You are on page 1of 112

สิทธิและหน้ าที-

ระหว่างบิดามารดาและบุตร

กฎหมายลักษณะครอบครัว
รศ.ดร.มาตาลักษณ์ เสรเมธากุล
มาตรา 89:8
• บุตรมีสิทธิใช้ชื/อสกุลของบิดา
ในกรณี ที/บิดาไม่ปรากฏ บุตรมีสิทธิใช้ชื/อสกุลของ
มารดา
คําพิพากษาฎีกาที- 8ABC/A9AA
• ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์ มาตรา
FGHF บุตรมีสิทธิใช้ชื/อสกุลของบิดา ในกรณี บิดาไม่
ปรากฏบุ ต รมี สิ ทธิ ใช้ ชื/ อ สกุ ล ของมารดาเป็ น
บทบัญ ญัติ ให้ สิ ทธิ แก่ บุ ต รมิ ไ ด้ บ ัง คับ ว่ า ต้ อ งใช้
เช่ น นั นN บุต รชอบที/ จ ะใช้ ชื/ อ สกุล อื/ น ได้ แ ม้ ป รากฏ
บิดาอันชอบด้วยกฎหมายบิดามารดายอมให้ บุตร
ใช้ชื/อสกุลของมารดาได้
คําพิพากษาฎีกาที- 8EC9/A9AC
• เด็กเกิดจากบิดามารดามิได้จดทะเบียนสมรสตาม
กฎหมาย บิ ด าแสดงต่ อ สาธารณชนทัว/ ไปว่ า เป็ น
บุตรมีสูติบตั รระบุชื/อบิดา เด็กนันN มีสิทธิใช้ ชื/อสกุล
ของบิ ด า ไม่ เ ป็ นละเมิ ด ต่ อ ภริ ย าโดยชอบด้ ว ย
กฎหมายของบิดา
มาตรา 89:A
• ผู้ ใ ด จ ะ ฟ้ อ ง บุ พ ก า รี ข อ ง ต น เ ป็ น ค ดี แ พ่ ง ห รื อ
คดี อาญามิได้ แต่ เมื/อผู้นันN หรือญาติสนิทของผู้นันN
ร้องขอ อัยการจะยกคดีขึนN ว่ากล่าวก็ได้
คําพิพากษาฎีกาที- 8CFC/AEF9
• มารดาซึ/ งเป็ นผู้ใช้อาํ นาจปกครองบุตรผู้เยาว์ฟ้อง
เรี ย กค่ า อุ ป การะเลีN ย งดู บุ ต รจากบิ ด าได้ ไ ม่ เ ป็ น
อุทลุมเพราะฟ้ องในฐานะส่ วนตัวของตนเองไม่ใช่
ฟ้ องในนามของเด็ก
คําพิพากษาฎีกาที+ ---//012, -41-//012
และ 89://;9-
• บุตรเขยฟ้ องมารดาของภริยาได้ ไม่เป็ นอุทลุม
คําพิพากษาฎีกาที- ABB/A9G:
• บุตรซึ/งเป็ นผูเ้ ยาว์ใช้สิทธิฟ้องคดีด้วยตนเองยังมิได้
ผู้ใช้ อาํ นาจปกครองจึงใช้ สิทธินันN แทนด้วยอํานาจ
กฎหมายในฐานะผู้แทนโดยชอบธรรมโดยมิต้องให้
บุตรมอบอํานาจ เมื/อบุตรนันN ไม่มีสิทธิฟ้องบุพการี
ผู้แทนโดยชอบธรรมก็ไม่มีสิทธิฟ้องด้วยเพราะเป็ น
คดีอทุ ลุม เหตุนีNโจทก์ในฐานะผู้แทนโดยชอบธรรม
จึ ง ฟ้ องจํา เลยซึ/ ง เป็ นย่ า ของบุต รผู้เ ยาว์มิ ไ ด้ ต้ อ ง
ร้ อ งขอให้ พ นั ก งานอัย การยกคดี นีN ขึN น กล่ า วตาม
ช่องทางที/กฎหมายให้ไว้
คําพิพากษาฎีกาที- F:8/A9GF
• การที/ ศาลเรียกบิดาโจทก์เข้ามาเป็ นจําเลยร่วมกับ
จํ า เลยในคดี เนื/ องจากศาลเห็ น สมควรเพื/ อ
ประโยชน์ แห่งความยุติธรรมตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา GZ (\) ข. การที/ บิดา
โจทก์ถกู เรียกเข้ามาในคดี ไม่ใช่เป็ นการกระทําของ
โจทก์ เรียกไม่ได้ว่าโจทก์ฟ้องบุพการีของตนจึงไม่
เป็ นคดีอทุ ลุม
คําพิพากษาฎีกาที- 8CAG/A9G:
• บุตรไม่ชอบด้วยกฎหมายฟ้ องบิดาเรียกทรัพย์ที/ยืม
ไปคืนได้ ไม่เป็ นอุทลุม
คําพิพากษาฎีกาที- CCC/A98:
• บุตรเป็ นโจทก์ฟ้องมารดาในฐานะผู้จดั การมรดก
เป็ นจํา เลยได้ ไม่ ต้ อ งห้ า ม เพราะบุ ต รหาได้ ฟ้ อง
มารดาในฐานะส่วนตัวที/ เป็ นมารดาอันจะพึงถือว่า
เป็ นกรณี พิพาทระหว่างบุตรกับมารดาไม่
คําพิพากษาฎีกาที- A8HF/A9AA
• บุต รฟ้ องมารดาขอเพิ ก ถอนการโอนที/ ดิ น ซึ/ ง เป็ น
มรดกได้แก่โจทก์ แต่ มารดาเอาไปขายแก่ผ้อู ื/นเสีย
โจทก์ฟ้องมารดาไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา FG\` ที/ ใ ช้ อ ยู่ใ นขณะนั นN จึ ง
ฟ้ องผูร้ บั โอนไม่ได้ด้วย
คําพิพากษาฎีกาที- 8ECA/A9AA
• สามีภริยาไม่จดทะเบียนสมรสหย่าและตกลงกันให้
แบ่ ง ที/ ดิ น ยกให้ เ ป็ นของบุ ต ร เมื/ อ ภริ ย าไม่ ป ฏิ บ ตั ิ
ตามข้อตกลง สามีฟ้องบังคับให้ แบ่งตามข้อตกลง
ได้ โดยฟ้ องในนามตนเองให้ ภ ริ ย าปฏิ บัติ ตาม
ข้ อ ตกลง ซึ/ ง ไม่ เ ป็ นการที/ บุต รฟ้ องบิ ด ามารดาไม่
ต้องห้าม
คําพิพากษาฎีกาที- AGE:/A9A:
• ในกรณี ที/ไม่อาจฟ้ องบุพการีได้ เพราะต้องห้ามตาม
กฎหมาย จึ ง ร้ อ งขอให้ พ นั ก งานอัย การเป็ นโจทก์
ดํา เนิ นคดี แ พ่ ง แทนนั Nน พนั ก งานอัย การเป็ นตัว
โจทก์ว่าความเอง จึงไม่มีสิทธิได้รบั ค่าทนายความ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
คําพิพากษาฎีกาที- AE8A/A9AH
• ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์ มาตรา FGHa
เป็ นบทบัญญัติตดั สิทธิห้ามมิให้ ฟ้องผู้บุพการีของ
ตน จึ ง ต้ อ งแปลโดยเคร่ ง ครัด การที/ ศ าลมี ค ํา สัง/
เรียกบิดาโจทก์เข้ามาเป็ นจําเลยร่วมกับจําเลยใน
คดี ต ามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ่ ง
มาตรา GZ (\) (ข) ยังเรียกไม่ได้ว่าโจทก์ฟ้องบุพการี
ของตน จึงไม่ต้องห้ามตามมาตรา FGHa
คําพิพากษาฎีกาที- 8998/AEFE
• บิดาฟ้ องมารดาเป็ นจําเลย หาว่าร้องเรียนเท็จแจ้ง
ความเท็จ ระหว่ า งพิ จ ารณาบิ ด าตาย บุต รจึ ง ร้ อ ง
ขอรับ มรดกความแทนบิ ดา ดังนีN ก็นั บ ได้ ว่าอยู่ใน
ฐานะเป็ นผู้ฟ้ องบุ พ การี ข องตนด้ ว ยข้ อ ห้ า มตาม
ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์ มาตรา FG\`
(บรรพ G เดิม ตรงกับมาตรา FGHa บรรพ G ใหม่)
คําพิพากษาฎีกาที- AC:/A9AF
• โจทก์ที' ) อยู่ในฐานะผู้สืบสัน ดานคื อเป็ นหลานจําเลย
จําเลยอยู่ในฐานะเป็ นยายย่อมเป็ นบุพการีของโจทก์ที' )
การที' โ จทก์ ที' ) ฟ้ องจํ า เลยจึ ง เป็ นการฟ้ องบุ พ การี
ต้ องห้ ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
PQR) โจทก์ที' ) จึงไม่มีอาํ นาจฟ้ องจําเลย สําหรับโจทก์ที' P
เป็ นเพี ย งบุ ต รเขย ไม่ ไ ด้ เ ป็ นผู้สื บ สัน ดานของจํา เลย
จํา เลยไม่ ไ ด้ เ ป็ นบุ พ การี ข องโจทก์ที' P ฟ้ องโจทก็จึ ง ไม่
ต้องห้ามทังT หมด โจทก์ที' P ซึ'งเป็ นเจ้าของรวมอยู่ด้วยใน
ที'พิพาทย่อมมีอาํ นาจดําเนินคดีต่อไปได้
คําพิพากษาฎีกาที- ACBH/A9AF
• โจทก์ในฐานะผู้จดั การมรดกของ พ. สามีโจทก์ฟ้อง
จําเลยซึ/งเป็ นยายโจทก์ในฐานะผู้จดั การมรดกของ
อ. ตามสัญญาจะขายที/ ดินของ อ. ระหว่างจําเลยผู้
จะขายกับ พ. ผูจ้ ะซืNอ ดังนีN โจทก์หาได้ฟ้องจําเลยใน
ฐานะส่ ว นตัว ของโจทก์แ ละในฐานะส่ ว นตัว ของ
จําเลยไม่แม้สญ ั ญาจะขายที/ดินมิได้ระบุว่าจําเลยทํา
ในฐานะผู้จดั การมรดกก็หาทําให้ เป็ นฟ้ องในฐานะ
ส่ ว นตัว จํา เลยไม่ จึ ง มิ ใ ช่ ค ดี อุท ลุม โจทก์มี อ ํา นาจ
ฟ้ องจําเลยได้
คําพิพากษาฎีกาที- AAH/A9CA
• ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา FGHa ที/
ห้ ามฟ้ องบุพการีของตนเป็ นคดี แพ่งหรือคดี อาญา
เป็ นบทกฎหมายที/ จ ํา กัด สิ ทธิ ต้ อ งตี ค วามโดย
เคร่ ง ครัด จึ ง ห้ า มเฉพาะบุ ต รที/ ช อบด้ ว ยกฎหมาย
ฟ้ องบุพการีของตนเท่านันN
คําพิพากษาฎีกาที- AA:B/A9CC
• โจทก์ฟ้องบิดาเป็ นจําเลยให้ รบั รองโจทก์เป็ นบุตร
ดังนั นN ขณะยื/นฟ้ องโจทก์กย็ งั ไม่เป็ นบุตรชอบด้ วย
กฎหมายของจํา เลย คดี ข องโจทก์ จึ ง ไม่ เ ป็ นคดี
อุ ท ลุ ม ไม่ ต้ องห้ ามมิ ให้ ฟ้ องคดี ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา FGHa
คําพิพากษาฎีกาที- 8FG/A9C:
• จํา เลยที/ a เป็ นบุต รเขยของโจทก์ โจทก์จึ ง ไม่ ใ ช่
บุ พ การี ข องจํา เลยที/ a การที/ จ ํา เลยที/ F ซึ/ ง เป็ น
บุตรสาวโจทก์ยินยอมให้ จาํ เลยที/ a ผู้เป็ นสามีฟ้อง
แย้งขับไล่โจทก์ออกจากที/พิพาทอันเป็ นสินสมรสได้
ก็ไม่ถือว่าจําเลยที/ F ฟ้ องคดี ด้วย เพราะจําเลยที/ a
ฟ้ องคดีในนามของตนเอง ไม่ได้ฟ้องแทนจําเลยที/ F
จึ ง ไม่ ต้ อ งห้ า มตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และ
พาณิชย์ มาตรา FGHa จําเลยที/ a มีอาํ นาจฟ้ องแย้ง
คําพิพากษาฎีกาที- EB8:/A9CH
• จํา เลยที/ a ให้ ก ารต่ อ สู้ ค ดี ว่ า โจทก์ ท ังN สามไม่ มี
อํานาจฟ้ องเพราะเป็ นการฟ้ องบุพการีตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา FGHa แต่ ปัญหา
ดังกล่าวเป็ นเหตุเฉพาะตัวระหว่างโจทก์ทงั N สามซึ/ ง
เป็ นบุตรกับจําเลยที/ F ซึ/ งเป็ นบิดาเท่ านั นN ไม่มีผล
ไปถึงจําเลยที/ a ซึ/งเป็ นบุคคลภายนอกด้วย จําเลยที/
a ไม่อาจยกเรื/องห้ามฟ้ องจําเลยที/ F มาเป็ นข้อต่อสู้
โจทก์ทงั N สามได้
คําพิพากษาฎีกาที- 9EH/A9EB
• จําเลยที> @ กับมารดาโจทก์ทงั B สองอยู่กินด้วยกันฉั นสามีภริยา
ตังB แต่ พ.ศ. MNOP อันเป็ นเวลาภายหลังใช้ ป.พ.พ. บรรพ U เดิม
แต่ ไ ม่ ไ ด้ จ ดทะเบี ย นสมรสกัน ทังB ไม่ ป รากฏว่ า จํา เลยที> @ จด
ทะเบียนรับโจทก์ทงั B สองเป็ นบุตร หรือศาลพิพากษาว่าโจทก์ทงั B
สองเป็ นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของจําเลยที> @ โจทก์ทงั B สอง
จึ ง เป็ นเพี ย งบุ ต รที> ไม่ ช อบด้ ว ยกฎหมายของจํ า เลยที> @
บทบัญญัติของ ป.พ.พ. มาตรา @U\M ที>ห้ามฟ้ องบุพการีของตนเป้
นคดีแพ่งและคดีอาญาเป็ นบทกฎหมายที>จาํ กัดสิทธิ ต้องตีความ
โดยเคร่งครัด จึงต้ องถือว่าข้อห้ ามดังกล่าวเป็ นการห้ ามเฉพาะ
บุต รโดยชอบด้ ว ยกฎหมายฟ้ องบุพ การี ข องตนเท่ า นั นB ฉะนั นB
โจทก์ทงั B สองซึ> งไม่ใช่ บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของจําเลยที> @
จึงมีสิทธิฟ้องจําเลยที> @ ได้ ไม่เป็ นการต้องห้ามตามมาตรา @U\M
มาตรา 89:C
• บุตรจําต้องอุปการะเลีNยงดูบิดามารดา
คําพิพากษาฎีกาที- EHH/A98E
• บุ ต รที/ ช อบด้ ว ยกฎหมายเท่ า นั Nน มี ห น้ าที/ ต้ อ ง
อุปการะเลีNยงดูบิดามารดา
คําพิพากษาฎีกาที- :A9/A989
• การที/บุตรตายลงเพาะการละเมิดทําให้โจทก์ผ้เู ป็ น
บิ ด าต้ อ งขาดไร้ อุป การะจากผู้ต ายตามกฎหมาย
โจทก์ชอบที/จะได้รบั ค่าสินไหมทดแทนในการที/ต้อง
ขาดไร้อุปการะนั นN โดยไม่ต้องพิจารณาว่าโจทก์มี
ฐานะดีหรือไม่
คําพิพากษาฎีกาที- FC9/A98:
• บุ ต รถูก ทํา ให้ ต ายโดยประมาท บิ ด ามารดาของ
ผู้ตายมีสิทธิที/จะได้ค่าทดแทนในการที/ ต้องขาดไร้
อุ ป การะ โดยไม่ ต้ อ งพิ จ ารณาว่ า ปั จ จุ บ นั บุ ต รได้
อุปการะบิดามารดาอยู่หรือไม่
คําพิพากษาฎีกาที- 8BGF-8B8G/A9AC
• ค่าอุปการะเลีNยงดูที/บตุ รมีต่อบิดามารดานันN เป็ นหนีN
ที/ จ ะแบ่ ง กัน ชํา ระมิ ไ ด้ เมื/ อ บิ ด าฟ้ องจํา เลยที/ ทํ า
ละเมิดต่ อบุตรถึงตายเรียกค่าขาดไร้อุปการะ ย่อม
มี สิ ทธิ เรี ย กค่ า อุ ป การะเลีN ย งดู ไ ด้ ท ั งN หมดเพื/ อ
ประโยชน์ แ ก่ ภ ริ ย าซึ/ ง เป็ นเจ้ า หนีN แม้ บิ ด ามิ ไ ด้ ร บั
มอบอํานาจจากมารดาให้ฟ้องก็ตาม
คําพิพากษาฎีกาที- 8ECH/A9A:
• โจทก์ที/ F มิใช่บิดาโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย
ส่ ว นโจทก์ที/ a เป็ นมารดาของผู้ต าย เมื/อ โจทก์ท งั N
สองฟ้ องเรี ย กค่ า ขาดไร้ อุป การะมา Hc,ccc บาท
โดยมิ ไ ด้ แ ยกเรี ย กร้ อ งว่ า โจทก์ แ ต่ ล ะคนขาดไร้
อุปการะเท่าใด และได้ความว่าโจทก์ที/ a แต่ผ้เู ดียว
มีสิทธิได้รบั ค่าขาดไร้อปุ การะเป็ นเงิน Hc,ccc บาท
โจทก์ ที/ a จึ ง มี สิ ท ธิ ไ ด้ ร บั ค่ า ขาดไร้ อุ ป การะเต็ ม
จํานวน
คําพิพากษาฎีกาที- 8BC8/A9A:
• จําเลยเป็ นบุตรโจทก์กบั อ.ซึ>งมิได้จดทะเบียนสมรสกัน โจทก์มี
สายตาไม่ ป กติ ม องเห็ น เพี ย งรางๆ มิ ไ ด้ ป ระกอบอาชี พ ไม่ มี
รายได้จึงอยู่ในฐานะเป็ นฝ่ ายที> ควรได้รบั ค่าอุปการะเลีBยงดูจาก
จําเลย แต่ รายได้ จากมรดกที> รบั จาก อ. เป็ นค่ าเช่ าซึ> งเพี ยงพอ
สําหรับการศึ กษาและค่ าใช้ จ่ายส่ วนตัวของจําเลยเท่ านั นB เงิน
ส่ วนแบ่งที> ได้ จากการขายที ดินมรดก จําเลยก็ให้ โจทก์ไปส่ วน
หนึ> งก่อนฟ้ องแล้ว โจทก์ยงั มีบิดามารดาและบุตรที> เกิดจากสามี
ใหม่ ซึ>งคนโตก็บรรลุนิติภาวะแล้ว ทังB ก่อนมาอยู่กรุงเทพฯ โจทก์
ก็พ กั อาศัย อยู่ก บั บิ ด ามารดา เมื> อ คํา นึ ง ถึ ง ความสามารถของ
จําเลยซึ>งมีส่วนในการที> จะต้องให้การอุปการะเลีBยงดู ฐานะของ
โจทก์และพฤติการณ์แห่งกรณี แล้ว จําเลยได้ให้การอุปการะเลีBยง
ดู แ ก่ โ จทก์ ใ นส่ ว นของจํา เลยเป็ นการเพี ย งพอแก่ อ ัต ภาพใน
คําพิพากษาฎีกาที- CBGG/A9CC
• ผู้ตายเป็ นบุตรมีหน้ าที/อุปการะเลีNยงดูโจทก์ทงั N สอง
ซึ/ งเป็ นบิดามารดาตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา FGH\ จําเลยที/ \ กระทําละเมิดเป็ น
เหตุ ใ ห้ โ จทก์ ท ั Nง สองต้ องขาดไร้ อุ ป การะตาม
กฎหมาย โจทก์ ท ังN สองจึ ง มี สิ ทธิ ได้ ร ับ ชดใช้ ค่ า
สินไหมทดแทนในส่วนนีN ไม่ว่าผู้ตายจะอยู่ในฐานะ
ที/จะอุปการะโจทก์ทงั N สองได้หรือไม่
มาตรา 89:E
• บิดามารดาจําต้องอุปการะเลีNยงดูและให้การศึกษา
ตมสมควรแก่บตุ รในระหว่างที/เป็ นผูเ้ ยาว์
• บิดามารดาจําต้ องอุปการะเลีNยงดูบุตรซึ/ งบรรลุนิติ
ภาวะแล้วแต่เฉพาะผูท้ ุพพลภาพและหาเลีNยงตนเอง
ได้
คําพิพากษาฎีกาที- 8:G8/AEFA
• บุตรที/ ไม่ชอบด้วยกฎหมายไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่า
อุ ป การะเลีN ย งดู จ ากผู้ที/ ฆ่ า บิ ด า ส่ ว นบุ ต รที/ บิ ด า
รับรองแล้ว แม้เป็ นบุตรที/ ไม่ชอบด้วยกฎหมายก็มี
สิทธิในฐานะผู้สืบสันดานจึงมีสิทธิฟ้องเรียกค่าทํา
ศพจากผูฆ ้ ่าบิดาตนได้
คําพิพากษาฎีกาที- AGB9/AEFF
• มารดาของเด็กมีสิทธิฟ้องชายที/ ได้เสี ยกับตนโดย
ไม่ได้จดทะเบียนสมรส ขอให้รบั รองบุตรซึ/งเกิดจาก
ชายนันN และเรียกค่าอุปการะเลีNยงดูบุตรนันN รวมใน
คดีเดียวกันได้ ไม่จาํ เป็ นจะต้องรอให้ศาลพิพากษา
เด็ ก เป็ นบุ ต รเสี ย ก่ อ น แล้ ว จึ ง จะฟ้ องเรี ย กค่ า
อุปการะเลีNยงดูภายหลัง
คําพิพากษาฎีกาที- :HH/A9G8
• มารดาต้องอุปการะเลีNยงดูบตุ รที/บรรลุนิติภาวะแล้ว
เฉพาะเมื/อบุตรทุพพลภาพและหาเลีNยงตนเองไม่ได้
จํา เลยละเมิ ด ทํา ให้ ม ารดาโจทก์ต าย โจทก์ว้ า เหว่
ขาดที/ เ คารพรัก และขาดอุ ป การะที/ ม ารดาดู แ ล
บ้ า นเรื อ นและบุ ต รโจทก์ ไม่ เ รี ย กว่ า โจทก์ ข าด
อุปการะและตามกฎหมายโจทก์เรียกค่าทดแทนใน
ส่วนนีN ไม่ได้
คําพิพากษาฎีกาที- 88E:/A98C
• บุตรนอกสมรสที/บิดาได้รบั รองแล้วมีสิทธิที/จะได้รบั
มรดกในฐานะผู้ สื บ สัน ดาน แต่ ไ ม่ มี สิ ทธิ ได้ ค่ า
อุปการะเลีNยงดูหรือฟ้ องเรียกค่าอุปการะเลีNยงดูจาก
ผู้ที/ทาํ ให้ ผ้ตู ายถึงแก่ความตาย (คําพิพากษาฎี กาที/
513/2546)
คําพิพากษาฎีกาที- 8E/A98H
• บิดาโจทก์ถกู ทําละเมิดถึงแก่ความตายและรถยนต์
เสี ย หายโจทก์ ซึ/ ง เป็ นบุ ต รนอกกฎหมายซึ/ ง บิ ด า
รับรองแล้ว มีสิทธิฟ้องเรียกค่าปลงศพบิดาและค่า
สิ นไหมทดแทนที/ ร ถยนต์ เ สี ย หาย (อ้ า งฎี ก าที/
1601/2492)
คําพิพากษาฎีกาที- :AC/A98F
• โจทก์บรรยายฟ้ องว่าเกิด พ.ศ. )XYQ แต่ไม่ระบุวนั เดือน
เกิ ด ต้ อ งถื อ ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์
มาตรา PR ว่า เกิ ดวัน ที' P มกราคม )XYQ นั บถือวัน เกิ ด
เหตุ ย ัง ไม่ ค รบ )[ ปี บริ บู ร ณ์ จึ ง มี สิ ทธิ เรี ย กค่ า ขาด
อุป การะเลีT ย งดู เพราะจํา เลยทํา ละเมิ ด ให้ ม ารดาโจทก์
ตายได้ แม้มีบิดาเป็ นผูใ้ ช้อาํ นาจปกครอง มารดาก็ยงั ต้อง
อุ ป การะบุ ต ร ข้ อ ที' ไ ม่ มี ผู้แ ทนโดยชอบธรรม เป็ นแต่
บกพร่ อ งเรื' อ งความสามารถที' แ ก้ ไ ขได้ ต ามประมวล
กฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ่ ง มาตรา QR ไม่ ใ ช่ ไ ม่ มี
อํานาจฟ้ อง แต่ ในชันT ฎี กาโจทก์บรรลุนิติภาวะแล้ว ก็ไม่
คําพิพากษาฎีกาที- 8C9/A9AA
• ทําละเมิดทําให้บิดาตาย บุตรฟ้ องผู้ทาํ ละเมิดเรียก
ค่าขาดอุปการะเลีNยงดูตามมาตรา ``\ ไม่ใช่ เรียก
ตามมาตรา FGH` ไม่อยู่ในอํานาจของศาลคดี เด็ก
และเยาวชน
คําพิพากษาฎีกาที- AA8H/A9AE
• จําเลยเป็ นฝ่ ายละเมิดทําให้สามีโจทก์และบิดาโจทก์ถึงแก่
ความตาย เมื' อ สามี ต ายภริ ย าย่ อ มขาดไร้ อุป การะจาก
สามีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา PXRP
และเมื'อ บิ ด าตายบุต รผู้เ ยาว์ก็ย่ อ มขาดไร้อุป การะจาก
บิดาตามมาตรา PQRX โจทก์ในคดีนีTซึ'งเป็ นภริยาและบุตร
ผู้เยาว์ของผู้ตาย จึงย่อมมีสิทธิได้รบั ค่าสินไหมทดแทน
เพื' อ การขาดไร้อุปการะนั นT ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง
และพาณิชย์ มาตรา XX_ วรรคสาม โดยไม่ต้องคํานึ งถึง
ว่าผู้ตายจะมี ฐานะยากดี มีจนอย่างไร เพราะเป็ นสิทธิที'
ผูเ้ สียหายจะถึงได้รบั ชดใช้ตามกฎหมาย
คําพิพากษาฎีกาที- 8FF8/A9AH
• ขณะ ช. ตาย ร. และ ภ. บุตร มีอายุ Y ปี เศษ และ Q ปี เศษ
ตามลํา ดับ ร. และ ภ. ชอบที' จ ะได้ ร ับ ชดใช้ ค่ า ขาดไร้
อุ ป การะตลอดไปจนกว่ า อายุ จ ะบรรลุ นิ ติ ภาวะตาม
ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์ มาตรา PQRX
กําหนดเวลาที' ได้รบั ชดใช้ค่าขาดไร้อปุ การะแม้เกิด P[ ปี
ก็เป็ นไปตามที' กฎหมายบัญญัติไว้ หาเป็ นการขัดกันกับ
กํ า หนดระยะเวลาที' โ จทก์ ที' P ได้ ร ับ ชดใช้ ค่ า ขาดไร้
อุปการะไม่ เมื'อ ร. และ ภ. เจริญเติบโตขึTนก็จาํ เป็ นต้ อง
ได้ ร บั การศึ ก ษาสูง ขึTน และได้ ร บั การเลีTยงดูเ พิ' มมากขึTน
ตามลําดับ ที' ศาลคิดถัวเฉลี'ยค่าขาดไร้อุปการะตลอดไป
จนกว่าจะบรรลุนิติภาวะเป็ นเงินคนละ )Q,[[[ บาทต่ อปี
จึ ง เป็ นการพอสมควรและเหมาะสมแก่ ฐ านะของ ช.
คําพิพากษาฎีกาที- 8:F8/A9AB
• บิ ดาและมารดามี หน้ าที> ร่วมกัน ให้ การอุปการะเลีBยงดูและให้
การศึกษาแก่บตุ รผูเ้ ยาว์ อันเป็ นลูกหนีB ร่วมกัน จึงต้องรับผิดเป็ น
ส่ ว นเท่ า ๆ กัน เว้ น แต่ จ ะได้ ก ํา หนดไว้ เ ป็ นอย่ า งอื> น ซึ> ง อาจ
กําหนดโดยนิติกรรมสัญญาหรือตามที>กฎหมายบัญญัติไว้
• สามีภริยาหย่าขาดจากกัน และตกลงให้ บุตรผู้เยาว์อยู่ในความ
ปกครองของฝ่ ายหนึ> งโดยมิได้ตกลงกันว่าฝ่ ายที>ปกครองบุตรนันB
จะเป็ นผู้อ อกค่ า อุป การะเลีB ย งดูบุ ต รแต่ ฝ่ ายเดี ย ว ดัง นีB ฝ่ ายที>
ปกครองบุตรย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกค่าอุปการะเลีBยงดูบุตรจากอีก
ฝ่ ายหนึ> งตังB แต่วนั หย่าจนถึงวันฟ้ อง เพื>อแบ่งส่วนความรับผิดใน
ฐานะที> เ ป็ นลุ ก หนีB ร่ ว มกัน ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และ
พาณิชย์ มาตรา MMf และมาตรา Mf\ ส่วนค่าอุปการะเลีBยงดูบตุ ร
สมควรจําเป็ นจํานวนเท่ าใด ศาลมี อาํ นาจกําหนดตามมาตรา
1522
คําพิพากษาฎีกาที- ACF9/A9AF
• ผู้ตายมีหน้ าที/ ต้องอุปการะเลีNยงดูบุตรที/ บรรลุนิติ
ภาวะแล้ ว เฉพาะผู้ทุพ พลภาพและหาเลีN ย งตนเอง
ไม่ได้ตามมาตรา FGH` วรรคสอง เท่านันN เมื/อโจทก์
ที/ a ถึง ที/ G บรรลุนิ ติ ภ าวะแล้ ว และไม่ไ ด้ ค วามว่า
เป็ นผู้ทุพ พลภาพหาเลีNยงตนเองไม่ไ ด้ จึง ไม่อยู่ใน
ข่ายที/ จะได้รบั ค่าขาดเลีNยงอุปการะตามมาตรา ``\
วรรคสาม
คําพิพากษาฎีกาที- 8GHC/A9CF
• เมื'อศาลมี คําพิ พ ากษาถึงที' สุดในคดี ก่อนว่าผู้เยาว์เป็ น
บุ ต รของจํา เลย จํา เลยในฐานะบิ ด าจึ ง มี ห น้ าที' ต้ อ ง
อุป การะเลีT ย งดูแ ละให้ ก ารศึ ก ษาตมสมควรแก่ บุต รใน
ระหว่ า งที' เ ป็ นผู้เ ยาว์ ต ามประมวลกฎหมายแพ่ ง และ
พาณิ ชย์ มาตรา PQRX วรรคหนึ' ง โจทก์ใ นฐานะมารดา
ผู้ แ ทนโดยชอบธรรมย่ อ มมี สิ ทธิ ฟ้ องคดี นีT เรี ย กค่ า
อุป การะเลีT ย งดูบุต รจากจํา เลยแทนบุต รผู้เ ยาว์โ ดยคิ ด
ย้อนหลังไปตังT แต่ วนั ที' มีคาํ พิพากษาของศาลถึงที' สุดว่า
ผู้เ ยาว์เ ป็ นบุต รของจํา เลยเพื' อ แบ่ง ส่ ว นความรับ ผิ ด ใน
คําพิพากษาฎีกาที- HAEF/A9E:
• ป.พ.พ. มาตรา PXRX บัญ ญัติ ว่ า บิ ด ามารดาจํา ต้ อ ง
อุปการะเลีTยงดูและให้ การศึ กษาตามสมควรแก่ บุตรใน
ระหว่างที' เป็ นผู้เยาว์ เมื'อ อ. และ พ. เป็ นบุตรผู้เยาว์ของ
โจทก์ โจทก์จึงต้ องมีหน้ าที' ให้ การอุปการะเลีTยงดูและให้
การศึกษาตามสมควรดังที'กฎหมายบัญญัติไว้ แม้ว่าโจทก์
และจําเลยได้จดทะเบียนหย่าขาดจากกันและจําเลยเป็ น
ผู้ใ ช้ อ ํา นาจปกครองบุต รผู้เ ยาว์ท ังT สองแต่ เ พี ย งผู้เ ดี ย ว
โจทก์ก็ย งั มี ห น้ า ที' ต้ อ งชํา ระค่ า อุป การะเลีT ย งดูแ ก่ บุ ต ร
ผูเ้ ยาว์ทงั T สองตามกฎหมาย
คําพิพากษาฎีกาที- A:FH/A9EB
• ในกรณี ที/บิดาหรือมารดาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ/ งได้ชําระ
ค่าอุปการะเลีNยงดูบตุ รผูเ้ ยาว์ไปฝ่ ายเดียวทังN หมด ก็
ย่อมมีสิทธิเรียกร้องเอาจากอีกฝ่ ายหนึ/ งนับแต่วนั ที/
ชําระค่าอุปการะไปฝ่ ายเดียวซึ/งถือว่าเป็ นวันที/ อาจ
บังคับสิทธิเรียกร้องได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ มาตรา Fq\/\\ (`) ประกอบมาตรา
193/12
มาตรา 89::
• บุ ต รซึ/ ง ยัง ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะต้ อ งอยู่ ใ ต้ อํ า นาจ
ปกครองของบิดามารดาอํานาจปกครองอยู่กบั บิดา
หรือมารดาในกรณี ต่อไปนีN
• (F) มารดาหรือบิดาตาย
• (a) ไม่แน่ นอนว่ามารดาหรือบิดามีชีวิตอยู่หรือตาย
• ( \) ม า ร ด า ห รื อ บิ ด า ถู ก ศ า ล สั ง/ ให้ เป็ น ค น ไ ร้
ความสามารถหรื อ เสมื อ นไร้ ค วามสามารถหรื อ
เสมือนไร้ความสามารถ
มาตรา 89:: (ต่อ)
• (`) มารดาหรือบิดาต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล
เพราะจิตฟัน/ เฟื อน
• / อาํ นาจปกครองอยู่กบั บิดาหรือมารดา
(G) ศาลสังให้
• (H) บิ ด าและมารดาตกลงกัน ตามที/ มี ก ฎหมาย
บัญญัติไว้ให้ตกลงกันได้
คําพิพากษาฎีกาที- A:G8/A9C:
• เมื/อบิดามารดาหย่าขาดจากกันโดยตกลงให้ผ้เู ยาว์
อยู่ในความปกครองของมารดา ดังนันN บิดาย่อมไม่
มีอาํ นาจปกครองบุตรตาม ป.พ.พ. มาตรา FGac ,
FGHH (H) อํานาจปกครองจึงตกแก่มารดาแต่ผ้เู ดียว
มารดาจึ ง มี อ ํ า นาจให้ ความยิ นยอมในการที/
บุค คลภายนอกจะรับ ผู้เ ยาว์ไ ด้ เ พี ย งลํา พัง โดยไม่
จําต้ องใช้ สิทธิทางศาล ขอให้ สงอนุ
ั / ญาตแทนบิดา
อีก
คําพิพากษาฎีกาที- 8GGA/A9CH
• บิ ดามิได้ ใช้ อํานาจปกครองเกี> ยวกับ ตัวผู้เยาว์โดยมิชอบหรือ
ประพฤติชวร้ ั > ายตาม ป.พ.พ. มาตรา @UOM เพี ยงแต่ ไม่สามารถ
ปกครองดูแลผู้เยาว์ให้ ได้ รบั ความผาสุกอันอาจเป็ นเหตุทําให้
สุขภาพจิตของผู้เยาว์เสื>อมลงเท่ านันB กรณี จึงไม่มีเหตุที>จะถอน
อํา นาจปกครองบิ ด า แต่ ต ามพฤติ ก ารณ์ ข องคดี ไ ด้ ค วามว่ า
ความผูก พัน ทางจิ ต ใจของมารดาที> มี ต่ อ ผู้เ ยาว์จ ะแนบแน่ น
มากกว่าผูเ้ ป็ นบิดา แม้มารดาได้มีโอกาสปกครองดูแลผูเ้ ยาว์บา้ ง
เป้ ฯครังB คราวชัวระยะเวลาอั
> นสันB ผู้เยาว์กลับประสงค์จะอยู่กบั
มารดา แสดงว่าผูเ้ ยาว์ขาดความอบอุ่นทางจิตใจขณะอยู่กบั บิดา
เมื>อผู้เยาว์มีความผูกพันกับมารดามากกว่าบิดา การที>ผ้เู ยาว์อยู่
กับมารดาจะมี ผลดี ต่อสุขภาพจิตของผู้เยาว์ จึงเห็นสมควรให้
การใช้อาํ นาจปกครองผู้เยาว์อยู่กบั มารดาฝายเดียวตาม ป.พ.พ.
คําพิพากษาฎีกาที- 88:/A9EH
• ปั จจุบนั เด็กชาย อ. อยู่ในความดูแลของจําเลยที> @ หลังจากจบ
ชันB ประถมศึ ก ษาปี ที> M แล้ ว เด็ก ชาย อ. ได้ ม าพัก อาศัย อยู่ก บั
จําเลยที> @ จําเลยที> @ เป็ นผูอ้ อกค่าเล่าเรียนทังB หมด ก่อนหน้ านีB ก็
เคยอยู่ ก ับ จํา เลยที> @ และย่ า ที> บ้ า นของย่ า ที> อํา เภอหาดใหญ่
จังหวัดสงขลา ยิ>งกว่านันB ตามรายงานแสดงข้อเท็จจริงเกี>ยวกับ
ผู้เยาว์ของพนักงานคุมประพฤติ ระบุว่าเด็กชาย อ. ประสงค์จะ
อยู่ก บั จํา เลยที> @ มากกว่ า อยู่ก บั โจทก์ ดัง นั นB แม้ โ จทก์ซึ> ง เป็ น
บิดาจะไม่ปรากฏว่ามีความประพฤติเสียหายหรือไม่เหมาะสมที>
จะเป็ นผู้ใช้ อาํ นาจปกครองเด็กชาย อ. แต่ โจทก์เป็ นข้าราชการ
ต้ องย้ายไปรับราชการในที> ต่างๆ ตลอดมา ทังB เด็กชาย อ. อายุ
ประมาณ @M ปี ขณะนีB อยู่ ใ นความดู แ ลของจํา เลยที> @ เมื> อ
คํานึ งถึงความผาสุก ความผูกพันระหว่างมารดากับบุตร การที>
ผู้ เ ยาว์ อ ยู่ ก ั บ จํ า เลยที> @ จะมี ผ ลดี ต่ อสุ ข ภาพของผู้ เ ยาว์
เห็นสมควรให้จาํ เลยที> @ ใช้อาํ นาจปกครองเด็กชาย อ. แต่เพียง
มาตรา 89:H
• ผูใ้ ช้อาํ นาจปกครองมีสิทธิ
• (F) กําหนดที/อยู่ของบุตร
• (a) ทําโทษบุตรตามสมควรเพื/อว่ากล่าวสังสอน /
• (\) ให้บุตรทําการงานตามสมควรแก่ความสามารถ
และฐานานุรปู
• (`) เรี ยกบุต รคื น จากบุค คลอื/ น ซึ/ ง กักบุต รไว้โดยมิ
ชอบด้วยกฎหมาย
คําพิพากษาฎีกาที- 8E8/AEFH
• บิดาของเด็กผู้เยาว์ยงั มีชีวิตอยู่ มารดาของเด็กซึ/ง
ตายไปก่ อ นบิ ด า ทํา พิ นั ย กรรมตังN ป้ า ของเด็ก เป็ น
ผู้ป กครองเด็ก การแต่ ง ตังN นั นN ไม่มี ผ ลเพราะไม่ใ ช่
พินัยกรรมของบิดาหรือมารดาซึ/ งตายที หลัง บิดา
ย่อมเป็ นผูใ้ ช้อาํ นาจปกครองเรียกเด็กคืนจากป้ าได้
คําพิพากษาฎีกาที- BAE/AEFB
• มารดาผูใ้ ช้อาํ นาจปกครองเรียกบุตรคืนจากอาของ
บุตรซึ/งไม่ยอมคืนบุตรมาให้ได้
คําพิพากษาฎีกาที- F8:/A98F
• บุตรนอกกฎหมายอยู่ในอํานาจปกครองของมารดา
เด็ ก อยู่ ก ั บ ผู้ ใ ด ผู้ นั N น ไม่ ย อมคื น ให้ ม ารดาเด็ ก
มารดาเด็กฟ้ องให้ส่งเด็กแก่ตนได้
คําพิพากษาฎีกาที- 8EBH/A9A9
• โดยสายโลหิตแล้วโจทก์เป็ นบิดาที>แท้จริงของ จ.และโจทก์ยงั ได้
จดทะเบียนรับรองว่า จ. เป็ นบุตรของตนอีกขันB หนึ> งด้วย โจทก์จึง
เป็ นบิดาโดยชอบด้วยกฎหมายของ จ. นับตังB แต่ วนั จดทะเบียน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา @UUl และเป็ น
ผูป้ กครองของ จ. ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
@U\\ โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกบุตรของตนคืนจากน้ าของบุตรคือ
จําเลยที> M ซึ> งไม่ยอมคื น บุตรให้ ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง
และพาณิชย์ มาตรา @U\l (N)
• ขณะโจทก์จดทะเบียน จ. เป็ นบุตรนันB มารดาของ จ. ถึงแก่กรรม
ไปแล้วและขณะนันB จ. มีอายุเพียง @ ปี เศษมารดา จ. และ จ. จึง
ไม่อาจคัดค้านหรือให้ความยินยอมในการจดทะเบียนได้ การจด
ทะเบียนดังกล่าวจึงไม่ขดั ต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา @UNO
คําพิพากษาฎีกาที- C9H8/A9A9
• จําเลยใช้ผ้เู ยาว์อายุ q ปี เศษขึNนขย่มให้ผลกระท้อน
หล่ น จากต้ น แล้ ว มิ ไ ด้ ใ ช้ ค วามระมัด ระวัง ในการ
ป้ องกันมิให้ เกิดอันตรายแก่ ผ้เู ยาว์โดยงดเว้นมิได้
ตักเตื อนมิให้ ผ้เู ยาว์ทาํ งานมากเกินไป ผู้เยาว์ขย่ม
ต้นกระท้อนอยู่ครึ/งชัวโมงเป็
/ นเหตุให้แขนไม่มีกาํ ลัง
พอที/ จะยึดเหนี/ ยวกิ/งไม้ไว้ได้ จึงตกลงมาตาย ดังนีN
เป็ นการกระทํา ละเมิ ด ต่ อผู้เยาว์แ ละต่ อโจทก์ผ้ใู ช้
อํานาจปกครองผู้เยาว์ด้วย จําเลยจึงต้ องรับผิดต่ อ
โจทก์
มาตรา 89:F
• ผู้ใช้ อาํ นาจปกครองเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรมของ
บุ ต ร ใ น ก ร ณี ที/ บุ ต ร ถู ก ศ า ล สั ง/ ใ ห้ เ ป็ น ค น ไ ร้
ความสามารถหรื อ เสมื อ นไร้ ค วามสามารถผู้ใ ช้
อํา นาจปกครองย่ อ มเป็ นผู้อ นุ บ าลหรื อ ผู้พิ ท ัก ษ์
แล้วแต่กรณี
คําพิพากษาฎีกาที- A99B/A9CA
• ลู ก จ้ า งประสบอัน จรายถึ ง แก่ ค วามตายเนื' องจากการ
ทํางาน และอธิบดีกรมแรงงานมีคาํ สังให้ ' นายจ้างจ่ายค่า
ทดแทนให้ แก่มารดา สามีและบุตร เป็ นการจ่ายเงินเพื'อ
การคุ้ม ครองแรงงาน ไม่ ใ ช่ ค่ า สิ น ไหมทดแทนเพื' อ การ
ละเมิ ด โจทก์ซึ' ง เป็ นสามี ข องลูก จ้ า งผู้ต ายยัง คงมี สิ ท ธิ
เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเรื'องละเมิดได้ในตอนต้นของ
คําฟ้ องโจทก์มีชื'อโจทก์เพียงผู้เดียวแต่โจทก์เป็ นบิดาผู้ใช้
อํ า นาจปกครองและเป็ นผู้ แ ทนโดยชอบธรรมของ
เด็ก หญิ ง จ. และปรากฏในคํา ฟ้ องว่ า โจทก์ก บั นาง ส.
ผู้ต ายมี บุ ต รด้ ว ยกัน คื อ เด็ก หญิ ง จ. ทังT โจทก์ เ รี ย กค่ า
อุปการะเลีTยงดูไว้เป็ นจํานวนเงินชัดเจน ถือได้ว่าโจทก์ได้
ฟ้ องคดีในฐานะบิดาผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ด้วย
คําพิพากษาฎีกาที- 888E/A9C9
• โจทก์ ทังT สามยัง ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ ต้ อ งอยู่ ใ ต้ อํา นาจ
ปกครองของบิดามารดาตาม ป.พ.พ. มาตรา PQRR วรรค
แรก ทังT คดี ไม่ปรากฏว่าอํานาจปกครองอยู่กบั บิดาหรือ
มารดาแต่ ฝ่ ายเดี ยวดังเงื'อ นไขที' ระบุไว้ ใ นมาตรา PQRR
วรรคสอง ต้ องถือว่าโจทก์ทงั T สามอยู่ใต้ อาํ นาจปกครอง
ของบิดามารดาทังT สองคน บิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ' ง
จึงมีสิทธิใช้อาํ นาจปกครองโจทก์ทงั T สามได้ มารดาจึงเป็ น
ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมตามมาตรา PQRY มีสิทธิฟ้องคดีแทน
โจทก์ทงั T สามได้ ข้อเท็จจริงรับฟั งได้ว่าที' ดินตามฟ้ องเป็ น
กรรมสิ ท ธe ิ ของโจทก์ท งั T สาม มิ ใ ช่ สิ น สมรสระหว่ า งสามี
ภริยา ส. ในฐานะผู้แทนโดยชอบธรรมของโจทก์ทงั T สาม
จึงมี อาํ นาจฟ้ องคดี ได้ ตามลําพังโดยไม่ต้องได้ รบั ความ
คําพิพากษาฎีกาที- EBA/A9CH
• โจทก์ ย ั ง ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ ต้ องอยู่ ใ ต้ อํ า นาจ
ปกครองของบิดามารดา ตาม ป.พ.พ. มาตรา FGHH
แม้บิดาโจทก์ยงั มีชีวิตอยู่กห็ าเป็ นเหตุให้โจทก์ไม่อยู่
ใต้อาํ นาจปกครองของมารดาไม่ เมื/อมารดายังเป็ น
ผู้ใ ช้ อ ํา นาจปกครอง โจทก์จึ ง เป็ นผู้แ ทนโดยชอบ
ธรรมของโจทก์ตามมาตรา FGHq มีอาํ นาจฟ้ องคดี
แทนโจทก์
มาตรา 89HG
• คํา บอกกล่ า วที/ ผู้ใ ช้ อํา นาจปกครองตามมาตรา
FGHH หรือมาตรา FGHr แจ้งไปหรือรับแจ้งมา ให้ถือ
ว่าเป็ นคําบอกกล่าวที/ บุตรได้รบั แจ้งไปหรือรับแจ้ง
มา
คําพิพากษาฎีกาที- HGEC/A9EG
• สัญญาประกันชี วิตที> โจทก์ได้ให้ ถ้อยคําในฐานะเป็ นผู้แทนโดย
ชอบธรรมของเด็ก หญิ ง ภ. ถื อ เสมื อ นเด็ก หญิ ง ภ. เป็ นผู้ใ ห้
ถ้ อ ยคํา ด้ ว ยตนเองนั Bน เป็ นปั ญ หาข้ อ กฎหมายตาม ป.พ.พ.
มาตรา @UlP ที> กาํ หนดว่า คําบอกกล่าวที> ผ้ใู ช้อาํ นาจปกครองได้
แจ้งไปหรือรับแจ้งมา ให้ถือว่าเป็ นคําบอกกล่าวที> บุตรได้แจ้งไป
หรือรับแจ้งมา การแจ้งของโจทก์จึงเป็ นการแจ้งแทนบุตรผู้เยาว์
ส่ วนการแจ้ งจะเป็ นเท็จ อันจะทําให้ สญ ั ญาประกัน ชี วิตตกเป็ น
โมฆี ยะ และจําเลยได้ บอกล้างโดยชอบแล้วหรือไม่ เป็ นปั ญหา
ข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญในประเด็นแห่งคดี ศาลอุทธรณ์ ยงั
ไม่ได้วินิจฉั ยตามที> โจทก์ได้อุทธรณ์ ไว้ ศาลฎี กาจึงย้อนสํานวน
ให้ศาลอุทธรณ์ วินิจฉัยข้อเท็จจริงดังกล่าวและพิพากษาใหม่ตาม
รูปความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา
มาตรา 89H8
• อํา นาจปกครองนั Nน รวมทังN การจัด การทรัพ ย์สิ น
ของบุตรด้วย และให้จดั การทรัพย์สินนันN ด้วยความ
ระมัดระวังเช่นวิญsูชนจะพึงกระทํา
คําพิพากษาฎีกาที- :98/A9GH
• บิดาซึ'งเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรมของบุตรผู้เยาว์ มีหน้ าที'
จัดการทรัพย์สินของบุตรด้วยความระมัดระวังเช่นวิญfู
ชนจะพึงกระทํา หากผู้แทนโดยชอบธรรมไม่ดแู ลหรือใช้
ทรัพ ย์สิ น โดยผิ ด หน้ า ที' ทังT บุต รก็มิ ไ ด้ รู้เ ห็น เป็ นใจด้ ว ย
ดัง นีT ไม่ มี ก ฎหมายใดที' จ ะให้ บุ ต รต้ อ งรับ ผิ ด ร่ ว มด้ ว ย
จําเลยซึ'งเป็ นลูกจ้างของบิดานํ าเรือยนต์และถุงลากปลา
ของบุ ต รผู้เ ยาว์ไ ปกระทํา ผิ ด ตามพระราชบัญ ญัติ ก าร
ประมง จนศาลพิพากษาให้ลงโทษจําเลยและริบของกลาง
บุตรผูเ้ ยาว์ของบิดาซึ'งมิได้ร้เู ห็นเป็ นใจด้วยในการกระทํา
ผิ ด ของจํา เลยย่ อ มมี สิ ท ธิ ร้ อ งขอให้ ศ าลสังคื ' น เรื อ ยนต์
และถุงลากปลาของกลางได้
คําพิพากษาฎีกาที- H9C/A9GB
• มารดาครอบครองที/ มรดกไว้แทนบุตรตังN แต่ เยาว์
จนกระทังมารดาตาย
/ ก็ไม่ปรากฏว่ามารดาได้แสดง
ว่าไม่เจตนายึดถือครอบครองที/ มรดกนันN แทนบุตร
ดัง นีN แม้ จ ะเป็ นเวลาช้ า นานเท่ า ใด ก็ไ ม่ ข าดอายุ
ความตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์
มาตรา FZG` และมารดาไม่ มี สิ ทธิ จะนํ าเอา
ทรัพย์สินส่วนของบุตรไปทําพินัยกรรมยกให้แก่คน
อื/นได้
คําพิพากษาฎีกาที- A9GG/A9A9
• บุตรจําเลยซึ/งเป็ นผู้เยาว์ถือกรรมสิทธt ิ รวมกับโจทก์
ในที/ดินพิพาท จําเลยย่อมมีอาํ นาจจัดการทรัพย์สิน
ของบุตรได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา FGZF การที/ จ ํา เลยปลู ก สร้ า งโรงเรื อ นใน
ที/ดินของบุตร ถือได้ว่าเป็ นการจัดการทรัพย์สินของ
บุตรทังN ได้ปลูกในส่วนที/ เป็ นของบุตร จึงไม่เป็ นการ
ขัดต่ อสิท ธิแห่ งโจทก์ผ้เู ป็ นเจ้าของรวม โจทก์ไม่มี
สิทธิที/จะบังคับให้จาํ เลยรือN ถอนออกไปได้
มาตรา 89HE
• นิ ติ กรรมใดอั น เกี/ ย วกั บ ทรัพ ย์ สิ นของผู้ เ ยาว์
ดังต่ อไปนีN ผู้ใช้ อาํ นาจปกครองจะกระทํามิได้ เว้น
แต่ศาลจะอนุญาต
• (F) ขาย แลกเปลี/ ย น ขายฝาก ให้ เ ช่ า ซืN อ จํา นอง
ป ล ด จํ า น อ ง ห รื อ โ อ น สิ ท ธิ จํ า น อ ง ซึ/ ง
อสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ที/อาจจํานองได้
คําพิพากษาฎีกาที- HE/AEF9
• ยื/น คํา ร้อ งต่ อ ศาลขอเป็ นผู้ป กครองเฉพาะทํา นิ ติ
กรรมขายที/ ดินของเด็กแทนเด็ก ศาลไต่ สวนแล้วมี
คํา สัง/ อนุ ญ าต เมื/ อ ปรากฏว่ า การซืN อ ขายนั Nน ได้
กระทํา โดยสมยอมกัน ขายในราคาตํ/า และปิ ดบัง
ความจริงต่อศาล เด็กก็ย่อมมีสิทธิฟ้องขอให้ทาํ ลาย
นิติกรรมการซืNอขายนันN เสียได้
คําพิพากษาฎีกาที- EFBE/A9CH
• ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์ มาตรา @UlN ที> บ ัญ ญัติ
เกี> ย วกับ การขายอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ ข องผู้เ ยาว์ ซึ> ง ผู้ใ ช้ อํา นาจ
ปกครองจะกระทํามิได้เว้นแต่ศาลจะอนุญาตนันB เป็ นเจตนารมณ์
ของกฎหมายที> จ ะให้ มี ก ารคุ้ ม ครองทรัพ ย์ สิ นและกิ จการ
บางอย่างที>สาํ คัญของผูเ้ ยาว์ เมื>อศาลได้ไต่สวนแล้วเห็นเป็ นการ
สมควรก็ส ัง> อนุ ญ าต แล้ ว ผู้แ ทนโดยชอบธรรมจึ ง จะอาศัย คํา
อนุญาตของศาลไปทํานิติกรรมได้ ในเมื>อผู้แทนโดยชอบธรรม
ต้ องห้ามโดยกฎหมายมิให้ทาํ นิติกรรมขายที> ดิน ซึ> งหมายความ
รวมถึงนิติกรรมจะขายที> ดินแทนผู้เยาว์โดยลําพังแล้ว จะถือว่า
การที> ผ้เู ยาว์ทํานิติกรรมพร้อมกับผู้แทนโดยชอบธรรมมีผลว่า
ผู้แทนโดยชอบธรรมอนุญาตให้ทาํ ได้โดยไม่ต้องขออนุญาตจาก
ศาลก่ อนก็เท่ ากับเป็ นการหลี กเลี> ยงไม่ต้อ งมาขออนุ ญาตจาก
คําพิพากษาฎีกาที- EFBE/A9CH (ต่อ)
ฉะนั Bน สัญ ญาจะซืB อ จะขายที> พิ พ าทที> จ ํา เลยที> n ได้ ก ระทํา ใน
ขณะที>ยงั เป็ นผูเ้ ยาว์ แม้จาํ เลยที> @ ซึ>งเป็ นบิดและเป็ นผูใ้ ช้อาํ นาจ
ปกครองจําเลยที> n จะทําสัญญาในสัญญาฉบับ เดี ยวกันก็ตาม
สัญญาจะซืB อจะขายที> พิพาทดังกล่าวก็ไม่มีผลผูกพันจําเลยที> n
และกรณี มิ ใ ช่ โ มฆี ย กรรม แม้ ภ ายหลัง จํา เลยที> n จะบรรลุ นิ ติ
ภาวะโดยการสมรส จํา เลยที> n ก็ไ ม่ อ าจให้ ส ตั ยาบัน ได้ การที>
จําเลยที> n แม้จะเป็ นเข้าของที>ดินร่วมกับจําเลยที> M ได้ทาํ สัญญา
จะซืBอจะขายที>ดินดังกล่าวให้โจทก์ในสัญญาฉบับเดียวแต่จาํ เลย
ที> M และที> n หาได้เป็ นลูกหนีB ร่วมกันไม่ ดังนั นB แม้สญ ั ญาจะไม่
ผูกพันจําเลยที> n ก็ไม่มีผลเพียงทําให้ จาํ เลยที> n ไม่จาํ ต้ องขาย
ที> ดินเฉพาะส่วนของตนให้ แก่โจทก์เท่ านันB ส่วนสัญญาจะซืBอจะ
ขายระหว่างโจทก์กบั จําเลยที> M มี ผลสมบูรณ์ บงั คับกันได้ ตาม
กฎหมาย จําเลยที> M จึงต้ องขายที> ดินเฉพาะส่ วนของตนให้ แก่
คําพิพากษาฎีกาที- :9F9/A9CF
• นอกจากจําเลยที/ F จะเป็ นทายาทของผู้ตายและ
เป็ นมารดาผู้แทนโดยชอบธรรมของทายาทซึ/งเป็ น
ผู้เยาว์ด้วยแล้ว ก็ยงั เป็ นผู้จดั การมรดกของผู้ตาย
ด้วยเมื/อจําเลยที/ F ขายที/พิพาทไปในขอบอํานาจใน
ฐานะผู้จดั การมรดก ไม่ใช่ ในฐานะผู้แทนโดยชอบ
ธรรมของบุต รผู้เ ยาว์ จึ ง เป็ นเรื/ อ งผู้จ ดั การมรดก
ขายทรัพย์มรดกซึ/งจะนําประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิ ชย์ มาตรา FGZ` มาใช้ บ งั คับ ไม่ไ ด้ นิ ติ กรรม
ขายที/พิพาทจึงไม่เป็ นโมฆะ
มาตรา 89HE (ต่อ)
• (G) ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์เกินสามปี
คําพิพากษาฎีกาที- BH:/A98:
• บิ ดาผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ทําสัญญาให้
เช่ าอสังหาริมทรัพย์ของผู้เยาว์มีกาํ หนดเกินกว่า \
ปี โดยไม่ได้รบั อนุญาตจากศาล สัญญาเช่ าซึ/ งมีผล
ใช้ บงั คับได้เพียง \ ปี หลังจากนั นN สัญญาหาผูกพัน
ผู้เ ยาว์ ไ ม่ และกรณี เช่ น นีN ไม่ ใ ช่ โ มฆี ย ะกรรมอัน
ผูเ้ ยาว์จะให้สตั ยาบันได้
คําพิพากษาฎีกาที- 8FBH/A98:
• บิ ด าผู้แ ทนโดยชอบธรรมของโจทก์ใ ห้ จ าํ เลยเช่ า
อาคารตลอดชี วิตของจําเลย แม้การเช่ านันN จะเป็ น
สัญ ญาต่ า งตอบแทนซึ/ ง ไม่ ทํา เป็ นหนั ง สื อ และจด
ทะเบีย น แต่ เมื/อ การให้ เช่ า เกิ น กว่ า \ ปี และบิ ด า
โจทก์ได้กระทําไปโดยมิได้รบั อนุญาตจากศาล การ
ให้ เ ช่ า ต่ อ ไปเกิ น กว่ า ระยะเวลา \ ปี ที/ ผ่า นมาแล้ ว
ย่ อ มต้ อ งห้ า มตามบทบัญ ญัติ ข องกฎหมาย โจทก์
ฟ้ องขับไล่จาํ เลยได้
มาตรา 89HE (ต่อ)
• (H) ก่อข้อผูกพันใดๆ ที/ม่งุ ให้เกิดผลตาม (F) (a) หรือ
(3)
คําพิพากษาฎีกาที- 8GBA/A9CC
• บิดามารดาโจทก์ยินยอมให้จาํ เลยทําถนนบนที>ดินของโจทก์ซึ>ง
ขณะนันB เป็ นผู้เยาว์ โดยโจทก์ร้เู ห็นด้วยตังB แต่ขณะจําเลยเริ>มทํา
และได้ เคยโต้ แ ย้ ง คัด ค้ านมาก่ อ น จึ ง ถื อได้ ว่าโจทก์ยิน ยอมให้
ทางราชการทําถนนผ่านที>ดินของโจทก์แล้ว การที>โจทก์มีอายุ @f
ปี เศษเป็ นนั ก ศึ ก ษาระดับ อุด มศึ ก ษา ซึ> ง ถื อ ว่ า มี ค วามรู้สึ ก ผิ ด
ชอบและรอบรู้ถึงผลดีผลเสียแห่งการกระทําของตนได้เป็ นอย่าง
ดีแล้ว ได้ยินยอมให้จาํ เลยทําถนนผ่านที> ดินของโจทก์โดยเข้าใจ
ว่าบิดามารดาโจทก์จะได้รบั สัมปทานเดินรถในถนนสายดังกล่าว
แต่ต่อมาเมื>อบิดามารดาโจทก์ไม่ได้รบั อนุมตั ิ สมั ปทาน โจทก์จึง
นําคดีมาฟ้ องกล่าวหาว่าจําเลยทําละเมิดและขอให้บงั คับจําเลย
รืBอถอนถนนดังกล่าวออกไปจาที> ดินโจทก์จึงเป็ นกรณี ที>โจทก์ใช้
สิ ท ธิ โดยไม่ สุ จ ริ ต ขัด ต่ อ ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์
มาตรา U โจทก์จึงไม่มีอาํ นาจฟ้ องโดยไม่จาํ ต้องวินิจฉัยว่าการให้
ความยินยอมของโจทก์มิได้รบั อนุญาตจากศาล เป็ นการขัดต่ อ
มาตรา 89HE (ต่อ)
• (Z) ให้ก้ยู ืมเงิน
คําพิพากษาฎีกาที- FAH/AEB9
• กฎหมายห้ามแต่ว่าผูป้ กครองให้ก้เู งินแทน เด็กต้อง
ขออนุ ญ าตศาลก่ อ น จนแปลเลยไปถึ ง การที/
ผูป้ กครองกู้เงินแทนเด็กด้วยย่อมเป็ นการขัดกับตัว
บท
คําพิพากษาฎีกาที- BEB/AEF:
• มารดาผู้ใช้อาํ นาจปกครองและเป็ นผู้แทนโดยชอบ
ธรรมของบุต รผู้เ ยาว์ กู้เ งิ น แทนผู้เ ยาว์ม าใช้ เ พื/ อ
ประโยชน์ แก่ผเู้ ยาว์ การกู้นันN ผูกพันผูเ้ ยาว์
มาตรา 89HE (ต่อ)
• (Fc) ประกันโดยประการใดๆ อันอาจมีผลให้ผ้เู ยาว์
ต้องถูกบังคับชําระหนีN หรือทํานิติกรรมอื/นที/ มีผลให้
ผู้เยาว์ต้องรับเป็ นผู้รบั ชําระหนีN ของบุคคลอื/ นหรือ
แทนบุคคลอื/น
คําพิพากษาฎีกาที- BH:/A9A9
• โจทก์เป็ นบุตรมีสิทธิได้บาํ เหน็จตกทอดของ จ. ผูถ้ ึงแก่
กรรม การทีD มารดาผู้แทนโดยชอบธรรมของโจทก์ได้
ลงชืD อ ยิ น ยอมให้ ก รมการเงิ น กระทรวงกลาโหมหัก
บําเหน็จตกทอดทีDโจทก์มีสิทธิได้รบั ส่งชําระหนีM ของ จ.
ให้แก่จาํ เลย เป็ นการทํานิติกรรมทีD มีผลให้ผ้เู ยาว์ต้อง
ชํ า ระหนีM ของบุ ค คลอืD น หรื อ แทนบุ ค คลอืD น ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา RSTU (RW)
(ปัจจุบนั มาตรา RSTU (RY) มารดาผูแ้ ทนโดยชอบธรรม
ของโจทก์กระทําโดยมิได้รบั อนุญาตจากศาลเป็ นการ
กระทําโดยปราศจากอํานาจ จึงไม่ผกู พันโจทก์ โจทก์มี
สิทธิเรียกเงินคืนจากจําเลยได้ตามมาตรา UY\
คําพิพากษาฎีกาที- 8G9:/A9A9
• การที/ ม ารดาโจทก์ไ ปตกลงให้ ห ักเงิ น บํา เหน็ จ ตก
ทอดของผูต้ ายที/จะได้แก่โจทก์บางส่วน ชําระหนีN แก่
จํา เลยนั Nน เป็ นการทํ า นิ ติ กรรมอย่ า งหนึ/ งที/ ไ ด้
กระทํา ไปแทนโจทก็ซึ/ ง เป็ นผู้เ ยาว์ และเป็ นผลให้
โจทก์ ต้ อ งชํ า ระหนีN เมื/ อ มารดาโจทก์ ไ ม่ ไ ด้ ร ับ
อนุ ญ าตจากศาล จึ ง เป็ นการขั ด ต่ อประมวล
กฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์ มาตรา FGZ` (F\(
(ปัจจุบนั มาตรา FGZ` (Fc) ข้อตกลงดังกล่าวย่อมตก
เป็ นโมฆะ จําเลยไม่มีมูลที/ จะอ้ างเพื/อการชําระหนีN
จากโจทก์ได้
มาตรา 89HE (ต่อ)
• (Fa) ประนี ประนอมยอมความ
คําพิพากษาฎีกาที- 8AEC/AEFF
• มารดาย่อมไม่มีสิทธิที/จะทําสัญญาประนี ประนอม
ยอมความเกี/ ย วกับ ทรัพ ย์สิ น ของบุ ต รผู้เ ยาว์โ ดย
ลําพัง
คําพิพากษาฎีกาที- 88GF/A98A
• ที/ นาพิพาทเป็ นทรัพย์ของเจ้ามรดกตกทอดได้แก่
โจทก์ซึ/งเป็ นบุตรกับมารดาเจ้ามรดก โจทก์ทงั N สาม
เป็ นผู้ เ ยาว์ ม ารดาโจทก์ ไ ม่ มี อ ํ า นาจทํ า สั ญ ญา
ประนี ประนอมยอมความเกี/ยวกับที/พิพาททําได้โดย
พลการ สัญ ญาประนี ป ระนอมยอมความที/ ส. กับ
มารดาทําไว้ไม่มีผลบังคับแก่โจทก์ได้
คําพิพากษาฎีกาที- 8C8F/A98A
• ผู้ใ ช้ อํา นาจปกครองจํา ทํา สัญ ญาประนี ประนอม
ยอมความเกี/ยวแก่ทรัพย์สินของผู้เยาว์มิได้เว้นแต่
ศาลจะอนุ ญ าต ดัง นีN เมื/ อ ยัง ไม่ ไ ด้ ร บั อนุ ญ าตจาก
ศาล ผู้ใ ช้ อ ํา นาจปกครองในฐานะผู้แ ทนโดยชอบ
ธรรมจึงไม่อาจให้ความยินยอมแก่ผ้เู ยาว์ในการทํา
สัญญาประนี ประนอมยอมความแบ่งมรดก
คําพิพากษาฎีกาที- 8BCH/A9AC
• บิดาเด็กชาย บ. โจทก์ ทําสัญญาประนี ประนอมยอม
ความกับบิดาเด็กชาย ว. ผู้ทาํ ละเมิดต่อผู้เยาว์ โดย
มิ ได้ ร ับ อนุ ญ าตจากศาลตามมาตรา FGZ` (r)
(ปั จ จุ บ ัน มาตรา FGZ` (Fa)) ดัง นีN มู ล ละเมิ ด ที/
เด็ ก ชาย ว. ก่ อ ขึN น หามี ผ ลระงับ ไปตามสัญ ญา
ประนี ประนอมยอมความอันเป็ นโมฆะไม่ และไม่มี
ผลผูกพันเด็กชาย บ. โจทก์จึงมีอาํ นาจฟ้ อง
คําพิพากษาฎีกาที- EGG:/A9C:
• ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา RSTU (])
(ปัจจุบนั มาตรา RSTU(R^)) บัญญัติห้ามมิให้ผใู้ ช้อาํ นาจ
ปกครองทําสัญญาประนี ประนอมยอมความเกีD ยวกับ
ทรัพย์สินของผู้เยาว์เว้นแต่ศาลจะอนุญาต ดังนันM การ
ทีD จ าํ เลยซึD ง เป็ นมารดาผู้ใ ช้ อ ํา นาจปกครองของบุต ร
ผู้เยาว์ ทําสัญญาประนี ประนอมยอมความตกลงทีD จะ
โอนบ้ า นและทีD ดิ น พิ พ าทซึD ง บุ ต รผู้เ ยาว์ มี ส่ ว นเป็ น
เจ้าของอยู่ด้วยให้ตกเป็ นกรรมสิทธ` ิ ของ ท. บิดาผู้ตาย
แต่ ผู้เ ดี ย ว โดยไม่ ไ ด้ ร บั อนุ ญ าตจากศาลจึ ง ตกเป็ น
โมฆะ โจทก์ซึDงเป็ นผู้จดั การมรดกตามพินัยกรรมของ
ท . จึ ง ฟ้ อ ง บั ง คั บ ใ ห้ จํ า เ ล ย ป ฏิ บั ติ ต า ม สั ญ ญ า

คําพิพากษาฎีกาที- CEF:/A9CH
• ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์ มาตรา
FGZ` ได้ บ ัญ ญัติ ไว้ เ ฉพาะในกรณี ที/ ผู้ใ ช้ อ ํ า นาจ
ปกครองของผู้เยาว์ทาํ นิติกรรมที/เกี/ยวกับทรัพย์สิน
ของผู้เยาว์จะต้ องได้รบั อนุ ญาตจากศาลก่ อน เมื/อ
ข้อเท็จ จริ งปรากฏว่า โจทก์ผ้เู ยาว์เป็ นผู้ทํา สัญ ญา
ประนี ประนอมยอมความเอง บิดาโจทก์เพียงแต่ลง
ลายมื อ ชื/ อ ในฐานะพยานเท่ า นั นN ดัง นีN จึ ง ไม่ ต้ อ ง
ได้รบั อนุญาตจากศาล
คําพิพากษาฎีกาที- FE8E/A9EA
• ประมวลกฎมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา FGZ` (Fa)
ห้ ามผู้ใช้ อาํ นาจปกครองทําสัญญาประนี ประนอม
ยอมความอันเป็ นนิติกรรมเกี/ยวด้วยทรัพย์สินของ
ผู้ เ ย า ว์ เ ว้ น แ ต่ ศ า ล จ ะ อ นุ ญ า ต ไ ม่ ว่ า สั ญ ญ า
ประนี ประนอมยอมความนั N น ผู้ เ ยาว์ จ ะได้ ร ั บ
ประโยชน์ ห รื อ เสี ย ประโยชน์ ก็ต าม ก็ต้ อ งได้ ร ับ
อนุ ญ าตจากศาลก่ อ น โจทก์ ซึ/ ง เป็ นผู้ใ ช้ อ ํา นาจ
ปกครองผู้เ ยาว์ ไ ม่ ไ ด้ ร ับ อนุ ญ าตจากศาลให้ ทํ า
สั ญ ญ า ป ร ะ นี ป ร ะ น อ ม ย อ ม ค ว า ม สั ญ ญ า
ประนี ประนอมยอมความจึงตกเป็ นโมฆะ ใช้บงั คับ
ไม่ได้
คําพิพากษาฎีกาที- EB:G/A9EB
• จํา เลยที' P) ทํา ข้ อ ตกลงแบ่ง แยกที' ดิ น พิ พ าทกับ โจทก์
อัน มี ล กั ษณะเป็ นสัญ ญาประนี ป ระนอมยอมความตาม
ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์ มาตรา PQgX (P))
ในขณะที'จาํ เลยที' P) เป็ นผู้เยาว์โดยไม่ได้รบั อนุญาตจาก
ศาล ข้อตกลงในเรื'องการแบ่งกรรมสิทธe ิ รวมจึงไม่มีผล
ผูก พัน จํา เลยที' P) และมี ผ ลกระทบถึ ง จํา นวนเนืT อ ที' ดิ น
ตลอดจนตําแหน่ งของที' ดินที' จะแบ่งแยก ย่อมเป็ นสิ'งที'
เกี'ยวกันไม่อาจแบ่งแยกออกได้จากนิติกรรมซึ' งจําเลยที'
P ถึงที' PP ได้ร่วมกระทํา ข้อตกลงเรื'องแบ่งกรรมสิทธe ิ รวม
จึงไม่มีผลผูกพันจําเลยที' P ถึงจําเลยที' PPX ด้วย โจทก์ไม่
อาจบัง คับ ให้ จ าํ เลยทังT สิ ง สองแบ่ง ที' ดิ น พิ พ าทให้ แ ก่ ต น
ตามข้อตกลงเรื'องแบ่งกรรมสิทธe ิ รวม
มาตรา 89HE (ต่อ)
• (F\) มอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย
คําพิพากษาฎีกาที+ -././1.23
• ข้อความตามบันทึ กข้อตกลงที2 ว่าจําเลยทัง8 หกขอถอนชื2 อออกจาก
โฉนดที2 ดิ น พิ พ าทในเฉพาะส่ ว นของ ส. นั 8น ย่ อ มมี ผ ลทํา ให้ ที2 ดิ น
ดัง กล่ า วตกเป็ นกรรมสิ ท ธL ิ ของโจทก์แ ต่ เ พี ย งผู้เ ดี ย ว การถอนชื2 อ
จําเลยที2P และที2 Q ซึ2งเป็ นผู้เยาว์ออกจากโฉนดดังกล่าว ถือได้ว่าเป็ น
การกระทําให้ สิ8นสุดลงบางส่ วนซึ2 งทรัพย์สินของผู้เยาว์อนั เกี2 ยวกับ
อสังหาริมทรัพย์และเป็ นการประนี ประนอมยอมความ จึ งเป็ นนิ ติ
กรรมอันเกี2ยวกับทรัพย์สินของผูเ้ ยาว์ที2ผใู้ ช้อาํ นาจปกครองจะกระทํา
มิได้ เว้นแต่ ศาลจะอนุ ญาตตาม ป.พ.พ. มาตรา WPXY ([) และ (W[)
เมื2 อ ผู้ใ ช้ อํา นาจปกครองและผู้แ ทนโดยชอบธรรมต้ อ งห้ า มโดย
กฎหมายมิได้ทาํ นิติกรรมดังกล่าว ซึ2 งหมายรวมถึงทํานิติกรรมแทน
ผู้เ ยาว์โ ดยลํา พัง แล้ ว จะถื อ ว่ า การที2 ผู้เ ยาว์ทํา นิ ติ ก รรมพร้ อ มกับ
ผู้แทนโดยชอบธรรม มีผลว่าผู้แทนโดยชอบธรรมอนุ ญาตให้ ทาํ ได้
โดยไม่ต้องขออนุญาตจากศาลก่อน เท่ากับเป็ นการหลีกเลี2ยงไม่ต้อง
ขออนุญาตจากศาล ซึ2 งเป็ นการผิดไปจากเจตนารมณ์ ของกฎหมาย
เมื2อไม่ปรากฏว่าจําเลยที2 W ซึ2 งเป็ นมารดาเป็ นผุ้ใช้ อาํ นาจปกครอง
จําเลยที2 P และที2 Q ผู้เยาว์ได้รบั อนุญาตจากศาล บันทึกข้อตกลงการ
มาตรา 89H9
• ถ้าในกิจการใด ประโยชน์ ของผู้ใช้อาํ นาจปกครอง
หรือประโยชน์ ของคู่สมรสหรือบุตรของผู้ใช้อาํ นาจ
ปกครองขัด กับ ประโยชน์ ข องผู้เ ยาว์ ผู้ใ ช้ อ ํา นาจ
ปกครองต้ อ งได้ ร ับ อนุ ญ าตจากศาลก่ อ นจึ ง ทํ า
กิจการนันN ได้ มิฉะนันN เป็ นโมฆะ
คําพิพากษาฎีกาที- 8:B:/A9G:
• การที'บตุ รผูเ้ ยาว์เข้าทําสัญญาเป็ นลูกหนีT แทนบิดาซึ'งเป็ น
ผู้ใช้อาํ นาจปกครองโดยมิได้รบั อนุญาตจากศาลนันT ย่อม
เป็ นที' เห็นได้ว่าประโยชน์ ของผู้ใช้ อาํ นาจปกครองขัดกับ
ประโยชน์ ของผู้เยาว์อย่างชัดแจ้ง สัญญาดังกล่าวจึงตก
เป็ นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
PQXg (บรรพ Q เดิม) จะบังคับเอาจากผูเ้ ยาว์นันT ไม่ได้
คําพิพากษาฎีกาที- AGB8-AGBH/A98E
• บิดาผู้ใช้ อํานาจปกครองมีอํานาจจัดการ และจําหน่ าย
ทรัพ ย์ สิ นของบุ ต รผู้ เ ยาว์ ไ ด้ โ ดยไม่ ต้ อ งได้ ร ับ ความ
ยิ น ยอมของบุ ต ร เว้ น แต่ ใ นกรณี ที' ป ระโยชน์ ข องผู้ใ ช้
อํานาจปกครองขัดกับประโยชน์ ของผู้เยาว์จะต้ องได้รบั
อนุ ญาตจากศาลก่ อน มิฉะนั นT เป็ นโมฆะบิดานํ าหุ้นของ
บุตรผู้เยาว์ไปไปโอนตี ใช้ ห นีT ส่วนตัวของบิดาประโยชน์
ของบิดาผู้ใช้ อาํ นาจปกครอง ย่อมขัดกับประโยชน์ ของ
บุต รผู้เ ยาว์ ถ้ า บิ ด าทํา ไปโดยไม่ ไ ด้ ร บั อนุ ญ าตจากศาล
ย่อมเป็ นโมฆะ
คําพิพากษาฎีกาที- HH:/A9CC
• โจทก์ทงั B สองต่างเป็ นทายาทโดยธรรมของผู้ตายซึ>งมีสิทธิได้รบั
ส่ ว นแบ่ ง หุ้น มรดกของผู้ต ายในบริ ษั ท จํา เลย ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา @Uff, @\PP, @\Mf (@), @\Mf
วรรคท้าย และ @\nU (@) การที> โจทก์ฟ้องขอให้จาํ เลยลงทะเบียน
ให้ โจทก์ที> @ ซึ> งเป็ นภริยาผู้ตายเป็ นผู้ถือหุ้นมรดกทังB หมดแต่ ผู้
เดี ยว เท่ ากับขอให้ โจทก์ที> @ เป็ นเจ้าของหุ้นมรดกทังB หมดแต่ ผู้
เดียวโดยไม่แบ่งหุ้นมรดกให้แก่โจทก์ที> M ซึ>งเป็ นบุตรผู้เยาว์ของ
ผู้ตาย ถือได้ว่าโจทก์ที> @ ซึ> งเป็ นมารดาผู้ใช้อาํ นาจปกครองของ
โจทก์ ที> M เอาประโยชน์ จ ากกิ จ การและประโยชน์ นั Bน ขัด กับ
ประโยชน์ ของโจทก์ที> M ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา @UlN, @UlU
มาตรา 89HH
• บุคคลใดจะโอนทรัพย์สินให้ ผ้เู ยาว์โดยพินัยกรรม
หรือโดยการให้โดยเสน่ หาซึ/งมีเงื/อนไขให้บุคคลอื/น
นอกจากผู้ใช้ อาํ นาจปกครองเป็ นผู้จดั การจนกว่า
ผู้เยาว์จะบรรลุนิติภาวะก็ได้ ผู้จดั การนันN ต้องเป็ นผู้
ซึ/ ง ผู้โ อนระบุชื/ อ ไว้ หรื อ ถ้ า มิ ไ ด้ ร ะบุไ ว้ ก็ใ ห้ ศ าลสัง/
แต่ ก ารจัด การทรัพ ย์สิ น นั Nน ต้ อ งอยู่ ภ ายใต้ บ งั คับ
มาตรา GH มาตรา GZ มาตรา Hc
คําพิพากษาฎีกาที- E9B/A9EH
• ตามคําฟ้ องของโจทก์มีคําขอให้ ศาลพิพากษาเพิกถอนหน้ าที>
ผู้จดั การทรัพย์สินของผู้เยาว์ของจําเลยที> @ ซึ> งเป็ นมารดาของ
ผู้เยาว์ และอํานาจจัดการทรัพย์สินของจําเลยที> @ ซึ> งเป็ นผู้รบั
บุตรบุญธรรมของผู้เยาว์ในส่วนที>โจทก์ยกทรัพย์สินให้แก่ผ้เู ยาว์
และให้จาํ เลยทังB สองส่งมอบบัญชีและทรัพย์สินดังกล่าวให้โจทก์
> ามจําเลยทังB สองเข้าเกี>ยวข้องทรัพย์สินที>โจทก์ยกให้
กับมีคาํ สังห้
ผู้เ ยาว์ คํา ขอดัง กล่ า วนีB เ ป็ นเรื> อ งที> โ จทก์อ้ า งว่ า จํา เลยที> @ ใน
ฐานะผู้จดั การทรัพย์สินของผู้เยาว์ในส่วนที> โจทก์ยกให้ จัดการ
ทรัพย์สินของผูเ้ ยาว์โดยไม่ชอบ กรณี ดงั กล่าว โจทก์ในฐานะผูใ้ ห้
ทรัพย์สินแก่ผ้เู ยาว์ ย่อมถือว่าเป็ นผู้มีส่วนได้เสียในการที> จะร้อง
ขอต่ อ ศาลให้ เ พิ ก ถอนจํา เลยที> @ ออกจากการเป็ นผู้จ ดั การ
ทรัพ ย์สิ น ในส่ ว นดัง กล่ า วได้ ต ามประมวลกฎหมายแพ่ ง และ
มาตรา 89BG
• ผู้เยาว์ซึ/งบรรลุนิติภาวะแล้ว ผู้ใช้ อาํ นาจปกครอง
หรือผูป้ กครองจะให้การรับรองการจัดการทรัพย์สิน
ของผู้เยาว์ได้ต่อเมื/อได้รบั มอบทรัพย์สินบัญชี และ
เอกสารตามมาตรา FGZr แล้ว
คําพิพากษาฎีกาที- CEC/AEB:
• อายุค วามตามมาตรา PQQP (บรรพ Q เดิ ม ซึ' ง ตรงกับ
มาตรา PQkP บรรพ Q ใหม่) ใช้ เฉพาะคดีเกี' ยวกับจัดการ
ทรัพย์ ไม่เกี'ยวกับการเรียกทรัพย์คืนจากผู้ปกครอง เมื'อ
คดี นีT เป็ นเรื' อ งเรี ย กทรัพ ย์คื น ไม่ ใ ช่ เ รื' อ งเกี' ย วกับ การ
จัด การทรัพ ย์สิ น ระหว่ า งเด็ก กับ ผู้ใ ช้ อ ํา นาจปกครอง
ฉะนันT จะยกมาตราดังกล่าวมาปรับกับคดี นีTไม่ได้ โจทก์
ฟ้ องเรียกทรัพย์มรดกของมารดาโจทก์ซึ'งจําเลยเก็บไว้
ให้แก่โจทก์คืนจากจําเลย จะยกอายุความ P ปี ตามมาตรา
PQQP (บรรพ Q เดิม ซึ'งตรงกับมาตรา PQkP บรรพ Q ใหม่)
มาปรับกับคดีไมได้
มาตรา 89BA
• ถ้ า ผู้ใ ช้ อํา นาจปกครองเป็ นคนไร้ ค วามสามารถ หรื อ
เสมือนไร้ความสามารถโดยคําสังของศาลก็ ' ดี ใช้ อาํ นาจ
ปกครองเกี'ยวแก่ตวั ผู้เยาว์โดยมิชอบก็ดี ประพฤติชวร้ ั ' าย
ก็ดีในกรณี เหล่านีT ศาลจะสังเอง ' ' 'อญาติของ
หรือจะสังเมื
ผู้เ ยาว์ห รื อ อัย การร้ อ งขอ ให้ ถ อนอํา นาจปกครองเสี ย
บางส่วนหรือทังT หมดก็ได้
• ถ้ า ผู้ ใ ช้ อ ํ า นาจปกครองล้ ม ละลายก็ ดี หรื อ จั ด การ
ทรัพย์สินของผูเ้ ยาว์ในทางที'ผิดจนอาจเป็ นภัยก็ดี ศาลจะ
สังตามว
' ิ ธี ใ นวรรคหนึ' ง ให้ ถ อนอํา นาจจัด การทรัพ ย์สิ น
เสียก็ได้
คําพิพากษาฎีกาที- FEE/AEF:
• ชายละทิTงภริยาและบุตรผู้เยาว์ไปจนหญิงตาย บุตรต้อง
อยู่ ก ับ ลุ ง ผู้เ ป็ นพี' ข องหญิ ง ภริ ย า แสดงว่ า บิ ด าไม่ อ าจ
ปกครองบุตรได้ ดีกว่าลุง ควรถอนอํานาจปกครองของ
บิดา
คําพิพากษาฎีกาที- BAE/AEFB
• การที'ศาลจะสังถอนอํ
' านาจปกครองจากมารดาเด็ก ต้อง
ปรากฏว่ า มารดาใช้ อ ํา นาจปกครองโดยมิ ช อบ หรื อ
ประพฤติชวอย่
ั ' างไร เพียงแต่ว่าอาสมควรปกครองเด็กได้
ดีกว่า ยังไม่เป็ นเหตุที'จะถอนอํานาจปกครองของมารดา
ได้
คําพิพากษาฎีกาที- HFH/AEFF
• คดี เรื'องตังT ผู้ปกครองผู้เยาว์นันT เมื'อศาลมีคาํ สังตั
' งT เป็ น
ผู้ปกครองแล้ ว ภายหลัง ต่ อ มาญาติ ข องผู้เยาว์จ ะขอให้
ศาลถอดถอนผู้ปกครองนันT โดยเสนอคําร้องขอเข้ามาใน
คดีเดิมนันT ก็ได้ไม่จาํ ต้องทําเป็ นคดีเรื'องใหม่อีกต่างหาก
คําพิพากษาฎีกาที- 8BGC/A9AC
• โจทก์เป็ นบิดาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย (แต่ เป็ นบิดาที'
แ ท้ จ ริ ง ต า ม พ ฤ ติ นั ย ) ถื อ ไ ม่ ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ญ า ติ ต า ม
ความหมายแห่ ง ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์
มาตรา PQk) ไม่มีอาํ นาจร้องขอให้ ถอนอํานาจปกครอง
ของผูใ้ ช้อาํ นาจปกครองที'มีต่อผูเ้ ยาว์
คําพิพากษาฎีกาที- A898/A9AC
• โจทก์ฟ้องจําเลยขอให้ ถอนอํานาจปกครองเด็กโดยให้
โจทก์เป็ นผู้ใช้ อาํ นาจปกครอง และให้ จาํ เลยส่งมอบเด็ก
คื น แก่ โ จทก์ การที' โ จทก์ยื' น คํา ร้ อ งขอให้ ศ าลมี ค าํ สังให้
'
จํา เลยส่ ง มอบเด็ก ให้ โ จทก์ใ นระหว่ า งการพิ จ ารณา จึ ง
เกี' ยวกับประโยชน์ ของโจทก์ที'มีอยู่ในคดี โจทก์จึงมีสิทธิ
ร้อ งขอได้ ต ามประมวลกฎหมายวิธีพิ จ ารณาความแพ่ ง
มาตรา )RX และคํา ร้ อ งของโจทก์ด งั กล่ า วไม่ ข ดั กับ คํา
ฟ้ อง
คําพิพากษาฎีกาที- 98C9/A9CH
• ผู้เยาว์ทงั T สองเป็ นบุตรของ ก. กับ ส. ซึ'งมิได้จดทะเบียน
สมรสกัน มิใช่ บุตรโดยชอบด้ วยกฎหมายของ ก. ผู้เป็ น
บิ ด า ผู้ร้ อ งเป็ นน้ องของบิ ด าของ ก. จึ ง มิ ใ ช่ ญ าติ ของ
ผู้เยาว์ทงั T สองตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา PQk) ไม่มีสิทธิร้องขอให้ถอนอํานาจ
ปกครองของมารดาของผู้เยาว์ทงั T สอง และไม่อาจขอให้
ตังT ผูร้ ้องเป็ นผูป้ กครองผูเ้ ยาว์ทงั T สอง
คําพิพากษาฎีกาที- ECAC/A9EG
• ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา @UOM วรรคหนึ> ง ให้
อํานาจศาลในการถอนอํานาจปกครองเสี ยได้โดยลําพังโดยไม่
ต้ อ งให้ ผู้ใ ดร้ อ งขอก็ ไ ด้ หากมี เ หตุ ต ามบทบัญ ญัติ กฎหมาย
ดังกล่าว ขณะผูร้ ้องยื>นคําร้อง ผูร้ ้องยังมิได้เป็ นบิดาโดยชอบด้วย
กฎหมายของผู้เยาว์ แต่ เมื>อความปรากฏต่ อศาลว่ามารดาของ
ผู้เยาว์ย้ายไปอยู่ที>อื>นและสมรสใหม่ตงั B แต่ ผ้เู ยาว์อายุได้เพียงปี
เศษและไม่ เ คยกลับ มาดูแ ลผู้เ ยาว์อี ก เลย กรณี จึ ง เป็ นการที>
มารดาผู้เยาว์ใช้อาํ นาจปกครองแก่ตวั ผู้เยาว์โดยไม่ชอบ ศาลจึง
มี อาํ นาจพิพากษาถอนอํานาจปกครองจากมารดาผู้เยาว์ และ
ปรากฏว่ า ผู้เ ยาว์อ ยู่ใ นความอุป การะเลีB ย งดูข องผู้ร้ อ งมาโดย
ตลอด การให้ ผ้รู ้องเป็ นผู้ใช้ อาํ นาจปกครองผู้เยาว์จึงเหมาะสม
กว่า
คําพิพากษาฎีกาที- A88E/A9EA
• ตามมาตรา @U\\ แห่ ง ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์
กํา หนดให้ บุต รซึ> ง ยัง ไม่ ย งั ไม่ บ รรลุนิ ติ ภ าวะต้ อ งอยู่ใ ต้ อํา นาจ
ปกครองของบิดามารดา ในกรณี ที>มารดาหรือบิดาตาย อํานาจ
ปกครองจึงอยู่กบั บิดาหรือมารดา และมีสิทธิเรียกบุตรคืนจาก
บุคคลอื>นซึ>งกักบุตรไว้โดยมิชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา @U\l
(N) อย่ า งไรก็ต าม มาตรา @UOM กํา หนดไว้ ว่ า ถ้ า ผู้ใ ช้ อ ํา นาจ
ปกครองใช้ อ ํา นาจปกครองเกี> ย วกับ ตัว ผู้เ ยาว์โ ดยมิ ช อบก็ดี
ประพฤติชวร้ ั > ายก็ดี ศาลอาจถอนอํานาจปกครองเสี ยบางส่ วน
หรื อ ทังB หมดก็ไ ด้ ดัง นั Bน เมื> อ ส. ซึ> ง เป็ นบิ ด าของเด็ก หญิ ง ร.
ผู้เยาว์ถึงแก่ความตาย อํานาจปกครองจึงตกอยู่กบั โจทก์ซึ>งเป็ น
มารดา เว้นแต่ โจทก์ใช้ อาํ นาจปกครองเกี> ยวแก่ ตวั เด็กหญิง ร.
โดยมิชอบและประพฤติชวร้ ั > าย และถูกศาลถอนอํานาจปกครอง
การที> จ าํ เลยซึ> ง เป็ นย่ า ของเด็ก หญิ ง ร. ฎี ก าโต้ แ ย้ ง ว่ า โจทก์ใ ช้
อํานาจปกครองเกี> ยวแก่ ตวั เด็กหญิง ร. มีความกลัวมารดานั นB
คําพิพากษาฎีกาที- A88E/A9EA (ต่อ)
• ปรารถนาดีต่อบุตร หากจําเลยประสงค์ที>จะแสดงให้ศาลเห็นว่า
โจทก์เ ป็ นมารดาที> ป ระพฤติ ผิ ด ธรรมชาติ ปราศจากความรัก
ความเมตตาต่อบุตรและประพฤติตนชัวร้ > ายพยานหลักฐานของ
จําเลยก็ต้องมีนํBาหนักให้เชื>อได้ว่าเป็ นเช่นนันB จริง เมื>อจําเลยไม่มี
ผู้เยาว์มาเบิกความยืนยันต่ อศาลถึงสภาพจิตใจที> เป็ นอยู่ จึงไม่
อาจอนุ มานตามที> จาํ เลยกล่าวอ้ างว่าที> ผ้เู ยาว์มีอาการผิดปกติ
เพราะโจทก์ใช้อาํ นาจปกครองโดยมิชอบหรือประพฤติชวร้ ั > ายอัน
จะเป็ นสาเหตุให้ ศาลถอนอํานาจปกครองของโจทก์ ดังนั นB แม้
จําเลยจะมีฐานะดี มีความเมตตาต่ อผู้เยาว์และสามารถเลีBยงดู
ผูเ้ ยาว์ได้เป็ นอย่างดีสกั เพียงใดก็ตามไม่อาจที>จะปกครองเลีBยงดู
ผู้เยาว์ได้ ตราบใดที> อาํ นาจปกครองของโจทก์ซึ>งเป็ นมารดายัง
มิได้ถกู เพิกถอน จําเลยจึงต้องคืนตัวเด็กหญิง ร. ให้แก่โจทก์

You might also like