ ม. 990 กับ 991(2)
- ม.990 ผูทรงยื่นเมื่อพนเวลาจะฟองผูสั่งจายไดหรือไม
- ม.991(2) กฎหมายใหสิทธิธนาคารไมจายเงินไดถาเกิน 6 เดือน
เมื่อธนาคารปฏิเสธการจายเงินไมตองยื่นคําบอกกลาวทวงถามอีก ผูทรงมีสิทธิฟาองไดเลย ตามฏีกา169/28. 1750/18
* กรณีไมไดเรียกเก็บเงิน เพราะรูวาผูสั่งจายไมมีเงินในบัญชีจะสามารถนํามาฟองไดเลยหรือไม
ม. 959 (ข) ไลเบี้ยไดถึงแมยังไมถึงกําหนด
(2) ถาผูจายไดงดเวนการใชหนี้ ฏ. 755/26, 1865/07, 3971/26
ในกรณีที่ฟองเรียกเงินตามเช็คแมจะเรียกกอนถึงกําหนดตามที่ระบุไวในเช็ค หากบัญชีผูสั่งจายปดไปกอนที่ธนาคารเรียกเก็บเงินแลว
ก็แสดงวาผูสั่งจายไมมีเงินในบัญชี กรณีนี้ไมจําเปนตองเรียกเก็บเงินใหธนาคารปฏิเสธกอนก็สามารถนํามาฟองไดโดยอาง ม.959 ข. (2)
ประกอบ ม. 898 ถือวาธนาคารงดเวนการใชหนี้แลวฟองไดเลยทันที

มาตรา 1007 การแกไขขอความในตั๋วเงิน


วรรคแรก "ถาขอความในตั๋วเงินใด......." คําวา "ขอความ" หมายถึงสิ่งที่กฎหมายใหตองระบุลงในตั๋วเงินนั่นเอง
เนื่องจาก ม. 909, 983, 988 บัญญัติถึงรายละเอียดที่ตองระบุไวในตั๋วเงิน
นอกจากนี้คําวา "ขอความ" ยังหมายความถึงขอความที่กฎหมายอนุญาตใหระบุลงไวในตั๋วเงิน
เชน - ระบุดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยในตั๋วแลกเงินและสัญญาใชเงิน ตาม ม. 981 และ 985
- คําสั่งหามเปลี่ยนมือตาม ม. 917 ว.2
- คําสลักหลังตาม ม.919
- คํารับอาวัลตาม ม. 939
- การขีดครอมเช็คตาม ม. 994, 995 , 996 ซึ่งถากฎหมายไมอนุญาตใหเขียนลงไปก็จะเขียนไมไดหรือเขียนลงไปก็จะไมมีผล
บังคับใดๆตาม ม. 899
สรุป ถาแกไขขอความ 2 ประเภทนี้เทานั้นกฎหมายจึงจะเรียกวา เปนการแกไขขอความในตั๋วเงิน คือ
1. ขอความที่เปนรายการที่กฎหมายบังคับใหมีในตั๋ว ตามมาตรา 909, 983, 988
2. ขอความที่กฎหมายอนุญาตใหเขียนลงในตั๋วเงินได
คําวา "ในคํารับรองตั๋วเงินรายใด.." หมายความวา คํารับรองตั๋วแลกเงินนั่นเอง ตาม ม. 927-937
หลัก - การรับรองตั๋วนั้นจะมีเฉพาะในตั๋วแลกเงินเทานั้นซึ่งมีบัญญัติในมาตรา 927-937
- สวนตั๋วสัญญาใชเงินและเช็คนั้นจะไมมีบทบัญญัติใหนําตั๋วไปยื่นใหรับรองกอน
ดังนั้นเมื่อพูดถึงเรื่องการรับรองตั๋วใหเขาใจวาเปนเรื่องตั๋วแลกเงินเทานั้น
การรับรองตั๋วเงิน หมายถึง การที่ผูจายเงินรับรองวาจะใชเงินใหผูทรงเมื่อตั๋วถึงกําหนด ซึ่งปกติแลวเมื่อผูจายเงินทําการรับรองตั๋วตามมาตรา
931 แลวจึงจะตกเปนลูกหนี้ในตั๋ว เพราะในตอนผูสั่งจายสั่งจายในตอนแรก ผูจายยังไมเปนลูกหนี้นั่นเอง จนกวาจะรับรองตั๋วโดยลงลายมือ
ชื่อตามมาตรา 900 เพราะฉะนั้น การแกไขตั๋วแลกเงิน จึงเปนการแกไขคํารับรองตามมาตรา 931 นั่นเอง
อีกกรณีหนึ่งคําวา การแกไขคํารับรอง ก็คือการที่ธนาคารรับรองเช็คตาม มาตรา 993 แตไมมีบทบัญญัติวากอนที่ผูทรง
จะไปเรียกเก็บเงินตองไปรับรองกอน ซึ่งทางปฏิบัติธนาคารก็จะไมรับรองเช็คใหอยูแลว สวนมากจะออกแคชเชียรเช็คให
การที่จะแกไขขอความในตั๋วเงิน ตองเปนการแกไขภายหลังที่ตราสารนั้นไดเปนตั๋วเงินแลว
Ex . ก. สั่งจายเงิน แตเขียนผิดพลาดจึงขูดลบขอความ อยางนี้สามารถทําไดเพราะตราสารนั้นยังไมสมบูรณเปนตั๋วเงิน
ตองทํากอนที่ตราสารนั้นสมบูรณเปนตั๋วเงินจึงจะไมผิดตาม มาตรา 1007

๒๐
หลักเกณฑมาตรา 1007
สรุปหลักที่ 1. ตองกระทําภายหลังที่ตราสารนั้นไดเปนตั๋วเงินแลว
"มีผูแกไขเปลี่ยนแปลงในขอสําคัญ" อาจเปนการ ลบ ตัดทอน แกไขขอความ หรือกระทําดวยประการใดๆ ก็ไดที่ทําใหขอความนั้น
เปลี่ยนแปลงไป
ทางปฏิบัติอาจเติมขอความ หรือลบขอความ หลักเกณฑสําคัญของการแกไข ซึ่งหากผูมีอํานาจแกไขความอยางนี้ไมถือวามีการแกไข ในทาง
กลับกัน ถาหากเปนผูมีอํานาจแกไขก็ไมอยูในอํานาจบังคับมาตรา 1007 นี่เอง
Ex. ม.934 “ถาผูจายเขียนคํารับรองลงในตั๋วแลกเงินแลว แตหากกลับขีดฆาเสียกอนตั๋วเงินนั้นหลุดพนไปจากมือตนไซรทานใหถือเปนอันวา
ไดบอกปดไมรับรอง” ตาม ม.934 หมายความวา ถาผูทรงยื่นตั๋วใหผูจายรับรองไดเขียนคํารับรองลงไปตราบใดที่ยังไมสงกลับคืนใหผูทรงผู
รับรองอาจเปลี่ยนใจขีดฆาคํารับรองได เพราะ ทําในฐานะที่มีอํานาจอยู ตาม ม. 934
เรื่องการลงวันที่ตาม ม.910 ว.5, 985 คือผูออกตั๋วออกตั๋วโยไมลงวันที่ ภายหลังผูทรงโดยชอบไปลงวันที่เองอยางนี้ไมเปนการแกไข เพราะ
กระทําโดยมีอํานาจ ตาม ม.910ว.5 ประกอบ 985
ม.905 วรรคแรกตอนทาย “อนึ่งคําสลักหลังเมื่อขีดฆาเสียแลว ทานใหถือเสมือนวามิไดมีเลย”
Ex. ก.ตองการสงมอบเช็คให ข. จายคาสินคาจึงสลักหลังในเช็คระบุชื่อวาโอน ให ข. แตยังไมทันที่จะสงมอบเกิดเปลี่ยนใจจะจายเงินสดแทน
จึงขีดฆาที่เขียนไป อยางนี้ไมเปนการแกไขขอความ เพราะกระทําโดยมีอํานาจตาม 905 ว.แรก
สรุปหลักที่ 2 การแกไขขอความตองเปนการกระทําโดยไมมีอํานาจตามที่กฎหมายกําหนดไว
แกไขเปลี่ยนแปลงจะตองเปน “ในขอสําคัญ”
หมายความวา การแกไขนี้จะตองถึงขนาดทําให สิทธิ หนาที่ความรับผิดตามตั๋วเงินเปลี่ยนแปลงไป ไมวาจะทําใหเกิดผลดี หรือผลเสียตอ
คูสัญญาในตั๋วเงินก็ตาม ก็ถือเปนการเปลี่ยนแปลงแกไขทั้งนั้น
มาตรา 1007 ว.3 กฎหมายยกตัวอยางเอาไววา แกไขอะไรบางที่ถือเปนขอสําคัญ
เชน - แกไขวันที่ลงในตั๋วเงินทําใหเร็วขึ้นหรือชาลง จะเปนผลดีหรือผลเสียแกผูสั่งจายก็ตาม ก็ถือวาเปนการกระทบสิทธิและหนาความ
รับผิดแลว
- แกไขจํานวนเงิน
- แกไขกําหนดเวลาใชเงินเห็นไดวาทําใหผูมีหนาที่ใชเงินตองใชเงินเร็วขึ้นหรือชาลง หรือผูทรงไดรับเงินชาหรือเร็วขึ้น
- แกไขสถานที่ใชเงิน หรือเติมสถานที่ใชเงินซึ่งผูรับรองมิไดยินยอมดวย
สรุปหลักที่ 3 ที่จะถือเปนการแกไขตามมาตรา 1007 นั้น ตองเปนขอความที่สําคัญ
ซึ่งมาตรา 1007 ว.3นี้เปนแตเพียงตัวอยางที่ถือเปนการแกไขในขอสําคัญเทานั้น ยังมีในมาตราอื่นอีก เชน
- ม.996 “การแกไขในเรื่องขีดครอมเช็ค
ถาหากมีการไปลบรอยขีดครอมออกถือเปนการแกไขในขอสําคัญ เพราะมีผลใหธนาคารจายเงินสดใหแกผูถือได
- แกไขในเรื่องดอกเบี้ย ซึ่งมีผลทําใหความรับผิดมากขึ้น
สวนการแกไขที่ไมใชขอความสําคัญ ก็คือ เปนไปในทางตรงกันขามกับการแกไขในขอความสําคัญ คือไมทําใหสิทธิ หนาที่ ความ
รับผิดของคูสัญญาในตั๋วเงินเปลี่ยนแปลงไป
Ex. เขียนในตั๋ววา “รับรองแลว” ซึ่งตก “ - ” ไป จึงเติมไมโทเขาไป ซึ่งไมมีผลใดๆใหเปลี่ยนแปลงสิทธิ หนาที่ ความรับผิดแมไมเติมก็เปน
การรับรองอยูดี
ฎ.1845/2524 เช็คสั่งจายเงินแก ช. หรือผูถือ รอยใชหมึกปายรบชื่อ ช. ออกเห็นอยูประจักษชัด ซึ่งไมใชขอสําคัญ เพราะแมแกไข
แลว ก็เปนเช็คผูถืออยูอยางเดิมนั้นเอง
ม.12 ในกรณีที่ปริมาณในจํานวนเงินแสดงไวทั้งตัวอักษรและตัวเลขถาตัวอักษรและตัวเลขไมตรงกันและไมอาจจะทราบเจตนาอันแทจริง
ไดใหถือเอาปริมาณที่เปนตัวอักษรเปนประมาณ
ฎ.266/2539 แกไขตัวเลขใหตรงตามตัวอักษรไมเปนการแกไขในขอสําคัญ
ผลของการแกไข

๒๑
ถาการแกไขไมไดรับความยินยอมจากคูสัญญาแลวก็เปนอันเสียไป จะฟองผูลงลายมือชื่อในตั๋วไมได ในทางตรงกันขามหาก
ไดรับความยินยอมจากคูสัญญาแลว ตั๋วเงินนั้นเปนอันใชได
ม.1007 “....ทานวาตั๋วเงินนั้นเปนอันเสียไป...” หมายความวาถาขอความสําคัญถูกแกไขโดยผูไมมีอํานาจ และไมไดรับความยินยอมจาก
คูสัญญาทุกคน ตั๋วเงินนั้นเสียไป จะไปฟองใหผูลงลายมือชื่อ หรือลูกหนี้ในตั๋วรับผิดไมได(ในทางแพง)ในทางอาญาก็ฟองไมไดตาม ฎ.343/2506
ศาลฎีกาตัดสินวาเช็คที่โจทกนํามาฟองมีการแกไขจํานวนเงินจาก 3,000 บาท เปน 33,000 บาทและการแกไขเปลี่ยนแปลงเงินในเช็คนี้
ขอเท็จจริงนาเชื่อวาผูทรงทําขึ้นเอง ดังนั้นเช็คที่นํามาฟองยอมเปนเช็คที่เสียตาม ม.1007 จําเลยหาตองรับผิดตามที่โจทกฟองไม
คดีลมละลายฎ.1441/2540 เช็คพิพาทมีการแกไขวันที่สั่งจาย เปนการแกไขในเปนการแกในสวนขอสาระสําคัญ เช็คดังกลาวเปนอันเสียไป
โจทกไมอาจเรียกใหจําเลยใชเงินตามเช็คได จําเลยมิไดเปนหนี้โจทก โจทกจะฟองใหจําเลยลมละลายตาม พ.ร.บ.ลมละลาย ม.9 ไมได
ตั๋วเงินที่มีการแกไขขอความที่เปนอันเสียไปแตยังใชไดกับ บุคคลดังนี้
1.คูสัญญาที่แกไขเปลี่ยนแปลง หรือไดยินยอมดวย
2.ผูสลักหลังในภายหลังที่มีการแกไขแลว แมจะไมไดยินยอมดวยในการแกไขก็ตามก็ตองผูกพันในการแกไขดวย
ม.1007 ว.2 “แตหากตั๋วเงินใดไดมีผูแกไขเปลี่ยนแปลงในขอสําคัญ แตความเปลี่ยนแปลงนั้นไมประจักษ และตั๋วเงินนั้นตกอยูในมือผูทรง
โดยชอบดวยกฎหมายไซร ทานวาผูทรงนั้น จะเอาประโยชนจากตั๋วนั้นก็ได เสมือนดังวามิไดมีการแกไขเปลี่ยนแปลงเลย และจะบังคับการ
ใชเงินตามเนื้อความแหงตั๋วนั้นก็ได”
หมายถึงวาแมจะมีการแกไขในขอสาระสําคัญเปนเหตุใหตั๋วเงินนั้นเสียไปก็ตาม แตการเปลี่ยนแปลงนั้นไมประจักษ
“ไมประจักษ” คือทําไดแนบเนียนคูสัญญายังคงตองรับผิดตามเดิมอยูตามเนื้อความในตั๋วเงินนั้น
โดยสรุป ถามีการแกไขใหดูวาเปนการแกไขประจักษหรือไม ถาเห็นประจักษ คือ เห็นรอยลบชัดเจน แบบนี้คูความไมตองรับผิด แตถาการ
แกไขเปลี่ยนแปลงนั้นไมประจักษคูสัญญาที่ไมไดยินยอมดวยในการแกไขนั้นยังคงตองรับผิดตามเนื้อความเดิมของตั๋วอยู
Ex. ก.ออกเช็ค 90,000 บาท แลวมีการแกไขจํานวนเงินในเช็คเปน 50,000 บาท เมื่อมีคนนําเช็คมาขึ้นเงินธนาคารจายเงินไป 50,000 บาท
แลว ธนาคารจะหักเงินจากบัญชีนาย ก. ไดหรือไม
ฎ.270/2496 ธนาคารจะเรียกไดเฉพาะจํานวนเงินในแผนเช็คเทานั้นโดยอนุโลมถือไดวาตอผูเคยคา (ลูกคาของธนาคาร) เปนเสมือนผูทรงตอ
ผูตองรับผิดตามตั๋วเงินนั้น
หมายความวา แมมีการแกไขขอความในเช็คสิทธิของผูทรงก็สามารถเรียกใหลูกหนี้ในเช็ครับผิดได ตามเนื้อความเดิมโดยมาตรา1007
ดังนั้นศาลฎีกาก็เลยแปลงความวา ใหนํามาตรา 1007 มาใชโดยอนุโลมกับธนาคาร คือใหธนาคารถือเปนผูทรงที่จะเรียกใหลูกหนี้ในตั๋วรับ
ผิดตามเนื้อความเดิมในเช็คนั้นเอง
สรุปไดวา ถามีการแกไขจํานวนเงินจากเดิม 10,000 บาท เปน 50,000 บาท ธนาคารจายไดเงินไปแลว 50,000 บาท สิทธิของธนาคารที่มีตอ
ลูกคาของธนาคาร เปรียบเหมือนธนาคารเปนผูทรงเช็ค ตาม ม.1007 ดังนั้นธนาคารสามารถหักเงินจากบัญชีเจาของเช็ค หรือผูสั่งจายได ตาม
เนื้อความเดิมเทานั้น คือ 10,000 บาท
ขอสังเกต มาตรา 1007 “ผูทรงมีสิทธิจะบังคับการใชเงินตามเนื้อความเดิมแหงตั๋วนั้นก็ได ถาการแกไขไมประจักษ”
อนุโลมไปใชกับธนาคาร สวนเงินที่ธนาคารจายเกินไปนั้น ธนาคารตองไปฟองเรียกคืนมาจากผูที่นํามาขึ้นเงิน ในฐานะลาภไมควรได
โดยหลักของมาตรา 1007 เปนเรื่องของคูสัญญาในตั๋วเงิน คือ ผูสั่งจายกับผูทรง หรือผูสลักหลังไมไดเกี่ยวของกับธนาคารเลย เพราะธนาคาร
มีความผูกพันอยูกับผูสั่งจายอยูแลวตามสัญญาหนึ่งตางหาก (อาจเปนสัญญาฝากทรัพย หรือเบิกเงินเกินบัญชี)
ฎ.1254/2497 ถากรณีผูสั่งจายออกเช็คสั่งจายเงิน 50,000 บาท แตมีผูไปแกไขขอความในสาระสําคัญ คือแกจํานวนเงินเปน 40,000 บาท ดังนี้
ถาธนาคารจายไป 40,000 บาท ก็มาถือการปฏิบัตินอกเหนือคําสั่งของผูสั่งจายทั้งไมทําใหผูสั่งจายเสียหายแตอยางใด ธนาคารจึงหักเงินจาก
บัญชีผูสั่งจายได 40,000 บาท ตามที่จายไปจริง
กรณีที่มีการแกไขการขีดครอมเช็ค ม.996 ประกอบ 997ว.3
ม.996 “การขีดครอมเช็คตามที่อนุญาตไวในมาตรากอนนั้น ทานวาเปนสวนสําคัญอันหนึ่งของเช็ค ใครจะลบลางยอมไมเปนการชอบดวย
กฎหมาย” ดังนั้น เมื่อไมมีใครแกไขหรือลบการขีดครอมออกผลจึงเปนไปตาม ม. 1007 นั้นเอง
ในกรณีที่เกี่ยวกับธนาคารจะมี ม.997 ว.3 “แตหากเช็คใดเขานํายื่นเพื่อใหใชเงิน และเมื่อยื่นไมปรากฏวาเปนเช็คขีดครอมก็ดี หรือไมมีการ

๒๒
ขีดครอมอันไดลบลางหรือแกไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมเปนประการอื่นนอกจากที่อนุญาตไวโดยกฎหมายก็ดี เช็คเชนนี้ธนาคารใดใชเงินโดย
สุจริต และปราศจากการประมาทเลินเลอ ทานวาธนาคารนั้นไมตองรับผิดหรือตองมีหนาที่รับใชเงินอยางใดๆ”
หมายความวา – ปกติเช็คขีดครอมทั่วไป ธนาคารจะตองใชเงินโดยผานธนาคารดวยกัน จะจายเปนเงินสดไมได
- สวนเช็คขีดครอมเฉพาะธนาคารจะตองใชเงินโดยผานธนาคารดวยกัน เฉพาะที่ระบุไววาเปนธนาคารไหน หรือสาขาไหนเทานั้น
ปรากฏวาการขีดครอมถูกลบไปอยางแนบเนียน ธนาคารตรวจดูแลวเชื่อวาไมใชเช็คขีดครอม จึงจายเงินสดไป อยางนี้ ม.997 ว.3 คุมครองธนาคาร

ลายชื่อในตั๋วเงินปลอมหรือลงโดยปราศจากอํานาจ มาตรา 1008


มีบทกฎหมายที่เกี่ยวของประกอบดวย ม.1006, 1008, 1009, 949
มาตรา 1008 “ภายใตบังคับแหงบทบัญญัติทั้งหลายในประมวลกฎหมายนี้”
หมายความวา ถามีการลงลายมือชื่อปลอม หรือลงโยปราศจากในตั๋วเงิน ก็ใหบังคับตามบทบัญญัติแหงมาตรานั้นๆเสียกอน
ตอเมื่อไมมีบทบัญญัติในเรื่องนั้นๆไวเฉพาะแลวจึงมาใชมาตรา 1008 เบื้องตนจึงตองดูวามีบทบัญญัติในมาตราใดที่กลาวเรื่องลายมือชื่อ
ปลอมไวเฉพาะหรือเปลา
มาตรา 1008 นี้เปนบทบัญญัติไววาลายมือชื่อปลอมหรือลายมือชื่อที่ปราศจากอํานาจนี้เปนอันใชบังคับไมไดเลย ในการอางอิง
แสวงสิทธิอยางใดอยางหนึ่ง ทานวาทําไมไดเปนอันขาดแตมี ม.949 และ 1009 บัญญัติไวเปนอยางอื่น
ม.949 “ภายในบังคับแหงบทบัญญัติมาตรา 1009 บุคคลผูใชเงินในเวลาถึงกําหนดยอมเปนอันหลุดพนจากการรับผิด เวนแตตนจะไดทําการ
ฉอฉล หรือมีความประมาทเลินเลออยางรายแรง อนึ่งบุคคลซึ่งกลาวนี้จําตองพิสูจนใหเห็นจริงวาไดมีการสลักหลังติดตอกันเรียบรอย ไม
ขาดสาย แตไมจําตองพิสูจนลายมือชื่อของผูสลักหลัง”
ใชกับตั๋วแลกเงินและตั๋วสัญญาใชเงินตาม 985 หมายความวา ผูจายที่รับรองตั๋วแลกเงินแลวกับผูออกตั๋วสัญญาใชเงินที่ใหใชเงิน
ตามตั๋วสัญญาใชในนั้นไปโดยที่ตั๋วนั้นมีการสลักหลังติดตอกันเรียบรอยไมขาดสาย ถึงแมวาลายมือชื่อสลักหลังจะปลอม ผูจายหรือผูออกตั๋ว
สัญญาใชในนั้นก็ไมตองรับผิด คือ ม.1008 บอกวาถาลายมือชื่อปลอม หรือลงโดยปราศจากอํานาจ ใครจะอางเพื่อใหตนหลุดพนไมได แต
ม.949 บอกวาอางได ดังนั้นเมื่อกรณีตองดวย 949 ก็ปรับดวย 949 เสียกอน อีกมาตราคือ 1009 กฎหมายจะคุมครองธนาคารที่จายเงินตามเช็ค
หรือตั๋วแลกเงิน ที่มีวันถึงกําหนดใชเงินเพื่อทวงถาม วาธนาคารซึ่งจายเงินตามเช็คไปตามทางคาปกติโดยสุจริต และปราศจากประมาทเลินเลอ
ถึงแมวาธนาคารจะจายเงินตามเช็คซึ่งมีผูสลักหลังปลอมก็ตาม ก็ถือวาธนาคารใชเงินไปโดยถูกระเบียบ ฉะนั้น ม.949 กับ 1009 จึงเปนขอ
ยกเวนของมาตรา 1008 นั่นเอง คือแมวาธนาคารจะจายเงินที่มีลายมือชื่อสลักหลังปลอมก็ตามก็สามารถหักเงินจากเจาของบัญชีได
ม.1008 มีขอความตอไปวา
“เมื่อใดลายมือชื่อในตั๋วเงินเปนลายมือชื่อปลอมก็ดี เปนลายมือชื่อที่ลงไวโดยบุคคลที่อางเอาเปนเจาของลายมือชื่อนั้นมิไดมอบอํานาจใหลงก็ดี
ทานวาลายมือชื่อปลอม หรือลงโดยปราศจากอํานาจเชนนั้นเปนอันใชไมไดเลย...”
: แยกความหมายออกเปนดังตอไปนี้
ลายมือชื่อปลอม หมายความวาบุคคลหนึ่งคนใดไดกระทําการใดๆใหปรากฎลายมือชื่อผูอื่นลงไปในตั๋วเงิน โดยตั้งใจใหเขาใจวาเปนลายมือชื่อ
ของผูอื่นที่ลงไวอยางแทจริง ฎ.215/2510 ปลอมโดยใชวิธีทาบลายมือชื่อผูอื่นลงไป แตถาเปนกรณีเจาของที่แทจริงตั้งใจจะโกงธนาคารโดยเอามา
ทาบทําแกลงปลอมอยางนี้ไมถือวาเปนลายมือชื่อปลอม เพราะเปนเจาของที่แทจริงทําเอง ธนาคารสามารถหักเงินในบัญชีได
ลายมือชื่อที่ลงโดยปราศจากอํานาจ หมายความถึงการที่บุคคลใดก็ตามไปเขียนชื่อผูอื่น หรือกระทําโดยวิธีใดก็ตามใหปรากฎลายมือชื่อ ผูอื่น
อยูในตั๋วเงินโดย ตั้งใจกระทําการแทนการแทนเจาของชื่อที่แทจริง (อยูที่เจตนา) เชน เสมียนเขียนชื่อ หรือลงลายมือชื่อของนายจางลงในเช็คใน
ตอนที่นายจางไมอยูโดยตั้งใจกระทําการแทน(ไมตองรอนายจางกลับมา)
หมายเหตุ จุดตางของลายมือชื่อปลอมกับลงลายมือชื่อโดยปราศจากอํานาจก็คือตั้งใจกระทําการแทนโดยเขาไมไดมอบอํานาจ
ผลของสองอยางนี้จะอยูตรงที่วา
- ลงลายมือชื่อปลอมจะมีการใหสัตยาบันไมได
- แตถาเปนการลงลายมือชื่อโยปราศจากอํานาจสามารถใหสัตยาบันได

๒๓
ม.1006 “การที่ลายมือชื่ออันหนึ่งในตั๋วเงิน เปนลายมือชื่อปลอมยอมไมกระทบกระทั่งถึงความสมบูรณแหงลายมือชื่ออื่นๆในตั๋วเงินนั้น”
แยกพิจารณาไดวา
- ถาเปนลายมือชื่อปลอมก็เปนอันใชไมไดตามมาตรา 1008
- ถาลายมือชื่ออันไหนเปนของจริงก็ใชไดเฉพาะอันนั้นตาม 1006 คืออันไหนเขียนลายมือชื่อแทจริงก็ยังคงสมบูรณอยู แตไมได
หมายความวาเปนลายมือชื่อที่สมบูรณแลวจะตองรับผิดเสมอไปยังตองดูตอไปเปนกรณี เปนขอเท็จจริงแตละเรื่องไปซึ่งบางคนอาจ
ไมตองรับผิด
Ex. ฎ.918/2522, 2168/2536, 2089/2531
- ยึดหนวงตั๋วเงินไวไมได
- จะอางอิงเพื่อใหตั๋วเงินนั้นหลุดพนนั้นไมได
Ex. ธนาคารผูจายเงิน ไดจายเงินใหกับตั๋วเงินที่มีลายมือชื่อปลอมเปนผูสั่งจาย เมื่อลายมือชื่อปลอมธนาคารจึงไมมีสิทธิหักเงินในบัญชี
เจาของบัญชี และธนาคารจะมาอางวาตนไดจายเงินไปแลวจึงตองหลุดพนความรับผิดไมไดตาม มาตรา 1008
ตรงกันขามถาธนาคารจายเงินใหแกเช็คที่มีลายมือชื่อผูสลักหลังปลอม อยางนี้เขาขอยกเวนตาม มาตรา 1009 บัญญัติวาธนาคารใช
เงินไปอยางถูกระเบียบ จะบังคับการใชเงินเอาแกคูสัญญาแหงตั๋วเงินคนหนึ่งคนใดไมไดอยางเด็ดขาด หมายความวา ผูที่ไดเช็คที่มี
ลายมือชื่อปลอมหรือลงลายมือชื่อโดยปราศจากอํานาจ จะไปบังคับเอากับคูสัญญาที่ลงชื่อกอนที่จะมีลายมือชื่อปลอมนี้ไมได แตอาจ
เรียกใหคูสัญญารับผิดตอตนได
Ex. เช็คฉบับหนึ่งมี นายแดง เปนผูสั่งจาย มีผูสลักหลัง 3 คน คือ นายหนึ่ง นายสอง นายสาม สมมุติวา ลายมือชื่อนายสอง เปนลายมือชื่อ
ปลอม
ถามวา : ถาธนาคารไมจายเงินตามเช็คฉบับนี้ผูทรงจะฟองใครใหใชเงินตามเช็คไดบาง
ตอบ : เมื่อลายมือชื่อนายสองเปนลายมือชื่อปลอมจึงจะไปเรียกใหนายสองใชเงินไมไดเลยเพราะนายสองไมไดลงลายมือชื่อในเช็คนั้น
(ม.900) ฟองนายแดงกับนายหนึ่งไมได ถึงแมนายแดงกับนายหนึ่งจะไดลง
ลายมือชื่อลงในเช็คและลายมือชื่อนายแดงและนายหนึ่งจะสมบูรณก็ตาม แตจะไปฟองไมไดเพราะเปนการแสวงสิทธิโดยอาศัยลายมือ
ชื่อปลอมนั้นไมได
ผูทรงจึงฟองได 2คน คือผูปลอมลายมือชื่อและผูลงลายมือชื่อหลังการปลอม คือ นายสาม เพราะนายสามเปนบุคคลผูตองถูกตัดบท
มิใหยกลายมือชื่อปลอมขึ้นเปนขอตอสู
หลักจํางายๆ ผูที่ไดเช็คมาซึ่งมีลายมือชื่อปลอมอยู จะไปไลเบี้ยไดจากบุคคลที่ลงลายมือชื่อหลังจากลายมือชื่อปลอมนั้นได แตคนที่ลง
ลายมือชื่อกอนที่จะมีการปลอมนั้นจะไปไลเบี้ยเอากับเขาไมได เปนการแสวงสิทธิโดยอาศัยลายมือชื่อปลอมอยางนี้ไมได
กรณีที่ธนาคารจายเงินในเช็คที่มีลายมือชื่อปลอม
ปกติธนาคารประกอบธุรกิจเพื่อหวังผลเอาบําเหน็จคาฝากประกอบเปนอาชีพ หรือการที่เอาเงินจากผูฝากไปแสวงหาประโยชนจึง
ไดมีคําวินิจฉัยของศาลฎีกาวางแนววา ธนาคารมีหนาที่ตามกฎหมายที่จะใชความระมัดระวัง ความชํานาญพิเศษ ดูลายมือชื่อผูสั่งจายวา
เหมือนกับที่ใหไวกับธนาคารหรือไม เพราะทําเปนปกติอาชีพ ถาเปนลายมือชื่อที่ไมเหมือนที่ใหไวก็ชอบที่จะปฏิเสธไมจายเงินได
ดังนั้นเมื่อธนาคารไดจายเงินใหกับเช็คที่มีลายมือชื่อปลอมจึงหักเงินในบัญชีผูสั่งจายไมได เพราะเปนความประมาทของธนาคารดวย จะ
อางใหตนหลุดพนไมไดตาม 1008 ฎ.6280/2538, 2511/2538, 3776/2537 บางเรื่องศาลฎีกาตัดสินวาธนาคารทําละเมิดสัญญาฝากทรัพย
ดวยก็มี ฎ.4161/2532, 6280/2538 มีขอเท็จจริงบางเรื่อง ถือวาธนาคารประมาทเลินเลอแตลูกคาก็มีสวนประมาทเลินเลอดวย เชน ไม
ปฏิบัติตามระเบียบในการใชเช็ค คือไมเก็บไวในที่ปลอดภัย ไมแจงธนาคารเมื่อเช็คหาย ศาลตัดสินใหธนาคารรับผิดเพียงกึ่งหนึ่ง จาก
คาเสียหายทั้งหมด
ถาม : เอาเช็คผูถือไปขึ้นเงิน เจาหนาที่ธนาคารใหลงชื่อดานหลังจะเปนการอาวัลหรือไม?
ตอบ : ไมเปนเพราะ
1. ไมมีเจตนาผูกนิติสัมพันธ
2. มาตรา945 นําไปใชกับเช็ค “การใชเงินจะมีไดเมื่อไดเวนตั๋วแลกเงิน ผูใชเงินจะใหผูทรงลงชื่อรับเงินก็ได”

๒๔
เช็คชนิดผูถือ
1. ถึงแมวาธนาคารจะปฏิเสธการจายเงินแลวก็ตามเช็คก็ยังมีสภาพเปนเช็คอยู ซึ่งสามารถโอนเปลี่ยนมือกันตอไปไดอีกจึงยังคงเปนเช็คที่ใช
บังคับไดตามกฎหมายอยู หมายความวา ผูรับโอนมาโดยสุจริตภายหลังที่ธนาคารไดปฏิเสธการจายเงินแลว ในทางแพงผูรับโอนซึ่งเปนผู
ทรงสามารถนําไปฟองรองใหรับผิดไดตามปกติ ฎ.4383/2545, 5435/2533, 2062/2537 ในทางแพงตัวผูทรงอาจจะเปนผูทรงในภายหลังที่
ธนาคารปฏิเสธการจายเงินแลวก็ได
2. ในดานลูกหนี้ซึ่งเปนผูรับอาวัลในเมื่อเช็ที่ไดถูกธนาคารปฏิเสธการจายเงินแลวคนที่ลงชื่อในดานหลังเช็คก็ยังคงเปนผูรับอาวัลผูสั่งจาย
ตาม ม. 921 ประกอบ 98 ตามนัย ฎ.5766/2537, 312/2521
3. เช็คที่ธนาคารปฏิเสธการจายเงินแลวจะแกวันที่ในเช็คไดอยูอีกหรือไม ม.1007 สามารถทําไดถาเปนการแกไขที่ไดรับความยินยอม เชน
เมื่อเช็คปฏิเสธการจายจึงนําเช็คไปทวงถามกับผูสั่งจาย เมื่อผูสั่งจายเห็นจึงบอกวาเงินยังไมเขาบัญชีเลย ขอแกไขวันที่ไปกอนไดไหม ทั้ง
สองฝายจึงตกลงยินยอมแกไขวันที่ ก็สามารถทําได เช็คไมเสีย และเมื่อผูสั่งจายแกไขวันที่ใหม ก็ตองถือวันที่ตามที่แกไขนั้นอายุความจึง
ตองนับตั้งแตวันที่แกไขใหม ยังคงใชไดตอคูสัญญาซึ่งแกไขเปลี่ยนแปลงนั้น
สรุป กรณีที่ผูสั่งจายแกไขวันที่ในเช็ค กําหนดฟองผูสั่งจายซึ่งมีอายุความ 1 ป ตาม ม.1002 จึงตองนับจากวันที่แกไขใหมไมใชวันเดิม
ฎ.1043/2534
อายุความในตัว๋ เงิน
มาตราที่เกี่ยวของ มาตรา 1001, 1002, 1003
ม.1001 เปนกําหนดอายุความฟองผูรับรองตั๋วแลกเงินและฟองผูออกตั๋วสัญญาใชเงิน ทานหามมิใหฟองเกิน 3 ป นับตั้งแตวันถึงกําหนด
ในตั๋วนั้นๆใหใชเงิน
“ผูรับรอง” คือใคร
ปกติคูสัญญาในตั๋วแลกเงินจะมี 3 ฝาย
1. ผูสั่งจาย
2. ผูจาย ม.931 การรับรอง ทําโดยลงลายมือชื่อของผูจายตามม.900 ดังนั้น เมื่อผูจายลงชื่อรับรองแลวก็เรียกใหมวา เปนผูรับรอง
(เปลี่ยนฐานะนั้นเอง)
3. ผูรับเงิน
ซึ่งในฐานะผูจายกับผูรับรองจะแตกตางกันตรงที่
1. ฐานะผูจาย หากถึงกําหนดจายเงินแลว นําตั๋วมาแลกเงินแลวไมมีการจายไปฟองผูจายไมไดเพราะผูจายไมไดลงลายมือชื่อไวตาม ม.900
2. ฐานะผูรับรอง หากถึงกําหนดจายเงินถานําตั๋วมาแลกเงินแลวไมมีการจายเงิน อยางนี้ฟองผูรับรองได เพราะไดมีการลงลายมือชื่อของผู
รับรองในตั๋วแลวตาม ม.900
ม.937 ผูจายเงินไดรับรองตั๋วเงินแลวยอมตองรับผิดในอันจะจายเงินเทาจํานวนที่รับรอง ตามเนื้อความแหงคํารับรอง
- ตั๋วสัญญาใชเงินจะมีคูสัญญา 2 ฝาย
1. ผูออกตั๋ว ผูออกตั๋วเปนผูจายเงินตามตั๋ว ม.986 “ผูออกตั๋วสัญญาใชเงินยอมตองผูกพันเปนอยางเดียวกันกับผูรับรองตั๋วแลกเงิน”
2. ผูรับเงิน
ม.1001 อายุความ 3 ป นับแตวันที่ตั๋วถึงกําหนดใชเงินตาม ม.913 ซึ่งมีวันถึงกําหนดไดหลายกรณี
ม.1002 เปนกําหนดอายุความที่ผูทรงฟอง
1. ผูสั่งจายตั๋วแลกเงิน
2. ผูสั่งจายเช็ค
3. ฟองผูสลักหลังตั๋วทั้ง 3 ประเภท
มีกําหนดอายุความ 1 ป นับแตวันที่ไดลงในวันคัดคานซึ่งไดทําขึ้นถูกตองภายในเวลาอันถูกตองตามกําหนด หรือนับแตวันตั๋วเงิน
ถึงกําหนดในกรณีที่มีขอกําหนดไววา “ไมจําตองมีคําคัดคาน”
แยกกรณีไดดังนี้
๒๕
1. ฟองผูสั่งจายตั๋วแลกเงินหรือผูสลักหลัง เมื่อผูทรงนําตั๋วไปยื่นใหผูจายเงินตามตั๋วแลกเงินแลว ผูจายไมจายเงิน กอนที่จะนําคดีมา
ฟอง กฎหมายกําหนดใหผูทรงมีหนาที่ตาม 960 ผูทรงตองทําการคัดคานการไมใชเงินในวันที่ไดรับการปฏิเสธหรือวันที่ลงในตั๋ว
เลยหรือนับไปอีกภายใน 3 วัน แตทําวันไหนกําหนดอายุความ 1 ป ตองเริ่มนับตั้งแตวันนั้น ถาตั๋วแลกเงินเขียนลงในตั๋ววาไมจําตอง
ทําคําคัดคาน แบบนี้อายุความก็ใหเริ่มนับตั้งแตวันถึงกําหนดชําระในตั๋วเลย
2. ฟองผูสั่งจายเช็ค หรือผูสลักหลังเช็ค อายุความ 1 ปใหนับจากวันที่ลงในเช็ค เนื่องจากไมตองมีการบอกกลาว หรือทําคําคัดคานกอน
ฟองเหมือนอยางกรณีตั๋วแลกเงิน

ม.1003 เปนเรื่องของลูกหนี้ในตั๋วเงินฟองไลเบี้ยกันเอง
“ในคดีที่ผูสลักหลังทั้งหลาย ฟองไลเบี้ยกันเอง และไลเบี้ยเอาแกผูสั่งจายแหงตั๋วเงิน ทานหามมิใหฟองคดีเมื่อพนเวลา 6 เดือนนับแตวันที่ผู
สลักหลังเขาถือเอาตั๋วเงิน และใชเงินนับแตวันที่ผูสลักหลังนั้นเองถูกฟอง”
ในเรื่องตั๋วเงินนั้น บุคคลทุกคนที่ลงลายมือชื่อจะตองรวมกันรับผิดตอผูทรง ตาม ม.967 ผูทรงมีสิทธิฟอง
- ทั้งหมด
- ฟองเฉพาะบางคน
หรือฟองบางคนไปแลวไมไดเงินก็ไปฟองลูกหนี้คนอื่นไดตาม ม.967ว.3 “สิทธิเชนเดียวกันนี้ยอมมีแกบุคคลทุกคนซึ่งไดลงลายมือชื่อ
ในตั๋วเงิน และเขาถือเอาตั๋วเงินนั้น ในการที่จะใชบังคับเอาแกผูที่มีความผูกพันอยูแลวกอนตน”
หมายความวา เมื่อลูกหนี้คนใดใชเงินไปแลวและเขาถือเอาตั๋วก็สามารถไลเบี้ยตอไปได แตมีขอจํากัดอยูวา สามารถไลเบี้ยไดเฉพาะ
บุคคลที่ลงลายมือชื่อกอนตนขึ้นไปเทานั้น
Ex. นายหนึ่ง – นายสอง – นายสาม ลงชื่อสลักหลังในตั๋ว เมื่อนายสามใชเงินและเขายึดถือตั๋ว แลวฟองไลเบี้ยเอากับนายสอง นายหนึ่ง
และผูสั่งจายได ตามแตจะเลือกฟองใคร หรือฟองทุกคนก็ได
อายุความ 6 เดือนนับจากเมื่อใดแยกออกเปนสองกรณี
1.กรณีสมัครใจใชเงินเอง ผูเปนลูกหนี้ในตั๋วใชเงินและเขาถือเอาตั๋วเงิน(ไมใชถูกฟอง) ใหเริ่มนับเมื่อผูสลักหลังเขาถือเอาตั๋วนั้น
2.กรณีไมสมัครใจใชเงินแตแรก ถูกฟองแลวเขาใชเงินใหเริ่มนับเมื่อผูสลักหลังถูกฟอง คือ เริ่มนับวันฟองคดีนั่นเอง
ฎ.628/2510, 6339-6340/2539 จําเลยสั่งจายเช็คชนิดระบุชื่อผูรับเงินใหโจทกโดยลงวันที่ลวงหนา ตอมาผูทรงคนแรกรอนเงินก็เลยเอาเช็ค
ไปขายลดเช็คแกธนาคาร และโจทกก็สลักหลังลงในเช็คตอนขายไปดวย ตอมาถึงกําหนดจายเงินธนาคารผูรับซื้อเช็คเอาเช็คไปขึ้นเงิน
ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจาย ธนาคารที่รับซื้อลดเช็ค จึงติดตอโจทกผูขายใหนําเงินมาชําระ โจทกจึงนําเงินตามเช็คพรอมดอกเบี้ยไป
ชําระและรับเช็คคืน (เปนกรณีสมัครใจ) โจทกนําคดีมาฟองจําเลยเมื่อพน 6 เดือน นับแตวันที่โจทกเขาถือเอาเช็คจากธนาคารที่รับซื้อเช็ค
ศาลชั้นตนยกฟอง
โจทกฎีกาเปนประเด็นวา ธนาคารเปนเสมือนตัวแทนตนไปเรียกเก็บเงินเพราะฉะนั้นจึงเปนเรื่องที่ตนในฐานะผูทรงฟองผูสั่ง
จายในอายุ ความ 1 ป ตาม ม.1002 (ขอกฎหมาย) ศาลฎีกาวินิจฉัยวา การโอนเช็คระบุชื่อสามารถโอนใหแกกันไดตาม 917 สามารถโอนใหแก
กันได ดวยการสลักหลังและสงมอบ คดีนี้โจทกสลักหลังและสงมอบใหแกธนาคารผูซื้อ ม.920 อันการสลักหลังยอมโอนไปทั้งสิทธิและ
หนาที่ นั้น ดังนั้นธนาคาร นําเช็คไปเรียกเก็บเงินจากธนาคารตามเช็คจึงเปนการกระทําในฐานะผูทรง ไมใชเรียกในฐานะเปนตัวแทนโจทก
เมื่อธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจายเงิน และโจทกไดชําระเงินตามเช็คใหแกธนาคารผูรับซื้อลดเช็คและรับเช็คกลับคืนโดยไมไดสลักหลังโอน
กลับตคืนจึงเห็นไดชัดวา ตัวโจทกอยูในฐานะผูสลักหลังเช็ค ซึ่งไดใชเงินใหแกผูทรง และเขาถือเอาเช็คฉบับนั้น โจทกนําคดีมาฟองจึงเปน
เรื่อง ผูสลักหลังฟองไลเบี้ยผูสั่งจายเช็ค ซึ่งมีอายุความ 6 เดือนตาม ม. 1003
ถาขอเท็จจริงเปลี่ยนเปนวา เช็คที่ขายลดนั้นเปนเช็คผูถือ แมขอเท็จจริงอยางอื่นจะเหมือนกันก็ตาม การวินิจฉัยคดีก็จะตรงกันขาม
ทันที เพราะเช็คผูถือนั้นผูสลักหลังจะมีฐานะเปนเพียงผูรับอาวัล ซึ่งจะเปนเรื่องผูรับอาวัลฟองไลเบี้ยเอาจากผูที่ตนประกันอาวัล ซึ่งไมมี
กําหนดอายุความไวแตอยางใด ตองใชอายุความ 10 ป( ฎ.2807/2536, 5547/2537)
2521/2540 วินิจฉัยไวชัดวามีอายุความ 10 ป เนื่องจากไมมีกฎหมายอายุความบัญญัติไวโดยเฉพาะ จึงตองใชอายุความทั่วไป(ตั้งรูปคดีวาเปน
ผูรับอาวัล) ฏ.4383/2545 ในอายุความ 1 ป เพราะตั้งรูปคดีวาเปนผูทรง

๒๖
แคชเชียรเช็ค
ธนาคารจะเปนผูออกแคชเชียรเช็คซึ่งออกในรูประบุชื่อผูรับเงิน ม.991 (3) ถาธนาคารออกไปแลวผูรับก็ไปแจงธนาคาร ผูเปนเจาหนี้
ที่เปนผูทรงแคชเชียรเช็คอยูนําไปขึ้นเงิน และถูกปฏิเสธการใชเงินจะไปฟองธนาคาร ธนาคารจะปฏิเสธตามมาตรา 991 (3) ไดหรือไมวา
ไดรับการบอกหรือการแจงวาแคชเชียรเช็คหายก็เลยไมจายเงิน ฎ.2201/2542, 772/2526

ขอเท็จจริง
1. โจทกฟองวาจําเลยที่ 2ไปซื้อแคชเชียรเช็คจากจําเลยที่ 1(ธนาคาร) ซึ่งจําเลยที่ 1 เปนผูสั่งจาย จําเลยที่ 2 สลักหลังโอนใหแกโจทก
2. โจทกนําไปขึ้นเงิน จําเลยที่ 1 ปฏิเสธการจายเงินโดยอางวาผูซื้อมีใบแจงมาขออายัด และธนาคารก็คืนเงินใหจําเลยที่ 2 ผูมาซื้อ
แคชเชียรเช็คไป
3. โจทกนําคดีมาฟองธนาคารซึ่งขอเท็จจริงปรากฏวา ความจริงแลวแคชเชียรเช็คไมไดหาย
- ธนาคารจะปฏิเสธการจายเงินตาม ม.991(3)ไดหรือไม?
- หรืออางไดหรือไมวามีคําบอกหามการใชเงิน
ศาลทั้ง 2 เรื่อง วินิจฉัยวา ธนาคารจะอางไมได เพราะ ม.991(3) กับ ม.992 เปนบทบัญญัติ เกี่ยวกับลูกคาของธนาคารเปนผูสั่งจาย ซึ่งจะ
ตางกับแคชเชียรเช็ค เพราะ จะเปนธนาคารเปนผูสั่งจาย หาใชผูเคยคากับธนาคารเปนผูสั่งจายไม ดังนั้นธนาคารจึงจะอาง 991 และ 992 มา
ปฏิเสธไมได จึงตองรับผิดตาม ม.900

ลิขสิทธิ์คณะกรรมการนักศึกษาเนติฯ สมัย 58

๒๗
๒๘

You might also like