You are on page 1of 2

การจดทะเบียนหย่ า

1. แนวปฏิบัติ
 สถานเอกอัครราชทูตฯ รับจดทะเบียนหย่าเฉพาะคู่สมรสที่จดทะเบียนสมรสตามกฎหมายไทย
เท่านัน้
 การขอจดทะเบียนหย่ าที่สถานเอกอัครราชทูตฯ จะทาได้ เฉพาะในกรณีท่ เี ป็ นการหย่ า
โดยความยินยอมสมัครใจของทัง้ สองฝ่ ายเท่ านัน้ และทังสองฝ่
้ ายได้ หารื อข้ อตกลงร่วมกัน
เพื่อทาการบันทึกในทะเบียนหย่า เช่น อานาจปกครองบุตรที่เกิดร่วมกัน การแบ่งทรัพย์สิน หรื อ
อาจแจ้ งว่า ไม่ประสงค์จะบันทึกรายละเอียดก็ได้
 การขอจดทะเบียนหย่าทัง้ สองฝ่ ายจะต้ องไปติดต่ อยื่นคาร้ องด้ วยตนเอง ที่สถานเอกอัครราชทูตฯ
เนื่องจากการจดทะเบียนหย่านัน้ ผู้ร้องขอจดทะเบียนหย่าต้ องลงลายมือชื่อต่อหน้ านายทะเบียน
และพยานสองคน

2. เอกสารที่ใช้ ในการจดทะเบียนหย่ า
ผู้ยื่นคาร้ องทังฝ่้ ายชายและฝ่ ายหญิง ต้ องยื่นเอกสารเหมือนกัน ดังนี ้
1. คาร้ องขอนิตกิ รณ์
2. คาร้ องขอจดทะเบียนหย่า และบันทึกคาสอบสวน
3. ทะเบียนสมรสฉบับจริง ของทังสองฝ่ ้ าย พร้ อมสาเนา 1 ชุด
4. หนังสือเดินทางซึง่ ยังมีอายุใช้ งานได้ พร้ อมสาเนา 1 ชุด
5. ทะเบียนบ้ านไทย และทะเบียนบ้ านออสเตรี ย / สโลวัก / สโลวีเนีย พร้ อมสาเนา 1 ชุด
6. บัตรประจาตัวประชาชน พร้ อมสาเนา 1 ชุด
7. ใบเปลี่ยนชื่อ และ / หรื อ นามสกุล (กรณีมีการเปลี่ยน) พร้ อมสาเนา 1 ชุด

3. ขัน้ ตอนการจดทะเบียนหย่ า
 ติดต่อฝ่ ายกงสุล สถานเอกอัครราชทูตฯ เพื่อนัดหมายวัน และเวลา ล่วงหน้ า (โทร 01 4783335
19 ระหว่าง 14.00-17.00 น.)
 ในวันนัดหมาย ผู้ร้องขอจดทะเบียนหย่าต้ องไปปรากฎตัวต่อหน้ านายทะเบียนทัง้ สองคน
 ผู้ร้องขอจดทะเบียนหย่า ต้ องนาพยานบุคคล 2 คน ไปด้ วย
4. การดาเนินการหลังการหย่ า
 หากฝ่ ายหญิงเป็ นบุคคลสัญชาติไทย จะต้ องไปยื่นคาร้ องขอแก้ ไขรายการบุคคล (คานาหน้ าชื่อ
ชื่อสกุล ในเอกสารทะเบียนราษฎร์ ตา่ งๆ (ทะเบียนบ้ านที่ตนมีชื่ออยูใ่ นประเทศไทย บัตรประจา
ตัวประชาชน และหนังสือเดินทาง) ให้ เรี ยบร้ อยโดยเร็ ว
 หากไม่สะดวกที่จะเดินทางกลับไปดาเนินการในประเทศไทยด้ วยตนเอง สามารถมอบอานาจให้
ผู้อื่นที่บรรลุนิตภิ าวะดาเนินการแทนได้ โดยทาเป็ นหนังสือมอบอานาจผ่านการรับรองจากเจ้ า
หน้ าที่กงสุล (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้ อการทาหนังสือยินยอมและการมอบอานาจ)
 การทาบัตรประชาชนใหม่ ผู้ร้องจาเป็ นต้ องไปดาเนินการด้ วยตนเองที่อาเภอที่ตนมีชื่อในทะเบียน
บ้ าน ไม่สามารถมอบอานาจให้ กระทาการแทนกันได้ จึงควรต้ องพิจารณาดาเนินการเมื่อเดินทาง
กลับประเทศไทยในโอกาสแรก

5. ข้ อแนะนา

 ถึงแม้ จะมีระเบียบอนุโลมให้ สานักงานทะเบียนในต่างประเทศ ซึง่ หมายถึงสถานทูต หรื อสถาน


กงสุลไทยในต่างประเทศรับจดทะเบียนการหย่ าต่ างสานักทะเบียน (หมายถึงกรณี ทีค่ ่สู มรส
มี ความประสงค์จะจดทะเบียนหย่าต่างแห่ง และต่างเวลากัน โดยต่างฝ่ ายต่างไปยืน่ คาร้องขอ
หย่าพร้อมหนังสื อสัญญาการหย่าต่อนายทะเบี ยนคนละสานักทะเบี ยน คนละเวลา โดยตกลง
ว่า คู่หย่าฝ่ ายใดจะเป็ นผู้ยืน่ คาร้ องขอจดทะเบี ยนหย่าก่อนที ส่ านักทะเบี ยนใด และจะให้สานัก
ทะเบี ยนใดเป็ นผูจ้ ดทะเบี ยนให้ การหย่าโดยวิ ธีนีจ้ ะมี ผลสมบูรณ์ ต่อเมื ่อการจดทะเบี ยนแห่งที ่
สองเรี ยบร้อยแล้ว) แต่สถานทูตฯ แนะนาให้ ผ้ รู ้ องไปดาเนินการในประเทศไทยเพื่อความสะดวกใน
การตรวจสอบความถูกต้ องของเอกสาร และความรวดเร็ว เนื่องจากการจดทะเบียนหย่าที่สถานทูตฯ
จะต้ องใช้ เวลานานในการส่งกลับเอกสารสาคัญไปยังประเทศไทย เพื่อส่งต่อไปยังสานักงาน
ทะเบียนแห่งที่สองในการดาเนินเอกสาร และเท่าที่ปรากฏ ผู้ร้องมักมีปัญหาในการกรอกข้ อมูล
โดยเฉพาะในการบันทึกข้ อความหลังการหย่าเกี่ยวกับอานาจการปกครองบุตร รายละเอียดการ
แบ่งทรัพย์สิน ฯลฯ ซึง่ จะเป็ นปั ญหาตามมาหลังการหย่า

You might also like