You are on page 1of 37

นิตป

ิ รัชญา (Philosophy of Law)

ั ดิ ปรกติ
กิตติศก
นิตศ
ิ าสตร์ ธรรมศาสตร์

1
ื อ่านประกอบ
หนังสอ

 ปรีด ี เกษมทรัพย์, นิตปิ รัชญา



 สมยศ เชอไทย, นิตป ิ รัชญา
 จรัญ โฆษณานั นท์, นิตป ิ รัชญา
 Edgar Bodenheimer, The Philosophy and
Method of the Law, Harvard 1974

2
ภาคประวัตศ
ิ าสตร์

 ข ้อความเบืองต ้น
 ความคิดทางกฎหมายสมัยโบราณ
(ยุคประวัตศ
ิ าสตร์ – ราว ค.ศ. ๕๐๐)
 ความคิดทางกฎหมายสมัยกลาง
(ราว ค.ศ. ๕๐๐ – ๑๕๐๐)
 ความคิดทางกฎหมายสมัยใหม่
(ราว ค.ศ. ๑๕๐๐ – ปั จจุบนั )
 ความคิดทางกฎหมายร่วมสมัย

3
ข ้อความเบืองต ้น

 ความสําคัญของการศก
ึ ษาประวัตศ
ิ าสตร์
ความคิดทางกฎหมาย
 เพือให ้เข ้าใจปั ญหารากฐานทางความคิดว่ามี
สาระสําคัญตังแต่อดีตถึงปั จจุบน
ั เหมือนกัน หรือ
ต่างกัน และมีความคลีคลาย เปลียนแปลงไป
อย่างไร
 การศก ึ ษาความคิดของปราชญ์ในอดีตจะชว่ ยจัด
ระเบียบความคิดให ้เป็ นระบบ มองเห็นสว่ น
สาระสําคัญ และสว่ นปลีกย่อย คมคาย เฉียบ
แหลม มองเห็นภาพรวมทีเป็ นสากล และหลุดพ ้น
จากกรอบความคิดในสมัยของตน
4
สมัยโบราณ (Antiquity)
 สภาพทัวไป และความสําคัญของยุคกรีกในฐานะทีเป็ นรากฐาน
ของปรัชญาและศล ิ ปวิทยาการของโลกตะวันตก
 ความคิดเกียวกับกฎหมายและความยุตธิ รรมในนิยายปรัมปรา
 Zeus, Themis (Gaia+Uranos) และ Dike (ความยุตธิ รรม) ซงเป็ ึ นพีน ้อง
กันกับ Eunomia (ความสงบเรียบร ้อย) และ Eirene (ความสน ั ติสข ึ
ุ ) ซงมี
ศตรูเป็ นมาร คือ Eris (ขัดแย ้ง), Bia (รุนแรง), Hybris (ไม่ได ้สดั สว่ น)
 Solon (ราว 600 B.C.) เข ้าปฏิรป ู การเมือง และจัดระเบียบ

บ ้านเมืองโดยใชกฎหมาย (Dike) ขจัดข ้อขัดแย ้ง ปราบปรามการ
ใชอํ้ านาจบาตรใหญ่ และการกระทําเกินขอบเขต ตามหลักความ
สมดุล เกิดความสงบเรียบร ้อยเรียกว่า Eunomia
 โศกนาฏกรรม Antigone เป็ นเรืองเจ ้าหญิงองค์หนึงซงอ ึ ้างจารีต
ประเพณี (The Good Old Law) ขึนโต ้แย ้งพระราชโองการของ
กษั ตริยซ ึ งห
์ งส ั ้ามมิให ้ฝั งศพของศตรู ซงเป็
ึ นพระญาติ โดยขัด
ต่อจารีตประเพณี และสะท ้อนความเชอในสมั ื ยนันว่ากฎหมายอยู่
เหนืออํานาจของเจ ้าแผ่นดิน

5
สมัยโบราณ (Antiquity)
 ยุคก่อตัวของปรัชญา และการท ้าทายของ Sophists
 ความรุง่ เรืองทางสติปัญญา และเหตุผล และการแสวงหาสจ ั
ธรรม หรือแก่นแท ้ของสรรพสงเกิ ิ ดขึนในชว่ งทีกรีกประสบ
ความรุง่ เรืองทางการค ้า จนกระทังชนะสงครามเปอร์เซย ี และ

เริมอธิบายสรรพสงโดยไม่ องิ อํานาจเหนือธรรมชาติอก ี ต่อไป
 Phythagorus (570-510 B.C.) ความจริงย่อมมีหลักเกณฑ์
ความยุตธิ รรมย่อมมีโครงสร ้างเชงิ สดั สว่ นทางคณิตศาสตร์
 Heracleitus (540-480 B.C.) สรรพสงล ิ ้วนเปลียนแปลงตาม
เหตุผล (logos) อันเป็ นหัวใจของจักรวาล และมนุษย์ม ี
สติปัญญาก็เพราะมี logos อยูใ่ นตัวตามธรรมชาติ
 Anaxagoras (500-428 B.C.) สรรพสงล ิ ้วนเป็ นระเบียบ
เพราะสติปัญญาแห่งจักรวาลออกแบบไว ้แล ้ว และ”จิต”ของ
จักรวาลนีมีธรรมชาติคล ้ายกันกับจิตของมนุษย์ คือมี
ความสามารถทางสติปัญญาแบบเดียวกัน

6
สมัยโบราณ (Antiquity) - ต่อ
 โสฟิ สต์ (Sophists) หรือผู ้ทรงปั ญญา
 หลังชย ั ชนะในสงครามกับเปอร์เชย ี (ca.480 B.C.) เกิดการ
ขยายตัวของประชาธิปไตย และการติตต่อกับนานาชาติ เกิด
พัฒนาการของการใชเหตุ ้ ผลวิพากษ์วจิ ารณ์อย่างอิสระนํ าไปสู่
การท ้าทายคุณค่าดังเดิม และยกย่องเชด ิ ชูความฉลาด
(Cleverness) และวาทศล ิ ป์ (Rhetoric)
 Protagoras (490-420 B.C.) : มนุษย์เป็ นเครืองวัดสรรพสง ิ
(homo mensura) -> คุณธรรมและความยุตธิ รรมเป็ นเพียง
ความเห็นของแต่ละบุคคล เป็ นเรืองต่างจิตต่างใจ
 Callicles: กฎหมายเป็ นสงที ิ ผู ้อ่อนแอทีปกติมจ ี ํานวนมากกว่าผู ้
แข็งแรงตังขึนเพือจํากัดอํานาจของผู ้แข็งแรงกว่าพวกตน
 Thrasymachus (ca. 459-400 B.C) : ประโยชน์ของผู ้มีอํานาจ
คือความเป็ นธรรม (Might is Right)

7
สมัยโบราณ (Antiquity) - ต่อ

 ยุคปรัชญา
 การตังข ้อสงสย ั และให ้เหตุผลท ้าทายโต ้เถียงกัน
เพือแสวงหาหลักการและคําอธิบายทีถูกต ้องทีสุด
เป็ นจุดเริมต ้นของปรัชญา
 Socrates (469-399 B.C.)
 Plato (429-348 B.C.)
 Aristotle (384-322 B.C.)

8
ปั ญหาสําคัญในยุคต ้นของปรัชญากรีก

 อะไรคือข ้อโต ้แย ้งทางนิตปิ รัชญาทีสําคัญใน


ยุคโบราณ?
 โสกราตีส พลาโต ้ และอาริสโตเติล มี
ความสําคัญอย่างไรในทางนิตป ิ รัชญา?
 โสกราตีส เสนอแนวคิดเกียวกับความจริงและ
ความยุตธิ รรมโต ้แย ้งโสฟิ สต์อย่างไร?
 จงอธิบายว่าเหตุใดจึงถือว่าวิชานิตศ ิ าสตร์
เกิดขึนครังแรกในสมัยโรมัน?

9
Socrates 469-399 B.C.

 ความรู ้ทีแท ้คือความรู ้ผ่านข ้อความคิด


Perception -> Concept (All knowledge is
knowledge through concepts or ideas)
 ความรู ้คือคุณธรรม – จงรู ้จักตนเอง
Knowledge is Virtue -> Know Thyself => I
know, that I don’t know!
 ความยุตธิ รรมคือความเป็ นไปตามธรรมชาติ
Comply with natural law
 ไม่พงึ ตอบแทนความอยุตธิ รรม ด ้วยความอยุตธิ รรม
[แม ้จะถูกตัดสน ิ ประหารชวี ต
ิ โดยมิชอบ (อยุตธิ รรม)
ก็ไม่พงึ หลบหนีการลงโทษ (อยุตธิ รรม)]
10
Plato 429-348 B.C.

 Plato เสนอทฤษฎีความรู ้สนับสนุนแนวคิดทางจริยธรรมของ


Socrates โดยอธิบายว่า โลกแบ่งออกเป็ นโลกแห่งตัวตนหรือโลก
แห่งผัสสะ (empirie) กับโลกแห่งแบบหรือโลกแห่งอุดมคติ
(idea) โลกแห่งอุดมคติเป็ นโลกแห่งความเป็ นจริง สว่ นโลกแห่ง
ตัวตนเป็ นเพียงโลกมายา
 ความสมบูรณ์ ความดีงาม และความยุตธิ รรมเป็ นสงเดี ิ ยวกัน และมี
อยูจ ่ ริงในโลกแห่งข ้อความคิด หรือโลกแห่งอุดมคติ (Justice is
an idea, that really exists.) ซงดํ ึ ารงอยู่ “เหนือ” และแยกออก
จากโลกแห่งตัวตน หรือโลกแห่งข ้อเท็จจริง และประสบการณ์ เรา

รู ้ได ้ด ้วยการใชความคิ ดไตร่ตรองวิเคราะห์จนรู ้แน่แก่ใจ เพราะเรา
ต่างมีสว่ นร่วมอยูใ่ นโลกอุดมคติด ้วย
 เชน ่ การมีประสบการณ์เกียวกับสงที ิ “กลม” และเรียกสงนั ิ นว่า
“กลม” เป็ นความรู ้ทางข ้อเท็จจริง ยกระดับเป็ นความรู ้ทัวไปด ้วย
คํานิยามเชน ่ “สงที
ิ กลมคือสงทีิ มีขอบเขตอยูห ่ า่ งจากจุด
ศูนย์กลางของสงนั ิ นเท่ากันทุกทิศทาง” และยกระดับสูค ่ วามรู ้ทีไม่
ต ้องอาศย ั ประสบการณ์ และเข ้าสูแ ่ บบแห่งความกลมในทีสุด

11
แนวคิดว่าด ้วยธรรมชาติของมนุษย์
 มนุษย์ก็แบ่งออกเป็ นสว่ นทีเป็ นรูปธรรมซงอยู
ึ ใ่ นโลกของผัสสะ และสว่ นที

เป็ นนามธรรมหรือจิตซงอยู ใ่ นโลกของแบบหรืออุดมคติ แต่โดยทีจิต
เกียวพันอยูก
่ บ
ั ผัสสะจึงแบ่งออกได ้เป็ น ๓ ภาค คือ ภาคปั ญญา (Reason)
ภาคเจตจํานง (Spirit) และภาคตัณหา (Desire)

คุณสมบ ัติ ฉ ันทะ วิรย


ิ ะ จิตตะ
คุณธรรม รู ้จักเพียงพอ ความเพียร มีปัญญา
ความตังใจมัน
กิจการ ความสามารถ กล ้าตัดสนิ ใจ-สู-้ ไตร่ตรองหาความ
ทํามาหาได ้ กล ้ารับผิดชอบ จริง-ความถูกต ้อง

ภารกิจ เกษตรกร ชา่ ง ทหาร - ผู ้ปกครอง -


พ่อค ้า ข ้าราชการ ธรรมราชา
12
Plato 429-348 B.C. (con.)

 กฎหมายและการปกครองในโลกแห่งผัสสะต ้องได ้รับการชาํ ระ


สะสางและชก ั นํ าจากผู ้มีสติปัญญาให ้เข ้าไปมีสว่ นในโลกแห่ง
แบบหรือโลกแห่งความยุตธิ รรมในอุดมคติ(ความเป็ นธรรมชาติ)
ให ้มากทีสุด ผู ้ปกครองจึงต ้องเป็ นผู ้ทรงปั ญญา (Philosopher
King)
 ในโลกแห่งตัวตนนัน รัฐ (politeia) เกิดจากความจําเป็ นในการ
ตอบสนองความต ้องการในการครองชพ ี ของมนุษย์ซงไม่
ึ เพียงพอ
ในตนเองและจําเป็ นต ้องร่วมงานกันเพือให ้ได ้มาและธํารงไว ้ซงึ
ปั จจัยพืนฐานในการครองชพ ี และย่อมมีระดับพัฒนาการ ๓ ระดับ
คือตอบสนองความต ้องการปั จจัยส ี (desire) ตังมันอยูใ่ นความ
สงบอย่างมีประสท ิ ธิภาพ (enthusiasm/passion) และดําเนินไป
ได ้อย่างยุตธิ รรม (reasonable)
 การปกครองทีดีรองลงมาคือการปกครองโดยกฎหมาย และรอง
ลงไปคือปกครองโดยกษั ตริย ์ หรือโดยผู ้ดี สว่ นการปกครองทีเลว
คือการปกครองโดยทรราช โดยคณาธิปไตย ประชาธิปไตย และ
แย่สด ุ คืออนาธิปไตย

13
Plato 429-348 B.C. (con.)

 พลาโตไม่นย ิ มการปกครองแบบประชาธิปไตย และอธิบายว่าในระบอบ


ประชาธิปไตยประชาชนแต่ละคนมีสท ิ ธิเสมอกัน และย่อมปรารถนาใชส้ ท ิ ธิ
โดยเสมอกัน แต่เนืองจากฐานะทางเศรษฐกิจของแต่ละคนไม่เท่าเทียม
กันจึงยากทีประชาชนจะมีความรู ้ความเข ้าใจในเรืองราวทีซบ ั ซอน้ และ
ย่อมตกเป็ นเบียล่างของผู ้แสวงหาประโยชน์ในทางมิชอบ จนทําให ้การ
ปกครองกลายเป็ นคณาธิปไตย หรืออนาธิปไตย หรือทรราชในทีสุด

 เขาเห็นว่า เมือคุณธรรมเสอมลง เพราะผู ้ปกครองหันไปยกย่องความ
รํารวย ยศถาบรรดาศก ั ดิ ความฉลาดแกมโกงก็จะอยูเ่ หนือคุณธรรม ความ
พอเพียง ความพอดี และคุณธรรมย่อมเสอมทรุ ื ดลงไปอีก ผู ้มีอํานาจและ
พ่อค ้าก็จะรวมหัวกันกดขีขูดรีดคนจนและคนเล็กคนน ้อย ครันผู ้ปกครองไม่
่ งั คม ได ้แต่ยกย่อง
ใสใ่ จสร ้างเสริมคุณธรรมและความรู ้ให ้กลับคืนมาสูส
บุตรหลานของตนให ้มีอํานาจทังทีปราศจากสติปัญญา ในทีสุดการ
ปกครองก็จะล่มสลาย เพราะคนสว่ นใหญ่จะไม่เห็นคุณค่าของผู ้ปกครอง
และแย่งยึดอํานาจมาเป็ นของตน สถาปนาอํานาจเหนือคนรวย กลายเป็ น
ประชาธิปไตย จนกระทังประชาชนสว่ นใหญ่พากันลงคะแนนให ้เอา
ทรัพย์สน ิ สาธารณะมาเป็ นประโยชน์สว่ นตน รัฐประชาธิปไตยก็จะล่มสลาย
และกลายเป็ นอนาธิปไตย แล ้วกลับมาเป็ นทรราช และคณาธิปไตยในทีสุด

14
Plato 429-348 B.C. (con.)

 ความจําเป็ นในการตอบสนองความต ้องการพืนฐานในความปลอดภัยใน


ชวี ต
ิ และการมีปัจจัยส ี จึงต ้องมีชนชนชาวนา
ั ชา่ งฝี มือ และพ่อค ้า คือมี
ความอยาก (desire) ซงย่ ึ อมจะมุง่ แสวงหาทรัพย์สน ิ และความมังคัง จึง
ต ้องกํากับด ้วยคุณธรรมคือความสมควรแก่เหตุ (proportionality)
ประกอบด ้วยข ้อห ้ามทังหลายเพือป้ องกันไม่ให ้ความโลภเกิดเป็ นภัยต่อ
สงั คมสว่ นรวม
 การตังมันอยูใ่ นความสงบอย่างมีประสท ิ ธิภาพต ้องมีชนชนที ั มีจต
ิ ใจ
เข ้มแข็ง (spirit) ได ้แก่ทหาร และข ้าราชการ ซงมี ึ คณ ุ ธรรมกํากับคือ
ความวิรย ิ ะอุตสาหะ หรือความกล ้าหาญ (courage) คอยรักษาความสงบ
และรักษาความปลอดภัย แต่ชนชนนี ั ต ้องรักษาตนให ้อยูใ่ นกรอบแห่งวินัย
และเกียรติยศ ไม่ให ้กิเลสในทรัพย์สน ิ และครอบครัวเติบโต เพราะจะทํา
ให ้เกิดโลภ โกรธ หลง และก่อความเสย ี หายแก่สว่ นรวมได ้
 การตังมันในความเป็ นธรรมจะมีได ้ต ้องมีชนชนที ั มีเหตุมผ ี ล (reason)
หรือกษั ตริยผ์ ู ้ทรงธรรม (Philosopher King) ซงกํ ึ ากับด ้วยคุณธรรมคือ
ความมีสติปัญญา (wisdom) โดยไม่ต ้องมีกฎเกณฑ์ใดคอยควบคุม

15
Plato 429-348 B.C. (con.)

 ปรัชญากฎหมายของพลาโต ้
 ในโลกแห่งผัสสะ กฎหมายธรรมชาติคอ ื หลักเกณฑ์ท ี
ตอบสนองความต ้องการพืนฐานทีจําเป็ นของมนุษย์ เป็ น
กฎเกณฑ์ทวิ ี ญ ช ู นยอมรับโดยสมัครใจ เชน ่ เป็ นหนีต ้อง
ชาํ ระหนี หรือมีขนเพื
ึ อควบคุมความต ้องการทีเกิดจาก
กิเลส
 ในโลกแห่งผัสสะ กฎหมายมีแนวโน ้มทีจะกลายเป็ นการ
ใชอํ้ านาจอําเภอใจ จึงต ้องมีการควบคุมให ้กฎหมายอยูใ่ น
กรอบของเหตุผลอยูเ่ สมอ และต ้องอาศย ั เครืองมือที
สําคัญคือหลักวิชาคอยชก ั นํ าให ้กฎหมายทีเป็ นอยู่
สอดคล ้องกับกฎหมายทีควรจะเป็ นในโลกแห่งอุดมคติ

16
Plato 429-348 B.C. (con.)

 ปรัชญากฎหมายของพลาโต ้ (ต่อ)
 ความรู ้ทางปฏิบต ั ิ หรือความรู ้เกียวกับกฎหมายทีเป็ นอยู่
เป็ นเรืองสําคัญและจําเป็ น แต่ก็ต ้องอยูภ ่ ายใต ้ความรู ้
ทางทฤษฎีทจะช ี ั นํ าให ้กฎหมายทีเป็ นอยูป
ก ่ รับตัวไปสู่
ภาวะทีควรจะเป็ นยิงขึนเรือย ๆ
 ในแง่ความสม ั พันธ์ระหว่างกฎหมายธรรมชาติกบ ั
กฎหมายบ ้านเมืองนัน เดิมพลาโต ้อธิบายว่ากฎหมาย
ธรรมชาติยอ ่ มมีผลบังคับเหนือกฎหมายบ ้านเมืองได ้
ทันทีโดยแสดงออกทางคําวินจ ิ ฉั ยของธรรมราชาในแต่
ละคดี แต่ตอ ่ มาภายหลัง พลาโต ้เล็งเห็นว่าธรรมราชามี
ได ้ยาก และอาจสง่ ผลให ้กฎหมายธรรมชาติถก ู บิดเบือน
ไปตามอําเภอใจของผู ้อ ้างตนเป็ นธรรมราชา จึงเสนอให ้
นํ าหลักเหตุผลมาตราเป็ นกฎหมายบ ้านเมืองเสย ี ก่อน

17
Aristotle 384-322 B.C.

 โดยทัวไป Aristotle เห็นด ้วยกับ Plato แต่ได ้วิจารณ์แนวคิดของ



Plato ไว ้หลายประการ เชน
 คําอธิบายของ Plato ทีแยกโลกแห่งผัสสะหรือโลกแห่งตัวตนออกจากโลก
แห่งแบบ หรือโลกแห่งอุดมคติ โดยอธิบายว่าโลกแห่งอุดมคตินันอยูเ่ หนือ
โลกแห่งตัวตนนัน Aristotle ไม่เห็นด ้วย เพราะไม่สามารถอธิบายความ
เปลียนแปลง และพัฒนาการของสงต่ ิ าง ๆ ได ้ และอธิบายว่าอันทีจริงแล ้ว
ทังตัวตนและแบบต่างก็แท ้จริงพอกัน และดํารงอยูร่ ว่ มกัน โดยแบบก็แทรก
อยูใ่ นตัวตนนันเอง และแบบ (Form) นีเองทีเป็ นแรงผลักดันให ้ตัวตนแปร
สภาพไป
 ดังนันการทีมนุษย์อยูร่ วมกันเป็ นสงั คม และจัดตังกันเป็ นรัฐไม่ใชเ่ พียงแต่
เป็ นการมีสว่ นในโลกแห่งแบบเท่านัน แต่เป็ นเพราะแบบ (Form) ดํารงอยูใ่ น
ธรรมชาติความเป็ นมนุษย์นันเอง ดังนันการอยูร่ ว่ มกันเป็ นสงั คมจึงไม่ใชเ่ ป็ น
เพียงข ้อเท็จจริงหรือโลกแห่งตัวตนทีไม่จริ ัง แต่เป็ นโลกทีเป็ นไปตามหลัก
ธรรมชาติ และพัฒนาไปสอดคล ้องกับแบบมากขึนเรือย ๆ

18
Aristotle 384-322 B.C.

 นอกจากโลกแห่งตัวตนกับโลกแห่งแบบจะดํารงอยูร่ ว่ มกันแล ้ว ตราบ


ใดก็ตามทีสภาวะทีเป็ นอยู่ กับสภาวะทีควรจะเป็ นตามธรรมชาติยงั ไม่
สอดคล ้องกัน ตราบนันก็ยังไม่เกิดสภาวะทียุตธิ รรม แต่สภาวะทีควรจะ
เป็ นจะชก ั นํ าสภาวะทีเป็ นอยูใ่ ห ้แปรเปลียนไปสภาพทีสมบูรณ์ยงขึ ิ น
เสมอ
 ข ้อแตกต่างทีสําคัญระหว่าง Plato กับ Aristotle ก็คอ ื การให ้
ความสําคัญกับโลกแห่งตัวตนหรือผัสสะ และธรรมชาติของมนุษย์ท ี
ดํารงอยูใ่ นโลกแห่งผัสสะ ในขณะที Plato เน ้นโลกอุดมคติ และ
นักปราชญ์
 Aristotle คัดค ้าน Plato ซงยกย่ึ องกรรมสท ิ ธิสว่ นรวม และสงั คมรวม
หมู่ ตําหนิกรรมสท ิ ธิสว่ นบุคคลและครอบครัวเอกเทศ โดยเห็นว่า
ทรัพย์สน ิ เป็ นสงที
ิ ขาดไม่ได ้ในสงั คมมนุษย์ เพราะเป็ นเครืองมือของ
ความเป็ นธรรมในการแบ่งสรรปั นสว่ น ธํารงไว ้ซงเสรี ึ ภาพ และเป็ น
เครืองแสดงความเมตตาต่อเพือนมนุษย์ นอกจากนีสถาบันครอบครัวก็
จําเป็ นในการสง่ เสริมธรรมชาติอน ั ดีงามของมนุษย์ และการเรียนรู ้บ่ม
เพาะคุณธรรมของความเป็ นมนุษย์ และเป็ นจุดตังต ้นของการแบ่งงาน
หน ้าทีตามความสามารถ ตามคุณวุฒแ ิ ละวัยวุฒต ิ ามธรรมชาติ

19
ั จําลองบรรยากาศสํานักศก
ภาพในวาติกน ึ ษาสมัยกรีก

20

พลาโต (ซาย) และ อาริสโตเติล (ขวา)

21
Aristotle 384-322 B.C.

 คุณูปการของ Aristotle ในทางกฎหมาย


 อธิบายธรรมชาติของมนุษย์วา่ มีทงด ั ้านทีเป็ นสว่ นหนึงของ
ธรรมชาติ (Part of Nature) และเป็ นนายเหนือธรรมชาติ
(Master of Nature) ไปพร ้อม ๆ กัน การยอมรับว่ามนุษย์
มีกเิ ลสนีมีผลสําคัญต่อการพัฒนาหลักการปกครองโดย
กฎหมาย (Rule of Law) และคัดค ้านหลักการปกครอง
โดยธรรมราชาในฐานะทีเป็ นการปกครองโดยบุคคล (Rule
of Man) และยอมรับหลักนิรโทษกรรม และความจําเป็ น
รวมทังเป็ นทีมาของหลักลงโทษเฉพาะเมือมีความผิด
 ิ ต ้องการอยูร่ ว่ มกันเป็ น
เน ้นธรรมชาติของมนุษย์วา่ เป็ นสงที
สงั คม และด ้วยเหตุนจึ
ี งต ้องดําเนินชวี ต
ิ ตามหลักเหตุผล
ภายใต ้กฎหมาย และมีผลเป็ นการรับรองหลักการปกครอง
โดยกฎหมายเป็ นใหญ่ไปในตัว
22
Aristotle 384-322 B.C.

 คุณูปการของ Aristotle ในทางกฎหมาย


 ความยุตธ
ิ รรมทัวไปอาจแบ่งออกเป็ น
 ความยุตธิ รรมตามธรรมชาติ (Natural Justice) และ
 ความยุตธิ รรมทีมนุษย์สมมติขน
ึ (Conventional Justice)
 ความยุตธิ รรมเฉพาะเรืองอาจแบ่งเป็ น
 ความยุตธิ รรมในการแบ่งสน ั ปั นสว่ น (Distributive Justice)
โดยเฉพาะการแบ่งสรรปั นสว่ นเกียรติยศ ความมังคัง ตามหลักสด ั สว่ น
หรือหลักสมควรแก่เหตุ กับ
 ความยุตธ ิ รรมในการแลกเปลียนทดแทน (Commutative Justice)
เป็ นเกณฑ์ในสญ ั ญาต่างตอบแทนและค่าสน ิ ไหมทดแทนทางละเมิด
 อธิบายหลักความเป็ นธรรม (Equity, bona fide) ว่าความเป็ นธรรมตาม
ข ้อเท็จจริงหรือ Equity อาจต่างจากกฎหมาย แต่โดยทีกฎหมายย่อมมุง่
ต่อความเป็ นธรรม กฎหมายจึงยอมให ้ Equity มาเป็ นเครืองชว่ ยปรับปรุง

การปรับใชกฎหมายบางกรณี ทอาจให
ี ้ผลไม่เป็ นธรรม ให ้คลายความ
กระด ้างลงและสอดคล ้องกับความเป็ นธรรมตามข ้อเท็จจริงได ้โดยไม่ต ้อง
แก ้กฎหมาย (Nichomachean Ethics 5.10.5)

23
โครงสร ้างความยุตธิ รรมของอาริสโตเติล

ความยุตธิ รรม-iustitia
ความยุตธิ รรมเชงิ
ความยุตธิ รรมทางเนือหา
กลไก-สถาบัน

ความยุตธิ รรมเฉพาะ ความ ความ


ความยุตธิ รรมทัวไป
เรือง ยุตธิ รรม ยุตธิ รรม
ทาง ทาง
ความยุตธิ รรม การเมือง กฎหมาย
ความยุตธิ รรม
ความยุตธิ รรม ความยุตธิ รรม ในการ
ในการ
ตามธรรมชาติ ตามทีตกลงกัน แลกเปลียน
แบ่งสรรปั นสว่ น
ชดเชย

24
Stoicism
 Epicurian -> Pleasure
ความดีและความเป็ นธรรมย่อมขึนอยูก ่ บั ความสุขสนุกบันเทิง
ทียังยืนทีสุด
 Stoicism -> Nature & World Reason โลกและจักรวาล
ดําเนินไปโดยถูกจัดระเบียบจากสงที ิ มีคณ ุ ภาพทางสติปัญญา
อันเป็ นเหตุผลสากล
-> Will to overcome ความทุกข์เกิดเพราะความ
ไม่เข ้าใจเหตุผลตามธรรมชาติ การเอาชนะความทุกข์ได ้ต ้อง
อาศย ั สติปัญญาและพลังจิตทีเข ้มแข็ง
-> Discipline & Diligence มนุษย์พงึ เอาชนะ
ความอยากของตนเอง และดําเนินชวี ต ิ อย่างสอดคล ้องกับ
ธรรมชาติ อดทนต่อความทุกข์ยาก และมีความอุตสาหะ
พากเพียรในการปฏิบต ั ห
ิ น ้าทีของตนเพือประโยชน์และความดี
งามร่วมกันในสงั คม

25
Cicero 106-43 B.C.
 “True law is right reason, harmonious with
nature, diffused among all, constant, eternal.
A law which calls to duty by its commands
and restrains from evil by its prohibition… It
is a sacred obligation not to attempt to
legislate in contradiction to this law, nor may
it be derogated from nor abrogated. In deed
Picture:Wikipedia by neither the Senate nor the people can we
be released from this law, nor does it require
any but oneself to be its expositor or
interpreter, nor is it one law at Rome and
another at Athens, one now and another at a
time, but one eternal and unchangeable
binding all nations through all times…”

26
ซเิ ซโร
“กฎหมายทีแท ้จริงคือเหตุผลทีถูกต ้อง สอดคล ้องกับธรรมชาติ
แผ่ซา่ นไปในทุกสงทุ ิ กอย่าง สมําเสมอเป็ นนิจนิรันดร์ เป็ น
กฎหมายทีก่อให ้เกิดหน ้าทีทีจะต ้องทําโดยคําสงั หรือห ้าม
ไม่ให ้กระทําความชวโดยขั ้อห ้าม เป็ นหน ้าทีอันศก ั ดิสท
ิ ธิทีเรา
จะต ้องไม่พยายามทีจะบัญญัตก ิ ฎหมายให ้ขัดแย ้งกับกฎหมายนี
กฎหมายนีไม่อาจถูกตัดทอนแก ้ไขหรือเพิกถอนยกเลิกเสย ี ได ้
แท ้จริงแล ้วไม่วา่ วุฒส ิ ภาหรือประชาชนก็ไม่มอ ี ํานาจทีจะปลด
เปลืองเราให ้พ ้นจากบังคับของกฎหมายนี และเราไม่จําเป็ นต ้อง
พึงบุคคลหรือสงอื ิ นใด นอกจากตัวของเราเองทีจะบอกว่า
กฎหมายนันคืออะไร หรือตีความว่ากฎหมายนันมีความหมาย
อย่างไร กฎหมายนีไม่เป็ นอย่างหนึงทีกรุงโรม และเป็ นอีกอย่าง
หนึงในเอเธนส ์ เป็ นอย่างหนึงในขณะนีแล ้วเป็ นอีกอย่างหนึงใน
สมัยอืน แต่ยังคงเป็ นกฎหมายอันหนึงอันเดียวไม่เปลียนแปลง
เป็ นนิรันดร และผูกพันบังคับทุกชาติทก ุ ภาษาทุกยุค ทุกสมัย”
27
กําเนิดวิชานิตศ
ิ าสตร์ในสมัยโรมัน
 โรมันเป็ นสงั คมเกษตรกรรมทีมีวน ิ ัย และมีความคิดอนุรักษ์ ผูกพันกับ
ครอบครัวและเครือญาติอย่างยิงยวด เคร่งครัดและเชอในความถู ื กต ้อง
ของจารีตประเพณีอย่างฝั งใจ
 กฎหมายจารีตประเพณีได ้รับการบันทึกไว ้ในรูปกฎหมายสบ ิ สองโต๊ะ เกิด
การอ ้างอิงและตีความ
 สงั คมโรมันได ้รับอิทธิพลจากปรัชญาแบบสโตอิก แม ้จะเห็นว่ากฎหมาย
เก่าล ้าสมัยก็ไม่ยอมเลิก แต่พยายามรักษาของเก่าไว ้ด ้วยการปรุงแต่งด ้วย
เหตุผลในรูปของ iuris prudentes
 ในชว่ งกลางศตวรรษที ๓ ก่อนคริสตศก ั ราช โรมันได ้ขยายอํานาจจาก
คาบสมุทรอิตาลีออกไปรอบเมดิเตอร์เรเนียน และชนะสงครามปูนค ิ
ครอบครองกรีก และอียป ิ ต์ เกิดการขยายตัวทางการค ้า ชวี ต ิ ในเมืองใหญ่
การจัดเก็บภาษี การบริหารการคลังและการปกครองขนานใหญ่
 นับตังแต่ราวศตวรรษที ๒ ถึงก่อนคริสตศก ั ราช เกิดการปรับตัวของระบบ
กฎหมายให ้ยืดหยุน ่ เหมาะแก่กาละเทศะอย่างกว ้างขวาง โดยมีเสนาบดี
ผู ้ใหญ่ด ้านการยุตธิ รรมเรียกว่า Praetor คอยปรับปรุงกฎเกณฑ์คุ ้มครองผู ้
ได ้รับความไม่เป็ นธรรม ถือกันว่าวิชานิตศ ่ ค
ิ าสตร์ยา่ งเข ้าสูย ุ คลาสสค ิ ใน
สมัยนี และเข ้าสูย่ ค
ุ ทองหรือยุคคลาสสค ิ ในชว่ ง ๒๕๐ หลังคริสต์ศก ั ราช

28

ตัวอย่างการตีความและใชกฎหมาย
 หากเอาไม ้ของผู ้อืนมาทําขือบ ้าน กฎหมายสบ ิ สองโต๊ะคุ ้มครองไม่ให ้รือ
ขือบ ้านไป (Tab 6.8) ปั ญหามีวา่ ถ ้าไปเอาสม ั ภาระของผู ้อืนมาทําประตู
หน ้าต่าง เจ ้าของสม ั ภาระจะรือเอาไปได ้หรือไม่?
 หากความเสย ี หายเกิดจากสต ั ว์สเท
ี ้า เจ ้าของสต ั ว์ต ้องชดใชค่้ าสน ิ ไหม
ทดแทน (Tab 7.1) ปั ญหาเกิดมีวา่ หากความเสย ี หายเกิดจากสต ั ว์สองเท ้า
ดังนีเจ ้าของต ้องรับผิดหรือไม่?
 หลักสญ ั ญาต ้องเป็ นสญั ญา เกิดมีปัญหาว่าฝ่ ายใดฝ่ ายหนึงทําสญ ั ญาไป
โดยสําคัญผิด หรือเพราะถูกกลฉ ้อฉลจากอีกฝ่ ายหนึง ดังนียังจะบังคับ
ตามหลักสญ ั ญาต ้องเป็ นสญั ญาต่อไปหรือไม่?
 ื
โดยทีหลักการซอขายทรั พย์โดยสง่ มอบ หรือโดยรับว่าเป็ นสท ิ ธิของผู ้ซอ ื

เป็ นหลักทีใชเฉพาะชาวโรมั น ดังนีหากชาวโรมันขายทรัพย์ให ้ชนชาติอน ื
โดยสง่ มอบ แต่ไม่ชอบด ้วยกฎหมายโรมัน กรรมสท ิ ธิจะโอนไปหรือไม่?
 ในยุคสาธารณรัฐเกิดการอ ้างหลัก exceptio doli (ข ้อต่อสูว่้ าเป็ นการใช ้
สท ิ ธิโดยมิชอบ เป็ นเหตุให ้มีแต่เสย ี หายแก่ผู ้อืน) หลัก bona fide &
aequitas (ข ้ออ ้างว่าเป็ นการใชส้ ทิ ธิโดยสุจริตและเป็ นธรรม) ซงึ Praetor
นํ ามาชว่ ยปรุงแต่งกฎหมายให ้คลายความเคร่งครัดลง โดยใชเทคนิ ้ ค
distinction & analogy และหลักปรัชญากรีกมาเป็ นเครืองชว่ ย

29
ตัวอย่างการตีความกฎหมาย
 กฎหมายสบ ิ สองโต๊ะรับรองอํานาจของหัวหน ้าครอบครัว
(paterfamilias) เหนือสมาชก ิ ในครัวเรือนไปตลอดชพ ี และ
อาจจะนํ าบุตรหลานออกขายในท ้องตลาดได ้ แต่ถ ้าขาย

บุตรชาย ๓ ครัง แล ้วผู ้ซอปล่ อยให ้เป็ นอิสระตามเงือนไขหรือ
เงือนเวลา บุตรชายนันย่อมพ ้นจากอํานาจปกครองของบิดา
(Tab 4.1)
 ้
หลักดังกล่าวนีมีผู ้นํ ามาปรับใชในการปลดปล่ อยบุตรชาย
(emancipatio) โดยทําพิธข ี ายให ้เพือน ๓ ครัง
 ในกฎหมายสบ ิ สองโต๊ะ ไม่มบ ี ทจํากัดอํานาจบิดาในการขาย
บุตรสาว หรือหลาน เดิมเข ้าใจกันว่าจะขายกีครังก็ได ้ แต่เมือ
เกิดการยอมรับหลักการปลดปล่อยบุตรชายแล ้วก็ถอ ื เป็ นหลัก
ว่าขายครังเดียวเป็ นการปลดปล่อยบุตรสาว และหลานเป็ น
อิสระไปด ้วย
30
ยุคทองของกฎหมายโรมัน
 นับตังแต่ต ้นคริสต์ศก ั ราช โรมันตกอยูใ่ ต ้อํานาจของจักรพรรดิและ
ก ้าวไปสูก ่ ารเป็ นมหาอํานาจ แต่ด ้วยความเชอมั ื นในหลักปรัชญา
แบบสโตอิค เชอในเหตุ ื ผลตามธรรมชาติ ทําให ้การใชหลั ้ กเหตุผล
และความเป็ นธรรมได ้รับการยอมรับให ้เป็ นรากฐานการปกครอง
และการดําเนินวิถช ี วี ต ื มาอย่างจริงจัง จักรวรรดิสามารถรักษา
ิ สบ
ความสงบสน ั ติและความมังคังไว ้ถึงราว ๒๕๐ ปี ในยุคนีการศก ึ ษา
กฎหมายขยายตัวเป็ นระบบระเบียบลึกซงึ และนักกฎหมายได ้ขยาย
บทบาทในการวางโครงสร ้างทางการปกครองและกรอบการดําเนิน
วิถช ี วี ต
ิ ของผู ้คนโดยอาศย ั หลักวิชา ไม่ใชด่ ้วยอํานาจบังคับ
 ในชว่ งนีมีการแยกข ้อความคิดทีเป็ นรากฐานในวิชานิตศ ่
ิ าสตร์ เชน
บุคคล ทรัพย์ การฟ้ องคดี แยกกฎหมายบ ้านเมือง (ius civile)
กฎหมายนานาชาติ (ius gentium) และกฎหมายธรรมชาติ (ius
naturale) ออกจากกัน เกิดการแยกกฎหมายออกเป็ น ius
scriptum กับ ius non scriptum แยก ius commune กับ ius
singulare และ ius publicum กับ ius privatum ออกจากกัน เกิด
ตํารากฎหมายของ Gaius ในชว่ งศตวรรษที ๒ หลังคริสต์ศก ั ราช

ซงวางรากฐานความคิ ดทียังคงใชได้ ้อยูแ
่ ม ้ในปั จจุบน

31

ยุคเสอมของกฎหมายโรมั

 หลังจากศตวรรษที ๓ เป็ นต ้นมา หลังจากทีจักรวรรดิเจริญถึงขีด
สุด สงั คมโรมันเริมละทิงคุณธรรมดังเดิม การศก ึ ษาตกตํา และ
ศลี ธรรมและสํานึกรับผิดชอบต่อสว่ นรวมเสอมทรามไปทั
ื ว เกิด
ความระสําระสายทางการเมือง ขาดความเป็ นปึ กแผ่นทางสงั คม
และเกิดการหดตัวทางเศรษฐกิจ และการค ้าพาณิชย์ ระบบ
การเงินล่มสลาย ความอดอยากยากจนขยายตัว ท่ามกลางการ
รุกรานจากชาติอนารยชน ผู ้คนพากันอพยพเข ้าสูศ ่ น
ู ย์กลาง
จักรวรรดิ ทําให ้เกิดความระสําระสายทางสงั คมยิงขึนอีก
จักรพรรดิก็เข ้าแก ้ปั ญหาเฉพาะหน ้าโดยใชอํ้ านาจและกลไก
ราชการเข ้าแทรกแซง ควบคุม บังคับวิถช ี วี ต ิ ของประชาชน และ
ตรากฎหมายกําหนดเรืองราวต่าง ๆ เพิมภาระและรีดภาษี มากขึน
โดยมักขาดการไตร่ตรองอย่างลึกซงึ จักรวรรดิโรมันตกตําลงสู่
ยุคอํานาจนิยม การศก ึ ษา และปรับใชกฎหมายจึ
้ งเพ่งไปทีพระ
ประสงค์ของจักรพรรดิ และข ้าราชการผู ้ใชอํ้ านาจปกครองยิงกว่า
เหตุผลของเรือง เป็ นเหตุให ้วิชานิตศ ิ าสตร์ก็เสอมลงื

32
ประมวลกฎหมายโรมัน

 การแยกประเภทกฎหมายเป็ น Jus Civile, Jus


Naturale, Jus Gentium กับปั ญหาเรืองทาส
 Corpus Juris Civilis (529-534 AD.)
 Digest - หลักเกณฑ์และแนววินจ ิ ฉั ย
 Institute - มูลบทนิตศ
ิ าสตร์
 Codex – พระราชบัญญัตต ิ า่ ง ๆ
 Novels - พระราชกําหนดใหม่

33
ประมวลกฎหมายโรมัน
 อารัมบทในมูลบทนิตศ
ิ าสตร์ (Institute)
 “To the youth desirous of studying the law:
The imperial majesty should be armed with laws as
well as glorified with arms, that there may be good
government in times both of war and of peace, and
the ruler of Rome may not only be victorious over
his enemies, but may show himself as scrupulously
regardful of justice as triumphant over his
conquered foes.”
 “แด่ยวุ ชนผู ้ใฝ่ ใจศก ึ ษากฎหมาย: พระจักรพรรดินันพึง
เฉลิมพระเกียรติด ้วยแสนยานุภาพฉั นใด ก็พงึ ทรงพลโยธา

ด ้วยกฎหมายฉั นนัน เพือจะทรงไว ้ซงการปกครองที ดี ทัง
ในยามสน ั ติ และในยามสงคราม เพือให ้ประมุขแห่งโรมไม่
เพียงมีชย ั ชนะเหนืออริราชศต ั รู แต่ยังทรงเป็ นผู ้รักษาความ
ยุตธิ รรมให ้แก่ศต ั รูผู ้พ่ายแพ ้ด ้วย”
34
ประมวลกฎหมายโรมัน

 ในมูลบทนิตศ ิ าสตร์เล่มแรก บรรพแรก ลักษณะที


หนึง มีข ้อความว่า
 “Justice is the set and constant purpose which
gives to every man his due. Jurisprudence is the
knowledge of things divine and human, the science
of the just and the unjust.”
 “ความยุตธิ รรมคือเจตจํานงอันแน่วแน่ตลอดกาลทีจะให ้แก่
ทุกคนตามสว่ นทีเขาควรจะได ้ วิชานิตศ ิ าสตร์ คือความรู ้ว่า
ด ้วยธรรมอันศกั ดิสท
ิ ธิและเปี ยมด ้วยมนุษยธรรม อันเป็ น
วิทยาการว่าด ้วยความยุตธิ รรมและความอยุตธิ รรม”

35
แหล่งข ้อมูลกฎหมายโรมัน

 http://iuscivile.com
 http://www.justinien.net

36
37

You might also like