You are on page 1of 41

ทะเบียนชื่อบุคคล

นางสาวอัมพร จงรักดี
หัวหน้าฝ่ ายทะเบียนครอบครัว พินยั กรรม และนิติกรรม
ส่วนการทะเบียนทัว่ ไป สำนักบริหารการทะเบียน
กรมการปกครอง
ทะเบียนชื่อบุคคล
ความเป็ นมา
• พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั
1. เพือ่ ให้ทราบตำหนิรูปพรรณสัณฐานบุคคล
2. เทือกเถาเหล่ากอสืบมาแต่บดิ ามารดาใด
3. จัดทำทะเบียนคนเกิด คนตาย และทะเบียนสมรสไว้
เป็ นหลักสืบไป
• พ.ร.บ.ขนานนามสกุล 2456
ทะเบียนชื่อบุคคล
• กฎหมายที่สำคัญ
1. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2. พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 2505 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม
3. กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจดทะเบียนชื่อสกุล
และค่าธรรมเนียมการออกหนังสือสำคัญ 2550
4. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการทะเบียนชื่อบุคคล 2551
ทะเบียนชื่อบุคคล
นายทะเบียน
• พ.ร.บ. ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 20
“ให้ รมว.มท. รักษาการตาม พ.ร.บ. นี้ และให้มีอำนาจแต่ง
ตั้งนายทะเบียนกับออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกิน
อัตราท้าย พ.ร.บ. นี้ และกำหนดกิจการอื่นเพือ่ ปฏิบตั ิการตาม
พ.ร.บ. นี้ ”
ทะเบียนชื่อบุคคล
นายทะเบียน
• คำสังที
่ ่ 1430/2505 ลงวันที่ 6 ธันวาคม 2505 และ
คำสัง่ มท. ที่ 157/2537 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2537
1. ผูอำ้ นวยการส่วนการทะเบียนทัว่ ไป สำนักบริหารการทะเบียน
กรมการปกครอง ดำรงตำแหน่ง นายทะเบียนกลาง
2. ผูว้ ่าราชการจังหวัด ดำรงตำแหน่ง นายทะเบียนจังหวัด
3. นายอำเภอ หรือปลัดอำเภอผูเ้ ป็ นหัวหน้าประจำกิง่ อำเภอ
ดำรงตำแหน่ง นายทะเบียนท้องที่
หลักการ
• พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505
- มาตรา 5 ผูม้ ีสญ
ั ชาติไทยต้องมีชื่อตัวและชื่อสกุล
และจะมีชื่อรองก็ได้
• ความหมาย (มาตรา 4)
- ชื่อตัว คือ ชื่อประจำตัวบุคคล
- ชื่อรอง คือ ชื่อประกอบถัดจากชื่อตัว (ชื่อกลาง)
- ชื่อสกุล คือ ชื่อประจำวงศ์สกุล (แสดงความสัมพันธ์ในครอบครัว)
หลักเกณฑ์การตั้งชื่อตัว
• พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 6
1. ชื่อตัวต้องไม่พอ้ งหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับพระปรมาภิไธย
พระนามของพระราชินี หรือราชทินนาม
2. ต้องไม่มีคำหรือความหมายหยาบคาย
3. ต้องไม่มีเจตนาทุจริต
หลักเกณฑ์การตั้งชื่อตัว
• พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 7
4. ผูท้ ีไ่ ด้รบั พระราชทานบรรดาศักดิ์
หรือผูเ้ คยได้รบั พระราชทานบรรดาศักดิ์ แต่ได้ออกจาก
บรรดาศักดิ์น้นั โดยมิได้ถูกถอด จะใช้ราชทินนามตาม
บรรดาศักดิ์น้นั เป็ นชื่อตัวก็ได้
วิธีการเปลีย่ นชื่อตัว
• พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 16
1. ผูม้ ีชื่อตัวอยู่แล้วประสงค์จะเปลีย่ นชื่อตัวใหม่
2. ให้ยนื่ คำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ ทีต่ นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
3. เมือ่ นายทะเบียนท้องทีพ่ จิ ารณาแล้วชื่อตัวทีข่ อเปลีย่ นใหม่
ไม่ขดั ต่อพระราชบัญญัตินี้
4. ให้อนุ ญาตและออกหนังสือสำคัญแสดงการเปลีย่ นชื่อตัวให้
5. ระเบียบ มท. ว่าด้ วยการทะเบียนชื่อบุคคล 2551 ข้ อ 5,7,8
หลักเกณฑ์การตั้งชื่อรอง
• พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 6
1. ชื่อรองต้องไม่พอ้ งหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับพระปรมาภิไธย
พระนามของพระราชินี หรือราชทินนาม
2. ต้องไม่มีคำหรือความหมายหยาบคาย
3. ต้องไม่พอ้ งกับชื่อสกุลของบุคคลอื่น เว้นแต่
- กรณีทีค่ ู่สมรสให้ชื่อสกุลของอีกฝ่ ายหนึง่ เป็ นชื่อรอง หรือ
- กรณีบุตรใช้ชื่อสกุลเดิมของบิดาหรือมารดาเป็ นชื่อรอง
4. ต้องไม่มีเจตนาทุจริต
หลักเกณฑ์การตั้งชื่อรอง
• พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 7
5. ผูท้ ีไ่ ด้รบั พระราชทานบรรดาศักดิ์
หรือผูเ้ คยได้รบั พระราชทานบรรดาศักดิ์ แต่ได้ออกจาก
บรรดาศักดิ์น้นั โดยมิได้ถูกถอด จะใช้ราชทินนามตาม
บรรดาศักดิ์น้นั เป็ นชื่อรองก็ได้
6. ชื่อรอง จะตั้งและจำหน่ายเมือ่ ใดก็ได้
วิธีการตั้งและเปลีย่ นชื่อรอง
• พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 16
1. ผูท้ ีจ่ ะตั้งชื่อรองหรือมีอยู่แล้วประสงค์จะเปลีย่ นชื่อรองใหม่
2. ให้ยนื่ คำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ ทีต่ นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
3. เมือ่ นายทะเบียนท้องทีพ่ จิ ารณาแล้วชื่อรองทีข่ อเปลีย่ นใหม่
ไม่ขดั ต่อพระราชบัญญัตินี้
4. ให้อนุ ญาตและออกหนังสือสำคัญแสดงการเปลีย่ นชื่อรองให้
5. ระเบียบ มท. ว่าด้ วยการทะเบียนชื่อบุคคล 2551 ข้ อ 6,7
วิธีการจำหน่ายชื่อรอง
• ระเบียบ มท. ว่ าด้ วยการทะเบียนชื่อบุคคล 2551 ข้ อ
25
1. ผูท้ ีม่ ีชื่อรองอยู่แล้วประสงค์จะจำหน่ายชื่อรอง (ไม่ใช้)
2. ให้ยนื่ คำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ ทีต่ นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
3. เมือ่ นายทะเบียนท้องทีต่ รวจสอบคำขอและเอกสารสำคัญ
ต่างๆ แล้ว เห็นว่าถูกต้อง
4. ให้สงอนุ ั ่ ญาตจำหน่ายชื่อรองในคำขอ และบันทึกการจำหน่าย
ในทะเบียน ช. 3/1 หรือ ช. 3 เดิม
หลักเกณฑ์การตั้งชื่อสกุลหรือตั้งชื่อสกุลใหม่

• พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 8


1. ไม่พอ้ งหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับพระปรมาภิไธย พระนามของ
พระราชินี
2. ไม่พอ้ งหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับราชทินนาม เว้นแต่ราชทินนาม
ของตน ของผูบ้ ุพการี หรือของผูส้ ืบสันดาน
3. ไม่ซ้ำกับชื่อสกุลทีไ่ ด้รบั พระราชทาน หรือชื่อสกุลทีไ่ ด้จดทะเบียนไว้
แล้ว
4. ต้องไม่มีคำหรือความหมายหยาบคาย
5. มีพยัญชนะไม่เกิน 10 พยัญชนะ เว้นแต่กรณีใช้ราชทินนามเป็ นชื่อ
สกุล
หลักเกณฑ์การตั้งชื่อสกุลหรือตั้งชื่อสกุลใหม่

• ตามประกาศต่าง ๆ
6. ไม่ตอ้ งห้ามตามประกาศห้ามมิให้ผูท้ ีไ่ ม่ได้รบั พระราชทานนามสกุล
ใช้ “ณ” นำหน้านามสกุล (ลว. 15 ธันวาคม 2458)
7. ไม่ตอ้ งห้ามตามประกาศเพิม่ เครือ่ งหมายนามสกุลสำหรับ
ราชตระกูล (ลว. 1 มกราคม 2458)
8. ไม่ตอ้ งห้ามตามประกาศห้ามไม่ให้เอานามพระนครและไม่ให้เอาศัพท์
ทีใ่ ช้เป็ นพระบรมนามาภิไธยมาใช้เป็ นนามสกุล (ลว. 2 มีนาคม 2458)
9. ต้องไม่มีเจตนาทุจริต
วิธีการตั้งชื่อสกุลหรือตั้งชื่อสกุลใหม่
ผูม้ ีสญ
ั ชาติไทย
• ขอจดทะเบียนตั้งชื่อสกุล
1. เป็ นผูท้ ีย่ งั ไม่มีชื่อสกุล
2. ให้ยนื่ คำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ ทีต่ นมีชื่ออยู่ใน
ทะเบียนบ้าน
3. เมือ่ นายทะเบียนท้องทีพ่ จิ ารณาเห็นว่าชื่อสกุลทีข่ อตั้งไม่
ขัดต่อพระราชบัญญัตินี้
4. ให้นายทะเบียนท้องทีร่ บั จดทะเบียนและออกหนังสือสำคัญให้
(พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 ม. 9, กฎกระทรวงฯ ข้อ 2 , ระเบียบ มท. ข้อ
9,11,12)
วิธีการตั้งชื่อสกุลหรือตั้งชื่อสกุลใหม่
ผูม้ ีสญ
ั ชาติไทย
• ขอจดทะเบียนตั้งชื่อสกุลใหม่
1. เป็ นผูท้ ีม่ ีชื่อสกุลอยู่แล้ว ประสงค์จะตั้ง(เปลีย่ น)ชื่อสกุลใหม่
2. ให้ยนื่ คำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ ทีต่ นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
3. เมือ่ นายทะเบียนท้องทีพ่ จิ ารณาเห็นว่าชื่อสกุลทีข่ อตั้งไม่
ขัดต่อพระราชบัญญัตินี้
4. ให้นายทะเบียนท้องทีร่ บั จดทะเบียนและออกหนังสือ สำคัญให้

(พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 ม. 17, กฎกระทรวงฯ ข้อ 2 , ระเบียบ มท. ข้อ 9)


วิธีการตั้งชื่อสกุลหรือตั้งชื่อสกุลใหม่
ผูม้ ีสญ
ั ชาติไทย
• ขอจดทะเบียนตั้งชื่อสกุลให้เด็กในสถานสงเคราะห์
1. ผูอ้ ุปการะเลี้ ยงดูเด็ก หรือเจ้าของสถานพยาบาล สถานสงเคราะห์หรือ
สถานอุปการะเลี้ ยงดูเด็ก
2. ประสงค์จดทะเบียนตั้งชื่อสกุลของเด็กทีไ่ ม่ปรากฏชื่อสกุล
ซึ่งตนเลี้ ยงดูอยู่ในสถานดังกล่าว
3. ให้มีชื่อสกุลใช้ร่วมกันหรือแยกกัน
4. ให้ยนื่ คำขอต่อนายทะเบียนท้องทีท่ ีผ่ ูอ้ ุปการะมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านหรือ
สถานทีด่ งั กล่าวตั้งอยู่
5. เมือ่ นายทะเบียนพิจารณาแล้วไม่ขดั ต่อกฎหมายนี้ ให้สงอนุ ั ่ ญาตและออกหนังสือ
สำคัญแสดงการตั้งชื่อสกุลให้
(พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 ม. 15,9, กฎกระทรวงฯ ข้อ 3,4 , ระเบียบ มท.ฯ ข้อ 9)
วิธีการตั้งชื่อสกุลหรือตั้งชื่อสกุลใหม่
คนต่างด้าว
• ขอเปลีย่ นชื่อตัว/จดทะเบียนตั้งชื่อสกุล
1. เพือ่ ประกอบการขอแปลงสัญชาติหรือขอกลับคืนสัญชาติไทย
2. ให้ยนื่ คำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ ทีต่ นมีชื่ออยู่ในหลักฐานตามที่
ทางราชการกำหนด
3. นายทะเบียนตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่าง ๆ แล้วเห็นว่าถูกต้อง
4. ให้สงในคำขอโดยมี
ั่ เงือ่ นไขว่าอนุญาตต่อเมือ่ ได้รบั การแปลงสัญชาติ
หรือได้กลับคืนสัญชาติไทยแล้ว และออกหนังสือรับรองให้
(ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการทะเบียนชื่อบุคคล พ.ศ. 2551 ข้อ 8,10)
การรับมรดกชื่อสกุล
• ผูจ้ ดทะเบียนตั้งชื่อสกุลตาย/ศาลสังให้
่ เป็ นคนสาบสูญ
1. ผูส้ ืบสันดานในลำดับใกล้ชิดทีส่ ุด
- เป็ นผูส้ ืบสันดานโดยตรง/ชอบด้วยกฎหมาย
- ยังมีชีวิตอยู่/และใช้ชื่อสกุลนั้น
2. ให้ยนื่ คำขอต่อนายทะเบียนท้องทีท่ ีต่ นมีภูมิลำเนาอยู่ในทะเบียนบ้าน
3. พร้อมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่สำคัญและเกีย่ วข้อง
4. เมือ่ นายทะเบียนพิจารณาแล้วเห็นว่าถูกต้อง ให้ออกหนังสือรับรองเป็ นผู ้
มีสิทธิอนุ ญาตให้ผูอ้ ื่นร่วมใช้ชื่อสกุลได้

(พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 ม. 11, ระเบียบ มท.ฯ ข้อ 14)


หลักการเปลีย่ นชื่อสกุล
• ประกอบด้วย
1. เปลีย่ นชื่อสกุลโดยการร่วมใช้ชื่อสกุล
2. เปลีย่ นชื่อสกุลโดยการสมรส
3. เปลีย่ นชื่อสกุลเมือ่ การสมรสสิ้ นสุดลง
4. เปลีย่ นชื่อสกุลด้วยเหตุอื่น
- บุตรเปลีย่ นใช้ชื่อสกุลของบิดา มารดา
- การเปลีย่ นชื่อสกุลของบุตรบุญธรรม
หลักการเปลีย่ นชื่อสกุล
• การเปลีย่ นชื่อสกุลโดยการร่วมใช้ชื่อสกล
1. ผูจ้ ดทะเบียนตั้งชื่อสกุล/ผูม้ ีสิทธิอนุญาตให้ผูอ้ ื่นร่วมใช้ชื่อสกุล
2. จะอนุ ญาตให้ผูม้ ีสญ ั ชาติไทยร่วมใช้ชื่อสกุล
3. ให้ยนื่ คำร้องต่อนายทะเบียนท้องที่ ทีต่ นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
4. พร้อมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่สำคัญและเกีย่ วข้อง
5. เมือ่ นายทะเบียนตรวจสอบเห็นว่าถูกต้อง ออกหนังสืออนุ ญาตให้
ร่วมใช้ชื่อสกุล

(พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 11,ระเบียบ มท.ฯ 2551 ข้อ


13,15,16)
หลักการเปลีย่ นชื่อสกุล
• การเปลีย่ นชื่อสกุลโดยการสมรส
พ.ร.บ. ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 12
“คู่สมรสมีสิทธิใช้ชื่อสกุลของฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ตามทีต่ กลงกัน
หรือต่างฝ่ ายต่างใช้ชื่อสกุลเดิมของตน
การตกลงกันตามวรรคหนึง่ จะกระทำเมือ่ มีการสมรส
หรือในระหว่างสมรสก็ได้
ข้อตกลงตามวรรคหนึง่ คู่สมรสจะตกลงเปลีย่ นแปลงภายหลังก็ได้”
ต้องมีขอ้ ตกลง
1. บันทึกท้ายทะเบียนสมรส 2. ทำเป็ นหนังสือ
3. ยินยอมต่อหน้านายทะเบียน
หลักการเปลีย่ นชื่อสกุล
• การเปลีย่ นชื่อสกุลโดยการสมรส
1. เมือ่ มีการสมรส
- ใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ ายหนึง่ หรือใช้ชื่อสกุลเดิมของตน
2. ในระหว่างสมรส
- กลับไปใช้ชื่อสกุลเดิมของตน หรือใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ ายหนึง่
3. ตกลงเปลีย่ นแปลงในภายหลัง (ระหว่างสมรส)
- ตั้งชื่อสกุลใหม่/ร่วมใช้ชื่อสกุล/ผูร้ บั บุตรบุญธรรม/กลับไป
ใช้ชื่อสกุลเดิมของบิดา มารดา
หลักการเปลีย่ นชื่อสกุล

• วิธีการเปลีย่ นชื่อสกุลโดยการสมรส
1. ยืน่ คำร้องต่อนายทะเบียนท้องที่ ทีต่ นมีชื่ออยู่ใน
ทะเบียนบ้าน
2. พร้อมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่สำคัญและเกีย่ วข้อง
3. เมือ่ นายทะเบียนท้องทีต่ รวจสอบแล้วเห็นว่าถูกต้อง
สังอนุ
่ ญาตและออกหนังสือสำคัญการเปลีย่ นชื่อสกุลให้
(ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการทะเบียนชื่อบุคคล 2551 ข้อ 17,18,19)
หลักการเปลีย่ นชื่อสกุล
• การเปลีย่ นชื่อสกุลเมือ่ การสมรสสิ้ นสุดลง
พ.ร.บ. ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 13
“เมือ่ การสมรสสิ้ นสุดลงด้วยการหย่าหรือศาลพิพากษาให้เพิกถอนการ
สมรส ให้ฝ่ายซึ่งใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ ายหนึง่ กลับไปใช้สือ่ สกุลเดิมของตน
เมือ่ การสมรสสิ้ นสุดลงด้วยความตาย ให้ฝ่ายทีย่ งั มีชีวิตอยู่และใช้ชื่อ
สกุลของอีกฝ่ ายหนึง่ มีสิทธิใช้ชื่อสกุลนั้นได้ต่อไป แต่เมือ่ จะสมรสใหม่ ให้
กลับไปใช้ชื่อสกุลเดิมของตน”
หลักการเปลีย่ นชื่อสกุล

• วิธีการเปลีย่ นชื่อสกุลเมือ่ สิ้ นสุดการสมรส


1. เมือ่ สิ้ นสุดการสมรสโดยการหย่า/โดยคำพิพากษาของศาล/ตาย
2. ให้คู่สมรสซึ่งใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ ายหนึง่ ยืน่ คำร้องต่อนายทะเบียน
ท้องที่ ทีต่ นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
3. พร้อมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่สำคัญและเกีย่ วข้อง
4. เมือ่ นายทะเบียนท้องทีต่ รวจสอบแล้วเห็นว่าถูกต้อง ให้สงอนุั ่ ญาต
และออกหนังสือสำคัญการเปลีย่ นชื่อสกุลให้
(ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการทะเบียนชื่อบุคคล 2551 ข้อ 20,21)
หลักการเปลีย่ นชื่อสกุล
• การเปลีย่ นชื่อสกุลด้วยเหตุอื่น
1. เช่น บุตรเปลีย่ นชื่อสกุลไปใช้ของบิดาหรือมารดา บุตรบุญธรรม
เปลีย่ นไปใช้ชื่อสกุลของผูร้ บั บุตรบุญธรรม เป็ นต้น
2. ให้ผูม้ ีความประสงค์จะเปลีย่ นชื่อสกุล ยืน่ คำร้องต่อนายทะเบียน
ท้องที่ ทีต่ นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
3. พร้อมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่สำคัญและเกีย่ วข้อง
4. เมือ่ นายทะเบียนท้องทีต่ รวจสอบแล้วเห็นว่าถูกต้อง ให้สงอนุ
ั ่ ญาต
และออกหนังสือสำคัญการเปลีย่ นชื่อสกุลให้
(ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการทะเบียนชื่อบุคคล 2551 ข้อ 22)
หลักการใช้ชื่อสกุล
• การขอใช้ราชทินนามเป็ นชื่อสกุล
1. ผูใ้ ดประสงค์จะใช้ราชทินนามของตน ของผูบ้ ุพการีหรือของผูส้ ืบสันดาน
เป็ นชื่อสกุล
2. ให้ยนื่ คำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ ทีต่ นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
3. พร้อมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่สำคัญและเกีย่ วข้อง
4. ให้นายทะเบียนท้องทีเ่ สนอต่อไปตามลำดับชั้น เพือ่ ให้รฐั มนตรีนำความ
กราบบังคมทูล
5. เมือ่ ได้รบั พระบรมราชานุ ญาตแล้ว ให้นายทะเบียนท้องทีร่ บั จดทะเบียน และ
ออกหนังสือสำคัญแสดงการรับจดทะเบียนชื่อสกุลให้
(พ.ร.บ.ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 19,ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการทะเบียนชื่อบุคคล 2551 ข้อ 11,12)
หลักการใช้ชื่อสกุล
• การใช้ชื่อสกุลของผูส้ ืบสายราชตระกูล
1. มีบรรดาศักดิ์หรือราชทินนาม ไม่ตอ้ งใช้ชื่อสกุล
(ตั้งแต่พระองค์เจ้าขึ้ นไป)
2. หม่อมเจ้า หม่อมราชวงศ์ หม่อมหลวง ให้ใช้ชื่อสกุลต่อนาม
3. ผูส้ ืบสายราชตระกูลลำดับถัดลงมา ให้ใช้สร้อย “ ณ อยุธยา”
ต่อท้ายชื่อสกุล
4. ใช้สร้อย “ ณ อยุธยา” ต่อท้ายชื่อสกุลได้
- เฉพาะผูส้ ืบสายราชตระกูลโดยตรง (บุตรบุญธรรม ภริยา)
- นับได้แต่ฝ่ายชาย
(ประกาศให้หม่อมเจ้าใช้นามสกุล เมือ่ วันที่ 5 มิถุนายน 2472)
หลักการใช้ชื่อสกุล
• การใช้ชื่อสกุลของบุตร
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1561
“บุตรมีสิทธิใช้ชื่อสกุลของบิดา
กรณีบดิ าไม่ปรากฏ บุตรก็ย่อมมีสิทธิใช้ชื่อสกุลของมารดา”
คำพิพากษาฎีกาที่ 1283/2522
เมือ่ บิดาและมารดายินยอมพร้อมใจกันให้บุตรใช้ชื่อสกุลของ
มารดา จึ งไม่ตอ้ งห้ามตาม ป.พ.พ. มาตรา 1561
นส.มท.ที่ มท 0402/ว 1303 ลว. 29 พ.ย. 27
กำหนดแนวทางวิธีการใช้ชื่อสกุลของบุตร ชอบ/ไม่ชอบ กม.
ในการแก้ไขเพือ่ ใช้ชื่อสกุลของบิดาหรือของมารดา
หลักการใช้ชื่อสกุล
• การใช้ชื่อสกุลของบุตรบุญธรรม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1598/28
“บุตรบุญธรรมย่อมมีฐานะอย่างเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมาย”
ข้อสังเกต
1. การใช้ชื่อสกุลพระราชทาน
- ต้องขอพระบรมราชานุญาต/ใช้สร้อย “ณ อยุธยาไม่ได้
2. ขณะเป็ นบุตรบุญธรรมไม่ตอ้ งใช้ชื่อสกุลของผูร้ บั บุตรบุญธรรม
ก็ได้ (ใช้ชื่อสกุลได้ตามสิทธิ เพราะไม่มีกฎหมายกำหนดไว้)
หลักการใช้ชื่อสกุล

• การอุทธรณ์ 1
พ.ร.บ. ชื่อบุคคล 2505 มาตรา 18
- นายทะเบียนสังไม่
่ รบั จดทะเบียนชื่อสกุล
- ผูข้ อจดทะเบียนมีสิทธิอุทธรณ์คำสังต่ ่ อรัฐมนตรี
- ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทราบคำสัง่
- คำอุทธรณ์ให้ยนื่ ต่อนายทะเบียนท้องที่
- คำวินจิ ฉัยของรัฐมนตรีให้เป็ นทีส่ ุด
หลักการใช้ชื่อสกุล
• การอุทธรณ์ 2
ระเบียบ มท.ว่าด้วยทะเบียนชื่อบุคคล 2551 ข้อ 24
- นายทะเบียนสังไม่ ่ อนุญาตให้เปลีย่ นชื่อตัว/ตั้งหรือ
เปลีย่ นชื่อรอง/ร่วมใช้ชื่อสกุล/เปลีย่ นชื่อสกุล
- ผูย้ นื่ คำขออุทธรณ์เป็ นหนังสือต่อนายทะเบียนท้องที่
ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทราบคำสัง่
- หากนายทะเบียนท้องทีเ่ ห็นด้วย ให้เปลีย่ นแปลงคำสัง่
- หากไม่เห็นด้วยให้รายงานความเห็นพร้อมเหตุผลไปยัง
นายทะเบียนจังหวัด ซึ่งต้องพิจารณาอุทธรณ์ให้เสร็จภายใน 30 วัน
หลักการใช้ชื่อสกุล
• การขอใบแทน
1. หนังสือสำคัญเกีย่ วกับทะเบียนชื่อบุคคลชำรุดในสาระสำคัญ
หรือสูญหาย
2. ผูม้ ีส่วนได้เสียยืน่ คำขอออกใบแทนต่อนายทะเบียนท้องที่
ทีต่ นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
3. พร้อมเอกสารหลักฐานสำคัญและเกีย่ วข้อง
4. นายทะเบียนท้องทีเ่ ห็นว่าถูกต้อง ให้ออกใบแทน
5. หากต่างสำนักทะเบียน/ตรวจสอบได้ ให้ดำเนินการเช่นเดียวกัน
(ระเบียบ มท. ว่าด้วยการทะเบียนชื่อบุคคล 2551 ข้อ 31,32)
หลักการใช้ชื่อสกุล
• การขอสำเนาและรับรองสำเนารายการทะเบียนชื่อบุคคล
1. ผูม้ ีส่วนได้เสียยืน่ คำขอได้ที่สำนักทะเบียนกลาง/สำนัก
ทะเบียนจังหวัด/นายทะเบียนท้องที่
2. พร้อมเอกสารหลักฐานที่สำคัญและเกีย่ วข้อง
4. นายทะเบียนตรวจสอบเห็นว่าถูกต้อง
5. ให้ทำสำเนาและรับรองสำเนาตามทีร่ อ้ งขอ

(ระเบียบ มท. ว่าด้วยการทะเบียนชื่อบุคคล 2551 ข้อ 33,34)


ผูม้ ีส่วนได้เสีย
• ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการทะเบียนชื่อบุคคล ข้อ 35
1. ผูจ้ ดทะเบียน หรือผูม้ ีรายการชื่อเป็ นเจ้าของหนังสือสำคัญ หรือผูม้ ี
รายการชื่อเป็ นเจ้าของหนังสืออนุ ญาต หรือผูม้ ีรายการชื่อเป็ นเจ้าของหนังสือ
รับรองตามระเบียบนี้
2. คู่สมรส บุพการี ผูส้ ืบสันดาน ผูร้ บั บุตรบุญธรรม บุตรบุญธรรม หรือ
ผูป้ กครองของบุคคลตาม (1)
3. ผูซ้ ึ่งนายทะเบียนกลาง หรือนายทะเบียนจังหวัด หรือนายทะเบียนท้องที่
เห็นว่ามีหรืออาจมีส่วนได้เสียเกีย่ วกับทะเบียนชื่อบุคคลนั้น ไม่ว่าทางตรงหรือ
ทางอ้อม
อัตราค่าธรรมเนียม

1. การออกหนังสือสำคัญแสดงการเปลีย่ นชื่อตัวหรือชื่อรอง ฉบับละ 50 บาท


2. การออกหนังสือสำคัญแสดงการรับจดทะเบียนตั้งชื่อสกุล ฉบับละ 100 บาท
3. การออกหนังสือสำคัญแสดงการรับจดทะเบียนชื่อสกุล
(ก) การเปลีย่ นชื่อสกุลเพราะเหตุสมรส
(1) การเปลีย่ นครั้งแรกภายหลังการสมรส หรือเปลีย่ นเพราะการสมรสสิ้ นสุด
ลง ไม่ตอ้ งเสียค่าธรรมเนียม
(2) การเปลีย่ นแปลงครั้งต่อๆ ไป ฉบับละ 50 บาท
(ข) การเปลีย่ นชื่อสกุลเพราะเหตุอื่น ฉบับละ 100 บาท
4. การออกใบแทนหนังสือสำคัญตาม (1) (2) หรือ (3) ฉบับละ 25 บาท
คนไทยในต่างประเทศ
• มอบอำนาจให้ญาติทีอ่ าศัยอยู่ในประเทศทำการแทนได้
1. มอบได้ทุกกรณีทีเ่ กีย่ วกับทะเบียนชื่อบุคคล
2. ทำเป็ นหนังสือมอบอำนาจ ระบุให้ชดั เจนว่ามอบให้ใคร มีอำนาจจัดการเรือ่ งใดบ้าง
พร้อมเอกสารหลักฐานที่สำคัญและเกีย่ วข้อง
3. ให้พนักงานทูต/กงสุล ณ ประเทศนั้น ลงชื่อรับรองลายมือชื่อผูม้ อบอำนาจ พร้อมพยาน
4. ให้ผูร้ บั มอบอำนาจนำใบมอบอำนาจพร้อมเอกสารหลักฐานไปยืน่ คำขอต่อ
นายทะเบียนท้องที่ ทีผ่ ูม้ อบอำนาจมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
5. กรณีประเทศนั้นไม่มีสถานทูต/กงสุล ให้เจ้าพนักงานโนตารีป่ ํ บลิก/แมยิสเตร็ด/บุคคล
อื่นซึ่งกฎหมายแห่งท้องถิน่ ตั้งให้เป็ นผูม้ ี อำนาจ และต้องมีใบสำคัญทีร่ ฐั บาลแต่งตั้งมาแสดง
6. ผูท้ ีร่ บั โทษจำคุกอยู่ในเรือนจำ สามารถมอบอำนาจได้เช่นกัน

(หนังสือ ป.ค. ที่ มท 0309.3/ว 1828 ลว. 10 ก.ย. 47 และที่ มท 0309.3/8554 ลว. 18 พ.ค.
50)
ทะเบียนชื่อบุคคล
• ข้อสังเกต
1. จะตั้งชื่อโดยใช้พยัญชนะอย่างเดียวได้หรือไม่ เช่น “รรรรร”
อ่านว่า ระ-รอน-รอน หรือ “รรรรรร” อ่านว่า ระ-รน-ระ-รน
2. ใช้คำพ้องเสียงแต่มีความหมายเดียวกัน เช่น “สวัสดิ์มงคล”
อ่านว่า สะ-หวัด-มง-คน กับ “สวัสดิมงคล”อ่านว่า สะ-หวัด-ดิ-มง-คน
หรือ “บุญรัตน์สายัณย์” อ่านว่า บุน-รัด-สา-ยัน กับ “บุญรัตนสายัณย์”
อ่านว่า บุน-รัด-ตะ-นะ-สา-ยัน
3. ใช้ตวั สะกดไม่ถูกต้องตามหลักภาษาไทย เช่น “กมลโรฒณ์”
“รชฏ”
ทะเบียนชื่อบุคคล

ขอบคุณค่ะ

You might also like