You are on page 1of 108

ิ ส ์ (๑)

เต๋าแห่งฟิ สก
ฟริตจอฟ คาปรา
ค ัดลอกจาก http://www.rit.ac.th/homepage-
sc/charud/scibook/tao%20of%20physics

ภาคที่ 1 วิถแ ิ ส์
ี ห่งฟิ สก

บทที่ 1 ฟิ สก ์ ม ัยใหม่ หนทางทีก


ิ สส ่ อปรด้วยห ัวใจ

ิ สส
ฟิ สก ์ มัยใหม่มอ ิ ธิพลอย่างลึกซงึ้ ต่อสงั คมมนุษย์ในแง่มม
ี ท ุ ต่างๆ เกือบทัง้ หมด
เป็ นพืน
้ ฐานของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และทัง้ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติและเทคโนโลยี ได ้
เปลีย
่ นแปลงไขพืน ่ องชวี ต
้ ฐานของการดํารงอยูข ิ บนพืน
้ พิภพนี้ ทัง้ ในทางทีเ่ ป็ นคุณและเป็ น
โทษ ในปั จจุบัน อุตสาหกรรมสว่ นใหญ่ใชประโยชน์
้ ิ สท
จากความรู ้ของวิชาฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วย

อะตอม (Atomic Physics) และจากการประยุกต์ไปใชในการสร ้างอาวุธนิวเคลียร์ มันได ้มี
อิทธิพลต่อโครงสร ้างทางการเมืองของโลก ซงึ่ เป็ นทีท
่ ราบกันดีอยูแ
่ ล ้ว อย่างไรก็ตาม
ิ สส
อิทธิพลของวิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ไม่จํากัดอยูเ่ ฉพาะด ้านเทคโนโลยี หากก ้าวเลยไปถึง
ความคิดและวัฒนธรรมของมนุษย์ ซงึ่ ทําให ้มนุษย์เปลีย
่ นทัศนคติของตนต่อจักรวาล และ
ั พันธ์ของตนกับจักรวาลด ้วย การศก
ต่อความสม ึ ษาสํารวจในขอบเขตของอะตอม และ
อนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม ในศตวรรษที่ 20 ได ้เปิ ดเผยถึงข ้อจํากัดของแนวคิดแบบดัง้ เดิม
และได ้แสดงถึงความจําเป็ น ของการเปลีย
่ นแปลงทัศนคติพน ่
้ื ฐานของเรา ยกตัวอย่างเชน
ความคิดเรือ ิ ส ์ ทีว่ า่ ด ้วยอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมนั น
่ งวัตถุในวิชาฟิ สก ิ้ เชงิ
้ แตกต่างอย่างสน
ิ สด
กับความคิดในวิชาฟิ สก ์ งั ้ เดิม เชน
่ เดียวกันกับความคิดในเรือ
่ งอวกาศ เวลา หรือเหตุและ
ผล ความคิดในเรือ
่ งเหล่านีเ้ ป็ นพืน
้ ฐานของทัศนะต่อโลกรอบตัวเรา และเมือ
่ มันมีการ
เปลีย ิ้ เชงิ โลกทัศน์ของเราก็เริม
่ นแปลงอย่างสน ่ เปลีย ่ กัน
่ นเชน

่ นแปลงซงึ่ เป็ นผลมาจากการศก


การเปลีย ึ ษาในวิชาฟิ สก
ิ สส
์ มัยใหม่เชน
่ ว่านี้ เป็ นที่
วิพากษ์วจิ ารณ์กันอย่างกว ้างขวาง ในหมูน ิ สแ
่ ั กฟิ สก ์ ละนั กปรัชญาทัง้ หลาย ในชว่ งทศวรรษ
ทีผ
่ า่ นมา แต่มน
ี ้อยคนเหลือเกินทีจ ้ ล ้วนนํ าไปสู่
่ ะตระหนั กรู ้ว่า การวิพากษ์ วจิ ารณ์เหล่านั น
ทัศนะทีค ิ ส์
่ ล ้ายคลึงเป็ นอย่างยิง่ กับทัศนะในศาสนาของตะวันออก แนวคิดในวิชาฟิ สก
สมัยใหม่หลายประการ ล ้วนแสดงความคล ้ายคลึงกับความคิดในศาสนาของตะวันออกไกล
ถึงแม ้ว่าความคล ้ายคลึงในทัศนะเหล่านี้ ยังไม่เป็ นทีว่ พ
ิ ากษ์ วจิ ารณ์กันอย่างกว ้างขวาง แต่
ิ สช
นักฟิ สก ์ น
ั ้ นํ าในยุคนีห
้ ลายคนได ้สงั เกตเห็นได ้ข ้อนี้ เมือ ั ผัสกับวัฒนธรรมของ
่ ได ้สม
ตะวันออกไกล ในระหว่างการเดินทางไปปาฐกถาในอินเดีย จีน และญีป
่ น ุ่ ขอยกข ้อความ
เหล่านีเ้ ป็ นตัวอย่าง
่ วกับความเข ้าใจของมนุษย์...ซงึ่ กระจ่างชด
ความคิดหลักหลายประการเกีย ั
ขึน ิ สท
้ เพราะค ้นพบในวิชาฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วยอะตอมนั น ่ งิ่ ใหม่ทเี่ ราไม่คุ ้นเคยหรือไม่
้ มิใชส

เคยได ้ยินได ้ฟั งมาก่อนเลย มันมีมาแล ้ว แม ้ในวัฒนธรรมของเราเอง และยิง่ ปรากฏชด
ิ ดู สงิ่ ทีเ่ ราจะได ้พบ (ในวิชาฟิ สก
ในศาสนาพุทธและฮน ิ สท
์ วี่ า่ ด ้วยอะตอม) ก็คอ
ื การทํา
ให ้ภูมป ั ขึน
ิ ั ญญาแต่โบราณกระจ่างชด ้ มีข ้อสนั บสนุนหนั กแน่นขึน
้ และละเมียดละไม
ขึน

จูเลียส โรเบิรต
์ ออปเพนไฮเมอร์

(ถ ้าหากเราต ้องการ) สงิ่ เทียบเคียงกับปั ญหาในทฤษฏีอะตอม.. (เราต ้อง


หันมา) สนใจกับปั ญหาทางด ้านญาณวิทยา ซงึ่ นั กคิดเชน
่ พระพุทธเจ ้าและเหลาจือ
้ ได ้
ิ มาแล ้ว เมือ
เผชญ ่ พยายามทีจ
่ ะหาเอกภาพระหว่างตัวเราในฐานะผู ้ดูและตัวเราใน
ฐานะผู ้แสดง ในมหาอุปรากรแห่งการดํารงอยู่
นิลส ์ บอหร์

คุณูปการสําคัญ ๆ ในทางทฤษฏีของวิชาฟิ สก
ิ ส ์ ซงึ่ มาจากญีป
่ น ุ่ นั บแต่หลัง
่ งชใี้ ห ้เห็นความสม
สงคราม อาจเป็ นเครือ ั พันธ์ ระหว่างแนวคิดทางปรัชญาของ
ตะวันออกไกล กับปรัชญาของทฤษฏีควอนตัม
เวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิรก

ว ัตถุประสงค์หล ัก

ื เล่มนีค
วัตถุประสงค์ของหนั งสอ ้ อ ึ ษาสํารวจความสม
ื การศก ั พันธ์ระหว่างความคิด
ิ สส
ในวิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ กับความคิดพืน
้ ฐานในปรัชญาและศาสนาของตะวันออกไกล เราจะ
ิ สใ์ นศตวรรษที่ 20 คือ ทฤษฏีควอนตัมและทฤษฏี
พบว่า รากฐานทัง้ สองของวิชาฟิ สก
ั พัทธภาพ ได ้ทําให ้โลกทัศน์ของเราคล ้ายคลึงกับโลกทัศน์ของชาวฮน
สม ิ ดู พุทธ และเต๋า
อย่างไร และความคล ้ายคลึงนีด
้ เู ป็ นจริงยิง่ ขึน
้ อย่างไร เมือ ึ ษาความพยายามทีจ
่ เราศก ่ ะรวม
เอา 2 ทฤษฏีนม
ี้ าอธิบายปรากฏการณ์ในโลกของอนุภาคทีเ่ ล็กมากจนไม่อาจเห็นได ้แม ้ด ้วย
กล ้องจุลทรรศน์ นั่ นคืออธิบายคุณสมบัตแ ิ าของอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมซงึ่ เป็ น
ิ ละปฏิกริ ย
ุ ชนิด ตรงจุดนี้ ซงึ่ เราพบความคล ้ายคลึงอย่างยิง่ และเรา
องค์ประกอบของสสารวัตถุทก
มักจะพบข ้อความทีไ่ ม่อาจทีจ ิ สห
่ ะบ่งบอกได ้ว่า กล่าวโดยนั กฟิ สก ์ รือโดยนั กปราชญ์ของ
ตะวันออกอยูเ่ สมอ

ิ ดู
่ ข ้าพเจ ้ากล่าวถึง “ศาสนาตะว ันออก” ข ้าพเจ ้าหมายถึงปรัชญาศาสนาฮน
เมือ
ิ งึ่ มีละเอียดอ่อนและ
พุทธ และเต๋า แม ้ว่าเรากําลังกล่าวถึงระบบปรัชญาและวินัยปฏิบัตซ
ื้ ฐานของปรัชญาศาสนาเหล่านี้เป็ นสงิ่ เดียวกัน ทัศนะเชน
แตกต่างกันมาก ทว่าโลกทัศน์พน ่ นี้
่ กันในลัทธิศาสนาอืน
มิได ้จํากัดอยูเ่ ฉพาะในตะวันออก แต่จะพบได ้เชน ่ ๆ ในระดับต่าง ๆ กัน
ดังนัน ื เล่มนีก
้ ประเด็นแห่งการวิพากษ์วจิ ารณ์ในหนั งสอ ้ ็ คอ ิ สส
ื วิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ได ้นํ ามาสู่
โลกทัศน์ซงึ่ คล ้ายคลึงเป็ นอย่างยิง่ กับโลกทัศน์ของปราชญ์ตะวันออกทุกยุคสมัยและทุก
ิ งึ่ ลึกซงึ้ (และดูลก
วัฒนธรรม ธรรมเนียมปฏิบัตซ ึ ลับ) นั น
้ ปรากฏอยูใ่ นทุกศาสนา และคําสอน
สว่ นทีล ึ ซงึ้ ก็ปรากฏในปรัชญาตะวันตกหลายสํานั กเชน
่ ก ่ กัน ความสอดคล ้องต ้องกันกับวิชา
ิ สส
ฟิ สก ์ มัยใหม่ มิใชม
่ เี พียงคําสอนทีป
่ รากฏในคัมภีรพ ิ ดู หรือในคัมภีรอ
์ ระเวทของฮน ์ จ
ี้ งิ (I
Ching) หรือใน พระสูตร ของพุทธศาสนาเท่านั น
้ แต่ยังปรากฏอยูใ่ นลัทธิซฟ
ู ี ของอิบบ์ อรา
บี หรือในคําสอนของดอน ฮวน อาจารย์แห่งเผ่ายาคี* ความแตกต่างระหว่างคําสอนสว่ นที่
ลึกซงึ้ ของตะวันออกและตะวันตกก็คอ ้ เป็ นเพียงองค์ประกอบทีไ่ ม่สําคัญ แต่
ื ในตะวันตกนั น
ในตะวันออกมันเป็ นองค์ประกอบใหญ่และสําคัญของลัทธิศาสนาตะวันออกทัง้ หมด ดังนั น

ข ้าพเจ ้าจะใชคํ้ าว่า “โลกท ัศน์แบบตะว ันออก” แทนสว่ นนีเ้ พือ
่ ความสะดวก และจะอ ้างถึง
แหล่งทีม
่ าอืน
่ ๆ ประกอบบ ้าง

ิ ส์
ความหมายของฟิ สก

น่าสนใจทีจ ึ ษาวิวัฒนาการของวิทยาศาสตร์ตะวันตกซงึ่ เริม


่ ะติดตามศก ่ จาก
ปรัชญากรีกยุคแรก เติบโตและเบ่งบานเป็ นพัฒนาการทางความคิดอันหันเหออกจากสาย
ความคิดเดิม ซงึ่ มีลก
ั ษณะเป็ นรหัสยนั ย มาสูโ่ ลกทัศน์ซงึ่ แตกต่างอย่างสน
ิ้ เชงิ กับทัศนะของ
่ นีไ
ตะวันออกไกล ในปั จจุบันวิทยาศาสตร์ตะวันตกกําลังจะเอาชนะทัศนะเชน ้ ด ้ในทีส
่ ด
ุ และ
่ วามคิดของกรีกยุคต ้นและปรัชญาตะวันออก อย่างไรก็ตามทัศนะใน
ได ้กลับมาสูค
วิทยาศาสตร์ปัจจุบันมิได ้มีพน
ื้ ฐานอยูบ
่ นญาณทัศน์เท่านั น ่ นการทดลองซงึ่ มี
้ หากยังอยูบ
ความละเอียดลออและเทีย
่ งตรง และบนสูตรทางคณิตศาสตร์ทแ
่ี น่นอนตายตัวด ้วย

ิ สก
รากฐานของฟิ สก ์ ็เชน
่ เดียวกับวิทยาศาสตร์ตะวันตกแขนงอืน
่ ๆ ทีไ่ ด ้ก่อตัวขึน

ในยุคต ้นของปรัชญากรีกในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล ในวัฒนธรรมซงึ่ วิทยาศาสตร์
ปรัชญา และศาสนามิได ้แยกจากกัน นั กปราชญ์แห่งสํานั กไมลีเซย
ี ทีเ่ มืองไอโอเนียไม่เคย
ใสใ่ จกับการแบ่งแยกเชน
่ นัน
้ เลย เป้ าหมายของพวกท่านคือ เพือ
่ ค ้นหาธรรมชาติหรือ
ิ ” (Physis) คําว่าฟิ สก
องค์ประกอบแท ้จริงของสงิ่ ทัง้ หลาย ซงึ่ เรียกว่า “ไฟซส ิ ส ์ ซงึ่ มาจาก
้ งึ มีความหมายดัง้ เดิมว่า วิชาซงึ่ พยายามค ้นหาธรรมชาติแท ้จริงของสรรพสงิ่
ภาษากรีกคํานีจ

นีเ่ ป็ นความมุง่ หมายของศาสนาทัง้ หลายด ้วย และปรัชญาของสํานั กไมลีเซย


ี ก็ม ี
กลิน
่ อายของศาสนาปะปนอยูด
่ ้วย ชาวกรีกรุน ี นว่า “ไฮโลโซ
่ หลังเรียกพวกไมลีเซย
อิสต์” (Hylozoists) หรือ “ผูท
้ ค
ี่ ด ี วี ต
ิ ว่าสสารว ัตถุมช ิ ” เพราะว่าพวกเขาไม่ถอ
ึ ว่ามีความ
แตกต่างระหว่างสงิ่ มีชวี ต
ิ และสงิ่ ไม่มช
ี วี ต
ิ จิตวิญญาณและวัตถุ พวกเขาไม่มแ
ี ม ้คําเรียกวัตถุ
ิ ” ซงึ่ เต็มไปด ้วยชวี ต
เพราะถือว่าทุกสงิ่ เป็ นการปรากฏแสดงของ “ไฟซส ิ และจิตวิญญาณ
้ ธาเลสจึงกล่าวว่า สรรพสงิ่ ล ้วนมีเทพเจ ้าสถิตอยู่ และอแน็ กซม
ดังนัน ิ านเดอร์มท
ี ัศนะว่า
จักรวาลเป็ นสงิ่ มีชวี ต
ิ ซงึ่ ถูกหล่อเลีย ่ ้วย “นิวมา” (Pheuma) หรือลมหายใจของ
้ งอยูด
จักรวาล ในทํานองเดียวกับทีอ
่ ากาศหล่อเลีย
้ งร่างกายของมนุษย์
ความคิดของเฮราคลิต ัส

ี ใกล ้เคียงกับปรัชญาของอินเดียและจีนโบราณ
ทัศนะดังกล่าวของพวกไปลีเซย
ั เจนขึน
มาก ความสอดคล ้องกับปรัชญาตะวันออกยิง่ ชด ้ ในปรัชญาของเฮราคลิตัสและเอเฟ
ั เฮราคลิตส
ซล ื่ ว่าโลกมีการเปลีย
ั เชอ ่ นแปลงตลอดเวลา “แปรเปลีย
่ น” (Becoming) อยู่
ตลอดนิรันดร สําหรับเขาการเห็นว่าสงิ่ มีชวี ต
ิ ทัง้ มวลไม่เคลือ
่ นไหวเปลีย
่ นแปลงเป็ นผลจาก
ทัศนะทีผ ิ และกฎของจักรวาลสําหรับเขาคือ ไฟ สญ
่ ด ั ลักษณ์แห่งการเลือ
่ นไหล และ
เปลีย ่ งของสรรพสงิ่ เฮราคลิตัสสอนว่า การเปลีย
่ นแปลงอย่างต่อเนือ ่ นแปลงทัง้ หลายใน
โลก เกิดขึน ่ วกันระหว่างสงิ่ ซงึ่ ตรงกันข ้าม และคูข
้ จากการขับเคีย ่ องสงิ่ ซงึ่ ตรงกันข ้ามนั น

แท ้จริงเป็ นเอกภาพ เอกภาพซงึ่ กอปรขึน
้ จากสงิ่ ตรงข ้าม แล ้วไปพ ้นแรงผลักระหว่างกันนี้
เรียกว่า โลโกส (Logos)

สํานักอีเลียเริม ้ ลายลง โดยสํานั กนีถ


่ ทําให ้เอกภาพนีส ้ อ
ื ว่ามีกฎเกณฑ์แห่งสวรรค์
อยูเ่ หนือเทพและมนุษย์ทงั ้ หลาย ในขัน
้ ต ้น กฎเกณฑ์นก
ี้ ็ ค อ
ื ความเป็ นเอกภาพของจักรวาล
่ มา ได ้ถูกทําให ้กลายเป็ นบุคคล ซงึ่ นํ าไปสูก
แต่ตอ ่ ารแบ่งแยกระหว่างจิตและวัตถุ และ
่ ัทธิทวิภาวะ (Dualism) ซงึ่ กลายมาเป็ นลักษณะสําคัญของปรัชญาตะวันตก
นํ าไปสูล

ก ้าวสําคัญในทิศทางดังกล่าวเริม
่ โดยปาร์เมนนิเดสแห่งอีเลีย ซงึ่ เห็นแย ้งกับเฮ
ั (Being) ซงึ่ ไม่อาจ
้ ฐานของเขาว่า “สต”
ราคลิตัสอย่างรุนแรง เขาเรียกหลักการพืน
แบ่งแยกและไม่เปลีย
่ นแปลง เขากล่าวว่าการเปลีย
่ นแปลงไม่อาจมีได ้และเป็ นเพียงการลวง
ั ผัส ความคิดเรือ
ของประสาทสม ่ งวัตถุซงึ่ ไม่อาจทําลายได ้ ทว่ามีคณ
ุ สมบัตต
ิ า่ ง ๆ กันเติบโต
้ จากปรัชญาสํานักนี้ และกลายเป็ นความคิดพืน
ขึน ้ ฐานกระแสหนึง่ ในปรัชญาตะวันตก

อริสโตเติล

่ ะหาทางออก สําหรับ
ในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล นั กปรัชญากรีกพยายามทีจ
ความขัดแย ้งอย่างรุนแรง ระหว่างปาร์เมนนิเดสและเฮราคลิตัส ระหว่างความคิดเรือ ั ซงึ่
่ งสต
ไม่เปลีย
่ นแปลง (ปาร์เมนนิเดส) และความคิดเรือ
่ งการแปรเปลีย
่ นอยูเ่ สมอ (เฮราคลิตัส)
ั ปรากฏในวัตถุซงึ่ ไม่เปลีย
พวกเขาได ้ข ้อสรุปว่า สต ่ นแปลงการผสมผสาน และการแยกออก
ของสสาร วัตถุเหล่านีท
้ ําให ้เกิดการเปลีย
่ นแปลงในโลก ความคิดนีน ่ วามคิดเรือ
้ ่าไปสูค ่ ง
อะตอม หน่วยของวัตถุทเี่ ล็กทีส ุ ซงึ่ ไม่อาจแบ่งแยกได ้ผู ้ทีอ
่ ด ่ ธิบายเรือ
่ งนีช ั เจนทีส
้ ด ่ ด
ุ คือ ลิว
ิ ปั สและเดโมครีตัสนั กคิดเรือ
ซป ั เจน
่ งอะตอมชาวกรีกทัง้ สองได ้แบ่งแยกจิตและวัตถุอย่างชด
้ ฐาน” หลาย ๆ หน่วยรวมเข ้าด ้วยกัน
และให ้ภาพทีว่ า่ วัตถุประกอบด ้วย “องค์ประกอบพืน
ี วี ต
ไม่มช ิ และเคลือ
่ นไหวอยูใ่ นทีว่ า่ ง ไม่มก
ี ารอธิบายถึงเหตุแห่งการเคลือ
่ นไหวนั น
้ แต่
่ วข ้องกับแรงผลักดันภายนอก ซงึ่ มักจะสมมติวา่ มาจากพลังของจิตวิญญาณ อัน
มักจะเกีย
แตกต่างจากวัตถุโดยพืน
้ ฐาน ในศตวรรษต่อมา ภาพพจน์อันนีไ ้ หาสําคัญ
้ ด ้กลายเป็ นเนือ
ของความคิดแบบตะวันตก อันเป็ นความแบบทวิภาวะ ซงึ่ มีการแบ่งแยกออกเป็ นสองฝั กฝ่ าย
ระหว่างจิตและวัตถุ กายและวิญญาณ
ในขณะทีค
่ วามคิดในการแบ่งแยกระหว่างจิตและวัตถุดําเนินไป นั กปรัชญาได ้หัน
ความสนใจไปสูโ่ ลกของจิตวิญญาณมากกว่าโลกของวัตถุ และให ้ความสนใจกับวิญญาณ
ของมนุษย์และปั ญหาทางจริยศาสตร์เป็ นหลัก ปั ญหาเหล่านีไ
้ ด ้ครอบคลุมกระแสความคิด
ของตะวันตกกว่า 2,000 ปี นับแต่เริม
่ ต ้นของวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมของกรีกในศตวรรษ
ทีห ี่ อ
่ ้าและสก ่ นคริสตกาล ความรู ้ในทางวิทยาศาสตร์ในสมัยโบราณถูกจัดระบบโดย
อริสโตเติล ผู ้ซงึ่ วางโครงร่างพืน
้ ฐานของทัศนะต่อจักรวาลของตะวันตกมานานถึงสองพันปี
แต่โดยสว่ นตัวของอริสโตเติลเองเชอ
ื่ ว่า ปั ญหาเกีย
่ วกับวิญญาณของมนุษย์และการเพ่ง
ิ ต่อความสมบูรณ์ของพระเจ ้า เป็ นสงิ่ ทีม
พินจ ี า่ มากกว่าการสํารวจโลกทางวัตถุ เหตุทแ
่ ค ี่ บบ
แผนเกีย
่ วกับจักรวาลของอริสโตเติล ไม่ถก
ู ท ้าทายเป็ นเวลายาวนาน ก็เนือ
่ งมาจากการขาด
ความสนใจในโลกของวัตถุดังกล่าวมานี้ ประกอบกับการสนับสนุนอย่างแข็งขันของ
คริสตจักร ต่อความคิดของอริสโตเติลมาตลอดยุคกลาง

ฉ ันคิด ด ังนนฉ
ั้ ันจึงมีอยู่

พัฒนาการขัน
้ ต่อมาของวิทยาศาสตร์ตะวันตกมาเริม ิ ปวิทยา
่ เอาในสมัยฟื้ นฟูศล
การ เมือ
่ ผู ้คนเริม ื่ ตามอิทธิพลของอริสโตเติลและศาสน
่ ปลดปล่อยตนเองออกจากความเชอ
จักร และเริม
่ แสดงความสนใจแนวใหม่เกีย
่ วกับธรรมชาติ ในปลายศตวรรษที่ 15 เริม
่ มี
ึ ษาธรรมชาติด ้วยจิตใจของวิทยาศาสตร์อย่างแท ้จริง และมีการทดลองเพือ
การศก ่ ทดสอบ
ความคิดแบบคํานึงคํานวณนัน
้ ขึน
้ เป็ นครัง้ แรก พัฒนาการทางวิทยาศาสตร์ ดําเนินควบคูม
่ า
กับความสนใจทางด ้านคณิตศาสตร์ ในทีส
่ ด ่ ารสร ้างสูตรของทฤษฏีทาง
ุ ได ้นํ าไปสูก
วิทยาศาสตร์ ซงึ่ มีพน
ื้ ฐานจากการทดลองและแสดงออกมาในรูปแบบภาษาทางคณิตศาสตร์
กาลิเลโอเป็ นคนแรกทีร่ วมเอาความรู ้จากการสงั เกตกับคณิตศาสตร์เข ้าด ้วยกัน ดังนั น
้ กาลิเล
โอจึงได ้รับการยกย่องให ้เป็ นบิดาแห่งวงการวิทยาศาสตร์สมัยใหม่

วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ถอ
ื ว่ากําเนิดและพัฒนาขึน
้ ภายหลังพัฒนาการของปรัชญา
และต่อมาได ้ดําเนินควบคูก ่ วามคิดสุดโต่ง แห่งการแบ่งแยกระหว่างจิตใจและวัตถุ
่ ันไปสูค
สูตรสําเร็จนีป
้ รากฏในปรัชญาของเดคาร์ต (Descartes) ในศตวรรษที่ 17 ความคิดเกีย
่ วกับ
ธรรมชาติของเขา ยืนพืน ่ นการแบ่งแยกระหว่างสองอาณาจักร ซงึ่ เป็ นอิสระจากกันและ
้ อยูบ
กัน นั่นคือ จิตใจ (res cogitans) และ วัตถุ (res extensa) แนวคิดของเดคาร์ตนี้

นักวิทยาศาสตร์ได ้รับเอาไว ้ใชในการจั ึ ษาวัตถุ โดยถือว่า วัตถุเป็ นสงิ่ ไม่มช
ดการหรือศก ี วี ต

และแยกออกอย่างเด็ดขาดจากตัวนั กวิทยาศาสตร์ และมีทัศนะว่า โลกของวัตถุ ประกอบขึน

จากวัตถุหลากหลายชนิด คุมกันขึน
้ เป็ นเครือ
่ งจักรอันมหึมา ไอแซก นิวตัน ได ้ยึดเอาโลก
ทัศน์ในเชงิ กลจักร (mechanistic) ดังกล่าวในการสร ้างวิชากลศาสตร์ ซงึ่ เป็ นพืน
้ ฐานของ
ิ สด
วิชาฟิ สก ์ งั ้ เดิม แบบแผนของจักรวาลในเชงิ กลจักรของนิวตันนี้ ได ้มีอท
ิ ธิพลอย่างมากต่อ
ิ้ ศตวรรษที่ 19
แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ตงั ้ แต่ครึง่ หลังของศตวรรษที่ 17 จนกระทั่งถึงสน
แนวคิดนี้ ดําเนินควบคูก
่ ับภาพของพระเจ ้า ผู ้เป็ นกษั ตริยป
์ กครองโลก จากสวรรค์เบือ
้ งบน
ั ดิส
โดยกฎอันศก ิ ธิข
์ ท ์ องพระองค์ กฎธรรมชาติทน
ี่ ั กวิทยาศาสตร์เฝ้ าแสวงหาจึงถือว่าเป็ นกฎ
ของพระเจ ้า ซงึ่ ครอบคลุมโลกโดยไม่เปลีย
่ นแปลงและเป็ นนิรันดร์

ปรัชญาของเดคาร์ต ไม่เพียงแต่มอ ิ ธิพลสําคัญ ต่อพัฒนาการของฟิ สก


ี ท ิ สด
์ งั ้ เดิม
เท่านัน
้ ทว่ายังมีอท
ิ ธิพลอย่างมากต่อแนวคิดทั่วไปของตะวันตก แม ้จนในปั จจุบันประโยคที่
่ งลือของเดคาร์ตคือ “Cogito ergo sum” “ฉ ันคิด ด ังนนฉ
เลือ ั้ ันจึงมีอยู”่ ได ้โน ้มนํ าให ้
่ วี ต
ชาวตะวันตกเปรียบเทียบตัวตนของเขาเท่ากับจิต มิใชช ิ ทัง้ หมดจากทัศนะดังกล่าว
ปั จเจกชนสว่ นใหญ่เชอ
ื่ ว่ามีตัวตนอยูภ
่ ายในร่างกาย จิตใจถูกแยกออกจากร่างกาย และถือ
ว่าเป็ นผู ้ควบคุมร่างกาย ดังนัน
้ ความขัดแย ้งทีช ั เจนระหว่างเจตจํานงและสญ
่ ด ั ชาตญาณจึง
ตามมา ปั จเจกชนแต่ละคนถูกแบ่งแยกย่อยออกไปอีกตามกิจกรรมของเขา ความสามารถ
ื่ และอืน
อารมณ์ ความเชอ ่ ๆ ซงึ่ ตกอยูภ ั สน
่ ายใต ้ความขัดแย ้งอันไม่รู ้จบ ก่อให ้เกิดความสบ
และบีบคัน
้ อย่างต่อเนือ
่ งในทางอภิปรัชญา

ท ัศนะแบบองค์รวม

ี้ ด ้สะท ้อนภาพทัศนะต่อโลก “ภายนอก” ซงึ่ ถือ


การแบ่งแยกภายในตัวมนุษย์นไ
ว่าเป็ นรวมของวัตถุและเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ทีแ
่ ยกจากกันได ้ สภาพแวดล ้อมธรรมชาติถก

กระทําเหมือนมีสว่ นประกอบทีแ
่ ยกจากกันได ้หลาย ๆ สว่ น และถูกตักตวงใชและทํ
้ าลายลง
โดยกลุม
่ ผลประโยชน์หลาย ๆ กลุม ้ ด ้แผ่ขยายไปในสงั คม มีการ
่ ทัศนะแห่งการแบ่งแยกนีไ
แบ่งแยกเป็ นชาติ เผ่าพันธุ์ ศาสนา และกลุม ื่ ว่าสว่ นย่อยต่าง ๆ
่ การเมืองต่าง ๆ ความเชอ
เหล่านี้ ภายในตัวเรา ในสภาพแวดล ้อม และสงั คม แยกจากกันอย่างแท ้จริง เป็ นสาเหตุ
สําคัญของวิกฤตการณ์ในทางสงั คม ทางนิเวศวิทยา และทางวัฒนธรรมในปั จจุบัน ทําให ้เรา
ห่างเหินจากธรรมชาติและจากเพือ ั ทรัพยากรธรรมชาติ
่ นมนุษย์ด ้วยกัน ทําให ้เกิดการแบ่งสน
อย่างไม่เป็ นธรรม ทําให ้เกิดความยุง่ ยากในทางเศรษฐกิจและการเมือง ความรุนแรง
ขยายตัวขึน
้ ทัง้ ทีเ่ ป็ นไปเองและจากสถาบันต่าง ๆ สภาพแวดล ้อมเป็ นพิษและน่ารังเกียจ
สง่ ผลให ้ชวี ต ื่ มทรามลง
ิ ในทางร่างกายและจิตใจเสอ

ทัศนะในเชงิ แบ่งแยกของเดคาร์ตและโลกทัศน์แบบกลจักร จึงมีทัง้ คุณและโทษ


้ ระสบผลสําเร็จอย่างสูงในการพัฒนาฟิ สก
ในเวลาเดียวกัน แนวคิดนีป ิ สด
์ งั ้ เดิมและ
เทคโนโลยี แต่กอ ี ต่ออารยธรรมของเราติดตามมาเชน
่ ให ้เกิดผลเสย ่ เดียวกันน่ายินดียงิ่ ที่
วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 20 ซงึ่ เริม
่ ต ้นจากการแบ่งแยกตามแนวคิดของเดคาร์ตและโลก
่ นั น
ทัศน์แบบกลจักร ทัง้ ทีโ่ ดยแท ้จริงแล ้วเพราะทัศนะเชน ้ นํ ามาก่อนเท่านั น
้ ได ้เอาชนะการ
่ วามคิดในเรือ
แบ่งแยก และกลับไปสูค ่ งเอกภาพ ซงึ่ มีมาในปรัชญากรีกและปรัชญา
ตะวันออก

ในทางตรงกันข ้ามกับทัศนะในเชงิ กลจักรของตะวันตก โลกทัศน์ของตะวันออก


เป็ นแบบ “องค์รวม” (Organic) ในสายตาของปราชญ์ชาวตะวันออก สรรพสงิ่ และ
เหตุการณ์ทัง้ มวล ซงึ่ รับรู ้ได ้ทางประสาทสม
ั ผัส ต่างเชอ
ื่ มโยงสม
ั พันธ์กัน และเป็ นเพียงการ
แสดงออกในหลายแง่มม ั ธรรมอันเดียวกัน แนวโน ้มของเราในการแบ่งแยกโลก
ุ ของสจ
ออกเป็ นปั จเจกชนและสงิ่ ต่าง ๆ ทีแ ึ ว่ามีตัวตนของเราแยกต่างหาก
่ ยกจากกัน และความรู ้สก
จากโลกนีน
้ ัน
้ ล ้วนเป็ นภาพลวงของความคิดในการวัดและจัดระบบของเรา ในพุทธศาสนา
เรียกภาวะนีว้ า่ อวิชชา ซงึ่ เป็ นภาวะผิดปกติของจิต และเป็ นสงิ่ ทีต
่ ้องเอาชนะให ้ได ้

่ จิตใจถูกรบกวน ความหลากหลายของสรรพสงิ่ ก็เกิดขึน


เมือ ้

่ จิตใจเงียบสงบลง ความหลากหลายของสรรพสงิ่ ก็มลายไป


เมือ
เป็นหนึง่ เดียว8

แม ้ว่าศาสนาของตะวันออกจะแตกต่างกันออกไปในรายละเอียด แต่ทัง้ หมดล ้วน


มีคําสอนสําคัญทีม ิ ดู พุทธ หรือเต๋า
่ งุ่ เน ้นความเป็ นเอกภาพของจักรวาล ไม่วา่ จะเป็ นฮน
เป้ าหมายสูงสุดของศาสนาก็คอ ั พันธ์ของ
ื การหยั่งรู ้ความเป็ นเอกภาพและความประสานสม
สรรพสงิ่ เพือ ึ แห่งตัวตนซงึ่ แบ่งแยกและรวมตนเข ้ากับสจ
่ ก ้าวล่วงความรู ้สก ั ธรรม ความหยั่งรู ้
นี้ เรียกว่า “การรูแ ่ ารกระทําทางความคิด แต่เป็ น
้ จ้ง” (enlightenment) มิใชก
ประสบการณ์ทัง้ หมดของบุคคลซงึ่ อาศัยการปฏิบัตใิ นทางศาสนา โดยเหตุนน
ี้ ั กปรัชญาทาง
ตะวันออกสว่ นใหญ่จงึ เป็ นนักปรัชญาศาสนา

่ งิ่
ในทัศนะของตะวันออก การแบ่งแยกธรรมชาติออกเป็ นวัตถุตา่ ง ๆ กัน มิใชส
้ ฐาน และสงิ่ ต่าง ๆ เหล่านัน
พืน ้ ก็อยูใ่ นสภาพแห่งการเปลีย
่ นแปลงเลือ
่ นไหลตลอดเวลา
ดังนัน ้ หาจึงเป็ นสงิ่ ทีเ่ กีย
้ โลกทัศน์ของตะวันออกโดยเนือ ่ วเนือ
่ งกับการเคลือ
่ นไหว มีเวลา
่ นแปลงเป็ นลักษณะสําคัญ เอกภพเป็ นความจริงหนึง่ เดียวซงึ่ ไม่อาจแบ่งแยก
และการเปลีย
เคลือ ่ ลอดเวลา มีชวี ต
่ นไหวอยูต ิ เป็ นองค์รวม เป็ นทัง้ จิตใจและวัตถุในเวลาเดียวกัน

เมือ
่ การเคลือ
่ นไหว และการเปลีย ิ ําคัญของสรรพสงิ่ แรง
่ นแปลง เป็ นคุณสมบัตส
ซงึ่ ผลักดันการเคลือ
่ นไหวนัน ่ ทีป
้ จึงมิได ้มาจากภายนอก ดังเชน ่ รากฏในทัศนะของกรีก
โบราณ แต่เป็ นคุณสมบัตภ
ิ ายในของวัตถุเอง ทํานองเดียวกัน ภาพของพระผู ้เป็ นเจ ้าใน
่ าพของผู ้ปกครองซงึ่ กําหนดความเป็ นไปของโลกจากเบือ
ความคิดของตะวันออก มิใชภ ้ งบน
แต่เป็ นกฎเกณฑ์ซงึ่ ควบคุมสรรพสงิ่ จากภายในเอง

พระองค์สถิตอยูใ่ นสรรพสงิ่

แต่สรรพสงิ่ มิใชพ
่ ระองค์

ไม่มผ
ี ู ้ใดรู ้จักพระองค์

สรรพสงิ่ คือกายของพระองค์

พระองค์ทรงควบคุมสงิ่ ทัง้ มวลจากภายใน


พระองค์ คือ วิญญาณของท่าน ผู ้ทรงควบคุมจากภายใน

เป็ นอมตะ

บทต่อ ๆ ไปมุง่ ทีจ


่ ะเสนอแนะว่าแนวคิดของตะวันออก กล่าวโดยทั่วไปคือ
่ ําคัญทีส
ความคิดในศาสนาต่าง ๆ จะเป็ นฐานทางปรัชญาทีส ่ ําคัญแก่ทฤษฏีทาง
วิทยาศาสตร์ปัจจุบันได ้ และการค ้นพบในทางวิทยาศาสตร์ของมนุษย์ สอดคล ้องกับความ
ื่ ในทางศาสนาและเป้ าหมายในทางจิตวิญญาณอย่างทีส
เชอ ุ ความคิดสําคัญสองประการ
่ ด
ในแนวนีค
้ อ ั พันธ์ของสรรพสงิ่ และธรรมชาติแห่งการ
ื ความเป็ นเอกภาพกับประสานสม
เคลือ
่ นไหวเปลีย
่ นแปลงในภายในของจักรวาล เมือ
่ เราเจาะลึกลงไปในโลกของอนุภาคที่
เล็กเกินกว่าทีจ
่ ะเห็นได ้ด ้วยกล ้องจุลทรรศน์มากขึน
้ เท่าใด เราจะเข ้าใจยิง่ ขึน
้ ว่า เหตุใดนั ก
ิ สส
ฟิ สก ์ มัยใหม่จงึ มีทัศนะเชน
่ เดียวกับปราชญ์ทางตะวันออก โดยเห็นว่าโลกเป็ นระบบของ
องค์ประกอบต่าง ๆ ซงึ่ ไม่อาจแยกจากกัน มีปฏิกริ ย
ิ าซงึ่ กันและกัน และเคลือ
่ นไหวอยูเ่ สมอ
โดยมีมนุษย์รว่ มเป็ นสว่ นหนึง่ ของระบบนีไ
้ ด ้อย่างไร

ื อิเล็กทรอนิกสเ์ ล่มนี้ มุง่ ทีจ


หนั งสอ ่ ะปรับปรุงภาพพจน์ของวิทยาศาสตร์ โดยการ
่ ําคัญ ระหว่างจิตใจแห่งปรีชาญาณของตะวันออก และ
แสดงให ้เห็นถึงความสอดคล ้องทีส
วิทยาศาสตร์ตะวันตก ทัง้ มุง่ เสนอแนะว่าวิทยาศาสตร์ไปไกลเกินกว่าเทคโนโลยีและ
วิถท ิ ส ์ อาจเป็ นวิถท
ี าง – หรือเต๋า –แห่งฟิ สก ี างทีก
่ อปรด ้วยหัวใจ เป็ นวิถท ่ วามรู ้
ี างสูค
ในทางจิตใจและความเข ้าใจตนเอง
บทที่ 2 การรูแ
้ ละการเห็ น

ั ย์ จงนํ าข ้าฯ สูส


จากอสต ่ จ
ั จะ

่ วามสว่าง
จากความมืด จงนํ าข ้าฯ สูค

่ มตะ
จากความตาย จงนํ าข ้าฯ สูอ
อุปนิษัท

ึ ษาความสอดคล ้องระหว่างวิชาฟิ สก
ก่อนทีเ่ ราจะศก ิ สส
์ มัยใหม่และศาสนา
ตะวันออก เราจะต ้องพิจารณาปั ญหาว่า เราจะเปรียบเทียบอย่างไร ระหว่างวิทยาศาสตร์ ซงึ่
ถูกอธิบายด ้วยภาษาทางคณิตศาสตร์อน ั ซอนเป็
ั สลับซบ ้ นอย่างยิง่ กับวินัยปฏิบัตใิ นทาง
ศาสนา ซงึ่ มีพน
ื้ ฐานอยูท
่ ก
ี่ ารภาวนา และยืนยันว่า แท ้จริงความรู ้แจ ้งในภายในนั น
้ ไม่อาจ
อธิบายได ้
สงิ่ ทีจ ่ ี้ คือข ้อความซงึ่ กล่าวโดยนั กวิทยาศาสตร์ และ
่ ะนํ ามาเปรียบเทียบในทีน
นักปราชญ์ของตะวันออกเกีย
่ วกับความรู ้ของตน เพือ
่ ทีจ
่ ะให ้การเปรียบเทียบนีม
้ ี
ิ ธิภาพ
ประสท

ประการแรก เราต ้องถามตนเองก่อนว่า “ความรู”้ ชนิดใดทีเ่ รากําลังพูดถึง


พระภิกษุ จากนครวัตหรือเกียวโตพูดถึง “ความรู”้ ชนิดเดียวกับทีน ิ สจ
่ ักฟิ สก ์ ากออกซฟอร์ด
หรือเบิรก
์ เคยพูดถึงหรือไม่

ประการทีส ึ ษาเปรียบเทียบ เราจะ


่ อง ข ้อความหรือประโยคชนิดใดทีเ่ รากําลังศก
เลือกเอาสงิ่ ใดจากข ้อมูลของการทดลอง สมการ หรือทฤษฎีในด ้านหนึง่ และจากคัมภีรท
์ าง
ศาสนา เทพปกรณั ม (myths)* โบราณ หรือตําราทางปรัชญาในอีกด ้านหนึง่ บทนีม
้ งุ่ ทีจ
่ ะ
ทําความกระจ่างในประเด็นทัง้ สองนี้ คือ ธรรมชาติของความรู ้ซงึ่ เรากําลังพิจารณาและ

ภาษาทีใ่ ชในการอธิ
บายความรู ้นัน

ในประวัตศ
ิ าสตร์ทผ
ี่ า่ นมาเป็ นทีย
่ อมรับกันว่า ความรู ้ของมนุษย์นัน
้ มีสองลักษณะ
คือ ความรู ้ทีเ่ กิดจากการคิดในแนวเหตุผล และความรู ้ทีผ
่ ด
ุ ขึน
้ ในใจหรือญาณทัศน์
(rational and intuitive) ซงึ่ เทียบได ้กับวิทยาศาสตร์และศาสนาตามลําดับ

ในตะวันตกความรู ้ชนิดหลังถูกถือว่าด ้อยกว่าความรู ้ในเชงิ เหตุผลและเป็ น


วิทยาศาสตร์ แต่ในตะวันออกความรู ้นีก
้ ลับตรงกันข ้าม

ความคิดของปราชญ์สองท่านของตะวันตกและตะวันออก ซงึ่ แสดงออกใน


ประโยคต่อไปนีเ้ ป็ นตัวอย่างทีด
่ ข
ี องความรู ้สองลักษณะ

โสเครติสของกรีก กล่าวประโยคซงึ่ มีชอ


ื่ เสย
ี งว่า “ข้าพเจ้ารูว้ า
่ ข้าพเจ้าไม่รู ้
อะไรเลย” และ

้ ของจีนกล่าวว่า “การไม่รว
เหลาจือ ู้ า
่ ตนรูอ
้ ะไร เป็นการดีทส
ี่ ด
ุ ”

ั เจนในชอ
ในตะวันออกคุณค่าของความรู ้ทัง้ สองประการปรากฏชด ื่ ทีเ่ รียก
่ ในคัมภีรอ
ตัวอย่างเชน ์ ป ั บูรณ์ หรือ “สมมติ
ุ นิษัทกล่าวถึงความรู ้อย่างสูงและความรู ้สม

สจจะ” ั
และ “ปรม ัตถสจจะ”

้ สนั บสนุนซงึ่
ในทางตรงกันข ้ามปรัชญาจีนกลับสอนว่า ความรู ้ทัง้ สองประการนั น
กันและกัน ซงึ่ แสดงออกในคูห
่ ยินและหยัง อันเป็ นพืน
้ ฐานของความคิดจีน ดังนั น
้ ปรัชญา
เต๋าและขงจือ
้ จึงเกิดขึน
้ ในจีนยุคโบราณ เพือ
่ รองรับความรู ้ทัง้ สองลักษณะไว ้อย่าง
สอดคล ้องกัน

2.1 ความรูส ั ัทธ์


้ มพ
ความคิดเชงิ เหตุผลได ้มาจากประสบการณ์ซงึ่ เราได ้เกีย
่ วข ้องกับวัตถุ บุคคล หรือ
เหตุการณ์ในสภาพแวดล ้อมประจําวัน เป็ นฝั กฝ่ ายของปั ญญาซงึ่ ทํางานในการจําแนก แบ่ง
่ งิ่ ต่าง ๆ ลักษณะเชน
เปรียบเทียบ วัด และจัดหมวดหมูส ่ นีจ
้ งึ ก่อให ้เกิดการแบ่งแยกในโลก
ของความคิด เกิดสงิ่ ตรงกันข ้ามซงึ่ ต ้องอิงอาศัยซงึ่ กันและกัน เป็ นเหตุทช
ี่ าวพุทธเรียก
ั พัทธ์
ความรู ้ชนิดนีว้ า่ ความรู ้สม

การย่อสรุป (Abstraction) จึงเป็ นลักษณะสําคัญของความรู ้ชนิดนี้ เพราะว่าใน


่ ําคัญ ของรูปลักษณะโครงสร ้าง
การเปรียบเทียบ การจัดแบ่งหมวดหมู่ ตามความแตกต่างทีส
้ เราไม่อาจจะนํ าเอาทุกลักษณะของสงิ่ นั น
และปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ รอบตัวเรานัน ้ มาพิจารณา
่ ําคัญบางลักษณะเท่านั น
ได ้ แต่เราต ้องเลือกเอาลักษณะทีส ้ ดังนั น
้ เราได ้สร ้างแผนทีข
่ อง
้ ในความคิดคํานึงของเรา โดยย่นย่อสงิ่ ต่าง ๆ ให ้เหลือเพียงโครงร่างคร่าว ๆ
ความจริงขึน
้ ความรู ้ในเชงิ เหตุผลจึงเป็ นระบบของความคิดและสญ
ของมันเท่านัน ั ลักษณ์ทถ
ี่ ก
ู ย่นย่อสรุป
มีลักษณะโครงสร ้างแบบลําดับการณ์เชงิ เสนตรง
้ ซงึ่ เป็ นแบบฉบับของความคิดและการพูด
ของเรา ในภาษาพูดสว่ นใหญ่ โครงสร ้างเชงิ เสนตรงเช
้ ่ นี้ แสดงออกอย่างชด
น ั แจ ้งโดยการ
ใชตั้ วอักษร ซงึ่ สอ
ื่ สารประสบการณ์และความคิดออกมาเป็ นข ้อความยาว ๆ

ในทางตรงกันข ้าม โลกธรรมชาติเป็ นสงิ่ หลากหลายและซบ


ั ซอน
้ โลกซงึ่ กอปร
ด ้วยมิตห ้
ิ ลาย ๆ มิต ิ มิได ้มีเสนตรงหรื ่ น่นอนสมํา่ เสมออย่างสมบูรณ์โลกซงึ่ สงิ่ ต่าง
อรูปร่างทีแ
ๆ มิได ้ปรากฏเป็ นลําดับ แต่ปรากฏพร ้อม ๆ กัน โลกซงึ่ วิชาฟิ สก
ิ สส
์ มัยใหม่บอกเราว่า แม ้
ี ักษณะโค ้ง เป็ นสงิ่ ทีช
อวกาศอันว่างเปล่าก็มล ั เจนว่าระบบการย่อสรุปความคิดของเราไม่
่ ด
สามารถอธิบายหรือเข ้าใจความจริงนีไ
้ ด ้อย่างสมบูรณ์ ในการคิดเกีย ิ
่ วกับโลก เราต ้องเผชญ
กับปั ญหาในลักษณะเดียวกันทีน ิ เมือ
่ ักเขียนแผนทีเ่ ผชญ ่ เขาจะเขียนแสดงผิวโค ้งของโลก
่ ผ่นราบ เราคาดหวังได ้แต่เพียงสงิ่ ทีใ่ กล ้เคียงความจริงเท่านั น
บนแผนทีแ ้ ในขบวนการ
้ ความในเชงิ เหตุผลทัง้ หมดจึงอยูข
ดังกล่าว และดังนัน ่ อบเขตทีจ
่ ํากัด

อาณาเขตของความคิดในเชงิ เหตุผล เป็ นขอบเขตของวิทยาศาสตร์ซงึ่ กอปรด ้วย


่ ละวิเคราะห์ ข ้อจํากัดของความรู ้ใด ๆ ซงึ่ ได ้มา
การวัดและกําหนดปริมาณ การจัดหมวดหมูแ
โดยวิธก ่ นีป
ี ารเชน ั เจนมากขึน
้ รากฏชด ิ ส์
้ ๆ ในวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ โดยเฉพาะวิชาฟิ สก
สมัยใหม่ ซงึ่ ได ้แสดงให ้เห็นดังคํากล่าวของเวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิรก
์ ว่า “คําพูดหรือ
ความคิดทีก ั ส
่ ระจ่างชดที ่ ด ี อบเขตการประยุกต์ใชไ้ ด้อย่างจําก ัด”
ุ ก็มข (1)

ี้ ด
2.2 นิว้ ชท ่ วงจ ันทร์ไม่
ี่ วงจ ันทร์หาใชด

ผู ้คนโดยมาก ยากทีจ ่ ลอดเวลาถึงข ้อจํากัดและความเป็ นสงิ่


่ ะตระหนั กรู ้อยูต
ั พันธ์ของความรู ้เชงิ เหตุผล เนือ
สม ่ งจากการจัดฉวยเอาสงิ่ ทีเ่ ป็ นตัวแทนของความจริงนั น

ั สนเกีย
ง่ายกว่าการจับฉวยเอาตัวความจริงมาก เราจึงมักจะสบ ่ วกับตัวแทนและความจริง
ั ลักษณ์ตา่ ง ๆ เป็ นตัวความจริง ศาสนาของตะวันออกมี
และทึกทักเอาว่าความคิดและสญ
เป้ าหมายสําคัญประการหนึง่ ในการทีจ ั สนอันนี้ พวกนิกายเซนกล่าวว่า "นิว้ ที่
่ ะขจัดความสบ
ี้ วงจ ันทร์หาใชด
ชด ่ วงจ ันทร์ไม่" และจางจือ
้ กล่าวว่า

ไซมีไว ้สําหรับจับปลา แต่เมือ


่ ได ้ปลา คนก็ลม
ื ไซ

แร ้วมีไว ้สําหรับดักกระต่าย แต่เมือ


่ ได ้กระต่าย คนก็ลม

แร ้ว

คําพูดมีไว ้ถ่ายทอดความคิด แต่เมือ


่ จับความคิดนัน
้ ได ้
ื คําพูด(2)
แล ้ว คนก็ลม

ี้ ระเด็น
ในตะวันตก อัลเฟรด คอร์เยฟซกี (Alfred Korzybski) นั กภาษาศาสตร์ได ้ชป
เดียวกันด ้วยคําขวัญของเขาว่า “แผนทีม ่ ัวอาณาเขต”
่ ใิ ชต

สงิ่ ทีน
่ ั กปราชญ์ทางตะวันออกกล่าวถึงหรือสนใจ คือ ประสบการณ์โดยตรงแห่ง
ั จะ ซงึ่ ล่วงพ ้นทัง้ ความคิดและการรับรู ้ในทางประสาทสม
สจ ั ผัส ใน คัมภีรอ
์ ป
ุ นิษัท กล่าวไว ้ว่า

สงิ่ ใดไร ้ลักษณ์ ไร ้สรรพสาํ เนียง สม


ั ผัสมิได ้ เป็ นอมตะ

สงิ่ ใดไร ้รส ไร ้กลิน


่ ไม่เปลีย
่ นแปร

ไม่มต
ี ้น ไม่มป
ี ลาย ยิง่ ใหญ่กว่ามหาราช คงสภาพอยูน
่ ิ
รันดร์

่ บุคคลหยั่งรู ้สงิ่ นั น
เมือ ้ ย่อมรอดพ ้นจากปากขอ
งมรณา (3)

ชาวพุทธเรียกความรู ้ซงึ่ มาจากประสบการณ์เชน


่ นัน
้ ว่า “ความรูส ั รณ์” เพราะไม่
้ มบู
้ กับการแบ่งแยก การย่อสรุป การจําแนกแจกแจงในทางปั ญญา (ซงึ่ เราก็ได ้เห็นแล ้วว่าเป็ น
ขึน
ั พัทธ์ และเป็ นความรู ้ซงึ่ มาจากการประมาณ) ความรู ้สม
ความรู ้สม ั บูรณ์เป็ นประสบการณ์โดยตรง
่ นนเอง”
ต่อ “ความเป็นเชน ั้ (suchness) ซงึ่ ไม่มก
ี ารแบ่งแยก แตกต่าง ความเข ้าใจอย่าง
่ นัน
สมบูรณ์ ต่อความเป็ นเชน ้ เอง เป็ นแกนสําคัญของศาสนาตะวันออก และของประสบการณ์
ทางจิตวิญญาณ ในทุกสายวัฒนธรรม

ั จะสูงสุดมิใชว่ ต
ศาสนาตะวันออกเน ้นยํ้าอยูเ่ สมอว่า สจ ั ถุทต
ี่ งั ้ แห่งการคิดคํานึงหรือ
ั จะได ้ครบถ ้วน ทัง้ นี้ เพราะสจ
การอรรถาธิบาย คําพูดมิอาจจะอธิบายถึงสจ ั จะนัน
้ อยูเ่ หนือการรับรู ้
ทางอายตนะ เหนือความนึกคิดซงึ่ เป็ นจุดเริม
่ ต ้นของทัศนะและคําพูด คัมภีรอ
์ ป
ุ นิษัทกล่าวไว ้ว่า
่ งึ่ จักษุ ไม่อาจแลเห็น
ทีซ

อธิบายไม่ได ้ด ้วยคําพูด จิตดําริไปไม่ถงึ

เราไม่อาจรู ้ ไม่อาจเข ้าใจ

ใครจะสอนถึงมันได ้อย่างไร (4)

2.3 เต๋าเตอจิง

เหลาจือ ั จะนีว้ า่ “เต๋า” และบรรทัดแรกของคัมภีร ์ เต๋าเตอจิง (Tao Te


้ เรียกสจ
่ สดงให้เห็ นได้ มิใชเ่ ต๋าอ ันเป็นนิ
้ กล่าวไว ้ว่า “เต๋าทีแ
Ching) ของเหลาจือ
ร ันดร์” ข ้อเท็จจริงซงึ่ เห็นได ้ชด
ั เจนจากหน ้าหนั งสอ
ื พิมพ์ทวี่ า่ มนุษยชาติมไิ ด ้มีปัญญามาก
ขึน ี่ า่ นมา ซงึ่ ตรงกันข ้ามกับความรู ้เชงิ เหตุผล ทีเ่ พิม
้ แต่อย่างใดตลอดเวลาสองพันปี ทผ ่ พูน
้ อย่างมากมาย เป็ นสงิ่ ทีแ
ขึน ั เจนถึงการทีไ่ ม่อาจถ่ายทอดความรู ้สม
่ สดงอย่างชด ั บูรณ์นัน
้ ได ้
ด ้วยคําพูด ดังทีจ
่ างจือ ั
้ กล่าวว่า “หาก (สจจะ) เป็นสงิ่ ทีอ
่ ธิบายได้ ทุกคนก็คงจะบอก
น้อง ๆ ของต ัวแล้ว” (5)

ดังนัน ั บูรณ์ จึงเป็ นประสบการณ์แห่งสจ


้ ความรู ้สม ั จะ ซงึ่ นอกเหนือความคิดนึก
ิ้ เชงิ เป็ นประสบการณ์ซงึ่ ผุดโพลงขึน
โดยสน ้ ในสํานึกอันมิใชส
่ ามัญ ซงึ่ อาจเรียกได ้ว่าภาวะ
่ ริง ซงึ่ ได ้รับการพิสจ
แห่ง “ฌาน” ภาวะดังกล่าวมีอยูจ ู น์ยน ่ ต่ในหมูศ
ื ยัน มิใชแ ่ าสนิกของ
ตะวันออกและตะวันตกเท่านั น ี้ ด
้ แต่ยงั ได ้รับการชช ั ในการวิจัยทางจิตวิทยาด ้วย ดังปรากฏ
ในคํากล่าวของวิลเลียม เจมสว์ า่

ความรับรู ้สามัญของเรา ซงึ่ เรียกกันว่าความรับรู ้ใน


เหตุผล เป็ นเพียงความรับรู ้ ลักษณะหนึง่ เท่านั น
้ ยังมีความรับรู ้
อีกลักษณะหนึง่ ซงึ่ แตกต่างไปอย่างสน
ิ้ เชงิ เป็ นความรับรู ้ซงึ่ มี
ศักยภาพสูง แยกจากความรู ้สามัญด ้วยเพียงฉากกัน
้ ทีบ
่ าง ทีส
่ ด

้ เอง (6)
เท่านัน

ิ สจ
ถึงแม ้ว่านักฟิ สก ์ ะสม
ั พันธ์กับความรู ้เชงิ เหตุผลมาก และศาสนิกจะสม
ั พันธ์กับ
ญาณปั ญญา ทว่าความรู ้ทัง้ สองลักษณะเกิดขึน ั เจนยิง่ ขึน
้ ในทัง้ สองสาขา เราจะเห็นได ้ชด ้
เมือ ี ารได ้มาและการแสดงออกซงึ่ ความรู ้ทัง้ ในฟิ สก
่ เราตรวจสอบวิธก ิ สแ
์ ละในศาสนา
ตะวันออก

2.4 วิธท
ี างวิทยาศาสตร์
ิ ส ์ ความรู ้ได ้มาจากกระบวนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ซงึ่ มีสาม
ในวิชาฟิ สก
ขัน
้ ตอน

ขนตอนแรก
ั้ ่ วกับปรากฏการณ์ซงึ่
เป็ นการรวบรวมข ้อเท็จจริงในการทดลองเกีย
ึ ษา
ทําการศก

ขนตอนที
ั้ ส
่ อง นํ าเอาข ้อเท็จจริงจากการทดลองมาโยงเข ้ากับคณิตศาสตร์ และ
ึ้ ซงึ่ จะเชอ
สร ้างเป็ นโครงร่าง (scheme) ทางคณิตศาสตร์ขน ื่ มโยงสญ
ั ลักษณ์ตา่ ง ๆ เข ้า
ั และเทีย
ด ้วยกันอย่างกระชบ ่ งตรง โครงร่างนีเ้ รียกว่าแบบจําลอง (model) ทางคณิตศาสตร์
ื่ สารความเข ้าใจได ้มาก ก็จะเรียกว่า ทฤษฎี (theory) ทฤษฎีนก
หรือหากว่ามันสอ ้
ี้ ็จะถูกใชใน
การทํานายผลของการทดลองอันต่อไป ซงึ่ กระทําขึน
้ เพือ
่ ทดสอบความเป็ นไปได ้ในแง่มม

ต่าง ๆ ของทฤษฎีนัน
้ ในขัน
้ นีน ิ สอ
้ ักฟิ สก ์ าจจะพึงพอใจเมือ
่ ได ้พบโครงร่างทางคณิตศาสตร์
แล ้ว และรู ้วิธท
ี จ ้ านายการทดลองต่อ ๆ มา
ี่ ะใชทํ

แต่กระนัน
้ ก็ตาม เขาก็อาจจะต ้องการทีจ
่ ะแสดงผลของการทดลองของเขาแก่ผู ้ที่
่ ักฟิ สก
มิใชน ิ ส ์ ดังนัน
้ จึงต ้องอธิบายมันในภาษาทั่ว ๆ ไป นั่นหมายความว่าเขาจะต ้องสร ้าง
แบบจําลองโดยอาศัยภาษาสามัญ ซงึ่ จะอธิบายโครงร่างทางคณิตศาสตร์ของเขา แม ้
สําหรับนักฟิ สก
ิ สเ์ อง การสร ้างแบบจําลองทางภาษาเชน
่ นั น
้ อันเป็ น ขนที
ั้ ส่ าม ของการวิจัย
จะเป็ นบรรทัดฐานของความเข ้าใจซงึ่ เขาบรรลุถงึ

แน่นอนว่าในทางปฏิบัต ิ ขัน ิ้ เชงิ และไม่ได ้


้ ตอนทัง้ สามไม่ได ้แยกจากกันอย่างสน
่ นัน
เกิดตามลําดับเชน ่ นั กฟิ สก
้ เสมอไป ยกตัวอย่างเชน ิ สอ
์ าจจะคิดแบบจําลองทาง
คณิตศาสตร์ได ้โดยอาศัยความเชอ
ื่ บางประการในทางปรัชญา ซงึ่ เขาก็จะเชอ
ื่ ในแนวคิดนั น

แม ้ว่าจะมีการทดลองซงึ่ แสดงผลในทางกันข ้ามอยูก
่ ็ตาม ดังนั น
้ เขาจึงต ้องพยายาม
ดัดแปลงแบบจําลองของเขาให ้ครอบคลุมถึงการทดลองใหม่ ๆ ดังกล่าวด ้วย แต่หากว่า
ผลการทดลองยังคงขัดแย ้งแบบจําลองของเขาเขาก็จะต ้องทิง้ มันไป

ี ารสร ้างทฤษฎีโดยอาศัยการทดลองเป็ นพืน


วิธก ้ ฐานนั น
้ เป็ นทีท
่ ราบกันดีวา่ เป็ น
วิธก ่ เดียวกันในทาง
ี ารทางวิทยาศาสตร์ และเราจะพบว่า ในปรัชญาตะวันออกก็เป็ นเชน
ตรงกันข ้าม

ปรัชญากรีกกลับมีวธิ ท
ี แ
ี่ ตกต่างกันออกไป ถึงแม ้ว่านั กปรัชญากรีกหลายคนมี
ความคิดทีล ึ ซงึ้ มากเกีย
่ ก ่ วกับธรรมชาติ ซงึ่ มักจะคล ้ายคลึงเป็ นอย่างยิง่ กับแบบจําลองทาง
วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ แต่ความแตกต่างอันสําคัญระหว่างวิทยาศาสตร์และปรัชญากรีกก็
คือ ทัศนคติแห่งวิทยาศาสตร์ซงึ่ ถือการสงั เกตเป็ นหลัก อันเป็ นสงิ่ ทีจ
่ ต
ิ ใจแบบกรีกไม่คุ ้นเคย
เป็ นอย่างยิง่

ชาวกรีกสร ้างแบบจําลองต่าง ๆ โดยอาศัยการคิดคํานึงเอาด ้วยเหตุผล จาก


หลักการพืน ั พจน์บางประการ (deduction) มิใชโ่ ดยการสรุปหลักการเอาจากสงิ่
้ ฐานหรือสจ
ทีถ ู สงั เกต (induction)
่ ก
ิ ปะแห่งการคิดค ้นหาความจริงเอาจากหลักเกณฑ์ทั่วไป
ในทางตรงกันข ้าม ศล
ของชาวกรีกนี้ เป็ นสงิ่ จําเป็ นสําหรับขัน
้ ตอนทีส
่ องของการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ คือการ
สร ้างแบบจําลองทางคณิตศาสตร์ทก ั ใจความสําคัญ ดังนั น
ี่ ระชบ ้ มันจึงเป็ นสว่ นสําคัญที่
จําเป็ นสว่ นหนึง่ ของวิทยาศาสตร์

ความรู ้และกิจกรรมต่าง ๆ ในเชงิ เหตุผล เป็ นองค์ประกอบสว่ นใหญ่ ในการวิจัย


่ ัง้ หมด สว่ นทีเ่ ป็ นเหตุผลในการวิจัยอาจจะเป็ นสงิ่ ทีไ่ ร ้ค่า หาก
ทางวิทยาศาสตร์ ทว่ามิใชท
ไม่ได ้รับการเสริมประกอบด ้วยสว่ นทีเ่ ป็ นญาณทัศน์ (intuition) ซงึ่ ทําให ้นั กวิทยาศาสตร์ม ี
ความเข ้าใจและสร ้างสรรค์สงิ่ ใหม่ ๆ ขึน ่ ว่านีม
้ ญาณเชน ้ ทันทีทันใด และมิใช ่
้ ักจะเกิดขึน
ขณะเมือ
่ นั่งคิดสมการทีโ่ ต๊ะทํางาน แต่มักจะเกิดขึน
้ ในขณะแห่งการพักผ่อนในอ่างอาบนํ้ าใน
่ นีเ้ อง หลังจากการ
ระหว่างเดินเล่นอยูใ่ นป่ า หรือบนหาดทราย ในขณะแห่งการพักผ่อนเชน
คิดค ้นอย่างหนัก จิตใจดูเหมือนจะเอาชนะอุปสรรคของความคิดได ้ และญาณอันในกระจ่าง
้ อย่างฉั บพลัน ซงึ่ ยังมีความปิ ตแ
เกิดขึน ิ ละรืน
่ เริงในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์เป็ นอันมาก

2.5 ทุกสงิ่ เป็นต ัวเลข

อย่างไรก็ตาม ญาณดังกล่าวจะเป็ นสงิ่ ไร ้ค่าแก่วช ิ ส ์ หากว่าไม่สามารถนํ าไป


ิ าฟิ สก
้ ้างสูตรทางคณิตศาสตร์ขน
ใชสร ึ้ และอธิบายเป็ นภาษาสามัญได ้ ลักษณะสําคัญของสูตร
ดังกล่าวก็คอ
ื การย่อสรุปดังทีไ่ ด ้กล่าวแล ้ว มันประกอบด ้วยระบบของความคิดและ
ั ลักษณ์ตา่ ง ๆ ทีก
สญ ่ อ
่ รูปขึน
้ เป็ นแผนทีข
่ องความจริง แผนทีน
่ แ
ี้ ทนบางแง่มม
ุ ของความจริง
เท่านัน ั เจนว่าความจริงคืออะไร เนือ
้ เราไม่อาจรู ้ได ้อย่างชด ่ งจากเรารวบรวมแผนทีข
่ องเราที
ละเล็กทีละน ้อยตัง้ แต่ในวัยเด็กโดยมิได ้มีการวิเคราะห์อย่างจริงจัง ดังนั น
้ ภาษาคําพูดของ
เราจึงไม่อาจระบุความหมายทีช ั เจนได ้ เมือ
่ ด ั คําหนึง่ ซงึ่ มักจะมี
่ เราได ้ยินคําพูดสก
ความหมายหลายประการสว่ นมากมันจะผ่านเข ้าไปในจิตใจของเราอย่างสลัว ๆ ไม่ชด
ั เจน
และค ้างอยูใ่ นจิตใต ้สํานึกของเรา

ความทีภ ั เจนนัน
่ าษาของเรามีความหมายกํากวมไม่ละเอียดชด ้ จําเป็ นสําหรับกวี
ซงึ่ รังสรรค์งานของเขาโดยอาศัยความหมายของภาษาทีแ
่ ฝงฝั งในจิตใต ้สํานึก และสงิ่ ที่
เกีย ้ เป็ นสว่ นใหญ่ ในทางตรงกันข ้าม วิทยาศาสตร์มงุ่ ทีจ
่ วโยงกับความหมายนั น ่ ะจับฉวย
ภาษาทีม
่ ค ั เจนและความเกีย
ี วามหมายชด ่ วพันของภาษาทีไ่ ม่กํากวม ดังนัน
้ จึงย่อสรุปภาษา
ั ้ หนึง่ โดยจํากัดความหมายของคํา ทําให ้โครงสร ้างของมันเป็ นมาตรฐานเดียวกัน โดย
อีกชน
กฎของตรรกศาสตร์ การย่อสรุปดังกล่าวถึงขัน ั บูรณ์ในคณิตศาสตร์ เมือ
้ สม ่ คําพูดถูกแทน
ั ลักษณ์และความเกีย
ด ้วยสญ ั ลักษณ์ตา่ ง ๆ ถูกกําหนดอย่างชด
่ วโยงระหว่างสญ ั เจนตายตัว
่ นี้ นักวิทยาศาสตร์สามารถสรุปเอาข ้อมูลต่าง ๆ ลงในสมการทางคณิตศาสตร์
ในลักษณะเชน
ั ลักษณ์บรรทัดเดียว ซงึ่ หากจะอธิบายเป็ นภาษา
เพียงสมการเดียว กล่าวคือสรุปลงเป็ นสญ

ธรรมดาอาจใชความยาวหลายหน ้ากระดาษ
่ ะไรอืน
ทัศนะทีว่ า่ คณิตศาสตร์มใิ ชอ ่ นอกจากภาษาซงึ่ ย่นย่อสรุปและถูกอัดแน่น
เท่านัน ่ กัน โดยแท ้จริงนั กคณิตศาสตร์หลายคนเชอ
้ ได ้รับการท ้าทายเชน ื่ ว่าคณิตศาสตร์
มิใชเ่ พียงภาษาซงึ่ ใชอธิ
้ บายธรรมชาติ หากทว่าเป็ นสงิ่ ทีม
่ อ
ี ยูใ่ นธรรมชาติเองแล ้ว ผู ้ริเริม

ความคิดนีค ื ปิ ทากอรัส (Pythagoras) ผู ้ซงึ่ กล่าวประโยคทีม
้ อ ่ ช
ี อ ี งว่า “ทุกสงิ่ เป็น
ื่ เสย
ต ัวเลข” และได ้พัฒนารหัสยลัทธิอันมีลักษณะพิเศษในเชงิ คณิตศาสตร์ได ้อย่างลึกซงึ้
ปรัชญาของปิ ทากอรัสได ้เสนอเหตุผลเชงิ ตรรกะเข ้าสูข
่ อบเขตของศาสนา จนพัฒนามาเป็ น
พืน
้ ฐานทีม
่ ั่นคงของปรัชญาศาสนาตะวันตก เบอร์ทรันด์ รัสเซล กล่าวว่า

ื่ มโยงเอาคณิตศาสตร์และเทวศาสตร์เข ้าด ้วย


การเชอ
ซงึ่ เริม ้ โดยปิ ทากอรัส ได ้เป็ นลักษณะสําคัญของปรัชญา
่ ขึน
ศาสนาในกรีก ในยุคกลางและในสมัยปั จจุบัน เรือ
่ ยมาจนถึง
คานต์...ในเพลโต เซนต์ออกุสติน, โทมัส อควินา, เดคาร์ต, สปิ
โนชา และเลียบนิซ มีการผสมผสานอย่างแนบแน่นระหว่าง
ี ธรรมและตรรกะของสงิ่ ซงึ่ เป็ น
ศาสนาและเหตุผล ระหว่าง ศล
นิรันดร ซงึ่ มาจากปิ ทากอรัส และเป็ นสงิ่ ทีแ
่ ยก เทวศาสตร์ของ
ี ซงึ่
ยุโรปทีเ่ ต็มด ้วยเหตุผลความคิดนึก จากศาสนาของเอเชย
มี ลักษณะตรงไปตรงมามากกว่า (7)

2.6 ต ัวเลขทีค
่ ับแคบและอึดอ ัด

ี ซงึ่ มีล ักษณะตรงไปตรงมามากกว่า” ย่อมไม่ได ้รับเอา


“ศาสนาของเอเชย
ทัศนะทางคณิตศาสตร์ของปิ ทากอรัสไปอย่างแน่นอน ในทัศนะของตะวันออก คณิตศาสตร์
ซงึ่ มีโครงสร ้างซงึ่ แตกแขนงออกไปมากมาย และสอ
ื่ ความหมายอย่างชด
ั เจนนั น
้ เป็ นสว่ น
ของแผนที่ ซงึ่ เกิดขึน ่ าพของตัวสจ
้ จากความคิด มิใชภ ั จะเอง สจ
ั จะในประสบการณ์ของ
้ เป็ นสงิ่ ทีไ่ ม่อาจวัดคํานวณเอาได ้ ไม่อาจแบ่งแยกได ้
นักปราชญ์ตะวันออกนัน

ี ารย่อสรุปในทางวิทยาศาสตร์ เป็ นสงิ่ ทีท


วิธก ิ ธิภาพ ทว่าเรา
่ รงพลัง และมีประสท
ี อะไรบางอย่างเป็ นสงิ่ ทดแทน เมือ
ต ้องสูญเสย ั เจน
่ เราจํากัดระบบความคิดของเราให ้ชด
เพียงไร เมือ
่ เราจัดให ้มันประสานสอดคล ้องกันอย่างมีระบบ ก็ยงิ่ ไกลออกไปจากโลกที่
แท ้จริงมากเพียงนัน
้ ย ้อนมาดูข ้อเปรียบเทียบเรือ
่ งแผนทีแ
่ ละอาณาเขตของคอร์เยฟซกี

่ ผ่นหนึง่ ซงึ่ ในขอบเขตแห่งความ


เราอาจกล่าวได ้ว่า ภาษาสามัญเป็ นแผนทีแ
เทีย
่ งตรงของมัน มีความยืดหยุน
่ แก่การอธิบายหรือคิดโค ้งไปตามอาณาเขตจริง ๆ ได ้
พอสมควร แต่เมือ
่ เราทําให ้มันเป็ นระบบทีจ
่ ริงจังมากขึน
้ ความยืดหยุน
่ ค่อย ๆ หายไปทีละ
น ้อยและด ้วยภาษาของคณิตศาสตร์ เราได ้มาถึงจุดซงึ่ การเชอ
ื่ มโยงกับความจริงมีอยูเ่ พียง
ั พันธ์ระหว่างสญ
บางเบา จนกระทั่งความสม ั ลักษณ์ และประสบการณ์ ในการรับรู ้ของเรา ไม่
ปรากฏ นีค
่ อ
ื เหตุผลทีเ่ ราจําต ้องให ้คําอธิบายด ้วยภาษาธรรม แก่แบบจําลองทาง
ั เจนเท่าภาษาทางคณิตศาสตร์ก็ตาม
คณิตศาสตร์และทฤษฎี แม ้จะกํากวมและไม่ชด

เป็ นสงิ่ สําคัญในการทีจ


่ ะเข ้าใจความแตกต่าง ระหว่างแบบจําลองทางคณิศาสตร์
และความหมายในภาษาพูดของมัน แบบจําลองทางคณิตศาสตร์เป็ นภาษาทีม
่ โี ครงสร ้าง
ั และแน่นอนมาก ทว่าสญ
กระชบ ั ลักษณ์ในภาษาทีใ่ ชไม่
้ สมั พันธ์โดยตรงกับประสบการณ์ของ
เรา ในทางตรงกันข ้าม ภาษาพูดซงึ่ อธิบายแบบจําลองนั น ้
้ เป็ นการใชแนวคิ
ดเพือ
่ ก่อให ้เกิด
ั เจนและค่อนข ้าง
ความเข ้าใจโดยไม่ผา่ นความคิดนึกในทางคณิตศาสตร์ แต่มักจะไม่ชด
กํากวม ในแง่นท
ี้ ัง้ สองไม่ตา่ งไปจากแบบจําลองของความจริงทางปรัชญา และสามารถ
นํ ามาเปรียบเทียบกันได ้เป็ นอย่างดี

หากว่ามีสว่ นซงึ่ เป็ นญาณทัศน์ในวิทยาศาสตร์ ก็ยอ


่ มมีสว่ นทีเ่ ป็ นเหตุผลใน
่ กัน อย่างไรก็ตาม ระดับความสําคัญของเหตุผลและตรรกะก็ตา่ งกัน
ศาสนาตะวันออกเชน
่ ในคัมภีรพ
ออกไปในคําสอนของศาสนาต่าง ๆ ยกตัวอย่างเชน ิ ดู หรือคัมภีร ์
์ ระเวทของฮน
มัธยมิกะ (Madhyamika) ของพุทธมีคําสอนซงึ่ เป็ นเหตุเป็ นผลอยูม
่ าก ในขณะทีเ่ ต๋าไม่ให ้
ื่ ถือต่อเหตุผลและตรรกะ เซนซงึ่ แตกแขนงจากพุทธศาสนาโดยได ้รับอิทธิพล
ความเชอ
่ าร “ไร้คา
อย่างมากจากเต๋ากลับเน ้นทีก ํ พูด ไร้อรรถาธิบาย ไร้คา
ํ สอน ไร้ความรู”้ เซน
่ ระสบการณ์ของการรู ้แจ ้ง และให ้ความสําคัญน ้อยมากกับการ
มุง่ ความสนใจทัง้ หมดไปทีป
อธิบายประสบการณ์ ดังกล่าว วลีของเซนซงึ่ เป็ นทีร่ ู ้จักกันดีกล่าวว่า “ในขณะทีท
่ า
่ น
กล่าวถึงสงิ่ ๆ หนึง่ ท่านก็พลาดจากสงิ่ นนเส
ั้ ยี แล้ว”

แม ้ว่าศาสนาตะวันออกอืน ั เจนก็ตาม
่ ๆ จะไม่เน ้นไปในด ้านใดด ้านหนึง่ อย่างชด
แต่ตัวประสบการณ์โดยตรงยังเป็ นแกนสําคัญของทุกศาสนา แม ้แต่ศาสนิกทีม
่ ค
ี วามสนใจใน
การวิเคราะห์วจิ ารณ์อย่างลึกซงึ้ ก็มไิ ด ้ยึดความนึกคิดเป็ นแหล่งทีม
่ าของความรู ้ ทว่าใช ้
ความนึกคิดเพือ
่ วิเคราะห์และอธิบายประสบการณ์โดยตรงในการปฏิบัตศ
ิ าสนธรรมของตน
ความรู ้ทัง้ มวลตัง้ อยูบ ่ ทีว่ า่ นี้ ดังนั น
่ นประสบการณ์เชน ้ ธรรมเนียมปฏิบัตข
ิ องตะวันออกจึงมี
ลักษณะสําคัญอยูท ี่ ารเฝ้ าสงั เกต ซงึ่ ผู ้สอนมักจะเน ้นอยูเ่ สมอ ดังเชน
่ ก ่ ที่ ดี.ที. สซ
ี ก
ึ ิ เขียน
เกีย
่ วกับพุทธศาสนาว่า

ประสบการณ์ของบุคคลเป็ น...รากฐานของพุทธ
ปรัชญา ในแง่นพ ุ ธศาสนา เป็ นศาสนาแห่งการสงั เกตและ
ี้ ท
ทดลอง เหตุผลต่าง ๆ เกิดขึน
้ ภายหลัง เพือ
่ หยั่งถึง ความหมาย
ของประสบการณ์แห่งการรู ้แจ ้ง (8)

ั ัส
2.7 นอกเหนือจากประสาทสมผ
โจเซฟ นีดแฮมได ้นํ าเอาทัศนคติแห่งการเฝ้ าสงั เกตของเต๋ามาเป็ นจุดเด่นในงาน
ื่ Science and Civilization in china เขาได ้ค ้นพบว่าทัศนคติเชน
เขียนของเขาชอ ่ นีไ
้ ด ้สง่ ให ้
เต๋าเป็ นรากฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน

นีดแฮมกล่าวเกีย ่ แรก ๆ ว่า เป็ นผู ้ที่ “ถอนต ัวออกจาก


่ วกับนักปรัชญาเต๋ารุน

สงคม มุง ่ น
่ สูถ ่ ภาวนาให้แจ้งต่อกฎของธรรมชาติและสรรพสงิ่ อ ัน
ิ่ ก ันดาร ป่าเขา เพือ
หลากหลาย ซงึ่ เป็นสงิ่ ปรากฏแสดงของธรรมชาติ” (9) จิตวิญญาณทํานองเดียวกันได ้
แสดงออกในวลีของเซน

ผู ้ทีอ
่ าจจะเข ้าใจในความหมายของธรรมชาติแห่งความ
เป็ นพุทธะ คือผู ้ทีเ่ ฝ้ าสงั เกต ฤดูกาลและความสม
ั พันธ์แห่งเหตุ
ปั จจัย (10)

ฐานของความรู ้ซงึ่ ตัง้ อย่างมั่นคงอยูบ


่ นประสบการณ์ในศาสนาตะวันออก
สอดคล ้องกับฐานแห่งความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ซงึ่ ตัง้ อยูบ
่ นการทดลอง ความสอดคล ้องนีม
้ ี
มากยิง่ ขึน ่ พิจารณาธรรมชาติของประสบการณ์ในทางศาสนา ซงึ่ ได ้รับการอธิบายในศา
้ เมือ
สนธรรมของตะวันออกว่าเป็ นญาณทัศนะ ซงึ่ เกิดขึน
้ โดยตรง อยูน
่ อกขอบเขตของความคิด
่ ้วยการคิดคํานึง ได ้มาด ้วยการมองด ้านในและการเฝ้ า
นึกและได ้มาด ้วยการเฝ้ าดูมใิ ชด
สงั เกต

่ งการเฝ้ าสงั เกตได ้ปรากฏในชอ


ในลัทธิเต๋า ความคิดในเรือ ื่ ของโบสถ์แห่งเต๋า กู
อัน (Kuan) ซงึ่ มีความหมายเดิมว่า “การดู” พวกเต๋าจึงถือเอาโบสถ์เป็ นสถานทีแ
่ ห่งการ
เฝ้ าสงั เกต ในธยาน ซงึ่ เป็ นชอ
ื่ เรียกนิกายเซนในจีน การรู ้แจ ้งมักจะถูกอธิบายว่า “การเห็ น
ซงึ่ เต๋า” และการเห็นถือเป็ นฐานของความรู ้ในพุทธศาสนาทุกนิกาย คําสอนของพระพุทธ
ี ก
เจ ้าในอริยมรรคมีองค์แปด มรรคองค์แรกคือ การเห็นชอบ ตามด ้วยการรู ้ชอบ ดี.ที. สซ ึ ิ
เขียนเกีย
่ วประเด็นนีว้ า่

การเห็นเป็ นสงิ่ ทีส


่ ําคัญทีใ่ นญาณวิทยาของชาวพุทธ เพราะการเห็นเป็ น
พืน
้ ฐาน ของการรู ้ การรู ้จะเป็ นไปไม่ได ้ถ ้าปราศจากการเห็น ความรู ้ทัง้ มวลเริม
่ จาก
การเห็น ดังนัน
้ การรู ้และการเห็นจึงเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกันในคําสอนของพระพุทธ
องค์ พุทธธรรมในขัน ่ ารเห็นสจ
้ ปรมัตถ์จงึ มุง่ สูก ั จะตามทีม
่ ันเป็ น การเห็น คือ การมี
ประสบการณ์ของการรู ้แจ ้ง (11)

้ ล ้ายคลึงกับคําสอนของดอน ฮวน อาจารย์แห่งเผ่ายาคี ซงึ่


ข ้อความข ้างบนนีค
กล่าวว่า
“ความพึงพอใจของข ้าอยูท
่ ก
ี่ ารเห็น...เพราะด ้วยการ
เห็นเท่านัน
้ ทีม
่ นุษย์ผู ้ทรงปั ญญาจะรู ้ได ้” (12)

มีข ้อควรระวังทีจ
่ ด
ุ นีค
้ อ
ื ไม่ควรถือการเน ้นทีก
่ ารเห็นในธรรมเนียมปฏิบัตข
ิ อง
้ อย่างเถรตรงเกินไป แต่ต ้องเข ้าใจในเชงิ เปรียบเทียบเนือ
ศาสนาตะวันออกนัน ่ งจาก
ประสบการณ์ตอ ั จะในทางศาสนาโดยเนือ
่ สจ ่ ระสบการณ์ของประสาทสม
้ แท ้มิใชป ั ผัส เมือ

ปราชญ์ทางตะวันออกกล่าวถึงการเป็ น หมายถึงขบวนการรับรู ้ซงึ่ อาจรวมการมองเห็น แต่
โดยสาระแล ้วมีความหมายเลยพ ้นออกไปถึงประสบการณ์ตอ ั จะทีน
่ สจ ่ อกเหนือจากประสาท
ั ผัส อย่างไรก็ตาม สงิ่ ทีท
สม ่ า่ นเหล่านั น ่ กล่าวถึงการเห็น การดู หรือการสงั เกต
้ มุง่ เน ้นเมือ
คือลักษณะการทีไ่ ด ้ความรู ้จากการสงั เกต ท่าทีการแสวงหาความรู ้จากการสงั เกตเชน
่ นีข
้ อง
ปรัชญาตะวันออกได ้เตือนให ้ระลึกถึงการมุง่ เน ้นอยูท ี่ ารสงั เกตในวิทยาศาสตร์ โดยทีเ่ ป็ น
่ ก
ึ ษาเปรียบเทียบของเรา ขัน
ประเด็นแห่งการศก ้ ตอนการทดลองในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์
อาจเทียบได ้กับการมองด ้านในของศาสนาตะวันออก และแบบจําลองและทฤษฎีทาง
วิทยาศาสตร์ก็อาจเทียบได ้กับการอธิบายความหมายของญาณทัศนะ ซงึ่ เกิดจากการมอง
นัน
้ ในหลาย ๆ แบบ

ั อ
2.8 ความซบซ ้ นทีค
่ ล้ายๆก ัน

ความคล ้ายคลึงระหว่างการทดลองทางวิทยาศาสตร์และประสบการณ์ทาง
ศาสนา ดูเป็ นสงิ่ น่าประหลาดเมือ
่ พิจารณาความแตกต่างของกระบวนการสงั เกต ทดลองทัง้
ิ สท
สองฝ่ าย นักฟิ สก ์ ําการทดลองโดยมีผู ้ร่วมงานซงึ่ ทํางานอย่างละเอียดลออและอาศัย
เทคโนโลยีทซ ั ซอนมาก
ี่ บ ้ ในขณะทีศ
่ าสนิกได ้ความรู ้จากการพิจารณาใคร่ครวญ โดยมิได ้
อาศัยเครือ
่ งจักรใด ๆ ในชว่ งเวลาแห่งการภาวนายิง่ ไปกว่านั น
้ การทดลองทางวิทยาศาสตร์
จะกระทําซํ้าและได ้ผลอย่างเต็มได ้ ณ เวลาใด หรือโดยบุคคลใดก็ตาม ในขณะที่
ประสบการณ์ทางศาสนาทีล ึ ซงึ้ ดูจะมีเพียงบางคนเท่านั น
่ ก ้ ทีอ
่ าจเข ้าใจถึงได ้ และในโอกาส
พิเศษเฉพาะเท่านัน
้ อย่างไรก็ด ี เมือ ึ ษาอย่างละเอียดลึกซงึ้ ลงไปก็จะพบว่า ข ้อแตกต่าง
่ ศก
ของการเฝ้ าสงั เกตสองแนวนัน
้ อยูท
่ วี่ ธิ ก
ี ารมากกว่าอยูท
่ ค ื่ ถือได ้ หรือความซบ
ี่ วามเชอ ั ซอน

ของมัน

่ ้องการทําการทดลองซํ้าและได ้ผลเชน
ใครก็ตามทีต ่ เดิมนั น
้ ในการทดลองทาง
ิ สท
ฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วยอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม จะต ้องผ่านการฝึ กอบรมเป็ นเวลาหลายปี ผู ้ทีผ
่ า่ น
การฝึ กอบรมแล ้วเท่านัน
้ จึงจะสามารถตัง้ คําถามพิเศษเฉพาะแก่ธรรมชาติโดยผ่านทางการ
ทดลองและสามารถเข ้าใจคําตอบนัน
้ ได ้ โดยนั ยเดียวกัน การจะได ้ประสบการณ์ทางศาสนา
ทีล ึ ซงึ้ ธรรมดาแล ้วบุคคลนัน
่ ก ้ จะต ้องผ่านการฝึ กฝนเป็ นเวลาหลายปี โดยมีอาจารย์ท ี่
ชํานาญคอยแนะนํ าให ้ และเชน
่ เดียวกับการฝึ กอบรมทางวิทยาศาสตร์ ระยะเวลาในการ
ฝึ กฝนมิได ้เป็ นสงิ่ เดียวทีจ
่ ะประกันความสําเร็จได ้ หากว่านั กศก
ึ ษาเหล่านั น
้ ประสบผลสําเร็จ
เขาก็สามารถทีจ ่ เดิมได ้ การทีจ
่ ะทําการทดลองทีใ่ ห ้ผลเชน ่ ระสบการณ์ซงึ่
่ ะสามารถเข ้าสูป
้ โดยเท็จจริงแล ้วเป็ นสงิ่ จําเป็ นของการฝึ กฝนปฏิบัตธิ รรมทุก
ได ้บรรลุถงึ แล ้วได ้อีกนัน
รูปแบบและเป็ นเป้ าหมายอันสําคัญของคําสอนในทุกศาสนา

ดังนัน ่ งิ่ พิเศษเฉพาะมากกว่าการทดลองทาง


้ ประสบการณ์ทางศาสนาจึงมิใชส
ั ซอนไม่
วิทยาศาสตร์ ในทางตรงกันข ้ามซบ ้ ั ซอนที
น ้อยไปกว่ากัน แม ้ว่าความซบ ้ ป ่ รากฏใน
รายละเอียดนัน ั ซอนและประส
้ เป็ นคนละชนิดกัน ความซบ ้ ิ ธิภาพของเครือ
ท ่ งมือทางเทคนิค
ิ สอ
ของนักฟิ สก ์ าจเทียบกับความตระหนั กรู ้ในการปฏิบัตธิ รรมทัง้ ทางร่างกายและจิตวิญญาณ
ในขณะแห่งการภาวนาอันหยั่งลงอย่างลึกซงึ้ ดังนั น
้ ทัง้ นั กวิทยาศาสตร์และผู ้ปฏิบัตธิ รรม ได ้
พัฒนาวิธก
ี ารทีม ั ซอนในการเฝ้
่ รี ายละเอียดซบ ้ าสงั เกตธรรมชาติซงึ่ มิใชว่ ส ั ของสามัญชนจะ
ิ ย
เข ้าใจได ้

2.9 ญาณท ัศนะ

โดยทั่ว ๆ ไป แม ้ว่าประสบการณ์อันลึกซงึ้ ในทางศาสนาจะไม่ปรากฏแก่ผู ้


่ ไิ ด ้ฝึ กฝนมาอย่างเพียงพอก็ตาม ญาณทัศนะซงึ่ เจาะตรงสูธ
ปฏิบัตธิ รรมทีม ่ รรมชาติของ
สรรพสงิ่ ก็เป็ นทีป
่ ระจักษ์แก่ในเราได ้ในชวี ต
ิ ประจําวัน เราทุกคนคุ ้นเคยกับสภาวะทีเ่ ราได ้ลืม
ื่ ของบุคคล หรือสถานทีห
ชอ ้
่ รือคําพูดบางคํา และไม่อาจนึกถึงมันได ้แม ้จะใชสมาธิ
มากทีส
่ ด

ก็ตาม มัน “ติดอยูแ
่ ค่รม ึ ไม่ออก จนเราเลิกใสใ่ จกับมันและหันไป
ิ ฝี ปากของเรา” แต่ก็นก
สนใจสงิ่ อืน ้ ในชวั่ พริบตา เราก็จําชอ
่ และทันทีทันใดนัน ื่ ซงึ่ หลงลืมไปนั น
้ ได ้ ไม่มค
ี วามคิด
ร่วมอยูด
่ ้วยในกระบวนการนี้ หากเป็ นความรู ้ทีเ่ กิดขึน
้ ทันทีทันใด ฉั บพลัน ตัวอย่างของการ
่ นีเ้ ป็ นทีป
ระลึกได ้อย่างฉั บพลันเชน ั โดยเฉพาะแก่พท
่ ระจักษ์ ชด ุ ธศาสนา ซงึ่ มีคําสอนว่า
ึ ษาเซนจะ
ธรรมชาติเดิมของเราเป็ นธรรมชาติแห่งพุทธะ และเราได ้หลงลืมมันไป นั กศก
ได ้รับ โกอัน (Koan) ว่า “หน้าตาดงเดิ
ั้ มของเธอเป็นอย่างไร” และการ “ระลึก
ได้” อย่างฉั บพลันถึงหน ้าตาดัง้ เดิมนี้ ถือเป็ นการรู ้แจ ้งของผู ้นั น

้ และเป็ นไปเอง ซงึ่ เป็ นทีร่ ู ้จักกันดีก็คอ


อีกตัวอย่างหนึง่ ของญาณทัศนะอันเกิดขึน ื
เรือ
่ งขําขัน ในวินาทีทค
ี่ ณ
ุ เข ้าใจเรือ
่ งขําขันนัน
้ ๆ คุณได ้ประสบกับขณะแห่งการรู ้แจ ้งเป็ นที่
่ นีต
ทราบกันดีวา่ ขณะแห่งเหตุการณ์เชน ้ เอง มิได ้เกิดจากการ “อธิบาย” เรือ
้ ้องเกิดขึน ่ งขํา
ขันเรือ
่ งนัน
้ นั่นคือ มิได ้เกิดจากการวิเคราะห์ด ้วยคิด ด ้วยความรู ้ทีผ
่ ด
ุ ขึน
้ ในใจอย่างฉั บพลัน
ถึงแก่นของเรือ
่ งขําขันเท่านัน
้ เราจึงจะหัวเราะได ้อย่างเต็มทีต
่ ามทีค
่ วามมุง่ หมายของเรือ
่ ง
นัน
้ ประสงค์ ความคล ้ายคลึงระหว่างญาณทัศนะในทางจิตวิญญาณและความเข ้าใจในเรือ
่ ง
ขําขัน ต ้องเป็ นทีท
่ ราบกันดีในหมูผ
่ ู ้บรรลุธรรม เนือ ้ สว่ นมากแสดงอารมณ์
่ งจากท่านเหล่านั น
ขันออกมาในลักษณะต่าง ๆ กัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเซนซงึ่ เต็มไปด ้วยเรือ
่ งตลกและเกร็ด
ขําขันต่าง ๆ และในคัมภีรเ์ ต๋าเตอจิงกล่าวไว ้ว่า

“หากไม่ถก ั้ มใิ ชเ่ ต๋า”


ู ห ัวเราะเยาะนนก็ (13)
ในชวี ต
ิ ประจําวันของเรา ญาณทัศนะซงึ่ เจาะตรงสูธ
่ รรมชาติของสงิ่ ต่าง ๆ นั น

โดยปกติจะเกิดขึน
้ จํากัดอยูใ่ นระยะเวลาทีส ั ้ ยาวนาน และในขัน
่ น ั บูรณ์จะกลายเป็ นความ
้ สม
่ ง การตระเตรียมจิตใจให ้พร ้อมสําหรับการหยั่งรู ้นี้ – การหยั่งรู ้ในสจ
หยั่งรู ้อย่างต่อเนือ ั จะโดย
ฉั บพลัน ปราศจากความคิดปรุงแต่ง – เป็ นวัตถุประสงค์สําคัญของทุกศาสนาและของแนว
คําสอนอืน
่ ๆ ในตะวันออก ตลอดระยะเวลาอันยาวนานในประวัตศ
ิ าสตร์วฒ
ั นธรรมของ
อินเดีย จีน และญีป
่ น ุ่ ได ้มีการพัฒนาเทคนิค พิธก ิ ปะในแบบต่าง ๆ เพือ
ี รรม และศล ่ นํ าให ้
ั ถุประสงค์ดงั กล่าว ซงึ่ ทัง้ หมดนีอ
บุคคลบรรลุวต ้ าจเรียกรวมว่า การภาวนา ในความหมายที่
กว ้างทีส
่ ด
ุ ได ้

จุดมุง่ หมายขัน
้ พืน
้ ฐานของเทคนิคเหล่านี้ คือการทําให ้ใจทีเ่ ต็มไปด ้วยความนึก
คิดเงียบสงบลง เปลีย
่ นความตระหนักรู ้จากฐานของเหตุผลมาเป็ นฐานของญาณทัศน์ ใน
การทําใจให ้สงบนัน
้ วิธภ
ี าวนาหลาย ๆ แบบได ้แนะนํ าให ้จดจ่อความสนใจอยูท ี่ งิ่ ใดสงิ่ หนึง่
่ ส
เพียงสงิ่ เดียว เชน
่ ลมหายใจ เสย
ี งสวดมนต์ หรือนิมต
ิ ของมณฑล (ในพวกธิเบต) ในการ
่ ๆ แนะให ้ใสใ่ จในการเคลือ
ภาวนาแบบอืน ่ นไหวของร่างกายซงึ่ เกิดขึน
้ อย่างต่อเนือ
่ ง และ
เป็ นไปเองโดยไม่ถก
ู ความคิดรบกวน นีค
่ อ ิ ดู และ ไท ้จิฉวน (T’ai Chi
ื วิธ ี โยคะ ของฮน
Ch’uan) ของเต๋า การเคลือ ่ นี้ นํ าไปสูค
่ นไหวเป็ นจังหวะเชน ่ วามรู ้สก
ึ สงบและสติ
่ เดียวกับวิธก
เชน ึ เชน
ี ารภาวนาแบบแรก ความรู ้สก ่ นีอ
้ าจเกิดขึน
้ ได ้ในการเล่นกีฬาบางชนิด
่ การเล่นสกี เป็ นต ้น
เชน

2.10 ผูแ
้ สวงหาเต๋าจะลดลง

ิ ปะของตะวันออกก็เชน
ศล ่ กัน เป็ นศล
ิ ปะของการภาวนา ซงึ่ มิใชส
่ อ
ื่ ของการแสดง
ิ ปิ นเท่านัน
ความคิดของศล ้ แต่ยังมีความหมายมากกว่า คือเป็ นวิถท
ี างแห่งการเข ้าใจตนเอง
โดยผ่านการพัฒนาของญาณทัศนะ ดนตรีอน
ิ เดียไม่ได ้เรียนกันด ้วยการอ่านโน ้ตดนตรี แต่
โดยการฟั งครูผู ้สอนเล่นดนตรี ซงึ่ จะพัฒนาความรู ้สก
ึ ในดนตรี เชน
่ เดียวกับไท ้จี ซงึ่ ไม่ได ้
สอนด ้วยคําพูด แต่โดยการให ้ฝึ กร่วมกับครูซํ้าแล ้วซํ้าอีก พิธช
ี งชาของญีป
่ น ุ่ กอปรด ้วยการ
เคลือ
่ นไหวทีแ ่ ชาและเป็
่ ชม ้ ี รรมมาก การเขียนตัวอักษรจีนต ้องใชมื้ อทีเ่ คลือ
นพิธก ่ นไหว
ี งิ่ ยับยัง้ และเป็ นไปเอง ในตะวันออกความชํานิชํานาญเหล่านี้ ถูกใชเป็
อย่างไม่มส ้ นเครือ
่ งมือ
ึ ตัวทั่วพร ้อม
ในการพัฒนาความรู ้สก

สําหรับคนสว่ นมากโดยเฉพาะนั กคิด ปั ญญาชน ความรู ้สก


ึ ตัวเชน
่ นีเ้ ป็ น
ประสบการณ์ใหม่ซงึ่ ไม่เคยรับรู ้มาก่อนเลย นั กวิทยาศาสตร์คุ ้นเคยกับความรู ้แจ ้งโดยตรงใน
ภายในจากงานวิจัยของเขา เพราะว่าการค ้นพบใหม่ ๆ ทุกอันเริม
่ จากความรู ้ทีแ
่ วบขึน
้ มาใน
ทันทีทันใด โดยปราศจากการคิดนึกมาก่อน ทว่าปรากฏการณ์เหล่านีส ั ้ มาก และเกิดขึน
้ น ้
เมือ
่ จิตใจเต็มไปด ้วยข ้อมูลและความคิด ตรงกันข ้ามในการภาวนา จิตใจถูกทําให ้ว่างจาก
ความคิดทัง้ มวล พร ้อมสําหรับการรับรู ้อันแจ่มชด
ั อย่างต่อเนือ
่ งยาวนาน ข ้อแตกต่างระหว่าง
การคิดค ้นวิจัย และการภาวนาอาจเปรียบเทียบจากคําของเหลาจือ
้ ว่า
ผู ้แสวงหาการเรียนรู ้จะเพิม
่ พูนขึน
้ ทุกวัน

ผู ้แสวงหา เต๋า จะลดลงทุกวัน (14)

2.11 วิถแ
ี ห่งน ักรบ

เมือ ั เจนขึน
่ ความคิดนึกเงียบสงบลง ความรับรู ้ก็ชด ้ การรับรู ้สภาพแวดล ้อมก็
ตรงไปตรงมาโดยไม่ต ้องอาศัยเครือ ้ “จิตทีส
่ งกรองของความคิดนึก ในคําของจางจือ ่ งบนิง่
ของผูร้ ู ้ คือกระจกเงาสะท้อนภาพของสวรรค์และโลก – กระจกสะท ้อนสรรพ
สงิ่ ” ่ เดียวกับธรรมชาติรอบข ้างเป็ นลักษณะสําคัญของการ
(15) การหยั่งรู ้ความเป็ นหนึง

ภาวนาขัน
้ นี้ เป็ นภาวะการรับรู ้ทีก
่ ารแบ่งแยกในรูปแบบต่าง ๆ ยุตล
ิ ง และรับรู ้ความเป็ นหนึง่
เดียวของสรรพสงิ่

ในการภาวนาขัน
้ ลึก จิตตืน ั จะ ซงึ่ มิใช ่
่ ตัวอย่างเต็มที่ นอกจากความรู ้เข ้าใจในสจ
ั ผัสแล ้ว จิตก็ยังรับรู ้เสย
ความรับรู ้ทางประสาทสม ี ง ภาพ และสงิ่ แวดล ้อมต่าง ๆ โดย
ปราศจากการวิเคราะห์วจิ ารณ์ ความตัง้ ใจตืน
่ ตัวของจิตไม่สญ ี ไปภาวะความตระหนั กรู ้
ู เสย
่ นัน
เชน ่ เดียวกับภาวะจิตใจของนั กรบ ทีม
้ เป็ นเชน ่ งุ่ จูโ่ จมศัตรูด ้วยความตืน
่ ตัวเต็มทีโ่ ดยไม่ให ้
ทุกสงิ่ รอบข ้างมาหันเหความสนใจไปได ้ อาจารย์เซน ยาสต
ึ านิ โรช ิ (Yasutani Roshi) ใช ้
ภาพพจน์อน ิ ัน ทะซะ (Shikan-taza) การฝึ กภาวนาแบบเซนว่า
ั นีใ้ นการอธิบายชก

ิ ัน ทะซะเป็ นสภาวะของสติขน
ชก ั ้ สูง ในภาวะนั น

ปราศจากความเครียดหรือเร่งรีบและไม่เกียจคร ้าน เป็ นจิตใจของ
ิ หน ้ากับความตาย ให ้ลองนึกว่าเรากําลังอยูใ่ นการต่อสู ้
ผู ้เผชญ
ระหว่างซามูไรสองคน ขณะทีท ิ หน ้ากับศัตรู ท่านต ้องมี
่ า่ นเผชญ
จิตใจจดจ่อมั่นคงและพร ้อมอยูต
่ ลอดเวลา หากท่านผ่อนความ
ระมัดระวังลงแม ้เพียงแวบเดียว ท่านก็อาจจะถูกฟั นทันที ฝูงชน
ได ้มามุงดูการต่อสู ้ ในเมือ
่ ท่านมิได ้ตาบอด ท่านก็เห็นพวกเขา
จากทางตาของท่าน ในเมือ ี ง
่ ท่านหูไม่หนวก ท่านย่อมได ้ยินเสย
ของพวกเขา แต่ไม่มแ
ี ม ้ขณะเดียวทีจ
่ ต
ิ ใจของท่านถูกจับอยูด
่ ้วย
สงิ่ เหล่านี้ (16)

เพราะความคล ้ายคลึงของภาวะในการภาวนากับกรอบของจิตใจของเหล่านั กรบ


ภาพพจน์ของนักรบจึงมีบทบาทสําคัญในชวี ต
ิ ทางจิตวิญญาณและทางวัฒนธรรมของ
์ ควัทคีตา ของอินเดียซงึ่ เป็ นทีร่ ู ้จักกันอย่างแพร่หลายมีเนือ
ตะวันออก คัมภีรภ ้ หาเกีย
่ วกับการ
ิ ปะการต่อสูป้้ องกันตัวก็เป็ นสว่ นประกอบทีส
สงคราม ศล ่ ําคัญในวัฒนธรรมและประเพณีของ
จีนและญีป
่ น ี วี ต
ุ่ อิทธิพลอันมากมายของเซนต่อวิถช ิ ของซามูไรก่อให ้เกิด บึชโิ ด “วิถแ
ี ห่ง
ิ ปะแห่งการใชดาบ
น ักรบ” ศล ้ ซงึ่ ญาณทัศนะของนั กดาบได ้บรรลุสมบูรณ์ถงึ ทีส
่ ด
ุ ไท ้จิฉวน
ของเต๋าซงึ่ เป็ นศล
ิ ปะการป้ องกันตัวขัน
้ สุดยอดของจีน ได ้โยงเอาการเคลือ
่ นไหวทีช ้
่ าและ
เป็ นจังหวะของโยคะ เข ้ากับความตืน
่ ตัวเต็มทีแ ิ ธิภาพ
่ ห่งจิตใจของนั กรบ ได ้อย่างมีประสท

2.12 ข้อจําก ัดของนิวต ัน

ศาสนาตะวันออกมีพน
ื้ ฐานอยูบ ั จะ สว่ นฟิ สก
่ นการเห็นแจ ้งโดยตรงต่อสจ ิ สม
์ ี
พืน ่ นการสงั เกตปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์ใน
้ ฐานอยูบ
สาขาทัง้ สอง การสงั เกตได ้ถูกแปลความหมาย และความหมายนัน ื่ สารด ้วยภาษา
้ ถูกสอ
คําพูด ในเมือ ่ งึ่ ย่อสรุปสจ
่ ภาษาคําพูดเป็ นแผนทีซ ั จะอย่างคร่าว ๆ ดังนั น
้ การแปล
ความหมายการทดลองทางวิทยาศาสตร์ หรือความเข ้าใจภายในทางศาสนา ออกเป็ นภาษา
คําพูด จึงเป็ นสงิ่ ทีไ่ ม่สมบูรณ์และไม่ละเอียดเพียงพออย่างเลีย ิ สส
่ งไม่ได ้ ทัง้ ฟิ สก ์ มัยใหม่
และศาสนาตะวันออกต่างตระหนักในความจริงข ้อนีเ้ ป็ นอย่างดี

ิ ส ์ การอธิบายความหมายของการทดลองนั น
ในฟิ สก ้ เรียกว่าแบบจําลอง (model)
หรือทฤษฎี (Theory) และความเข ้าในทีว่ า่ แบบจําลองและทฤษฎีทัง้ หมดเป็ นประมาณการ
(approximation) นัน
้ ถือเป็ นพืน
้ ฐานของการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ดังนัน
้ คําพังเพยของ
่ ฎทางคณิตศาสตร์อา้ งโยงถึงความจริง ม ันก็เป็นสงิ่ ทีไ่ ม่
ไอน์สไตน์ทวี่ า่ “ตราบเท่าทีก
แน่นอน และหากว่าม ันเป็นสงิ่ ทีแ
่ น่นอนตายต ัว ม ันก็ไม่อาจอ้างโยงถึงความจริง
ิ สร์ ู ้ว่าวิธก
ได้” นักฟิ สก ้ ผลเชงิ ตรรก ไม่อาจอธิบายปรากฏการณ์
ี ารวิเคราะห์และการใชเหตุ
ธรรมชาติทัง้ หมดในทันทีได ้ ดังนัน ิ สจ์ งึ เลือกเอาปรากฏการณ์เพียงกลุม
้ นักฟิ สก ่ ใดกลุม
่ หนึง่
และพยายามสร ้างแบบจําลองขึน
้ มาอธิบายปรากฏการณ์กลุม
่ นั น
้ ในการกระทําดังกล่าว พวก
เขาได ้ละเลยปรากฏการณ์สว่ นอืน
่ แบบจําลองทีส
่ ร ้างขึน
้ จึงไม่อาจอธิบายถึงสภาพการณ์
่ งจากปรากฏการณ์สว่ นทีม
ทัง้ หมดได ้ อาจจะเนือ ึ ษานั น
่ ไิ ด ้นํ ามาศก ้ สง่ ผลน ้อยมากจนกระทั่ง
ึ ษาด ้วยก็จะไม่มผ
ว่าหากนํ ามารวมศก ่ นแปลงทฤษฎีอย่างมีนัยสําคัญ หรือไม่เชน
ี ลเปลีย ่ นั น

ก็เพราะมันไม่เป็ นทีท
่ ราบกันในระยะเวลาทีม
่ ก
ี ารทฤษฎีสร ้างขึน

เพือ ั เจน ลองดูแบบจําลองทางฟิ สก


่ ให ้เห็นประเด็นอย่างชด ิ สท
์ เี่ ป็ นทีร่ ู ้จักกันดี
ทีส
่ ด
ุ อันหนึง่ ก็คอ ี ดส ี
ื วิชากลศาสตร์สมัยเดิมของนิวตัน ผลของความต ้านทานหรือแรงเสย
ของอวกาศ มิได ้ถูกนํ ามาเกีย
่ วข ้องในแบบจําลองนี้ เพราะโดยทั่ว ๆ ไปมันมีคา่ น ้อยมาก แต่
ถึงแม ้จะละเลยจุดนีไ
้ ป กลศาสตร์แบบนิวตันก็ถก
ู ถือว่าเป็ นทฤษฎีสด
ุ ท ้าย ทีจ
่ ะอธิบาย
ปรากฏการณ์ธรรมชาติทัง้ หมดมาเป็ นระยะเวลาทีย
่ าวนานมาก จนกระทั่งมีการค ้นพบ
ปรากฏการณ์ของไฟฟ้ าและแม่เหล็กซงึ่ ไม่ปรากฏเลยในทฤษฎีของนิวตัน การค ้นพบ
ปรากฏการณ์เหล่านี้ ได ้แสดงให ้เห็นว่าแบบจําลองดังกล่าวไม่สมบูรณ์ และเราอาจประยุกต์

ไปใชในการอธิ
บายปรากฏการณ์ได ้เพียงบางกลุม
่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เกีย
่ วกับการเคลือ
่ นที่
ของของแข็งเท่านัน

ึ ษาปรากฏการณ์ทจ
การศก ี่ ํากัดอยูบ
่ างกลุม ึ ษา
่ อาจหมายความถึงการศก
คุณสมบัตท
ิ างกายภาพของมัน ในขอบเขตทีจ ้ ซงึ่ เป็ นอีกเหตุผลหนึง่ ว่า
่ ํากัดอันหนึง่ เท่านั น
่ งของการประมาณ การประมาณนี้เป็ นสงิ่ ทีล
ทฤษฎีเป็ นเรือ ่ ะเอียดอ่อนอย่างยิง่ เพราะเราไม่
อาจรู ้ล่วงหน ้าได ้เลยว่า ข ้อจํากัดของทฤษฎีนัน ่ รงจุดใดเราต ้องอาศัยประสบการณ์
้ อยูต
เท่านัน
้ จึงอาจจะบอกได ้ ดังนัน
้ ภาพพจน์ของกลศาสตร์สมัยเก่าจึงถึงเซาะทําลายมากขึน
้ ไป
อีก เมือ ิ สใ์ นศตวรรษที่ 20 ได ้แสดงให ้เห็นข ้อจํากัดของมัน ในปั จจุบันเรารู ้ว่า ทฤษฎี
่ ฟิ สก
้ ้สําหรับวัตถุซงึ่ ประกอบด ้วยอะตอมจํานวนมาก ๆ และเคลือ
ของนิวตัน ใชได ่ นทีด
่ ้วยความเร็ว
ทีต
่ ํา่ เมือ
่ เทียบกับความเร็วของแสง หากไม่ตรงกับเงือ
่ นไขประการแรก กลศาสตร์ต ้องถูก
แทนทีด
่ ้วยทฤษฎีควอนตัม (Quantum Theory) หากไม่ตรงกับเงือ
่ นไขประการทีส
่ อง ต ้อง

หันมาใชทฤษฎี
สมั พัทธภาพ (Relativity Theory) นีม
่ ไิ ด ้หมายความว่าทฤษฎีนวิ ตัน
นัน ั พัทธภาพนั น
้ “ผิด” หรือว่าทฤษฎีควอนตันและทฤษฎีสม ้ “ถูก” ทุกทฤษฎีตา่ งเป็ นการ
ประมาณซงึ่ จะใชได
้ ้ในขอบเขตหนึง่ ๆ ของปรากฏการณ์ หากเลยขอบเขตนัน
้ ไป มันก็ไม่
อาจให ้คําอธิบายทีน
่ ่าพอใจเกีย
่ วธรรมชาติ จึงต ้องหาทฤษฎีใหม่มาแทนทฤษฎีหรือขยาย
ขอบเขตของทฤษฎีเก่าออกไป

2.13 เทพปรกรณัม

่ ะชเี้ ฉพาะลงไปถึงข ้อจํากัดของทฤษฎีหนึง่ ๆ นั น


การทีจ ้ เป็ นสงิ่ ทีท
่ ําได ้ยากหาก
่ ําคัญชน
เป็ นงานทีส ิ้ หนึง่ ในการสร ้างทฤษฎีขน
ึ้ มา จอฟฟรีย ์ ชวิ ผู ้สร ้างทฤษฎี “บูต
แสตรป” ซงึ่ จะเป็ นเนือ
้ หาในการพิจารณาของเราในบทต่อไปนั น
้ ได ้กล่าวว่า เมือ
่ มีการสร ้าง
แบบจําลองหรือทฤษฎีขน
ึ้ เราจําเป็ นจะต ้องตัง้ คําถามเสมอว่า เพราะเหตุใดมันจึงเป็ นทฤษฎี

ทีใ่ ชการได ้ อะไรเป็ นข ้อจํากัดของมันโดยแท ้จริงมันเป็ นการประมาณในลักษณะใด ชวิ คิดว่า
คําถามเหล่านีเ้ ป็ นก ้าวแรกทีจ ่ วามก ้าวหน ้ายิง่ ๆ ขึน
่ ะนํ าไปสูค ้

ั จะทัง้ หมดเป็ นสงิ่ ทีไ่ ม่


ศาสนาตะวันออกตระหนั กในความจริงทีว่ า่ คําอธิบายสจ
เทีย ั จะไปพ ้นขอบเขตของ
่ งตรงและไม่สมบูรณ์ ประสบการณ์โดยตรงในการหยั่งรู ้สจ
ความคิดและภาษา และในเมือ
่ ศาสนาทัง้ มวลมีพน
ื้ ฐานอยูบ
่ นประสบการณ์โดยตรงนี้
คําอธิบายในลักษณะต่าง ๆ เกีย ้ จึงเป็ นจริงเพียงบางสว่ น ในวิชาฟิ สก
่ วกับประสบการณ์นัน ิ ส์
ลักษณะทีท
่ ก
ุ ประโยคสามารถอธิบายความจริงทีต
่ ้องการพูดถึงได ้ เพียงโดยประมาณเท่านั น

ถูกกําหนดเป็ นจํานวนและความก ้าวหน ้าก็คอ
ื การปรับปรุงลักษณะการประมาณอย่างเป็ น
ขัน
้ ตอนหลาย ๆ ขัน
้ ตอนต่อเนือ
่ งกัน ดังนั น
้ ในทํานองเดียวกัน ศาสนาตะวันออกจะจัดการ
อย่างไร กับปั ญหาของการถ่ายทอดด ้วยภาษาคําพูด

แรกทีเดียว ศาสนิกต่างมุง่ ความสนใจสว่ นใหญ่ ไปทีป


่ ระสบการณ์ในการหยั่งรู ้
ั จะ มิใชท
สจ ่ ค
ี่ ําอธิบายประสบการณ์ ดังนั น
้ โดยทั่วไปพวกเขาจึงไม่สนใจในการวิเคราะห์
คําอธิบายนัน
้ ๆ และดังนัน
้ แนวคิดทีช ั เจนจึงไม่ปรากฏมีในความคิดแบบตะวันออก ในทาง
่ ด
ตรงกันข ้าม หากศาสนิกชาวตะวันออกต ้องการจะถ่ายทอดประสบการณ์ของตน ก็จะต ้อง
ิ กับข ้อจํากัดของภาษา จึงได ้มีการพัฒนาวิธก
เผชญ ี ารหลาย ๆ อย่างเพือ
่ จัดการกับปั ญหานี้
ิ ดู สร ้างคําอธิบายในลักษณะของเทพ
ศาสนาในอินเดียและโดยเฉพาะศาสนาฮน
ปกรณั ม โดยการใชอุ้ ปมาอุปไมยและสญ
ั ลักษณ์ตา่ ง ๆ ภาพพจน์ในเชงิ กวีและนิทานต่าง ๆ
ภาษาของเทพปกรณั มถูกจํากัดด ้วยตรรกะและสามัญสํานึกน ้อยกว่าภาษาสามัญ มันเต็มไป
ด ้วยเรือ ์ ละสงิ่ ทีผ
่ งราวปาฏิหาริยแ ื่
่ กผันผิดธรรมดา รํา่ รวยด ้วยภาพพจน์ และไม่เคยสอ
ั เจน ดังนัน
ความหมายได ้อย่างชด ื่ กลางในการถ่ายทอดการประจักษ์ แจ ้ง
้ จึงสามารถเป็ นสอ
ั จะได ้ดีกว่าภาษาสามัญ สวามีอานั นทะกุมารกล่าวว่า “เทพปกรณัมเป็นวิธแ
ในสจ ี สดง

สจจะที
ใ่ กล้เคียงทีส
่ ด
ุ เท่าทีภ
่ าษาจะอํานวยให้” (17)

จินตนาการอันมั่งคั่งของชาวอินเดีย ได ้ก่อกําเนิดแก่เทพและเทพีจํานวนมาก ซงึ่


เรือ ่ วกับการจุต ิ และการปราบยุคเข็ญของโลกของเทพเหล่านี้ เป็ นสงิ่ สําคัญ ซงึ่ ถูก
่ งราวเกีย
ิ ดู ซงึ่ กอปรด ้วยญาณทัศนะทีล
รวบรวมไว ้ในมหากาพย์ตา่ ง ๆ ชาวฮน ึ ซงึ้ ทราบดีวา่ เทพ
่ ก
เหล่านีล
้ ้วนกําเนิดจากการสร ้างสรรค์ของจิต ภาพเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในเทพปกรณั มเหล่านีม
้ งุ่
ั จะในลักษณะต่าง ๆ กัน ในอีกแง่หนึง่ ชาวฮน
แสดงสจ ิ ดูมไิ ด ้สร ้างเทพปกรณั มเหล่านีเ้ พียง
เพือ
่ ให ้เป็ นเรือ
่ งทีด
่ งึ ดูดความสนใจเท่านัน ื่ กลางทีจ
้ แต่เป็ นสอ ่ ําเป็ นในการแสดงหลัก
ปรัชญาซงึ่ มีรากฐานจากประสบการณ์ในทางจิตใจ

ในจีนและญีป
่ น ุ่ นักปฏิบัตธิ รรมใชวิ้ ธก
ี ารทีแ
่ ตกต่างออกไปในการแก ้ปั ญหา
ข ้อจํากัดของภาษา แทนทีจ ั จะ ซงึ่ โดยธรรมชาติขด
่ ะแสดงสจ ึ สามัญในรูป
ั กับความรู ้สก
ั ลักษณ์และภาพต่าง ๆ ในเทพปกรณั มซงึ่ รับได ้ง่าย ท่านเหล่านั น
สญ ั จะ
้ กลับมุง่ แต่แสดงสจ

โดยใชภาษาแห่ ้ พวกเต๋าจึงใชคํ้ าผกผันผิดธรรมดาบ่อยครัง้ เพือ
งข ้อเท็จจริง ดังนัน ่ ทีจ
่ ะให ้

เห็นข ้อจํากัดและความไม่อาจวางใจได ้ในการใชภาษาคํ าพูดวิธก ่ นีไ
ี ารเชน ้ ด ้ถูกถ่ายทอดไป
ยังพุทธศาสนาในจีนและญีป
่ น ุ่ ซงึ่ ได ้พัฒนาวิธก
ี ารขึน
้ ไปอีก จนถึงจุดสูงสุดในพุทธศาสนา
แบบเซนในรูปโกอันปริศนาธรรม ซงึ่ ดูเหมือนเรือ
่ งตลก แต่อาจารย์เซนหลาย ๆ ท่านได ้ใช ้
มันในการถ่ายทอดคําสอนของตน โกอันเหล่านีม
้ ค ิ สส
ี วามคล ้ายคลึงกับวิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ ซงึ่
เป็ นประเด็นทีจ
่ ะพิจารณากันต่อไป

2.14 เหนือจากภาษา

ในญีป
่ น ุ่ ยังมีวธิ ก
ี ารอืน ้
่ อีกทีใ่ ชในการแสดงทั ศนะทางปรัชญา อาจารย์เซนนิยมใช ้
บทกวีซงึ่ กระชบ
ั และมีลก ี้ รงไปทีค
ั ษณะพิเศษเฉพาะตัวมาก ชต ่
่ วามเป็ น “เชน
นนเอง”
ั้ ั จะ
(suchness) ของสจ

เมือ ู หนึง่ ถามท่านฟิ เกจิ เอนโช (Fuketsu Ensho) ว่า “ในเมือ


่ พระภิกษุ รป ่ ทงั้
คําพูดและความเงียบต่างไม่นา ื่ ถือ เราจะผ่านม ันไปโดยไม่พลาดได้อย่างไร”
่ เชอ

อาจารย์เซนได ้ตอบว่า
ฉั นจําเกียวชูในเดือนมีนาคม
ได ้เสมอ

ี งร ้องของนกกระทา
เสย

มวลบุปผาชาติซงึ่ สง่ กลิน


่ หอม
ฟุ้ ง(18)

บทกวีแห่งจิตวิญญาณนีไ
้ ด ้ถึงจุดสมบูรณ์ใน ไฮขึบทกวีดงั ้ เดิมของญีป
่ น ุ่ อันมี
ิ เจ็ดพยางค์ ซงึ่ ได ้รับอิทธิพลอย่างมากจากเซน ญาณทัศนะทีห
เพียงสบ ่ ยั่งรู ้ธรรมชาติแห่ง
ชวี ต
ิ ซงึ่ แสดงออกในบทกวีไฮขึนย ึ สม
ี้ ังสามารถรู ้สก ั ผัสได ้ แม ้เมือ
่ ได ้รับการถ่ายทอดมาเป็ น
อีกภาษาหนึง่

ใบไม ้ร่วง

กองทับถมกัน

สายฝนกระหนํ่า (19)

เมือ
่ ใดก็ตามทีน
่ ักปราชญ์ชาวตะวันออกแสดงความรู ้ของตนออกมาเป็ นภาษาพูด
ั ลักษณ์ตา่ ง ๆ บทกวีหรือถ ้อยคําผกผันผิดธรรมดาก็ตาม
ไม่วา่ จะในรูปของเทพปกรณั ม สญ
้ ต่างตระหนักดีในข ้อจํากัดของภาษาและความเชงิ เสนตรง
ท่านเหล่านัน ้ ิ สส
ฟิ สก ์ มัยใหม่ม ี
่ เดียวกันในการใชภาษาพู
ทัศนะเกือบจะเชน ้ ดในแบบจําลองและทฤษฎี แบบจําลองและ
ื่ ทีแ
ทฤษฎีก็เป็ นสอ ่ สดงออกของสงิ่ ทีป ั เจน มันเป็ นสอ
่ ระสงค์ได ้อย่างคร่าว ๆ และไม่ชด ื่ ใน
ั ลักษณ์ และบทกวีตา่ ง ๆ และสงิ่ ทีข
แนวทางเดียวกับเทพปกรณั มสญ ่ ้าพเจ ้ามุง่ แสดงก็คอ

่ ความคิดอย่างเดียวกันในเรือ
ความคล ้ายคลึงในระดับนี้ ตัวอย่างเชน ่ งวัตถุ ซงึ่ ชาวฮน
ิ ดู
แสดงออกในรูปการเริงรําของศวิ ะเทพ ในขณะทีน ิ สแ
่ ั กฟิ สก ์ สดงออกในทฤษฎีสนาม
ิ สต
ควอนตัมทัง้ เทพและทฤษฎีทางฟิ สก ์ า่ งเป็ นสงิ่ สร ้างสรรค์ของจิต เป็ นแบบจําลองทีจ
่ ะ
ั จะของแต่ละบุคคล
อธิบายญาณทัศนะในสจ

จบบทที่ 2

ข ้อขัดแย ้งซงึ่ สร ้างความงงงวยให ้กับวิธค


ี ด
ิ อย่างสามัญเกิดขึน


จากข ้อเท็จจริงว่า เราจําต ้องใชภาษาเป็ ื่ ในการแสดงประสบการณ์
นสอ
ภายในของเรา ซงึ่ เนือ
้ หาเป็ นสงิ่ ทีอ
่ ยูน
่ อกขอบเขตของภาษา
ี กึ ิ
ดี.ที.สซ

ภาษาทีจ ้
่ ะใชในสถานการณ์ ่ นีเ้ ป็ นปั ญหาทีส
เชน ่ ําคัญมาก เรา
ปรารถนาทีจ
่ ะพูดเกีย
่ วกับอะตอมในทางใดทางหนึง่ ...แต่เราไม่อาจพูดถึง
อะตอมในภาษาธรรมดาได ้

เวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิรก

ความคิดทีว่ า่ แบบจําลองและทฤษฏีทางวิทยาศาสตร์ทัง้ หมด เป็ นเพียงการ


้ บายมันก็ไม่อาจจะชด
ประมาณ และภาษาทีใ่ ชอธิ ั เจนได ้เสมอนั น
้ ได ้เป็ นทีย
่ อมรับกันทั่วไป
ในหมูน ่ มีพัฒนาการใหม่ ๆ ซงึ่ ไม่คาดฝั น
่ ักวิทยาศาสตร์ตงั ้ แต่ต ้นศตวรรษนีเ้ ป็ นต ้นมา เมือ
เกิดขึน ึ ษาเกีย
้ การศก ิ สเ์ ข ้าใจในความจริงทีว่ า่ ภาษา
่ วกับโลกของอะตอมได ้ทําให ้นั กฟิ สก
ั เจน แต่ยังไม่เพียงพอทีจ
สามัญของเราไม่เพียงแต่จะไม่ชด ้ บายความจริง ในเรือ
่ ะใชอธิ ่ ง
ั พันธภาพ ซงึ่ เป็ น
ของอะตอมและอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม ทฤษฏีควอนตัมและทฤษฏีสม
พืน ิ สส
้ ฐานของวิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ ได ้ให ้ความกระจ่างแจ ้งทีว่ า่ ความจริงในเรือ
่ งดังกล่าว ไป
พันขอบเขตของตรรกศาสตร์สมัยเก่า และเราไม่อาจอธิบายมันด ้วยภาษาสามัญ ดังทีไ่ ฮเซน
เบิรก
์ ได ้เขียนไว ้ว่า

ปั ญหาทีย
่ ากทีส
่ ด
ุ ...เกีย ้
่ วกับการใชภาษา ปรากฏขึน
้ ในทฤษฏี
ควอนตัม แรกทีส
่ ด
ุ เรา ไม่มแ
ี นวทางอย่างง่าย ๆ ทีจ ื่ มโยงสญ
่ ะเชอ ั ลักษณ์
ทางคณิตศาสตร์กับแนวคิดในภาษา สามัญ และเพียงประการเดียวทีเ่ รา
ได ้ตระหนักตัง้ แต่จด
ุ เริม
่ ต ้นก็คอ
ื ความจริงทีว่ า่ แนว คิดสามัญของเราไม่
้ ้กับโครงสร ้างของอะตอม
อาจใชได (1)

เมือ
่ พิจารณาจากทัศนะทางปรัชญา จุดนีเ้ ป็ นพัฒนาการทีน
่ ่าสนใจมากทีส
่ ด
ุ ใน
ิ สส
วิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ และเป็ นรากฐานอันหนึง่ ในความสม
ั พันธ์กับปรัชญาตะวันออก ในสํานั ก
้ นเครือ
ปรัชญาตะวันตกต่าง ๆ ตรรกศาสตร์และเหตุผลถูกใชเป็ ่ งมือสําคัญในการสร ้าง
แนวคิดทางปรัชญา และแม ้กระทั่งในปรัชญาศาสนา ตามทีเ่ บอร์ทรันด์ รัสเซล กล่าวไว ้
ั จะเป็ นสงิ่ พ ้นวิสย
ในทางตรงกันข ้าม ในศาสนาตะวันออก เป็ นทีเ่ ข ้าใจกันดีวา่ สจ ั ของภาษา
สามัญ และนักปราชญ์ชาวตะวันออกก็ไม่เกรงกลัวทีจ ้
่ ะใชภาษาที
ไ่ ปพ ้นตรรกะและแนวคิด
สามัญ ข ้าพเจ ้าคิดว่านีเ่ ป็ นเหตุผลสําคัญทีว่ า่ เหตุใด สจ
ั จะในทัศนะของตะวันออกจึงมีภม
ู ิ
หลังทีค ิ สส
่ ล ้ายคลึงกันฟิ สก ์ มัยใหม่มากกว่าทางปรัชญาตะวันตก

3.1 โฟโตอิเล็กทริก


ปั ญหาของการใชภาษาที
ศ ิ อยู่ ในข ้อความสองตอนที่
่ าสนิกของตะวันออกเผชญ
ี ก
อ ้างถึงในตอนต ้นบทนี้ ดี.ที.สซ ึ ิ กล่าวถึงพุทธศาสนา (2) และเวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิรก

ิ สท
กล่าวถึงวิชาฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วยอะตอม (3) และข ้อความทัง้ สองแทบจะเหมือนกันเลยทีเดียว
ิ ส ์ ต่างต ้องการถ่ายทอดความรู ้ของตนออกมาก เมือ
ทัง้ ศาสนิกและนั กฟิ สก ่ แสดงออกใน
คําพูดประโยคทีเ่ ขากล่าวจึงดูผด
ิ ธรรมดา ผิดตรรกะ ลักษณะทีผ
่ กผันผิดธรรมดานีเ้ ป็ น
ลักษณะเฉพาะของศาสนาและความคิดในแนวนีท
้ ัง้ หมด ตัง้ แต่เฮราคลิตัสจนถึงดอน ฮวน
และเมือ
่ เริม ิ สด
่ ต ้นศตวรรษนี้ ก็ได ้กลายเป็ นลักษณะเฉพาะของวิชาฟิ สก ์ ้วย

ิ สท
ในวิชาฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วยอะตอม สถานการณ์หลาย ๆ อันซงึ่ ผิดไปจากความเข ้าใจ
ทั่วไปนัน
้ เกีย ี ม่เหล็กไฟฟ้ า ซงึ่ มี
่ วข ้องกับธรรมชาติของแสง หรือกล่าวโดยกว ้างคือรังสแ
ลักษณะทีต
่ รงกันข ้ามอยูใ่ นตัวเอง ในด ้านหนึง่ เป็ นทีแ ั ว่ารังสแ
่ น่ชด ี ม่เหล็กไฟฟ้ านี้
ประกอบด ้วยคลืน
่ เนือ
่ งจากมันแสดงคุณสมบัตก
ิ ารแทรกสอดของคลืน
่ (interference of
wave) ได ้ เมือ
่ มีแหล่งกําเนิดแสงสองแหล่ง ความเข ้มของแสงในทีใ่ ดทีห
่ นึง่ ไม่จําเป็ นต ้อง
เท่ากับ ผลรวมของความเข ้มของแสงต ้นกําเนิด แต่อาจจะมากกว่าหรือน ้อยกว่าก็ได ้
่ ซงึ่ มาจาก
ปรากฏการณ์น้ี อาจอธิบายได ้อย่างง่ายดายว่า เป็ นการแทรกสอดของคลืน
่ งึ่ ยอดคลืน
แหล่งกําเนิดสองแหล่ง ในทีซ ่ ของแสงจากสองแหล่งมาทับกันสนิท บริเวณนั น
้ จะ
มีความสว่างมากกว่าผลรวมของความเข ้มของแสง บริเวณใดทีย
่ อดคลืน
่ ของแสงอันหนึง่ ทับ
กับท ้องคลืน
่ ของแสงอีกอันหนึง่ ความเข ้มของแสงบริเวณนั น
้ จะน ้อยกว่าผลรวมของความ
่ น่นอนของความเข ้ม ซงึ่ เกิดจากการแทรกสอดของคลืน
เข ้มของแสงทัง้ สอง ปริมาณทีแ ่ ทัง้
สอง สามารถคํานวณหาได ้อย่างง่ายดาย ปรากฏการณ์การแทรกสอดของคลืน
่ นี้ เราสามารถ
สงั เกตได ้จากการศก
ึ ษา เกีย ี ม่เหล็กไฟฟ้ า ซงึ่ แสดงว่ารังสแ
่ วกับการแผ่รังสแ ี ม่เหล็กไฟฟ้ ามี
ลักษณะเป็ นคลืน

ี ม่เหล็กไฟฟ้ าก็กอ
ในอีกด ้านหนึง่ รังสแ ่ ให ้เกิดปรากฏการณ์ทเี่ รียกว่า โฟโตอิเล็กท
ริก เอฟเฟก (Photoelectric Effect) นั่ นคือ เมือ
่ แสงเหนือม่วง (Ultraviolet Light) ถูกฉาย
ลงบนพืน
้ ผิวของโลหะบางชนิด มันทําให ้อิเล็กตรอนหลุดออกมาจากผิวของโลหะได ้ ดังนั น

แสงชนิดนี้ จึงต ้องประกอบด ้วยอนุภาคทีเ่ คลือ
่ นที่ ปรากฏการณ์ทค
ี่ ล ้ายคลึงกันนี้ เกิดขึน
้ ใน
ึ ษาการกระจายตัวของรังสเี อกซ ์ การทดลองนีเ้ ราสามารถจะอธิบายได ้อย่างถูกต ้อง ก็
การศก
ต่อเมือ ่ รังส ี
่ เราอธิบายว่าเป็ นการชนกันระหว่างอนุภาคของแสงกับอิเล็กตรอน และในเมือ
เหล่านีแ ่ ด ้วย ปั ญหาซงึ่ สร ้างความฉงนให ้แก่นัก
้ สดงคุณลักษณะการแทรกสอดของคลืน
ิ สเ์ ป็ นอันมาก ในระยะเริม
ฟิ สก ี ม่เหล็กไฟฟ้ าจะเป็ นทัง้
่ แรกของทฤษฏีอะตอมนั่ นคือ รังสแ
่ ซงึ่ แผ่กระจายไปทั่วอาณา
อนุภาค (นั่นคือมีมวลอยูใ่ นปริมาตรทีเ่ ล็กมาก) และเป็ นทัง้ คลืน
บริเวณอันกว ้างขวางในอวกาศ ในขณะเดียวกัน ได ้อย่างไร ไม่วา่ ภาษาหรือจินตนาการ ก็ไม่
อาจอธิบายความจริงในลักษณะนีไ ั เจน
้ ด ้อย่างถูกต ้องชด

ศาสนาตะวันออกได ้พัฒนาวิธก
ี ารต่าง ๆ หลายวิธใี นการอธิบายลักษณะทีผ
่ ด

ั จะ ในขณะทีฮ
ธรรมดาของสจ ิ ดูใชวิ้ ธอ
่ น ี ธิบายในรูปของเทพปกรณั ม พุทธศาสนาและลัทธิ
ั จะนั น
เต๋า นิยมเน ้นประเด็นความผกผันผิดธรรมดาของสจ ้ มากกว่า คัมภีรเ์ ต๋าเตอจิงของ
เหลาจือ
้ เขียนด ้วยภาษาทีช ี เลย เต็มไปด ้วย
่ วนให ้ฉงน และดูเหมือนไม่มเี หตุผลเอาเสย
ข ้อความทีข
่ ด ้ งึ่ มีลักษณะเป็ นบทกวี อันกระทบความรู ้สก
ั แย ้งกันอย่างน่าทึง่ และภาษาทีใ่ ชซ ึ
อย่างมีพลังนัน
้ มุง่ หมายทีจ
่ ะจับจิตใจของผู ้อ่าน และขว ้างภาษานั น
้ ออกจากร่องของ
ความคิดเชงิ เหตุผล ซงึ่ มันคุ ้นเคย

3.2 โกอ ัน

พุทธศาสนาในจีนและญีป
่ น ุ่ ได ้นํ าวิธก
ี ารของเต๋าในการถ่ายทอดประสบการณ์ใน
้ มาใช ้ โดยเปิ ดเผยลักษณะผกผันผิดธรรมดาของมันอย่างง่าย ๆ เมือ
การปฏิบัตธิ รรมนัน ่
อาจารย์เซน ไดโตะ (Daito) ได ้พบกับจักรพรรดิโกไดโกะ (Godaigo) ซงึ่ เป็ นผู ้ทีก
่ ําลัง
ึ ษาเซน อาจารย์เซนกล่าวว่า
ศก

เมือ
่ หลายพันกัปทีล
่ ว่ งไปแล ้ว เราแยกจากกัน แต่เราไม่เคยถูก
แยกจากกันแม ้เพียงขณะ เดียว ขณะนีเ้ ราเห็นหน ้ากันทุกวัน แต่เราไม่เคย
พบกัน (4)

เซนมีความชํานาญเป็ นพิเศษในการใชคํ้ าทีด


่ ไู ร ้สาระให ้เกิดคุณค่าขึน
้ มา โดย
ี ารซงึ่ มีลักษณะเฉพาะตัวในการถ่ายทอดคําสอนโดยไม่
ระบบ โกอัน พวกเขาได ้พัฒนาวิธก
ใชคํ้ าพูด โกอันต่าง ๆ ได ้ถูกสร ้างขึน
้ เป็ นปริศนาซงึ่ ดูไร ้สาระ เพือ ึ ษาเซนได ้
่ นํ าให ้นั กศก
ตระหนักถึงลักษณะอันจํากัดของตรรกะและเหตุผลอย่างฉั บพลันความทีป
่ ริศนาเหล่านีไ
้ ม่
เป็ นเหตุเป็ นผล ผกผันผิดธรรมดา ทําให ้ไม่อาจจะหาคําตอบได ้ด ้วยการคิดนึก มันถูกสร ้าง
ขึน
้ เพือ ึ ษาเซนพร ้อมสําหรับการประจักษ์
่ หยุดกระบวนความคิด และนั่นคือเตรียมให ้นักศก
ั จะ ซงึ่ ไร ้คําพูด ยาสุตานิ อาจารย์เซนรุน
แจ ้งประสบการณ์แห่งสจ ่ ปั จจุบัน ได ้แนะนํ าโกอัน
ซงึ่ เป็ นทีร่ ู ้จักกันดีมากทีส
่ ด ึ ษาชาวตะวันตกด ้วยถ ้อยคําเหล่านี้
ุ อันหนึง่ แก่นักศก

โกอันทีด
่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ อันหนึง่ คือ โกอันมู (Mu) เนือ
่ งจากความเรียบง่าย
ทีส
่ ด
ุ และนีค
่ อ
ื ทีม
่ าของมัน

พระภิกษุ รป ่ าจารย์เซนผู ้มีชอ


ู หนึง่ ไปหาท่านเย่อซูอ ื่ ในประเทศ
่ หลายร ้อยปี ลว่ งมาแล ้ว และได ้ถามท่านว่า “สุน ัขมีธรรมชาติแห่ง
จีน เมือ
ความเป็น พุทธะหรือไม่”

่ อบว่า “มู”
ท่านเย่อซูต

ตามตัวอักษรมันแปลว่า “ไม่” แต่ความ สําคัญของคําตอบของ


่ ใิ ชอ
ท่านเย่อซูม ่ ยูท
่ ค
ี่ วามหมายของคํา มู เป็ นการแสดงออกของธรรมชาติ
แห่งความเป็ นพุทธะซงึ่ ทรงชวี ต ่ นไหว สง่ิ ทีค
ิ และเคลือ ่ ณ
ุ ต ้องกระทําคือการ
ค ้นหาแก่นแท ้ของ มู มิใชโ่ ดยผ่านการวิเคราะห์ในความคิดนึก หากโดย
การค ้นลึกเข ้าไปภายในตน จากนั น ั เจนว่าคุณ
้ คุณต ้องแสดงต่อผลอย่างชด
ั จะทีม
เข ้าใจ มู ดังหนึง่ มันเป็ นสจ ี วี ต
่ ช ้
ิ โดยไม่ใชความคิ
ด ทฤษฎี หรือการ
อธิบาย จงจําไว ้ว่า คุณไม่อาจจะเข ้าใจ มู ได ้โดยผ่านความรู ้สามัญ คุณ
ต ้องจับฉวยมันโดยตรงด ้วยชวี ต
ิ จิตใจทัง้ หมดของคุณ (5)

สําหรับผู ้เริม
่ ต ้น อาจารย์เซนมักจะมอบโกอัน มู ให ้ หรือโกอันข ้อหนึง่ ข ้อใดใน
สองประการนี้

“อะไรคือหน้าตาดงเดิ
ั้ มของท่าน ก่อนทีพ
่ อ
่ แม่จะให้กา
ํ เนิด
ท่านมา”

ี งจากการปรบมือสองข้างได้ แล้วเสย
“ท่านทําเสย ี งของ
การปรบมือข้างเดียวเล่าเป็นอย่างไร”

โกอันเหล่านีท
้ ก ่ ปลกเฉพาะตัวมากน ้อยต่างกัน ซงึ่ อาจารย์เซนที่
ุ อันมีคําตอบทีแ
ิ้ สุดสภาพผกผันผิดธรรมดาและ
สามารถจะทราบได ้ทันที ในทันทีทไี่ ด ้คําตอบ โกอันก็สน
กลายเป็ นประโยคทีม ี วามหมายสมบูรณ์ ซงึ่ เกิดขึน
่ ค ้ จากสภาวะจิตแห่งการรู ้แจ ้งทีโ่ กอันนั น

นํ าให ้ถึง

ในนิกายรินไซเซน (Rinzai Zen) ผู ้ปฏิบัตธิ รรมจะต ้องเฉลยโกอันทีละข ้อ


ติดต่อกันหลายข ้อ ซงึ่ แต่ละข ้อจะมุง่ เฉพาะต่อหลักธรรมต่างกัน การให ้ขบโกอันนีเ้ ป็ น
ี ารถ่ายทอดคําสอนเพียงประการเดียวของนิกายนี้ ซงึ่ ไม่มก
วิธก ี ารเทศนาใด ๆ แต่จะปล่อย
ให ้ผู ้ปฏิบัตธิ รรมได ้ประจักษ์ ความจริงแท ้จากโกอัน

้ ฐานของธรรมชาติ
3.3 กฎพืน

ทีจ
่ ด ้ ําให ้เราได ้เห็นความคล ้ายคลึงอย่างยิง่ กับสถานการณ์ซงึ่ ผิดไปจากความ
ุ นีท
ิ หน ้ากับนักฟิ สก
เข ้าใจทั่วไป ทีไ่ ด ้เผชญ ิ สใ์ นตอนเริม ึ ษาฟิ สก
่ ต ้นศก ิ สข
์ องอะตอมเชน
่ เดียวกับ
่ นอยูใ่ นลักษณะทีผ
เซน ความจริงถูกซอ ่ กผันผิดธรรมดาซงึ่ ไม่อาจจะเฉลยออกมาได ้ด ้วย
เหตุผลเชงิ ตรรกะ แต่จะต ้องเข ้าใจโดยความตระหนั กรู ้อย่างใหม่ ความตระหนั กรู ้ในความ
จริงของอะตอม แน่นอนทีเดียวว่า ผู ้เป็ นอาจารย์ในทีน
่ ค ื ตัวธรรมชาติ ซงึ่ เชน
ี้ อ ่ เดียวกับ
อาจารย์เซนทีจ ั ประโยคหนึง่ ธรรมชาติเพียงแต่ตงั ้ ปริศนาให ้ขบคิด
่ ะไม่อธิบายอะไรแม ้สก
เท่านัน

การไขความหมายของโกอันแต่ละข ้อเรียกร ้องความพยายามในการทําสมาธิ


อย่างทุม
่ เทของผู ้ปฏิบัตธิ รรม ในตําราเกีย
่ วกับเซน เราได ้อ่านพบว่า โกอันจับความนึกคิด
จิตใจทัง้ หมดของผู ้ปฏิบัตธิ รรม และก่อให ้เกิดการติดตันในความคิดนึก เป็ นสภาวะของ
ความตึงเครียดทีต
่ อ
่ เนือ
่ งยาวนาน เนือ ึ ทีว่ า่ โลกทัง้ โลกกลายเป็ นตัวปั ญหา
่ งจากความรู ้สก
่ เดียวกันนี้ ไฮเซน
และคําถามอันมหึมา ผู ้ก่อตัง้ ทฤษฎีควอนตัมก็ประสบกับสถานการณ์เชน
เบิรก
์ ได ้อธิบายสภาพการณ์นัน ั ว่า
้ อย่างแจ่มชด


ข ้าพเจ ้าจําการถกเถียงของข ้าพเจ ้ากับบอหร์ได ้ว่าใชเวลาหลาย
ชวั่ โมง จนเวลา ล่วงเลยไปถึงยามดึก โดยสุดท ้ายก็ไม่เกิดผลอันใด และ
เมือ
่ จบการสนทนา ข ้าพเจ ้าได ้ออกไปเดินเล่นโดยลําพังในสวนสาธารณะ
ใกล ้ ๆ และเฝ้ ายํ้าถามตนเอง ซํ้าแล ้วซํ้าเล่าว่า ธรรมชาติจะดูไร ้สาระได ้
มากถึงขนาดเท่าทีป
่ รากฏต่อเราใน การทดลองเกีย
่ วกับอะตอม กระนั น

หรือ (6)

เมือ ่ รรมชาติของสงิ่ ต่าง ๆ ถูกวิเคราะห์ด ้วยความคิดนึก นั่ นจะดูเหมือนหา


่ ใดทีธ
สาระไม่ได ้และดูผกผันผิดธรรมดา นักปฏิบัตธิ รรมได ้ตระหนั กในเรือ
่ งนีเ้ ป็ นอย่างดี แต่มันเพิง่
กลายเป็ นปั ญหาในทางวิทยาศาสตร์ในระยะเวลาไม่นานมานี้นับเป็ นเวลาหลายศตวรรษที่
้ ฐานของธรรมชาติ” ซงึ่ กําหนดปรากฏการณ์รป
นักวิทยาศาสตร์เฝ้ าค ้นหา “กฎพืน ู แบบ
ต่าง ๆ ทีเ่ ราพบ ปรากฏการณ์เหล่านีเ้ ป็ นสภาพแวดล ้อมระดับทีเ่ ห็นได ้ด ้วยตา และดังนั น
้ จึง
ั ผัสของนั กวิทยาศาสตร์ ในเมือ
รวมอยูใ่ นขอบเขตประสบการณ์ทางประสาทสม ้ งึ่
่ ภาษาทีใ่ ชซ
่ าญฉลาดของนั กวทิยาศาสตร์ คือสงิ่ ทีย
รวมเอาภาพพจน์และความคิดนึกทีช ่ อ
่ สรุปเอาจาก
ิ ธิภาพเพียงพอในการอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ประสบการณ์ของเขา มันจึงมีประสท
ดังกล่าว

3.4 สูโ่ ลกของอะตอม

่ วกับธรรมชาติทเี่ ป็ นสาระสําคัญของสรรพสงิ่ ได ้รับการเฉลยในวิชา


ปั ญหาเกีย
ิ สด
ฟิ สก ์ งั ้ เดิมโดยแบบจําลองของจักรวาลในเชงิ กลจักรของนิวตัน ซงึ่ เป็ นไปในทํานอง
เดียวกับทีเ่ ดโมคริตัสได ้เสนอไว ้ในกรีกยุคโบราณ กล่าวคือได ้ลดทอนปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน

ทัง้ หมดให ้เหลือเฉพาะคุณสมบัตก
ิ ารเคลือ ิ าระหว่างอะตอมซงึ่ เป็ นมวลที่
่ นที่ และปฏิกริ ย
ิ องอะตอมเหล่านีเ้ ป็ นสงิ่ ย่อสรุปจากความรับรู ้ในเรือ
หนาแน่นและทําลายไม่ได ้คุณสมบัตข ่ ง
ลูกบิลเลียด ซงึ่ เป็ นปรากฏการณ์ระดับทีเ่ ห็นได ้ด ้วยตา และดังนั น
้ จึงเป็ นการสรุปจาก
ั ผัส ไม่เคยมีใครตัง้ คําถามเลยว่า ความรู ้ในเรือ
ประสบการณ์ของประสาทสม ่ งนีจ
้ ะนํ าไป
้ ้จริงในโลกของอะตอมหรือไม่ โดยข ้อเท็จจริงก็คอ
ประยุกต์ใชได ึ ษา
ื ว่า มันไม่อาจจะศก
สํารวจได ้อย่างจริงจังด ้วยการทดลอง

ิ สส
อย่างไรก็ตาม ในศตวรรษที่ 20 นั กฟิ สก ์ ามารถทีจ
่ ะจัดการกับปั ญหาเรือ
่ ง
ธรรมชาติแท ้จริงของสสารวัตถุได ้โดยการทดลอง โดยอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่
นักวิทยาศาสตร์สามารถทีจ
่ ะเจาะลึกลงไปในธรรมชาติมากยิง่ ขึน ั้ ๆ
้ ผ่านเปลือกหุ ้มทีละชน
้ ฐาน” ของสสารวัตถุ ดังนัน
สู่ “องค์ประกอบพืน ้ จึงพิสจ
ู น์ได ้ว่ามีอะตอม แต่ตอ
่ มาก็พบ
องค์ประกอบของมันได ้แก่ นิวเคลียสและอิเล็กตรอน และในทีส
่ ด
ุ ก็พบองค์ประกอบของ
นิวเคลียส คือโปรตอนและนิวตรอนรวมทัง้ อาจจะมีอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมชนิดอืน
่ ๆ อีก
ด ้วย

เครือ
่ งมือทีม
่ ค ั ซอนในการทดลองทางฟิ
ี วามละเอียดอ่อน และซบ ้ ิ สส
สก ์ มัยใหม่
ได ้เจาะลึกลงไปสูโ่ ลก ทีไ่ ม่อาจมองเห็นได ้ แม ้ด ้วยกล ้องจุลทรรศน์ สูอ
่ าณาจักรของ
ธรรมชาติ ซงึ่ ไกลพ ้นจากสภาพแวดล ้อมและทําให ้เรารับรู ้มันได ้ อย่างไรก็ด ี เรารับรู ้มันโดย
่ องจุดจบของกระบวนการเท่านั น
ผ่านลูกโซข ่ เสย
้ ยกตัวอย่างเชน ี งกระดิกของเครือ
่ งไกเกอร์
์ รับแสง สงิ่ ทีเ่ ราเห็นหรือได ้ยินมิใช ่
เคาน์เตอร์ (Geiger counter)* หรือจุดดําบนแผ่นฟิ ลม
ตัวปรากฏการณ์เอง แต่เป็ นสงิ่ ทีส ื เนือ
่ บ ่ งจากมัน โลกของอะตอมและอนุภาคทีเ่ ล็กกว่า
อะตอม ยังอยูน ั ผัสของเรา
่ อกเหนือประสาทสม


้ เราจึงสามารถ “สงเกต”
ดังนัน ิ องอะตอมและสว่ นประกอบของมันได ้
คุณสมบัตข
โดยอ ้อม โดยอาศัยเครือ
่ งมือทีท ้ เราจึง “มีประสบการณ์” เกีย
่ ันสมัย ดังนั น ่ วอนุภาคทีเ่ ล็ก
กว่าอะตอมได ้บางสว่ น อย่างไรก็ตาม ประสบการณ์ทวี่ า่ นี้ มิใชป
่ ระสบการณ์สามัญเมือ
่ เทียบ
กับสงิ่ แวดล ้อมของเราในประจําวัน ความรู ้เกีย
่ วกับวัตถุในระดับนีม ่ าจากประสบการณ์
้ ใิ ชม
ั ผัส จึงไม่เพียงพอแก่การอธิบายปรากฏการณ์ทส
โดยตรงของประสาทสม ี่ งั เกตได ้ เมือ
่ เรา
้ เท่าใด เราจําเป็ นต ้องละทิง้ ภาพพจน์และความคิดซงึ่ รวม
เจาะลึกลงไปในธรรมชาติมากขึน
เป็ นความหมายของภาษาสามัญมากเท่านัน

ในการเดินทางสูโ่ ลกแห่งอนุภาคซงึ่ มีขนาดเล็กอย่างไม่อาจประมาณได ้นี้ ก ้าว


สําคัญทีส
่ ด
ุ จากทัศนะของปรัชญา ก็คอ ่ ํ าไปสูโ่ ลกของอะตอม เมือ
ื ก ้าวแรก ก ้าวทีน ่ เจาะลึก
ลงไปในอะตอมและสํารวจโครงสร ้างของมัน วิทยาศาสตร์ก็ได ้ก ้าวพ ้นขอบเขตจํากัดของ
จินตนาการ อันเนือ ั ผัส จากจุดนีเ้ ป็ นต ้นไป เราก็ไม่อาจวางใจได ้อย่าง
่ งมาจากประสาทสม
สมบูรณ์ในตรรกะและสามัญสํานึกอีกต่อไป วิชาฟิ สก
ิ สท
์ วี่ า่ ด ้วยอะตอม ได ้ทําให ้
ิ กับลักษณะ ซงึ่ ผกผันผิดธรรมดา ของประสบการณ์นี้
นักวิทยาศาสตร์จําต ้องเผชญ
่ เดียวกับนักปฏิบัตธิ รรม ดังนัน
เชน ิ ส์
้ จากจุดนีเ้ อง แบบจําลองและภาพพจน์ของวิชาฟิ สก
สมัยใหม่ ได ้ปรากฏความคล ้ายคลึงกับคําสอนของปรัชญาตะวันออก

จบบทที่ 3
์ นวใหม่
ิ สแ
บทที่ 4 ฟิ สก

ั จะเป็ นเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน


ในศาสนาตะวันออก การประจักษ์ แจ ้งสจ ้ ในชวั่ แวบ ทว่า
ั่ คลอนโลกทัศน์ของบุคคลนัน
จะสน ี ก
้ ๆ ดี.ที.สซ ึ ิ เรียกเหตุการณ์นวี้ า่ “เหตุการณ์ทน
ี่ า
่ ตืน

ตระหนกทีส
่ ด
ุ เท่าทีเ่ คยเกิดขึน ้ นุษย์... ผิดไปจากประสบการณ์ซงึ่ เคย
้ ในความร ับรูม
ิ้ เชงิ ”
ผ่านมาแล้วทุกรูปแบบอย่างสน (1) ี ก
และสซ ึ ไิ ด ้อธิบายภาพของลักษณะอันน่าตืน

ตระหนกของประสบการณ์นโี้ ดยถ ้อยคําของอาจารย์เซนว่า เปรียบเสมือน “ก้นถ ังกําล ัง
แตกทะลุ”
ิ สใ์ นต ้นศตวรรษนีม
นั กฟิ สก ้ ค ึ คล ้ายคลึงกับประสบการณ์ข ้างต ้นมาก เมือ
ี วามรู ้สก ่
ั่ คลอนโดยสบการณ์ใหม่แห่งความจริงในเรือ
รากฐานของโลกทัศน์ของเขาถูกสน ่ งอะตอม
และพวกเขาอธิบายประสบการณ์นัน
้ ในทํานองเดียวกันกับอาจารย์เซนของซูซก
ุ ิ ดังทีไ่ ฮเซน
เบิรก
์ เขียนไว ้ว่า

ปฏิกริ ย
ิ าทีร่ น ิ สส
ุ แรงในพัฒนาการของฟิ สก ์ มัยใหม่ในระยะเวลา
อันใกล ้นี้ จะเป็ น ทีเ่ ข ้าใจได ้ก็แต่เมือ
่ บุคคลตระหนั กว่า ทีจ
่ ด
ุ นีร้ ากฐานของ
ิ สไ์ ด ้เคลือ
ฟิ สก ่ นที่ ไปและการเคลือ
่ นทีอ
่ ันนีไ ึ ทีว่ า่
้ ด ้ก่อให ้เกิดความรู ้สก
้ ฐานต่าง ๆ กําลังถูก แยกออกจากวิทยาศาสตร์ (2)
พืน

ึ ตกใจมากเชน
ไอน์สไตน์รู ้สก ่ กันเมือ ิ สใ์ น
่ เขาได ้ประจักษ์ความจริงใหม่ของฟิ สก
่ งอะตอม ไอน์สไตน์ได ้เขียนไว ้ในอัตชวี ประวัตวิ า่
เรือ

ความพยายามของข ้าพเจ ้าทีจ


่ ะปรับรากฐานทางทฤษฏีของ
ิ สท
ฟิ สก ์ รี่ ู ้ว่า ให ้เข ้ากับความรู ้(อันใหม่) นี้ ต ้องล ้มเหลวอย่างสน
ิ้ เชงิ มัน
เหมือนกับว่าพืน
้ ดินถูกดึงออกจากทีท ั สงิ่ ซงึ่
่ เี่ รายืน ไม่มรี ากฐานอะไรสก
่ ะให ้เราอาศัยอยูไ่ ด ้ (3)
มั่นคงพอทีจ

ิ สส
การค ้นพบของวิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ ได ้ก่อให ้เกิดความจําเป็ น ในการเปลีย
่ นความ
คิดเรือ
่ งอวกาศ เวลา สสาร วัตถุ เหตุและผล และอืน
่ ๆ ในเมือ
่ ความคิดในเรือ
่ งเหล่านีเ้ ป็ น
สงิ่ พืน
้ ฐานของประสบการณ์ในโลกของเรา มันจึงไม่น่าประหลาดใจ ทีน ิ สซ
่ ั กฟิ สก ์ งึ่ จําต ้อง
เปลีย
่ นความเข ้าใจในเรือ ึ ตกใจสุดขีด โลกทัศน์อย่างใหม่ซงึ่ เปลีย
่ งเหล่านี้ จะรู ้สก ่ นจากเดิม
อย่างถอนรากถอนโคน ได ้ปรากฏขึน
้ จากการเปลีย
่ นแปลงเหล่านี้ และยังคงอยูใ่ น
กระบวนการก่อรูปก่อร่าง ในกระแสของการทดลองทางวิทยาศาสตร์ในปั จจุบัน

ดูเหมือนว่าศาสนิกชาวตะวันออกและนั กวิทยาศาสตร์ตะวันตก ได ้ผ่านประสบ


การณ์ซงึ่ อาจกล่าวได ้ว่า ปฏิวต
ั ป
ิ ระสบการณ์เก่า ๆ ทัง้ หมดคล ้ายคลึงกัน ประสบการณ์
เหล่านีไ
้ ด ้นํ าให ้ทัง้ สองฝ่ าย มีวธิ ก
ี ารในการมองโลกอย่างใหม่ ในข ้อความทีย
่ กมา 2
ข ้อความข ้างล่างนี้ นักวิทยาศาสตร์ชาวยุโรป นีลส ์ บอหร์ (Niels Bohr) และนั กปราชญ์
อินเดีย ศรี อรพินโท (Sri Aurobindo) ทัง้ สองต่างแสดงลักษณะของประสบการณ์ซงึ่ ลึกซงึ้
และก่อให ้เกิดการเปลีย ิ้ เชงิ
่ นแปลงอย่างสน

การขยายตัวของประสบการณ์ของเราออกไปอย่างมากมายใน
สองสามปี ทผ ิ ธิภาพของแนวคิดเชงิ กลจักร
ี่ า่ นมา ทําให ้ความด ้อยประสท
ั ขึน
อย่างสามัญปรากฏชด ั่ สะเทือนรากฐานของการตีความการ
้ และได ้สน
ทดลองซงึ่ เคยรับสบ
ื ต่อกันมา (4)
นิลส ์ บอหร์

โดยแท ้จริง สรรพสงิ่ เริม


่ เปลีย
่ นธรรมชาติและลักษณะของมัน
ประสบการณ์ทัง้ หมดของบุคคลอันเกีย
่ วเนือ
่ งด ้วยโลก แตกต่างออกไป
ิ้ เชงิ ..มีวธิ ก
อย่างสน ี ารใหม่ อีกแบบหนึง่ ซงึ่ ทัง้ กว ้างและลึกในการประสบ
ั ผัสสงิ่ ทัง้ หลาย
การเห็น การรู ้ และการสม (5)

ศรี อรพินโท

บทนีจ ิ ส์ดงั ้ เดิมซึง่ มีภม


้ ะให ้ภาพคร่าว ๆ ของความคิดแนวใหม่นเี้ ปรียบเทียบกับความคิดในวิชาฟิ สก ู ห
ิ ลังทีข
่ ด
ั แย ้งกัน โดย

จะแสดงให ้เห็นว่าจําเป็ นจะต ้องเลิกยึดถือโลกทัศน์แบบกลจักรดัง้ เดิมอย่างไร ในต ้นศตวรรษนี้ เมือ


่ ทฤษฏีควอนตัมและทฤษฏี

ื้ ฐานของฟิ สิกส์สม ัยใหม่ –ได ้ผลักดันให ้เราต ้องปรับทัศนะต่อธรรมชาติให ้ลึกซึง้ เป็ นองค์รวมและกอปรด ้วย
สัมพันธภาพ –ทฤษฏีพน

ชีวต
ิ จิตใจมากขึน

4.1 ฟิ สิกส์ดงเดิ
ั้ ม

โลกทัศน์ซงึ่ ถูกเปลีย
่ นแปลงไปเนือ ิ ส์สมัยใหม่ มีรากฐานอยูบ
่ งจากการค ้นพบของฟิ สก ่ นทฤษฏีกลศาสตร์วา่ ด ้วยจักรวาล

ของนิวตัน ทฤษฏีนเี้ ป็ นโครงสร ้างทีแ ิ ส์ดงั ้ เดิม โดยแท ้จริงแล ้ว มันเป็ นรากฐานอันแข็งแกร่งน่าเกรงขาม เปรียบดังศิลาซึง่
่ ข็งแรงของฟิ สก

รองรับวิทยาศาสตร์ทก
ุ แขนง และเป็ นพืน
้ ฐานของปรัชญาธรรมชาติ มาร่วมสามศตวรรษ

ในทัศนะของนิวตัน สภาวะของจักรวาลซึง่ ปรากฏการณ์ทางฟิ สก


ิ ส์ทงั ้ มวลปรากฏขึน
้ นัน
้ เป็ นอวกาศสามมิตต
ิ ามหลัก

เรขาคณิตแบบเก่าของยูคลิด (Euclid) เป็ นอวกาศทีส ั บูรณ์อยูใ่ นภาวะสงบนิง่ ไม่เคลือ


่ ม ่ นไหวและไม่เคยเปลีย
่ นแปลงนิวตันเองกล่าว

ว่า “โดยธรรมชาติ อวกาศเป็นสิง่ ส ัมบูรณ์ไม่ขน


ึ้ ต่อปัจจ ัยภายนอกอยูใ่ นสภาพคงต ัวและไม่เคลือ
่ นที”่ (6) การเปลีย
่ นแปลง

ิ ส์ถก
ทัง้ หมดในทางฟิ สก ิ นึง่ ซึง่ เรียกว่า เวลา ซึง่ ก็เป็ นสิง่ สัมบูรณ์อก
ู อธิบายในอีกมิตห ี อันหนึง่ ไม่เกีย
่ วข ้องกับโลกของสสาร วัตถุ และไหล

เลือ
่ นอย่างสมํา่ เสมอจากอดีตมาถึงปั จจุบน ่ นาคต นิวตันกล่าวว่า “โดยสภาวะธรรมชาติของม ัน เวลาในเชิงคณิตศาสตร์
ั และไปสูอ

เป็นสิง่ จริงแท้ส ัมบูรณ์ในต ัวของม ันเอง ไหลเลือ ึ้ ก ับปัจจ ัยภายนอก” (7)


่ นอย่างสมํา่ เสมอโดยไม่ขน

ในทัศนะของนิวตันธาตุตา่ ง ๆ ซึง่ เคลือ


่ นทีอ
่ ยูใ่ นเวลาและอวกาศทีส ั บูรณ์ นีก
่ ม ้ ค
็ อ
ื อนุภาคทางวัตถุ ในสมการทาง

ั ถูกกระทําเหมือนกับเป็ น “จุดทีม
คณิตศาสตร์มน ี วลสาร” นิวตันเห็นว่ามันเป็ นวัตถุซงึ่ เล็กแข็งและทําลายไม่ได ้ซึง่ ประกอบกันขึน
่ ม ้ เป็ น

วัตถุทก
ุ ชนิดแบบจําลองดังกล่าวนีค
้ ล ้ายคลึงกับแบบจําลองของนักคิดเรือ
่ งอะตอมของชาวกรีก ทัง้ สองต่างตัง้ อยูบ
่ นพืน
้ ฐานในเรือ
่ งความ

่ งึ่ มีสงิ่ บรรจุอยูก


แบ่งแยกระหว่างทีซ ่ บ
ั ทีว่ า่ งระหว่างสสารวัตถุกบ
ั อวกาศและในแบบจําลองทัง้ สองแบบอนุภาคของวัตถุจะคงทีม
่ ม
ี วลและ

้ สสารวัตถุจงึ เป็ นสิง่ คงทีเ่ สมอและโดยเนือ


รูปร่างอยูใ่ นสภาพเดิมเสมอดังนัน ้ แท ้แล ้วไม่มพ
ี ลังกระทําการในตนเอง ความแตกต่างสําคัญ

ระหว่างลัทธิอะตอมของเดโมคริตส
ั กับนิวตันก็คอ
ื นิวตันได ้แสดงแรงทีก
่ ระทําต่ออนุภาคของวัตถุนัน
้ อย่างชัดเจนด ้วย กล่าวอย่างง่าย ๆ

แรงกระทํานีข
้ น
ึ้ อยูก
่ บ ่ มโยงต่อสิง่ ทีม
ั มวลสารและระยะห่างระหว่างอนุภาค มันคือแรงโน ้มถ่วงของโลก นิวตันเห็นว่าแรงนีเ้ ชือ ่ น
ั กระทําอย่าง

่ งได ้ และมีผลต่อสิง่ ต่าง ๆ ทันทีทน


แน่นอนไม่อาจหลีกเลีย ั ใด แม ้ว่าสิง่ นัน
้ จะอยูห
่ า่ งไกลออกไปก็ตาม แม ้ว่ามันจะเป็ นสมมติฐานทีแ
่ ปลก

ั ลงไปเป็ นทีย
ประหลาด แต่ก็ไม่เคยมีการตรวจสอบให ้แน่ชด ่ อมรับกันว่าอนุภาคและแรงกระทําระหว่างอนุภาคถูกสร ้างโดยพระเจ ้า ดังนัน

จึงไม่ใช่สงิ่ ทีจ ่ Opticks นิวตันได ้อธิบายอย่างชัดเจนถึงจินตนาการของตนต่อการทีพ


่ ะต ้องตรวจสอบกันอีกต่อไป ในหนังสือชือ ่ ระเจ ้าทรง

สร ้างโลกแห่งสรรพวัตถุขน
ึ้
ข ้าพเจ ้าคิดว่ามันอาจจะเป็ นไปในลักษณะนีว้ า่ ในตอนเริม
่ ต ้น
พระเจ ้าจะทรงสร ้างสสารวัตถุในรูปของอนุภาค ซงึ่ มีสถานะเป็ นของแข็ง
ทรงมวล มีความแข็ง ไม่อาจชําแรกมันได ้และเคลือ
่ นทีไ่ ด ้ ให ้มีขนาดและ
รูปร่างดังทีม
่ ันเป็ นพร ้อมด ้วยคุณสมบัตอ
ิ น
ื่ ๆ ทีม
่ ันมีและทรงสร ้างให ้มี
ั สว่ นพอดีกับชอ
จํานวนทีเ่ ป็ นสด ่ งว่าง ซงึ่ ทัง้ หมดจะประกอบกันขึน
้ อย่าง
เหมาะเจาะเป็ นสสาร

วัตถุอันนัน
้ ทีพ
่ ระองค์ทรงสร ้าง และอนุภาคเริม
่ แรกนัน
้ มีความ
แข็งมากมายอย่างทีไ่ ม่อาจเทียบกันได ้กับสสารวัตถุซงึ่ มันประกอบกันขึน

ิ้ สว่ น
เป็ น มันมีความแข็งมากและไม่อาจฉีกหรือทําให ้มันแตกออกเป็ นชน
ได ้ ไม่มก ่ าจจะแบ่งแยกสงิ่ ทีพ
ี ําลังสามัญชนิดใด ทีอ ่ ระเจ ้าพระองค์เองทรง
้ ให ้เป็ นหนึง่ ในการรังสรรค์ครัง้ แรกของพระองค์ได ้ (8)
สร ้างขึน

ิ ส์ทงั ้ หมดถูกพิจารณาแต่เพียงในแง่ของการเคลือ
ในกลศาสตร์ของนิวตัน เหตุการณ์ทางฟิ สก ่ นทีข
่ องสสารวัตถุในทีว่ า่ ง

ซึง่ เกิดขึน
้ จากแรงดึงดูดระหว่างกันของวัตถุ นั่นคือ โดยแรงโน ้มถ่วงของโลก ในการคํานวณหาแรงทีก
่ ระทําบนมวลสารแคลคูลส

(Differential Calculus) นับเป็ นผลงานทางความคิดทีเ่ ยีย ้ หนึง่ และได ้รับการยกย่องจากไอน์สไตน์วา่ “อาจจะเป็น


่ มยอดมากชิน

ความก้าวหน้าทางความคิดทีย
่ งิ่ ใหญ่ทส
ี่ ด
ุ เท่าทีป
่ จ
ั เจกบุคคลได้เคยกระทํามา”

สมการเกีย
่ วกับการเคลือ ่ องนิวตันเป็ นรากฐานของกลศาสตร์ดงั ้ เดิม ซึง่ ถูกถือเอาว่าเป็ นกฎเกณฑ์ทต
่ นทีข ี่ ายตัวแน่นอน

ของการเคลือ
่ นทีข
่ องวัตถุ และเป็ นสาเหตุของการเปลีย ิ ส์ ในทัศนะของนิวตันในตอนต ้น พระ
่ นแปลงทัง้ หมดของปรากฏการณ์ในทางฟิ สก

เจ ้าได ้ทรงสร ้างอนุภาคของสสาร แรงระหว่างอนุภาคและกฎพืน


้ ฐานของการเคลือ
่ นที่ ในลักษณะเช่นนี้ จักรวาลทัง้ หมดเคลือ
่ นไหวและไม่

่ งจักร ซึง่ ถูกควบคุมโดยกฎซึง่ ไม่เคยเปลีย


เคยหยุด เช่นเดียวกับเครือ ่ นแปลง

4.2 ล ัทธินย
ิ ัตินย
ิ ม

ทัศนะเชิงกลจักรต่อธรรมชาติจงึ สัมพันธ์อย่างใกล ้ชิดกับลัทธินย


ิ ัตน
ิ ย
ิ ม (Determinism) ทีถ ื ว่ามีสงิ่ กําหนดความเป็ นไป
่ อ

ของสิง่ ต่าง ๆ อย่างตายตัว เครือ


่ งจักรอันมหึมาแห่งจักรวาลนีถ
้ ก ้ เชิง สิง่ ต่าง ๆ ปรากฏขึน
ู กําหนดกฎเกณฑ์ความเป็ นไปอย่างสิน ้ มาจาก

เหตุทแ ่ ลทีแ
ี่ น่นอนอันหนึง่ และนําไปสูผ ่ น่นอนเช่นกัน และโดยหลักการแล ้ว ความเป็ นไปในอนาคตของส่วนใดส่วนหนึง่ ในระบบจะ

สามารถทราบได ้ล่วงหน ้าอย่างแม่นยําทีส


่ ด
ุ หากเราสามารถกําหนดรู ้ชัดเจนในรายละเอียดของสภาวะของส่วนนัน
้ ในขณะนัน
้ ๆ ได ้ ความ

่ อันนีไ้ ด ้รับการอธิบายอย่างชัดเจนในคํากล่าวทีม
เชือ ่ ช ื่ เสียง ปิ แอร์ ซีโมน ลาปลาซ (Pierre Simon Laplace) นักคณิตศาสตร์ฝรั่งเศสว่า
ี อ

่ ําหนดให ้ปั ญญาซงึ่ รู ้แรงทุกแรงทีก


ในขณะใดขณะหนึง่ ทีก ่ ระทํา
อยูใ่ นธรรมชาติ และรู ้ตําแหน่งของสงิ่ ต่าง ๆ ซงึ่ ประกอบกันขึน
้ เป็ นโลก
สมมติวา่ ปั ญญาดังกล่าวนั น
้ กว ้างขวางพอทีจ
่ ะนํ าเอาข ้อมูลเหล่านีไ
้ ป
วิเคราะห์ มันย่อมจะรวมสูตรการเคลือ
่ นทีข
่ องก ้อนวัตถุทใี่ หญ่ทส
ี่ ด
ุ ใน
จักรวาลและของอะตอมทีเ่ ล็กทีส
่ ด ี งิ่ ทีไ่ ม่แน่นอนสําหรับ
ุ เอาไว ้ด ้วย ไม่มส
่ เดียวกับอดีต อนาคตจะปรากฏแก่สายตาของมัน
มัน และเชน (9)
พืน
้ ฐานทางปรัชญาของลัทธินย
ิ ัตน
ิ ย
ิ มนี้ เป็ นรากฐานของความคิดในการแบ่งแยกระหว่างฉันและโลก ของเดคาร์ต จาก

่ กันว่า เราอาจวิเคราะห์โลกได ้อย่างเป็ นภาววิสย


การแบ่งแยกในลักษณะดังกล่าว จึงเชือ ั นั่นคือ โดยปราศจากการพูดถึงผู ้สังเกตการณ์ซงึ่

ั นัน
เป็ นมนุษย์ และการสามารถอธิบายธรรมชาติอย่างเป็ นภาววิสย ้ ได ้กลายมาเป็ นอุดมคติของวิทยาศาสตร์ทก
ุ แขนง

ในช่วงศตวรรษที่ 18 และ 19 เป็ นช่วงเวลาของความสําเร็จของกลศาสตร์แบบนิวตัน นิวตันได ้ประยุกต์ทฤษฎีของเขาไป

ในการอธิบายการโคจรของดาวเคราะห์ และสามารถทีจ
่ ะอธิบายลักษณะพืน
้ ฐานของระบบสุรย
ิ ะได ้ อย่างไรก็ตาม แบบจําลองของระบบ

ดาวเคราะห์ของนิวตันเป็ นการเสนอรูปแบบอย่างง่าย ๆ โดยได ้ละเลยหลาย ๆ สิง่ ไป ยกตัวอย่างเช่น แรงโน ้มถ่วงซึง่ กระทําระหว่างดาว

้ นิวตันจึงพบว่า มีความผิดแปลกหลายอย่างซึง่ ไม่อาจอธิบายได ้ เขาได ้แก ้ปั ญหานีโ้ ดยสมมติฐานทีว่ า่ พระเจ ้าทรง
เคราะห์ด ้วยกัน ดังนัน

ดํารงอยูใ่ นจักรวาลตลอดเวลา และคอยแก ้ไขความผิดแปลกเหล่านี้

ลาปลาซนักคณิตศาสตร์เอก ได ้ตัง้ ความมุง่ มัน


่ ทีจ
่ ะปรับปรุงการคํานวณในสูตรต่าง ๆ ของนิวตันให ้สมบูรณ์โดยการแต่ง

ตําราซึง่ จะ “เสนอคําตอบทีส
่ มบูรณ์ตอ
่ ปัญหาทางกลศาสตร์เกีย ิ ะ และทําให้ทฤษฎีก ับการส ังเกตการณ์
่ วก ับระบบสุรย

สอดคล้องก ัน จนกระทง่ ั จะไม่มท


ี วี่ า
่ งสําหร ับสมการทีค
่ ด ้ จากการส ังเกตบนโต๊ะของน ักดาราศาสตร์อก
ิ ขึน ี ต่อไป” (10) ผลก็คอ

้ สําคัญซึง่ ปรากฏเป็ นหนังสือ 5 เล่ม ชือ


งานชิน ่ Mecanique Celeste ลาปลาซประสบความสําเร็จในการอธิบายการเคลือ
่ นทีข
่ องดาว

เคราะห์ ดวงจันทร์ และดาวหาง อย่างละเอียดลออ รวมทัง้ การไหลของกระแสนํ้าขึน


้ นํ้าลง และปรากฏการณ์อน
ื่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วเนือ
่ งกับแรงโน ้ม

ถ่วงเขาได ้แสดงให ้เห็นว่า กฏการเคลือ


่ นทีข
่ องนิวตันรับรองคงตัวของระบบสุรย
ิ ะและกระทําต่อจักรวาลในลักษณะทีม
่ น ่ งจักรซึง่
ั เป็ นเครือ

ควบคุมตัวเองได ้อย่างสมบูรณ์ เมือ ่ งเล่าว่า นโปเลียน ถามว่า “คุณลาปลาซ พวกเขา


่ ลาปลาซเสนอผลงานของเขาแก่นโปเลียน ก็มเี รือ

่ วก ับระบบของจ ักรวาลพวกนีโ้ ดยทีไ่ ม่ได้เอ่ยถึงพระผูส


บอกผมว่าคุณเขียนหน ังสือเล่มใหญ่เกีย ้ ร้างเลยหรือ” ลาปลาซตอบ

้ งอาศ ัยสมมติฐานแบบนนเลย”
อย่างขวานผ่าซากว่า “กระผมไม่ตอ ้ั

ด ้วยความสําเร็จอย่างงดงามของกลศาสตร์แบบนิวตันทีส ิ ส์ได ้
่ ามารถอธิบายกฏเกณฑ์ตา่ ง ๆ ทางดาราศาสตร์ได ้ นักฟิ สก

ขยายขอบเขตของมันเข ้าไปในการอธิบายการเคลือ
่ นไหวอย่างต่อเนือ ่ สะเทือนของวัตถุทม
่ งของของไหล และอธิบายการสัน ี่ ค
ี วามยืดหยุน

พวกเขาพบว่ามันสามารถใช ้ได ้ ในทีส


่ ด
ุ แม ้กระทัง่ ทฤษฎีของความร ้อนก็อาจพิจารณาในแง่กลศาสตร์ เมือ
่ เป็ นทีท
่ ราบกันว่า ความร ้อนคือ

พลังงานซึง่ เกิดขึน ่ ของโมเลกุล เช่นเมือ


้ จากการสัน ่ อุณหภูมข
ิ องนํ้าสูงขึน
้ การเคลือ
่ นทีข
่ องโมเลกุลของนํ้าจะมากขึน
้ จนกระทัง่ เอาชนะแรง

ดึงดูดระหว่างโมเลกุลของมันเอง และระเหยออกไปกลายเป็ นไอ ในทางตรงกันข ้าม เมือ


่ การเคลือ
่ นทีข
่ องโมเลกุลลดลงโดยการลด

ิ องนํ้า โมเลกุลของนํ้าจะจับตัวกันในรูปแบบใหม่ซงึ่ แข็งแรงกว่าและกลายเป็ นนํ้าแข็ง ในทํานองเดียวกันนี้ ปรากฏการณ์อน


อุณหภูมข ื่ ๆ ที่

เกีย
่ วกับอุณหภูมก
ิ อ
็ าจจะเป็ นทีเ่ ข ้าใจได ้เป็ นอย่างดีจากทัศนะในทางกลศาสตร์ล ้วน ๆ

ิ ส์ในต ้นศตวรรษที่ 19 เชือ


ความสําเร็จอันใหญ่หลวงของทฤษฏีทางกลศาสตร์ได ้ทําให ้นักฟิ สก ่ ว่าจักรวาลเป็ นระบบกลไก

อันมหึมาซึง่ เคลือ
่ นไหวไปตามกฏการเคลือ
่ นทีข
่ องนิวตันจริง ๆ กฏเกณฑ์เหล่านีถ
้ อ
ื เป็ นกฏพืน
้ ฐานของธรรมชาติและก็ถอ
ื กันว่ากลศาสตร์

ของนิวตันเป็ นทฤษฏีทอ
ี่ ธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติทส ั บูรณ์ เป็ นเวลาไม่น ้อยกว่าร ้อยปี หลังจากนัน
ี่ ม ้ ทีค ิ ส์อน
่ วามจริงในทางฟิ สก ั ใหม่ถก

ค ้นพบ ซึง่ ได ้แสดงให ้เห็นข ้อจํากัดของแบบจําลองของนิวตัน และได ้แสดงให ้เห็นว่าไม่มแ


ี ง่มม ี้ ใี่ ช ้ได ้อย่างสมบูรณ์
ุ ใดของทฤษฏีนท

4.3 ความเข้าใจเรือ
่ งแสง

ความเข ้าใจเช่นว่านีม
้ ไิ ด ้เกิดขึน
้ อย่างกะทันหัน แต่ได ้เริม ้ โดยพัฒนาการในศตวรรษที่ 19 ซึง่ ได ้แผ ้วถางทางสําหรับการ
่ ขึน

ปฏิวต
ั ท
ิ างวิทยาศาสตร์ในรุน ้ แรกในกระบวนพัฒนาการนีค
่ ของเรา งานชิน ้ อ
ื การค ้นพบและศึกษาสํารวจปรากฏการณ์ทางไฟฟ้ าและ

แม่เหล็ก ซึง่ ไม่อาจอธิบายได ้อย่างเหมาะสมโดยทฤษฎีทางกลศาสตร์ โดยทีม


่ น
ั เกีย
่ วข ้องกับแรงชนิดใหม่ ก ้าวสําคัญนีเ้ ริม
่ โดยไมเคิล ฟา

เรเดย์และเคลิรก
์ แมกซ์เวลส์ ท่านแรกนัน
้ เป็ นนักทดลองผู ้ยิง่ ใหญ่ทส
ี่ ด
ุ คนหนึง่ ในประวัตศ
ิ าสตร์ของวิทยาศาสตร์ และท่านทีส
่ องนัน
้ เป็ น
นักทฤษฎีทป
ี่ ราดเปรือ
่ ง เมือ
่ ฟาราเดย์ผลิตกระแสไฟฟ้ าในขดลวดทองแดงได ้โดยการเลือ
่ นแท่งแม่เหล็กไปมาใกล ้ ๆ ขดลวด เขาได ้

เปลีย
่ นงานทางกลศาสตร์ในการเลือ
่ นแท่งแม่เหล็กเป็ นพลังงานไฟฟ้ า เขาได ้นําวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางวิศวกรรมไฟฟ้ าอย่าง

้ ฐานของการคาดการณ์ทางทฤษฏีของเขาและแมกซ์เวลส์ ซึง่ ในทีส


มากมายมหาศาล ในอีกด ้านหนึง่ มันได ้เป็ นพืน ่ ด
ุ ส่งผลเป็ นทฤษฎี

แม่เหล็กไฟฟ้ าทีส
่ มบูรณ์ ฟาราเดย์และแมกซ์เวลส์มไิ ด ้ศึกษาแต่เพียงผลทีเ่ กิดขึน
้ จากแรงไฟฟ้ าและแม่เหล็ก แต่ได ้ศึกษาแรงนัน
้ ๆ เอง

โดยตรง พวกเขาได ้สร ้างความคิดในเรือ


่ งสนามของแรงขึน
้ มาแทนความคิดเรือ
่ งแรงดัง้ เดิม ในการทําเช่นนัน
้ พวกเขาได ้เป็ นคนกลุม
่ แรกที่

ิ ส์แบบนิวตัน
ไปไกลกว่าฟิ สก

แทนทีจ
่ ะอธิบายแรงกระทําระหว่างประจุบวกและลบอย่างง่าย ๆ ว่าเป็ นแรงดึงดูดระหว่างประจุทงั ้ สอง เช่นเดียวกับทีม
่ วล

สารสองอันกระทําต่อกันในกลศาสตร์แบบนิวตัน ฟาราเดย์และแมกซ์เวลส์พบว่าควรทีจ
่ ะอธิบายว่า ประจุแต่ละชนิดสร ้าง “กระแสรบกวน”

หรือ “เงือ ้ ในทีว่ า่ งรอบ ๆ ตัวมัน ซึง่ เมือ


่ นไข” ขึน ่ มีประจุอน
ื่ ๆ อยูด
่ ้วย มันจะรู ้สึกว่ามีแรงกระทําต่อมัน เงือ
่ นไขทีเ่ กิดในทีว่ า่ งรอบ ๆ ประจุ

ซึง่ มีศก
ั ยภาพแห่งการสร ้างแรงขึน
้ นีเ้ รียกว่าสนาม (Field) มันเกิดจากประจุเดีย
่ ว ๆ อันหนึง่ และคงอยูแ
่ ม ้ว่าจะมีหรือไม่มป
ี ระจุอน
ื่ ๆ อยูก
่ ็

ตาม

นีเ่ ป็ นการเปลีย ่ ําคัญในความคิดของมนุษย์ในเรือ


่ นแปลงทีส ิ ส์ ในทัศนะของนิวตัน แรงเกีย
่ งความจริงทางฟิ สก ่ วโยงกับวัตถุ

ทีม
่ น
ั กระทําอย่างไม่อาจแยกจากกัน ในปั จจุบน
ั ความคิดเรือ
่ งแรงถูกแทนทีด
่ ้วยความคิดเรือ
่ งสนามทีล ึ ซึง้ กว่า ซึง่ มีความจริงของมันเอง
่ ก

และเราศึกษามันได ้โดยไม่ต ้องอ ้างโยงถึงตัววัตถุ จุดสูงสุดของทฤษฎีนค ื พลศาสตร์ไฟฟ้ า (Electrodynamics) ซึง่ เป็ นการเข ้าใจชัดเจน
ี้ อ

่ นอกจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า ซึง่ สลับไปมาอย่างรวดเร็ว เคลือ


ว่า แสงมิใช่อะไรอืน ่ นทีผ
่ า่ นอวกาศในรูปของคลืน
่ ในปั จจุบน
ั เราทราบว่า

คลืน
่ วิทยุ คลืน ่ แม่เหล็กไฟฟ้ า เป็ นสนามไฟฟ้ าและสนามแม่เหล็กซึง่ สัน
่ แสง หรือรังสีเอกซ์ ทัง้ หมดเป็ นคลืน ่ ด ้วยความถีท
่ แ
ี่ ตกต่างกัน

และแสงทีเ่ ราสามารถเห็นได ้นัน


้ เป็ นเพียงส่วนเล็ก ๆ ส่วนหนึง่ ในแถบคลืน
่ แม่เหล็กไฟฟ้ าทัง้ หมด

ถึงแม ้จะมีการเปลีย
่ นแปลงทีก ้ ต ้น กลศาสตร์แบบนิวตันก็ยังเป็ นพืน
่ ้าวหน ้ามากถึงเพียงนี้ ในชัน ิ ส์ทงั ้
้ ฐานของวิชาฟิ สก

มวล แมกซ์เวลส์เองพยายามทีจ
่ ะอธิบายผลการทดลองของเขาในแง่กลศาสตร์ โดยอธิบายว่าสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นความเค ้นทาง

กลศาสตร์ (Mechnical Stress) ของตัวกลาง ซึง่ มีความเบามากและครอบคลุมทัว่ อวกาศ เรียกว่าอีเทอร์ และคลืน


่ แม่เหล็กไฟฟ้ าก็คอ

คลืน
่ แห่งความยืดหยุน
่ ของอีเทอร์ การอธิบายต ้องเป็ นไปเช่นนัน
้ เพราะในความเข ้าใจทัว่ ไป คลืน ่ สะเทือนของบาง
่ เกิดจากการสัน

สิง่ เช่น คลืน ่ สะเทือนของนํ้า คลืน


่ นํ้าเป็ นการสัน ่ สะเทือนของอวกาศ เป็ นต ้น อย่างไรก็ตาม แมกซ์เวลส์ใช ้คําอธิบาย
่ เสียงเป็ นการสัน

ทางกลศาสตร์หลายๆด ้านพร ้อมกันในการอธิบายทฤษฏีของเขา และไม่ถอ


ื เป็ นจริงเป็ นจังกับคําอธิบายเหล่านัน
้ เขาต ้องเข ้าใจอย่าง

ลึกซึง้ ถึงแม ้จะไม่ได ้แสดงออกมาอย่างชัดแจ ้งว่าความจริงพืน


้ ฐานในทฤษฏีของเขาก็คอ
ื สนาม มิใช่แบบจําลองทางกลศาสตร์ ห ้าสิบ

ปี ตอ
่ มาไอน์ไสตน์จงึ ได ้ประจักษ์ในความจริงอันนี้ เมือ ี เี ทอร์ และสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นสิง่ ทีม
่ เขาประกาศว่า ไม่มอ ่ จ
ี ริงในทาง

ิ ส์ โดยตัวของมันเองสามารถเคลือ
ฟิ สก ่ นทีผ
่ า่ นอวกาศอันว่างเปล่า และไม่อาจอธิบายได ้โดยอาศัยกลศาสตร์

ดังนัน ิ ส์จงึ ได ้ค ้นพบทฤษฎีทป


้ ถึงตอนต ้นของศตวรรษที่ 20 นักฟิ สก ี่ ระสบความสําเร็จสองทฤษฎีด ้วยกัน ซึง่ สามารถ

นําไปใช ้อธิบายปรากฏการณ์ทต
ี่ า่ งกัน คือ กลศาสตร์ของนิวตัน และพลศาสตร์ไฟฟ้ าของแมกซ์เวลส์ ดังนัน
้ แบบจําลองของนิวตันจึง

มิได ้เป็ นพืน ิ ส์ทงั ้ มวลอีกต่อไป


้ ฐานของฟิ สก

4.4 ฟิ สิกส์สม ัยใหม่

ิ ส์ได ้ถูกเปลีย
ในช่วงสามทศวรรษแรกของศตวรรษนี้ โฉมหน ้าของวิชาฟิ สก ้ เชิง พัฒนาการสองกระแส
่ นแปลงอย่างสิน

ั พัทธภาพ และวิชาฟิ สก
คือ ทฤษฎีสม ิ ส์ทวี่ า่ ด ้วยอะตอม ได ้ป่ นทําลายความคิดหลักในโลกทัศน์แบบนิวตันอย่งสิน
้ เชิงความคิดเรือ
่ ง
อวกาศและเวลาทีส ั บูรณ์ อนุภาคพืน
่ ม ้ ฐานซึง่ ไม่อาจแบ่งย่อยลงไปได ้ความทีต ิ ส์ และ
่ ้องมีเหตุอย่างตายตัวของปรากฎการณ์ทางฟิ สก

ั ความคิดเหล่านีไ้ ม่อาจจะขยายตัวเข ้าไปในขอบเขตใหม่ของวิชาฟิ สก


อุดมคติในการอธิบายธรรมชาติเป็ นภาววิสย ิ ส์ได ้

ในตอนเริม ิ ส์สมัยใหม่ได ้อาศัยอาศัยอัจฉริยภาพของบุรษ


่ ต ้นของวิชาฟิ สก ุ ผู ้หนึง่ คือ อัลเบิรต
์ ไอน์สไตน์ ในเอกสารฉบับ

ซึง่ ตีพม ่ แนวคิดสองกระแส ซึง่ เป็ นการปฎิวต


ิ พ์ในปี พ.ศ. 2448 ไอน์สไตน์ ได ้เริม ั แ
ิ นวความคิดเดิม แนวคิดแรกก็คอ ั พัทธ
ื ทฤษฎีสม

ี ารใหม่ในการศึกษาตีความการแผ่รงั สีแม่เหล็กไฟฟ้ า ซึง่ ได ้กลายมา


ภาพพิเศษ (Special Theory of Relativity) อีกแนวคิดหนึง่ คือวิธก

เป็ นส่วนสําคัญของทฤษฎีควอนตัม (ทฤษฎีทวี่ า่ ด ้วยปรากฏการณ์ของอะตอม) ทฤษฎีควอนตัมทีส ั บูรณ์สําเร็จลงในอีก 20 ปี ตอ


่ ม ่ มาโดย

ิ ส์กลุม
นักฟิ สก ั พัทธภาพสําเร็จสมบูรณ์ด ้วยตนเองเป็ นส่วนใหญ่ ข ้อเขียนทาง
่ หนึง่ อย่างไรก็ตาม ไอน์สไตน์ได ้สร ้างทฤษฎีสม

วิทยาศาสตร์ของไอน์สไตน์ เป็ นประหนึง่ อนุสาวรียแ


์ ห่งปั ญญาในต ้นศตวรรษที่ 20 เป็ นปิ รามิดของอารยธรรมยุคใหม่

ไอน์สไตน์มค ่ อย่างลึกซึง้ ในความสอดคล ้องกลมกลืน โดยตัวของมันเองของธรรมชาติ และความสนใจอย่าง


ี วามเชือ

ิ ซึง่ เกีย
จริงจังตลอดช่วงชีวต ่ วข ้องกับวงการวิทยาศาสตร์ก็คอ ิ ส์ เขาเริม
ื การค ้นหารากฐานร่วมของวิชาฟิ สก ่ มุง่ เข ้าสูเ่ ป้ าหมายนี้ โดยการ

คิดค ้นโครงร่างร่วมกันของพลศาสตร์ไฟฟ้ า กับกลศาสตร์ ซึง่ เป็ นสองทฤษฎีทแ ิ ส์ดงั ้ เดิม โครงร่างนีก


ี่ ยกจากกันในฟิ สก ้ ็คอ ั พัทธ
ื ทฤษฎีสม

ภาพพิเศษ ซึง่ ทําให ้เกิดเอกภาพและความสมบูรณ์แก่โครงสร ้างของวิชาฟิ สก


ิ ส์ดงั ้ เดิม แต่ในขณะเดียวกัน ก็ได ้ก่อให ้เกิดความ

เปลีย
่ นแปลงอย่างรุนแรง ในความคิดแบบเดิม เกีย
่ วกับเวลา และได ้บ่อนทําลายรากฐานประการหนึง่ ของโลกทัศน์แบบนิวตัน

ั พัทธภาพ อวกาศมิได ้เป็ นสามมิต ิ และเวลาก็มใิ ช่สงิ่ ทีแ


ตามทฤษฎีสม ่ ยกต่างหากจากอวกาศ ทัง้ อวกาศและเวลา

่ มโยงสัมพันธ์กน
เชือ ่ ต
ั เป็ นสภาพสีม ิ เี่ รียกว่า “กาล – อวกาศ” (space – time) ดังนัน
ิ ท ั พัทธภาพ เราไม่อาจกล่าวถึง
้ ในทฤษฎีสม

อวกาศโดยไม่กล่าวถึงเวลา และในทํานองกลับกันด ้วย ยิง่ ไปกว่านัน ี งิ่ ทีเ่ รียกว่าการไหลเลือ


้ ไม่มส ่ นของเวลาอย่างสมํา่ เสมอทัว่

จักรวาล อย่างทีป
่ รากฏในทฤษฎีของนิวตัน ผู ้สังเกตแต่ละคน จะเรียงลําดับเหตุการณ์กอ
่ นหลังต่างกัน ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ความเร็วของผู ้สังเกต

ทีแ ่ เทียบจากสิง่ ทีถ


่ ตกต่างกันเมือ ่ ก ้ เหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ซงึ่ ผู ้สังเกตคน 1 ทีเ่ ห็นว่าเกิดขึน
ู สังเกต ในกรณีเช่นนัน ้ พร ้อมกัน ผู ้สังเกตอีก1

คน อาจเห็นว่าเกิดขึน
้ ในเวลาไม่พร ้อมกัน ดังนัน
้ การวัดค่าต่างๆ ทีเ่ กีย
่ วกับอวกาศและเวลาจะไม่ใช่คา่ สัมบูรณ์อก
ี ต่อไป ในทฤษฏี

สัมพันธภาพ ความคิดของนิวตันเกีย
่ วกับอวกาศทีส ั บูรณ์ ซึง่ รองรับปรากฏการณ์ทางฟิ สก
่ ม ิ ส์ตา่ งๆ ได ้ถูกยกเลิกไป เช่นเดียวกับความคิด

เรือ
่ งเวลา ทีม ี ภาพสัมบูรณ์ ทัง้ อวกาศและเวลากลายเป็ นแต่เพียงภาษาพูด ซึง่ ผู ้สังเกตแต่ละคน ใช ้ในการอธิบายปรากฏการณ์ซงึ่ เขา
่ ส

สังเกตเห็น

ความคิดในเรือ ้ ฐานอย่างยิง่ สําหรับการอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ ซึง่ เมือ


่ งอวกาศและเวลาเป็ นพืน ่ เกิดการ

เปลีย
่ นแปลงในความคิดเรือ
่ งนี้ ก็ได ้กลายเป็ นเงือ ่ นโครงสร ้างซึง่ เราใช ้ในการอธิบายธรรมชาติเลยทีเดียว ผลที่
่ นไขในการปรับเปลีย

ติดตามมาจากการปรับเปลีย ่ ําคัญ คือความเข ้าใจว่า มวลสารมิใช่อะไรอืน


่ นทีส ่ นอกจากพลังงานรูปหนึง่ เท่านัน
้ แม ้กระทัง่ วัตถุในสภาพ

สถิตก็มพ
ี ลังงานสะสมอยูใ่ นมวลสารของมันและความสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงานได ้โดยสมการทีม
่ ช ื่ เสียงมาก คือ E
ี อ

= mc² โดยที่ c คือความเร็วของแสง

ค่าของ c คือค่าความเร็วของแสงซึง่ เป็ นค่าคงทีน


่ เี้ ป็ นสิง่ สําคัญพืน ั พัทธภาพ เมือ
้ ฐานของทฤษฏีสม ่ ใดก็ตามทีเ่ ราอธิบาย

ิ ส์โดยสัมพันธ์กบ
ปรากฏการณ์ทางฟิ สก ั ความเร็วซึง่ เข ้าใกล ้ความเร็วของแสง เราต ้องใช ้ทฤษฏีสม
ั พัทธภาพในการอธิบาย โดยเฉพาะ

อย่างยิง่ ในปรากฏการณ์ทางแม่เหล็กไฟฟ้ า ซึง่ แสงเป็ นเพียงตัวอย่างของคลืน


่ แม่เหล็กไฟฟ้ าอันหนึง่ และปรากฏการณ์ทางแม่เหล็กไฟฟ้ า

นัน
้ ได ้นําให ้ ไอน์สไตน์ สร ้างทฤษฎีของเขาขึน ั พัทธภาพทัว่ ไป
้ มาใน พ.ศ. 2458 ไอน์สไตน์ ได ้เสนอทฤษฎีสม

ั พัทธภาพพิเศษของเขาให ้คลอบคลุมถึงความโน ้มถ่วงซึง่ คือการดึงดูด


(General Theory of Relativity) เป็ นการขยายทฤษฏีสม

ระหว่างกันของวัตถุทม
ี่ ม
ี วลสูงเข ้าไว ้ ในขณะทีท ั พัทธภาพพิเศษ ได ้รับการยืนยันโดยการทดลองมากมายนับไม่ถ ้วน แต่ทฤษฏี
่ ฤษฏีสม

ั อย่างไรก็ตาม มันก็เป็ นทฤษฏีแรงโน ้มถ่วงทีส


สัมพัทธภาพทัว่ ไป กลับยังไม่ได ้รับการยืนยันด ้วยการทดลองอย่างแน่ชด ่ ละสลวย แน่นอน
และเป็ นทีย
่ อมรับกันมากทีส ุ ถูกใช ้กันอย่างแพร่หลายในวิชาฟิ สก
่ ด ิ ส์ทวี่ า่ ด ้วยดวงดาว (Astrophysics ) และจักรวาลวิทยา

(Cosmology) เพือ
่ อธิบายภาพของจักรวาล

4.5 อวกาศโค้ง

ตามทฤษฎีของไอน์สไตน์ แรงโน ้มถ่วงมีผลทําให ้อวกาศและเวลา “ โค้ง” ความหมายของมันก็คอ


ื เรขาคณิตสามัญ

ของยูคลิดไม่อาจใช ้ได ้อีกต่อไปในอวกาศซึง่ โค ้ง ดังเช่นทีเ่ รขาคณิต 2 มิตข ้ ผิวราบไม่อาจใช ้ได ้กับผิวของทรงกลม ยกตัวอย่าง
ิ องพืน

เช่น บนพืน ่ มจตุรัสได ้โดยลากเส ้นตรงยาว 1 เมตร 1 เส ้น ทํามุม 90 องศาทีป


้ ราบเราอาจจะเขียนรูป 4 เหลีย ่ ลายข ้างหนึง่ ลากเส ้นอีก 1

เส ้น ยาว 1 เมตรจากนีโ้ ยงปลายเส ้นตรงทีเ่ หลือเข ้าด ้วยกัน ก็จะได ้รูป 4 เหลีย
่ มจตุรัส อย่างไรก็ตามบนพืน ี ารเช่นนีใ้ ช ้
้ ผิวของทรงกลมวิธก

่ งจากกฎเกณฑ์ของเรขาคณิตแบบยูคลิดใช ้ไม่ได ้กับผิวโค ้ง ในทํานองเดียวกัน เราอาจกล่าวได ้ว่าอวกาศซึง่ โค ้งเป็ น 3 มิตน


ไม่ได ้ เนือ ิ ัน

จะใช ้ทฤษฎีเรขาคณิตของยูคลิดกับมันไม่ได ้อีกต่อไป

ในทฤษฎีของไอน์สไตน์กล่าวว่า อวกาศซึง่ เป็ น 3 มิตจิ ะถูกทําให ้โค ้งโดยสนามความโน ้มถ่วงของวัตถุทม


ี่ ม
ี วลสูง เมือ
่ ใดก็

ตามทีว่ ต
ั ถุมม
ี วลอยูส
่ งู เช่น ดาวฤกษ์ หรือดาวเคราะห์ อวกาศรอบๆ มันจะถูกทําให ้โค ้งและความโค ้งจะมากหรือน ้อยขึน
้ อยูก
่ บ
ั มวลของ

วัตถุนัน
้ ๆ ในเมือ ั พัทธภาพ เวลาก็เช่นเดียวกันถูกอิทธิพลของวัตถุซงึ่ ปรากฏอยูท
่ อวกาศไม่อาจแยกออกจากเวลาได ้ในทฤษฎีสม ่ ําให ้เวลา

เคลือ
่ นทีด
่ ้วยความเร็วทีแ
่ ตกต่างกันในส่วนต่างๆ ของจักรวาล ดังนัน ั พัทธภาพทัว่ ไปของไอน์สไตน์ได ้ลบล ้างแนวคิดเรือ
้ ทฤษฎีสม ่ งอวกาศ

และเวลาทีส ั บูรณ์ไปอย่างสิน
่ ม ้ เชิง มิใช่แต่เพียงการวัดค่าต่างๆเกีย
่ วกับอวกาศ เวลาขึน
้ อยูก
่ บ
ั การกระจายตัวของวัตถุในจักรวาล และ

ความคิดเรือ ่ งเปล่า” ก็เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่มค


่ ง “อวกาศทีว่ า ี วามหมายด ้วย

ิ ส์ดงั ้ เดิมนัน
โลกทัศน์เชิงกลจักรของฟิ สก ้ ตัง้ อยูบ
่ นพืน
้ ฐานของความคิดเรือ
่ งวัตถุแข็งเคลือ
่ นทีใ่ นอากาศทีว่ า่ ง

้ ังคงใช ้ได ้ในขอบเขตซึง่ ถูกเรียกว่า “เขตของมิตก


เปล่า ความคิดนีย ิ ลาง” (zone of middle dimensions) นั่นคือ ในอาณาเขตของ

ประสบการณ์ประจําวันของมนุษย์ซงึ่ ฟิ สก
ิ ส์แบบดัง้ เดิมยังคงเป็ นทฤษฎีทม
ี่ ป
ี ระโยชน์ ความคิดทัง้ สองประการคือความคิดเรือ
่ งอากาศที่

่ งสสารวัตถุซงึ่ แข็งนี้ ได ้ฝั งลึกอยูใ่ นนิสย


ว่างเปล่า และเรือ ั การคิดของเรา ดังนัน
้ มันจึงเป็ นการยากอย่างเหลือเกิน ทีเ่ ราจะจินตนาการถึง

ิ ส์ ทีไ่ ปพ ้นขอบเขตของแนวคิดทัง้ สอง และนีค


ความจริงทางฟิ สก ื สิง่ ทีฟ
่ อ ิ ส์สมัยใหม่ได ้บีบบังคับให ้เราต ้องกระทํา เมือ
่ ิ สก ่ เราก ้าวพ ้นจาก

ิ ลางออกมาได ้ ความหมายของ “อากาศทีว่ า


มิตก ิ ส์ทวี่ า่ ด ้วยดวงดาวและจักรวาลวิทยา ซึง่ เป็ น
่ งเปล่า” ได ้สูญสลายไป ในวิชาฟิ สก

วิทยาศาสตร์ทวี่ า่ ด ้วยจักรวาลอันมหึมา และความคิดเริม ิ ส์ทวี่ า่ ด ้วยอะตอมซึง่ เป็ น


่ วัตถุแข็งตัน ถูกป่ นลงเป็ นผุยผงโดยวิชาฟิ สก

วิทยาศาสตร์ทวี่ า่ ด ้วยของซึง่ เล็ก เล็กไม่มท


ี ส
ี่ ด

่ นศตวรรษ มีการค ้นพบปรากฏการณ์หลายประการซึง่ เชือ


ในช่วงเปลีย ่ มโยงกับโครงสร ้างอะตอม และไม่อาจอธิบายได ้

ิ ส์ดงั ้ เดิม สิง่ ทีบ


ด ้วยวิชาฟิ สก ้ ระการแรกทีว่ า่ ด ้วยอะตอมประกอบขึน
่ ง่ ชีป ้ มาจากส่วนย่อย เริม
่ มาจากการค ้นพบรังสีเอกซ์มใิ ช่รังสีเพียงอัน

เดียวซึง่ ถูกปลดปล่อยจากอะตอม หลังจากนัน


้ ไม่นาน รังสีอน
ื่ ๆก็ถก
ู ค ้นพบ ทัง้ หมดเป็ นการปลดปล่อยจากอะตอมทีเ่ รียกว่าอะตอม

ประกอบโครงสร ้างทีเ่ ล็กลงไปอีก และแสดงให ้เห็นว่า อะตอมของสารกัมมันตรังสี มิใช่แต่เพียงปล่อยรังสีตา่ งๆ เท่านัน


้ แต่ยงั เปลีย
่ นตัว

มันเอง ไปเป็ นอะตอมของธาตุชนิดอืน


่ ได ้ด ้วย

นอกจากทีจ ี่ งั ้ ของการศึกษาแล ้ว ปรากฏการณ์เหล่านีไ้ ด ้ถูกใช ้อย่างเฉลียวฉลาดเพือ


่ ะเป็ นวัตถุทต ่ เป็ นเครือ
่ งมือในการ

เจาะลึกลงไปในวัตถุ

้ วอน ลัว (Max von Laue)ใช ้รังสีเอกซ์ในการศึกษาการจัดเรียงตัวของอะตอมใน


มากกว่าทีเ่ คยกระทํามาแต่เดิม ดังนัน

ผลึกชนิดต่างๆ และ เออร์เนสต์ รัตเทอร์ฟอร์ด ได ้ตระหนักว่า สิง่ ทีเ่ รียกว่าอนุภาคแอลฟา (Alpha Particles) ซึง่ สารกัมมันตรังสี
้ เป็ นอนุภาคซึง่ เล็กกว่าอะตอม และเป็ นประดุจกระสุนความเร็วสูงซึง่ อาจจะนําไปใช ้ในการศึกษาสํารวจภายใน
ปลดปล่อยออกมานัน

อะตอมได ้ เรายิงมันไปทีอ
่ ะตอมและผลทีต
่ ด
ิ ตามต่อมาอาจจะทําให ้เราสรุปเกีย
่ วกับโครงสร ้างอะตอมได ้

4.6 การยิงกระสุนของร ัตเทอร์ฟอร์ด

่ รัตเทอร์ฟอร์ด ยิงอะตอมด ้วยอนุภาคแอลฟา เขาได ้สังเกตเห็นผลซึง่ น่าตืน


เมือ ่ เต ้นและไม่น่าคาดคิดมาก่อน อะตอมที่

่ แต่โบราณทีว่ า่ มันเป็ นอนุภาคทีแ


ปรากฏ แตกต่างไปจากความเชือ ่ ข็งตัน กลับกลายเป็ นว่ามันประกอบด ้วยทีว่ า่ งเป็ นบริเวณกว ้าง อนุภาค

ทีเ่ ล็กมากคืออิเล็กตรอนเคลือ
่ นทีผ
่ า่ นไปรอบๆ นิวเคลียสโดยยึดเกาะด ้วยแรงทางไฟฟ้ า มันไม่งา่ ยนักทีจ
่ ะนึกถึงขนาดของอะตอม

เนือ
่ งจากมันมีขนาดทีอ ่ อกเหนือขอบเขตของขนาดซึง่ เราใช ้กันอยู่ เส ้นผ่าศูนย์กลางของอะตอมมีขนาดประมาณหนึง่ ในร ้อยล ้านของ
่ ยูน

เซนติเมตร เพือ ่ ะให ้เห็นภาพของขนาดทีเ่ ล็กมากเช่นนี้ ลองจินตนาการถึงผลส ้มสมมติวา่ เราทําให ้มันใหญ่ขน


่ ทีจ ึ้ เท่ากับโลก อะตอมของ

ผลส ้มจะมีขนาดเท่ากับผลเชอร์ร ี่ ผลเชอร์รจ


ี่ ํานวนหมืน
่ จํานวนแสนอัดกันแน่นเป็ นรูปทรงกลมในขนาดเท่ากับโลกนั่นคือภาพขยายของ

อะตอมในผลส ้ม

ดังนัน ่ เทียบกับนิวเคลียสซึง่ อยูต


้ อะตอมจึงมีขนาดใหญ่เมือ ี่ งึ่
่ รงกลางของอะตอม หากอะตอมมีขนาดเท่ากับผลเชอร์รซ

เราสามารถสมมติกน
ั นิวเคลียสของอะตอมก็จะเล็กมากจนเราไม่อาจมองเห็นได ้ ถึงแม ้เราขยายอะตอมให ้โตเท่ากับลูกฟุตบอล หรือ

แม ้กระทัง่ เท่ากับห ้องๆหนึง่ นิวเคลียสก็ยังเล็กเกินไปทีจ


่ ะมองเห็นได ้ด ้วยตาเปล่า หากเราอยากจะเห็นนิวเคลียส เราต ้องขยายอะตอมให ้

มีขนาดเท่ากับโดมทีใ่ หญ่ทส ุ ในโลก คือ โดมของโบสถ์เซนต์ปีเตอร์ในกรุงโรม ในอะตอมซึง่ มีขนาดเท่านัน


ี่ ด ้ นิวเคลียสคงจะมีขนาด

ราวๆ เกลือเม็ดหนึง่ เม็ดเกลือหนึง่ ตรงใจกลางของโดมของโบสถ์เซนต์ปีเตอร์ และละอองฝุ่ นผงซึง่ ล่องลอยอยูร่ อบๆ ในทีว่ า่ งของ

โดม นีค ื ภาพของนิวเคลียสและอิเล็กตรอน ซึง่ เราอาจจะจินตนาการถึงได ้


่ อ

หลังจากการค ้นพบโครงสร ้างของอะตอมซึง่ มีลก


ั ษณะเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดาวอาทิตย์แล ้วไม่นาน ก็ได ้มีการ

ค ้นพบว่าจํานวนของอิเล็กตรอนในอะตอมเป็ นตัวกําหนดธาตุ ธาตุในตารางธาตุ (Periodic Table) เกิดขึน


้ โดยการเพิม
่ จํานวนโปรตอนและ

นิวตรอนเข ้ากับนิวเคลียสของอะตอมทีเ่ บาทีส ุ คือ อะตอมของไฮโดรเจน (ซึง่ มีโปรตรอน 1 ตัวกับอิเล็กตรอน 1 ตัว) และเพิม
่ ด ่ อิเล็กตรอน

อีก (ในจํานวนทีเ่ หมาะสมกับจํานวนโปรตอนหรือนิวตรอนทีเ่ พิม ้ โคจรของอิเล็กตรอนในอะตอม ปฏิกริ ย


่ เข ้าไป) ในชัน ิ าระหว่างอะตอม

เป็ นต ้นกําเนิดของปฎิกริ ย
ิ าทางเคมีหลายประการ ดังนัน
้ วิชาเคมีทงั ้ หมดจึงเป็ นทีเ่ ข ้าใจได ้ในหลักการ บนพืน ิ ส์ของ
้ ฐานของกฎทางฟิ สก

อะตอม

อย่างไรก็ตาม การค ้นพบกฎเกณฑ์เหล่านีไ้ ม่ใช่เรือ


่ งง่าย มันถูกค ้นพบในปี พ.ศ. 2463 โดยกลุม ิ ส์จากหลาย
่ นักฟิ สก

ประเทศ ได ้แก่ นีลส์ บอห์ร จากเดนมาร์ก หลุยส์ เดอ บร็อคลีย ์ จากฝรั่งเศส เออร์วน
ิ ชโรดิงเจอร์ และโวลฟ์ แกง เพาลี จากออสเตรีย

เวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิรก
์ จากเยอรมันนี และพอล ดีแร็ก จากอังกฤษ

้ ชาติ และได ้เป็ นผู ้ปั น


บุคคลเหล่านีไ้ ด ้ร่วมมือกันโดยมิได ้ถือเชือ ้ แต่งยุคสมัยทีน ่ เต ้นในวงการวิทยาศาสตร์สมัย ซึง่ ได ้
่ ่าตืน

ั ผัสกับความจริงทีน
นําให ้มมนุษย์ชาติสม ่ ่าประหลาด และไม่คาดคิดมาก่อน ในโลกของอนุภาคซึง่ เล็กกว่าอะตอมได ้เป็ นครัง้ แรก ทุกครัง้ ที่

ิ ส์ถามปั ญหาต่อธรรมชาติโดยการทดลองเกีย
นักฟิ สก ่ วกับอะตอม ธรรมชาติได ้ตอบโดยนัยทีผ ิ ส์พยายามจะ
่ กผันผิดธรรมดา และยิง่ นักฟิ สก

ทําความชัดเจนมากขึน
้ เท่าใด ความผกผันผิดธรรมดายิง่ ปรากฏชัดเจนขึน
้ เท่านัน
้ เป็ นเวลานานทีเดียวกว่าทีพ
่ วกเขาจะยอมรับความจริง

ทีว่ า่ ความผกผันผิดธรรมดานี้ สืบเนือ ิ ส์ทวี่ า่ ด ้วยอะตอม และทีต


่ งมาจากโครงสร ้างทีเ่ ป็ นภายในของฟิ สก ่ ระหนักว่าสภาพดังกล่าวนี้ เกิดขึน

เมือ
่ มีผู ้พยายามทีจ
่ ะอธิบายเหตุการณ์ทเี่ กีย
่ วกับอะตอม ในวิธก ิ ส์ เมือ
ี ารแบบเดิมของฟิ สก ิ ส์เริม
่ สถานการณ์เช่นนีเ้ ป็ นทีร่ ับรู ้กัน นักฟิ สก ่

เรียนรู ้ทีจ
่ ะถามคําถามทีถ
่ ก
ู ต ้อง และหลีกเลีย ์ กล่าวว่า ”ในทีส
่ งความขัดแย ้งได ้ ไฮเซนเบิรก ่ ด
ุ พวกเขาก็ได้หยง่ ั ถึงจิตวิญญาณของ

่ วกเขาได ้ค ้นพบสูตรคณิตศาสตร์ซงึ่ เทีย


ทฤษฎีควอนต ัมจนได้” ในทีพ ่ งตรงแน่นอนแม่นยําของทฤษฎีนี้
4.7 ธรรมชาติก ับต ัวเรา

ไม่ใช่เรือ
่ งง่ายทีจ
่ ะเกิดการยอมรับความคิดของทฤษฎีควอนตัม แม ้ว่าจะมีสต
ู รทางคณิตศาสตร์ทส
ี่ มบูรณ์แล ้วก็ตาม ผล

ิ ส์ก็คอ
ของมันต่อจินตนาการของนักฟิ สก ื ทําให ้ความคิดแตกทําลายลง การทดลองของรัตเทอร์ฟอร์ดได ้แสดงให ้เห็นว่า อะตอมมิใช่สงิ่ ที่

แข็งและทําลายไม่ได ้ แต่อะตอมประกอบด ้วยทีว่ า่ งอันกว ้างขวางซึง่ มีอนุภาคทีเ่ ล็กมากเคลือ


่ นทีอ
่ ยู่ และเดีย
๋ วนีท
้ ฤษฎีควอนตัมได ้ให ้

ความกระจ่างว่า อนุภาคเหล่านีเ้ องก็มใิ ช่วต


ั ถุตน ิ ส์ดงั ้ เดิม หน่วยทีเ่ ล็กกว่าอะตอมของสสารวัตถุก็เป็ นสิง่ ทีเ่ ข ้าใจ
ั อย่างในแนวคิดของฟิ สก

ยาก มีลก
ั ษณะทีต
่ รงกันข ้ามกันสองลักษณะอยูใ่ นตัวมัน โดยขึน
้ อยูก
่ บ
ั วิธก
ี ารทีเ่ ราศึกษา บางครัง้ มันปรากฏเป็ นอนุภาค และบางครัง้ เป็ น

คลืน
่ ลักษณะตรงกันข ้ามเช่นนีม ี รากฏในแสงด ้วย ซึง่ แสงอาจจะอยูใ่ นรูปของคลืน
้ ป ่ แม่เหล็กไฟฟ้ า หรืออยูใ่ นรูปอนุภาคก็ได ้

้ องวัตถุและแสงเป็ นสิง่ ทีน


คุณสมบัตเิ ช่นนีข ่ ะยอมรับว่า สิง่ หนึง่ จะเป็ นทัง้
่ ่าประหลาดมาก ดูเหมือนจะเป็ นไปไม่ได ้ทีจ

อนุภาค นั่นคือสิง่ ทีจ ่ ซึง่ มีคณ


่ ํากัดตัวอยูใ่ นปริมาตรทีเ่ ล็กมาก และเป็ นทัง้ คลืน ุ สมบัตแ
ิ ผ่กระจายไปในอวกาศในขณะเดียวกัน

ความขัดแย ้งนีก ่ ให ้เกิดสภาพผกผันผิดธรรมดาซึง่ มีลก


้ อ ั ษณะเหมือน โกอันซึง่ ในทีส
่ ด ่ ารสร ้างสูตรคณิตศาสตร์
ุ นําไปสูก

ของทฤษฎีควอนตัม พัฒนาการทัง้ หมดเริม


่ ขึน
้ เมือ
่ แมกซ์ พลังก์ (Max Planck) ค ้นพบว่าพลังงานของการแผ่รังสีความร ้อนไม่ได ้ถูก

ู ปล่อยออกมาเป็ น “กลุม
ปล่อยออกมาอย่างสมํา่ เสมอ แต่ถก ่ พล ังงาน” ไอน์สไตน์เรียกกลุม
่ พลังงานนีว้ า่ “ควอนตา” (Quanta) และถือ

ว่ามันเป็ นลักษณะพืน
้ ฐานของธรรมชาติ ไอน์สไตน์กล ้าพอทีจ
่ ะสันนิษฐานว่า แสงและรังสีแม่เหล็กไฟฟ้ ารูปอืน
่ ๆ ปรากฏเป็ นได ้ทัง้ คลืน

แม่เหล็กไฟฟ้ าและในรูปของ “ควอนตา” ควอนตา แสงซึง่ เป็ นทีม ่ ทฤษฎีควอนตัมได ้ถูกยอมรับอย่างสุจริตใจว่าเป็ นอนุภาค
่ าของชือ

ตัง้ แต่นัน
้ มา โดยในปั จจุบน ื่ เรียกว่า โฟตอน (Photon) อย่างไรก็ตามโฟตอนเป็ นอนุภาคชนิดพิเศษ ไม่มม
ั มีชอ ี วลและเคลือ
่ นทีด
่ ้วย

ความเร็วแสงเสมอ

ความขัดแย ้งทีป
่ รากฏระหว่างภาวะความเป็ นคลืน ี ารซึง่ ไม่คาดฝั นอย่างสิน
่ ถูกแก ้ไขโดยวิธก ้ เชิง ซึง่ ก่อให ้เกิดคําถามต่อ

รากฐานของโลกทัศน์เชิงกลจักร ความคิดเรือ
่ งความจริงของวัตถุ ในระดับของอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม สสารมิได ้ปรากฏทีใ่ ดทีห
่ นึง่

โดยเฉพาะอย่างแน่นอนตายตัว แต่ม ี “ความโน้มเอียงทีจ


่ ะคงอยู”่ ณ ทีน
่ ัน
้ เหตุการณ์ทเี่ กีย
่ วข ้องกับอะตอมมิได ้เกิดขึน
้ ในเวลาใดเวลา

หนึง่ และโดยวิธก ี นึง่ อย่างแน่นอนเป็ นแต่ม ี “ความโน้มเอียงทีจ


ี ารใดวิธห ้ ” ในสูตรของทฤษฎีควอนตัม ความโน ้มเอียงนีถ
่ ะเกิดขึน ้ ก

แสดงออกในค่าความอาจเป็ นไปได ้ (probability waves) อันเป็ นปริมาณย่อสรุปทางคณิตศาสตร์ซงึ่ ประกอบด ้วยคุณสมบัตข ่ ซึง่


ิ องคลืน

สัมพันธ์กบ
ั ความเป็ นไปได ้นีเ้ ราไม่อาจทํานายเหตุการณ์ทเี่ กีย
่ วข ้องกับอะตอมได ้ด ้วยความแน่นอน เราอาจทําได ้แต่เพียงกล่าวว่า มันอาจ

เกิดขึน
้ ได ้มากน ้อยเพียงใด

ทฤษฎีควอนตัมได ้ทําลายแนวคิดดัง้ เดิมเกีย


่ วกับวัตถุตน ่ วกับกฎเกณฑ์ของธรรมชาติซงึ่ มีลก
ั และแนวคิดเกีย ั ษณะทีม
่ ก
ี าร

ิ ส์ดงั ้ เดิมได ้ละลายลงกลายเป็ นแบบแผนแห่งความอาจเป็ นไป


กําหนดตายตัว ในระดับอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม สสารวัตถุ ในแนวคิดฟิ สก

ได ้ ซึง่ มีลก
ั ษณะเป็ นคลืน
่ และแบบแผนดังกล่าวโดยความหมายทีล ึ ซึง้ ทีส
่ ก ุ มิใช่ความอาจเป็ นไปได ้ของสิง่ ต่างๆ แต่เป็ นความอาจ
่ ด

เป็ นไปได ้ในการเกีย ่ งกันของสิง่ ต่างๆ มากกว่า การวิเคราะห์กระบวนการในการสังเกตในวิชาฟิ สก


่ วเนือ ิ ส์ ทีว่ า่ ด ้วยอะตอม อย่างละเอียด

รอบคอบ ได ้แสดงให ้เห็นว่า อนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม มิได ้เป็ นสิง่ ทีแ


่ ยกอยูโ่ ดยลําพังได ้ แต่เราจะเข ้าใจมันได ้ก็เฉพาะแต่ในความสัมพันธ์

ระหวางการเตรียมการทดลอง และการตรวจวัดผลเท่านัน
้ ทฤษฎีควอนตัมจึงได ้เปิ ดเผยความเป็ นหนึง่ เดียวของจักรวาล มันได ้แสดงให ้

เห็นว่าเราไม่อาจย่อยโลกออกเป็ นหน่วยทีเ่ ล็กทีส ุ ซึง่ อยูแ


่ ด ่ ยกจากกัน เมือ
่ เราเจาะลึกลงไปในสสารวัตถุ ธรรมชาติมไิ ด ้แสดงให ้เราเห็นว่า

้ ฐาน” แต่กลับปรากฏแก่เราว่า เป็ นข่ายโยงใยอันสลับซับซ ้อนของความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ ของมนุษย์ผู ้สังเกต


มันมี “หน่วยพืน

เป็ นสิง่ เชือ


่ มโยงอันสุดท ้ายในสายสัมพันธ์ของกระบวนการการสังเกตและคุณสมบัตใิ ดๆ ของวัตถุในระดับอะตอม จะเป็ นทีเ่ ข ้าใจได ้ก็แต่ใน

ปฎิกริ ย
ิ าระหว่างวัตถุและผู ้สังเกตการณ์เท่านัน ั นัน
้ นั่นหมายความว่าความคิดดัง้ เดิมในการอธิบายธรรมชาติอย่างเป็ นภาวะวิสย ้ เป็ นสิง่ ที่
เป็ นไปไม่ได ้ สิง่ กัน
้ ขวางระหว่างฉันและโลกตามแนวคิดของเดคาร์ต ระหว่างผู ้สังเกตและสิง่ ทีถ
่ ก
ู สังเกต ไม่อาจจะมีได ้เมือ
่ ต ้องเกีย
่ วข ้อง

กับเรือ ิ ส์ทวี่ า่ ด ้วยอะตอม เราไม่อาจกล่าวถึงธรรมชาติโดยไม่กล่าวถึงตัวเราด ้วยในขณะเดียวกัน


่ งของอะตอม ในวิชาฟิ สก

4.8 คลืน
่ ยืน

ทฤษฎีเกีย ่ วกับโครงสร ้างอะตอม ซึง่ ไม่อาจอธิบายได ้


่ วกับอะตอมทฤษฎีใหม่น้ี สามารถแก ้ปัญหาข ้องใจหลายปั ญหาเกีย

โดยแบบจําลองของรัตเทอร์ฟอร์ด ทีใ่ ห ้ภาพอะตอมเป็ นเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดาวอาทิตย์ ประการแรก การทดลองของรัตเทอร์

ฟอร์ดได ้แสดงให ้เห็นว่า อะตอมซึง่ รวมกันเป็ นวัตถุแข็งนัน


้ ประกอบด ้วยทีว่ า่ งเป็ นส่วนใหญ่ เหตุใดเราจึงไม่อาจเดินทะลุประตูทป
ี่ ิ ดไปได ้

กล่าวอีกนัยหนึง่ ว่า อะไรทีท


่ ําให ้สสารคุมรูปร่างของตัวมันเอง

ปั ญหาประการทีส
่ องก็คอ
ื ความคงตัวเป็ นพิเศษในกลศาสตร์ของอะตอม ยกตัวอย่างเช่น ในอากาศ อะตอมปะทะกันเป็ น

ล ้านๆ ครัง้ ทุกๆ วินาที โดยทีม


่ น ่ ภาพเดิมได ้หลังจากการปะทะกันแต่ละครัง้ อะตอมตามการอธิบายแบบดาวเคราะห์ ซึง่
ั ยังคงกลับสูส

เป็ นไปตามกฎกลศาสตร์แบบดัง้ เดิม ตัวใดๆ เมือ


่ ชนกันจะไม่อาจคงอยูใ่ นสภาพเดิมได ้ แต่อะตอมของออกซิเจนสามารถรักษาการจัดเรียง

ตัวของอิเล็กตรอนของมันไว ้ได ้เสมอ ไม่วา่ มันจะชนกับอะตอมอืน


่ มาแล ้วกีค
่ รัง้ ยิง่ ไปกว่านัน
้ การจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนของอะตอมแต่

ละชนิด จะมีลก
ั ษณะเช่นเดียวกันทุก ๆ อะตอม อะตอมของเหล็กสองอะตอมและเหล็กบริสท
ุ ธิช ิ้ เล็ก ๆ สองชิน
์ น ้ จะมีลก
ั ษณะเหมือนกัน ไม่

ว่ามันจะมาจากแหล่งใด หรือไม่วา่ จะเคยถูกกระทํามาอย่างไรก็ตาม

ทฤษฏีควอนตัมได ้แสดงให ้เห็นว่า คุณสมบัตข


ิ องอะตอมทีน
่ ่าประหลาดทัง้ หมดนี้ เกิดจากลักษณะการเป็ นคลืน
่ ของ

่ งจาก “ควอนต ัม เอฟเฟก” (Quantum Effect) ซึง่ เกีย


อิเล็กตรอนของมัน ลักษณะการเป็ นของแข็งตันของสสารวัตถุเป็ นผลสืบเนือ ่ วโยง

กับลักษณะทีเ่ ป็ นได ้ทัง้ คลืน ิ องอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม ซึง่ ไม่อาจจะหาอะไรในระดับใหญ่ ๆ มา


่ และอนุภาคของวัตถุ อันเป็ นคุณสมบัตข

เปรียบให ้เข ้าใจได ้ เมือ


่ ใดก็ตามทีอ
่ นุภาคถูกจํากัดให ้อยูใ่ นพืน
้ ทีเ่ ล็ก ๆ มันจะมีปฏิกริ ย
ิ าตอบสนองโดยการหมุนไปรอบ ๆ ยิง่ พืน
้ ทีเ่ ล็กลง

เท่าใด มันจะยิง่ หมุนด ้วยความเร็วสูงขึน ่ ยายามเอาชนะซึง่ กันและกัน ในด ้านหนึง่ อิเล็กตรอนถูกดึงดูดโดย


้ ในอะตอมมีแรงสองแรงทีพ

นิวเคลียสด ้วยแรงไฟฟ้ า ซึง่ พยายามทีจ่ ะรัง้ ให ้อิเล็กตรอนเข ้ามาใกล ้ทีส


่ ด
ุ เท่าทีจ
่ ะทําได ้ ในอีกด ้านหนึง่ อิเล็กตรอนแสดงปฏิกริ ย
ิ าต่อการ

จํากัดขอบเขตของมันโดยการหมุนไปรอบ ๆ ยิง่ นิวเคลียสดึงดูดมันแรงมากเท่าไร มันยิง่ หมุนเร็วขึน


้ เท่านัน
้ โดยข ้อเท็จจริงแล ้ว การจํากัด

ขอบเขตของอิเล็กตรอนในอะตอม ทําให ้มันหมุนไปรอบ ๆ นิวเคลียสด ้วยความเร็วประมาณ 600 ไมล์ตอ


่ วินาที ความเร็วทีส
่ งู มากเช่นนีเ้ อง

ทีท
่ ําให ้อะตอมดูเหมือนเป็ นทรงกลมทีแ
่ ข็งแรง เช่นเดียวกับทีเ่ ราเห็นใบพัดทีห
่ มุนเร็วมากเป็ นเหมือนจาน เป็ นเรือ
่ งยากมากทีจ
่ ะอัดอะตอม

ให ้เล็กลงไปอีก และนีค
่ อ
ื เหตุผลทีท
่ ําให ้สสารวัตถุมล
ี ก
ั ษณะทีป
่ รากฏเป็ นของแข็งตัน

ดังนัน
้ ในอะตอม อิเล็กตรอนถูกจัดให ้อยูใ่ นวงโคจรทีม
่ ค
ี วามสมดุลพอดี ระหว่างแรงดึงดูดของนิวเคลียสและความอึดอัดใน

การถูกจํากัดเขตของมัน อย่างไรก็ตาม วงโคจรของอิเล็กตรอนในอะตอมต่างไปจากวงโคจรของดาวเคราะห์ในระบบจักรวาลมาก ทัง้ นี้

เนือ
่ งจากธรรมชาติการเป็ นคลืน
่ ของอิเล็กตรอน เราไม่อาจจะคิดว่าอะตอมเป็ นเหมือนระบบสุรย
ิ ะได ้ แทนทีจ
่ ะคิดว่าอิเล็กตรอนในรูป

อนุภาค หมุนไปรอบ ๆ นิวเคลียส เราต ้องจินตนาการถึงคลืน


่ ของความอาจเป็ นไปได ้ในวงโคจรต่าง ๆ กัน เมือ
่ ใดก็ตามทีเ่ ราทําการ

่ นึง่ ในวงโคจรเหล่านี้ แต่เราไม่อาจกล่าวได ้ว่า มันกําลัง “หมุนรอบนิวเคลียส” ในความหมาย


ตรวจวัด เราจะพบอิเล็กตรอนได ้ทีใ่ ดทีห

อย่างในกลศาสตร์ดงั ้ เดิม

ในวงโคจร คลืน
่ ของอิเล็กตรอนต ้องจัดตัวมันเอง ให ้ปลายของคลืน
่ บรรจบกันนั่นคือเป็ นแบบคลืน
่ ยืน (standing waves)

รูปแบบดังกล่าวจะปรากฏขึน
้ ในทุกทีท
่ ค
ี่ ลืน
่ ถูกจํากัดให ้อยูใ่ นขอบเขตทีต
่ ายตัวอันหนึง่ เช่นเดียวกับเคลืน
่ ทีเ่ กิดขึน
้ ในสายกีตาร์หรือคลืน

อากาศในลําขลุย
่ จากตัวอย่างนี้ เป็ นทีท
่ ราบกันดีวา่ คลืน
่ ยืน อาจจะมีรป
ู ร่างได ้จํากัดเพียงไม่กรี่ ป
ู แบบ ในกรณีคลืน
่ ของอิเล็กตรอนภายใน

่ น่นอนอันหนึง่ ซึง่ มีเส ้นผ่าศูนย์กลางทีต


อะตอม มันหมายความว่าอิเล็กตรอนจะอยูใ่ นวงโคจรทีแ ่ ายตัว ตัวอย่างเช่น อิเล็กตรอนของ
้ ทีห
ไฮโดรเจนอะตอม จะอยูไ่ ด ้ในวงโคจรชัน ่ นึง่ สอง หรือสามเท่านัน
้ และไม่มก ้ ดังกล่าวในสภาพปรกติอเิ ล็กตรอนจะ
ี ารอยูใ่ นระหว่างชัน

้ ทีต
อยูใ่ นชัน ่ าํ่ ทีส
่ ด ้ ฐาน” (ground state) ของอะตอม จากสภาพนัน
ุ ซึง่ เรียกว่า “สถานะพืน ้ อิเล็กตรอนอาจกระโดดขึน ้
้ ไปยังวงโคจรชัน

สูงขึน
้ ไป หากว่ามันได ้รับพลังงานทีเ่ พียงพอจํานวนหนึง่ อะตอมนัน ้ ” (excited state) ซึง่
้ จะอยูใ่ นสภาพทีเ่ รียกว่า “สถานะถูกกระตุน

หลังจากนัน ่ ถานะพืน
้ ระยะหนึง่ อิเล็กตรอนก็จะกลับสูส ้ ฐานดังเดิม โดยปลดปล่อยพลังงานทีไ่ ด ้รับเข ้าไปออกมาในรูปรังสีแม่เหล็กไฟฟ้ า

หรือโฟตอน สภาวะของอะตอมหนึง่ ๆ คือรูปร่างและระยะห่างระหว่างอิเล็กตรอนของมัน มีลก


ั ษณะเหมือนกันทุกอย่างกับอะตอมทีม
่ ี

จํานวนอิเล็กตรอนเท่ากันนั่นคือเหตุผลว่าทําไมออกซิเจนสองอะตอมจึงเหมือนกันทุกอย่าง มันอาจจะอยูใ่ นสถานะถูกกระตุ ้นในระดับต่าง

ๆ กัน ซึง่ อาจเนือ


่ งมาจากการชนกับอะตอมอืน
่ ในอากาศ แต่หลังจากนัน ่ ถานะพืน
้ ระยะหนึง่ มันก็จะกลับลงสูส ้ ฐานทีเ่ หมือนกัน คุณลักษณะ

การเป็ นคลืน
่ ของอิเล็กตรอนจึงทําให ้อะตอมมีเอกลักษณ์ของตัว และทําให ้อะตอมมีความคงตัวมากในทางกลศาสตร์

4.9 เลขควอนต ัม

ื ความเป็ นจริงทีว่ า่ เราอาจชีเ้ ฉพาะสภาวะของอะตอมใน


ลักษณะสําคัญอีกประการหนึง่ ของสภาวะต่าง ๆ ของอะตอมก็คอ

่ ตัวเลขทีเ่ รียกว่าเลขควอนตัม (quantum numbers) ซึง่ เป็ นเครือ


ระดับต่าง ๆ ได ้อย่างสมบูรณ์ โดยอาศัยกลุม ้ ําแหน่งและรูปร่าง
่ งบ่งชีต

ของวงโคจรของอิเล็กตรอน เลขควอนตัมตัวแรกแสดงจํานวนวงโคจรและกําหนดระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในวงโคจรแต่ละวง เลข

ควอนตัมอีกสองตัวกําหนดรูปร่างของคลืน
่ อิเล็กตอนในวงโคจรสัมพันธ์กบ
ั ความเร็วและ สภาพการหมุนของอิเล็กตรอน* ข ้อเท็จจริงทีว่ า่

เลขควอนตัมเหล่านีเ้ ป็ นจํานวนเต็ม ย่อมหมายความว่า อิเล็กตรอนไม่อาจเปลีย


่ นการหมุนของมันได ้อย่างต่อเนือ
่ ง แต่จะต ้องกระโดดจาก

เลขควอนตัมค่าหนึง่ ไปยังอีกค่าหนึง่ เหมือนกับทีม


่ น
ั จะต ้องกระโดดจากวงโคจรหนึง่ ไปยังอีกวงโคจรหนึง่ เลขควอนตัมทีม
่ ค
ี า่ สูงแสดงว่า

อะตอมอยูใ่ นภาวะถูกกระตุ ้น และสถานะพืน


้ ฐานของอะตอมก็คอ
ื สภาพทีอ ้ างสุด และมีการหมุน
่ เิ ล็กตรอนของอะตอมอยูใ่ นวงโคจรชันล่

น ้อยทีส
่ ด
ุ เท่าทีจ
่ ะเป็ นไปได ้

ิ ส์ดงั ้ เดิม มันถูกกําหนดโดยรูปลักษณะ


* การหมุนของอิเล็กตรอนในวงโคจรของมัน มิใช่การหมุนตามความหมายของฟิ สก

ของคลืน
่ อิเล็กตรอน ในรูปของค่าความอาจเป็ นไปได ้สําหรับการปรากฏของอนุภาคในส่วนใดส่วนหนึง่ ของวงโคจร รอยของอนุภาค

ในบับเบิลแชมเบอร์

ความโน ้มเอียงทีจ
่ ะปรากฏ ณ ทีใ่ ดทีห
่ นึง่ ในเวลาใดเวลาหนึง่ กับการทีอ
่ นุภาคมีปฏิกริ ย
ิ าต่อการจํากัดขอบเขตของมัน

โดยการเคลือ ่ ะตอมสลับจาก “สภาพควอนต ัม” หนึง่ ไปยังอีกอันหนึง่ อย่างทันทีทน


่ นที่ ตลอดจนการทีอ ั ใด และความเกีย
่ วโยงสัมพันธ์

้ สิง่ เหล่านีล
อย่างมีนัยสําคัญของปรากฏการณ์ทงั ้ มวลนัน ้ ้วนเป็ นคุณลักษณะซึง่ ไม่เคยรู ้กันมาก่อนในแวดวงของอะตอม ในทางตรงกันข ้าม

้ ฐานซึง่ ก่อให ้เกิดปรากฏการณ์เกีย


แรงกระทําพืน ่ วกับอะตอมเป็ นทีร่ ู ้จักกันดี และอาจจะสัมผัสรู ้สึกได ้ในสภาพธรรมดาของชีวต
ิ มันเป็ นแรง

ดึงดูดทางไฟฟ้ าระหว่างนิวเคลียสของอะตอมซึง่ มีประจุบวก กับอิเล็กตรอนซึง่ มีประจุลบ ความสัมพันธ์กน


ั ของแรงดังกล่าวนี้ กับคลืน

อิเล็กตรอนเป็ นบ่อเกิดของความหลากหลายในโครงสร ้างและปรากฏการณ์ในสภาพแวดล ้อมของเรา มันเป็ นตัวกําหนดปฏิกริ ย


ิ าทางเคมี

ทัง้ หมดและการรวมตัวเป็ นโมเลกุลของอะตอมต่าง ๆ ดังนัน


้ ปฏิกริ ย
ิ าระหว่างอิเล็กตรอนและนิวเคลียสของอะตอมจึงเป็ นพืน
้ ฐานของ

ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ทัง้ หมดของสิง่ มีชวี ต


ิ และกระบวนการทางชีววิทยาทีเ่ กีย
่ วข ้องกับมันทัง้ หมด

ในโลกซึง่ เต็มไปด ้วยปรากฏการณ์เกีย


่ วกับอะตอมนี้ นิวเคลียสมีบทบาทสําคัญในการเป็ นจุดศูนย์กลางทีเ่ ล็กและคงตัว ซึง่

เป็ นแหล่งกําเนิดของแรงไฟฟ้ าและเป็ นโครงของโมเลกุลชนิดต่าง ๆ ในการทีจ


่ ะเข ้าใจโครงสร ้างของโมเลกุลเหล่านี้ และปรากฏการณ์

ต่าง ๆ ส่วนใหญ่รอบ ๆ ตัวเรา เราจําเป็ นต ้องรู ้เกีย


่ วกับนิวเคลียสเพียงเฉพาะแต่คา่ ประจุและมวลของมันเท่านัน
้ อย่างไรก็ตาม ในการทีจ
่ ะ

เข ้าใจธรรมชาติของสสาร การทีจ ้ เราจะต ้องศึกษานิวเคลียสซึง่ เป็ นมวลเกือบทัง้ หมด


่ ะเข ้าใจว่าโดยแท ้จริงแล ้วสสารประกอบด ้วยอะไรนัน
ของอะตอม ในปี พ.ศ. 2473 หลังจากทีท
่ ฤษฎีควอนตัมได ้เปิ ดเผยเกีย ิ ส์จงึ ถือเป็ นงานสําคัญทีจ
่ วกับโลกของอะตอมแล ้ว นักฟิ สก ่ ะทํา

ความเข ้าใจโครงสร ้างของนิวเคลียส ส่วนประกอบของมัน และแรงทีท


่ ําให ้มันเกาะกุมกันอย่างแข็งแรงแน่นหนา

ก ้าวแรกทีน ่ วามเข ้าใจโครงสร ้างของนิวเคลียสคือ การค ้นพบนิวตรอนซึง่ ถือเป็ นองค์ประกอบอันทีส


่ ําไปสูค ่ องซึง่ มีมวลเท่า

ๆ กับโปรตอน (องค์ประกอบอันแรกของนิวเคลียส) มีมวลประมาณสองพันเท่าของมวลของอิเล็กตรอน แต่ไม่มป


ี ระจุไฟฟ้ า การค ้นพบอันนี้

้ แต่ยงั ได ้แสดงให ้เห็นว่าแรงดึงดูดในนิวเคลียส ซึง่ ดึงดูดอนุภาค


ไม่ได ้หมายความว่า นิวเคลียสประกอบด ้วยโปรตอนและนิวตรอนเท่านัน

ทัง้ สองเกาะกุมกันอยู่ เป็ นปรากฏการณ์ใหม่ทไี่ ม่เคยรับรู ้มาก่อนเลย มันไม่ใช่แรงแม่เหล็กไฟฟ้ า เนือ


่ งจากนิวตรอนเป็ นกลางทางไฟฟ้ า

ิ ส์เริม
นักฟิ สก ่ ตระหนักว่าพวกเขาได ้เผชิญกับแรงชนิดใหม่ในธรรมชาติ ซึง่ ไม่ได ้แสดงตัวมันเองในทีอ
่ น
ื่ ใดนอกจากภายในนิวเคลียส

นิวเคลียสมีขนาดเล็กกว่าอะตอมประมาณหนึง่ แสนเท่า ในขณะทีเ่ ป็ นมวลสารของอะตอมเกือบทัง้ หมด นั่นหมายความว่า

สสารทีอ
่ ยูภ
่ ายในนิวเคลียสต ้องหนาแน่นมาก เมือ
่ เทียบกับรูปร่างของสสารวัตถุทเี่ ราคุ ้นเคย โดยแท ้จริงแล ้ว หากเราจะบีบอัดร่างกายของ

มนุษย์ลงให ้มีความหนาแน่นเท่านิวเคลียส มันคงจะมีขนาดเพียงเท่าหัวเข็มหมุดเท่านัน


้ อย่างไรก็ตาม ความหนาแน่นทีส
่ งู มากเช่นนี้ มิใช่

คุณสมบัตเิ พียงประการเดียวของนิวเคลียส ซึง่ ผิดไปจากธรรมดา โปรตอนและนิวตรอน ซึง่ มักเรียกรวมกันว่า “นิวคลีออน” (Nucleons)

ยังแสดงคุณลักษณะในทางควอนตัมเช่นเดียวกับอิเล็กตรอน นั่นคือมีการตอบสนองต่อการจํากัดขอบเขตของมันด ้วยการเคลือ


่ นทีด
่ ้วย

ความเร็วสูงมาก และในเมือ
่ มันถูกบีบให ้อยูภ
่ ายในประมาตรทีเ่ ล็กมาก ๆ ปฏิกริ ย
ิ าของมันจึงรุนแรงมากตามไปด ้วย มันเคลือ
่ นทีไ่ ปรอบ ๆ

ในนิวเคลียสด ้วยความเร็วประมาณ 40,000 ไมล์ตอ ้ สสารของนิวเคลียส จึงไม่เหมือนกับสิง่ ใด ซึง่ เราเคยประสบใน


่ วินาที ดังนัน

สภาพแวดล ้อมปรกติของเรา บางทีเราอาจได ้ภาพทีด


่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ ทีจ
่ ะอธิบายมัน โดยการนึกถึงของเหลวหยดเล็ก ๆ ทีม
่ ค
ี วามหนาแน่นสูงมาก

โดยได ้รับความร ้อนและกําลังเดือดปุดด ้วยความรุนแรง

ลักษณะสําคัญของสสารของนิวเคลียส ทําให ้นิวเคลียสมีคณ


ุ สมบัตท
ิ ผ
ี่ ด
ิ ธรรมดาก็คอ
ื มีแรงดึงดูดอันมหาศาลภายใน

นิวเคลียส และข ้อทีแ


่ รงชนิดนีไ้ ม่เหมือนกับแรงชนิดอืน
่ ๆ ก็คอ
ื ระยะทางระหว่างอนุภาคทีด
่ งึ ดูดกันนัน ้ มาก มันจะเกิดแรงกระทําก็
้ สัน

ต่อเมือ ่ ระยะห่างระหว่างนิวคลีออนเป็ นประมาณ 2-3 เท่าของเส ้นผ่าศูนย์กลางของมัน ในระยะห่าง


่ นิวคลีออนต่างเข ้ามาใกล ้กันมาก เมือ

ขนาดนัน
้ แรงดึงดูดจะสูงมาก แต่เมือ ้ ลงไปกว่านัน
่ ระยะสัน ้ จะกลายเป็ นแรงผลักทีส
่ งู มากเช่นกัน ดังนัน
้ นิวคลีออนจึงไม่อาจเข ้าใกล ้กันได ้

มากไปกว่านัน
้ โดยวิธก
ี ารเช่นนี้ แรงกระทําภายในจึงทําให ้นิวเคลียสมีสภาพคงตัวสูง ถึงแม ้ว่าจะอยูใ่ นสภาพสมดุลทางพลศาสตร์สงู มากก็

ตาม

ภาพของวัตถุซงึ่ เกิดขึน
้ จากการศึกษาอะตอมและนิวเคลียสได ้แสดงให ้เห็นว่า มันรวมตัวกันอยูใ่ นหยดเล็ก ๆ และอยูห
่ า่ ง

จากกันเป็ นระยะทางมหาศาล ในช่องว่างระหว่างมวลซึง่ กําลังเดือดปุดของหยดนิวเคลียสนัน


้ มีอเิ ล็กตรอนเคลือ
่ นไหวอยู่ นีเ่ ป็ นส่วนเล็ก ๆ

ของมวลสารทัง้ หมด แต่ทําให ้มันมีลก ่ มต่อกันขึน


ั ษณะแข็งแรง และทําให ้เกิดการเชือ ้ เป็ นโครงสร ้างของโมเลกุล มันยังเกีย
่ วข ้องกับ

ปฏิกริ ย
ิ าเคมี และเป็ นตัวกําหนดคุณสมบัตท
ิ างเคมีของวัตถุ ในทางตรงกันข ้าม ปฏิกริ ย
ิ านิวเคลียร์โดยทัว่ ไปไม่เกิดขึน
้ เองโดยธรรมชาติใน

รูปลักษณ์ของวัตถุเช่นนี้ เนือ
่ งจากพลังงานในธรรมชาติไม่สงู พอทีจ
่ ะทําลายสมดุลในนิวเคลียสได ้

4.10 ภายในนิวเคลียส

อย่างไรก็ตาม รูปร่างของวัตถุซงึ่ มีลก


ั ษณะต่าง ๆ กัน และโครงสร ้างของโมเลกุลทีซ ั ซ ้อนของมันนัน
่ บ ้ จะคงรูปอยูใ่ น

สภาพเงือ
่ นไขทีพ
่ เิ ศษเท่านัน
้ เช่นเมือ ่ มากเกินไป เมือ
่ อุณหภูมไิ ม่สงู เกินไปจนทําให ้โมเลกุลของมันสัน ่ พลังงานความร ้อนเพิม
่ มากขึน

ประมาณร ้อยเท่า เช่น ในดาวฤกษ์ ส่วนใหญ่ โครงสร ้างของอะตอมและโมเลกุลทัง้ หมดถูกทําลายลง โดยแท ้จริงแล ้วสสารวัตถุในจักรวาล

คงอยูใ่ นสภาพทีแ
่ ตกต่างไปจากทีไ่ ด ้กล่าวมาแล ้ว ในศูนย์กลางของดวงดาวต่าง ๆ มีการสะสมสสารวัตถุของนิวเคลียสเป็ นจํานวน

ิ านิวเคลียร์ซงึ่ แทบไม่เกิดขึน
มหาศาล และปฏิกริ ย ้ บนพืน
้ โลกกลับเป็ นปฏิกริ ย
ิ าส่วนใหญ่ทเี่ กิดขึน
้ ในดวงดาว ปฏิกริ ย
ิ าดังกล่าวเป็ นตัวการ
่ ําหนดปรากฏการณ์ของดวงดาวต่างๆ ซึง่ สังเกตได ้ในวิชาดาราศาสตร์ ส่วนใหญ่เกิดขึน
สําคัญทีก ้ จากอิทธิพลของปฏิกริ ย
ิ านิวเคลียสและ

แรงความโน ้มถ่วง สําหรับโลกของเรานัน ิ านิวเคลียร์ในศูนย์กลางของดวงอาทิตย์เป็ นสิง่ สําคัญมาก เนือ


้ ปฏิกริ ย ่ งจากมันก่อให ้เกิดพลังงาน

ิ ส์สมัยใหม่ทไี่ ด ้ค ้นพบว่า พลังงานซึง่ ถูกปล่อยมาจากดวงอาทิตย์


สําหรับสภาวะแวดล ้อมบนโลกนับเป็ นชัยชนะอันยิง่ ใหญ่ของวิชาฟิ สก

อย่างสมํา่ เสมอ อันเป็ นพลังงานสําหรับชีวต


ิ บนโลกนัน ิ านิวเคลียร์ซงึ่ เป็ นปรากฏการณ์ในอาณาจักรของสิง่ ทีเ่ ล็ก
้ เป็ นผลมาจากปฏิกริ ย

อย่างไม่มท
ี ส
ี่ ด

ในประวัตศ ึ ลงไปในอาณาจักรของสิง่ ทีเ่ ล็กยิง่ กว่าอะตอมนัน


ิ าสตร์ของการศึกษาสํารวจของมนุษย์ลก ้ ได ้มาถึงภาวะหนึง่ ที่

นักวิทยาศาสตร์คด
ิ ว่า ในทีส
่ ด ้ ฐาน” ของวัตถุแล ้ว ในต ้นทศวรรษของปี 2473 เป็ นทีท
ุ พวกเขาก็ได ้ค ้นพบ “หน่วยพืน ่ ราบกันดีวา่ วัตถุทงั ้

้ ฐาน” เหล่านีถ
มวลล ้วนประกอบด ้วยอะตอม และอะตอมประกอบด ้วย โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน “อนุภาคพืน ้ ก
ู ถือว่าเป็ นหน่วย

ของวัตถุซงึ่ ไม่อาจแบ่งแยกอีกต่อไป เท่ากับเป็ นอะตอมในทัศนะของเดโมคริตส


ั ถึงแม ้ทฤษฎีควอนตัมจะอธิบายดังทีไ่ ด ้กล่าวมาแล ้วว่า

เราไม่อาจย่อยโลกออกเป็ นหน่วยอิสระซึง่ เล็กทีส


่ ด
ุ ได ้ แต่ความข ้อนีก
้ ็ยงั ไม่เป็ นทีย
่ อมรับกันอย่างกว ้างขวางในขณะนัน
้ ความเคยชินใน

การคิดแบบดัง้ เดิมยังคงอยูอ ิ ส์สว่ นใหญ่พยายามทีจ


่ ย่างเหนียวแน่น จนกระทัง่ ว่านักฟิ สก ้ ฐาน” และโดย
่ ะเข ้าใจวัตถุในรูปของ “หน่วยพืน

แท ้จริงแล ้วแนวโน ้มของความคิดเช่นนีก


้ ็ยังมีอท
ิ ธิพลอยูม
่ ากในปั จจุบน

อย่างไรก็ตาม พัฒนาการอีก 2 ประการทีเ่ กิดขึน ิ ส์สมัยใหม่ได ้แสดงให ้เห็นว่า ความคิดเรือ


้ ในวิชาฟิ สก ้ ฐานซึง่
่ งอนุภาคพืน

เป็ นหน่วยแรกของวัตถุนัน
้ จําต ้องถูกยกเลิกไป พัฒนาการทัง้ สองนีม
้ ท
ี งั ้ ส่วนทีเ่ ป็ นการทดลองและส่วนทีเ่ ป็ นทฤษฏีทงั ้ สองเริม
่ ขึน
้ หลังปี

พ.ศ. 2472 ในด ้านการทดลองนัน


้ ได ้มีการค ้นพบอนุภาคใหม่ ๆ หลังจากทีน ิ ส์ได ้ปรับปรุงเทคนิคการทดลองและได ้สร ้างเครือ
่ ักฟิ สก ่ งมือ

ชนิดใหม่ในการตรวจวัดอนุภาค ดังนัน
้ จํานวนของอนุภาคจึงเพิม
่ ขึน
้ จากสามเป็ นหกในปี พ.ศ. 2478 และเป็ นสิบแปดในปี พ.ศ. 2498 ใน

้ ฐาน” นัน
ั เรารู ้จักอนุภาคมากกว่าสองร ้อยชนิด นั่นแสดงให ้เห็นว่า คําวิเศษณ์วา่ “พืน
ปั จจุบน ้ ไม่อาจเป็ นสิง่ ดึงดูดใจได ้อีกต่อไปใน

สภาวการณ์เช่นนี้ ในเมือ
่ ได ้มีการค ้นพบอนุภาคชนิดต่าง ๆ เพิม
่ ขึน ่ ย ๆ ในแต่ละปี มันก็เป็ นสิง่ ทีช
้ เรือ ั เจนว่า อนุภาคทัง้ หมดจะถูกเรียกว่า
่ ด

หน่วยพืน
้ ฐานไม่ได ้ ในปั จจุบน ่ อย่างกว ้างขวางในหมูน
ั มีความเชือ ิ ส์วา่ ไม่มอ
่ ักฟิ สก ี นุภาคใดทีค ่ นีไ้ ด ้เลย
่ วรจะเรียกด ้วยชือ

่ ดังกล่าวข ้างต ้นได ้รับการเน ้นยํ้า จากพัฒนาการทางทฤษฏี ซึง่ เกิดคูข


ความเชือ ่ นานไปกับการค ้นพบอนุภาคเพิม
่ มากขึน

ไม่นานหลังจากสร ้างทฤษฏีควอนตัมได ้สําเร็จ ก็เป็ นทีเ่ ข ้าใจกันอย่างชัดเจนว่า ทฤษฎีควอนตัมมิใช่ทฤษฎีเกีย


่ วกับปรากฏการณ์ทาง

นิวเคลียร์ทส ั พัทธภาพมาสัมพันธ์ด ้วยเป็ นส่วนมาก ทัง้ นีเ้ พราะอนุภาคซึง่ มีขอบเขตอยูใ่ นขนาดของนิวเคลียส


ี่ มบูรณ์ แต่ต ้องนําทฤษฎีสม

่ นทีเ่ ร็วมากจนเกือบใกล ้ความเร็วของแสง ความจริงข ้อนีเ้ ป็ นสิง่ สําคัญสําหรับการอธิบายพฤติกรรมของมัน เพราะคําอธิบายทุก


มักจะเคลือ

่ วกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ ซึง่ เกีย


ประการ ทีเ่ กีย ั พัทธภาพมาพิจารณาด ้วย
่ วข ้องกับความเร็วใกล ้ความเร็วของแสง จะต ้องนําทฤษฎีสม

มันจะต ้องเป็ นคําอธิบายเชิง “ส ัมพ ัทธ์” ดังทีเ่ ราเรียกกันดังนัน


้ สิง่ ทีเ่ ราต ้องการเพือ
่ ความเข ้าใจทีส
่ มบูรณ์เกีย ื ทฤษฎีซงึ่
่ วกับนิวเคลียสก็คอ

ั พัทธภาพไว ้ด ้วยกัน ทฤษฎีดงั กล่าวยังไม่มใี ครค ้นพบ ดังนัน


รวมเอาทัง้ ทฤษฎีควอนตัม และทฤษฎีสม ้ เราจึงยังไม่สามารถสร ้างทฤษฏีท ี่

สมบูรณ์เกีย
่ วกับนิวเคลียสได ้ ถึงแม ้ว่าเราจะมีความรู ้มากพอสมควร เกีย
่ วกับโครงสร ้างของนิวเคลียส และปฏิกริ ย
ิ าระหว่างอนุภาคภายใน

ของนิวเคลียส แต่เรายังไม่เข ้าใจธรรมชาติ และลักษณะความซับซ ้อนของแรงนิวเคลียร์ในระดับพืน


้ ฐานเลย ยังไม่มท
ี ฤษฏีทส
ี่ มบูรณ์

เกีย ่ เทียบกับทีเ่ รามีทฤษฏีควอนตัมสําหรับอะตอม เรามีแบบจําลอง “ควอนต ัม-ส ัมพ ัทธ์” หลายอัน ซึง่ ใช ้
่ วกับอนุภาคในนิวเคลียส เมือ

ั พัทธภาพ จนเป็ นทฤษฏี


อธิบายบางแง่ของอาณาจักรของอนุภาคได ้เป็ นอย่างดี แต่การหลอมรวมกันของทฤษฏีควอนตัม และทฤษฏีสม

สมบูรณ์เกีย ่ ําคัญต่อฟิ สก
่ วกับอาณาจักรของอนุภาค ยังคงเป็ นปั ญหาสําคัญทีเ่ ป็ นแกนกลาง และเป็ นการท ้าทายทีส ิ ส์พน
ื้ ฐานสมัยใหม่

4.11 ว ัตถุคต
ู่ รงข้าม
ั พัทธภาพได ้มีอท
ทฤษฏีสม ิ ธิพลอย่างสําคัญต่อภาพของวัตถุในความคิดของเรา โดยทําให ้เราจําเป็ นต ้องปรับเปลีย
่ น

แนวคิดเกีย ิ ส์ดงั ้ เดิม เมือ


่ วกับอนุภาคในวิชาฟิ สก ่ พูดถึงมวลของวัตถุ มันมักจะโยงเอาความหมายของสสารวัตถุซงึ่ ไม่อาจทําลายได ้ อยูก
่ น

เป็ น “ก้อน” และประกอบกันขึน ั พัทธภาพได ้แสดงให ้เห็นว่ามวลไม่มอ


้ เป็ นวัตถุ ทฤษฎีสม ี ะไรเกีย
่ วข ้องกับวัตถุ หากแต่เป็ นพลังงานรูป

หนึง่ อย่างไรก็ตามพลังงานเป็ นปริมาณทางพลศาสตร์ซงึ่ สัมพันธ์กบ


ั กิจกรรมหรือกระบวนการ ข ้อเท็จจริงทีว่ า่ มวลของอนุภาคหนึง่ ๆ

เท่ากับพลังงานจํานวนหนึง่ หมายความว่าเราไม่อาจถือว่าอนุภาคเป็ นวัตถุสถิตได ้อีกต่อไป แต่ต ้องรับรู ้มันในลักษณะทีเ่ ป็ นแบบแผนทาง

พลศาสตร์ เป็ นกระบวนการซึง่ เกีย


่ วข ้องกับพลังงาน ซึง่ แสดงตัวมันเองออกมาในรูปของมวลของอนุภาค

ดีแร็ก (Dirac) เป็ นผู ้เสนอทัศนะใหม่เกีย


่ วกับอนุภาคนี้ ในเมือ
่ เขาสร ้างสมการสัมพัทธ์สมการหนึง่ เพือ
่ อธิบายพฤติกรรม

ของอิเล็กตรอน ทฤษฎีของดีแร็กประสบความสําเร็จอย่างมาก ไม่เพียงแต่ในการอธิบายรายละเอียดของโครงสร ้างของอะตอม แต่ยัง

เปิ ดเผยถึงสมมาตร (Symmetry) พืน


้ ฐานระหว่างวัตถุและวัตถุคต
ู่ รงข ้าม (matter and anti – matter) ทฤษฎีของเขาได ้ทํานายว่ามี

่ รงข ้ามของอิเล็กตรอน (anti – electron) ซึง่ มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอนแต่มป


อนุภาคคูต ี ระจุตา่ งกัน นั่นคือประจุบวก อนุภาคนีเ้ รียกว่า

โพซิตรอน (Positron) ได ้ถูกค ้นพบสองปี ตอ


่ มาหลังจากการทํานายของดีแร็ก สมมาตรระหว่างวัตถุและวัตถุคต
ู่ รงข ้ามมีความหมายว่า

่ รงข ้ามของแต่ละชนิดซึง่ มีมวลเท่ากันแต่มป


สําหรับอนุภาคทุกชนิด จะมีอนุภาคคูต ี ระจุตรงกันข ้าม อนุภาคและอนุภาคคูต
่ รงข ้ามอาจถูก

สร ้างขึน
้ ได ้ด ้วยพลังงานทีเ่ พียงพอ และอาจถูกเปลีย
่ นกลับเป็ นพลังงานได ้ในกระบวนการทําลายล ้าง (annihilation) กระบวนการสร ้าง

และทําลายอนุภาคนีไ้ ด ้ถูกทํานายโดยทฤษฎีของดีแร็ก ก่อนทีม


่ น ้ ก็สงั เกตพบได ้นับเป็ น
ั จะถูกค ้นพบจริง ๆ ในธรรมชาติ และนับจากนัน

ล ้าน ๆ ครัง้

การสร ้างอนุภาคของวัตถุจากพลังงานบริสท
ุ ธิเ์ ป็ นผลอันน่าตืน
่ เต ้นทีส
่ ด ั พัทธภาพ และจะเข ้าใจมันได ้ก็โดย
ุ จากทฤษฏีสม

อาศัยทัศนะเรือ ิ ส์แห่งอนุภาคสัมพัทธ์นี้ องค์ประกอบของวัตถุมก


่ งอนุภาคดังกล่าวข ้างต ้น ก่อนหน ้าวิชาฟิ สก ั ถูกพิจารณาในแง่ทเี่ ป็ นหน่วย

้ ฐานซึง่ ไม่แตกทําลายและไม่เปลีย
พืน ่ นแปลง หรือไม่ก็เป็ นสิง่ ซึง่ อาจแบ่งแยกออกต่อไปได ้อีก และปั ญหาพืน
้ ฐานก็คอ
ื ว่า เราอาจทีจ
่ ะแบ่ง

วัตถุซาํ้ แล ้วซํา้ อีกได ้หรือไม่ หรือว่าในทีส


่ ด
ุ เราจะต ้องมาหยุดทีห
่ น่วยเล็กทีส ุ ซึง่ ไม่อาจแบ่งแยกได ้อีกต่อไป หลังจากการค ้นพบของดี
่ ด

แร็ก ปัญหาเรือ
่ งการแบ่งแยกวัตถุทงั ้ หมดก็ปรากฏในลักษณะใหม่ เมือ
่ อนุภาคสองตัวชนกันด ้วยพลังงานสูง โดยทัว่ ไปมันจะแตกออกเป็ น

้ ไิ ด ้เล็กไปกว่าอนุภาคเดิมมันก็ยังคงเป็ นอนุภาคและถูกสร ้างจากพลังงานทีใ่ ช ้ในการเคลือ


ส่วน ๆ แต่แต่ละส่วนเหล่านีม ่ นที่ (พลังงานจลน์)

ซึง่ เกีย ่ งการแบ่งย่อยอนุภาคจึงถูกแก ้ตกไปในทางซึง่ ไม่เคยคิดกันมาก่อน วิธเี ดียวทีจ


่ วข ้องในกระบวนการชนกันของอนุภาค ปั ญหาเรือ ่ ะ

ื ต ้องยิงมันด ้วยอนุภาคซึง่ มีพลังงานสูง ๆ โดยวิธก


แบ่งอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมออกไปอีกก็คอ ่ ะแบ่งวัตถุออกซํา้ แล ้วซํา้
ี ารเช่นนีเ้ ราอาจทีจ

้ ส่วนทีเ่ ล็กลงไปอีกเนือ
อีก แต่เราจะไม่เคยได ้ชิน ้ มาใหม่จากพลังงานซึง่ ใช ้ในกระบวนการ อนุภาคซึง่ เล็กกว่า
่ งจากเราได ้สร ้างอนุภาคขึน

อะตอมจึงเป็ นทัง้ สิง่ ทีท


่ ําลายได ้และทําลายไม่ได ้ในขณะเดียวกัน

4.12 บ ับเบิลแชมเบอร์

ั พัทธภาพไม่เพียงแต่กระทบความคิดในเรือ
ทฤษฏีสม ่ งอนุภาคของเราอย่างรุนแรงเท่านัน
้ แต่ยังส่งผลถึงความคิดในเรือ
่ ง

แรงระหว่างอนุภาคเหล่านี้ ในการอธิบายเชิงสัมพัทธ์ในเรือ
่ งปฏิกริ ย
ิ าระหว่างอนุภาค แรงกระทําระหว่างอนุภาคนั่นคือแรงดึงดูดหรือแรง

ผลักระหว่างกันของอนุภาคสองอนุภาคนัน
้ เกิดขึน
้ โดยการแลกเปลีย
่ นอนุภาคชนิดอืน
่ ระหว่างอนุภาคทัง้ สอง ความคิดนีย
้ ากทีจ
่ ะนึกให ้เห็น

ภาพได ้ มันเป็ นผลเนือ ่ ต


่ งมาจากลักษณะสีม ิ ห่งกาล อวกาศของอาณาจักรของอนุภาค ทัง้ ญาณและภาษาของเราไม่อาจใช ้กับภาพพจน์
ิ แ

อันนีไ้ ด ้อย่างเหมาะสม ทว่าประเด็นนีเ้ ป็ นสิง่ สําคัญสําหรับการเข ้าใจปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ของอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม มันเชือ


่ มโยงแรง

กระทําระหว่างองค์ประกอบของวัตถุเข ้ากับคุณสมบัตข ่ ของวัตถุ และได ้หลอมรวมสองแนวคิดคือแรงและวัตถุ ซึง่ ดู


ิ ององค์ประกอบอันอืน

เหมือนจะแตกต่างกันโดยพืน
้ ฐานตัง้ แต่สมัยของนักศึกษาเรือ
่ งอะตอมชาวกรีก ทัง้ แรงและวัตถุถก
ู ถือว่ามีจด
ุ กําเนิดร่วมกันจากแบบแผนอัน

เป็ นพลวัต (Dynamic Pattern) ซึง่ ในปั จจุบน


ั เราเรียกว่าอนุภาค
ิ าต่อกันโดยผ่านแรง ซึง่ ก็คอ
ข ้อเท็จจริงที่ อนุภาคมีปฏิกริ ย ื การแลกเปลีย
่ นอนุภาคชนิดอืน
่ นับเป็ นอีกเหตุผลหนึง่ ทีท
่ าํ ให ้

่ มองจากระดับใหญ่ลงไปสูร่ ะดับเล็กจนถึง
ไม่อาจย่อยสลายอาณาจักรของอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมออกเป็ นส่วนประกอบต่าง ๆ เมือ

นิวเคลียส แรงซึง่ ยึดเหนีย


่ วสิง่ ต่าง ๆ เข ้าด ้วยกันเป็ นแรงอย่างอ่อนและเราอาจจะถือได ้ว่าสิง่ ต่าง ๆ ประกอบด ้วยหน่วยย่อย ๆ ลงไป ดังนัน

เราอาจกล่าวว่าผลึกเกลือผลึกหนึง่ ประกอบด ้วยโมเลกุลของเกลือ โมเลกุลของเกลือประกอบด ้วยอะตอมสองชนิด อะตอมดังกล่าว

ประกอบด ้วยนิวเคลียสและอิเล็กตรอน นิวเคลียสก็ประกอบไปด ้วยโปรตอนและนิวตรอน อย่างไรก็ตามเมือ


่ ถึงระดับอนุภาคแล ้ว เราไม่อาจ

มองสิง่ ต่าง ๆ ในลักษณะนัน


้ ได ้

เมือ
่ เร็ว ๆ นี้ มีหลักฐานปรากฏเพิม
่ เติมขึน ่ นับสนุนความเข ้าใจทีว่ า่ ทัง้ โปรตอนและนิวตรอนต่าง ก็เป็ นสิง่ ที่
้ อีกมากมายทีส

้ จากสิง่ อืน
ประกอบขึน ่ แต่แรงยึดเหนีย
่ วระหว่างองค์ประกอบเหล่านัน
้ สูงมาก หรืออยูใ่ นปริมาณเดียวกัน ความเร็วทีอ
่ งค์ประกอบเหล่านัน
้ มี

่ งู มาก จนเราต ้องใช ้ทฤษฏีสม


อยูส ั พัทธภาพเข ้าไปประยุกต์ใช ้กล่าวคือแรงทีเ่ ป็ นตัวแรงยึดเหนีย ั เจน และข ้อประมาณ
่ วจึงเลอะเลือนไม่ชด

ทีว่ า่ วัตถุประกอบด ้วยหน่วยย่อยเป็ นอันใช ้ไม่ได ้ โลกของอนุภาคจะแบ่งย่อยเป็ นส่วนประกอบพืน


้ ฐานไม่ได ้

ิ ส์สมัยใหม่ จักรวาลจึงเป็ นองค์รวม มีลก


ในวิชาฟิ สก ่ นไหว และไม่อาจแบ่งแยกได ้ ซึง่ ได ้รวมเอาผู ้สังเกตเข ้าไว ้
ั ษณะเคลือ

ด ้วยเสมอ ในประสบการณ์เช่นนีค
้ วามคิดแบบเดิมทีย
่ ด
ึ ถือกันมาในเรือ
่ งของอวกาศและเวลา ในเรือ
่ งวัตถุเดีย
่ ว ๆ ในเรือ
่ งเรือ
่ งเหตุและผล

ได ้สูญเสียความหมายของมันไป อย่างไรก็ตาม ประสบการณ์เช่นนีค


้ ล ้ายคลึงเป็ นอย่างยิง่ กับประสบการณ์ของศาสนิกชาวตะวันออก ความ

คล ้ายคลึงนีป
้ รากฏชัดในทฤษฎีควอนตัมและทฤษฎีสม ้ ในแบบจําลอง “ควอนต ัม-ส ัมพ ัทธ์” ของวิชา
ั พัทธภาพ และยิง่ ชัดเจนมากขึน

ิ ส์ทวี่ า่ ด ้วยอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมซึง่ ทัง้ สองทฤษฏีได ้รวมกัน และก่อให ้เกิดแนวขนานทีช


ฟิ สก ั เจนกับศาสนาตะวันออก
่ ด

ก่อนทีจ
่ ะได ้แสดงความคล ้ายคลึงดังกล่าวโดยละเอียด ข ้าพเจ ้าจะนําเสนออย่างคร่าว ๆ เกีย
่ วสํานักนิกายต่าง ๆ ของ

่ ะมีสว่ นสัมพันธ์กบ
ปรัชญาตะวันออก ทีจ ั การเปรียบเทียบของเรา (ต่อผู ้อ่านซึง่ ไม่คุ ้นเคย) อันได ้แก่ ฮินดู พุทธ และเต๋า ในอีกห ้าบท

ต่อไปนี้ จะได ้อธิบายถึงภูมห


ิ ลังทางประวัตศ
ิ าสตร์ ลักษณะสําคัญและแนวคิดทางปรัชญาของศาสนาเหล่านี้ โดยจะเน ้นในแง่มม
ุ หรือ

ความคิดซึง่ จะเป็ นส่วนสําคัญในการเปรียบเทียบกับวิชาฟิ สก


ิ ส์

4.13 ควอนต ัมส ัมพ ัทธ์

ั พัทธภาพไม่เพียงแต่กระทบความคิดในเรือ
ทฤษฏีสม ่ งอนุภาคของเราอย่างรุนแรงเท่านัน
้ แต่ยังส่งผลถึงความคิดในเรือ
่ ง

แรงระหว่างอนุภาคเหล่านี้ ในการอธิบายเชิงสัมพัทธ์ในเรือ
่ งปฏิกริ ย
ิ าระหว่างอนุภาค แรงกระทําระหว่างอนุภาคนั่นคือแรงดึงดูดหรือแรง

ผลักระหว่างกันของอนุภาคสองอนุภาคนัน
้ เกิดขึน
้ โดยการแลกเปลีย
่ นอนุภาคชนิดอืน
่ ระหว่างอนุภาคทัง้ สอง ความคิดนีย
้ ากทีจ
่ ะนึกให ้เห็น

ภาพได ้ มันเป็ นผลเนือ ่ ต


่ งมาจากลักษณะสีม ิ ห่งกาล อวกาศของอาณาจักรของอนุภาค ทัง้ ญาณและภาษาของเราไม่อาจใช ้กับภาพพจน์
ิ แ

อันนีไ้ ด ้อย่างเหมาะสม ทว่าประเด็นนีเ้ ป็ นสิง่ สําคัญสําหรับการเข ้าใจปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ของอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม มันเชือ


่ มโยงแรง

กระทําระหว่างองค์ประกอบของวัตถุเข ้ากับคุณสมบัตข ่ ของวัตถุ และได ้หลอมรวมสองแนวคิดคือแรงและวัตถุ ซึง่ ดู


ิ ององค์ประกอบอันอืน

เหมือนจะแตกต่างกันโดยพืน
้ ฐานตัง้ แต่สมัยของนักศึกษาเรือ
่ งอะตอมชาวกรีก ทัง้ แรงและวัตถุถก
ู ถือว่ามีจด
ุ กําเนิดร่วมกันจากแบบแผนอัน

เป็ นพลวัต (Dynamic Pattern) ซึง่ ในปั จจุบน


ั เราเรียกว่าอนุภาค

ิ าต่อกันโดยผ่านแรง ซึง่ ก็คอ


ข ้อเท็จจริงที่ อนุภาคมีปฏิกริ ย ื การแลกเปลีย
่ นอนุภาคชนิดอืน
่ นับเป็ นอีกเหตุผลหนึง่ ทีท
่ าํ ให ้

่ มองจากระดับใหญ่ลงไปสูร่ ะดับเล็กจนถึง
ไม่อาจย่อยสลายอาณาจักรของอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมออกเป็ นส่วนประกอบต่าง ๆ เมือ

นิวเคลียส แรงซึง่ ยึดเหนีย


่ วสิง่ ต่าง ๆ เข ้าด ้วยกันเป็ นแรงอย่างอ่อนและเราอาจจะถือได ้ว่าสิง่ ต่าง ๆ ประกอบด ้วยหน่วยย่อย ๆ ลงไป ดังนัน

เราอาจกล่าวว่าผลึกเกลือผลึกหนึง่ ประกอบด ้วยโมเลกุลของเกลือ โมเลกุลของเกลือประกอบด ้วยอะตอมสองชนิด อะตอมดังกล่าว


ประกอบด ้วยนิวเคลียสและอิเล็กตรอน นิวเคลียสก็ประกอบไปด ้วยโปรตอนและนิวตรอน อย่างไรก็ตามเมือ
่ ถึงระดับอนุภาคแล ้ว เราไม่อาจ

มองสิง่ ต่าง ๆ ในลักษณะนัน


้ ได ้

เมือ
่ เร็ว ๆ นี้ มีหลักฐานปรากฏเพิม
่ เติมขึน ่ นับสนุนความเข ้าใจทีว่ า่ ทัง้ โปรตอนและนิวตรอนต่าง ก็เป็ นสิง่ ที่
้ อีกมากมายทีส

้ จากสิง่ อืน
ประกอบขึน ่ แต่แรงยึดเหนีย
่ วระหว่างองค์ประกอบเหล่านัน
้ สูงมาก หรืออยูใ่ นปริมาณเดียวกัน ความเร็วทีอ
่ งค์ประกอบเหล่านัน
้ มี

่ งู มาก จนเราต ้องใช ้ทฤษฏีสม


อยูส ั พัทธภาพเข ้าไปประยุกต์ใช ้กล่าวคือแรงทีเ่ ป็ นตัวแรงยึดเหนีย ั เจน และข ้อประมาณ
่ วจึงเลอะเลือนไม่ชด

ทีว่ า่ วัตถุประกอบด ้วยหน่วยย่อยเป็ นอันใช ้ไม่ได ้ โลกของอนุภาคจะแบ่งย่อยเป็ นส่วนประกอบพืน


้ ฐานไม่ได ้

ิ ส์สมัยใหม่ จักรวาลจึงเป็ นองค์รวม มีลก


ในวิชาฟิ สก ่ นไหว และไม่อาจแบ่งแยกได ้ ซึง่ ได ้รวมเอาผู ้สังเกตเข ้าไว ้
ั ษณะเคลือ

ด ้วยเสมอ ในประสบการณ์เช่นนีค
้ วามคิดแบบเดิมทีย
่ ด
ึ ถือกันมาในเรือ
่ งของอวกาศและเวลา ในเรือ
่ งวัตถุเดีย
่ ว ๆ ในเรือ
่ งเรือ
่ งเหตุและผล

ได ้สูญเสียความหมายของมันไป อย่างไรก็ตาม ประสบการณ์เช่นนีค


้ ล ้ายคลึงเป็ นอย่างยิง่ กับประสบการณ์ของศาสนิกชาวตะวันออก ความ

คล ้ายคลึงนีป
้ รากฏชัดในทฤษฏีควอนตัมและทฤษฎีสม ้ ในแบบจําลอง “ควอนต ัม-ส ัมพ ัทธ์” ของวิชา
ั พัทธภาพ และยิง่ ชัดเจนมากขึน

ิ ส์ทวี่ า่ ด ้วยอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมซึง่ ทัง้ สองทฤษฏีได ้รวมกัน และก่อให ้เกิดแนวขนานทีช


ฟิ สก ั เจนกับศาสนาตะวันออก
่ ด

ก่อนทีจ
่ ะได ้แสดงความคล ้ายคลึงดังกล่าวโดยละเอียด ข ้าพเจ ้าจะนําเสนออย่างคร่าว ๆ เกีย
่ วสํานักนิกายต่าง ๆ ของ

่ ะมีสว่ นสัมพันธ์กบ
ปรัชญาตะวันออก ทีจ ั การเปรียบเทียบของเรา (ต่อผู ้อ่านซึง่ ไม่คุ ้นเคย) อันได ้แก่ ฮินดู พุทธ และเต๋า ในอีกห ้าบท

ต่อไปนี้ จะได ้อธิบายถึงภูมห


ิ ลังทางประวัตศ
ิ าสตร์ ลักษณะสําคัญและแนวคิดทางปรัชญาของศาสนาเหล่านี้ โดยจะเน ้นในแง่มม
ุ หรือ

ความคิดซึง่ จะเป็ นส่วนสําคัญในการเปรียบเทียบกับวิชาฟิ สก


ิ ส์

ภาคที่ 2 มรรคาแห่งศาสนาตะว ันออก

ิ ดู
บทที่ 5 ศาสนาฮน

ในการทีจ
่ ะทําความเข ้าในปรัชญาใด ๆ ทีจ
่ ะอธิบายต่อไปนีจ
้ ะต ้องเข ้าใจว่าแก่น
แท ้ของมันคือศาสนา จุดประสงค์สําคัญของปรัชญาเหล่านีก
้ ็ คอ
ื ประสบการณ์โดยตรงต่อ
ั จะ ซงึ่ โดยลักษณะธรรมชาติของประสบการณ์นเี้ ป็ นไปในทางศาสนามันจึงไม่อาจแยก
สจ
่ นีป
ออกจากศาสนา ลักษณะเชน ั ในศาสนาฮน
้ รากฏชด ิ ดูมากยิง่ กว่าธรรมเนียมปฏิบัตอ
ิ น
ื่ ๆ
ิ ดูความเกีย
ของตะวันออก ในฮน ่ วพันระหว่างปรัชญาและศาสนาเป็ นไปอย่างแน่นแฟ้ น กล่าว
กันว่าแนวคิดแทบทัง้ หมดในอินเดียเป็ นแนวคิดทางศาสนา และในหลายศตวรรษทีผ
่ า่ นมา
ิ ดูมไิ ด ้มีอท
ศาสนาฮน ี วี ต
ิ ธิพลเฉพาะต่อวิถช ้ แต่ยังเป็ นสงิ่
ิ ในทางปั ญญาของอินเดียเท่านั น
กําหนดสภาพสงั คมและวัฒนาธรรมอินเดียด ้วยอย่างสน
ิ้ เชงิ

ิ ดูไม่อาจเรียกว่าปรัชญา และไม่เชงิ เป็ นศาสนาในความหมายดังที่


ศาสนาฮน
่ ากเป็ นระบบสงั คม – ศาสนาทีใ่ หญ่และซบ
อธิบายกันอยูห ั ซอนประกอบด
้ ้วยนิกายและลัทธิ
ย่อย ๆ และระบบปรัชญาจํานวนนับไม่ถ ้วน มีพธิ ก
ี รรม ประเพณี และระเบียบปฏิบัตม
ิ ากมาย
รวมทัง้ การบูชาเทพและเทวีซงึ่ มีมากมายเหลือคณานั บแง่มม
ุ ต่าง ๆ มากมายของระบบนี้ ซงึ่
เป็ นธรรมเนียมปฏิบัตท
ิ างจิตวิญญาณทีฝ
่ ั งแน่นและมีอท ี วี ต
ิ ธิพลต่อวิถช ิ ได ้สะท ้อนความ
ั ซอนของสภาพภู
ซบ ้ มศ ื้ ชาติ ภาษา และวัฒนธรรมของอนุทวีป – อินเดีย
ิ าสตร์ เชอ
ิ ดูมท
คําสอนของศาสนาฮน ั ้ สูง รวมทัง้ แนวคิดในระดับ
ี ัง้ ในระดับทีเ่ ป็ นปรัชญาชน
ี รรมของประชาชนซงึ่ บริสท
ต่าง ๆ และลึกลงไปถึงการประกอบพิธก ุ ธิไ์ ร ้เดียงสาแบบเด็ก ๆ
ิ ดูสว่ นใหญ่ ซงึ่ เป็ นชาวบ ้านสามัญ ยังคงรักษาสบ
แม ้นว่าชาวฮน ื ทอดศาสนาของตนไว ้อย่าง
มีชวี ต
ิ ชวี าในการบูชาประจําวันของพวกเขา ในอีกด ้านหนึง่ ศาสนาฮน
ิ ดูก็ยังมีผู ้เป็ น คุรุ –
ื่ เสย
อาจารย์ ผู ้มีชอ ี ง จํานวนมาก ทีจ
่ ะทําหน ้าถ่ายทอดญาณทัสนะอันลึกซงึ้ ของฮน
ิ ดูได ้

ทีม ิ ดูนัน
่ าของคําสอนของศาสนาฮน ้ คือคัมภีร ์ พระเวท (Vedas) ซงึ่ เป็ นคัมภีรท
์ ี่
ิ ดูผู ้ไม่ปรากฏนามหลายท่าน
รวบรวมคําสอนนับแต่โบราณกาล ประพันธ์โดยปราชญ์ชาวฮน
มักเรียกกันว่า “ผูพ
้ ยากรณ์” พระเวท

คัมภีรพ ์ เี่ ล่มด ้วยกัน เล่มทีเ่ ก่าแก่ทส


์ ระเวทประกอบด ้วยคัมภีรส ี่ ด
ุ คือคัมภีร ์ ฤคเวท
์ ระเวทซงึ่ ถูกจารึกด ้วยภาษาสน
(Rig Veda) คัมภีรพ ั สกฤตโบราณ อันถือเป็ นภาษาศักดิส ิ ธิ์
์ ท
ของอินเดียยังคงเป็ นแหล่งความรู ้ทีเ่ ป็ นทีย ิ ดู ในอินเดีย ระบบ
่ อมรับกันในทุกนิกายของฮน
ปรัชญาใดซงึ่ ไม่ยอมรับคัมภีรพ
์ ระเวทจะถูกถือว่าเป็ นระบบปรัชญาทีไ่ ม่ถก
ู ต ้อง

คัมภีรพ
์ ระเวทแต่ละคัมภีรป
์ ระกอบด ้วยหลายภาค แต่ละภาคเขียนขึน
้ ในระยะเวลา
ต่าง ๆ กัน คงจะอยูใ่ นระหว่าง 1,500 – 500 ปี กอ
่ นคริสตกาล ภาคทีเ่ ก่าทีส
่ ด
ุ เป็ นบทเพลง
ี วงสรวงบูชาซงึ่ เชอ
และบทสวดสรรเสริญพระผู ้เป็ นเจ ้า ภาคต่อมาว่าด ้วยพิธบ ื่ มโยงกับบท
เพลงในพระเวท และภาคสุดท ้ายซงึ่ เรียกว่า “อุปนิษ ัท” (Upanishads) เต็มไปด ้วยหลัก
ปรัชญาและหลักปฏิบัต ิ คัมภีรอ
์ ป ิ ดูเอาไว ้ มันได ้ชน
ุ นิษัทจึงบรรจุแก่นคําสอนของศาสนาฮน ี้ ํ า
และเร่งเร ้าจิตใจอันใหญ่หลวงของอินเดียตลอดเวลายีส ิ ห ้าศตวรรษทีผ
่ บ ่ า่ นมา ให ้สอดคล ้อง
ไปกับคําสอนในรูปของบทประพันธ์ของอุปนิษัท:

จงรับเอามหาศัสตราวุธแห่งอุปนิษัทดังหนึง่ คันศร หยิบลูกศรซงึ่


เหลาให ้แหลมคมด ้วยสมาธิภาวนาขึน
้ พาดสาย เหนีย
่ วน ้าวด ้วยความคิดที่
มุง่ ตรงต่อแก่นแท ้ของสงิ่ นัน ่ ด
้ ปล่อยมันสูจ ุ หมายแห่งอมตะเถิด สหาย (1)

5.1 มหาภารตะ

อย่างไรก็ตาม ชาวอินเดียสว่ นใหญ่มไิ ด ้รับเอาคําสอนของฮน


ิ ดูโดยผ่านทางคัมภีร ์
อุปนิษัท แต่โดยผ่านตํานานต่าง ๆ ซงึ่ ผูกขึน
้ เป็ นโคลงเล่าเรือ
่ งราวพืน
้ ฐานของเทพปกรณั ม
้ คือ มหาภารตะ (Mahabharata) ซงึ่ บรรจุอยูด
อันงดงามจํานวนมาก หนึง่ ในจํานวนนั น ่ ้วย
คัมภีร ์ ภควัทคีตา (Bhagavad Gita) บทกวีแห่งจิตวิญญาณอันงดงามและเป็ นทีช ื่ ชอบ
่ น
ของประชาชน โดยทั่วไปจะเรียกว่า คีตา

คีตา เป็ นบทสนทนาโต ้ตอบระหว่างกฤษณเทพกับอรชุน กษั ตริยน


์ ั กรบทีก
่ ําลังตก
ิ้ หวัง เนือ
อยูใ่ นภาวะสน ่ งจากจําต ้องต่อสูกั้ บญาติสายโลหิตของตน ในมหาสงครามระหว่าง
์ าติ อันเป็ นโครงเรือ
วงศญ ่ งสําคัญของมหาภารตะ พระกฤษณะซงึ่ ปลอมเป็ นสารถีของอรชุน
่ มรภูมใิ นระหว่างกองทัพทัง้ สองฝ่ าย ณ ทีน
ได ้นํ าอรชุนไปสูส ่ ัน ั จะ
้ พระกฤษณะได ้เปิ ดเผยสจ
ิ ดูธรรมต่ออรชุน เมือ
แห่งฮน ่ พระผู ้เป็ นเจ ้าทรงตรัสภาพภูมห
ิ ลังสงครามระหว่างสองครอบครัว
ก็ได ้ลางเลือนไป และทีก ั เจนก็คอ
่ ลับปรากฏชด ั ระยุทธ์ของอรชุนนัน
ื ความจริงทีว่ า่ การสป ้

เป็ นการต่อสูของมนุ ้
ษย์ เป็ นการต่อสูของนั กรบเพือ
่ ค ้นหาการรู ้แจ ้ง พระกฤษณะได ้ตรัส
แนะนํ าอรชุนว่า:

จงสงั หารซงึ่ ความกังขาอันมาจากอวิชชาในหัวใจของท่าน ด ้วย


ดาบแห่งปั ญญา จงรวมร่างกายและจิตใจให ้เป็ นหนึง่ ในโยคะ และจงลุกขึน

เถิด นักรบผู ้ยิง่ ใหญ่ จงลุกขึน
้ เถิด (2)

พืน ่ เดียวกับคําสอนอืน
้ ฐานแห่งคําสอนของพระกฤษณะ เชน ิ ดู คือ
่ ๆ ในศาสนาฮน
แนวคิดทีว่ า่ สงิ่ ต่าง ๆ และเหตุการณ์ทัง้ หลายรอบตัวเรา ซงึ่ ดูเสมือนว่าหลายสงิ่ แตกต่างกัน
ออกไปนัน ั จะสูงสุดประการเดียว
้ แท ้จริงเป็ นการปรากฏในรูปลักษณ์ตา่ ง ๆ กันของสจ
เรียกว่า พรหมัน (Brahman) แนวคิดนีท ิ ดูมล
้ ําให ้ศาสนาฮน ี ักษณะเป็ นเอกเทวนิยม แม ้ว่าจะ
มีการบูชาเทพและเทวีทแ
ี่ ตกต่างกันมากมาย

ั จะสูงสุดหรือพรหมันนัน
สจ ้ คือ “วิญญาณ” หรือแก่นแท ้ภายในของสรรพสงิ่ เป็ น
อนันต์ และไปพ ้นความคิดทุกชนิด ไม่อาจเข ้าใจได ้ด ้วยความชาญฉลาด ทัง้ ไม่อาจกล่าว
อธิบายได ้ด ้วยภาษา

“พรหม ันไม่มต
ี น ่ เป็นอะไร หรือมิใช่
้ กําเนิดสูงสุด ไม่อาจกล่าวได้วา
อะไร” (3)

“วิญญาณสูงสุดนน
ั้ ไม่อาจเข้าใจได้ดว้ ยความคิดนึกสาม ัญ เป็นปรม ัตถ์
ไม่มเี กิด อยูเ่ หนือเหตุผล คิดคํานึงเอาไม่ได้” (4)

กระนัน
้ ประชาชนก็ปรารถนาทีจ ั จะนี้ นั กปราชญ์ฮน
่ ะกล่าวถึงสจ ิ ดูจงึ ได ้สร ้างภาพ

ของพรหมันในลักษณะทีเ่ ป็ นพระเจ ้า และกล่าวถึงโดยใชภาษาของเทพปกรณั มลักษณะ
ต่างๆ มากมาย แต่ละลักษณะของพระเจ ้า ถือเป็ นเทพองค์หนึง่ ๆ ซงึ่ ชาวฮน
ิ ดูนับถือบูชา
ั เจนว่า เทพเหล่านั น
แต่ในคัมภีรไ์ ด ้ระบุไว ้ชด ั จะสูงสุดเพียง
้ เป็ นแต่เพียงภาพสะท ้อนของสจ
ประการเดียว

ซงึ่ ประชาชนกล่าวว่า “จงบูชาเทพองค์น ้ี จงบูชาเทพองค์


นน”
ั้ ต่าง ๆ มากมายแท ้จริงล ้วนเป็ นการรังสรรค์ของพระองค์ (พรหมัน)
และพระองค์ก็คอ
ื เทพทัง้ มวล (5)

พรหมันในวิญญาณของมนุษย์เรียกว่า อาตมัน (Atman) ความคิดทีว่ า่ อาตมัน


ั จะและปรมัตถสจ
และพรหมัน ปั จเจกสจ ั จะนั น
้ เป็ นหนึง่ เดียว เป็ นแก่นแท ้ของอุปนิษัท
สงิ่ นัน
้ ซงึ่ เป็ นแก่นแท ้ทีล
่ ะเอียดลึกซงึ้ โลกพิภพทัง้ มวลมีสงิ่ นั น

เป็ นวิญญาณ สงิ่ นัน ั จะ สงิ่ นั น
้ คือ สจ ้ คือ อาตมัน สงิ่ นั น
้ คือตัวท่าน (6)

5.2 กรรม

โครงสร ้างพืน ิ ดูก็คอ


้ ฐานของเทพปกรณั มของฮน ื การสร ้างโลกโดยการพลีตนเอง
ั ส
ของพระเจ ้า “การพลี” ซงึ่ มีความหมายเดิมว่า “กระทําให้ศกดิ ิ ธิ”์ พระเจ ้าได ้กลายเป็ น
์ ท
โลกและในทีส
่ ด
ุ ได ้กลับเป็ นพระเจ ้าอีกครัง้ กิจกรรมแห่งการสร ้างสรรค์นเี้ รียกว่า ลีลา (lila)
ื เวทีแห่งการแสดงอันศักดิส
การแสดงของพระเจ ้า และโลกก็คอ ิ ธิน
์ ท ์ ี้

เรือ
่ งราวแห่งลีลานีม
้ ล
ี ักษณะเป็ นปาฏิหาริยอ
์ ยูม ่ เรือ
่ ากดังเชน ่ งเกีย
่ วกับเทพของ
ิ ดูทั่ว ๆ ไป พรหมันเป็ นผู ้แสดงปาฏิหาริยผ
ฮน ์ ู ้ยิง่ ใหญ่ โดยได ้แปลงตนเองเป็ นโลก โดย
อาศัย “พล ังสร้างสรรค์อย่างปาฏิหาริย”์ ซงึ่ เป็ นความหมายเดิมของคําว่า มายา (maya)
ในคัมภีรฤ
์ คเวท

คําว่ามายาซงึ่ เป็ นคําสําคัญทีส


่ ด
ุ คําหนึง่ ในปรัชญาอินเดีย ได ้กลายความหมายไป
่ เวลาล่วงเลยไปหลายศตวรรษจาก “พล ัง” หรือ “ อํานาจ” ของพระผู ้สร ้าง กลับ
เมือ
กลายเป็ น สภาวะทางจิตของบุคคลซงึ่ ตกอยูใ่ ต ้อํานาจของปาฏิหาริยข
์ องพรหมัน ในขณะใด
ทีเ่ ราหลงยึดเอารูปลักษณะนับหมืน ั จะ โดยมิได ้
่ นับแสนของลีลาของพระเจ ้าว่าเป็ นสจ
ยอมรับความเป็ นเอกภาพของพรหมันซงึ่ ก่อกําเนิดแก่รป
ู ลักษณ์เหล่านีท
้ ัง้ หมด เรากําลังตก
อยูใ่ ต ้มนต์สะกดของมายา

ดังนัน
้ มายาจึงมิได ้หมายความว่าโลกคือภาพลวง ดังทีก
่ ล่าวกันทั่วไป ภาพลวง
เพียงแต่คงอยูท ้ หากเราคิดว่ารูปร่างและโครงสร ้างสรรพสงิ่ และ
่ ัศนะของเราเท่านัน
เหตุการณ์รอบ ๆ ตัวเราเป็ นสงิ่ ทีแ ่ ะตระหนั กรู ้ว่าสงิ่ เหล่านั น
่ ท ้จริงของธรรมชาติ แทนทีจ ้ เป็ น
เพียงความคิดในการวัดค่าและจําแนกแจกแจงของจิตใจของเราเท่านั น
้ มายาก็คอ
ื ภาพลวง
แห่งการยึดเอาความคิดเหล่านัน
้ ว่าเป็ นความจริงหลงยึดเอาแผนทีว่ า่ เป็ นตัวเขตแดน

ในทัศนะเกีย ิ ดู รูปลักษณ์ทก
่ วกับธรรมชาติของฮน ุ รูปเป็ นสงิ่ สม
ั พันธ์ เลือ
่ นไหล
และเป็ นมายาทีเ่ ปลีย ่ ลอดเวลา สงิ่ เหล่านีถ
่ นแปลงอยูต ้ ก
ู สร ้างขึน
้ ลวงมนุษย์ โดยปาฏิหาริย ์
อันยิง่ ใหญ่ของพระผู ้สร ้าง โลกแห่งมายาเปลีย
่ นแปลงต่อเนือ
่ งกัน เนือ
่ งจากลีลาของพระ
เจ ้า เป็ นการแสดงซงึ่ เคลือ
่ นไหวเป็ นจังหวะ แรงแห่งการเคลือ
่ นไหวของการแสดงนีก
้ ็คอ

กรรม ซงึ่ เป็ นความคิดทีส
่ าํ คัญอีกประการหนึง่ ในแนวคิดของอินเดีย กรรม หมายถึง “การ
กระทํา” เป็ นหลักการอันมีชวี ต
ิ ชวี าของการแสดง จักรวาลทัง้ หมดเป็ นจักรวาลแห่งการ
กระทําซงึ่ ทุก ๆ สงิ่ เชอ
ื่ มโยงอย่างเคลือ
่ นไหวกับสงิ่ อืน
่ ในภาษาของ คีตา “กรรม คือ แรง
กระทําแห่งการสร้างสรรค์ ซงึ่ ให้กา ี ”
ํ เนิดแก่สรรพชพ (7)
่ เดียวกับคําว่ามายา ความหมายของกรรมก็ถก
เชน ู จํากัดลงมาจากความหมาย
ระดับกว ้างขวางทีส ุ ครอบคลุมทัง้ เอกภพ สูร่ ะดับทีเ่ กีย
่ ด ่ วข ้องกับมนุษย์ในแง่จต
ิ วิทยา ตราบ
ใดทีโ่ ลกทัศน์ของเรายังคงมีพน ่ นความแบ่งแยกสรรพสงิ่ ออกเป็ นสว่ น ๆ ตราบ
ื้ ฐานอยูบ
้ แยกจากสงิ่ แวดล ้อม และสามารถกระทําสงิ่
เท่าทีเ่ ราตกอยูใ่ ต ้มนต์ของมายา คิดว่าตัวเรานัน
ใด ๆ ได ้อย่างอิสระ ตราบนัน
้ เรากําลังถูกยึดเหนีย
่ วโดยกรรม การหลุดพ ้นจากกรรม หมายถึง
การตระหนั กรู ้ในเอกภาพและความบรรสานสอดคล ้องของธรรมชาติ ซงึ่ รวมทัง้ มนุษย์ และ
กระทําการต่าง ๆ ให ้สอดคล ้องกับความรู ้นั น ั เจนว่า
้ ในประเด็นนี้ ในคีตาได ้กล่าวไว ้ชด

การกระทําทัง้ มวล เกิดขึน


้ ภายใต ้กาลเวลาโดยการโยงใยของ
แรงกระทําของธรรมชาติ แต่มนุษย์ได ้หลงผิดด ้วยความเห็นแก่ตัว คิดว่าตัว
เขาเองคือผู ้กระทํา แต่สําหรับผู ้ทีร่ ู ้ความสม
ั พันธ์ระหว่างแรงกระทําของ
ธรรมชาติและการกระทํา จะเข ้าใจการกระทําต่อกันและกันของแรงกระทํา
ของธรรมชาติ และไม่ตกเป็ นทาสของมัน (8)

5.3 ความหลุดพ้น

การจะเป็ นอิสระจากมนต์ของมายา การจะหลุดพ ้นจากกรรม หมายถึง การ


ตระหนักรู ้ว่าปรากฏการณ์ทัง้ มวล ซงึ่ เรารับรู ้ด ้วยประสาทสม
ั ผัสของเรานั น
้ เป็ นสว่ นหนึง่ ของ
ั จะเดียวกัน นั่นหมายความว่า ผู ้นัน
สจ ้ จะต ้องประจักษ์ แจ ้งเฉพาะตัวว่า สรรพสงิ่ รวมทัง้ ตัวตน
ของเรา คือ พรหมัน ประสบการณ์แห่งการประจักษ์ แจ ้งนีเ้ รียกว่า โมกษะ (moksha)
ิ ดู
หรือ “ความหลุดพ้น” และเป็ นแก่นแท ้ของศาสนาฮน

ิ ดูถอ
ศาสนาฮน ื ว่ามีวถ
ิ ท
ี างมากมายทีจ ่ วามหลุดพ ้นได ้ ศาสนาฮน
่ ะนํ าเข ้าสูค ิ ดูมไิ ด ้
มุง่ หวังให ้ศาสนิกของตนทัง้ หมดเข ้าถึงพระผู ้เป็ นเจ ้าด ้วยมรรคาสายเดียว ดังนั น
้ จึงมีแนวคิด
พิธก ิ ลายรูปหลายแนว ซงึ่ ให ้ผลแตกต่างกัน ข ้อเท็จจริงทีว่ า่ ความคิด
ี รรม และการปฏิบัตห
และการปฏิบัตห
ิ ลาย ๆ แนวขัดแย ้งกันนั น ิ ดูแม ้แต่น ้อย
้ มิได ้กระทบกระเทือนชาวฮน
เนือ
่ งจากพวกเขารู ้ว่า พรหมันนัน
้ อยูเ่ หนือความคิดและภาพพจน์ในทุก ๆ กรณี จากทัศนคติ
ิ ดูมค
ดังกล่าวนี้ ทําให ้ศาสนาฮน ี วามยืดหยุน
่ และมีความใจกว ้างเป็ นอย่างยิง่

นิกายซงึ่ เปรือ
่ งปราดหลักแหลมทีส ุ ได ้แก่ นิกายเวทานตะ (Vedanta) ซงึ่ มีคํา
่ ด
สอนทีม
่ รี ากฐานอยูบ
่ นคัมภีรอ
์ ป
ุ นิษัท นิกายนีส ่ ค
้ อนเน ้นว่าพรหมันมิใชบ ุ คลและไม่มเี รือ
่ งราว
เกีย
่ วกับเทพทัง้ หลาย อย่างไรก็ตาม ถึงแม ้ว่าจะเป็ นนิกายทีม ี รัชญาสูง ลึกซงึ้ และหลัก
่ ป
ี างแห่งการหลุดพ ้นตามแบบเวทานตะก็แตกต่างจากสํานั กปรัชญา
แหลมเพียงใด วิถท
ตะวันตกอย่างมากมายด ้วยการทําสมาธิภาวนาทุกวันและการปฏิบัตธิ รรมแบบอืน
่ ๆ เพือ
่ นํ า
ตนเข ้ารวมกับพรหมัน

วิธก ่ วามหลุดพ ้นอีกวิธห


ี ารเข ้าสูค ี นึง่ ซงึ่ สําคัญและมีอท
ิ ธิพลมากก็คอ
ื โยคะ
(Yoga) ซงึ่ คํานีม ี วามหมายว่า “ประสาน” “เชอ
้ ค ั ันธ์” และมุง่ หมายถึงการเชอ
ื่ มสมพ ื่ มโยง
ปั จเจกวิญญาณเข ้ากับพรหมัน มีสํานักหรือ “ทาง” ของโยคะมากมาย ซงึ่ รวมเอาการบริหาร
กายพืน
้ ฐานบางประการและระเบียบปฏิบัตท ิ ําหรับประชาชนแต่ละ
ิ างจิต เป็ นแบบปฏิบัตส
แบบแต่ละระดับจิตใจ

5.4 เทพหลายปาง

สําหรับชาวฮน
ิ ดูทั่วไป วิธก
ี ารเข ้าถึงพระผู ้เป็ นเจ ้าทีน
่ ย
ิ มกระทํากันมากทีส
่ ด
ุ คือ
การบูชาเทพและเทพีประจําตัว จินตนาการอันเฟื่ องฟูของชาวอินเดียให ้กําเนิดแก่เทพต่าง ๆ
นับเป็ นพัน ซงึ่ มีลักษณะแตกต่างกันออกไป เทพซงึ่ ได ้รับการนั บถือมากทีส
่ ด
ุ สามองค์ของ
อินเดียในปั จจุบัน คือ พระศวิ ะ พระวิษณุ และพระแม่เจ ้า พระศวิ ะนั บเป็ นเทพทีเ่ ก่าแก่ทส
ี่ ด

องค์หนึง่ ของอินเดีย และปรากฏกายในรูปต่าง ๆ กันมากมาย พระองค์ทรงพระนามว่า
มเหศวร (Mahesvara) หมายถึง พระเจ ้าผู ้เป็ นใหญ่ เมือ
่ ปรากฏในฐานะเป็ นบุคคลแทน
สภาพพรหมันทีส
่ มบูรณ์และยังปรากฏในปางย่อย ๆ ได ้อีกมากมาย ปางทีม
่ ผ
ี ู ้นั บถือกันมาก
์ ู ้เริงรํา ในฐานะผู ้เริงรําแห่งเอกภพ พระศวิ ะเป็ นเทพ
เรียกว่า นาฏราช (Nataraja) กษั ตริยผ
แห่งการสร ้างสรรค์และการทําลาย เป็ นผู ้ซงึ่ ให ้จังหวะแก่การเคลือ ิ้ สุดของ
่ นไหวอันไม่รู ้สน
จักรวาลโดยการเริงรําของพระองค์

พระวิษณุก็ทรงปรากฏกายในรูปต่าง ๆ กัน ปางหนึง่ ก็คอ


ื กฤษณเทพในคัมภีร ์
ภควัทคีตา โดยทั่ว ๆ ไป พระวิษณุทรงทําหน ้าทีเ่ ป็ นผู ้ปกปั กรักษาจักรวาล เทพองค์ทส
ี่ าม
ั ติ (Shakti) พระแม่เจ ้า เป็ นเทพีซงึ่ เป็ นตัวแทนของพลังฝ่ ายหญิงในจักรวาล
คือ ศก
แสดงออกในปางต่าง ๆ กัน

ศักติ ปรากฏในฐานะมเหสข
ี องพระศวิ ะด ้วย และทัง้ สององค์มก
ั ปรากฏเป็ นภาพที่
กําลังสวมกอดซงึ่ กันและกันบนหินสลักของวิหารสําคัญ ๆ เปล่งประกายแห่งความรู ้สก

่ เิ ศษสุด ซงึ่ ไม่เป็ นทีร่ ู ้จักเลยในศล
ในทางกามารมณ์ชนิดทีพ ิ ปะศาสนาของตะวันตก ตรงกัน
้ ปิ ตใิ นกามารมณ์ มิได ้เป็ นสงิ่ ต ้องห ้ามในศาสนาฮน
ข ้ามกับศาสนาของตก ความปลืม ิ ดู
่ งจากร่างกายถือว่าเป็ นสว่ นหนึง่ ของชวี ต
เนือ ิ มนุษย์โดยไม่แยกจากสว่ นจิตวิญญาณ ดังนั น

ิ ดูจงึ มิได ้พยายามทีจ
ชาวฮน ่ ะควบคุมความปรารถนาของกายด ้วยเจตจํานงแน่วแน่ แต่มงุ่
มาดทีจ ิ ดูในยุคกลางได ้เคยมีนก
่ ะเรียนรู ้จักตนเองด ้วยกายและจิตของตน ศาสนาฮน ิ ายย่อย
ทีเ่ รียกว่านิกายตันตระ (Tantrism) ซงึ่ สอนว่าสามารถค ้นพบความรู ้แจ ้งโดยผ่าน
ประสบการณ์แห่งความรักในเชงิ กามารมณ์ “ซงึ่ แต่ละบุคคลก็คอ
ื ทงสอง”
ั้ คัมภีรอ
์ ป
ุ นิษัท
ได ้กล่าวถึงเรือ
่ งนีไ
้ ว ้ว่า

ชายผู ้ซงึ่ สวมกอดภรรยาสุดทีร่ ักของเขา ไม่รับรู ้สงิ่ ใดว่าเป็ นภายในหรือภายนอก


ชายผู ้นี้ เมือ ้ ย่อมไม่รับรู ้สงิ่ ใด ว่าเป็ นภายในหรือ
่ อยูใ่ นวงแขนของวิญญาณอันชาญฉลาดนั น
ภายนอก (9)

พระศวิ ะมักถูกแสดงในรูปลักษณะดังกล่าว รวมทัง้ ศักติ และเทวีองค์อน


ื่ ๆ จํานวน
มาก การทีม
่ เี ทวีจํานวนมากมายนัน ิ ดูถอ
้ ได ้แสดงให ้เห็นอีกครัง้ หนึง่ ว่า ในศาสนาฮน ื ด ้าน
ร่างกายและกามารมณ์อันเป็ นธรรมชาติของมนุษย์ ซงึ่ มักเชอ
ื่ มโยงกับสตรีเสมอนั น
้ เป็ นสว่ น
ิ ดูมไิ ด ้ถูกวาดภาพให ้เป็ นสตรีพรหมจารี แต่ให ้อยูใ่ น
หนึง่ ของพระเจ ้าด ้วย เทวีในศาสนาฮน
การสวมกอดซงึ่ มีความงามอันน่าพิศวง

ั สนได ้อย่างง่ายดายกับเทพและเทวีจํานวน
จิตใจแบบตะวันตกจะเกิดความสบ
ื่ ซงึ่ ปรากฏในเทพปกรณั มของฮน
มากมายเหลือเชอ ิ ดูในรูปลักษณะและอวตารต่าง ๆ กัน นั่ น
ิ ดูรับเอาความหลากหลายของเทพเหล่านีไ
คือจะไม่เข ้าใจว่าชาวฮน ้ ด ้อย่างไร เราต ้อง
ตระหนักถึงทัศนคติพน ิ ดูทวี่ า่ โดยสาระแล ้ว เทพทัง้ มวลนั น
ื้ ฐานของศาสนาฮน ้ มีเอกลักษณ์
ั จะหนึง่ เดียว เป็ นภาพสะท ้อนลักษณะต่าง ๆ
เดียวกัน ทัง้ หมดเป็ นการปรากฏแสดงของสจ
ของพรหมันซงึ่ เป็ นอนันต์ ปรากฏในทุกหนแห่งและโดยปรมัตถ์แล ้ว ไม่อาจเข ้าใจได ้ด ้วย
ความรับรู ้อย่างสามัญ

ภาคที่ 2 มรรคาแห่งศาสนาตะว ันออก

บทที่ 6 พุทธศาสนา

เป็ นเวลาหลายศตวรรษมาแล ้วทีพ


่ ท ี สว่ นใหญ่
ุ ธศาสนาเป็ นศาสนาหลักของเอเชย
รวมทัง้ ประเทศในอินโดจีน ศรีลังกา เนปาล ธิเบต จีน เกาหลีและญีป
่ น ่ เดียวกับศาสนา
ุ่ เชน
ิ ดูในอินเดีย พุทธศาสนามีอท
ฮน ิ ธิพลอย่างมากต่อชวี ต
ิ ในทางสติปัญญาวัฒนธรรม และ
ิ ปะของประเทศเหล่านี้ อย่างไรก็ตาม สว่ นทีแ
ศล ิ ดู ก็คอ
่ ตกต่างไปจาก ฮน ื พุทธศาสนา
เริม ิ ธัตถะโคตมะ ผู ้เป็ นพระพุทธเจ ้า “ในประว ัติศาสตร์” เพียงพระองค์
่ ต ้นจากเจ ้าชายสท
ี อยูใ่ นอินเดียในตอนกลางของศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล
เดียว พระองค์ทรงพระชนม์ชพ
ซงึ่ เป็ นยุคสมัยทีอ
่ จ
ั ฉริยะในทางจิตวิญญาณและปรัชญาเกิดขึน ่ ขงจื๊ อ และ
้ มากมายดังเชน
ี ปิ ทากอรัสและเฮราคลิตัสในกรีก
เหลาจื๊ อในจีน ซาราธุสตระในเปอร์เซย

ถ ้าหากว่ากลิน ิ ดูได ้แก่เรือ


่ อายของศาสนาฮน ่ งราวของ เทพและพิธก
ี รรมต่าง ๆ
กลิน
่ อายของพุทธศาสนาก็คอ
ื จิตวิทยา พระพุทธเจ ้ามิได ้ทรงสนพระทัยทีจ
่ ะสนองตอบ
ความใคร่รู ้ของมนุษย์เกีย
่ วกับกําเนิดของโลก ธรรมชาติของพระเจ ้า หรือปั ญหาในทํานอง
เดียวกันนี้ พระองค์ทรงมุง่ แก ้ไขสภาพของมนุษย์ซงึ่ เต็มไปด ้วยความทุกข์และความผิดหวัง
ดังนัน ่ ําสอนทางอภิปรัชญา แต่เป็ นคําสอนเชงิ จิตบําบัด
้ คําสอนของพระองค์จงึ มิใชค
พระองค์ทรงแสดงเหตุของความทุกข์และวิธท
ี จ
ี่ ะเอาชนะมัน โดยทรงนํ าเอาคําในวัฒนธรรม
่ มายา กรรม นิพพาน และอืน
ของอินเดีย เชน ่ ๆ มาใช ้ โดยให ้ความหมายใหม่ในเชงิ
จิตวิทยา

6.1 แยกออกเป็น 2 นิกาย

ภายหลังการปรินพ
ิ พานของพระพุทธเจ ้า พุทธศาสนาได ้แยกออกเป็ นสองนิกาย
คือหินยานและมหายาน นิกายหินยานหรือยานเล็ก เป็ นนิกายดัง้ เดิมซงึ่ ยึดถือคําสอนในพระ
คัมภีรเ์ ป็ นหลัก สว่ นมหายานหรือยานใหญ่นัน
้ มีทัศนะซงึ่ ยืดหยุน ื่ ว่าเจตนารมณ์
่ กว่า โดยเชอ
ของคําสอนสําคัญมากกว่าพระคัมภีร ์

นิกายหินยานตัง้ มั่นลงในศรีลังกา พม่า และไทย สว่ นมหายานได ้แพร่ขยายไปใน


เนปาล ธิเบต จีน และญีป
่ น ุ่ ทัง้ ได ้กลายเป็ นนิกายสําคัญ ในอินเดียเองพุทธศาสนาได ้ถูก
กลืนหลังพุทธปรินพ ิ ดู ซงึ่ มีลักษณะยืดหยุน
ิ พานโดยศาสนาฮน ่ และรวบรวมทุกสงิ่ และใน
ทีส
่ ด
ุ พระพุทธเจ ้าก็กลายเป็ นปางหนึง่ ของอวตารแห่งวิษณุ เทพ

เมือ ี ก็ได ้สม


่ พุทธศาสนาแบบมหายานแพร่ไปทั่วเอเชย ั ผัสประชาชนในหลาย
วัฒนธรรมหลายจิตใจ ประชาชนได ้ตีความหลักคําสอนของพุทธศาสนาจากทัศนะเดิมของ
ตน หยิบเอาคําสอนทีล ึ ซงึ้ หลายสว่ นมาต่อเติมในรายละเอียดอย่างประณีตบรรจง โดยได ้
่ ก
่ นี้เองทีพ
รวมเอาความคิดของตนเข ้าไว ้ด ้วย ในลักษณะเชน ่ ท ื
ุ ธศาสนาได ้รับการรักษาสบ
ทอดอย่างมีชวี ต
ิ ชวี าตลอดหลายศตวรรษทีผ
่ า่ นมา และได ้พัฒนาปรัชญาซงึ่ ละเอียดลออ
เป็ นอย่างยิง่ ในขณะเดียวกันก็ยังคงความลึกซงึ้ ในเชงิ จิตวิทยาไว ้ด ้วย

้ ะมีความสูงสง่ ในทางสติปัญญามากก็ตาม เชน


แม ้ว่าข ้อปรัชญาเหล่านีจ ่ เดียวกับ
ศาสนาตะวันออกอืน ่ หลงในความเชงิ เก็งความจริง
่ ๆ พุทธศาสนาแบบมหายานก็ไม่เคยลุม
่ งธรรมะ ปั ญญาเป็ นแต่เพียงการตระเตรียมหนทางสําหรับประสบการณ์โดยตรงต่อ
ในเรือ
ั จะ ซงึ่ ชาวพุทธเรียกว่า “การตืน
สจ ่ ” แก่นแท ้ของประสบการณ์นก
ี้ ็คอ
ื อยูเ่ หนือโลกแห่งการ
แบ่งแยกและโลกแห่งสงิ่ ทีเ่ ป็ นของตรงกันข ้ามในความนึกสูโ่ ลกแห่ง อจินไตย ซงึ่ ไม่อาจคิด
คํานึงถึงได ้ ณ ทีน
่ ัน
้ สจ ่
ั จะปรากฏเป็ นความไม่แบ่งแยกแตกต่างแห่ง “ความเป็นเชน
นนเอง”
ั้ (Suchness)

ิ ธัตถะแห่งวงศโ์ คตมะได ้รับในคืนหนึง่ หลังจาก


นีเ่ ป็ นประสบการณ์ทเี่ จ ้าชายสท
การปฏิบัตธิ รรมอย่างพากเพียรในป่ าเป็ นเวลาถึงเจ็ดปี ในขณะทีท
่ รงประทับนั่ งอยูใ่ นสมาธิ
ภาวนาอันลึกซงึ้ ใต ้ต ้นโพธิ์ – ต ้นไม ้แห่งการตรัสรู ้ พระองค์ทรงบรรลุความรู ้อันกระจ่างชด
ั ซงึ่
ขจัดความกังขาและเป็ นจุดหมายแห่งกายแสวงหาของพระองค์ได ้ ในการตืน
่ ขึน
้ อย่าง
้ ด ้กระทําให ้พระองค์กลายเป็ นพระพุทธเจ ้า ซงึ่ มีความหมายว่า “ผูต
สมบูรณ์เป็ นเลิศนีไ ้ น
ื่
อย่างสมบูรณ์” สําหรับ โลกตะวันออกแล ้ว พระพุทธรูปปางสมาธิถอ ่ ําคัญ
ื เป็ นรูปเคารพทีส
พอ ๆ กับรูปพระเยซูบนไม ้กางเขนสําหรับชาวตะวันตก และได ้เป็ นแรงบันดาลใจให ้กับ
ิ ปิ นนับจํานวนไม่ถ ้วนทั่วทั่งเอเชย
ศล ี ในการสร ้างพระพุทธรูปปางสมาธิทงี่ ดงามยิง่

ั ี่
6.2 อริยสจส

ตามพุทธประวัตน
ิ ัน ิ ตนมฤคทายวันแขวงเมือง
้ พระพุทธเจ ้าเสด็จไปยังป่ าอิสป
ี ันทีหลังการตรัสรู ้ของพระองค์ เพือ
พาราณสท ่ เทศนาโปรดปั ญจวัคคีย ์ พระองค์ทรงแสดง
ั ส ี่ ซงึ่ สรุปแก่นคําสอนของพระองค์ในลักษณะเดียวกับทีแ
หลักอริยสจ ่ พทย์กระทําในการ
รักษาผู ้ป่ วย คือประการแรก ค ้นหาสมุฏฐานโรคของมนุษย์จากนั น
้ ก็ยน
ื ยันว่าความเจ็บป่ วย
นัน
้ สามารถรักษาให ้หายได ้ และท ้ายทีส
่ ด
ุ ก็ประกอบยาให ้รับประทาน
ั ข ้อแรก แสดงลักษณะสภาวะของมนุษย์ อันได ้แก่ ทุกข์ คือความทุกข์ทน
อริยสจ
และความผิดหวัง สงิ่ เหล่านีเ้ กิดขึน ่ งจากเราไม่ยอมรับความจริงของชวี ต
้ เนือ ิ ทีว่ า่ สรรพสงิ่
รอบตัวเราล ้วนไม่เทีย ่ นแปลงไป พระพุทธเจ ้าตรัสว่า “สรรพสงิ่ ย่อมเกิดขึน
่ งและเปลีย ้
และด ับไป” (1)

ความคิดทีว่ า่ ธรรมชาติมล
ี ักษณะเลือ
่ นไหลเปลีย
่ นแปลงนั บเป็ นรากฐานของพุทธ
ศาสนา ในทัศนะของชาวพุทธ ความทุกข์เกิดขึน ่ เราต ้านกระแสของชวี ต
้ เมือ ิ และพยายามยึด
เหนีย
่ วเอารูปลักษณ์อันใดอันหนึง่ อย่างตายตัว ทัง้ ทีท
่ ัง้ หมดนั น
้ ล ้วนเป็ นมายา ไม่วา่ จะเป็ น
สงิ่ ของ เหตุการณ์ บุคคล หรือความคิดก็ตาม คําสอนเรือ
่ งความไม่เทีย
่ ง รวมไปถึงความคิด
ทีว่ า่ ไม่มต ี ัตตาซงึ่ เทีย
ี ัวตน ไม่มอ ่ งแท ้ถาวรเป็ นผู ้รับรู ้ประสบการณ์ทัง้ หลายของเรา

พุทธศาสนาถือว่าความคิดเรือ
่ งอัตตาของปั จเจกบุคคลเป็ นเพียงภาพลวง เป็ นอีก
รูปหนึง่ ของมายา เป็ นความคิดนึกทีเ่ ฉลียวฉลาดแต่หาความจริงไม่ได ้ การยึดติดกับ
ความคิดนีน ่ วามพลาดหวังเชน
้ ํ าไปสูค ่ เดียวกับการยึดติดกับความคิดลักษณะอืน
่ ๆ

ั ข ้อทีส
อริยสจ ่ อง กล่าวถึงสาเหตุแห่งความทุกข์ คือ ตัณหา ความยึดอยาก การ
จับฉวยเอาด ้วยความอยาก การไขว่คว ้าอย่างไร ้ประโยชน์ของชวี ต
ิ อันเนือ
่ งมาจากทัศนะที่
ผิดซงึ่ เรียกว่า อวิชชา หรือความไม่รู ้ จากอวิชชาเราได ้แบ่งโลกซงึ่ เรารับรู ้ออกเป็ นปั จเจกชน
และสงิ่ ต่าง ๆ ทีแ
่ ยกจากกัน ดังนัน
้ จึงพยายามทีจ ั จะซงึ่ มีลักษณะ
่ ะจํากัดขอบเขตของสจ
เลือ
่ นไหล ให ้อยูล
่ ก
ั ษณะคงทีต
่ ามทีจ
่ ต
ิ ในของเราสร ้างขึน
้ ตราบเท่าทีท ่ นีย
่ ัศนะเชน ้ ังคงอยู่
เราก็ตกอยูภ
่ ายใต ้ความทุกข์ทนวนเวียน เมือ
่ เราพยายามทีจ ่ ับสงิ่ ซงึ่ เราเห็นว่ามั่นคง
่ ะยึดอยูก
และเทีย ่ ริงมันเป็ นสงิ่ คงอยูช
่ งแท ้ ทัง้ ทีจ ่ วั่ ครัง้ ชวั่ คราวและเปลีย
่ นแปลงตลอดเวลา เราก็ถก

จับอยูใ่ นวังวนซงึ่ ทุก ๆ การกระทําก่อให ้เกิดการกระทําต่อไปอีก และคําตอบต่อทุกคําถาม
แฝงไว ้ด ้วย คําถามใหม่ วังวนอันนีใ้ นพุทธศาสนาเรียกว่า สงั สารวัฏ วังวนแห่งการเกิดและ
่ ห่งเหตุและผลอันไม่รู ้จบ
การตาย ถูกผลักดันให ้หมุนไปโดย กรรม ลูกโซแ

ั ข ้อทีส
อริยสจ ่ าม กล่าวว่าความทุกข์ความพลาดหวังอาจทําให ้หมดไปได ้เป็ นไป
ได ้ทีเ่ ราจะก ้าวพ ้นวังวนแห่งสงั สารวัฏ หลุดพ ้นจากกรรมและลุถงึ ภาวะแห่งความหลุดพ ้นที่
เรียกว่า นิพพาน ในภาวะนิพพาน ความคิดทีผ
่ ด ่ งตัวตนซงึ่ เป็ นเอกเทศได ้มลาย
ิ พลาดในเรือ
ี ปรากฏขึน
ไป และความเป็ นหนึง่ เดียวของสรรพชพ ้ อย่างคงทีใ่ นความรับรู ้ นิพพานเทียบเท่า
ิ ดู เป็ นภาวะการรับรู ้ทีไ่ ปพ ้นปั ญญาอย่างสามัญ และท ้าทายต่อ
กับโมกษะในปรัชญาฮน
คําอธิบายอีกมากมาย การบรรลุนพ
ิ พานคือการบรรลุถงึ ความตืน
่ หรือพุทธภาวะ

ั ข ้อทีส
อริยสจ ่ ี่ คือ โอสถของพระพุทธเจ ้าซงึ่ ใชบํ้ าบัดรักษาความทุกข์ทัง้ มวล นั่ น
่ ท
คือ อริยมรรคมีองค์แปด หนทางแห่งการพัฒนาตนเองสูพ ุ ธภาวะ องค์มรรคสองแรกคือ
ั มาทิฐแ
สม ั มาสงั กัปปะ นั่นคือญาณทัสนะทีก
ิ ละสม ั สอ
่ ระจ่างชด ่ งเข ้าไปภายในสภาวะของ
มนุษย์ อันเป็ นจุดเริม
่ ต ้นทีจ ี่ ้อต่อมาเป็ นเรือ
่ ําเป็ น องค์มรรคสข ่ งการกระทําทีถ
่ ก
ู ต ้อง อัน
ประกอบขึน ี วี ต
้ เป็ นวินัยของวิถช ิ ของชาวพุทธ เป็ นทางสายกลางระหว่างทางสุดโต่งสองสาย
ั มาสติและสม
องค์มรรคสองข ้อสุดท ้าย คือ สม ั มาสมาธิ ในตอนท ้ายได ้บรรยายถึง
ั จะ ซงึ่ เป็ นเป้ าหมายสุดท ้ายของมนุษย์
ประสบการณ์โดยตรงต่อสจ

่ นนเอง
6.3 ตถตา ความเป็นเชน ั้

พระพุทธเจ ้ามิได ้ทรงพัฒนาหลักธรรมของพระองค์ให ้เป็ นหลักปรัชญาทีต


่ ายตัว
แต่ทรงถือเป็ นหนทางสําหรับการตรัสรู ้ คําสอนของพระองค์เกีย
่ วกับโลกได ้เน ้นให ้เห็นความ
่ งของสรรพสงิ่ พระองค์ยังทรงยํ้าถึงการเป็ นอิสระจากผู ้สอนธรรมซงึ่ รวมทัง้ พระองค์
ไม่เทีย
ี้ างไปสูพ
เองด ้วย โดยตรัสว่าพระองค์เพียงชท ่ ท
ุ ธภาวะและปั จเจกชนแต่ละคนต ้องเดินไปสู่
จุดหมายด ้วยความพยายามของตนเอง ปั จฉิมโอวาทของพระองค์กอ
่ นปรินพ
ิ พานแสดงให ้
เห็นลักษณะสําคัญของทัศนะต่อโลกของพระองค์ และความเป็ นครูซงึ่ มีจนวาระสุดท ้าย
พระพุทธเจ ้าทรงตรัสเป็ นครัง้ สุดท ้ายว่า “สงั ขารทัง้ หลายมีความเสอ
ื่ มไปเป็ นธรรมดา เธอ
ทัง้ หลายจงทํากิจให ้ถึงพร ้อมด ้วยความไม่ประมาท” (2)

ิ พาน ได ้มีมหาสงั คายนาหลายครัง้ โดย


ในสองสามศตวรรษแรกหลังพุทธปรินพ
ั ้ นํ าในสมัยนัน
พระเถระชน ้ ได ้มาประชุมกันจัดทบทวนวางหลักคําสอนให ้แน่นอนเป็ นอันหนึง่
อันเดียวกัน ในมหาสงั คายนาครัง้ ทีส ี่ เี่ กาะลังกา (ศรีสงั กา) ศตวรรษแรกของคริสตกาล
่ ท
ื ทอดกันมาด ้วยปากก็ได ้ถูกบันทึกลงเป็ นตัวอักษรเป็ นครัง้ แรกในภาษา
หลักธรรมทีเ่ คยสบ
บาลี รู ้จักกันในนามพระไตรปิ ฎกฉบับบาลี และเป็ นรากฐานของนิกายหินยาน

ในทางตรงกันข ้าม นิกายมหายานได ้มีรากฐานอยูบ


่ นพระสูตรจํานวนหนึง่ บันทึก
ั สกฤต ในราวหนึง่ ร ้อยถึงสองร ้อยปี ตอ
ด ้วยภาษาสน ่ มา บรรจุคําสอนของพระพุทธองค์ได ้
อย่างประณีตบรรจงและลึกซงึ้ กว่าพระไตรปิ ฏกบาลี

นิกายมหายานเรียกตนเองว่ายานใหญ่ (The Great Vehicle) เพราะได ้เสนอ


วิธก ี ฏิบ ัติดว้ ยความชํานิชํานาญ” เพือ
ี าร หรือ “วิธป ่ บรรลุถงึ พุทธภาวะมากมากหลายวิธ ี
แก่ผู ้รับคําสอนของตน คําสอนเหล่านีแ
้ ตกต่างกันออกไป ตัง้ แต่ทเี่ น ้นความศรัทธาในคํา
่ ะเอียดลึกซงึ้ ซงึ่ มีแนวคิดทีเ่ ข ้ามาใกล ้
สอนของพระพุทธองค์ จนกระทั่งถึงหลักปรัชญาทีล
แนวคิดทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่เป็ นอย่างมาก

บุคคลแรกทีอ
่ ธิบายหลักคําสอนตามแนวมหายาน และเป็ นนักคิดทีล ึ ซงึ้ ทีส
่ ก ่ ด
ุ ผู ้
หนึง่ ในหมูพ ื ท่านอัศวโฆษา (Ashvaghosha) ซงึ่ มีชวี ต
่ ระเถระของพุทธศาสนาก็คอ ิ อยู่
ในชว่ งศตวรรษแรกของคริสตกาล ท่านได ้อธิบายแนวความคิดพืน
้ ฐานของพุทธศาสนาแบบ
มหายาน โดยเฉพาะในหลักธรรมเรือ ่ นนเอง”
่ ง “ความเป็นเชน ั้ ื เล่มเล็ก ๆ
ในหนั งสอ
ื่ “การตืน
ชอ ้ ของศร ัทธา” (The Awakdning of Faith) เป็ นคัมภีรท
่ ขึน ้
์ ใี่ ชภาษาซ งึ่
สละสลวยมากและเข ้าใจง่าย คัมภีรเ์ ล่มนีค
้ ล ้ายกับคัมภีรภ
์ ควัทคีตาในหลาย ๆ เรือ
่ ง เป็ น
คัมภีรเ์ ล่มแรก ซงึ่ ถือว่าแสดงหลักธรรมของมหายาน และยอมรับกันว่าเป็ นคัมภีรห
์ ลักของ
ทุกนิกาย ของพุทธศาสนาแบบมหายาน
ท่านอัศวโฆษาอาจจะเป็ นผู ้ทีม
่ อ
ี ท
ิ ธิพลอย่างมากต่อท่านนาคารชุน นั กปรัชญา
ของมหายานซงึ่ ทรงภูมป
ิ ั ญญาทีส ุ ท่านนาคารชุนได ้ใชวิ้ ธวี เิ คราะห์เหตุและผล อย่าง
่ ด
ละเอียดลออในการแสดงข ้อจํากัดของความคิดทัง้ มวลเกีย ั จะ ท่านได ้หักล ้างข ้อ
่ วกับสจ
โต ้แย ้งทางอภิปรัชญาในยุคของท่านได ้อย่างชาญฉลาดและได ้แสดงให ้เห็นว่า โดยปรมัตถ์
ั จะมิใชเ่ ป็ นสงิ่ ทีจ
แล ้ว สจ ่ ับฉวยเอาได ้ด ้วยความคิด ดังนั น ั จะนัน
้ ท่านจึงเรียกสจ ้ ว่า สุญตา –
่ นนเอง”
ความว่าง ซงึ่ มีความหมายตรงกันกับคําว่า “ตถตา” หรือ “ความเป็นเชน ั้ ของ
ท่านอัศวโฆษา เมือ ั จะแห่งความ
่ ระลึกได ้ถึงความไร ้สาระของความคิดนึก เราจะประจักษ์ สจ
่ นัน
เป็ นเชน ้ เอง

6.4 เมตตาและกรุณา

ั จะคือความว่างนัน
คําสอนของท่านนาคารชุนทีว่ า่ ธรรมชาติแท ้ของสจ ้ มิได ้
หมายถึงความสาบสูญอย่างทีเ่ ข ้าใจกันเพียงแต่วา่ หมายความว่าความคิดทุกชนิดเกีย
่ วกับ
ั จะทีจ
สจ ่ ต ้ โดยแท ้จริงเป็ นสงิ่ ว่างเปล่า สจ
ิ ใจของมนุษย์สร ้างขึน ั จะหรือความว่างเปล่า มิใช ่
ี ะไรแต่กลับเป็ นแหล่งกําเนิดของทุกชวี ต
ภาวะแห่งความไม่มอ ิ และเป็ นแก่นแท ้ของ
รูปลักษณ์ทัง้ มวล

ทัศนะของพระพุทธศาสนาแบบมหายานดังทีไ่ ด ้กล่าวมาแล ้วนั น


้ สะท ้อนถึงด ้านที่
เป็ นปั ญญาและการคํานึงคํานวณ อย่างไรก็ตามนีเ่ ป็ นเพียงด ้านเดียวของพุทธศาสนา อีก
ด ้านหนึง่ ซงึ่ เสริมกันคือ ด ้านของศรัทราเมตตาและกรุณา ปั ญญาญาณแห่งการตรัสรู ้ที่
แท ้จริง (โพธิ) ย่อมประกอบด ้วยคุณลักษณะสองประการซงึ่ ดี.ที. สซ
ึ ก
ึ ิ เรียกว่า “สองเสา
หล ักซงึ่ รองร ับมหาวิหารแห่งพุทธศาสนา” นั่ นคือปั ญญาญาณทัศนะซงึ่ ไปพ ้นความรู ้
จากการนึกคิดอย่างสามัญ และ กรุณาความรักและความปรารถนาจะชว่ ยผู ้อืน

ประการต่อมา ในพุทธศาสนาแบบมหายานนั น
้ มิได ้อธิบายธรรมชาติแท ้ของสรรพ
่ นนเอง
สงิ่ ด ้วยเพียงคําว่า ความเป็นเชน ั้ ้ แต่ยังใชคํ้ าว่าธรรมกาย-
และ ความว่าง เท่านั น
กายแห่งสภาวะ ซงึ่ หมายถึงสจ
ั จะ ในสภาพทีป
่ รากฏแก่ชาวพุทธในขณะทีป
่ ฏิบต
ั ธิ รรม
ิ ดู สงิ่ นีแ
ธรรมกาย มีความหมายคล ้ายคลึงกับ พรหมัน ในศาสนาฮน ึ อยูใ่ นทุกสงิ่ ใน
้ ทรกซม
จักรวาล และในจิตใจมนุษย์ในรูปของ โพธิ-ปั ญญาแห่งการตรัสรู ้ ดังนั น
้ จึงเป็ นทัง้ จิตใจและ
วัตถุในขณะเดียวกัน

่ งุ่ เน ้นให ้ เมตตา และ กรุณา เป็ นสว่ นประกอบสําคัญของปั ญญา ได ้


คําสอนทีม
ั ว์ ซงึ่ เป็ นพัฒนาการอย่างหนึง่ ของ
แสดงออกอย่างสูงสุดในอุดมคติแห่งพระโพธิสต
ั ว์คอ
พระพุทธศาสนาแบบมหายาน พระโพธิสต ื ผู ้ทีไ่ ด ้วิวฒ ่ งู สง่ พร ้อมทีจ
ั น์มาในสภาวะทีส ่ ะ
่ ท
เข ้าสูพ ิ ตนกับการชว่ ยเหลือผู ้อืน
ุ ธภาวะ ทว่าไม่ยอมตรัสรู ้โดยลําพังตน แต่ได ้อุทศ ่ ให ้เข ้าสู่
พุทธภาวะ ก่อนทีต ่ พ
่ นเองจะได ้เข ้าสูน ิ พาน ต ้นกําเนิดของความคิดนี้ ตัง้ อยูบ ิ
่ นการตัดสน
พระทัยของพระพุทธองค์ ทีจ ่ พ
่ ะไม่เข ้าสูน ิ พาน แต่จะกลับมาสูโ่ ลก เพือ ่ วาม
่ แสดงหนทางสูค
หลุดพ ้นแก่เพือ
่ นมนุษย์
ั ว์ สอดคล ้องกับคําสอนเรือ
อุดมคติของพระโพธิสต ่ งไม่มต
ี ัวตนของ
พระพุทธศาสนา เพราะว่าเมือ ี ัวตนแห่งปั จเจกชนซงึ่ แยกจากสรรพสงิ่ ความคิดทีว่ า่ จะ
่ ไม่มต
่ พ
เข ้าสูน ั แจ ้ง
ิ พานโดยลําพังดูจะไร ้ความหมายอย่างชด

6.5 การพ ัฒนา

ท ้ายทีส
่ ด
ุ หลักศรัทธาได ้รับการสอนเน ้นในนิกายสุขาวดี คําสอนของนิกายนี้มพ
ี น
ื้
อยูบ
่ นหลักธรรมทีว่ า่ ธรรมชาติเดิมแท ้ของมนุษย์คอ
ื ธรรมชาติแห่งการเป็ นพุทธะ ดังนั น
้ นิกาย
นีจ ่ พ
้ งึ ถือว่าในการจะเข ้าสูน ิ พาน หรือ “แดนสุขาวดี” สงิ่ ทีท
่ ก
ุ คนจะต ้องกระทําคือ ให ้มี
ศรัทธามั่นคงในธรรมชาติเดิมแห่งความเป็ นพุทธะของตน

ปราชญ์หลายท่านได ้กล่าวว่า ความคิดฝ่ ายพุทธะได ้ถึงจุดสูงสุดในนิกายอวตังสก


ซงึ่ ยึดพระสูตรชอ
ื่ เดียวกันเป็ นหลัก พระสูตรนีถ
้ อ
ื กันว่าเป็ นแก่นของพระพุทธศาสนาแบบ
ึ ก
มหายาน และได ้รับการยกย่องจากสซ ึ ด
ิ ้วยคําพูดซงึ่ แสดงถึงแสดงถึงศรัทราอย่างแรงกล ้า
ว่า

“อวต ังสกสูตรน ับเป็นสุดยอดแห่งความคิด ความรูส ึ และประสบการณ์


้ ก
ํ หร ับใจข้าพเจ้า นนไม่
แบบพุทธ สา ั้ มคี ัมภีรศ
์ าสนาเล่มใดทีเ่ ข้าถึงความยิง่ ใหญ่ของ
ความคิดความลึกซงึ้ แห่งอารมณ์ และความมโหฬารแห่งองค์ประกอบ ได้เท่าก ับ
พระสูตรนี้ เป็นนํา้ พุแห่งชวี ต
ิ ซงึ่ พวยพุง
่ อยูต
่ ลอดเวลา ไม่มจ ิ ใจซงึ่ แสวงหาธรรม
ี ต
ดวงใดเมือ
่ ได้ดม ้ี ล้ว จะกล ับกระหายหรือพึงพอใจเล็กน้อย”
ื่ นํา้ พุนแ

พระสูตรนีไ ่ ําคัญต่อชาวจีนและญีป
้ ด ้เป็ นแรงเร ้าทีส ่ น ุ่ ในเมือ
่ พุทธศาสนาแบบ
ี ความแตกต่างระหว่างชาวจีนและญีป
มหายานได ้แพร่ไปทั่วเอเชย ่ นกั ุ่ บชาวอินเดียมีมาก จน
กล่าวกันว่าทัง้ สองฝ่ ายเปรียบได ้กับสองด ้านซงึ่ แตกต่างกันในจิตใจมนุษย์ ในขณะทีช
่ าวจีน
และญีป
่ นมี ิ ใจทีเ่ ป็ นนักปฏิบัต ิ เอาจริงเอาจังและถูกหล่อหลอมโดยสงั คม ชาวอินเดียกลับ
ุ่ จต
มีจต ่ งลึกซงึ้ พ ้นวิสย
ิ ใจทีเ่ ต็มไปด ้วยจินตนาการสนใจในอภิปรัชญา และเรือ ั สามัญ เมือ
่ นั ก
ปรัชญาจีนและญีป
่ นเริ
ุ่ ม ่ แปลและตีความอวตังสกสูตร ซงึ่ เป็ นคัมภีรท
์ ย
ี่ งิ่ ใหญ่ทส
ี่ ด
ุ ทีป
่ ระพันธ์
้ โดยอัจฉริยะทางธรรมชาวอินเดีย ซงึ่ สองด ้านของจิตใจได ้หล่อหลอมรวมกันเป็ น
ขึน
เอกภาพซงึ่ มีลักษณะเป็ นพลวัตอันใหม่ กลายเป็ นปรัชญา ฮัว-เอีย
้ น ในจีน และปรัชญา คี
กอน ในญีป
่ น ุ่ ซงึ่ สซ ึ ิ ถือว่าเป็ น “จุดยอดของความคิดแบบพุทธ ซงึ่ ได้ร ับการพ ัฒนา
ึ ก
มาในตะว ันออกไกล ในระยะเวลาสองพ ันปี ทีผ
่ า
่ นมา”

แก่นกลางของพระสูตรนีค
้ อ ื่ มโยงสม
ื เอกภาพและความเชอ ั พันธ์กันของสรรพสงิ่
้ ใิ ชเ่ ป็ นแก่นแท ้ของโลกทัศน์แบบตะวันออกเท่านั น
และเหตุการณ์ ความคิดนีม ้ แต่ยังเป็ น
้ ฐานอันหนึง่ ของโลกทัศน์ซงึ่ พัฒนามาจากฟิ สก
พืน ิ สส
์ มัยใหม่ดังนั น
้ จะเห็นได ้ว่า อวตังสก
สูตรอันเป็ นคัมภีรโ์ บราณเล่มนี้ เสนอแนวคิดซงึ่ คูข
่ นานไปกับแบบจําลองและทฤษฎีของวิชา
ิ สส
ฟิ สก ์ มัยใหม่

บทที่ 7 ปร ัชญาจีน
่ พระพุทธศาสนาแผ่มาถึงประเทศจีนในชว่ งศตวรรษแรกของคริสตกาล ก็ได ้
เมือ
ปะทะสงั สรรค์กับวัฒนธรรมซงึ่ มีอายุเก่าแก่กว่าสองพันปี ในวัฒนะธรรมโบราณนีค
้ วามคิด
เชงิ ปรัชญาได ้ถึงจุดสมบูรณ์สด
ุ ยอดในปลายราชวงศโ์ จว ซงึ่ นั บเป็ นยุคทองของปรัชญาจีน
และก็ยังเป็ นทีน
่ ับถืออย่างสูงสุดเรือ
่ ยมา

ตัง้ แต่แรกเริม ่ รัชญาจีนมีสองลักษณะทีเ่ สริมซงึ่ กันและกัน


่ เลยทีเดียวทีป
เนือ ิ ละมีสํานึกทางสงั คมสูง ดังนั น
่ งจากชาวจีนเป็ นผู ้นิยมการปฏิบัตแ ้ ปรัชญาทุกสํานั กของ
่ วกับการดําเนินชวี ต
จีนจึงสอนเกีย ิ ในสงั คม มนุษยสม
ั พันธ์ คุณค่าทางศล
ี ธรรมและรัฐบาล
ี เี่ ป็ นเพียงด ้านหนึง่ อีกด ้านหนึง่ เป็ นสว่ นคําสอนทีล
ในทางใดทางหนึง่ อย่างไรก็ดน ึ ซงึ้ ซงึ่
่ ก
ี้ นะว่าจุดหมายสูงสุดของปรัชญานัน
ชแ ้ อยูเ่ หนือสงั คมโลกและชวี ต
ิ ประจําวัน คือการเข ้าสู่
่ งู สง่ ซงึ่ เป็ นระดับของนักปราชญ์ผู ้รู ้แจ ้งทัง้ หลาย ผู ้บรรลุถงึ ความเป็ นเอกภาพ
สภาวะจิตทีส
ของจักรวาล

อย่างไรก็ตามนักปราชญ์ของจีนนั น
้ มิได ้ดํารงอยูเ่ ฉพาะในภูมแ ่ งู สง่
ิ ห่งจิตทีส
เท่านัน
้ ทว่ายังคงเกีย
่ วข ้องกับเรือ
่ งราวทางโลกอยูเ่ ท่า ๆ กันในตัวท่านมีทัง้ ด ้านทีเ่ ป็ น
ิ ารทางสงั คม
ปั ญญาญาณและความรู ้แห่งการปฏิบัต ิ ความสงบระงับ และปฏิบัตก
่ นีไ
คุณลักษณะเชน ้ ด ้ปรากฏในคุณลักษณะของนั กปราชญ์และพระจักรพรรดิ จางจือ
้ กล่าว
้ “เมือ
ไว ้ว่ามนุษย์ผู ้รู ้แจ ้งอย่างสมบูรณ์นัน ่ สงบนิง่ อยูท
่ า
่ นคือปราชญ์ หากเมือ
่ เคลือ
่ นไหว
ท่านคือจ ักรพรรดิ”

ในระหว่างศตวรรษที่ 6 ก่อนคริศตกาล ปรัชญาจีนในสองลักษณะดังกล่าวได ้


่ รัชญาสองสํานั กทีแ
พัฒนาสูป ั เจนคือ ลัทธิขงจือ
่ ยกกันชด ้ และลัทธิเต๋า

ลัทธิขงจือ ี่ ัดการองค์กรทางสงั คม เป็ นปรัชญาแห่งสามัญสํานึกและ


้ เป็ นลัทธิทจ
ความรู ้ในการดําเนินชวี ต
ิ ลัทธิขงจือ ึ ษาของสงั คมจีนและ
้ ได ้เป็ นรากฐานของระบบการศก
ี ธรรมจรรยาทีแ
ค่านิยมในทางศล ่ ข็งแกร่ง ความมุง่ หมายสําคัญประการหนึง่ คือการ
วางรากฐานทางจริยธรรมสําหรับระบบครอบครัวของจีน ด ้วยคําสอนซงึ่ มีโครงสร ้างที่
ั ซอนและพิ
ซบ ้ ธก ุ ในทางตรงกันข ้าม ลัทธิเต๋ามุง่ การสงั เกตธรรมชาติ
ี รรมการบูชาบรรพบุรษ
และการค ้นหาวิถข
ี องธรรมชาติ หรือเต๋า ความสุขของมนุษย์ในทัศนะของเต๋าเกิดจากการที่
มนุษย์ดําเนินตามกฎของธรรมชาติ กระทําการต่าง ๆ สอดคล ้องกับธรรมชาติอย่างเป็ นไป
ื่ มั่นในญาณปั ญญา
เอง และเชอ

้ ก ับเต๋า
7.1 ขงจือ

สองแนวคิดนีไ
้ ด ้แทนขัว้ ตรงกันข ้ามในปรัชญาจีน แต่ในประเทศจีนถือว่าเป็ นขัว้
เดียวกัน ดังนัน ่ ง่ เสริมซงึ่ กันและกัน โดยทั่วไปลัทธิขงจือ
้ จึงอยูใ่ นฐานะทีส ้ จะเน ้นที่
ึ ษาของเยาวชน ซงึ่ จะต ้องเรียนรู ้กฎระเบียบและค่านิยมทีจ
การศก ่ ําเป็ นสําหรับการดําเนิน
ชวี ต
ิ ในสงั คม ในขณะทีล
่ ัทธิเต๋าจะมีผู ้สูงอายุยด
ึ ถือปฏิบัต ิ มุง่ ทีจ
่ ะแสวงหาและพัฒนาความ
เป็ นไปเองตามธรรมชาติในชวี ต
ิ ซงึ่ มีอยูเ่ ดิมแล ้ว แต่ได ้ถูกทําลายไปโดยค่านิยมทางสงั คม
ในศตวรรษที่ 11 และ 12 ลัทธิขงจือ ่ ะสงั เคราะห์ลัทธิขงจือ
้ แนวใหม่ได ้พยายามทีจ ้ พุทธ
ศาสนา และลัทธิเต๋าเข ้าด ้วยกัน ก่อกําเนิดเป็ นปรัชญาของจูส ี นั กคิดผู ้ยิง่ ใหญ่คนหนึง่ ของ
จีน จูสเี ป็ นนักปราชญ์ทส
ี่ าํ คัญ ซงึ่ รวมเอาความเป็ นนั กศก
ึ ษาของขงจือ
้ เข ้ากับการเข ้าใจ
ชวี ต
ิ อย่างลึกซงึ้ ตามแนวพุทธและเต๋า สงั เคราะห์ขน
ึ้ เป็ นปรัชญาของตน

ลัทธิขงจือ ื่ ตามท่าน กังฟูจอ


้ ตัง้ ชอ ื้ หรือ ขงจือ
้ ผู ้เป็ นครูเป็ นทีเ่ คารพนั บถืออย่าง
สูงและมีลก ิ ย์ลก
ู ศษ ู หาเป็ นจํานวนมาก ขงจือ ่ ระการสําคัญ ในการ
้ มีเป้ าหมายหรือหน ้าทีป
ถ่ายทอดมรดกแห่งวัฒนธรรมโบราณแก่ลก ิ ย์ของตน อย่างไรก็ตาม ขงจือ
ู ศษ ้ ได ้ปฏิเสธ
วิธก
ี ารถ่ายทอดความรู ้ทีส ื กันมาแบบปรัมปรา โดยตีความประเพณีตา่ ง ๆ ตามความคิดทาง
่ บ
ี ธรรมของตนเอง
ศล

คําสอนของขงจือ
้ มีรากฐานอยูบ
่ นคัมภีรส ุ ยอดทัง้ หก ซงึ่ เป็ นคัมภีรโ์ บราณอัน
์ ด
บรรจุอยูด
่ ้วยปรัชญา พิธก
ี รรม กวีนพ
ิ นธ์ ดนตรี และประวัตศ
ิ าสตร์ ถือเป็ นมรดกทางจิตใจ
ื่ กันว่าขงจือ
และวัฒนธรรมของนักปราชญ์ของจีนในอดีต ตามธรรมเนียมของจีนเชอ ้ เป็ น
ึ ษาสมัยใหม่ไม่ยอมรับเชน
ผู ้ประพันธ์ ผู ้วิจารณ์ และผู ้จัดทําคัมภีรเ์ หล่านี้ แต่นักศก ่ นั น

ความคิดของขงจือ
้ เองเริม
่ เป็ นทีร่ ู ้จักกันในคัมภีร ์ ลุน
่ อวี้ (Lun Yu) หรือคัมภีรห
์ ลักลัทธิขงจือ

ซงึ่ รวบรวมสรุปคําสอนต่างๆโดยลูกศษ
ิ ย์บางคนของขงจือ

ผู ้เป็ นปรมาจารย์ของลัทธิเต๋าก็คอ
ื เหล่าจือ ื่ ของท่านมีความหมาย
้ ชอ
ว่า “อาจารย์ผเู ้ ฒ่า” ท่านเป็ นคนร่วมสมัยกับขงจือ
้ ทว่ามีอายุมากกว่า เป็ นทีย
่ อมรับกัน
ทั่วไปว่า เหลาจือ
้ เป็ นผู ้รจนาคัมภีรส ั ้ ๆ ซงึ่ รวมคําสอนสําคัญของเต๋าเอาไว ้ ในประเทศจีน
์ น
โดยทั่วไปเรียกคัมภีรเ์ ล่มนีว้ า่ เหลาจือ
้ และในตะวันตกเรียกคัมภีรเ์ ล่มนีว้ า่ เต๋าเตอจิง
แปลว่า “จินตกวีนพ ี างและอํานาจ” ซงึ่ เป็ นชอ
ิ นธ์แห่งวิถท ื่ ทีเ่ รียกกันภายหลัง ข ้าพเจ ้าได ้
เอ่ยถึงวิธก ่ กผันผิดธรรมดา และสํานวนภาษาทีท
ี ารเขียนทีผ ่ รงพลังในท่วงทํานองของกวี
นิพนธ์ของคัมภีรเ์ ล่มนี้ ซงึ่ โจเซฟนีแดรม ถือว่าเป็ น “งานทีล ึ ซงึ้ และงดงามทีส
่ ก ่ ด
ุ ใน
ภาษาจีน”

์ ําคัญอันดับสองของเต๋าคือคัมภีร ์ จางจือ
คัมภีรส ้ ซงึ่ ใหญ่กว่าเต๋าเตอจิงมาก ผู ้
้ ซงึ่ มีชวี ต
รจนาคือ จางจือ ิ อยูร่ าวสองร ้อยปี หลังเหลาจือ ึ ษาสมัยใหม่
้ อย่างไรก็ตามนั กศก
เห็นว่า ทัง้ คัมภีรจ
์ างจือ ้ มิใชง่ านของผู ้ประพันธ์เพียงคนเดียว แต่เป็ นคัมภีรท
้ และเหลาจือ ์ รี่ วม
บทประพันธ์เต๋าของผู ้ประพันธ์หลาย ๆ คนในระยะเวลาต่าง ๆ กัน

่ หมายสงิ่ เดียวก ัน
7.2 มุง

ทัง้ คัมภีรห
์ ลักลัทธิขงจือ
้ และคัมภีรเ์ ต๋าเตอจิง ประพันธ์ขน
ึ้ ในท่วงทํานองที่
ั ซงึ่ เป็ นแบบฉบับของแนวคิดแบบจีน จิตใจแบบจีนไม่ถก
เสนอแนะอย่างกระชบ ู หน่วงอยู่
ด ้วยความคิดเชงิ ตรรกะแบบย่อสรุป และได ้พัฒนาภาษาทีแ
่ ตกต่างจากภาษาตะวันตกอยู่
้ นคํานาม คําวิเศษณ์ หรือคํากริยา และลําดับของคํา ในประโยค
มาก คําหลายคําอาจใชเป็
มิได ้ถูกกําหนดด ้วยกฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์ มากเท่ากับเนือ
้ หาทางอารมณ์ของประโยค
ั ลักษณ์ยอ
คําในภาษาจีนดัง้ เดิม แตกต่างจากสญ ่ สรุป ซงึ่ แทนความคิดแยกแยะ
ั เจนเป็ นอันมาก มันเป็ นสญ
วิเคราะห์อย่างชด ั ลักษณ์ทางเสย
ี งเสย
ี มากกว่า และมีพลังแห่ง
การนํ าเสนอความหมายทีร่ น
ุ แรง ก่อให ้เกิดภาพแห่งจินตนาการ และอารมณ์ทซ ั ซอนได
ี่ บ ้ ้
อย่างฉั บพลัน ความตัง้ ใจของผู ้พูดมิได ้มุง่ แสดงความคิดทีเ่ ฉลียวฉลาดมากนั ก แต่มงุ่ ทีจ
่ ะ
ิ ธิพลต่อผู ้ฟั งมากกว่า ในทํานองเดียวกัน ลักษณะตัวเขียนก็มใิ ช ่
ให ้เกิดผลกระทบอย่างมีอท
ั ลักษณ์ยอ
สญ ่ สรุป แต่เป็ นแบบแผนของสงิ่ ทีท
่ รงชวี ต
ิ ทีเ่ รียกว่า “เกสตอลต์” ซงึ่ รักษา
จินตนาการ และพลังแห่งการนํ าเสนอความหมายของคํานั น
้ ไว ้ได ้อย่างสมบูรณ์

ด ้วยเหตุผลทีน
่ ักปราชญ์ของจีนมีการแสดงออกทางภาษาทีเ่ หมาะกับวิธค
ี ด
ิ ของ
ตน การเขียนการพูดของท่านเหล่านัน
้ จึงเป็ นแบบทีห ั ้ แต่มั่งคั่งด ้วยจินตนาการ
่ ้วนสน
้ ว่ นมากจะสูญหายไป เมือ
จินตนาการเหล่านีส ่ มีการแปลถ ้อยคําเหล่านีเ้ ป็ นภาษาอังกฤษ
่ การแปลข ้อความจากคัมภีรเ์ ต๋าเตอจิง จะเก็บใจความได ้เป็ นสว่ นน ้อยจาก
ยกตัวอย่างเชน
ความคิดทีม
่ ั่งคั่งในภาษาเดิม นั่นเป็ นเหตุผลทีท
่ ําให ้คัมภีรน ี้ ลายสํานวน ดูเหมือนจะ
์ ห
ิ้ เชงิ ฟุงยูห
แตกต่างกันอย่างสน ํ นวนทีม
่ ลาน ได ้กล่าวไว ้ว่า “ต้องรวมเอาคําแปลทุกสา ่ อ
ี ยู่
แล้ว และทีจ
่ ะมีขน ้ และค ัมภีร ์
้ึ เข้าด้วยก ัน จึงจะแสดงความหมายของค ัมภีรเ์ หลาจือ
้ ได้อย่างสมบูรณ์ ตามความหมายในภาษาเดิม”
หล ักของล ัทธิขงจือ

่ เดียวกับชาวอินเดีย ชาวจีนเชอ
เชน ื่ ว่ามีปรมัตถ์สจ
ั จะ ซงึ่ เป็ นทีร่ วมและทีม
่ าของ
สรรพสงิ่ และเหตุการณ์ทงั ้ หลายทีเ่ ราสงั เกตได ้

่ ามคําคือ “สมบูรณ์” “รวมทุกสงิ่ ” และ “ทงหมด”


มีคําอยูส ั้

คําเหล่านีต ั จะซงึ่ แฝงอยูใ่ นนั น


้ า่ งกัน แต่สจ ้ เหมือนกัน

มุง่ หมายถึงสงิ่ ๆ เดียว

ั จะนีว้ า่ เต๋า ซงึ่ มีความหมายว่า “ทาง” มันเป็ นวิถท


ชาวจีนเรียกสจ ี างหรือ
กระบวนการของจักรวาล กฎเกณฑ์ของธรรมชาติ ในระยะต่อมาผู ้นั บถือลัทธิขงจือ
้ ได ้
ตีความหมายแตกต่างออกไป โดยกล่าวถึงเต๋าของมนุษย์ หรือเต๋าของสงั คมมนุษย์ และรับ
เอาเป็ นหนทางชวี ต
ิ ทีถ
่ ก ี ธรรม
ู ต ้องในศล

ั จะซงึ่ ไม่อธิบายได ้ ดังนั น


ในความหมายเดิมในระดับกว ้าง “เต๋า” เป็ นปรมัตถสจ ้
ิ ดูและธรรมกายในศาสนาพุทธ อย่างไรก็ตามมันแตกต่างจาก
จึงเท่ากับพรหมันในศาสนาฮน
ความคิดทางอินเดียสองความคิดนี้ โดยคุณลักษณะแห่งความเป็ นพลวัตข
ิ องมัน เต๋าเป็ น
กระบวนการแห่งแห่งเอกภพซงึ่ ทุกสงิ่ มีสว่ นสม
ั พันธ์อยูด
่ ้วย โลกเป็ นกระแสแห่งการ
เปลีย
่ นแปลงอันต่อเนือ ิ้ สุด
่ งไม่รู ้สน

7.3 หล ักอนิจจ ัง
พุทธศาสนาเป็ นหลักอนิจจังซงึ่ คล ้ายคลึงกับเต๋ามาก แต่ในพุทธศาสนา หลัก
้ นหลักเบือ
อนิจจัง ถูกนํ ามาใชเป็ ้ งต ้น ในการอธิบายสภาพการณ์ของมนุษย์เท่านั น
้ โดยได ้
ื เนือ
แจกแจงรายละเอียดทางจิตวิทยาสบ ่ งจากหลักการดังกล่าว ในทางตรงกันข ้าม ชาวจีน
ื่ ว่าการเลือ
มิได ้เพียงแต่เชอ ่ นแปลง เป็ นลักษณะสําคัญของธรรมชาติ แต่ยังเชอ
่ นไหลเปลีย ื่
ด ้วยว่าการเปลีย
่ นแปลงเหล่านีม
้ แ ่ น่นอน ซงึ่ มนุษย์สงั เกตรู ้ได ้ นั กปราชญ์ได ้เห็น
ี บบแผนทีแ
ถึงแบบแผนเหล่านี้ ดังนัน
้ จึงมุง่ การกระทําของท่าน ให ้สอดคล ้องกับมัน โดยวิธก ่ นี้
ี ารเชน
ท่านกลายเป็ น “หนึง่ เดียวก ับเต๋า” มีชวี ต ่ ย่างสอดคล ้องกับธรรมชาติ และจึงสําเร็จใน
ิ อยูอ
ทุกสงิ่ ทีก ้ นั กปราฃญ์ซงึ่ มีชวี ต
่ ระทํา ฮวยหนั่ นจือ ิ อยูร่ ะหว่างศตวรรษทีส
่ อง ก่อนคริสตกาล
ได ้กล่าวไว ้ว่า

ผู ้กระทําตามวิถท
ี างแห่งเต๋า ปฏิบัตส
ิ อดคล ้องกับกระบวนการ
ธรรมชาติของฟ้ าและดิน จะจัดการกับโลกได ้อย่างง่ายดาย

ี างแห่งเอกภาพ ซงึ่ มนุษย์ต ้องรู ้จักลักษณะสําคัญของ


แล ้วอะไรคือแบบแผนวิถท
เต๋า คือธรรมชาติแห่งการหมุนวนของการเคลือ
่ นไหว เปลีย
่ นแปลงไม่รู ้จบ เหลาจือ
้ กล่าว
ว่า “การหมุนกล ับคือการเคลือ
่ นไหวของเต๋า” และ “ยิง่ ไปได้ไกลหมายถึงการ
ย้อนกล ับ” ประเด็นสําคัญในทีน
่ ก
ี้ ็คอ
ื พัฒนาการทุกอย่างในธรรมชาติ ไม่วา่ ในทางกายภาพ
หรือสภาพการณ์ของมนุษย์ แสดงแบบแผนแห่งการหมุนไปและกลับ แบบแผนแห่งการยืด
ขยายและหดตัว

้ ด ้จากการสงั เกตการเคลือ
ความคิดนีไ ่ นไหวของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ และ
จากการเปลีย ั และได ้ถูกยึดถือเป็ นกฎเกณฑ์ของ
่ นแปลงของฤดูกาลอย่างไม่ต ้องสงสย
ชวี ต ื่ ว่าเมือ
ิ ชาวจีนเชอ ่ ใดก็ตามทีส
่ ภาพการณ์หนึง่ ใดได ้พัฒนาไปจนถึงทีส
่ ด
ุ ในทาง
หนึง่ มันจะต ้องหมุนย ้อนกลับมาถึงทีส
่ ด ื่ พืน
ุ ในอีกทางหนึง่ ความเชอ ้ ฐานอันนีไ
้ ด ้ให ้ความ
่ ระสบความสําเร็จ และได ้นํ าไปสู่
กล ้าหาญและอดทนในยามลําบาก ทําให ้มัธยัสถ์ในยามทีป
หลักคําสอนแห่งหนทางอันเรืองรองซงึ่ ผู ้นั บถือลัทธิเต๋าและลัทธิขงจือ
้ เหลาจือ
้ กล่าว
ว่า “น ักปราชญ์ยอ
่ มหลีกเลีย
่ งความฟุ้งเฟ้อเกินพอดี และการทําตามอําเภอใจ”

7.4 หยินก ับหย ัง

ในทัศนะของชาวจีน มีน ้อยเกินไป ดีกว่า มีมากเกินไป ไม่ได ้ทํา ดีกว่า ทํามาก


เกินไป เพราะแม ้ว่าถึงเราจะไม่ก ้าวหน ้าไปไกลแต่ก็แน่ใจได ้ว่าเราจะไปถูกทาง เปรียบกับ
ชายผู ้ปรารถนาจะไปให ้ไกลสุดทางตะวันออก ท ้ายทีส
่ ด
ุ จะกลับไปทางตะวันตก หรือผู ้
ปรารถนาจะสะสมเงินมาก ๆ เพือ
่ ให ้ตนเองรํ่ารวย ท ้ายสุดจะต ้องกลับมาเป็ นคนจน การที่
สงั คมอุตสาหกรรมสมัยใหม่กําลังพยายามอย่างต่อเนือ ่ “มาตรฐานการครอง
่ งในการเพิม
ี ” จึงทําให ้คุณภาพของชวี ต
ชพ ิ ในสงั คมนั น
ิ ของสมาชก ้ ๆ ลดลง นั บเป็ นภาพทีแ
่ สดงปั ญญา
ของจีนโบราณดังกล่าวได ้เป็ นอย่างดี
ความคิดในเรือ
่ งแบบแผนแห่งการหมุนวนของเต๋า ได ้ถูกกําหนดเป็ นโครงสร ้างที่
แน่นอนโดยการเสนอว่ามีขวั ้ ตรงกันข ้ามสองอันคือ หยิน กับ หยัง เป็ นขัว้ ซงึ่ กําหนดขอบเขต
ของวงเวียนแห่งการเปลีย
่ นแปลง

เมือ
่ หยังถึงจุดสูงสุดก็ต ้องถอยให ้กับหยิน

เมือ
่ หยินถึงจุดสูงสุดก็ต ้องถอยให ้กับหยัง

ในทัศนะแบบจีน สง่ิ ปรากฏแสดงทัง้ มวลของเต๋า มาจากการเคลือ


่ นไหว
เปลีย
่ นแปลง ของแรงแห่งขัว้ ทัง้ สอง ความคิดนีเ้ ป็ นความคิดทีเ่ ก่ามาก และชนหลายรุน
่ ได ้
ั ลักษณ์แห่งหยิน หยังจนกระทั่งมันกลายเป็ นความคิดพืน
ถือเอาสญ ้ ฐานของจีน ความหมาย
เดิมของคําว่าหยินและหยัง คือสว่ นทีเ่ ป็ นเงาและสว่ นทีต
่ ้องแสงแดดของภูเขา ซงึ่ แสดง
ั พันธ์ของความคิดทัง้ สองได ้เป็ นอย่างดี
ความสม

สงิ่ ทีป
่ รากฏเดีย
๋ วมืดเดีย
๋ วสว่างเรียกว่า เต๋า

นับแต่ยค
ุ แรกสุด ขัว้ ทัง้ สองของธรรมชาติไม่เพียงแต่แทนความสว่างและความ
มืดเท่านัน
้ แต่ยังแทนด ้วยความเป็ นชายและความเป็ นหญิง แข็งและอ่อนข ้างบนและ
ข ้างล่าง หยังสว่ นทีเ่ ป็ นความเข ้มแข็ง ความเป็ นชาย พลังสร ้างสรรค์น่ันคือฟ้ า ในขณะทีห

ยินสว่ นทีเ่ ป็ นความมืด ความอ่อนโยน ความเป็ นหญิงและความเป็ นแม่นั่นคือดิน ฟ้ าอยูเ่ บือ
้ ง
บนและเต็มไปด ้วยความเคลือ
่ นไหว ดิน ในทัศนะเดิม อยูเ่ บือ
้ งล่างและสงบนิง่ ดังนั น
้ หยัง
แทนความเคลือ
่ นไหว และหยินแทนการสงบนิง่ ในเรือ
่ งของความคิด หยินคือจิตใจที่
ั ซอนแบบหญิ
ซบ ้ งเป็ นไปในทางญาณปั ญญา หยังคือจิตใจทีช ั เจน มีเหตุมผ
่ ด ี ลอย่างชาย
หยินคือความเงียบนิง่ อย่างสงบของปราชญ์ หยังคือการกระทําทีส
่ ร ้างสรรค์อย่างมีพลังของ
จักรพรรดิ

ลักษณะการเคลือ ั ลักษณ์ของจีนโบราณ
่ นไหวของหยินและหยัง ถูกแสดงด ้วยสญ

ทีเ่ รียกว่า ไท ้ จิ ถู หรือ “แผนผ ังแสดงสจธรรมสู
งสุด” แผนผังนีแ
้ สดงสมมาตรระหว่าง
สว่ นทีม ื คือหยินกับสว่ นทีส
่ ด ่ มมาตรทีอ
่ ว่างคือหยัง ทว่ามิใชส ่ ยูน
่ งิ่ แต่เป็ นสมมาตรแห่งการ
หมุนวนอันเปี่ ยมไปด ้วยพลัง
เมือ ่ ด
่ หย ังหมุนกล ับสูจ ุ เริม ่ ย ังอีก
่ ต้น หยินก็เป็นใหญ่ แล้วก็หมุนไปสูห
จุดสองจุดในแผงผ ังแทนความคิดทีว่ า

เมือ
่ ใดทีแ
่ รงหนึง่ แรงใดถึงจุดสูงสุดในต ัวม ันขณะนนก็
ั้ มพ ื พ ันธ์ของสงิ่ ตรงข้ามอยูด
ี ช ่ ว้ ย
แล้ว

่ องหยินและหยังเป็ นเสมือนอุปรากรทีเ่ ปิ ดแสดงซํ้าแล ้วซํ้าเล่า แทรกซม


คูข ึ อยูใ่ น
วัฒนธรรมของจีน และเป็ นสงิ่ กําหนดลักษณะทัง้ มวลของวิถต
ี ามแบบจีน จางจือ
้ กล่าว
ว่า “ชวี ต
ิ คือการผสมผสานอย่างกลมกลืนของหยินและหย ัง” เนือ
่ งจากเป็ นประเทศ
เกษตรกรรม ชาวจีนจึงคุ ้นเคยกับการเคลือ
่ นทีข
่ องดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ และการ
เปลีย
่ นแปลงของฤดูกาล การเปลีย
่ นแปลงของฤดูกาล และปรากฎการณ์แห่งการ
ื่ มสลายของธรรมชาติฝ่ายอินทรียวัตถุ จึงถือได ้ว่าเป็ นการแสดงที่
เจริญเติบโต และการเสอ
ั เจนของการขับเคีย
ชด ่ วระหว่างหยินกับหยัง ระหว่างฤดูหนาวทีม
่ ด
ื และเยือกเย็น กับฤดูร ้อน
ทีส
่ ว่างและร ้อนแรง การขับเคีย
่ วในฤดูกาลของขัว้ ต่างทัง้ สอง สะท ้อนออกมาในอาหารที่
รับประทาน ซงึ่ จะมีทัง้ หยินและหยาง ในทัศนะของชาวจีนแล ้ว อาหารทีม
่ ค
ี ณ
ุ ค่าต ้อง
ั สว่ นทีส
ประกอบด ้วยหยินและหยางในสด ่ มดุลกัน

7.5 การประทะก ันของหยินและหยาง

่ กัน ตัง้ อยูบ


การแพทย์แผนโบราณของจีนก็เชน ่ นรากฐานแห่งความสมดุล
ี ไป
ระหว่างหยินและหยังในร่างกายของมนุษย์ ความเจ็บไข ้ใด ๆ เกิดจากสมดุลนีเ้ สย
ร่างกายถูกแบ่งเป็ นสว่ นหยินและหยาง กล่าวรวม ๆ ว่าภายในร่างกายคือหยาง ผิวนอก
ร่างกายคือหยิน ด ้านหลังคือหยัง ด ้านหน ้าคือหยิน อวัยวะต่าง ๆ ก็มท
ี ัง้ ทีเ่ ป็ นหยินและหยาง
ความสมดุลระหว่างสว่ นต่าง ๆ ทัง้ หมดนีถ
้ ก
ู หล่อเลีย
้ งอยูด
่ ้วยการเลือ
่ นไหลของ ฉี้ หรือ
พลังงานแห่งชวี ต

การขับเคีย
่ วระหว่างหยินและหยัง อันเป็ นคูต
่ รงข ้าม จึงเป็ นเสมือนกฎเกณฑ์แห่ง
การเคลือ
่ นไหวของเต๋า แต่ชาวจีนมิได ้หยุดอยูเ่ พียงแค่นัน ึ ษาต่อไปถึง
้ พวกเขาได ้ทําการศก
ั พันธ์หลายรูปแบบ ของหยินและหยาง ซงึ่ ได ้พัฒนาขึน
ความสม ้ เป็ นระบบของแบบแผนแห่ง
เอกภาพ ปรากฏอย่างละเอียดลอออยูใ่ นคัมภีร ์ อีจ
้ งิ คัมภีรแ
์ ห่งการเปลีย
่ นแปลง

คัมภีรแ
์ ห่งการเปลีย
่ นแปลงนีเ้ ป็ นคัมภีรเ์ ล่มแรกในบรรดาคัมภีรส
์ ด
ุ ยอดทัง้ หกของ
ขงจือ
้ และต ้องถือว่า เป็ นงานทีเ่ ป็ นหัวใจของความคิด และวัฒนธรรมของจีน ความนิยมและ
ความยอมรับนั บถือของชาวจีน ต่อคัมภีรเ์ หล่านีต
้ ลอดหลายพันปี ทผ
ี่ า่ นมา เทียบได ้กับความ
่ คัมภีรพ
นิยมและยอมรับในหลาย ๆ คัมภีร ์ เชน ์ ระเวทและคัมภีรไ์ บเบิล
้ ในวัฒนธรรมอืน
่ ริ
ี่ วชาญเรือ
ชาร์ด วิลเฮล์ม ผู ้เชย ่ งจีนได ้เขียนคํานํ าในการแปลคัมภีรเ์ ล่มนีไ
้ ว ้ว่า
อีจ
้ งิ้ : คัมภีรแ
์ ห่งการเปลีย ื ทีส
่ นแปลงของจีนเล่มนี้ นับเป็ นหนังสอ ่ ําคัญทีส
่ ด
ุ เล่ม
ั ต ้นกําเนิดของคัมภีรน
หนึง่ ในโลกของ วรรณกรรมอย่างไม่ต ้องสงสย ่ มัย
์ ั บย ้อนไปสูส
โบราณซงึ่ เต็มไปด ้วยเรือ
่ งราวของเทพ

คัมภีรเ์ ล่มนีไ ี่ ําคัญของจีนตราบจนถึงปั จจุบัน


้ ด ้ดึงดูดความสนใจของนั กปราชญ์ทส
ตลอดระยะเวลาสามพันกว่าปี แห่งประวัตศ ั นธรรมของจีน สว่ นทีย
ิ าสตร์วฒ ่ งิ่ ใหญ่และสําคัญ
ทีส
่ ด
ุ นัน
้ ได ้รับแรงบัลดาลใจจากคัมภีรเ์ ล่มนี้ ดังนั น
้ จึงเป็ นการปลอดภัยทีจ
่ ะกล่าวว่า ปั ญญา
อันชาํ่ ชองซงึ่ ผ่านกาลเวลานับด ้วยพันปี ได ้เป็ นสว่ นประกอบในคัมภีรอ
์ จ
ี้ งิ้

้ ตรงหกเสน
7.6 เสน ้

คัมภีรแ ั ้ หลาย
์ ห่งการเจริญเติบโตมาเป็ นเวลาหลายพันปี ประกอบด ้วยหลายชน
เชงิ ซงึ่ แตกกิง่ ก ้านมาจากยุคสมัยสําคัญทีส
่ ด
ุ ของความคิดจีน จุดเริม
่ แรกในคัมภีรเ์ ป็ นการ
ั ลักษณ์ จํานวน 64 อัน สร ้างขึน
รวบรวมภาพหรือสญ ่ งหยิน หยาง และใช ้
้ จากความคิดเรือ
เป็ นการทํานายเหตุการณ์ตา่ ง ๆ

ั ลักษณ์แต่ละอัน ประกอบด ้วยเสนตรงหกเส


สญ ้ น้ อาจจะเป็ นเสนประ
้ (หยิน) หรือ
้ บ (หยัง) ก็ได ้ ทัง้ หกสบ
เสนทึ ิ สอ
ี่ ัน เป็ นการผสมผสานระหว่างเสนตรงในลั
้ กษณะดังกล่าว
่ ะเป็ นไปได ้ โดยไม่ซํ้ากัน สญ
เท่าทีจ ั ลักษณ์เหล่านี้ถก
ู ถือเป็ นแบบฉบับของเอกภพ แสดง
ื่ เรียก
หรือแทน แบบแผนของเต๋าในธรรมชาติ และในสภาพการณ์ของมนุษย์ แต่ละอันมีชอ
เฉพาะ และมีคําอธิบายเป็ นคัมภีรเ์ ล็กๆ เรียกว่าคําทํานาย ซงึ่ จะแนะนํ าสงิ่ ทีจ
่ ะต ้องกระทํา
ให ้เหมาะสมกับสภาพทีเ่ กิดขึน ื่ มโยงกับสญ
้ เชอ ั ลักษณ์แต่ละอัน ยังมีคัมภีรอ
์ ก ื่
ี เล่มชอ
ภาพพจน์ ซงึ่ เขียนขึน ั ลักษณ์แต่ละอัน ใ นรูปบ
้ ในภายหลัง ได ้อธิบายความหมายของสญ
ั ้ ๆสองสามบรรทัด คัมภีรอ
ทกวีสน ์ ก ้
ี ฉบับหนึง่ อธิบายความหมายของเสนตรงแต่ ้
ละเสนของ
ั ลักษณ์นี้ โดยใชภาษาซ
สญ ้ งึ่ เชอ
ื่ มโยงกับเทพเจ ้าต่าง ๆ ซงึ่ มักจะเข ้าใจได ้ยาก

คัมภีรย
์ อ
่ ยทัง้ สามเล่มนี้ ประกอบกันขึน
้ เป็ นคัมภีรแ ่ นแปลง ซงึ่ ใช ้
์ ห่งการเปลีย
ั หรือความทุกข์ เมือ
เป็ นคําทํานาย ผู ้มีความสงสย ่ ต ้องการทราบสงิ่ ทีจ
่ ะเกิดขึน
้ กับตนก็ต ้อง
ทําพิธแ ั่ ติว้ ซงึ่ มีจํานวนห ้าสบ
ี ละสน ิ อัน เมือ
่ ได ้ติว้ อันใดอันหนึง่ ก็ไปดูทส ั ลักษณ์ทต
ี่ ญ ี่ รงกัน
จะมีคําทํานายและแนะนํ าถึงสงิ่ ทีต
่ ้องกระทําให ้เหมาะสมกับสภาพการณ์ตา่ ง ๆ
ในคัมภีรแ
์ ห่งการเปลีย
่ นแปลง มีภาพพจน์ทจ
ี่ ะเปิ ดเผย ตอนท ้ายมีคําทํานายให ้
ตีความ โชคและ

ิ ใจ
เคราะห์ได ้บ่งบอกไว ้ให ้ตัดสน

จุดมุง่ หมายในการปรึกษากับคัมภีรอ
์ จ ่ จ
ี้ งิ จึงไม่ใชท ้ แต่ยังชว่ ย
ี่ ะรู ้อนาคตเท่านั น
ค ้นหาสงิ่ ทีก
่ ําหนดสภาพการณ์ปัจจุบันของตน เพือ
่ ทีจ
่ ะเลือกกระทําการใดได ้อย่างถูกต ้อง
ทัศนคติอันนีไ
้ ด ้ยกระดับคัมภีรอ
์ จ
้ี งิ ขึน ื คาถาเวทมนต์ธรรมดา เป็ นคัมภีรท
้ เหนือหนั งสอ ์ ก
ี่ อปร
ด ้วยปั ญญา

7.7 การเปลีย
่ นแปลง

โดยแท ้จริงแล ้วประโยชน์ของอิจ้ งิ ในวิถท ้ สําคัญมากกว่า


ี างแห่งปั ญญานั น
ประโยชน์ในทางเป็ นคําทํานายมากมายนั ก มันเป็ นแหล่งบันดาลใจของนั กคิดจีนตลอดยุค
่ เหลาจือ
สมัย ดังเชน ้ ซงึ่ ได ้แต่งคําสอนทีล ึ ซงึ้ ทีส
่ ก ่ ด
ุ จากบางบทแห่งความเข ้าใจในอีจ
้ งิ
ขงจือ ึ ษาคัมภีรน
้ ได ้ศก ์ อ ์ ี้ ซงึ่ กลายเป็ นคัมภีร ์
ี้ ย่างจริงจัง และคําอธิบายขยายความของคัมภีรน
้ สว่ นใหญ่มาจากสํานั กของขงจือ
ย่อย ๆ ในระดับต่าง ๆ นัน ้ คําอธิบายขยายความเหล่านี้
ิ ได ้รวมเอาการตีความ โครงสร ้างของสญ
เรียกว่า ปี กทัง้ สบ ั ลักษณ์เหล่านั น
้ เข ้าด ้วยกัน กับ
การอธิบายในเชงิ ปรัชญา

ทีแ
่ กนกลางคําอธิบายขยายความของขงจือ ่ เดียวกับแกนกลางของคัมภีรอ
้ เชน ์ จ
ี้ งิ
ได ้เน ้นยํ้าอยูท
่ ล
ี่ ักษณะการเคลือ
่ นไหวของปรากฏการณ์ทัง้ มวล การเปลีย
่ นแปลงอย่างไม่ม ี
ทีส ิ้ สุดของสรรพสงิ่ และสภาพการณ์ทัง้ มวล เป็ นสงิ่ สําคัญซงึ่ แสดงไว ้ในคัมภีรแ
่ น ์ ห่งการ
เปลีย
่ นแปลง

การเปลีย
่ นแปลงก็คอ
ื คัมภีร ์

ซงึ่ เราไม่อาจยึดถือย่างโดดเดีย
่ ว

เต๋าของมันคือการเปลีย
่ นแปลงเสมอ

กลับกลาย เคลือ
่ นไหว ไม่รู ้หยุด

เลือ
่ นไหลผ่านทีว่ า่ ง ทัง้ หก

ลอยและจมโดยปราศจากกฎเกณฑ์ตายตัว

ความมั่นคงและความอ่อนน ้อมเปลีย
่ นกลับไปมา

มันไม่อาจจํากัดได ้ด ้วยกฎเกณฑ์หนึง่ ใด

คงมีแต่การเปลีย
่ นแปลงเท่านั น
้ ทีจ
่ ะกระทําการอยู่
บทที่ 8 ล ัทธิเต๋า
ในระหว่างความคิดสองแนวของจีน คือลัทธิเต๋าและลัทธิขงจือ
้ นั น
้ ลัทธิเต๋ามีคํา
สอนลึกซงึ้ ซงึ่ อยูใ่ นประเด็นทีจ ิ สส
่ ะนํ ามาเปรียบเทียบกับ ฟิ สก ์ มัยใหม่ เชน
่ เดียวกับศาสนา
ิ ดูและพุทธศาสนา ลัทธิเต๋ามุง่ สนใจในญาณปั ญญา มากกว่าความรู ้เชงิ เหตุผล ลัทธิเต๋า
ฮน
ยอมรับข ้อจํากัด และความเป็ นสงิ่ สม
ั พัทธ์ของโลกแห่งความนึกคิดเชงิ เหตุผล ดังนั น
้ ลัทธิ
เต๋า โดยพืน
้ ฐาน จึงเป็ นหนทางแห่งความอิสระจากโลกแห่งเหตุผล และในแง่มม
ุ นีจ
้ งึ อาจ
เทียบเท่ากับ วิถแ ิ ดู หรืออริยมรรคมีองค์แปด ของ
ี ห่งโยคะ หรือ เวทานตะ ในศาสนาฮน
ของพุทธศาสนา ในขอบเขตของวัฒนธรรมจีน ความเป็ นอิสระอย่างของเต๋ามีความหมาย
ั เจนว่า คือความเป็ นอิสระจากกฎเกณฑ์ทต
ค่อนข ้างชด ี่ ายตัวในทางสงั คม ความไม่เชอ
ื่ ใน
ความรู ้และเหตุผล ซงึ่ มนุษย์กําหนดขึน
้ เป็ นแบบแผนต่างๆ นั น ั เจนในลัทธิเต๋า
้ ปรากฏชด
มากกว่าในปรัชญาสาขาใดๆ ของตะวันตก สงิ่ นีม
้ รี ากฐานอยูบ ื่ ทีแ
่ นความเชอ ่ น่นแฟ้ นว่า
ความเฉลียวฉลาดของมนุษย์ ไม่อาจเข ้าใจเต๋าได ้ จางจือ
้ ได ้กล่าวว่า

ความรู ้ทีก
่ ว ้างขวางทีส
่ ด
ุ ไม่จําเป็ นว่า จะต ้องรู ้มันด ้วยเหตุผล จะ
ไม่ทําให ้คนฉลาดในเรือ
่ งราวของมัน ปราชญ์ยอ ิ ว่าทัง้ สองวิธน
่ มตัดสน ี ใี้ ช ้
ไม่ได ้

คัมภีรข ้ เต็มไปด ้วยข ้อความซงึ่ สะท ้อนความดูแคลนของเต๋าต่อเหตุผล


์ องจางจือ
และการโต ้เถียง ดังทีท
่ า่ นกล่าวว่า

สุนัขไม่ได ้เป็ นสุนัขดีเพราะมันเห่าเก่ง คนไม่ได ้เป็ นคนฉลาด


เพราะพูดเก่ง และการโต ้เถียงพิสจ ั เจน
ู น์ถงึ การเห็นทีไ่ ม่ชด

ในทัศนะของเต๋า การคิดหาเหตุผลในเชงิ ตรรกะ เป็ นสว่ นของโลกแห่งสมมติ


ของมนุษย์ เป็ นสว่ นของค่านิยมในสงั คมและมาตรฐานทางศล
ี ธรรม พวกเขาไม่สนใจใน
โลกดังกล่าวนี้ แต่มงุ่ ความสนใจทัง้ หมดไปในการเฝ้ าสงั เกตุธรรมชาติเพือ
่ ความประจักษ์
้ ผู ้นั บถือเต๋าจึงมีทัศนะซงึ่ เป็ นวิทยาศาสตร์โดย
แจ ้งใน “ล ักษณะแห่งเต๋า” ดังนัน
พืน ื่ ในวิธก
้ ฐาน เพียงแต่ความไม่เชอ ี ารวิเคราะห์วจิ ารณ์ของพวกเขา ทําให ้ไม่อาจสร ้างเป็ น
ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ขน ้ อย่างไรก็ตามการสงั เกตธรรมชาติอย่างละเอียด
ึ้ มาได ้เท่านัน
รอบคอบ พร ้อมทัง้ การเพ่งเพียรทีจ
่ ริงจัง ได ้ทําให ้ปราชญ์ของเต๋า บรรลุญาณทัสนะอัน
สุขม ่ ลึก ซงึ่ ได ้รับการยืนยันโดยทางทฤษฎีวท
ุ ลุม ิ ยาศาสตร์สมัยใหม่


8.1 การชบเคี
ย ่ วระหว่างขวั้

่ ําคัญทีส
ญาณทัสนะทีส ่ ด
ุ ประการหนึง่ ของเต๋าก็คอ
ื การประจักษ์ แจ ้งในความจริง
่ นแปลงกลับกลายเป็ นลักษณะสําคัญของธรรมชาติ ข ้อความในคัมภีรจ
ทีว่ า่ การเปลีย ์ างจือ

ั เจนว่า การสงั เกตโลกแห่งสรรพชพ
ได ้แสดงอย่างชด ี ได ้ให ้ความรู ้ในเรือ
่ งความ
่ นแปลง ซงึ่ เป็ นสงิ่ ทีส
เปลีย ่ ําคัญขัน
้ พืน
้ ฐาน

่ นแปลงการเติบโตของสรรพสงิ่ ตาไม ้ทุกตา และรูปลักษณะทุกรูป


ในการเปลีย
ต่างมีรป ่ น่นอนของมัน ในสงิ่ เหล่านีม
ู ทรงทีแ ้ ก ื่ มสลายอย่าง
ี ารเจริญและการเสอ
ต่อเนือ
่ ง กระแสแห่งการเปลีย
่ นแปลงกลับกลายอันไหลเลือ
่ นอย่างสมํา่ เสมอ

ผู ้นับถือเต๋ามีทัศนะว่า การเปลีย
่ นแปลงทัง้ มวลในธรรมชาติ เป็ นการปรากฏ
แสดงของการขับเคีย
่ วระหว่างขัว้ ตรงกันข ้าม คือหยินและหยัง ดังนั น ื่ ว่าคู่
้ ผู ้นั บถือเต๋าจึงเชอ
ื่ มสม
ตรงข ้ามใดๆก็ตาม ต่างเชอ ั พันธ์กันอย่างเคลือ
่ นไหว สําหรับจิตใจแบบตะวันตก
แล ้ว ความคิดทีว่ า่ สงิ่ ตรงกันข ้ามทัง้ มวลต่างเป็ นเอกภาพนั น
้ เป็ นสงิ่ ทีร่ ับได ้ยากยิง่ มันดู
่ ประสบการณ์และคุณค่าต่างๆ ซงึ่ เราเชอ
เหมือนผิดธรรมดาเป็ นอย่างยิง่ เมือ ื่ มาโดยตลอดว่า
เป็ นสงิ่ ตรงกันข ้าม ควรเป็ นแง่มม ่ า่ งกันของสงิ่ เดียวกัน อย่างไรก็ตามในตะวันออกถือ
ุ ทีต
้ บุคคลจะต ้อง “ก้าวพ้นสงิ่ ทีเ่ ป็นคูต
กันว่าการจะรู ้แจ ้งได ้นัน ่ รงข้ามในโลก ” ในจีน
ั พันธ์เชงิ ขัว้ ของสงิ่ ตรงกันข ้ามทัง้ มวลเป็ นพืน
ความสม ้ ฐานอย่างยิง่ ของความคิดของ
เต๋า ดังทีจ
่ างจือ
้ กล่าวว่า

“นี”่ ก็คอ
ื “นน
่ ั ” “นั่ น” ก็คอ
ื “นี”่ เมือ

ทัง้ “นน
่ ั ” และ “นี”่ ต่างหยุดเป็ นปฏิปักษ์ ตอ
่ กัน นั่ นเป็ นแก่นแท ้ของ
เต๋า แก่นแท ้นีเ้ ท่านัน
้ ทีเ่ ป็ นศูนย์กลางของวงเวียนแห่งการเปลีย
่ นแปลงไม่
รู ้หยุด

จากความคิดทีว่ า่ การเคลือ
่ นไหวของเต๋าเป็ นการขับเคีย ่ งของสงิ่ ที่
่ วอย่างต่อเนือ
ตรงกันข ้าม ผู ้นับถือเต๋าจึงได ้สรุปเป็ นกฎสองประการสําหรับการกระทําของมนุษย์เมือ
่ ใดก็
ตามทีเ่ ราต ้องการจะได ้สงิ่ ใด เราควรจะเริม
่ จากสงิ่ ทีต
่ รงกันข ้าม ดังทีเ่ หล่าจือ
้ กล่าวว่า

ั สงิ่ ควรจะขยายมันก่อน จะทําให ้อ่อนแอ ต ้องทํา


จะยุบอะไรสก
ิ ชูกอ
ให ้เข ้มแข็งก่อน จะกําจัด ต ้องเชด ่ น จะรับ ต ้องให ้ก่อน นีเ่ รียกว่า
ปั ญญาอันลึกซงึ้

่ เราต ้องการจะรักษาสงิ่ ใดไว ้ เราควรยอมรับในสงิ่ ทีเ่ ป็ น


ในอีกทางหนึง่ เมือ
ตรงกันข ้าม

จงโค ้งคํานับ แล ้วท่านจะยืนตรงอยูไ่ ด ้

จงทําตัวให ้ว่างเปล่า แล ้วท่านจะเต็มอยูเ่ สมอ


จงทําตัวให ้เก่า แล ้วท่านจะใหม่อยูเ่ สมอ

ี องปราชญ์ผู ้บรรลุถงึ ทัศนะอันสูงสง่ ซงึ่ สม


นีเ่ ป็ นวิถข ั พันธภาพและความสม
ั พันธ์
เชงิ ขัว้ ของสงิ่ ตรงกันข ้ามทัง้ มวล ปรากฏในความรับรู ้ของท่านอย่างแจ่มแจ ้งสงิ่ ตรงข ้าม
เหล่านีม ี าทิ สงิ่ แรกและสงิ่ สุดท ้าย ความคิดเรือ
้ อ ่ งดีและเลว ซงึ่ เกีย ั พันธ์กันใน
่ วข ้องสม
ลักษณะเดียวกับหยินและหยัง เมือ ี ธรรมทัง้ หมดถูกเห็น
่ ทัง้ ดีและเลวและมาตรฐานทางศล
เป็ นสงิ่ สม
ั พัทธ์ ปราชญ์เต๋าจึงไม่เพียรพยายามเพือ
่ บรรลุคณ
ุ ความดี แต่จะรักษาสมดุล
ระหว่างความดีและเลว จางจือ
้ เห็นประเด็นนีอ ั เจน
้ ย่างชด

ิ ชูความถูกต้อง และไม่
คํากล่าวทีว่ า่ “เราจะไม่กระทําตามและเชด
เกีย ่ รือไม่” และ “เราจะไม่เชอ
่ วข้องก ับความผิด ใชห ื่ ฟังและเชด
ิ ชูผป
ู ้ กครองที่
ดี และไม่เกีย
่ วข้องก ับผูป ่ รือไม่” แสดงความปรารถนาทีจ
้ กครองทีเ่ ลว ใชห ่ ะทํา
่ ตกต่างกันของสรรพสงิ่ เป็ นการง่าย
ความคุ ้นเคยกับหลักการของฟ้ าและดินและคุณภาพทีแ
ทีจ ิ ชูฟ้า และไม่สนใจต่อดิน เป็ นการง่ายทีจ
่ ะกระทําตามและเชด ิ ชูห
่ ะกระทําตามและเชด
ยิน และไม่สนใจหยัง เป็ นทีช ั เจนว่า วิถท
่ ด ่ นั น
ี างเชน ้ เป็ นสงิ่ ทีไ่ ม่ควรกระทํา

8.2 ทีหล ังต่อจากทีแรก

เป็ นทีน
่ ่าประหลาดใจว่า ในเวลาเดียวกับทีเ่ หล่าจือ ิ ย์ของท่านได ้
้ และสานุศษ
พัฒนาโลกทัศน์ของตน คุณลักษณะสําคัญแห่งทัศนะแบบเต๋านั น
้ เป็ นสงิ่ ทีส
่ อนกันในกรีก
่ เดียวกัน โดยบุคคลซงึ่ คําสอนของเขาเป็ นทีร่ ู ้จักเพียงบางสว่ นและผู ้ซงึ่ ถูกเข ้าใจผิด
เชน
ตลอดมาจนปั จจุบัน ชาวเต๋าแห่งกรีกผู ้นีก
้ ็คอ
ื เฮราคลิตส ั
ั แห่งเอเฟซส เฮราคลิตัสมีทัศนะ
่ เดียวกับเหล่าจือ
คติเชน ้ ไม่เพียงแต่เน ้นถึงความเปลีย ่ ง ซงึ่ เขา
่ นแปลงอย่างต่อเนือ
แสดงออกในประโยคซงึ่ มีชอ ี งว่า “ทุกสงิ่ เลือ
ื่ เสย ่ นไหล” เท่านัน
้ แต่ยังมีทัศนะ
่ นแปลงทัง้ มวลมีลักษณะเป็ นวงเวียน เขาเปรียบเทียบโองการแห่ง “ดวง
ทีว่ า่ การเปลีย
ไฟอ ันนิร ันดร บางครงลุ
ั้ กโพลง และบางครงมอดลง”
ั้ ซงึ่ คล ้ายคลึงกับแนวคิดของ
่ งเต๋า ซงึ่ แสดงตัวมันเองออกมาในการขับเคีย
จีนในเรือ ่ วในลักษณะวงเวียนระหว่างหยิน
กับหยาง

ความคิดทีว่ า่ ความเปลีย ่ วระหว่างสงิ่ ทีต


่ นแปลงเป็ นการขับเคีย ่ รงกันข ้าม ได ้นํ าเฮ
ราคลิตัสกับเหลาจือ ่ ารค ้นพบว่า สงิ่ ทีต
้ มาสูก ่ รงกันข ้ามทัง้ มวล มีลักษณะเป็ นขัว้ ตรงกันข ้าม
้ และลงเป็นทางเดียวและเหมือนก ัน” เฮ
และในขณะเดียวกันก็เป็ นเอกภาพ “ทางขึน
ราคริตัสกล่าว “พระเจ้าคือ กลางว ัน กลางคืน ฤดูหนาว ฤดูรอ ั ภาพ
้ น สงคราม สนติ
ความอิม ่ เดียวกับผู ้นั บถือเต๋า เฮราคริตัสมีทัศนะว่าคูต
่ และความอดอยากหิวโหย” เชน ่ รง
ข ้ามทุกคูเ่ ป็ นเอกภาพ และเขาตระหนั กดีถงึ ความเป็ นสงิ่ สม
ั พัทธ์ของความคิดเหล่านี้
ทัง้ หมด เขายังได ้กล่าวไว ้ว่า “สงิ่ ทีเ่ ย็ นกล ับกลายเป็นอุน
่ สงิ่ ทีอ ุ่ กล ับเป็นเย็ น สงิ่ ทีช
่ น ื้
่ น
กล ับแห้ง สงิ่ ทีแ
่ ห้งกล ับเปี ยก” นีไ ้ ทีว่ า่ “ง่ายทํา
้ ด ้ทําให ้เรานึกถึงคํากล่าวของเหลาจือ
ี งก้องทําให้ไพเราะ ทีหล ังต่อจากทีแรก”
ให้เกิดยาก…เสย

เป็ นทีน
่ ่าประหลาดใจทีว่ า่ ความคล ้ายคลึงกันอย่างมาก ในทัศนะของปราชญ์ทัง้
สอง แห่งศตวรรษทีห
่ กก่อน

ื่ มโยงกับฟิ สก
คริสตกาลไม่เป็ นทีร่ ู ้กันโดยทั่วไป เฮราคริตัสมักจะถูกเอ่ยถึงเชอ ิ ส์
สมัยใหม่ แต่แทบจะไม่เคยเอ่ยถึงเฮราคริตัสกับเต๋าเลย และความเกีย
่ วโยงกับเต๋านีเ้ อง เป็ น
สงิ่ ทีแ
่ สดงได ้อย่างดีทส ุ ว่า ทัศนะของเฮราคริตัสแฝงในเชงิ ศาสนา จึงทําให ้ความ
ี่ ด
คล ้ายคลึง ระหว่างความคิดของเฮราคริตส ิ สส
ั กับความคิดในวิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ เป็ นสด
ั สว่ นที่
เหมาะสมกันในทัศนะของข ้าพเจ ้า

เมือ
่ เรากล่าวถึงความคิดของเต๋าเกีย ่ นแปลง สง่ิ สําคัญคือ ต ้องระลึก
่ วกับการเปลีย
เสมอว่า การเปลีย ้ ใิ ชเ่ กิดจากแรงผลักดันภายนอก หากเป็ นแนวโน ้มภายใน
่ นแปลงทีว่ า่ นีม
ของสรรพสงิ่ และเหตุการณ์ทัง้ มวล การเคลือ
่ นไหวของเต๋า ไม่มต
ี ัวการผลักดันแต่การ
เปลีย
่ นแปลงนัน
้ เกิดโดยธรรมชาติ ความเป็ นไปเองของกฎแห่งการกระทําของเต๋า และใน
เมือ
่ การกระทําของมนุษย์ ควรทีจ
่ ะจําลองเอามาจากวิถท
ี างของเต๋า ความเป็ นไปเอง จึงควร
เป็ นลักษณะสําคัญของการกระทําทัง้ มวลของมนุษยชาติ สําหรับเต๋า การกระทําที่
ื่ มั่นต่อปั ญญาญาณของบุคคล
สอดคล ้องกับธรรมชาติแท ้ของบุคคล มันหมายถึงความเชอ
ซงึ่ เป็ นเนือ ่ เดียวกับทีก
้ หาของใจมนุษย์ เชน ่ ฏของการเปลีย ้ หาของสรรพสงิ่
่ นแปลงเป็ นเนือ
รอบ ๆ ตัวเรา

การกระทําของปราชญ์เต๋า จึงเกิดจากปั ญญาญาณของท่านเป็ นไปเองและ


สอดคล ้องกับสภาพการณ์แวดล ้อม ท่านไม่จําเป็ นต ้องบีบบังคับตนเองหรือสงิ่ ต่าง ๆ รอบ
กายท่าน เป็ นแต่เพียงปรับการกระทําของท่านให ้เข ้ากับการเคลือ
่ นไหวของเต๋า ฮวยหนั่ นจื้
อกล่าวไว ้ว่า

ผู ้ซงึ่ กระทําตามกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ ย่อมไหลไปในกระแส


ของเต๋า

การกระทําในลักษณะดังกล่าวนีเ้ รียกกันในปรัชญาเต๋าว่า อู-่ วุย


่ มีความหมายตาม
พยัญชนะว่า “ไม่กระทํา” โจเซฟ นีลแฮม แปลความว่า “ละเว้นจากการกระทําทีข
่ ัดแย้ง
ก ับธรรมชาติ” เราอาจจะ เทียบความหมายนีก
้ ับคํากล่าวของจวงจือ
้ ดังนี้
การไม่กระทํานี้ มิได ้หมายถึงการไม่ทําอะไรเลยและอยูอ
่ ย่างนิง่
เฉย หากเป็ นการปล่อยให ้ทุกสงิ่ ดําเนินไปตามทีม
่ ันเป็ นในธรรมชาติ
เพือ
่ ให ้ธรรมชาติของมันพึงพอใจ

หากว่าเราละเว ้นจากการกระทําทีข
่ ด
ั แย ้งกับธรรมชาติ หรือดังทีโ่ จเซฟ นีลแฮม
่ ัดแย้งก ับแก่นแท้ของสงิ่ ทงหลาย”
กล่าวไว ้ว่า จาก “การดําเนินทีข ั้ เราก็จะดําเนินไป
อย่างสอดคล ้องกับเต๋า ซงึ่ จะได ้รับความสําเร็จ

นีค ื ความหมายของคํากล่าวซงึ่ ดูจะเป็ นปริศนาของเหลาจือ


่ อ ้ ทีว่ า่ “โดยการไม่
ํ เร็จลงได้”
กระทํา ทุกสงิ่ ก็สา

8.3 ไม่รว
ู้ า
่ ตนรูน
้ นดี
ั้ สด

ความแตกต่างกันระหว่างหยินกับหยาง มิใชเ่ ป็ นแต่เพียงกฎเกณฑ์พน


ื้ ฐานของ
วัฒนธรรมจีนเท่านัน
้ แต่ยังสะท ้อนออกมาในแนวคิดใหญ่สองแนวของจีน ลัทธิขงจือ
้ นั น
้ เต็ม
ไปด ้วยเหตุผลมีลักษณะเข ้มแข็งอย่างชาย กระตือรือร ้นและมีอํานาจในทางตรงกันข ้าม
้ เต็มไปด ้วยลักษณะแห่งญาณปั ญญา นุ่มนวลอย่างหญิงลึกซงึ้ และอ่อนน ้อม
ลัทธิเต๋านัน
้ กล่าวว่า “ไม่รว
เหลาจือ ู้ า
่ ตนรูน
้ นดี
ั้ ทส
ี่ ด
ุ ” และ “ปราชญ์ยอ
่ มกระทํากิจโดยปราศจาก
ื่ ว่าโดยการเปิ ดเผยสว่ นทีเ่ ป็ น
การกระทํา และสอนโดยปราศจากคําพูด” ผู ้นั บถือเต๋าเชอ
ความนุ่มนวลอย่างหญิง และความอ่อนน ้อมแห่งธรรมชาติของมนุษย์ ก็จะเป็ นการง่ายทีส
่ ด
ุ ที่
จะนํ าชวี ต
ิ ซงึ่ ได ้ดุลอย่างสมบูรณ์ให ้สอดคล ้องกับเต๋า อุดมคติของเต๋าอาจสรุปรวมได ้อย่างดี
ทีส
่ ด ้ ซงึ่ อธิบายถึงสวรรค์แห่งเต๋า
ุ ในคํากล่าวของจางจือ

ในอดีตกาล ขณะทีค ั สนยังไม่เกิด บุคคลได ้ดํารงอยูใ่ นความสงบ


่ วามยุง่ ยากสบ
ซงึ่ เป็ นสมบัตข
ิ องโลกทัง้ หมด ในขณะนั น
้ หยินและหยางสอดคล ้องต ้องกันและคงสงบนิง่ อยู่
การหยุดและการเคลือ ี่ ก
่ นไหวเป็ นไปโดยปราศจากอุปสรรค ฤดูกาลทัง้ สถ ู ต ้องตามกําหนด
ไม่มส ั สงิ่ ทีไ่ ด ้รับอันตรายและไม่มส
ี ก ี งิ่ มีชวี ต
ิ ใดตายก่อนกําหนด มนุษย์อาจจะมีความรู ้
่ ะใชมั้ น นีค
มากมายแต่ไม่มโี อกาสทีจ ื สงิ่ ทีเ่ รียกว่าสภาวะแห่งเอกภาพสมบูรณ์ ในเวลา
่ อ
่ นี้ ไม่มก
เชน ี ารกรําทําบนหนทางของผู ้ใด คงมีแต่การปรากฏแสดงอย่างสมํา่ เสมอของความ
เป็ นไปเอง
บทที่ 9 นิกายเซน

เมือ ั ผัสกับความคิดอินเดีย ในรูปของพุทธศาสนา ในราว


่ จิตใจของจีนได ้สม
่ นึง่ หลังคริสตกาล ได ้มีพัฒนาการซงึ่ คล ้ายคลึงกันสองกระแสเกิดขึน
ศตวรรษทีห ้ ในด ้านหนึง่
่ ารตีความคําสอน
การแปลพระสูตรของพระพุทธศาสนาได ้กระตุ ้นนั กคิดของจีน และนํ าไปสูก
ของพระพุทธเจ ้าซงึ่ เป็ นชาวอินเดีย จากพืน
้ ฐานทางปรัชญาของชาวจีนเอง จึงเป็ นการและ
เปลีย
่ นทางความคิดทีบ
่ ังเกิดผลอย่างกว ้างขวาง และมาถึงจุดสุดยอดในทาง
พระพุทธศาสนานิกายฮัวเอีย
้ นในจีน และพุทธศาสนานิกายคีกอนในญีป
่ น ุ่ ดังทีไ่ ด ้กล่าว
มาแล ้ว

ในอีกด ้านหนึง่ ความเป็ นนั กปฏิบัตใิ นจิตใจของชาวจีน ตอบสนองต่อการกระทบ


่ ฎเกณฑ์การปฏิบัตท
ของพุธศาสนาจากอินเดียโดยมุง่ สนใจต่อด ้านปฏิบัต ิ และพัฒนาสูก ิ าง
จิตใจชนิดพิเศษซงึ่ เรียกว่า ฌาน ซงึ่ แปลกันว่าสมาธิภาวนา ปรัชญาฌานนี้ในทีส
่ ด
ุ ญีป
่ นก็ ุ่ รับ
เอาไปในปี 1200 หลังคริสตกาล และได ้เจริญงอกงามทีน ื่ ว่า เซน และยังคงทรง
่ ั่ นในชอ
ชวี ต
ิ ชวี าตราบจนทุกวันนี้

เซนจึงเป็ นการผสมกลมกลืนของปรัชญา และลักษณะจําเพาะตัว ของวัฒนธรรม


ทีแ ี วี ต
่ ตกต่างกันสามแหล่ง เป็ นวิถช ิ แบบญีป
่ น ุ่ และสะท ้อนลักษณะ ทีเ่ ป็ นความลึกซงึ้ ทาง
สติปัญญาของอินเดีย ความรักในความเป็ นธรรมชาติและความเป็ นไปเองของเต๋า และการ
เน ้นการปฏิบัตข
ิ องลัทธิขงจือ

แม ้ว่าเซนจะมีลักษณะทีพ
่ เิ ศษเฉพาะตัว แต่แก่นแท ้ของเซนก็คอ
ื พุทธศาสนา
เนือ ื การตรัสรู ้อย่างพระพุทธองค์ซงึ่ เรียกกันในภาษาของ
่ งจากความมุง่ หมายของเซนก็คอ
เซนว่า สาโตริ ประสบการณ์แห่งการตรัสรู ้เป็ นแก่นแท ้ของปรัชญาตะวันออกสาขาต่าง ๆ
แต่เซนมีลักษณะจําเพาะตัว ตรงทีม
่ งุ่ เน ้นเป็ นพิเศษ เฉพาะประสบการณ์แห่งการตรัสรู ้นี้
ึ ก
โดยไม่สนใจในการตีความทัง้ หลาย สซ ึ ิ กล่าวว่า “เซน เป็นระเบียบปฏิบ ัติแห่งการตร ัส
รู”้ ในทัศนะของเซน การตรัสรู ้ของพระพุทธเจ ้า และคําสอนของพระพุทธองค์ทวี่ า่ ทุกคนมี
ศักยภาพทีจ
่ ะบรรลุถงึ ความตืน
่ อย่างสมบูรณ์ เป็ นแก่นแท ้ของพระพุทธศาสนา คําสอนอืน
่ ๆ
นอกจากนัน ่ ธิบายกันในพระสูตรหลายเล่มถือว่าเป็ นสว่ นเสริมประกอบ
้ ดังทีอ

ประสบการณ์ของเซนจึงเป็ นประสบการณ์แห่งสาโตริ และในเมือ


่ ประสบการณ์
่ นีโ้ ดยปรมัตถ์แล ้วไปพ ้นความคิดในทุกลักษณะ ดังนัน
เชน ้ เซนจึงไม่สนใจในการย่อสรุปหรือ
การสร ้างแนวคิดใด ๆ เซนไม่มค
ี ําสอนหรือปรัชญาทีพ ื่
่ เิ ศษพิสดารปราศจากหลักความเชอ
และกฎเกณฑ์ซงึ่ ปราศจากเหตุผล และยังยืนยันด ้วยว่า อิสรภาพจากความเชอ
ื่ ทีก
่ ําหนด
ตายตัวทัง้ มวล ซงึ่ เป็ นสงิ่ แสดงว่าเซนเป็ นเรือ
่ งของจิตวิญญาณอย่างแท ้จริง

ื่ มั่นว่าคําพูดไม่อาจแสดงสจ
เซนเชอ ั จะสูงสุดได ้ สงิ่ นีแ ั เจนใน
้ สดงออกอย่างชด
เซนมากกว่าในศาสนาอืน
่ ๆ ของตะวันออก เซนคงต ้องได ้รับอิทธิพลในเรือ
่ งนีจ
้ ากลัทธิเต๋า
ซงึ่ แสดงทัศนะในทํานองเดียวกัน จางจือ
้ กล่าวว่า “ หากมีคนถามถึงเต๋า และอีกคนหนึง่
ตอบ ทงสองคนน
ั้ นไม่
ั้ รเู ้ รือ
่ งเต๋าเลย ”

9.1 ไปล้างชาม

ู่ ษ
คําสอนของเซนได ้รับการถ่ายทอดจากอาจารย์สศ ิ ย์ด ้วยวิธพ
ี เิ ศษเฉพาะ ในแบบ
ทีเ่ หมาะสมกับเซน มาเป็ นเวลานานหลายศตวรรษแล ้ว เซนได ้รับคําอธิบายอย่างเหมาะสม
ทีส
่ ด ี่ รรทัดนี้
ุ ในวลีสบ
การถ่ายทอดนอกคัมภีร ์

ไม่องิ อาศัยคําพูดและตัวหนั งสอ


ี้ รงไปทีจ
ชต ่ ต
ิ ของมนุษย์

ค ้นหาธรรมชาติของมนุษย์และการบรรลุพท
ุ ธภาวะ

ี้ รง” นีเ้ ป็ นคุณสมบัตเิ ฉพาะตัวของเซน เป็ นแบบฉบับของ


เทคนิคแห่งการ “ชต
จิตใจแบบญีป
่ นซ ุ่ งึ่ หนักไปในด ้านญาณปั ญญา มากกว่าเฉลียวฉลาดในด ้านความคิดและ
นิยมทีจ
่ ะแสดงความจริงโดยไม่ต ้องอธิบายให ้มากความ อาจารย์เซนเป็ นผู ้ทีไ่ ม่พด
ู มากเกิน
จําเป็ นและรังเกียจการคํานึงคํานวณและการสร ้างทฤษฎีตา่ ง ๆ ดังนั น
้ พวกท่านจึงได ้พัฒนา
วิธก ี้ รงไปอยูส
ี ารแห่งการชต ั จะด ้วยคําพูดหรือการกระทําซงึ่ เป็ นไปเองในทันที แสดงถึง
่ จ
่ เดียวกับโกอันทีไ่ ด ้โดยกล่าวถึงแล ้ว คือมุง่ หมายที่
ความผิดธรรมดาของการนึกคิดและเชน
ึ ษาเซนให ้พร ้อมต่อการประจักษ์ แจ ้ง ประสบการณ์
จะหยุดกระบวนความคิด และเตรียมนั กศก
อันลึกซงึ้ เทคนิคดังกล่าว ดูได ้จากตัวอย่างบทสนทนาสน
ั ้ ๆ ต่อไปนี้ ระหว่างอาจารย์เซน
ิ ย์ ในบทสนทนาบทนี้ เป็ นแหล่งกําเนิดของตําราของเซนต่อมามากมาย จะเห็น
และลูกศษ
ได ้ว่า อาจารย์เซนพูดน ้อยทีส
่ ด ่ ะเป็ นไปได ้ และใชคํ้ าพูดของตน หันเหความสนใจ
ุ เท่าทีจ
ิ ย์ จากความคิดนึกแบบเลือ
ของลูกศษ ่ วามจริงทีอ
่ นลอย สูค ่ าจประจักษ์ ได ้

ู หนึง่ ซงึ่ มาขอรับคําสอน กล่าวแก่ทา่ นโพธิธรรมว่า


ภิกษุ รป

่ ยทําให้ใจของผมสงบลง
“ใจของผมไม่สงบ ได้โปรดชว
ด้วย”

“ไหนลองเอาใจของเธอมาให้ฉ ันดูซ ิ ” ท่านโพธิธรรมตอบ

“แล้วฉ ันจะทําให้ม ันสงบ”

“แต่เมือ
่ ผมหาใจของผม” ภิกษุ รป
ู นัน
้ กล่าว

“ผมก็หาม ันไม่พบ ”

“นน
่ ั ไง” ท่านโพธิธรรมสวนมาทันควัน

“ฉ ันได้ทําให้ใจของเธอสงบแล้ว ”

ู หนึง่ กล่าวแก่ทา่ นโจชวี า่ “ผมเพิง่ เข้าสู่


ภิกษุ รป
พระพุทธศาสนา โปรดให้คา
ํ แนะนําแก่ผมด้วย”
ี ามขึน
ท่านโจชถ ้ ว่า “เธอกินข้าวต้มของเธอแล้วหรือย ัง”

ภิกษุ รป ้ ตอบว่า “ผมกินแล้วคร ับ”


ู นัน

ี ล่าวว่า “ถ้างนไปล้
ท่านโจชก ั้ างชาม”

9.2 สาโตริ

ในบทสนทนาเหล่านีไ ุ หนึง่ ซงึ่ เป็ นลักษณะเฉพาะของเซน การตรัสรู ้ใน


้ ด ้ให ้แง่มม
เซนมิได ้หมายถึงการแยกตัวออกจากโลก แต่กลับหมายถึงการดํารงอยูใ่ นกิจการประจําวัน
อย่างมีชวี ต
ิ ชวี า ทัศนะดังกล่าวแสดงให ้เห็นอย่างชด
ั เจนถึงจิตใจของชาวจีน ซงึ่ ให ้
ความสําคัญต่อชวี ต
ิ นั กปฏิบัตแ
ิ ละนั กประดิษฐ์ ความคิดในเรือ
่ งความยืนยงของครอบครัว
และไม่อาจรับลักษณะของชวี ต
ิ ชาววัดของพุทธศาสนาในอินเดียได ้ อาจารย์ชาวจีนเน ้นอยู่
เสมอว่า ฌาน หรือ เซน คือประสบการณ์ในชวี ต
ิ ประจําวันของเรา เป็ น“จิตใจทุก ๆ ว ัน
” ดังทีห ้ กล่าว สง่ิ ทีท
่ ม่าจือ ่ า่ นเหล่านีม
้ งุ่ เน ้นคือ การตืน
่ ขึน
้ ท่ามกลางกิจการประจําวัน และ
เป็ นทีช ั เจนว่าท่านเหล่านีถ
่ ด ื เอาชวี ต
้ อ ิ ประจําวันมิใชเ่ พียงหนทางของการตรัสรู ้ แต่เป็ น
ตัวการตรัสรู ้เลยทีเดียว

ในเซน สาโตริ หมายถึง ประสบการณ์ฉ ับพล ัน ในการหยั่งรู ้ธรรมชาติแห่ง


ความเป็ นพุทธะของสรรพสงิ่ สงิ่ แรกสุดในสงิ่ ต่าง ๆ เหล่านีก ื วัตถุ กิจการ และผู ้คน ซงึ่
้ ็ คอ
่ วข ้องในชวี ต
เราเกีย ้ ในขณะทีเ่ ซนเน ้นการปฏิบัตใิ นชวี ต
ิ ประจําวัน ดังนั น ิ เซนก็เป็ นศาสนาทีม
่ ี
นัยอันลึกซงึ้ ด ้วยเชน
่ กัน ดํารงชวี ต
ิ ทัง้ มวลอยูใ่ นปั จจุบัน และทุม
่ เทความสนใจทัง้ หมดไปที่
ภารกิจประจําวัน บุคคลผู ้บรรลุสาโตริ ย่อมประจักษ์ความลับและความน่าพิศวงของชวี ต
ิ ใน
ทุก ๆ การกระทํา

่ นี้ ลึกลับอะไรเชน
อัศจรรย์อะไรเชน ่ นี้

ฉั นหาบฟื น ฉั นตักนํ้ า

ื การดําเนินชวี ต
ความสมบูรณ์แบบของเซนก็คอ ิ ประจําวันอย่างเป็ นไปตาม
่ มีผู ้ขอให ้ท่านป้ อจัง อธิบายเซน ท่านกล่าวว่า “เมือ
ธรรมชาติและเป็ นไปเอง เมือ ่ หิวกิน
เมือ
่ เหนือ ั เจน ทีม
่ ยนอน” ถึงแม ้ว่ามันจะดูงา่ ย ๆและชด ่ ักปรากฏอยูเ่ สมอในซนแต่จริง ๆ
แล ้วมันเป็ นงานทีย ่ ะดํารงชวี ต
่ ากเอาการ การทีจ ิ ได ้อย่างเป็ นธรรมชาติต ้องผ่านการฝึ กฝนที่
ี่ วชาญ และต ้องมีความมุง่ มั่นในการแสวงหาคุณค่าทางจิตใจ ดังประโยคทีม
เชย ่ ช ื่ เสย
ี อ ี งของ
เซนว่า

ก่อนทีท ึ ษาเซน ภูเขาเป็ นภูเขา และแม่นํ้าก็คอ


่ า่ นจะศก ื แม่นํ้า
ในขณะทีท ึ ษาเซน ภูเขาไม่เป็ นภูเขา และแม่นํ้ามิใชแ
่ า่ นศก ่ ม่นํ้า

แต่เมือ
่ ตรัสรู ้ ภูเขากลับเป็ นภูเขา และแม่นํ้าก็เป็ นแม่นํ้า

การเน ้นความเป็ นธรรมชาติ และความเป็ นไปเองในเซน แสดงให ้เห็นรากฐานซงึ่


มาจากลัทธิเต๋า แต่พน ่ นีเ้ ป็ นพุทธศาสนาอย่างแท ้จริง เป็ นความเชอ
ื้ ฐานของการมุง่ เน ้นเชน ื่
ในความสมบูรณ์ของธรรมชาติเดิมของเรา เป็ นความตระหนั กรู ้ว่ากระบวนการแห่งการตรัสรู ้
ก็คอ ่ ภาพทีเ่ ราเป็ นมาตัง้ แต่ต ้น เมือ
ื การกลับสูส ่ อาจารย์ป้อจัง ถูกถามเกีย
่ วกับการแสวงหา
ธรรมชาติแห่งความเป็ นพุทธะ ท่านตอบว่า “ม ันเหมือนก ับการขีห
่ ล ังว ัวเพือ
่ หาว ัวนน
่ั
แหละ”

9.3 โดคือเต๋า

ในญีป
่ นปั ุ่ จจุบัน เซนได ้แยกเป็ นสองนิกายย่อย ซงึ่ แตกต่างกันโดยวิธก
ี ารสอน

นิกายรินไซ หรือนิกาย “ฉ ับพล ัน” สอนโดยใชโกอั น และให ้ความสําคัญกับชว่ งเวลาที่
ึ ษา ทีเ่ รียกว่า ซานเซน ในชว่ งนีอ
อาจารย์เซนจะสนทนากับนักศก ึ ษา
้ าจารย์เซนจะให ้นั กศก
อธิบายโกอันซงึ่ ตนกําลังขบอยู่ การไขปริศนาของโกอันต ้องผ่านการทําสมาธิอย่างแน่วแน่
เป็ นเวลานาน จนกระทั่งเกิดการรู ้แจ ้งแห่งสาโตริ อาจารย์เซนทีม
่ ป
ี ระสบการณ์จะรู ้ว่าเมือ
่ ใด
ทีน ึ ษาเซนมาถึงขอบแห่งการรู ้แจ ้งอย่างฉั บพลัน และสามารถทีจ
่ ักศก ่ ะใชคํ้ าพูด หรือการ
่ ระสบการณ์ของสาโตริได ้ ด ้วยวิธก
กระทํากระตุกให ้สะดุ ้ง และนํ าเขาหรือเธอเข ้าสูป ี ารทีไ่ ม่
่ การตีด ้วยไม ้ หรือ การตะโกนเสย
คาดฝั น เชน ี งดัง

ื่ งชา้ ” เลีย
นิกายโสโตะ หรือนิกาย “เชอ ่ งวิธก
ี ารทีจ
่ ะทําให ้สะดุ ้งของนิกายรินไซ
ึ ษาเซนค่อย ๆ สุกงอมในทางจิตใจ “เปรียบเหมือนสายลมอ่อน ๆ ในฤดู
และมุง่ ให ้นักศก
ใบไม้ผลิซงึ่ ทนุถนอมดอกไม้และชว
่ ยให้เบ่งบาน” นิกายนีส
้ ง่ เสริมการ “นง่ ั
เงียบๆ” และการงานประจําวัน โดยถือเป็ นการทําสมาธิภาวนาทัง้ สองแบบ

ทัง้ นิกายโสโตะและรินไซให ้ความสําคัญอย่างสูงสุดแก่การทํา ซาเซนหรือการทํา


สมาธิภาวนา ซงึ่ ผู ้ปฏิบัตใิ นวัดเซนต ้องกระทําเป็ นเวลาหลาย ๆ ชวั่ โมงในแต่ละวัน สงิ่ แรกที่
ึ ษาเซนจะต ้องเรียนรู ้ก็คอ
นักศก ื ท่านั่งและการหายใจในนิกายรินไซ ซาเซนเป็ นการ
ตระเตรียมจิตใจเพือ ่ ําคัญทีส
่ การจับฉวยโกอัน ในนิกายโซโตะถือว่าซาเซนเป็ นนิกายทีส ่ ด
ุ ที่
ชว่ ยให ้นักศก
ึ ษามีอน
ิ ทรียแ
์ ก่กล ้าและพร ้อมต่อสาโตริ ยิง่ ไปกว่านัน
้ ซาเซนยังถูกถือว่า เป็ น
การกระทําเพือ
่ การหยั่งรู ้ธรรมชาติ แห่งการเป็ นพุทธะของตน ร่างกายและจิตใจได ้ผนึกรวม
เป็ นเอกภาพทีบ
่ รรสานสอดคล ้อง ไม่จําเป็ นต ้องมีการปรับปรุงอีกต่อไป ดังทีบ
่ ทกวีของเซน
กล่าวไว ้ว่า

นั่งนิง่ เงียบ ไม่กระทําสงิ่ ใด


เมือ
่ ฤดูใบไม ้ผลิกรายมาต ้นหญ ้าก็งอกงาม

เมือ
่ เซนยืนยันว่า การตรัสรู ้ปรากฏได ้ในกิจการประจําวัน เซนจึงมีอท
ิ ธิพลอย่าง
ี วี ต
มากต่อวิถช ิ ของชาวญีป
่ น ่ ต่เพียงมีอท
ุ่ มิใชแ ิ ธิพลในด ้านจิตกรรม การประดิษฐ์อักษร การ
จัดสวน และงานหัตถกรรมหลายอย่างเท่านั น
้ แต่ยังรวมไปถึงพิธก
ี รรมและกิจกรรมต่าง ๆ
่ การชงชา หรือการจัดดอกไม ้ การยิงธนู การต่อสูด้ ้วยดาบและยูโด สงิ่ ต่าง ๆ เหล่านี้
เชน
ถูกลือกันในญีป
่ นว่ ่ ารตรัสรู ้ บรรจุอยูด
ุ่ าเป็ น โด นั่ นคือ เต๋า หรือหนทางสูก ่ ้วยลักษณะต่างๆ
ของประสบการณ์ของเซน และนํ าไปใชฝึ้ กฝนเพือ ั ผัสกับสจ
่ นํ าจิตใจให ้สม ั ธรรมสูงสุดได ้

9.4 ยิงไปเอง

ข ้าพเจ ้าได ้เคยกล่าวถึง พิธช


ี งนํ้ าชา ของชาวญีป
่ นซ ุ่ งึ่ เรียกว่า ชา-โน-ยี ทีท ุ สงิ่
่ ก
ื่ งชาและเป็
กระทําไปอย่างเชอ ้ นพิธก ่ นไหวอย่างเป็ นไปเองของมือซงึ่ ใชในการ
ี รรม การเคลือ ้
เขียนตัวอักษรหรือภาพเขียน และจิตวิญญาณของ บึซโิ ด “วิถแ ิ ปะต่าง ๆ
ี ห่งน ักรบ” ศล
เหล่านีท
้ ัง้ หมดเป็ นการแสดงออกของความเป็ นไปเอง ความเรียบง่าย และจิตใจทีต
่ น
ื่ เต็มที่
ซงึ่ เป็ นลักษณะสําคัญของชวี ต ิ ปะเหล่านีจ
ิ แบบเซน แม ้ว่าศล ้
้ ะใชเทคนิ
คทีส
่ มบูรณ์แบบ แต่
ี่ วชาญอย่างแท ้จริงนัน
การจะทําให ้เชย ้ จะเป็ นไปได ้ก็ตอ
่ เมือ
่ ก ้าวพ ้นเทคนิคต่าง ๆ เหล่านั น

และศล ิ ปะแห่งความไม่มศ
ิ ปะกลายเป็ น “ศล ิ ปะ” ผุดขึน
ี ล ้ จากใต ้สํานึก

เป็ นโชคดีของเราทีม
่ ห ื ของ ยูเกน เฮอร์รเิ กล ชอ
ี นังสอ ิ ปะการยิง
ื่ “เซนในศล
ิ ปะแห่งความไม่มศ
ธนู” อธิบาย “ศล ิ ปะ” นั น
ี ล ้
้ เฮอร์รเิ กล ได ้ใชเวลากว่
าห ้าปี อยูก
่ ับ
อาจารย์ชาวญีป
่ นเพื
ุ่ อ ิ ปะ “อ ันลึกล ับ” และเขาได ้ให ้ทัศนะในหนั งสอ
่ เรียนรู ้ศล ื ของเขา
เกีย
่ วกับเซนจากประสบการณ์ในการยิงธนู เขาอธิบายถึงการทีย
่ งิ ธนูถก
ู ถือปฏิบัตเิ หมือน
ี รรมทางศาสนา ซงึ่ “ร่ายรํา” ในท่วงทํานองแห่งการเป็ นไปเอง ไร ้ความพยายามและ
พิธก

ความมุง่ หมาย เขาใชเวลาฝึ กฝนหลายปี จนกระทั่งมันได ้เปลีย ี วี ต
่ นวิถช ิ ของเขา เพือ
่ เรียนรู ้
วิธท ี่ ะน ้าวคันธนู “โดยปราศจากความตงใจ”
ี จ ั้ ให ้การยิง “ไปจากน ักยิงธนูเหมือนก ับ
ผลไม้สก
ุ (หล่นจากต้น)” เมือ
่ เขาบรรลุความสมบูรณ์ คันธนู ลูกศร เป้ าและคนยิง หลอม
้ เขามิได ้เป็ นผู ้ยิง แต่ “ม ัน” ทําของมันเอง
รวมเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกัน ในขณะนั น

คําอธิบายของเฮอร์รเิ กล ในเรือ
่ งการยิงธนู เป็ นทัศนะทีบ
่ ริสท
ุ ธิอ
์ ย่างยิง่ ในเรือ
่ ง
เซน ทัง้ นีเ้ พราะไม่ได ้พูดเกีย
่ วกับเซนไว ้เลย

ภาคที่ 3 ความสอดคล้อง

บทที่ 10 เอกภาพแห่งสรรพสงิ่

ถึงแม ้ว่าศาสนาต่าง ๆ ดังทีไ่ ด ้อธิบายในบททีแ


่ ล ้ว ๆ มา จะแตกต่างกันใน
รายละเอียดหลายประการ อย่างไรก็ตาม โดยแก่นแท ้แล ้วโลกทัศน์ของแต่ละศาสนาเป็ นสงิ่
เดียวกัน นั่นคือ ต่างตัง้ อยูบ ้ ฐานของประสบการณ์ในทางจิตใจ ซงึ่ เป็ นประสบการณ์
่ นพืน
ั จะ และไม่เป็ นฝั กฝ่ ายของความคิดนึก โดยทีป
โดยตรงต่อสจ ่ นี้ มีลักษณะ
่ ระสบการณ์เชน
้ ฐานหลายประการซงึ่ ไม่ขน
พืน ึ้ ต่อภูมห
ิ ลังทางภูมศ
ิ าสตร์ ประวัตศ
ิ าสตร์ และวัฒนธรรมของ
บุคคลนัน ้ ฐานของโลกทัศน์ซงึ่ เกิด
้ ๆ โลกทัศน์ดังกล่าวยังปรากฏสอดคล ้องกับลักษณะพืน
ิ สส
จากฟิ สก ์ มัยใหม่ด ้วย

่ ําคัญทีส
ลักษณะทีส ่ ด
ุ หรือแก่นแท ้ของโลกทัศน์แบบตะวันออกก็คอ
ื การตระหนั ก
ั พันธ์เนือ
รู ้ในความเป็ นเอกภาพและความสม ่ งกันของสรรพสงิ่ และเหตุการณ์ทัง้ มวล คือ
ประสบการณ์แห่งการหยั่งรู ้ว่าปรากฏการณ์ทัง้ หลายในโลกล ้วนเป็ นปรากฏแสดงของความ
เป็ นหนึง่ เดียว สงิ่ ทัง้ หลายล ้วนเป็ นสว่ นประกอบของเอกภาพ ซงึ่ ต ้องอิงอาศย
ั กันอย่างไม่
อาจแยกจากกันได ้ สรรพสงิ่ เป็ นการปรากฏแสดงในแง่มม ั จะสูงสุดอันเดียวกัน
ุ ต่าง ๆ ของสจ
ั จะสูงสุดอันไม่อาจแบ่งแยก ซงึ่ ปรากฏแสดงอยู่
ในศาสนาตะวันออกได ้กล่าวอยูเ่ สมอถึงสจ
ในสรรพสงิ่ และซงึ่ สงิ่ ทัง้ หลาย ล ้วนเป็ นสว่ นประกอบของมัน ฮน
ิ ดูเรียกว่า พรหมัน พุทธ
ศาสนาเรียกว่า ธรรมกาย และลัทธิเต๋าเรียกว่า เต๋า เนือ ั จะนีอ
่ งจากสจ ้ ยูเ่ หนือแนวคิดและ
ั จะนีอ
การแบ่งแยกทัง้ มวล ชาวพุทธจึงเรียกสจ ้ ก ื่ หนึง่ ว่า ตถตา หรือ ความเป็ นเชน
ี ชอ ่ นั น
้ เอง

่ นัน
ความเป็ นเชน ื ความเป็ นหนึง่ เดียวของสรรพสงิ่ ทัง้ มวล
้ เองแห่งวิญญาณ ก็คอ
เป็ นมหาธาตุซงึ่ รวมทุกสงิ่ ไว ้

ในชวี ต
ิ สามัญเรามิได ้ตระหนั กถึงเอกภาพแห่งสรรพสงิ่ ทีว่ า่ นี้ แต่กลับแบ่งแยก
้ อกเป็ นวัตถุและเหตุการณ์ตา่ ง ๆ กัน การแบ่งแยกดังกล่าว เป็ นสงิ่ ทีม
โลกนีอ ่ ป
ี ระโยชน์และ
จําเป็ น สําหรับการเกีย
่ วข ้องกับสภาพแวดล ้อมในประจําวัน ทว่ามันไม่ได ้เป็ นลักษณะ
พืน ั จะ เป็ นเพียงการย่อสรุปของความคิดแยกแยะแจกแจง การเชอ
้ ฐานของสจ ื่ และการยึดใน
ความคิดทีเ่ ห็นเหตุการณ์และสงิ่ ต่าง ๆ แยกจากกันว่าเป็ นความจริงของธรรมชาตินัน
้ เป็ น
ิ ดูและชาวพุทธถือว่า ภาพลวงดังกล่าวสบ
เพียงภาพลวง ชาวฮน ื เนือ
่ งมาจาก อวิชชา ความ
ไม่รู ้ เกิดกับจิตใจซงึ่ อยูใ่ ต ้อํานาจสะกดของ มายา ศาสนาตะวันออกจึงมีเป้ าหมายสําคัญอยู่
ทีก ี ใหม่ โดยการควบคุมจิตใจให ้รวมอยูท
่ ารปรับสภาพจิตใจเสย ่ จ
ี่ ด
ุ เดียวและสงบจากความ
ั สกฤตมีความหมาย
รบกวนต่าง ๆ โดยผ่านการทําสมาธิภาวนา คําว่า “สมาธิ” ในภาษาสน
ตามตัวอักษรว่า “สมดุลทางใจ” ซงึ่ แสดงถึงความสมดุลและความสงบของจิตใจ อันหยัง่ รู ้
ถึงความเป็ นเอกภาพของจักรวาล

เมือ ่ มาธิทบ
่ เข ้าสูส ุ ธิ์ (เราย่อมได ้) ญาณซงึ่ ชําแรกสูค
ี่ ริสท ่ วามเป็ นหนึง่ เดียวอัน
สมบูรณ์แห่งจักรวาล

10.1 การตีความของโคเปนฮาเกน

ความเป็ นหนึง่ เดียวแห่งจักรวาล มิใชเ่ ป็ นเพียงแกนกลาง ของประสบการณ์ทาง


ศาสนาเท่านัน ่ ําคัญทีส
้ แต่ยังเป็ นการค ้นพบทีส ่ ด ิ สส
ุ อันหนึง่ ของวิชาฟิ สก ์ มัยใหม่เชน
่ กัน
ั เจนในการศก
ปรากฏชด ึ ษาในระดับอะตอม และยิง่ แสดงตัวมันเองชด
ั เจนยิง่ ขึน
้ เมือ
่ เรา
ึ ษาลึกลงไปในวัตถุ จนถึงระดับอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม ความเป็ นเอกภาพของสรรพสงิ่
ศก
ิ สส
จะเป็ นหัวข ้อเปรียบเทียบระหว่างวิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ และปรัชญาตะวันออก ตลอดการ
พิจาณาของเรา เมือ ึ ษาแบบจําลองต่าง ๆ ของวิชาฟิ สก
่ เรายิง่ ศก ิ สท
์ วี่ า่ ด ้วยอนุภาคทีเ่ ล็กกว่า
อะตอม มันจะแสดงให ้เห็นแล ้ว เล่าในแง่มม
ุ ทีต
่ า่ ง ๆ กันว่า องค์ประกอบของสสารวัตถุ และ
ปรากฏการณ์พน ่ วข ้องกับมัน ล ้วนเป็ นสงิ่ ทีเ่ กีย
ื้ ฐานทัง้ หลายทีเ่ กีย ่ วเนือ ั พันธ์และอิง
่ งสม
อาศัยกัน เราไม่อาจจะเข ้าใจมันแต่ละสงิ่ ได ้อย่างโดด ๆ แต่จะเข ้าใจมันได ้ เมือ
่ มันเป็ นสว่ น
หนึง่ ของทัง้ หมด

ในบทนีข
้ ้าพเจ ้าว่า ความคิดเรือ
่ งความเกาะเกีย ั พันธ์กัน โดยพืน
่ วสม ้ ฐานของ
ธรรมชาติ เกิดขึน
้ ในทฤษฎีควอนตัม อันเป็ นทฤษฎีเกีย
่ วกับปรากฏการณ์ของอะตอมได ้
ึ ษาสงั เกต
อย่างไร โดยจะเสนอการวิเคราะห์อย่างละเอียดต่อกระบวนการในการศก
คําอธิบายต่อไปนี้ ยืนพืน
้ อยูบ
่ นการตีความทฤษฎีควอนตัม ตามแบบ โคเปนฮาเกน (
Copenhagen Interpretation ) เสนอโดย บอหร์ และไฮเซนเบิรก
์ ในปลายทศวรรษ 2463
ซงึ่ ยังคงเป็ นแบบทีย
่ อมรับกันมากทีส
่ ด ั และข ้าพเจ ้าจะใชวิ้ ธใี นการนํ าเสนอ
ุ จนถึงปั จจุบน
ของเฮนดรี แสตป แห่งมหาวิทยาลัยคาลิฟอเนีย ซงึ่ มุง่ สนใจเฉพาะบางแง่มม
ุ ของทฤษฎี
และสภาพการทดลอง ทีม
่ ักจะเกีย ิ สข
่ วข ้องกับวิชาฟิ สก ์ องอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมอยูเ่ สมอ
การนํ าแสดงของแสตป แสดงให ้เห็นถึงความเกาะเกีย ั พันธ์กัน ของธรรมชาติอย่างไร
่ วสม

การตีความแบบโคเปนฮาเกน เริม ิ ส ์ ออกเป็ นระบบที่


่ ต ้นด ้วยการแบ่งโลกทางฟิ สก
ถูกสงั เกตุ (วัตถุ) และระบบทีท ่ งั เกตระบบทีถ
่ ําหน ้าทีส ู สงั เกตอาจจะเป็ นอะตอม อนุภาคที่
่ ก
เล็กกว่าอะตอม กระบวนการทีเ่ กีย
่ วเนือ
่ งกับอะตอม หรืออืน
่ ๆ ระบบทีท ่ งั เกต
่ ําหน ้าทีส
ประกอบขึน
้ ด ้วยเครือ
่ งมือเครือ ้
่ งใชในการทดลอง และอาจจะรวมถึงผู ้สงั เกตการณ์หนึง่ คน
หรือมากกว่า ความยุง่ ยากเกิดขึน
้ จากข ้อเท็จจริงทีว่ า่ ทัง้ สองระบบได ้รับการปฏิบัตต
ิ า่ งกัน
่ ําหน ้าสงั เกตถูกอธิบายตามแบบฟิ สก
ระบบทีท ิ สด
์ งั ้ เดิม แต่แบบการอธิบายนีจ ้ ได ้
้ ะใชไม่
กับ “ว ัตถุ” ทีถ ู สงั เกต เรารู ้ดีวา่ ความคิดแบบดัง้ เดิมไม่พอเพียงต่อการอธิบายสงิ่ ต่าง ๆ
่ ก
เกีย ้ เราก็จําเป็ นต ้องใชมั้ นในการอธิบายการทดลองและนํ าเสนอผกา
่ วกับอะตอม ถึงอย่างนัน
รทดลอง เราไม่มท
ี างทีจ
่ ะหลีกหนีความขัดแย ้งนีไ ิ สด
้ ปได ้ ภาษาทางวิชาการของฟิ สก ์ งั ้ เดิม
เป็ นเพียงภาษาประจําวันทีล
่ ะเอียดละออยิง่ ขึน
้ และเป็ นภาษาชนิดเดียว ทีเ่ รามีเพือ ้
่ ใชใน
การถ่ายทอดผลการทดลอง

10.2 เตรียมการเพือ
่ ตรวจว ัด

ในทฤษฎีควอนตัม ระบบทีถ ู สงั เกต ได ้รับการอธิบายในรูปของค่าความอาจ


่ ก
เป็ นไปได ้ (probabilities) นั่นหมายความว่า เราไม่อาจทํานายได ้ด ้วยความเทีย
่ งตรง
แน่นอนว่า อนุภาคทีเ่ ล็กว่าอะตอมอันหนึง่ ๆ จะอยู่ ณ ตําแหน่งใดในเวลาหนึง่ หรือกระบวน
การเกีย ้ ได ้อย่างไร สงิ่ ทีเ่ ราสามารถกระทําได ้คือ ทํานายความน่าจะ
่ วกับอะตอมจะเกิดขึน
่ อนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมทีเ่ รารู ้จักกันในปั จจุบน
เป็ นไปได ้ ยกตัวอย่างเชน ั สว่ นมากจะไม่คง
ตัว นั่นคือมันจะสลายไปเป็ นอนุภาคอืน
่ เมือ
่ เวลาผ่านไประยะหนึง่ อย่างไรก็ตาม เราไม่อาจ

ทํานายว่า มันใชเวลาเท่
าไรจริง ๆ ในการสลายตัว เราทําได ้แต่เพียงทํานายว่าความเป็ นไป
ได ้ทีม
่ ันจะสลายตัวในระยะเวลาหนึง่ หรือกล่าวอีกนั ยหนึง่ คือ อายุเฉลีย
่ ของอนุภาคชนิดนั น

่ นี้ ใชกั้ บ “แบบแผน” การสลายตัวด ้วย โดยทั่ว ๆ ไป อนุภาคซงึ่ ไม่คงตัว
ๆ ลักษณะเชน
อาจจะสลายตัวไปเป็ นอนุภาคอืน
่ ได ้หลายชนิด และเราก็ไม่อาจทีจ
่ ะทํานายได ้ว่า มันจะ
สลายตัวไปเป็ นอนุภาคชนิดใดบ ้าง ในแต่ละครัง้ ทีเ่ ราพิจารณา สงิ่ ทีเ่ ราทํานายได ้คือว่า 60
เปอร์เซ็นต์ของอนุภาค จะสลายตัวไปในลักษณะหนึง่ อีก 30 เปอร์เซ็นต์ในอีกลักษณะหนึง่
และอีก 10 เปอร์เซ็นต์ในลักษณะอืน
่ การทํานายทางสถิตเิ หล่านี้ จําเป็ นต ้องทดสอบพิสจ
ู น์
ด ้วยการตรวจวัดผลการทดลองหลาย ๆ อัน โดยแท ้จริงแล ้ว มีการตรวจวัดและวิเคราะห์ผล
จากการชนกันของอนุภาคทีม
่ พ
ี ลังงานสูงเป็ นหมืน
่ ๆ อนุภาค เพือ
่ ทีจ
่ ะหาความเป็ นไปได ้
ของการเกิดกระบวนการเฉพาะ อันใดอันหนึง่

เป็ นสงิ่ สําคัญทีจ ิ สข


่ ะต ้องตระหนั กว่า สูตรทางคณิตศาสตร์ ของกฎทางฟิ สก ์ อง
อะตอม และอนุภาคทีเ่ ล็กว่าอะตอมนัน ่ งิ่ สะท ้อนให ้เห็นความละเลยของเรา ต่อ
้ มิใชส
ิ ส ์ เหมือนกับการใชหลั
สภาพการณ์ทางฟิ สก ้ กการความอาจเป็ นไปได ้ในบริษัทประกันภัย
หรือพวกนักพนัน ในทฤษฎีควอนตัม เราจะต ้องระลึกรู ้อยูว่ า่ ความอาจเป็ นไปได ้นี้ เป็ น
คุณลักษณะพืน ่ งอะตอม ซงึ่ ควบคุมกระบวนการทัง้ หมด แม ้กระทั่ง
้ ฐานของความจริงในเรือ
การดํารงอยูข
่ องสสารวัตถุ อนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมมิได ้ดํารงอยูอ
่ ย่างแน่นอน ณ ทีใ่ ดที่
หนึง่ อย่างจําเพาะเจาะจง แต่แสดง “ความโน้มเอียงทีจ
่ ะดํารงอยู”่ และเหตุการณ์ท ี่
เกีย
่ วข ้องกับอะตอมนัน
้ มิได ้เกิดขึน
้ ด ้วยความแน่นอน ในเวลาใดเวลาหนึง่ โดยลักษณะใด
ลักษณะหนึง่

ข ้อแตกต่างระหว่างการอธิบายสองแบบคือ ในแบบดัง้ เดิมสําหรับการจัด


่ งมือ ผู ้สงั เกต ) กับในรูปฟั งก์ชน
เตรียมการทดลอง ( เครือ ั ของความอาจเป็ นไปได ้ (
probability functions ) สําหรับวัตถุทถ ู สงั เกตนัน
ี่ ก ่ ั ญหาทีล
้ ได ้นํ าไปสูป ึ ซงึ้ ทาง
่ ก
อภิปรัชญาซงึ่ ยังไม่มค
ี ําเฉลย อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัตน
ิ ัน
้ ปั ญหานีไ
้ ด ้ถูกขีดวงจํากัดโดย
การอธิบายระบบทีท ่ งั เกตในแง่ของกระบวนการการทดลอง นั่ นคือ ในแง่ของ
่ ําหน ้าทีส
วิธก
ี ารในการจัดสภาพและดําเนินการทดลอง โดยวิธน
ี อ
ี้ ป
ุ กรณ์ในการตรวจวัดผลและ
ื่ มโยงกันเป็ นระบบทีส
นักวิทยาศาสตร์ได ้เชอ ั พันธ์กันอย่างมีประสท
่ ม ิ ธิภาพ และอุปกรณ์การ
ทดลองก็ไม่ถก
ู ถือว่าเป็ นวัตถุทแ
่ี ยกอยูต
่ า่ งหากอีกต่อไป
ในกระบวนการของการสงั เกต เราจะต ้องเกีย
่ วข ้องกับกระบวนการการย่อยสอง
กระบวนการ คือ

ประการแรก เราจะต ้องเตรียมวัตถุทเี่ ราจะสงั เกตขึน ่ อิเล็กตรอนในบริเวณ


้ เชน
หนึง่ อิเล็กตรอนจะถูกเร่งให ้มีความเร็วสูงขึน
้ ๆ โดยเครือ
่ งเร่งอนุภาค (particle
accelerator) จนถึงระดับพลังงานทีต ่ ริเวณทีเ่ ป็ น
่ ้องการอิเล็กตรอนจะถูกปล่อยไปสูบ
เป้ าหมาย (ข.) ซงึ่ อิเล็กตรอนจะชนกับอนุภาคชนิดอืน
่ และก่อให ้เกิดรอยของอนุภาค
ในบับเบิลแชมเบอร์ ซงึ่ สามารถบันทึกภาพไว ้ได ้ จากนั น
้ คุณสมบัตข
ิ องอนุภาคจะถูก
ั พันธ์กบ
วิเคราะห์โดยกระบวนการทางคณิตศาสตร์สม ่ ันทิง้ ไว ้ โดยสว่ นมากจะอาศัย
ั รอยทีม
คอมพิวเตอร์ชว่ ย กระบวนการหลังนีค
้ อ
ื กระบวนการการตรวจวัดผล

ประเด็นสําคัญในการวิเคราะห์กระบวนการในการสงั เกตก็คอ
ื ว่า อนุภาคได ้
ื่ มโยงกระบวนการ ก. และ ข. เข ้าด ้วยกัน การดํารงอยูข
เชอ ่ องมันมีความหมาย แต่ใน
ขอบเขตนีเ้ ท่านัน
้ มันจะไม่มค
ี วามหมาย เมือ
่ มันอยูโ่ ดดเดีย
่ ว แต่จะมีความหมายเมือ
่ มัน
เป็ นสงิ่ เชอ
ื่ มโยงระหว่างกระบวนการในการเตรียมการ และกระบวนการตรวจวัดผล
คุณสมบัตข ื่ มโยงกับกระบวนการเหล่านี้ หาก
ิ องอนุภาคไม่อาจจะอธิบายได ้โดยไม่เชอ
กระบวนการในการเตรียมการหรือกระบวนการตรวจวัดผลเปลีย
่ นแปลงไป คุณสมบัตข
ิ อง
อนุภาคก็จะเปลีย
่ นไปด ้วย

10.3 แยกออกจากการเตรียม

่ เราพูดถึง “อนุภาค” หรือระบบทีถ


ในอีกแง่หนึง่ เมือ ู สงั เกตอืน
่ ก ่ ใดก็ตาม นั่ น
แสดงให ้เห็นว่า เรามีวต ิ สอ
ั ถุทางฟิ สก ์ ย่างหนึง่ อย่างใดทีเ่ ป็ นอิสระในใจ แรกทีเดียวถูกสร ้าง
ขึน
้ และต่อมาถูกตรวจวัด ดังนัน ้ ฐานในกระบวนการสงั เกตของวิชาฟิ สก
้ ปั ญหาพืน ิ สท
์ วี่ า่ ด ้วย
ื “ระบบทีถ
อะตอม ก็คอ ่ ก ั องเป็นสงิ่ ทีถ
ู สงเกตต้ ่ ก
ู แยกให้เป็นอิสระเพือ
่ ทีจ
่ ะอธิบายม ัน
แต่ตอ
้ งให้เข้าทําปฏิกริ ย
ิ าเพือ
่ ทีจ ั
่ ะสงเกตได้
” ตามคํากล่าวของเฮนรี แสตป ในทฤษฎี
ควอนตัม ปั ญหานีถ
้ ก
ู แก ้ไปโดยการกําหนดให ้ระบบทีถ ู สงั เกต เป็ นอิสระจากการรบกวน
่ ก
จากภายนอก ซงึ่ เกิดจากกระบวนการในการสงั เกตในชว่ งใดชว่ งหนึง่ ระหว่างกระบวนการ
เตรียมการและกระบวนการตรวจวัดผล เงือ ่ นั น
่ นไขเชน ้ จะเกิดขึน
้ ได ้ก็ตอ
่ เมือ
่ อุปกรณ์ในการ
เตรียมการและการตรวจวัดผลอยูห
่ า่ งจากกันมาก เพือ
่ ให ้วัตถุทถ ู สงั เกตเดินทางจากบริเวณ
ี่ ก
่ ริเวณในการตรวจวัดผล
ในการเตรียมการไปสูบ

ระยะทางดังกล่าวควรจะเป็ นเท่าไร? ในหลักการแล ้ว มันควรจะเป็ นอนั นต์


(infinite) ในโครงร่างของทฤษฎีควอนตัม เราจะอธิบายความคิดเรือ ิ สท
่ งวัตถุทางฟิ สก ์ แ
ี่ ยก
จากวัตถุอน
ื่ ได ้อย่างถูกต ้องแม่นยํา ถ ้าหากวัตถุนัน ่ า่ งจากสว่ น ทีท
้ ๆ อยูห ่ งั เกตเป็ น
่ ําหน ้าทีส
ระยะทางอนันต์ ในทางปฏิบัตม ่ นั น
ิ ันเป็ นไปไม่ได ้ และไม่จําเป็ นต ้องเป็ นเชน ้ ด ้วย เราจะต ้อง
นึกถึงทัศนะคติพน
ื้ ฐานของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ทวี่ า่ แนวคิดและทฤษฎีทัง้ มวลล ้วนเป็ น
การประมาณ ในกรณีนห
ี้ มายความว่า ความคิดเรือ ิ สท
่ งวัตถุทางฟิ สก ์ แ
ี่ ยกจากวัตถุอน
ื่ ไม่
่ งตรงแน่นอน แต่อาจจะให ้ความหมายโดยประมาณ ซงึ่ ทําได ้
จําเป็ นต ้องมีความหมายเทีย
ดังต่อไปนี้

วัตถุทถ ู สงั เกต เป็ นสงิ่ แสดงปฏิกริ ย


ี่ ก ิ า ระหว่างกระบวนการเตรียมการ และ
กระบวนการตรวจวัดผล ปฏิกริ ย
ิ าดังกล่าวโดยทั่ว ๆไปแล ้วจะเป็ นปฏิกริ ย
ิ าทีซ ั ซอนและ
่ บ ้
เกีย ่ งกับกระบวนการต่าง ๆ มากมาย ซงึ่ ใชระยะทางต่
่ วเนือ ้ ิ สเ์ ราเรียกว่า
าง ๆ กัน ในฟิ สก
่ ง” (ranges ) ต่าง ๆ กัน หากสว่ นทีส
มี “ชว ่ ําคัญของปฏิกริ ย
ิ ามีชว่ งยาว นั่ นคือ ใชระยะทาง

มาก มันก็จะเป็ นอิสระจากสงิ่ รบกวนภายนอก และจะถือว่า วัตถุทแ
ี่ ยกเป็ นอิสระต่างหากจาก
วัตถุอน ิ ระจึงเป็ นสงิ่ ในอุดมคติ ซงึ่ จะมี
ื่ ได ้ ในโครงร่างของทฤษฎีควอนตัม วัตถุอส
่ ว่ นสําคัญของปฏิกริ ย
ความหมายก็แต่ในขอบเขตทีส ิ ามีชว่ งยาว สภาพการณ์ดังกล่าวเรา
ิ สม
สามารถแสดงอย่างละเอียดด ้วยคณิตศาสตร์ ในทางฟิ สก ์ ันหมายความว่า อุปกรณ์ในการ
ตรวจวัดผล อยูห ิ าสําคัญเกิดขึน
่ า่ งมาก จนปฏิกริ ย ้ โดยผ่านการแลกเปลีย
่ นอนุภาค หรือ
ร่างแหของอนุภาค ในกรณีทซ
ี่ บ ้
ุ ซอนยิ
ง่ ขึน
้ มันอาจะมีปฏิกริ ย
ิ าอืน
่ เกิดขึน
้ ด ้วย แต่ตราบเท่าที่
่ า่ งออกไปมากเพียงพอ สง่ิ เหล่านีก
อุปกรณ์ในการตรวจวัดผลยังอยูห ้ ็ไม่สําคัญจนอาจจะ
ตัดทิง้ ไปได ้ เมือ
่ อุปกรณ์นัน
้ อยูห
่ า่ งออกไปไม่มากพอเท่านั น
้ ทีจ ิ าซงึ่ มีชว่ งสน
่ ะทําให ้ปฏิกริ ย ั้
กลายเป็ นสว่ นสําคัญ ในกรณีเชน
่ นัน
้ ระบบทัง้ หมดจะหลอมรวมเป็ นอันเดียวกัน และ
ความคิดเรือ
่ งวัตถุทถ ู สงั เกตจะหมดความหมายลง
ี่ ก

ดังนัน
้ ทฤษฎีควอนตัมจึงเปิ ดเผยให ้เห็นถึงความเกีย ื่ มโยงกันของสรพสงิ่
่ วพันเชอ
จักรวาล มันแสดงให ้เห็นว่าเราไม่อาจย่อยสลายโลกลงเป็ นหน่วยเล็ก ๆ ทีเ่ ป็ นอิสระได ้ เมือ

้ ฐาน” ใน
เราเจาะลึกลงไปในวัตถุ เราพบว่ามันประกอบด ้วยอนุภาคแต่ทว่ามิใช ่ “หน่วยพืน
ความหมายตามแบบของ เดโมคริตัสและนิวตัน มันเป็ นสงิ่ ในอุดมคติซงึ่ มีคณ
ุ ประโยชน์ในแง่
ี วามหมายสําคัญในขัน
ของการปฏิบัต ิ แต่ไม่มค ้ ฐาน นีลส ์ บอหร์ กล่าวว่า “อนุภาคของ
้ พืน
ว ัตถุซงึ่ เป็นอิสระไม่เกีย
่ วก ับสงิ่ อืน
่ เป็นผลของความคิดแบบย่อสรุป เราจะอธิบาย

และสงเกตคุ
ณสมบ ัติของม ันได้ ก็แต่ในปฏิกริ ย
ิ าของม ันก ับระบบอืน
่ ”
10.4 ข่ายใยแห่งการถ ักทอ

การตีความทฤษฎีควอนตัมตามแบบโคเปนฮาเกน มิได ้เป็ นทีย


่ อมรับกันทั่วไป มี
ความเห็นทีข
่ ด
ั แย ้งอยูห
่ ลายกระแส และยังไม่มข ิ ําหรับปั ญหาในทางปรัชญาที่
ี ้อยุตส
เกีย
่ วเนือ
่ งอยูด ื่ มโยงสม
่ ้วย อย่างไรก็ตาม ความเชอ ั พันธ์ของสรรพสงิ่ และเหตุการณ์ตา่ ง ๆ
ในจักรวาล ดูจะเป็ นลักษณะพืน ่ งอะตอม ซงึ่ ไม่ขน
้ ฐานของความจริงในเรือ ึ้ อยูก
่ ับการตีความ
ในแบบหนึง่ แบบใดโดยเฉพาะ ข ้อความต่อไปนีข
้ อง เดวิด โบห์ม (David Bohm)

่ วามคิดใหม่ในเรือ
เราถูกนํ ามาสูค ่ งความเป็ นทัง้ หมดอันมิอาจ
แบ่งแยกได ้ ซงึ่ ได ้ปฏิเสธความคิดดัง้ เดิม ในการแยกวิเคราะห์โลก
ออกเป็ นสว่ น ๆ เป็ นอิสระแยกจากสว่ นอืน
่ …เราได ้หันกลับจากความคิดเดิม
้ ฐาน” ของโลกเป็ นความจริงพืน
ทีว่ า่ “หน่วยพืน ้ ฐาน และระบบต่าง ๆ เป็ น
เพียงการจัดเรียงตัว และรูปลักษณ์ในแบบหนึง่ ๆ ซงึ่ เกิดจากหน่วยเหล่านี้
ประกอบกันขึน ื่ มโยงสม
้ เราควรจะกล่าวว่า ความเชอ ั พันธ์ในทางควอนตัม
อันไม่อาจแบ่งแยกได ้ ของจักรวาลทัง้ หมด เป็ นความจริงพืน
้ ฐาน และ
ั พันธ์นัน
หน่วยต่าง ๆ ทีเ่ ป็ นอิสระอย่างสม ้ เป็ นเพียงรูปลักษณะเฉพาะสว่ น
ซงึ่ อาจเกิดขึน
้ ได ้ในพืน
้ ฐานทัง้ หมดนั น

ิ สด
ในระดับอะตอมสสารวัตถุในทัศนะของวิชาฟิ สก ์ งั ้ เดิม ได ้กลายเป็ นแบบแผน
แห่งความอาจเป็ นไปได ้ และแบบแผนดังกล่าวมิได ้แสดงความอาจเป็ นไปได ้ของสงิ่ ต่าง ๆ
่ ารรวมกันของวัตถุทางฟิ สก
มากกว่า ทฤษฎีควอนตัมได ้ทําให ้เราเห็นว่าจักรวาลมิใชก ิ ส ์ แต่
ั ซอนของความส
เป็ นข่ายใยอันซบ ้ ั พันธ์ระหว่างสว่ นต่าง ๆ ของจักรวาลทัง้ หมด อย่างไรก็

ตาม นีเ่ ป็ นวิธก
ี ารทีน
่ ั กปรัชญาตะวันออกหยั่งรู ้โลก และบางท่านได ้สะท ้อนประสบการณ์นัน

ออกมาในคําพูด ซงึ่ เกือบจะเหมือนกับคําพูดของนักฟิ สก
ิ สผ
์ ู ้ค ้นคว ้าเรือ
่ งอะตอมดังตัวอย่าง
นี้

สสารวัตถุกลายเป็ นบางสงิ่ ซงึ่ ต่างไปจากทีเ่ ราเห็นกันในปั จจุบัน


มิใชว่ ต
ั ถุโดด ๆ ซงึ่ อยูใ่ นท่ามกลางสภาพแวดล ้อมของธรรมชาติ แต่เป็ น
สว่ นซงึ่ ไม่อาจแยกออกได ้จากทัง้ หมด และในแง่มม
ุ ทีล ึ ซงึ้ แล ้ว มันเป็ น
่ ก
การปรากฏแสดงของความเป็ นเอกภาพของสรรพสงิ่ ซงึ่ เราเห็นนั น
้ สงิ่ ต่าง
ั กัน และไม่ม ี
ๆ คงสภาพและธรรมชาติของมันได ้โดยการอิงอาศย
ความหมายในตัวของมันเอง

หากว่าข ้อความเหล่านี้ อาจนํ ามาใชแสดงทั ิ สท
ศนะของวิชาฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วยอะตอม
ิ ส ์ ก็อาจจะใชเป็
ข ้อความอีกสองข ้อความต่อไปนี้ จากนั กฟิ สก ้ นคําอธิบายการหยั่งรู ้ธรรมชาติ
ของปราชญ์ทางตะวันออกได ้ ในทํานองกลับกัน

่ งิ่ ซงึ่ ดํารงอยูอ


อนุภาคมิใชส ่ ย่างอิสระและไม่อาจวิเคราะห์
แยกแยะได ้ โดยแก่นแท ้มันเป็ นกลุม ั พันธ์ซงึ่ รวมเอาสงิ่ อืน
่ ของความ สม ่
เข ้าไว ้ด ้วย โลกปรากฏเป็ นเสมือนใยเยือ ั ซอนของเหตุ
่ อันซบ ้ การณ์ตา่ งๆ
ซงึ่ รวมเอาลักษณะความสัมพันธ์ชนิดต่างๆ ไม่วา่ สลับ ซอน
้ หรือเชอ
ื่ มต่อ
ั พันธ์เหล่านี้ จึงกําหนดลักษณะของทัง้ หมด
กันเข ้าไว ้ ความสม

ภาพของข่ายใยแห่งเอกภพทีโ่ ยงใยถึงกันและกัน ซงึ่ เกิดขึน ิ สท


้ ในวิชาฟิ สก ์ วี่ า่

ด ้วยอะตอมสมัยใหม่ ถูกนํ ามาใชในการอธิ
บาย ประสบการณ์อย่างรู ้ธรรมชาติ ของชาว
ตะวันออกเป็ นอย่างมาก สําหรับชาวฮน
ิ ดู เป็ นรากฐานอันสูงสุดของสรรพชวี ต

พระองค์ผู ้ทรงถักทอท ้องนภา โลกพิภพและบรรยากาศ

เข ้าเป็ นผืนเดียวกัน กันทัง้ กระแสลม และปราณของสรรพชวี ต


พระองค์ผู ้เดียวผู ้เป็ นวิญญาณหนึง่ เดียวนั น


่ ําคัญยิง่ ขึน
ในพุทธศาสนา ภาพของข่ายใยแห่งเอกภพมีบทบาททีส ้ ไปอีก แก่น
คําสอนของ อวตังสกสูตร ซงึ่ เป็ นพระสูตรสําคัญ สูตรหนึง่ ของมหายานก็คอ
ื การอธิบายว่า
ั พันธ์ โดยทีเ่ หตุการณ์และสงิ่ ทัง้ หลายมีปฏิกริ ย
โลกเป็ นข่ายใยอันสมบูรณ์แห่งสหสม ิ าต่อกัน
และกันอย่างต่อเนือ
่ งไม่รู ้จบ ชาวพุทธมหายานได ้สร ้างสรรค์ตํานานและเรือ
่ งราวต่าง ๆ
มากมายเพือ ื่ มโยงถึงกันหมดของทุกสงิ่ ในจักรวาล ข่ายใยแห่ง
่ เปรียบเทียบให ้เห็นความเชอ
เอกภพเป็ นแกนกลางของคําสอนในพุทธศาสนานิกายตันตระซงึ่ เป็ นสาขาหนึง่ ของมหายาน
ทีถ ื กําเนิดในอินเดียในราวศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล และในปั จจุบันเป็ นสายสําคัญของ
่ อ
พุทธศาสนาแบบทิเบต คําภีรข ั สกฤตซงึ่
์ องสายนีเ้ รียกว่า ตันตะ มีรากเดิมในภาษาสน
ั พันธ์และอิงอาศัยกันของสงิ่ ต่างๆ และ
แปลว่า “ถ ักทอ” อันแสดงถึงการประสานสม
เหตุการณ์ทัง้ มวล

10.5 จากผูส ั
้ งเกตเปลี
ย ่ นเป็นผูม ี ว่ นร่วม
้ ส

ั พันธ์ของจักรวาลดังกล่าว รวมเอาผู ้
ในศาสนาตะวันออก การประสานสม
สงั เกตการณ์ ซงึ่ เป็ นมนุษย์และความรับรู ้ของเขาไว ้ด ้วย และสงิ่ นีก ิ สท
้ ็เป็ นใจในวิชาฟิ สก ์ ส
ี่ า่
ด ้วยอะตอมด ้วย ในระดับของอะตอม เราจะเข ้าใจ “ว ัตถุ” ได ้ก็แต่ในแง่ของปฏิกริ ย
ิ าระหว่าง
กระบวนการเตรียม และกระบวนการตรวจวัดผล จุดสุดท ้ายของกระบวนการต่อเนือ
่ งเหล่านี้
่ ํานักของมนุษย์ ผู ้ทําหน ้าทีส
จบลงทีส ่ งั เกตการตรวจวัดผล เป็ นปฏิกริ ย
ิ าทีก
่ อ
่ ให ้เกิด
“ความรูส ึ ” ขึน
้ ก ้ ในสํานึกของเรา ยกตัวอย่างเชน
่ การเห็นภาพแสงสว่างแวบ หรือจุดดําบน
ิ สท
แผ่นภาพถ่ายและกฎของฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วยอะตอมได ้แสดงให ้เรารู ้ว่า ความอาจเป็ นไปได ้ใน
ลักษณะใดทีอ ึ ขึน
่ ะตอมจะก่อให ้เกิดความรู ้สก ้ ในลักษณะใดลักษณะหนึง่ หากเราให ้มันมี
ปฏิกริ ย ์ กล่าวไว ้ว่า “วิทยาศาสตร์ธรรมชาติมไิ ด้เพียงอธิบายและ
ิ าต่อเรา ไฮเซนเบิรก
นิยามธรรมชาติและต ัวเราเอง”

้ ลักษณะอันสําคัญอย่างยิง่ ยวดในวิชาฟิ สก
ดังนั น ิ สท
์ วี่ า่ ด ้วยอะตอมก็คอ
ื มนุษย์ไม่
เพียงเป็ นสงิ่ จําเป็ นในการสงั เกตคุณสมบัตข
ิ องวัตถุเท่านั น
้ แต่จําเป็ นในการอธิบาย
คุณสมบัตเิ หล่านีด ิ สท
้ ้วย ในวิชาฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วยอะตอม เราไม่อาจจะอธิบายถึงคุณสมบัตข
ิ อง
วัตถุในตัวของมันเอง คุณสมบัตด
ิ ังกล่าวมีความหมายแต่ในขอบเขตแห่งปฏิกริ ย
ิ าระหว่าง
วัตถุและผู ้สงั เกต ดังกล่าวของไฮเซนเบิรก ั
์ ว่า “สงิ่ ทีเ่ ธอสงเกตมิ ่ ัวธรรมชาติเอง แต่
ใชต
เป็นธรรมชาติทป
ี่ รากฏต่อวิธก ั้ าถามของเรา” ผู ้สงั เกตเป็ นผู ้เลือกวิธก
ี ารตงคํ ี ารในการ
ตรวจวัดผล ซงึ่ วิธด
ี ังกล่าวจะเป็ นตัวกําหนดคุณสมบัตข
ิ องวัตถุทถ ู สงั เกตด ้วยเชน
ี่ ก ่ กันใน
ปริมาณหนึง่ หากว่าการจัดเตรียมการทดลองเปลีย
่ นไป คุณสมบัตข
ิ องวัตถุทถ ู สงั เกตจะ
ี่ ก
เปลีย ่ กัน
่ นไปเชน

ดังนั น ิ สท
้ ในวิชาของฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วยอะตอม นั กวิทยาศาสตร์ไม่อาจจะแสดงบทบาท
ของผู ้สงั เกตซงึ่ ไม่เกีย
่ วข ้องกับวัตถุทถ ู สงั เกต แต่จะต ้องเข ้าเกีย
ี่ ก ่ วข ้องกับสงิ่ ทีถ ู สงั เกต
่ ก
จนกระทั่งมีอท
ิ ธิพลต่อคุณสมบัตต
ิ อ
่ วัตถุด ้วย จอห์น วีลเลอร์ เห็นว่าการเข ้าไปเกีย
่ วข ้องของ
ผู ้สงั เกตเป็ นสงิ่ ทีส
่ ําคัญทีส
่ ด ้ เขาจึงเสนอให ้ใชคํ้ าว่า “ผูม
ุ ในทฤษฎีควอนตัม ดังนั น ี ว่ น
้ ส
ร่วม” (participator) แทนคําว่า “ผูส ั
้ งเกต” (observer)

10.6 ลืมทุกสรรพสงิ่

ความคิดในเรือ ั
่ ง “การเข้ามีสว่ นร่วมแทนทีจะเป็นการสงเกต” ได ้ถูกคิดค ้นใน
ิ สส
วิชาฟิ สก ์ มัยใหม่เมือ
่ ไม่นานมานี้เอง แต่มันเป็ นความคิดทีร่ ู ้จักกันดีในหมูน ึ ษาศาสนา
่ ั กศก
ความรู ้ในทางศาสนาไม่อาจได ้มาด ้วยเพียงแต่การสงั เกต แต่โดยการเข ้ามามีสว่ นร่วมอย่าง
่ ับชวี ต
เต็มทีก ่ งผู ้มีสว่ นร่วมจึงเป็ นสงิ่ สําคัญ
ิ จิตใจทัง้ หมดของแต่ละบุคคล ความคิดเรือ
ยิง่ ยวด ในโลกทัศน์แบบตะวันออก และได ้ไปถึงจุดสูงสุดในศาสนาตะวันออก ซงึ่ ผู ้สงั เกต
และผู ้ทีถ ู สงั เกต ผู ้กระทําและถูกกระทํา ไม่เพียงแต่ไม่อาจแยกจากกันเท่านั น
่ ก ้ หากทว่า
ิ สท
ไม่แตกต่างกันอีกด ้วย ต่างจากวิชาฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วยอะตอม ซงึ่ ถึงแม ้ผู ้สงั เกตและสงิ่ ทีถ
่ ก

สงั เกตไม่อาจแยกจากกัน แต่ทว่ายังแตกต่างกันอยู่ พวกนั กปฏิบัตใิ นศาสนาไปไกล
ยิง่ กว่านัน
้ ในสมาธิทล ึ ซงึ้ พวกเขาบรรลุถงึ จุดทีค
ี่ ก ่ วามแตกต่าง ระหว่างผู ้สงั เกต และสงิ่ ที่
ถูกสงั เกต ได ้สูญเสย
ี ความหมายอย่างสน
ิ้ เชงิ ผู ้กระทําและสงิ่ ทีถ
่ ก
ู กระทําได ้หลอมรวมเป็ น
อันหนึง่ อันเดียวกัน ดังทีก
่ ล่าวไว ้ในคัมภีรอ
์ ป
ุ นิษัทว่า
ณ ทีใ่ ดซงึ่ ทวิภาวะดํารงอยู่ ณ ทีน
่ ัน
้ บุคคลย่อมเห็นผู ้อืน
่ ย่อมได ้กลิน
่ ผู ้อืน
่ ย่อม
ได ้ลิม ่ ….ณ ทีใ่ ดซงึ่ สรรพสงิ่ ได ้กลายเป็ นตัวตนเองแล ้ว ณ ทีน
้ รสผู ้อืน ่ ัน
้ บุคคลทีจ
่ ะเห็นใคร
ด ้วยอะไร จะได ้กลิน
่ ใครด ้วยอะไร

นีเ้ ป็ นความเข ้าใจในความเป็ นเอกภาพของสรรพสงิ่ จะบรรลุได ้ในสภาวะแห่ง


สํานึก ซงึ่ ปั จเจกภาพของบุคคลได ้มลายลงสูภ
่ าวะอันไม่อาจแบ่งแยกได ้ไปพ ้นโลกแห่ง
ความรู ้สก ่ ง “สงิ่ ทงหลายถู
ึ และความคิดเรือ ั้ ้ งหล ัง” ดังทีข
กทิง้ ไว้เบือ ่ งจือ
้ กล่าวไว ้ว่า

่ วพ ันของข้าพเจ้าก ับร่างกายและสว่ นต่าง ๆ สลายลง อว ัยวะใน


ความเกีย
การร ับรูข
้ องข้าพเจ้าถูกละทิง้ ปล่อยให้ว ัตถุธาตุกอ
่ รูปและกล่าวคําอําลาต่อความรู ้
ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ากลายเป็นหนึง่ เดียวก ับสงิ่ ทีแ ั้ สงิ่ ที่
่ ผ่ไพศาลอ ันยิง่ ใหญ่นน
ํ ล ังนง่ ั และลืมสรรพสงิ่
้ า
เรียกว่าข้าพเจ้านีก
บทที่ 11 เหนือโลกแห่งความข ัดแย้ง

่ นักปราชญ์ตะวันออกกล่าวว่าท่านนั่ งรู ้สรรพสงิ่ และเหตุการณ์ทัง้ มวลเป็ นการ


เมือ
้ ฐาน นั่ นมิได ้หมายความว่าท่านเห็นทุกสงิ่ เสมอ
แสดงออกของเอกสภาวะอันเป็ นพืน
เหมือนกันไปหมด ปั จเจกภาพของแต่ละสงิ่ ยังคงดํารงอยู่ ทว่าในขณะเดียวกันท่านเหล่านั น

ก็ตระหนักรู ้ว่าข ้อแตกต่างและข ้อขัดแย ้งทัง้ หมดเป็ นสงิ่ สม
ั พัทธ์ ดํารงอยูใ่ นความเป็ น
่ งจากความเป็ นเอกภาพของสงิ่ ทีข
เอกภาพ และเนือ ่ ด
ั แย ้งกัน และโดยเฉพาะความเป็ น
เอกภาพของสงิ่ ทีต ้ เป็ นสงิ่ ทีย
่ รงกันข ้ามนัน ่ อมรับได ้โดยยากในสภาวะความรับรู ้อย่างสามัญ
ึ ลับน่าพิศวง อย่างไรก็ด ี สงิ่ นีค
ของเรา จึงทําให ้ปรัชญาตะวันออกยังคงดูลก ื ญาณทัศนะซงึ่
้ อ
เป็ นรากฐานของโลกทัศตะวันออก

สงิ่ ทีต
่ รงกันข ้ามเป็ นความคิดเชงิ ย่อสรุป เป็ นฝั กฝ่ ายของอาณาจักรเชงิ ความคิด
และดังนัน ่ นเป็ นสงิ่ สม
้ จึงเปลีย ั พัทธ์ โดยการทีเ่ รามุง่ สนใจต่อความคิดอันใดอันหนึง่ เราได ้
สร ้างความคิดทีต
่ รงกันข ้ามขึน ่ ทุกคนในโลกนีเ้ ห็ นสงิ่
้ มาด ้วย ดังทีเ่ หล่าจื๊ อกล่าวไว ้ว่า “เมือ
สวยงามว่าสวยงาม เมือ
่ นนความน่
ั้ าเกลียดก็ปรากฏ” (1) ศาสนิกก ้าวพ ้นอาณาจักรแห่ง
ความชาญฉลาดดังกล่าว โดยการตระหนั กถึงความเป็ นสงิ่ สม
ั พัทธ์และความสม
ั พัทธ์เชงิ ขัว้
ของสงิ่ ทีต
่ รงกันข ้าม เขาตระหนักว่าสงิ่ ทีด ี ละชวั่ สุขและทุกข์ ชวี ต
่ แ ่ งิ่
ิ และความตาย มิใชส
ั บูรณ์ทแ
สม ี่ ยกเป็ นคนละฝ่ าย แต่เป็ นเพียงสองด ้านของความจริงอันเดียวกัน เป็ นสว่ น
สุดโต่งสองด ้านของสงิ่ เดียวกัน ความตระหนั กรู ้ว่าสงิ่ ตรงกันข ้ามทัง้ หมดเป็ นเพียงขัว้ คนละ
ขัว้ ของสงิ่ เดียวกัน และทุกสงิ่ เป็ นเอกภาพนี้ ถือเป็ นเป้ าหมายสูงสุดของมนุษย์ตามคําสอน

ในทางจิตวิญญาณของตะวันออก “จงดํารงอยูใ่ นสจจะตลอดไป จงอยูเ่ หนือความ
ข ัดแย้งของโลก” พระกฤษณะกล่าวแนะนํ าอรชุนในภควทคีตา และคําแนะนํ าเดียวกันมีใน
หมูพ
่ ท ึ ก
ุ ธศาสนิกชน ดี. ที. สซ ึ ิ เขียนไว ้ว่า
้ ฐานในพุทธศาสนาคือการไปพ ้นโลกแห่งสงิ่ ทีต
ความคิดพืน ่ รงกันข ้าม โลกซงึ่
สร ้างขึน
้ ด ้วยการแบ่งแยกอันชาญฉลาดและแปดเปื้ อนทางอารมณ์ และเพือ
่ หยั่งรู ้โลกแห่ง
จิตวิญญาณ ซงึ่ ปราศจากการแบ่งแยก อันบุคคลได ้บรรลุทัศนะทีส
่ มบูรณ์(2)

11.1 สภาพขวตรงก
ั้ ันข้าม

คําสอนในพระพุทธศาสนาทัง้ หมด และโดยแท ้จริงคําสอนของศาสนาตะวันออก


่ ารบรรลุทัศนะอันสม
ทัง้ หมด มุง่ สูก ั บูรณ์ในโลกแห่ง อจินไตย หรือ “ไร้ความคิด” ซงึ่
เอกภาพแห่งสงิ่ ทีต
่ รงกันข ้ามทัง้ หลายกลายเป็ นประสบการณ์จริง บทกวีเซ็นเขียนไว ้ว่า

เมือ
่ คํา่ ไก่ขน
ั บอกเวลารุง่ อรุณ

เมือ
่ เทีย ่ งสว่างเจิดจ ้า
่ งคืน พระอาทิตย์สอ

ความคิดทีว่ า่ สงิ่ ทีต


่ รงกันข ้ามทัง้ มวลเป็ นเพียงขัว้ ตรงข ้ามของสงิ่ เดียวกัน สว่าง
และมืด แพ ้และชนะ ดีและชวั่ เป็ นเพียงด ้านทีต
่ า่ งกันของปรากฏการณ์อันเดียวกัน เป็ น
หลักการพืน ี วี ต
้ ฐานอันหนึง่ ของวิถช ่ สงิ่ ทีต
ิ แบบตะวันออก ในเมือ ่ รงกันข ้ามเป็ นสงิ่ ทีต
่ ้องอิง
อาศัยซงึ่ กันและกัน ความขัดแย ้งระหว่างมันไม่เคยสง่ ผลเป็ นชย
ั ชนะอย่างสน
ิ้ เชงิ ของด ้านใด
ด ้านหนึง่ แต่จะปรากฏเสมอว่าเป็ นการปรากฏแสดงของการขับเคีย
่ วระหว่างด ้านทัง้ สอง ใน
ตะวันออก ผู ้ทรงคุณอันบริสท ่ ู ้ทีพ
ุ ธิจ์ งึ มิใชผ ่ ยายามทําความดี และเพียรละความชวั่ ซงึ่
เป็ นไปไม่ได ้ แต่เป็ นผู ้ทีส ่ นไหวระหว่างดีและชวั่
่ ามารถรักษาดุลยภาพอันเคลือ

ความคิดในเรือ ่ นไหวนีเ้ ป็ นสงิ่ จําเป็ นแก่วถ


่ งดุลยภาพอันเคลือ ิ ท
ี างในการหยั่งรู ้
เอกภาพของสงิ่ ทีต
่ รงกันข ้าม ในศาสนาตะวันออก ดุลยภาพนีม ้
้ ใิ ชสภาวะสถิ
ต แต่เป็ นการขับ
เคีย
่ วระหว่างสภาพสุดโต่งสองด ้านเสมอ ประเด็นนีไ
้ ด ้รับการเน ้นยํ้ามากทีส
่ ด
ุ โดยนั กปราชญ์
ั ลักษณ์ หยิน และ หยัง ซงึ่ แสดงขัว้ ตรงกันข ้ามของสรรพสงิ่ และ
ชาวจีนโดยการสร ้างสญ
้ ว่า เต๋า อันเป็ นสงิ่ ทีก
เรียกเอกภาพภายใต ้ หยิน และหยัง นั น ่ อ
่ เกิดการขับเคีย
่ วระหว่างหยิน
และหยัง “สงิ่ ทีท ๋ วมืด เดีย
่ ําให้เดีย ๋ วสว่าง คือเต๋า”

เอกภาพอันเป็ นพลวัตของขัว้ ทีต


่ รงกันข ้ามนี้ อาจแสดงด ้วยภาพการเคลือ
่ นทีข
่ อง
ู บอลซงึ่ หมุนเป็ นกลม และถ ้าหากการหมุนนีถ
วงกลมและเงาของมัน สมมติวา่ เรามีลก ้ ก
ู ฉาย
ให ้เกิดเงาบนจอภาพ เราจะเห็นมันเป็ นการเคลือ
่ นกลับไป-มา ระหว่างจุดปลายสองจุด (เพือ

เปรียบเทียบกับความคิดของจีน ข ้าพเจ ้าเขียนคําว่าเต๋า ในวงกลม และหยินกับหยังทีจ
่ ะดู
ปลายทัง้ สอง) ลูกบอลหมุนเป็ นวงกลมด ้วยความเร็วคงที่
แต่งเงาของมันจะเคลือ
่ นทีช ้
่ าลงเมื
อ ่ เข ้าใกล ้ปลาย วกกลับ และเคลือ
่ นทีด
่ ้วย
่ ลายอีกข ้างหนึง่ ซงึ่ เมือ
ความเร่งสูป ่ เข ้าไปใกล ้ก็จะเคลือ
่ นทีช ้
่ าลงอี
กครัง้ และดําเนินต่อไป
ในลักษณะเดียวกัน วนเวียนไม่รู ้จบ เงาของการเคลือ
่ นทีใ่ นลักษณะวงกลมดังกล่าว จะ
ปรากฏเป็ นการเคลือ
่ นทีก
่ ลับไป-มา ระหว่างจุดปลายทีต
่ รงกันข ้ามสองจุด แต่การ
่ นไหวในลักษณะวงกลมแสดงความเป็ นเอกภาพและปราศจากสภาพขัว้ ตรงข ้าม ซงึ่
เคลือ
ภาพการรวมเป็ นเอกภาพของสงิ่ ทีต
่ รงกันข ้ามในเชงิ เคลือ
่ นไหวนี้ เป็ นสงิ่ ทีน
่ ั กคิดจีนคํานึงถึง
เป็ นอย่างมาก ดังทีจ
่ ะเห็นได ้จากคํากล่าวของจางจื๊ อทีว่ า่

่ ั ” และ “นี”่ พ ้นสภาพการเป็ นสงิ่ ตรงข ้ามคือแก่นแท ้ของเต๋า ด ้วยแก่น


การที่ “นน
แกนนีเ้ ท่านัน
้ ทีเ่ ป็ นศูนย์กลางแห่งวังวนของการเปลีย ิ้ สุด
่ นแปลงอันไม่รู ้สน

11.2 หญิงก ับชาย

สภาพขัว้ ตรงกันข ้ามอันสําคัญประการหนึง่ ในชวี ต


ิ คือ ธรรมชาติแห่งความเป็ น
ชาย – ปุรส ่ เดียวกับสภาพขัว้ ตรงข ้ามของดีและ
ิ ภาวะ และความเป็ นหญิง – อิตถีภาวะ เชน
ชวั่ หรือชวี ต
ิ และความตาย ทีท ึ อึดอัดกับสภาพความเป็ นชายหญิงในตัวเราเอง
่ ําให ้เรารู ้สก
ดังนัน ้ มา สงั คมตะวันตกเน ้นปุรส
้ เราจึงเน ้นในด ้านใดด ้านหนึง่ เด่นขึน ิ ภาวะมากกว่าอิตถีภาวะ
โดยไม่ได ้ตระหนักรู ้ว่าบุคลิกภาพของชายและหญิงแต่ละคนเป็ นผลงานการผสมผสาน
ระหว่างทัง้ สอง ดังนัน
้ จึงยึดเอาว่าชายต ้องมีลักษณะเข ้มแข็ง และหญิงต ้องมีลักษณะ
่ ากมาย ทัศนคติดังกล่าวสง่ ให ้เกิดการ
อ่อนหวานนุ่มนวล กําหนดให ้ชายมีบทบาทหน ้าทีม
ิ ชู หยัง หรือ ปุรส
เชด ิ ภาวะของมนุษย์ มากเกินไป เน ้นความกระตือรือร ้น การคิดอย่างเป็ น
่ ๆ ด ้านหยินหรืออิตถีภาวะ ซงึ่ รวมเอาลักษณะแห่ง
เหตุผลการแข่งขัน ความก ้าวร ้าว และอืน
ความรับรู ้ ทีอ ่ ญาณ ศาสนา ลึกลับ จิตใจ ได ้ถูกลดบทบาทใน
่ าจอธิบายด ้วยคําต่าง ๆ เชน
สงั คมผู ้ชายเป็ นใหญ่นี้

่ ภาพทีส
ในศาสนาตะวันออก ได ้มีการพัฒนาอิตถีภาวะสูส ่ มดุลกับปุรส
ิ ภาวะเป็ น
ธรรมชาติของมนุษย์ บุคคลผู ้รู ้แจ ้งในทัศนะของเหลาจื๊ อ คือผู ้ที่ “รูจ
้ ักความแข็งแรงอย่าง
ชาย และ ย ังร ักษาความนุม
่ นวลอย่างหญิงไว้ได้”
ในศาสนาตะวันออกหลายๆศาสนา เป้ าหมายหลักของการทําสมาธิภาวนาก็คอ

การสร ้างดุลยภาพอันเป็ นพลวัตระหว่างความรับรู ้สองด ้าน ชายและหญิง และมักจะ
ิ ปะ
แสดงออกในรูปของงานศล

รูปสลักของศวิ ะเทพในโบสถ์ของฮน
ิ ดูท ี่ เอลีเฟนตา (Elephanta) แสดงภาพพระ
พักตร์สามด ้านของเทพ พระพักตร์ด ้านขวาแสดงภาคบุรษ
ุ แทนความเข ้มแข็งและอํานาจ

ด ้านซายแสดงถึ
งสตรีแสดงความนุ่มนวลความสง่างาม ความมีเสน่ห ์ ตรงกึง่ กลางอันเป็ น
ี รอันงดงามของพระศวิ ะมเหศวร พระผู ้เป็ นใหญ่ ซงึ่ ฉายแววแห่งความสงบและ
ภาพพระเศย
อุเบกขา แทนเอกภาพอันสูงสง่ อันรวมทัง้ สองภาคเข ้าไว ้ ในโบสถ์เดียวกัน ยังมีรป
ู สลักของ
พระศวิ ะลักษณะครึง่ หญิงครึง่ ชาย สว่ นพระกายอยูใ่ นท่าทีช ้
่ ดชอยอ่
อนไหว พระพักตร์อม
ิ่
เอมอย่างสงบและปล่อยวาง รูปลักษณะนีแ
้ สดงเอกภาพของอิตถีภาวะและปริสะภาวะอีก
ภาพหนึง่

ในพุทธศาสนิกกายตันตระ ขัว้ แห่งความเป็ นชาย-หญิง มักถูกแสดงออกโดย


อาศัยสญ
ั ลักษณ์ทางเพศ ปั ญญาญาณถือได ้ว่าเป็ นธรรมชาติฝ่ายรับของมนุษย์และเพศ
หญิงความรัก ความกรุณา เป็ นผ่ายกระทําและเพศชาย เอกภาพของทัง้ สองฝ่ ายใน
ั ลักษณ์การสวมกอดกันและกันของเทพและเทพี
กระบวนการของการตรัสรู ้แสดงด ้วยสญ
ศาสนาตะวันออกยืนยันว่าเอกภาพดังกล่าวจะปรากฏก็แต่ในสํานึกระดับสูง ซงึ่ ไปพ ้น
อาณาจักรความคิดและถ ้อยคําภาษา และสงิ่ ทีต
่ รงกันข ้ามทัง้ มวลปรากฏเป็ นเอกภาพอัน
เคลือ
่ นไหว

ี่ ต
11.3 โลกสม ิ ิ

ิ สส
ข ้าพเจ ้าได ้เคยกล่าวมาแล ้วว่า ฟิ สก ์ มัยใหม่ได ้เสนอสงิ่ ทีค
่ ล ้ายคลึงกันนี้
ึ ษาสํารวจอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมได ้เปิ ดเผยความจริงซงึ่ ได ้แสดงให ้เห็นซํ้าแล ้วซํ้า
การศก
ื่ ว่าเป็ นสงิ่
เล่าว่าไปพ ้นภาษาและเหตุผล และการรวมเป็ นเอกภาพของความคิดที่ เคยเชอ
ตรงกันข ้ามและไม่อาจผสมผสานกันได ้ นั น
้ ได ้กลายเป็ นคุณลักษณะอันน่าตืน
่ ใจของความ
จริงอันใหม่นี้ แนวความคิดซงึ่ ดูแล ้วว่าไม่น่าจะเข ้ากันได ้ดังกล่าวนี้ มิใชแ
่ นวทีศ
่ าสนา
ตะวันออกสนใจเกีย
่ วข ้องด ้วยทว่าการรวมเป็ นเอกภาพของมันในความจริงระดับทีส
่ งู ขึน
้ ไป
เป็ นสงิ่ ทีส
่ อดคล ้องกับศาสนาตะวันออก ดังนั น ิ สส
้ นั กฟิ สก ์ มัยใหม่อาจทีจ
่ ะบรรลุถงึ ญาณ
ทัศนะอันปรากฏในคําสอนสําคัญของตะวันออกไกล โดยการค ้นหาประสบการณ์ในสาขา
ิ สร์ น
ของตน เป็ นนักฟิ สก ่ เล็กๆซงึ่ กําลังทวีจํานวนขึน
ุ่ ใหม่กลุม ้ ได ้พบว่าวิธก
ี ารดังกล่าว เป็ น
สงิ่ ทีม
่ ค
ี ณ
ุ ค่า และกระตุ ้นให ้เกิดความสนใจในศาสนาตะวันออกมากขึน
้ ตัวอย่างของการ
รวมตัวกัน ของแนวความคิดทีต ิ สส
่ รงกันข ้าม ในวิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ อาจจะพบได ้ในการศก
ึ ษา
ในระดับอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม ซงึ่ อนุภาคเป็ นทัง้ สงิ่ ทีท
่ ัง้ ทําลายได ้ และทําลายไม่ได ้
และสสารวัตถุ เป็ นสงิ่ ทีม
่ ส
ี ภาพต่อเนือ
่ งและไม่ตอ
่ เนือ
่ ง และแรงกับสสารวัตถุเป็ นเพียงสอง
ด ้านของปรากฏการณ์เดียวกัน ตัวอย่างทัง้ หมดเหล่านีแ
้ สดงให ้เห็นว่ากรอบแนวคิดทีต
่ รงกัน
ข ้าม อันเกิดจากประสบการณ์ในชวี ต ้ เป็ นสงิ่ ทีค
ิ ประจําวันของเรานั น ่ ับแคบเกินไปสําหรับ
ั พัทธภาพเป็ นทฤษฎีทส
โลกของอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม ทฤษฎีสม ี่ ําคัญยิง่ ในการอธิบาย
ั ัทธ์” นัน
โลภพิภพนี้ และในโครงร่าง “สมพ ่ ต
้ แนวคิดดัง้ เดิมได ้ถูกก ้าวว่างไปสูม ิ ท
ิ ส
ี่ งู กว่า
ี่ ต
คือ กาล-อวกาศสม ิ ิ อวกาศและเวลาในตัวของมันเองเป็ นความคิดสองประการซงึ่ ดู
ิ สแ
เหมือนว่าแตกต่างกัน แต่ปรากฏเป็ นเอกภาพในฟิ สก ์ ห่งสม
ั พัทธภาพ เอกภาพพืน
้ ฐาน
่ รงกันข ้ามทัง้ มวลซงึ่ กล่าวถึงข ้างต ้น และ
ประการนีเ้ ป็ นรากฐานแห่งเอกภาพของความคิดทีต
่ เดียวกับเอกภาพของสงิ่ ทีต
เชน ้ ใน “ระด ับที่
่ รงกันข ้ามในศาสนาตะวันออก เอกภาพนีเ้ กิดขึน
สูงกว่า” นั่นคือในมิตท ี่ งู กว่า ทัง้ ยังเป็ นเอกภาพซงึ่ มีลักษณะเคลือ
ิ ส ่ นไหว เนือ
่ งจากความ
จริงในเรือ ั พันธ์นม
่ งกาล-อวกาศอันสม ี้ ล
ี ักษณะเป็ นความจริงอันมีสภาพเคลือ
่ นไหวอยูใ่ น
เนือ
้ หาของมันเอง โดยทีว่ ต
ั ถุตา่ งๆ เป็ นตัวกระบวนการด ้วย และรูปลักษณ์ทัง้ มวลเป็ นแบบ
แผนแห่งการเคลือ
่ นไหว

เพือ
่ ทีจ ั เจนในเอกภาพของสงิ่ ทีด
่ ะให ้เห็นชด ่ เู หมือนว่าแยกจากกันในมิตท
ิ ส
ี่ งู กว่า
นัน ั พัทธภาพ เพียงแต่ขน
้ เราไม่จําเป็ นต ้องไปถึงทฤษฎีสม ึ้ ไปจากหนึง่ มิตส ู่ องมิต ิ หรือจาก
ิ ส
สองไปสามมิต ิ ตัวอย่างของการเคลือ
่ นทีข
่ องลูกบอลเป็ นวงกลม (ทีก
่ ล่าวถึงแล ้ว) และเงา
ของมันซงึ่ เคลือ
่ นทีก ่ เู หมือนเป็ นสงิ่ ตรงกันข ้ามในสภาวะ
่ ลับไปกลับมาระหว่างขัว้ สองขัว้ ทีด

หนึง่ มิต ิ (ตามเสนตรง) กลับรวมเป็ นเอกภาพของการเคลือ
่ นไหวเป็ นวงกลมในสภาวะสอง
มิต ิ (ในระนาบหนึง่ ) ภาพข ้างล่างนีเ้ ป็ นอีกตัวอย่างหนึง่ ซงึ่ เปลีย ่ าม
่ นจากสภาพสองมิตไิ ปสูส
มิต ิ

มันแสดงให ้เห็นภาพวงของขนมโดนั ทถูกตัดโดยแผ่นราบอันหนึง่ ในสภาพของ


สองมิตใิ นพืน
้ ราบนัน
้ พืน
้ ผิวของโดนัททีถ ู ตัดปรากฏเสมือนแผ่นสองแผ่นซงึ่ แยกจากกัน
่ ก
ิ้ เชงิ แต่ในสภาพสามมิตม
โดยสน ิ ันเป็ นสว่ นของวงโดนั ทอันเดียวกัน เอกภาพของสงิ่ ต่างๆดู
เหมือนแยกออกจากกัน และรวมเข ้ากันไม่ได ้ในทํานองเดียวกันนีป ั พัทธ
้ รากฏในทฤษฎีสม
ภาพ เมือ ่ ภาพสม
่ เราไปจากสภาพสามมิตไิ ปสูส ี่ ต ิ สแ
ิ ิ โลกของฟิ สก ์ ห่งสม
ั พัทธภาพซงึ่ มี
ี่ ต
สภาพสม ิ น
ิ ัน
้ คือโลกทีแ
่ รงและสสารเป็ นหนึง่ เดียวกัน โลกทีส
่ สารวัตถุอาจจะปรากฏเป็ น
อนุภาคซงึ่ ไม่มส
ี ภาพต่อเนือ
่ ง หรือเป็ นสนามทีม
่ ส
ี ภาพต่อเนือ
่ ง อย่างไรก็ตามในกรณีนเี้ รา
ั เจนนัก นั กฟิ สก
ไม่อาจจะนึกเห็นภาพมันได ้ชด ิ สส
์ ามารถ “หยง่ ั รูใ้ นประสบการณ์” ถึงโลก
่ี ต
แห่งกาล- อวกาศ สม ิ ิ โดยผ่านสูตรคณิตศาสตร์ในทฤษฎีของเขา แต่มโนภาพของเขาก็
่ เดียวกับคนอืน
ถูกจํากัดอยูใ่ นโลกแห่งการรับรู ้อันมีสภาพสามมิตเิ ชน ่ ๆ ภาษาและแบบแผน
ความคิดของเราทัง้ หมดเกีย
่ วข ้องกับโลกสามมิต ิ ดังนั น
้ จึงเป็ นเรือ
่ งทีย
่ ากอย่างยิง่ ทีเ่ ราจะ
ี่ ต
เข ้าใจความจริงของสภาพสม ิ สแ
ิ ใิ นฟิ สก ์ ห่งสม
ั พัทธภาพได ้

11.4 คลืน
่ ก ับอนุภาค

ในทางตรงกันข ้าม ศาสนิกของตะวันออกดูจะสามารถหยัง่ รู ้ความจริงในมิตท


ิ ี่
สูงขึน ั เจน ในสมาธิภาวนาอันลึกซงึ้ ท่านเหล่านั น
้ ไปได ้โดยตรงและชด ้ ได ้สามารถก ้าวพ ้น
โลกสามมิตใิ นชวี ต
ิ ประจําวัน และหยั่งรู ้ความจริงซงึ่ ต่างออกไปอย่างสน
ิ้ เชงิ ทีส
่ งิ่ ตรงกันข ้าม
ทัง้ หลายหลอมรวมเป็ นเอกภาพเดียวกัน และเมือ
่ นักปราชญ์ตะวันออกพยายามทีจ
่ ะแสดง
ประสบการณ์นอ ิ สพ
ี้ อกมาเป็ นคําพูด ท่านก็ต ้องประสบปั ญหาเดียวกันกับนั กฟิ สก ์ ยายาม
อธิบายความจริง ของสภาพหลายมิตข ิ สแ
ิ องฟิ สก ์ ห่งสม
ั พัทธภาพ ลามะ โควินทะ กล่าวไว ้
ว่า ประสบการณ์ในการหยั่งรู ้มิตท
ิ ส ้ เป็ นสงิ่ ทีจ
ี่ งู ขึน ่ ะบรรลุถงึ ได ้ โดยการรวมเอาประสบการณ์
ของความรับรู ้ ซงึ่ ต่างศูนย์กลางและต่างระดับเข ้าด ้วยกัน ดังนัน
้ ประสบการณ์ของสมาธิ
ภาวนาดังกล่าวจึงไม่อาจจะอธิบายได ้บนระนาบของความรับรู ้สามมิต ิ และภายในระบบ
ตรรกะ ซงึ่ ตัวมันเองได ้ลดความอาจเป็ นไปได ้ในการแสดงออก โดยทีต
่ รรกะมีข ้อจํากัดอยู่
ี่ ต
บนกระบวนการของความคิด(5) โลกสม ิ ข ั พัทธภาพ มิใชเ่ ป็ นเพียงตัวอย่าง
ิ องทฤษฎีสม
ิ สส
ประการเดียว ในวิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ ซงึ่ ความคิดทีว่ า่ ดูเหมือนจะเป็ นสงิ่ ตรงกันข ้ามและไม่
อาจจะรวมเข ้ากันได ้ กลับเป็ นเพียงแง่มม
ุ ทีต
่ า่ งกันในความจริงอันเดียวกัน กรณีทรี่ ู ้จักกัน
มากในแง่ของเอกภาพของความคิดซงึ่ ขัดแย ้งกัน ได ้แก่ความคิดเรือ
่ งอนุภาคและคลืน
่ ใน
ิ สท
ฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วยอะตอม

ในระดับอะตอมสสารวัตถุมส
ี องด ้าน มันปรากฏเป็ นทัง้ อนุภาคและคลืน
่ มันจะ
แสดงด ้านใดก็ขน
ึ้ อยูก
่ ับสภาพการณ์ ในบางสภาพการณ์ด ้านอนุภาคเป็ นด ้านทีเ่ ด่น แต่ในอีก
สภาพการณ์หนึง่ อนุภาคมีพฤติกรรมไปในทางทีเ่ ป็ นคลืน
่ มากกว่า และธรรมชาติของทวิภาวะ
นีป ี ม่เหล็กไฟฟ้ าอืน
้ รากฏในแสงและรังสแ ่ แสงจะถูกปล่อยออกมา
่ ๆ ทัง้ หมดยกตัวอย่างเชน
ึ เข ้าไปในรูปของ “ควอนตา” หรือโฟตอน แต่เมือ
และดูดซม ่ อนุภาคของแสงเหล่านี้
เคลือ
่ นทีผ
่ า่ นทีว่ า่ งมันจะปรากฏเป็ นสนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้ าทีส ั่ สะเทือน ซงึ่ แสดง
่ น
พฤติกรรมทัง้ หมดของคลืน
่ โดยปรกติอเิ ล็กตรอนถือว่าเป็ นอนุภาค และเมือ
่ ลําของ
่ งเล็กๆ มันจะเกิดการหักเหเชน
อิเล็กตรอนถูกฉายผ่านชอ ่ เดียวกับลําแสง พูดอีกอย่างหนึง่
คือ อิเล็กตรอนก็ประพฤติตัวเป็ นคลืน ่ เดียวกัน
่ เชน

ลักษณะทวิภาวะของรังสวี ัตถุและสสารต่างๆ เป็ นสงิ่ ทีน


่ ่าพิศวงอย่างแท ้จริงและ
ได ้ก่อให ้เกิด “โกอ ันควอนต ัม” หลายๆอันซงึ่ นํ าไปสูก
่ ารสร ้างทฤษฎีควอนตัมโดยพืน
้ ฐาน
่ ซงึ่ มีลักษณะแผ่กระจายไปในทีว่ า่ ง แตกต่างจากภาพของอนุภาคซงึ่ แสดง
ภาพของคลืน
ตําแหน่งทีช ั เจน เป็ นเวลานานกว่าทีน
่ ด ิ สจ
่ ั กฟิ สก ์ ะยอมรับข ้อเท็จจริงทีว่ า่ สสารวัตถุแสดงตัว
ี างต่างๆซงึ่ ดูเหมือนมีสองลักษณะรวมอยูใ่ นตัวมัน คืออนุภาคเป็ นทัง้ คลืน
มันเองในวิถท ่ และ
คลืน
่ ก็เป็ นอนุภาคด ้วย

เมือ
่ พิจารณาภาพข ้างบน คนทั่วไปอาจจะคิดว่า ข ้อขัดแย ้งดังกล่าวอาจจะได ้รับ
การแก ้ไขโดยกล่าวว่า รูป ข. แสดงอยูใ่ นอนุภาคซงึ่ กําลังเคลือ
่ นทีอ
่ ยูใ่ นลักษณะของคลืน

อย่างไรก็ตาม ข ้อโต ้แย ้งอันนีต
้ งั ้ อยูบ
่ นความเข ้าไจผิดพลาดต่อธรรมชาติของคลืน
่ อนุภาค
ซงึ่ เคลือ
่ นทีใ่ นลักษณะเป็ นคลืน
่ ไม่มอ
ี ยูจ ่ คลืน
่ ริงในธรรมชาติ ยกตัวอย่างเชน ่ นํ้ า อนุภาคของ
นํ้ ามิได ้เคลือ
่ นไปตามลูกคลืน
่ แต่เคลือ
่ นทีเ่ ป็ นวงกลมในลักษณะทีค
่ ลืน
่ ผ่านไป ในทํานอง
เดียวกัน อนุภาคของอากาศในคลืน ี งก็เพียงแต่สน
่ เสย ั่ สะเทือนกลับไปมาโดยทีม
่ ไิ ด ้ไปตาม
่ สงิ่ ทีถ
คลืน ู สง่ ต่อไปตามคลืน
่ ก ื การรบกวน ซงึ่ ก่อให ้เกิดปรากฏการณ์ของคลืน
่ ก็คอ ้ มิใช ่
่ ขึน
อนุภาคของสสารวัตถุแต่ประการใด ดังนั น
้ ในทฤษฎีควอนตัมเรา ไม่ได ้กล่าวถึงการโคจร
ของอนุภาค เมือ ่ ด ้วย สงิ่ ทีเ่ ราหมายถึงคือแบบแผนของคลืน
่ เรากล่าวว่าอนุภาคเป็ นคลืน ่
ทัง้ หมดนั่นเป็ นการแสดงออกของอนุภาค ดังนั น ่ ซงึ่ กําลังเคลือ
้ ภาพของคลืน ่ นทีจ
่ งึ แตกต่าง
ิ้ เชงิ จากภาพของอนุภาคซงึ่ กําลังเคลือ
อย่างสน ่ นที่ มันแตกต่างกันดังคําเปรียบเทียบของ
์ อปฟ์ ทีว่ า่ “เหมือนความคิดเรือ
วิคเตอร์ ไวสค ่ งระลอกคลืน
่ บนผิวนํา้ ในสระ ทีแ
่ ตกต่าง
จากฝูงปลาซงึ่ กําล ังแหวกว่ายในทิศทางเดียวก ันก ับคลืน
่ นน”
ั้

11.5 ความอาจเป็นไปได้

ปรากฏการณ์ของคลืน
่ ทีพ
่ บเห็นในปริมณฑลทีแ ิ ส ์ และ
่ ตกต่างกันมากในวิชาฟิ สก
อาจจะอธิบายมันได ้ด ้วยสูตรทางคณิตศาสตร์ ในทฤษฎีควอนตัมสูตรทางคณิตศาสตร์
ในทางเดียวกันนีย ้
้ ังใชในการอธิ ่ ซงึ่ เกีย
บายคลืน ่ วพันกับอนุภาคอย่างไรก็ตาม ในกรณีนค
ี้ ลืน

เป็ นสงิ่ ทีม ี วามหมายลึกซงึ้ ยิง่ ขึน
่ ค ั ผัสอย่างใกล ้ชด
้ โดยสม ิ กับลักษณะทางสถิตข
ิ องทฤษฎี
้ บายคลืน
ควอนตัม กล่าวอีกนั ยหนึง่ ได ้ว่ามันเหมือนกับสูตรทางคณิตศาสตร์ทใี่ ชอธิ ่ อืน
่ ๆ
่ ซงึ่ เกีย
ด ้วย คลืน ่ วเนือ
่ งด ้วยอนุภาคนีม ่ ลืน
้ ใิ ชค ่ คลืน
่ 3 มิตจิ ริง ๆ เชน ่ นํ้ าหรือคลืน ี งแต่เป็ น
่ เสย
่ ของ “ความอาจเป็นไปได้” ซงึ่ เป็ นปริมาณย่อสรุปทางวิทยาศาสตร์ทส
คลืน ั ผัสกับค่า
ี่ ม
ความอาจจะเป็ นไปได ้ของการพบอนุภาคในทีต
่ า่ ง ๆ และด ้วยคุณสมบัตต ่ กัน
ิ า่ ง ๆ เชน
การนํ าเสนอความคิดของความอาจเป็ นไปได ้ ได ้คลีค
่ ลายสภาพผกผันผิดธรรมดา
อนุภาคอาจเป็ นคลืน ่ ริมณฑลอันใหม่ นั น
่ ได ้ โดยได ้นํ ามันเข ้าสูป ้ คือความคิดเรือ
่ งการดํารง
อยูแ ่ งึ่ ก็เป็ นคูไ่ ม่ตรงกันข ้ามอีกคูห
่ ละการไม่ดํารงอยูซ ่ นึง่ ทีค
่ วามจริงในเรือ
่ งของอะตอม
ดํารงอยูใ่ นทีแ
่ ห่งใดแห่งหนึง่ และไม่อาจกล่าวได ้ว่ามันไม่มอ
ี ยู่ โดยทีม
่ ันอยูใ่ นรูปของค่า
ความเป็ นไปได ้ และอนุภาคมีแนวโน ้มทีจ
่ ะปรากฏได ้ในหลาย ๆ แห่ง ดังนั น
้ มันจึงแสดง
ิ สท
ความจริงทางฟิ สก ์ ป
ี่ ระหลาดระหว่างการดํารงอยูแ
่ ละไม่ดํารงอยู่ เราจึงไม่อาจอธิบาย
สภาพของอนุภาคในแบบของความคิดซงึ่ ตรงกันข ้ามอย่างตายตัวอนุภาคมิได ้ปรากฏ ณ ที่
ใดทีห
่ นึง่ ทัง้ มีได ้ไม่ปรากฏ มันมิได ้เปลีย ่ งิ่ สงิ่ ทีเ่ ปลีย
่ นตําแหน่งของมัน ทัง้ มิได ้อยูน ่ นแปลง
ก็คอ
ื แบบแผนของการอาจเป็ นไปได ้ และนั น
้ คือแนวโน ้มของอนุภาคทีจ
่ ะดํารงอยู่ ณ ทีแ
่ ห่ง
ใดแห่งหนึง่ โรเบิรต
์ ออปเคนไฮเมอร์ (Robert Oppenheimer) กล่าวว่า

หากเราถามว่าตําแหน่งของอิเล็กตรอนคงเดิมอยูเ่ สมอหรือ เราต ้องตอบ


ว่า “ไม่” หากเราถามว่าตําแหน่งของอิเล็กตรอนเปลีย
่ นแปลงไปเมือ
่ เวลาผ่านไปหรือ เรา
ต ้องตอบว่า “ไม่” ถ ้าเราถามว่าอิเล็กตรอนอยูน
่ งิ่ หรือ เราต ้องตอบว่า “ไม่” ถ ้าเราถามว่ามัน
กําลังเคลือ ่ รือ เราต ้องตอบว่า “ไม่”
่ นทีห

ิ สท
ความจริงในวิชาฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วยอะตอมก็เป็ นเชน
่ เดียวกับความจริงในศาสนา
ตะวันออกทีไ่ ปพ ้นกรอบแคบ ๆ ของความคิดทีต
่ รงกันข ้าม คํากล่าวของ ออปเคนไฮเมอร์
ี งสะท ้อนของคัมภีรอ
จึงเปรียบเสมือนเสย ์ ป
ุ นิษัท

มันเคลือ
่ นที่ มันไม่เคลือ
่ นที่

มันอยูไ่ กล และ มันไม่อยูใ่ กล ้

มันปรากฏในสงิ่ เหล่านีท
้ ัง้ หมด

และมันปรากฏนอกสงิ่ เหล่านีท ิ้
้ ัง้ สน

11.6 ความคิดทีเ่ ป็นคูต


่ รงก ันข้าม

ความคิดในเรือ
่ งแรงและสสารของวัตถุ อนุภาคและคลืน
่ การเคลือ
่ นไหวและการ
่ ละการไม่ดํารงอยู่ เหล่านีเ้ ป็ นความคิดตรงกันข ้ามหรือขัดแย ้งกัน ซงึ่
หยุดนิง่ การดํารงอยูแ
ิ สส
วิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ข ้ามพ ้นไปได ้ ในบรรดาความคิดตรงกันข ้ามเหล่านี้ คูส
่ ด
ุ ท ้ายดูจะเป็ น
ความคิดพืน
้ ฐานทีส
่ ด ิ สท
ุ และในวิชาฟิ สก ์ วี่ า่ ด ้วยอะตอมเราต ้องไปให ้พ ้นแม ้กระทั่งความคิด
เรือ
่ งการดํารงอยูแ
่ ละการไม่ดํารงอยู่ นีค ื ลักษณะของทฤษฎีควอนตัมซงึ่ ยากทีส
่ อ ่ ด
ุ ทีจ
่ ะ
ยอมรับได ้ และเป็ นหัวใจของการวิภาควิจัยต่อ ๆ มาเกีย
่ วกับการตีความของมัน ใน
ขณะเดียวกันการก ้าวพ ้นความคิดเรือ
่ งการดํารงอยูแ ุ หนึง่ ซงึ่ ชวน
่ ละไม่ดํารงอยู่ ก็เป็ นแง่มม
ฉงนมากทีส
่ ด ่ เดียวกับนั กฟิ สก
ุ ในศาสนาตะวันออก เชน ิ สท
์ ศ ึ ษาเรือ
ี่ ก ่ งอะตอม นั กปราชญ์
ั จะซงึ่ อยูเ่ หนือการดํารงอยูแ
ชาวตะวันออกสนใจค ้นหาสจ ่ ละการไม่ดํารงอยู่ และท่าน
เหล่านัน ่ ําคัญประการนี้ ดังทีท
้ ได ้เน ้นยํ้าอยูเ่ สมอถึงข ้อเท็จทีส ่ า่ นอัศวโฆษะกล่าวว่า

่ นัน
ความเป็ นเชน ่ าวะแห่งการดํารงอยู่ และมิใชภ
้ เอง มิใชภ ่ าวะแห่งการไม่ดํารงอยู่
่ าวะแห่งการดํารงอยูห
ในเวลาเดียวกัน ทัง้ มิใชภ ่ รือไม่ดํารงอยูใ่ นเวลาต่างกัน

เมือ ิ กับความจริงซงึ่ อยูเ่ หนือความคิดทีเ่ ป็ นคูต


่ ต ้องเผชญ ิ ส์
่ รงกันข ้าม นั กฟิ สก
และศาสนิกจึงนํ าต ้องมีวธิ ค
ี ด
ิ ทีพ
่ เิ ศษออกไป โดยทีม
่ ใิ ห ้จิตใจถูกจํากัดอยูแ
่ ต่ในกรอบตายตัว
ของตรรกะแบบดัง้ เดิม แต่เคลือ
่ นไหวปรับเปลีย ่ ในฟิ สก
่ นทัศนะอยูเ่ สมอ ยกตัวอย่างเชน ิ ส์
้ ง้ ความคิดเรือ
ทีว่ า่ ด ้วยอะตอม เราคุ ้นเคยกับการใชทั ่ งอนุภาคและคลืน
่ ในการอธิบายสสาร
้ ง้ สองความคิด สลับกันไปมา เพือ
วัตถุ เราได ้เรียนรู ้การใชทั ่ ทีจ
่ ะสามารถอธิบายให ้
ครอบคลุมความจริงเกีย
่ วกับอะตอมทัง้ หมดได ้ และวิธก ่ นี้ ก็เป็ นสงิ่ ทีน
ี ารเชน ่ ั กปราชญ์ชาว

ตะวันออกทีใ่ ชในการพยายามอธิ ั จะซงึ่ อยูเ่ หนือความเป็ นสงิ่ ตรงกัน
บายประสบการณ์แห่งสจ
ข ้าม ดังทีท
่ า่ นลามะ โควินทะกล่าวว่า

“”วิธค
ี ด ั้ ็ นการวนรอบว ัตถุทต
ิ ของตะว ันออกสนเป ี่ งแห่
ั้ งความคิดและ
การเพ่งพินจ
ิ พิจารณา..มีล ักษณะหลายแง่มม
ุ นน
่ ั คือว่า เป็นความรูส ึ หลาย
้ ก
มิตซ ้ นก ันของ ความรูส
ิ งึ่ เกิดจากการซอ ึ แต่ละอ ัน จากแง่มม
้ ก ุ ต่าง ๆ ก ัน”

ความคิดซงึ่ ดูเหมือนตรงกันข ้ามซงึ่ เราอาจนํ ามาใชในการอธิ


้ บายปรากฏการณ์
ของสงิ่ เดียวกันดังทีก
่ ล่าวมาแล ้วนัน
้ ได ้แสดงให ้เห็นว่าความคิดแต่ละแง่มม
ุ ไม่สมบูรณ์พอ
ในตัวมันเอง นีลล์ บอห์ร ได ้เสนอว่าความคิดทีเ่ ป็ นคูต ้ เป็ นสงิ่ ซงึ่ เสริมกันและ
่ รงกันข ้ามนั น
่ และลักษณะความเป็ นอนุภาคเป็ นสองแนวทางซงึ่ เสริม
กัน เราถือว่าลักษณะความเป็ นคลืน
้ ถูกต ้องเพียงบางสว่ น
กันและกันในการอธิบายความจริงในประการเดียวกัน แต่ละลักษณะนั น
และมีขอบเขตในการอธิบายอย่างจํากัดแต่ละลักษณะล ้วนเป็ นสงิ่ จําเป็ น สําหรับการอธิบาย
ทีส
่ มบูรณ์เกีย
่ วกับความจริงของอะตอม

่ งการสง่ เสริมซงึ่ กันและกันนีไ


ความคิดในเรือ ้ ด ้กลายเป็ นสว่ นสําคัญในวิธค
ี ด

เกีย ิ สแ
่ วกับธรรมชาติของนักฟิ สก ์ ละบอห์รได ้เสนอว่าแนวคิดดังกล่าวน่าจะใชได
้ ้นอก
ิ ส ์ โดยแท ้จริงแล ้ว ความคิดเรือ
ขอบเขตของฟิ สก ่ งการเป็ นองค์ประกอบซงึ่ เสริมกันของสงิ่
ต่าง ๆ นี้ ได ้รับการพิสจ
ู น์แล ้วว่าเป็ นความคิดทีม
่ ป
ี ระโยชน์มากตัง้ แต่เมือ
่ 2500 ปี ทผ
ี่ า่ นมา
ความคิดนีเ้ ป็ นกระแสหลักในแนวคิดของจีนโบราณซงึ่ มีรากฐานอยูบ
่ นญาณทัศน์ทวี่ า่
่ รงกันข ้ามปรากฏในลักษณะขัว้ ซงึ่ สม
ความคิดทีเ่ ป็ นคูต ั พันธ์เสริมซงึ่ กันและกัน แต่ชาวจีนได ้
สร ้างลักษณะขึน
้ แทนความคิดดังกล่าวในรูปหยินและหยัง โดยถือว่าการขับเคีย
่ วระหว่างห
ยินและหยางเป็ นแก่นแท ้ของปรากฏการณ์ธรรมชาติทัง้ หลาย และสภาวะการรู ้ทัง้ มวลของ
มนุษย์
นีลล์ บอห์รได ้ตระหนั กรู ้ถึงความคล ้ายคลึง ระหว่างความคิดเรือ
่ งองค์ประกอบ ที่
เสริมซงึ่ กันและกันของเขา กับความคิดของจีน เมือ
่ เขาเดินทางมาประเทศจีนในปี พ.ศ.
2480 ในขณะนัน ึ
้ ทฤษฎีควอนตัมของเขา ได ้รับการเสริมแต่งเรียบร ้อยแล ้ว เขารู ้สก
ประทับใจอย่างลึกซงึ้ ต่อความคิดของจีนโบราณ ในเรือ
่ งขัว้ ตรงข ้าม หลังจากนั น
้ ทําให ้เขา
สนใจในวัฒนธรรมของตะวันออกเรือ
่ ยมา 10 ปี ตอ
่ มา บอห์รได ้รับรางวัลพระราชทาน
เครือ ่ เป็ นการยกย่องความสําเร็จของเขา ในด ้านวิทยาศาสตร์ และ
่ งราชอิสริยาภรณ์ เพือ
คุณูปการอันใหญ่หลวงของเขา ต่อชวี ต
ิ ทางวัฒนธรรมของชาวเดนมาร์ก เมือ
่ เขาต ้องเลือก
ั ลักษณ์ ไท ้-จี่ ของจีน ซงึ่ แสดงความสม
คําขวัญตราประจําตัวของเขา เขาเลือกสญ ั พันธ์ ใน
ลักษณะประกอบเสริมซงึ่ กันและกัน ของขัว้ ตรงกันข ้าม หยินและหยังและมีคําว่า Contraria
Sunt Comtlementa (สงิ่ ตรงกันข ้ามเป็ นองค์ประกอบซงึ่ เสริมกันและกัน) นีลล์ บอห์ร ยก
ย่องความบรรสานสอดคล ้องอย่างลึกซงึ้ ระหว่างปั ญญาของตะวันออกโบราณและ
วิทยาศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่
บทที่ 12 จ ักรวาลอ ันเคลือ
่ นไหว

จุดหมายสําคัญอันเป็ นแกนกลางของศาสนาตะวันออกก็คอ
ื การหยั่งรู ้การที่
ปรากฏทัง้ มวลในโลกพิภพนีเ้ ป็ นสงิ่ ปรากฏแสดงของสจ
ั ธรรมสูงสุดประการเดียว สจ
ั ธรรมนี้
ถือเป็ นแก่นแท ้ของจักรวาล รองรับและเอาสรรพสงิ่ และเหตุการณ์อันหลากหลาย ซงึ่ เรา
สงั เกตเห็นได ้นัน ิ ดูเรียกสงิ่ นั น
้ อยูใ่ นเอกภาพอันหนึง่ อันเดียวกันฮน ้ ว่า พรหมัน ชาวพุทธ
ั ตะ) หรือ ตถตา (ความเป็ นเชน
เรียกว่า ธรรมกาย (กายแห่งสต ่ นั น
้ เอง) และเต๋า สําหรับผู ้นั บ
ั ธรรมดังกล่าวอยูเ่ หนือความคิดนึก และท ้าทายต่อ
ถือลัทธิเต๋า แต่ละฝ่ ายล ้วนยืนยันว่าสจ
คําอธิบายต่าง ๆ

อย่างไรก็ตาม แก่นแท ้อันเป็ นปรมัตถ์นี้ มิอาจแยกออกจากสงิ่ ปรากฏแสดงอัน


ั ธรรมนั น
หลากหลายของมัน แกนกลางแห่งธรรมชาติของสจ ้ ก็คอ
ื การปรากฏแสดงออกมาใน
่ แสน ซงึ่ เกิดและสลายเปลีย
รูปลักษณ์นับหมืน ่ งิ่ อืน
่ นแปลงไปสูส ่ ๆ โดยไม่รู ้ทีส ิ้ สุด ในแง่
่ น
ั แห่งเอกภพจึงเป็ นสงิ่ ซงึ่ ทรงสภาพเคลือ
ปรากฏการณ์ของตัวมันเอง สจ ่ นไหวโดยเนือ
้ หา
และการเข ้าใจธรรมชาติแห่งการเคลือ ้ ฐานของทุกสํานั กนิกาย
่ นไหวของเอกภพนั บเป็ นพืน
ึ ก
ของศาสนาตะวันออก ดี.ที. สซ ึ ิ ได ้เขียนเกีย
่ วกับนิกายคีกอน (Kegon School) แห่งพุทธ
ศาสนาแบบมหายานไว ้ว่า

ความคิดสําคัญอันเป็ นแกนกลางของนิกายคีกอนก็คอ
ื การเข ้าใจจักรวาลในเชงิ
่ นไหว จักรวาลซงึ่ มีลักษณะสําคัญคือเคลือ
เคลือ ่ นทีอ
่ ยูเ่ สมอ อยูใ่ นภาวะแห่งการณ์
เคลือ
่ นไหวตลอดเวลา นัน ื ชวี ต
้ ก็คอ ิ

การสอนเน ้นอยูท
่ ก
ี่ ารเคลือ
่ นไหว เลือ ่ นแปลง มิใชเ่ ป็ นลักษณะ
่ นไหล และเปลีย
สําคัญของคําสอนของศาสนาตะวันออกเท่านั น ุ สําคัญในโลกทัศน์ของ
้ หากยังเป็ นแง่มม
ผู ้สนใจ ในความลึกซงึ้ ของชวี ต ั สอนว่า “ทุก
ิ ตลอดทุกยุคทุกสมัย ในกรีกโบราณเฮราคลิตส
สงิ่ เลือ
่ นไหล” และเปรียบโลกกับไฟซงึ่ ดํารงอยูต
่ ลอดเวลาในเม็กซโิ ก ดอน ฮวน อาจารย์
แห่งเผ่ายาคีกล่าวถึง “โลกซงึ่ ลอยต ัว” และยืนยันว่า “การจะเป็นผูร้ น
ู ้ น”
ั้ บุคคลต ้องทํา
ตนให ้เบาและเลือ
่ นไหลได ้

ในปรัชญาอินเดีย คําสําคัญทีช ิ ดูและชาวพุทธใชมั้ กมีความหมายในเชงิ


่ าวฮน
เคลือ ่ คําว่า พรหมัน มาจากรากศัพท์ภาษาสน
่ นไหว เชน ั สกฤตว่า พฤห (brih) เจริญ ดังนั น

จึงแสดงความจริง ซงึ่ เคลือ
่ นไหวและมีชวี ต
ิ ชวี า ราธะกฤษนั นท์ (Radhakrishnan ) กล่าว
ว่า “คําว่าพรหม ัน นนหมายถึ
ั้ ่ แสดงล ักษณะแห่งชวี ต
งความเจริญเติบโต และมุง ิ การ
เคลือ
่ นไหวและความก้าวหน้า ” คัมภีรอ ุ นิษัท กล่าวถึง พรหมัน ว่าเป็ น “การ
์ ป
เคลือ ู ล ักษณ์และเป็นอมตะ” ซงึ่ ก็สม
่ นไหวอ ันไร้รป ั พันธ์กับการเคลือ
่ นไหวถึงแม ้ว่าจะพ ้น
ไปจากรูปลักษณ์ตา่ ง ๆ

์ คเวท ใชคํ้ าซงึ่ แสดงลักษณะอันเคลือ


คัมภีรฤ ่ นไหวของจักรวาลว่า ฤตา ( Rita )
้ าจากศัพท์วา่ ฤ (ri ) เคลือ
คํา ๆ นีม ์ คเวทคือ “ วิถแ
่ นไหว ความหมายเดิมของคัมภีรฤ ี ห่ง
สรรพสงิ่ ” หรือ “โองการของธรรมชาติ” โองการแห่งธรรมชาติในความหมายของผู ้รจนา
คัมภีรพ
์ ระเวทนัน ่ ฏเกณฑ์อันหยุดนิง่ ตายตัว แต่เป็ นหลักการอันเคลือ
้ มิใชก ่ นไหว ซงึ่ สบ
ื สาย
มาในจักรวาล ความคิดนีเ้ หมือนกับความคิดของจีนเรือ ี างซงึ่ จักรวาล
่ ง เต๋า – ทาง วิถท
่ เดียวกับผู ้รจนาคัมภีร ์ นั กปราชญ์จน
กระทําการ นั่นคือ โองการของธรรมชาติเชน ี เห็นว่าโลก
มีลักษณะเลือ
่ นไหลและเปลีย
่ นแปลง ดังนั น
้ จึงให ้ความหมายของกฎเกณฑ์แห่งเอกภพ ใน
เชงิ เคลือ
่ นไหวทัง้ สองแนวคิด คือ ฤตา และ เต๋า ได ้ถูกลดระดับลงมาจากระดับของเอกภพ
ในความหมายเดิม สูร่ ะดับของมนุษย์ในเวลาต่อมา และถูกตีความในแง่ศล
ี ธรรม ฤตาเป็ นกฎ
ของจักรวาลซงึ่ เทพและมนุษย์ทัง้ มวลจะต ้องปฏิบัตต ี ําเนินแห่งชวี ต
ิ าม และเต๋าเป็ นวิถด ิ ที่
ถูกต ้อง

12.1 องค์รวมทีม ี วี ต
่ ช ิ

แนวความคิดเรือ
่ งฤตา ในคัมภีรพ
์ ระเวท ได ้เกิดขึน ่ ง กรรม ซงึ่ ถูก
้ ก่อนความคิดเรือ
พัฒนาขึน
้ ในภายหลัง เพือ ั พันธ์เชงิ เคลือ
่ แสดงความสม ่ นไหวของสรรพสงิ่ และเหตุการณ์
ั พันธ์อย่างเคลือ
ทัง้ หลาย กรรม หมายถึง “การกระทํา” และมุง่ แสดงความสม ่ นไหว หรือ
อย่าง “กระตือรือร้น” ของปรากฎการณ์ทัง้ หลาย ในคัมภีรภ
์ ควัทคีตากล่าวไว ้ว่า “ การ
้ ภายใต้เงือ
กระทําทุกชนิดเกิดขึน ่ นไขของกาลเวลาโดยการสานต่อของแรงต่างๆ
ของธรรมชาติ” พระพุทธเจ ้าได ้นํ าความคิดเรือ ้
่ งกรรมมาใชและให ้ความหมายใหม่ โดย
ขยายขอบเขตความคิดในเรือ ั พันธ์ อันเป็ นพลวัตนั น
่ ง การสอดประสานสม ่ ภาพการณ์
้ สูส
้ กรรม จึงกลายมาเป็ นสว่ นขยายของสายโซแ
ของมนุษย์ ดังนัน ่ ห่งเหตุและผล อันไม่รู ้สน
ิ้ สุด
ของชวี ต
ิ มนุษย์ ซงึ่ พระพุทธองค์ทรงหักทําลายลงได ้ในการตรัสรู ้ของพระองค์

ิ ดูมวี ธิ ม
ศาสนาฮน ี ากมายทีจ
่ ะแสดงธรรมชาติอันเคลือ
่ นไหวของจักรวาลในภาษา
่ ระกฤษณะกล่าวไว ้ใน คีตา ว่า “หากข้าฯ ไม่ตงตนอยู
ของเทพปกรณั ม ดังทีพ ั้ ใ่ นการ
้ ็จะสลายลง” และพระศวิ ะ พระผู ้เริงรําแห่งเอกภพดูจะเป็ น
กระทํา โลกพิภพนีก
บุคลาธิษฐาน แทนจักรวาลอันเคลือ
่ นไหวทีส
่ มบูรณ์ทส
ี่ ด
ุ ด ้วยการเริงรําของพระองค์ พระ
ศวิ ะได ้ทําให ้ปรากฏการณ์อันหลากหลายในโลกดําเนินไป พระองค์รวมเอาทุกสงิ่ ไว ้ใน
จังหวะแห่งการร่ายรําของพระองค์ นับเป็ นรูปเคารพซงึ่ แสดงถึงเอกภาพอันเป็ นพลวัตของ
จักรวาลได ้งดงามยิง่

ิ ดูได ้ให ้ภาพทั่วๆไป ของเอกภพว่ามีลักษณะเป็ นองค์รวมทีม


ศาสนาฮน ี วี ต
่ ช ิ (
organic ) ขยายตัวและเคลือ
่ นไหวอย่างมีจังหวะ ภาพของจักรวาลทีท ุ สงิ่ เป็ นของไหลและ
่ ก
่ นแปลงอยูเ่ สมอ สงิ่ ซงึ่ หยุดนิง่ ทัง้ มวลล ้วนเป็ น มายา อันเป็ นเพียงภาพลวงตาเท่านั น
เปลีย ้
ความคิดเรือ
่ งความไม่เทีย
่ งของทุกรูปลักษณ์นเี้ ป็ นจุดเริม
่ ต ้นของพุทธศาสนา พระพุทธเจ ้า

ทรงสอนว่า “สงขารท งหลายเป
ั้ ็ นของไม่เทีย
่ ง” และความทุกข์ทัง้ หลายในโลกนีเ้ กิดจาก
การพยายามยึดอยูใ่ นรูปลักษณ์อันตายตัว ไม่วา่ จะเป็ น วัตถุ บุคคล หรือความคิด แทนทีจ
่ ะ
ยอมรับการเคลือ ่ นแปลงของโลก โลกทัศน์ ในเชงิ พลวัตจึงเป็ นรากฐานของ
่ นไหวเปลีย
พระพุทธศาสนาดังทีป
่ รากฏในคํากล่าวของราธะกฤษนั นท์วา่

“ปร ัชญาแห่งการเคลือ ้ี ก
่ นไหวอ ันน่ามห ัศจรรย์นถ ้ โดย
ู สร้างขึน
พระพุทธเจ้าเมือ ึ ต่อความไม่คงตัวของวัตถุ การกลับ
่ 2,500 ปี มาแล ัว” …ด ้วยความรู ้สก
กายเปลีย
่ นแปลงบางอย่างไม่มท
ี ส ิ้ สุดของสงิ่ ต่าง ๆ พระพุทธองค์ทรงให ้กําเนิดแก่ปรัชญา
ี่ น
่ นแปลง พระองค์ทรงย่อยสลายสสารวัตถุ วิญญาณ อณูสงิ่ ต่าง ๆ ลงเป็ นแรง การ
การเปลีย
เคลือ
่ นไหว ลําดับ และกระบวนการ ทัง้ สร ้างแนวคิดเรือ ั จะในเชงิ พลวัต
่ งสจ

แผนภูมแ
ิ ห่งการเปลีย
่ นแปลงตามแบบลัทธิเต๋า แสดงการลืน
่ ไหล และ การ
เปลีย
่ นแปลงรูปลักษณ์ อันเป็ นเนือ
้ หาของโลกกายภาพ : ศตวรรษทีส ิ เอ็ด, คัดลอกจาก
่ บ
คัมภีรเ์ ต๋าจัง

12.2 ผูม
้ าและไป

่ นแปลงไม่รู ้หยุดนีว้ า่ สงั สารวัฏ ซงึ่ มีความหมาย


ชาวพุทธเรียกโลกแห่งการเปลีย
ว่า “การเคลือ
่ นไหวหมุนวนอย่างไม่มท
ี ส ิ้ สุด” และชาวพุทธยังยืนยันว่าไม่มส
ี่ น ี งิ่ ใดในวัง
้ งึ่ มีคา่ ควรแก่การยึดถือ ดังนัน
วนนีซ ้ ผู ้รู ้แจ ้งของชาวพุทธก็คอ
ื ผู ้ทีไ่ ม่ตอ
่ ต ้านการเลือ
่ นไหล
ของชวี ต
ิ หากทว่าทําตนให ้คล ้อยตามการเปลีย
่ นแปลงนัน
้ เมือ
่ มีผู ้ถามท่านอวิน
่ เหมิน (Yun-
ิ าย ธยาน ว่า “อะไรคือเต๋า” ท่านตอบว่า “เดินต่อไป” ชาวพุทธยัง
,men) พระภิกษุ นก
เรียกพุทธองค์วา่ ตถาคต ซงึ่ มีความหมายว่า “ผูม ่ นน”ในปรั
้ าและไปแล้วเชน ั้ ั
ชญาจีน สจ
ธรรมแห่งการเลือ
่ นไหลเปลีย
่ นแปลงไม่รู ้หยุดนีเ้ รียกกันว่า เต๋า และถือเป็ นกระบวนการของ
เอกภาพซงึ่ เกีย
่ วโยงกับทุกสงิ่ เชน
่ เดียวกับชาวพุทธ ผู ้นั บถือเต๋ากล่าวว่า บุคคลไม่ควรต ้าน
การเลือ
่ นไหลเปลีย ่ นการกระทําของตนให ้สอดคล ้องกับมันซงึ่ นีก
่ นแปลง แต่ควรปรับเปลีย ่ ็
ิ องนั กปราชญ์-ผู ้รู ้แจ ้ง หากว่าพระพุทธเจ ้าคือ “ผูม
คือคุณสมบัตข ้ าและไปแล้ว
่ นน”
เชน ั้ นักปราชญ์เต๋าคือ ผู ้ซงึ่ “เลือ
่ นไหลในกระแสของเต๋า” ตามคําของฮวยหนั่ นจื๊ อ

ึ ษาคัมภีรข
ยิง่ เราศก ิ ดู พุทธ และเต๋ามากขึน
์ องฮน ั เจน
้ เท่าใด เราก็ยงิ่ ประจักษ์ชด
ขึน
้ ว่าในทุกศาสนานัน
้ ถือว่าโลกมีลักษณะแห่งการเคลือ
่ นไหว เลือ
่ นไหลเปลีย
่ นแปลง
ื่ มโยง
นักปราชญ์ตะวันออกเห็นว่าจักรวาลเป็ นข่ายใยอันไม่อาจแยกจากกันได ้ และความเชอ
ภายในข่ายในนัน
้ มีลักษณะ เคลือ
่ นไหว เติบโต และเปลีย
่ นแปลงอย่างต่อเนือ ่ เดียวกับ
่ งเชน
ิ สส
วิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ก็เห็นว่าจักรวาลเป็ นข่ายใยแห่งสม
ั พันธ์ซงึ่ มีลักษณะเคลือ
่ นไหวโดย
เนือ
้ หา พลวัตแห่งสสารวัตถุเกิดขึน
้ ในทฤษฎีควอนตัมโดยเป็ นผลเนือ
่ งมาจากคุณสมบัต ิ
ความเป็ นคลืน ั พันธ์มากยิง่ ขึน
่ ของอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม และยิง่ มีความสม ้ ในทฤษฎี
ั พัทธภาพ ซงึ่ การรวมเป็ นหนึง่ เดียวของอวกาศและเวลาได ้แสดงนั ยทีว่ า่ การดํารงอยูข
สม ่ อง
สสารวัตถุไม่อาจแยกได ้จากกิจกรรมของมัน ดังนั น
้ คุณสมบัตข
ิ องอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม
นัน ึ ษาเข ้าใจในแง่การเคลือ
้ เราจะต ้องศก ่ นไหว ในปฏิกริ ย
ิ า และการเปลีย
่ นแปลงของมัน

ตามทฤษฎีควอนตัม อนุภาคเป็ นคลืน


่ ด ้วย นีแ
่ สดงนั ยทีว่ า่ มันประพฤติตนใน
ลักษณะทีป
่ ระหลาดอย่างยิง่ เมือ
่ ใดทีอ
่ นุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมถูกจํากัดอยูภ
่ ายในขอบขนาด
เล็ก ๆ มันจะมีปฏิกริ ย
ิ าต่อการจํากัดขอบเขตนีโ้ ดยการเคลือ
่ นทีไ่ ปรอบ ๆ ยิง่ ขอบเขตจํากัด
นัน ่ ั ” เร็วขึน
้ มีขนาดเล็กลงมากเท่าใด อนุภาคจะยิง่ “สน ้ เท่านั น
้ พฤติกรรมของอนุภาคใน
ลักษณะนีเ้ ป็ น “ผลแห่งควอนต ัม” (Quantum Effect) ซงึ่ เป็ นคุณลักษณะของโลกแห่ง
ี งิ่ ใดเปรียบเทียบให ้เห็นในโลกของวัตถุท ี่
โลกอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม โดยยังไม่มส
มองเห็นได ้ แนวโน ้มของอนุภาคทีจ
่ ะต่อต ้านต่อการจํากัดขอบเขตของมันด ้วยการเคลือ
่ นที่
้ ฐานของสสารวัตถุ ซงึ่ เป็ นลักษณะสําคัญ
แสดงให ้เห็น “สภาพอ ันไม่หยุดนิง่ ” อันเป็ นพืน
ของอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม ในอาณาจักรแห่งอนุภาคทัง้ หลายเหล่านี้ อนุภาคของวัตถุ
สว่ นใหญ่ถก
ู ดึงดูดไว ้กับโครงสร ้างของโมเลกุล อะตอมและนิวเคลียส ดังนั น
้ จึงไม่หยุดนิง่
แต่มแ
ี นวโน ้มภายในทีจ
่ ะเคลือ
่ นทีไ่ ป นั่ นคือมันมีสภาพทีไ่ ม่อาจหยุดนิง่ โดยเนือ
้ หา ดังนั น

ตามทฤษฎีควอนตัมสสารวัตถุจงึ ไม่เคยสงบนิง่ แต่อยูใ่ นสภาพทีเ่ คลือ
่ นไหวอยูเ่ สมอ

ิ สส
วิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ จึงมองภาพของสสารวัตถุ มิใชส
่ งิ่ ซงึ่ เฉื่อยชา ไร ้การกระทํา
แต่เป็ นสงิ่ ทีม
่ ก
ี ารร่ายรํา และเคลือ ั่ สะเทือนอย่างต่อเนือ
่ นไหวสน ่ ง โดยทีจ
่ ังหวะการเคลือ
่ นที่
ของมัน ถูกกําหนดโดยโครงสร ้างของโมเลกุล อะตอมและนิวเคลียส และนีก
่ ็เป็ นวิธท
ี ี่
นักปราชญ์ตะวันออก มองโลกแห่งวัตถุ โดยต่างเน ้นให ้เห็นว่า ต ้องเข ้าใจจักรวาลในเชงิ
พลวัต เนือ
่ งจากมันเคลือ ั่ ไหว และร่ายรําตลอดเวลา เน ้นให ้เห็นว่า ธรรมชาติอยูใ่ น
่ นที่ สน
ดุลยภาพอันเคลือ ่ ยุดนิง่ ในคัมภีรข
่ นไหว มิใชห ์ องเต๋ากล่าวไว ้ว่า

่ วามสงบนิง่ ทีแ
“ความสงบนิง่ ในความสงบนิง่ มิใชค ่ ม้จริง แต่เมือ
่ มีความ
สงบนิง่ ในท่ามกลางการเคลือ
่ นไหวเท่านน
ั้ ท่วงทํานองแห่งจิตวิญญาณจึงปรากฏ
ทงในสวรรค์
ั้ และบนโลกพิภพ”

12.3 การหมุนวนของดาราจ ักร

ิ ส ์ เราตระหนักถึงลักษณะอันเคลือ
ในวิชาฟิ สก ่ นไหวของจักรวาลไม่เพียงแต่ในมิต ิ
ของสงิ่ มีชวี ต ่ อะตอมหรือนิวเคลียสเท่านั น
ิ ขนาดเล็ก เชน ิ องสงิ่ ทีม
้ แต่รวมถึงในมิตข ่ ข
ี นาด
่ อาณาจักรแห่งดวงดาวและดาราจักร (galaxies) เราสงั เกตเห็นว่าจักรวาลกําลัง
ใหญ่ เชน
่ นที่ ทัง้ นีโ้ ดยอาศัยกล ้องโทรทัศน์ซงึ่ มีขนาดกําลังขยายมาก กลุม
เคลือ ่ เมฆของก๊าซ
่ นไปในท ้องฟ้ าได ้รวมตัวและหดตัวลงเป็ นดวงดาว ซงึ่ ก่อให ้เกิดความ
ไฮโดรเจนหมุนเคลือ
ร ้อนขึน
้ ถึงจุดหนึง่ ทําให ้มันลุกไหม ้ขึน
้ เป็ นดวงไฟในท ้องฟ้ า เมือ
่ ถึงสภาวะนั น
้ มันก็ยังคง
ิ้ สว่ นของมันหลุดออกมาในอวกาศ หมุนคว ้างออกไป
หมุนไป ดาวบางดวงได ้สลัดเอาชน
ิ้ สว่ นเหล่านัน
และชน ้ ได ้รวมตัวเข ้าเป็ นดาวเคราะห์โคจรรอบ ๆ ดาวดวงนั น
้ ในทีส
่ ด
ุ นั บจาก
่ ก๊าซไฮโดรเจนซงึ่ เป็ นเชอ
เวลาผ่านไปนับด ้วยล ้าน ๆ ปี เมือ ื้ เพลิงนั น
้ สว่ นใหญ่ถก ้
ู ใชหมดไป
ดวงดาวก็ขยายตัวออก และแล ้วก็หดตัวเข ้าอีกครัง้ หนึง่ ด ้วยอํานาจแรงโน ้มถ่วง การยุบตัวนี้
อาจทําให ้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรงสุดประมาณ หรืออาจทําให ้ดวงดาวนัน
้ กลายเป็ นหลุม
ดํา (Black Hole) ไป สงิ่ ต่าง ๆ เหล่านี้ ไม่วา่ จะเป็ นการก่อตัวขึน
้ เป็ นดวงดาวจากกลุม
่ ก๊าซ
ซงึ่ ลอยอยูร่ ะหว่างหมูด
่ าว การหดตัว การขยายตัวของมันในเวลาต่อมา และการยุบตัวใน
ท ้ายทีส ุ เป็ นสงิ่ ทีเ่ รามารถสงั เกตเห็นได ้ในอาณาบริเวณต่าง ๆ ในท ้องฟ้ า
่ ด

ดวงดาวซงึ่ กําลังหมุนวน หดตัว ขยาย หรือระเบิดนั น


้ รวมกันเข ้าเป็ นกระจุกของ
่ เป็ นรูปจานแบน รูปทรงกลม รูปทรงก ้นหอย เป็ น
ดาวหรือดาราจักรในรูปร่างต่าง ๆ กัน เชน

ต ้น ทุก ๆ ดาราจักรก็ไม่หยุดนิง่ ทว่ากําลังหมุนไปรอบ ๆ ทางชางเผื
อก (The Milky Way)
อันเป็ นดาราจักรของเรานัน
้ มีรป
ู ลักษณะเป็ นจานมีดวงดาวและก๊าซรวมกันอยูอ
่ ย่างหนาแน่น
่ เดียวกับกงล ้ออันมหึมา ทําให ้ดวงดาว รวมทัง้ ดวงอาทิตย์ และดาว
หมุนไปในอวกาศเชน
เคราะห์บริเวณของมันเคลือ
่ นตัวไปรอบ ๆ แกนกลางของดาราจักร จักรวาลประกอบขึน
้ ด ้วย
ดาราจักรจํานวนมหาศาลทีก
่ ระจัดกระจายอยูท
่ ั่วอวกาศทีเ่ ราอาจมองเห็นได ้ ทุก ๆ อันกําลัง
่ เดียวกับอาณาจักรของเรา
หมุนเชน

เมือ ึ ษาจักรวาลโดยสว่ นรวมทัง้ หมดซงึ่ กอปรด ้วยดาราจักรนั บล ้านๆ อัน เรา


่ เราศก
ั สว่ นทีใ่ หญ่ทส
ได ้บรรลุถงึ สด ี่ ด ่ กัน ทีเ่ รา
ุ ของอวกาศและเวลา และในระดับของเอกภาพนีเ้ ชน
้ ไิ ด ้หยุดนิง่ มันกําลังขยายตัว สงิ่ นีน
ค ้นพบว่าจักรวาลนีม ่ ําคัญในวิชาดารา
้ ั บเป็ นการค ้นพบทีส
ศาสตร์สมัยใหม่ การวิเคราะห์แสงซงึ่ มาจากดาราจักรทีอ
่ ยูห
่ า่ งไกลออกไปนัน
้ อย่าง
ั พันธ์กัน
ละเอียดลออทําให ้เราทราบว่า กระจุกดาราจักรทัง้ หมดกําลังขยายตัวออกอย่างสม
ความเร็วในการเคลือ
่ นตัวออกของดาราจักรหนึง่ ๆ เป็ นปฏิภาคโดยตรงกับระยะทางของ
ดาราจักรนัน
้ ๆ ยิง่ ห่างออกไปเท่าไร

12.4 อวกาศไม่แบนแต่โค้ง

เพือ
่ ทีจ
่ ะให ้เข ้าใจการขยายตัวของจักรวาลได ้ดีขน
ึ้ เราจะต ้องระลึกถึงโครงร่างใน
ึ ษาเกีย
การศก ่ วกับจักรวาลในระดับกว ้างของไอน์สไตน์ตามทฤษฎีนอ ่ งิ่
ี้ วกาศไม่ใชส
ที่ “แบน” แต่ “โค้ง” และความโค ้งของมันขึน
้ อยูก
่ ับการกระจายตัวของสสารวัตถุตาม
ทฤษฎีไอน์สไตน์ นับเป็ นจุดเริม
่ ต ้นของวิทยาสมัยใหม่

เมือ
่ เราพูดถึงการขยายตัวของจักรวาลในโครงร่างของทฤษฎีทั่วไป เราหมายถึง
การขยายตัวในมิตท
ิ ส ่ เดียวกับภาพอวกาศทีโ่ ค ้งตัวเราจะเข ้าใจภาพการขยายตัว
ี่ งู กว่า เชน
ของจักรวาลโดยอาศัยข ้อเปรียบเทียบ 2 มิต ิ ลองนึกถึงลูกโป่ งทีม
่ จ
ี ด
ุ เล็ก ๆ อยูท
่ ั่วผิวหน ้า
้ แทนดาราจักรซงึ่ กระจายอยูท
ของมัน และจุดเล็ก ๆ เหล่านัน ่ ั่วอวกาศ เมือ
่ ลูกโป่ งถูกเป่ าให ้
พองขึน
้ ระยะห่างระหว่างจุดเล็ก ๆ แต่ละจุดให ้เพิม
่ ขึน
้ ไม่วา่ คุณจะอยูด
่ าราจักรใดดาราจักร
อืน
่ ๆ ก็จะเคลือ
่ นออกจากคุณ

คําถามเกีย
่ วกับการเคลือ
่ นตัวของจักรวาลจะเกิดขึน
้ อย่างแน่นอนทัง้ หมดนีเ้ ริม
่ ต ้น
ั พันธ์ระยะทางระหว่างดาราจักรและความเร็วของมัน ตามทฤษฎี
มาได ้อย่างไร จากความสม
ของฮับเบิล (Hubble’s Law) เราก็จะคํานวณจุดเริม
่ ต ้นของการขยายตัวได ้ กับอีกนั ยหนึง่
คือคํานวณอายุของจักรวาลได ้ สมมติวา่ ไม่มก ่ นแปลงในอัตราการขยายตัว ซงึ่
ี ารเปลีย
แน่นอนไม่มท
ี างเป็ นไปได ้ เราจะคํานวณอายุของจักรวาลได ้ประมาณ 10,000 ล ้านปี ใน
ปั จจุบันนักจักรวาลวิทยาสว่ นใหญ่เชอ
ื่ กันว่าจักรวาลเริม
่ ต ้นเมือ
่ 10,000 ล ้านปี ทแ
ี่ ล ้ว โดย
มวลสารทัง้ หมดของมันระเบิดออกมาจากลูกไฟดวงแรก ซงึ่ มีขนาดเล็ก การขยายตัวของ
จักรวาลทีย
่ ังคงเป็ นอยูใ่ นปั จจุบัน แสดงถึงแรงระเบิด ทีย
่ ังหลงเหลืออยูต
่ ามแบบจําลอง
หากเราต ้องการจะรู ้ว่า ก่อนขณะนัน
้ เรามีอะไรเกิดขึน ิ กับความยุง่ ยากอย่าง
้ เราจะต ้องเผชญ
ฉกาจฉกรรจ์ ในทางความคิดและภาษาอีกครัง้ หนึง่ เซอร์เบอร์นาร์ด โลเวลส ์ ได ้กล่าวไว ้ว่า

“เราได้มาถึงอุปสรรคอ ันมหึมาของความคิดเนือ
่ งจากเราเริม ้ ับ
่ ต่อสูก
ความคิดเรือ
่ งเวลาและอวกาศก่อนทีจ
่ ะมีอยู่ ในความหมายอย่างทีเ่ ราประสบใน
ประจําว ันของเรา ข้าพเจ้ารูส ึ เหมือนก ับว่าได้ข ับรถเข้าไปในหมอกอ ันหนาทึบทีส
้ ก ่ ด

ซงึ่ โลกทงโลกที
ั้ เ่ คยคุน
้ ได้มลายไป”

่ วกับอนาคตของจักรวาลซงึ่ กําลังขยายตัวอยู่ ต่างกันออกไปแล ้วแต่


เกีย

แบบจําลองของจักรวาล บางแบบก็ทํานายว่าการขยายตัวจะชาลงและในที
ส ่ ด
ุ จะหดตัวเข ้า
ความคิดทีว่ า่ จักรวาลจะขยายตัวและหดตัวสลับกันไปในชว่ งระยะเวลาทีย
่ าวนานมากในแต่
ละจังหวะ ไม่ใชเ่ กิดขึน
้ แต่ในจักรวาลวิทยาสมัยใหม่เท่านั น
้ หากยังปรากฏในเทพปกรณั ม
่ งลีลา (Lila) การแสดงแห่งสรวงสวรรค์ ซงึ่
ของอินเดียแต่โบราณ แนวหนึง่ คือความคิดเรือ
พรหมันได ้จําแลงร่างเป็ นโลกลีลาเป็ นการแสดงหรือการละเล่นซงึ่ ประกอบด ้วยจังหวะจะ
่ นึง่ ได ้กลายเป็ นหลากหลาย และสงิ่ หลากหลายได ้กลับเป็ นหนึง่ ในคัมภีร ์
โคนแห่งการทีห
ภควัทคีตา พระกฤษณะได ้ตรัสถึงจังหวะแห่งการรังสรรค์นวี้ า่

เมือ ิ้ ยามราตรี สรรพสงิ่ กลับมาสูธ


่ สน ่ รรมชาติข ้า และเมือ
่ เริม
่ วัน
่ วามสว่าง
ใหม่ข ้านํ ามันออกมาสูค

ด ้วยธรรมชาติแห่งข ้า ข ้า เป็ นเหตุแห่งการรังสรรค์ทงั ้ มวล และ


มันก็หมุนไปในวงเวียนแห่งเวลา

แต่ข ้าไม่ผก
ู ยึดอยูก
่ ับงานสร ้างสรรค์อันใหญ่หลวงนี้ ข ้า เป็ น
และ ข ้าเฝ้ าดูการดําเนินแห่งการงานนัน

้ ให ้ภาพของจักรวาลซงึ่ ขยายตัวและหดตัวสลับกันไป และเรียก


ท่านเหล่านัน
ระยะเวลาระหว่างการเริม ิ้ สุดของการรังสรรค์ครัง้ หนึง่ ๆ อันเป็ นเวลายาวนานเกิน
่ ต ้นและสน
กว่าทีจ ่ ว ้างไพศาลแห่งจักรวาล ซงึ่ การขยายตัว ขอให ้เรา
่ ะจินตนาการ จากขอบเขตทีก
ย ้อนกลับมาสูโ่ ลกของสงิ่ ทีเ่ ล็กอย่างไม่อาจประมาณได ้ อาณาจักรของอะตอม นิวเคลียส
และสว่ นประกอบของมันการสบ
ื ค ้นอย่างจริงจัง ได ้สง่ ผลเปลีย
่ นแปลงทัศนของเราในเรือ
่ ง
สสารวัตถุหลายประการ เรากําลังเกีย ิ งึ่ เล็กกว่าอะตอมหลายแสนเท่า ซงึ่ ใน
่ วข ้องกับมิตซ
่ นี้ เคลือ
อนุภาคขนาดทีเ่ ล็กเชน ่ นทีด ้ างซงึ่ เกีย
่ ้วยความเร็วสูงมาก จําเป็ นต ้องใชโครงร่ ่ วข ้อง
ั พัทธภาพ และด ้วยทฤษฎีสม
กับทฤษฎีควอนตัม และทฤษฎีสม ั พัทธภาพนีเ้ อง ทีท
่ ําให ้เรา
จําเป็ นต ้องปรับเปลีย
่ นทัศนะทีเ่ กีย
่ วกับสสารวัตถุของเราอีกครัง้

12.5 มวลสารเป็นพล ังงาน

่ ําคัญทีส
ตัวอย่างทีส ่ ด ื สมการของไอน์สไตน์ซงึ่ เป็ นทีร่ ู ้จักกันดี
ุ ก็คอ
ั พันธ์ของพลังงานและมวลสาร ซงึ่ เป็ น 2 แนวคิดทีด
E=mc2 แสดงความสม ่ เู หมือนว่า ไม่
ั พันธ์กันได ้ พลังงานคือความสามารถในการทํางาน เชน
น่าจะสม ่ เมือ
่ เราต ้มนํ้ าให ้เดือด เรา
ต ้องอาศัยพลังงานความร ้อน ทีอ
่ าจเปลีย
่ นแปลงมาจากพลังงานไฟฟ้ า หรือพลังงานเคมี
และความสําคัญขัน
้ พืน
้ ฐานของมัน อยูท
่ ข
ี่ ้อเท็จจริงทีว่ า่ พลังทัง้ หมดทีเ่ กีย
่ วข ้องในกระบาน
การหนึง่ นัน
้ จะต ้องไม่สญ
ู หาย มันอาจจะเปลีย
่ นรูปด ้วยกลวิธท
ี ซ ั ซอน
ี่ บ ้ และยังไม่เคยมีสงิ่ ที่
อยูน
่ อกกฎนีป
้ รากฏขึน

ั พัทธภาพได ้บอกเราว่า มวลสารไม่ใชอ


ในปั จจุบันทฤษฎีสม ่ น
ื่ ใดนอกจากพลังงาน
่ พลังงานทีม
ตัวอย่างเชน ่ ใี นอนุภาค (E) ย่อมเท่ากับมวลสารของอนุภาค (m) คูณด ้วย
ความเร็วของแสงยกกําลังสอง (c2) แต่ทว่ามันอาจจะถูกเปลีย
่ นไปเป็ นรูปอืน
่ ๆ ของ
พลังงาน ลักษณะดังกล่าวจะเกิดขึน
้ เมือ
่ อนุภาคชนกัน พลังงานจลน์นจ
ี้ ะแบ่งเฉลีย
่ ไปให ้แก่
่ ซงึ่ เกีย
อนุภาคตัวอืน ้
่ วข ้องกับการชนกันนี้ พลังงานจลน์ของมันอาจถูกใชไปในการสร ้างมวล
ของอนุภาคตัวใหม่

การค ้นพบระหว่างมวลสารเป็ นพลังงานรูปหนึง่ ได ้ทําให ้เราต ้องปรับเปลีย


่ นความ
คิดของเรา ในเรือ
่ งอนุภาคไปในทางทีถ
่ ก
ู ต ้องมากยิง่ ขึน
้ และดังนั น
้ อนุภาคจึงไม่ถก
ู ถือว่า
ประกอบด ้วย “ก้อน” พืน
้ ฐานใด ๆ อย่างไรก็ตาม เนือ
่ งจากพลังงานเกีย
่ วเนือ
่ งกับกิจกรรม
และกระบวนการ ดังนัน
้ มันจึงแสดงนัยทีว่ า่ ธรรมชาติของอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม เราระลึก
ั พัทธ์ กล่าวคือในกรอบโครงร่างของอวกาศและเวลา ได ้หลอม
เสมอว่าจะต ้องนึกถึงในแง่สม
รวมเป็ นสภาพต่อเนือ ิ ห่งกาลอวกาศ อนุภาคซงึ่
่ ง 4 มิต ิ แต่จะมองเป็ นวัตถุในสภาพ 4 มิตแ
เล็กกว่าอะตอมเป็ นแบบแผนอันเคลือ
่ นไหว มีทัง้ ในด ้านอวกาศและเวลา ในด ้านอวกาศทํา
ให ้มันปรากฏเป็ นวัตถุมม
ี วลสารทีแ
่ น่นอนอันหนึง่

แบบแผนอันเป็ นพลวัตหรือ กลุม


่ พลังงาน เหล่านีก
้ อ
่ รูปขึน
้ เป็ นโครงสร ้างของ
นิวเคลียส อะตอม และโมเลกุลทีค
่ งตัวตามลําดับ จนถึงสสารวัตถุทด
ี่ แ
ู ข็งแรงถาวร จึงทําให ้
ื่ ว่ามันประกอบด ้วยสสารขนาดเล็กอย่างใดอย่างหนึง่ โดยทั่วไปความคิดเชน
เราเชอ ่ นีด ้ ้
้ ใู ชได
้ ได ้ อะตอมประกอบขึน
แต่ในระดับของอะตอมแล ้วมันใชไม่ ้ จากอนุภาคก็จริง ทว่าอนุภาค
เหล่านี้ มิได ้ประกอบด ้วยก ้อนสสารอันใดอันหนึง่ เราไม่เคยเห็นสว่ นประกอบใด ๆ ของมัน
แบบแผนแห่งการเคลือ
่ นไหว ทีเ่ ปลีย
่ นแปลงกลับไปกลับมาอย่างต่อเนือ
่ ง เป็ นระบําแห่ง
พลังงานเคลือ
่ นไหวต่อเนือ
่ งกันไป

ทฤษฎีควอนตัมได ้แสดงให ้เราเห็นว่า อนุภาคมิได ้เป็ นเมล็ดแห่งสสารแยกโดด


เดีย ื่ มโยงสม
่ วโดยลําพัง ทว่าเป็ นแบบแผนแห่งความอาจเป็ นไปได ้ เป็ นความเชอ ั พันธ์
ั พัทธภาพได ้ทําให ้
ภายในข่ายใยแห่งเอกภพทีไ่ ม่อาจแบ่งแยก อาจจะกล่าวได ้ว่าทฤษฎีสม
ี วี ต
แบบแผนดังกล่าวเหล่านี้มช ิ ขึน
้ โดยแสดงให ้เห็นถึงลักษณะการเคลือ
่ นไหว การดํารงอยู่
ของสสารวัตถุและกิจกรรมของมันไม่อาจแยกออกจากกันได ้ มันเป็ นเพียงคนละแง่มม
ุ ของ
ความจริง

นักปราชญ์ตะวันออก ในสภาวะแห่งสํานึกพิเศษได ้หยั่งรู ้ สอดประสานสม


ั พันธ์
ของกาละและเทศะ โดยเฉพาะในพระพุทธศาสนา ซงึ่ ปรากฏคําสอนทีส
่ ําคัญประการหนึง่ ไว ้

ว่า สงขารท งหลายเป
ั้ ็ นของไม่เทีย ั
่ ง คําว่า สงขาร นั น ั ้ ต ้นหมายถึงเหตุการณ์ หรือ
้ ชน
สงิ่ ทีเ่ กิดขึน ่ อง หมายถึง สงิ่ ทีค
ั ้ ทีส
้ และยังอาจหมายถึงการกระทํา ความประพฤติ ในชน ่ ง
้ สดงให ้เห็นว่า ชาวพุทธมองวัตถุในเชงิ เคลือ
อยู่ นีแ ่ นไหว เป็ นกระบวนการเปลีย
่ นแปลง อัน
ิ้ ชาวพุทธมองเห็นวัตถุทก
ไม่จบสน ุ ชนิดเป็ นกระบวนการร่วม ในการเปลีย
่ นแปลงของ
จักรวาล และปฏิเสธความคงอยูข
่ องสสารใด ๆ
บทที่ 13 ความว่างและรูปล ักษณ์

่ นความคิดทีว่ า่ อนุภาคซงึ่ เป็ นวัตถุแข็ง


โลกทัศน์แบบกลจักรดัง้ เดิมมีรากฐานอยูบ
และไม่อาจทําลายได ้ เคลือ
่ นทีอ ิ สส
่ ยูใ่ นทีว่ า่ ง วิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ได ้กําหนดให ้ภาพใหม่ทต
ี่ า่ ง
ิ้ เชงิ ซงึ่ ไม่เพียงแต่นํามาสูค
จากความคิดดังกล่าวสน ่ วามคิดใหม่ในเรือ
่ ง “อนุภาค” เท่านั น

แต่ยังก่อให ้เกิดการเปลีย ่ งทีว่ า่ งไปในทางลึกซงึ้ ยิง่ ขึน
่ นแปลงในความคิดเรือ ้ การ
เปลีย
่ นแปลงนีเ้ กิดขึน
้ ในทฤษฎีสนาม (Field Theories) ทฤษฎีนม
ี้ จ
ี ด
ุ กําเนิดทีค
่ วามคิดของ
ไอน์สไตน์ซงึ่ ประ สงค์จะรวมเอาสนามความโน ้มถ่วงกับโครงสร ้างทางเรขาคณิตของอวกาศ
ั เจนยิง่ ขึน
เข ้าด ้วยกัน และได ้รับการขยายให ้ชด ้ ในการวมกันของทฤษฎีควอนตัมและทฤษฎี
ั พัทธภาพเพือ
สม ่ การพยายามอธิบายสนามของแรงของอนุภาคซงึ่ เล็กกว่าอะตอม
ใน “ทฤษฎีสนามควอนต ัม” (Quantum Field Theories) นี้ การแบ่งแยกระหว่างอนุภาค
ี ความแหลมคมทีม
และทีว่ า่ งรอบ ๆ ตัวมันได ้สูญเสย ่ ม
ี าแต่เดิมลง และทีว่ า่ งถูกถือเป็ น
ปริมาณอันมีลักษณะเป็ นพลวัตทีม ี วามสําคัญอย่างยิง่ ประการหนึง่
่ ค

ความคิดในเรือ
่ งสนาม ถูกเสนอเข ้ามาอธิบายถึงแรงระหว่างประจุไฟฟ้ าและ
กระแสไฟฟ้ า โดยฟาราเดย์และแมกซเ์ วลสใ์ นศตวรรษทีส ิ เก ้า สนามไฟฟ้ า คือสภาพการณ์
่ บ
ในทีว่ า่ งรอบประจุอันหนึง่ ซงึ่ ก่อให ้เกิดแรงกระทําบนประจุอน
ื่ ทีป
่ รากฏในทีว่ า่ งนัน
้ ดังนั น

สนามไฟฟ้ าจึงเกิดจากประจุไฟฟ้ า และจะมีผลต่อประจุไฟฟ้ าอันอืน
่ สนามแม่เหล็กเกิดจาก
ประจุไฟฟ้ าซงึ่ กําลังเคลือ
่ นที่ นั่นคือจากกระแสไฟฟ้ า และแรงแม่เหล็กจะมีผลเฉพาะต่อ
ประจุซงึ่ เคลือ
่ นที่ ในทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้ าดัง้ เดิม ทีเ่ สนอโดยฟาราเดย์และแมกซเ์ วลสน
์ ัน

ิ สข
สนามเป็ นสภาพจริงทางฟิ สก ์ น
ั ้ ปฐมภูม ิ ซงึ่ อาจศก
ึ ษาได ้โดยไม่จําเป็ นต ้องอิงอาศัยตัว
วัตถุ สนามแม่เหล็กและไฟฟ้ า สามารถเคลือ
่ นทีผ
่ า่ นอวกาศในรูปของวิทยุ คลืน
่ แสงหรือใน
ี ม่เหล็กไฟฟ้ าชนิดอืน
รูปรังสแ ่

ั พัทธภาพ ได ้ตกแต่งโครงสร ้างของวิชาพลศาสตร์ไฟฟ้ า


ทฤษฎีสม
(electrodynamics) ให ้สละสลวยยิง่ ขึน
้ โดยรวมเอาความคิดเรือ
่ งประจุและกระแสไฟฟ้ า
สนามไฟฟ้ า และสนามแม่เหล็ก เนือ
่ งจากการเคลือ
่ นทีท ุ ชนิดเป็ นสงิ่ สม
่ ก ั พัทธ์ ประจุไฟฟ้ า
่ ไฟฟ้ า ในกรอบอ ้างอิงอันหนึง่ ซงึ่ เคลือ
ทุกตัวอาจปรากฏเป็ นคลืน ่ เทียบกับผู ้สงั เกต
่ นทีเ่ มือ
่ กัน ดังนั น
และในทํานองเดียวกัน สนามไฟฟ้ าของมันก็อาจปรากฏเป็ นสนามแม่เหล็กได ้เชน ้
ในสูตรพลศาสตร์ไฟฟ้ าเชงิ สม
ั พัทธ์ สนามทัง้ สองชนิดได ้รวมตัวเป็ นสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า

ความคิดในเรือ
่ งสนามมิได ้เกีย
่ วข ้องกับแรงแม่เหล็กไฟฟ้ าเท่านั น ั พันธ์
้ หากยังสม
กับแรงอันสําคัญในโลก นั่นคือแรงโน ้มถ่วง สนามความโน ้มถ่วงมีผลต่อวัตถุซงึ่ ทรงมวล
้ โดยต่างจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าซงึ่ มีผลต่อเฉพาะ
ทัง้ หลายทุกชนิด โดยดึงดูดวัตถุนัน
ประจุไฟฟ้ าและอาจเป็ นแรงผลักหรือแรงดูดก็ได ้ ทฤษฎีสนามซงึ่ กล่าวถึงสนามความโน ้ม
ถ่วงได ้อย่างถูกต ้องทีส
่ ด ั พัทธภาพทั่วไป และในทฤษฎีนม
ุ คือทฤษฎีสม ี้ ก
ี ารกล่าวถึงอิทธิพล
ของวัตถุซงึ่ ทรงมวล ต่อทีว่ า่ งโดยรอบตัวของมันอย่างละเอียดลออ มากกว่าอิทธิพลของ
วัตถุซงึ่ มีประจุในวิชาพลศาสตร์ไฟฟ้ า อีกครัง้ หนึง่ ทีท ู “กําหนด
่ วี่ า่ งรอบ ๆ วัตถุถก
สภาพ” ในลักษณะทีว่ ต
ั ถุอน ึ ถึงแรงของมัน ทว่าในครัง้ นีม
ื่ จะรู ้สก ้ ผ
ี ลต่อโครงสร ้างอวกาศ

วัตถุและทีว่ า่ ง สภาพซงึ่ มีมวลสารและสภาพว่างเปล่า เป็ นความคิดทีแ


่ ตกต่างกัน
ในระดับพืน ึ ษาเรือ
้ ฐาน นักศก ่ นั น
่ งอะตอมอย่างเดโมคริตัสและนิวตันยืนยันเชน ้ ในทฤษฎี
ั พันธภาพทั่วไปความคิดทัง้ สองประการนีไ
สม ้ ม่อาจแยกออกจากกันอีกต่อไป ทีใ่ ดปรากฏ
วัตถุทรงมวล ณ ทีน
่ ั่นย่อมมีสนามความโค ้งและสนามดังกล่าวแสดงตัวมันเองออกมาในรูป
้ อย่างไรก็ตามใชว่ า่ สนามนั น
ของการโค ้งตัวในอวกาศหรือทีว่ า่ งรอบ ๆวัตถุนัน ้ แผ่คลุมทั่วที่
ว่างและทําให ้มัน “โค้งต ัว” ทัง้ สนามและอวกาศทีโ่ ค ้งไม่อาจแยกจากกัน สนามก็คอ

อวกาศที่

ั พัทธภาพทั่วไปสนามความโน ้มถ่วงและโครงสร ้างหรือ


โค ้งตัว ในทฤษฎีสม
เรขาคณิตของอวกาศเป็ นสงิ่ เดียวกัน โดยทีม
่ ันถูกแทนด ้วยปริมาณทางเรขาคณิตศาสตร์อัน
เดียวกันในสนามของไอน์สไตน์ ดังนัน
้ ในทฤษฎีของไอน์สไตน์ สสารวัตถุไม่อาจแยกออก
จากสนามความโน ้มถ่วงของมัน และสนามความโน ้มถ่วงไม่อาจแยกออกจากสนามทีโ่ ค ้งตัว
ได ้ สสารวัตถุและอวกาศจึงเป็ นสว่ นทีไ่ ม่อาจแยกออกจากกันและต ้องอิงอาศย
ั กัน

13.1 สนามของสสาร

สสารวัตถุไม่เพียงแต่กําหนดโครงสร ้างของอวกาศรอบ ๆ ตัวมัน แต่ในทํานอง


เดียวกันมันถูกกําหนดโดยสภาพแวดล ้อมของมันด ้วย ตามแนวคิดของ (Ernst Mach) นั ก
ิ สแ
ฟิ สก ์ ละนักปรัชญา ความเฉื่อยของวัตถุ ซงึ่ ก็คอ
ื ความต ้านทานของวัตถุตอ
่ การถูกเร่ง
่ ณ
ความเร็ว มิใชค ุ สมบัตภ ิ าของมันต่อสงิ่ อืน
ิ ายในวัตถุเองหากแต่เป็ นการวัดปฏิกริ ย ่ ๆ ใน
จักรวาล ในทัศนะของแม็กวัตถุมค
ี วามเฉื่อยเนือ
่ งจากยังมีวต
ั ถุอน
ื่ ในจักรวาล เมือ
่ วัตถุหมุน
่ น
ไป แรงเฉื่อยของก่อให ้เกิดแรงหมุนเข ้าสูศ ู ย์กลาง แต่แรงนีจ
้ ะปรากฏก็ตอ
่ เมือ
่ วัตถุนัน
้ หมุน
ั ัทธ์ก ับดวงดาวซงึ่ อยูก
ไป “โดยสมพ ่ ับที”่ ตามสํานวนของแมก ถ ้าหากว่าดวงดาว
เหล่านัน ่ น
้ หายวับไปในฉั บพลัน แรงเฉื่อยและแรงสูศ ู ย์กลางของวัตถุซงึ่ กําลังหมุนอยูน
่ ัน

สลายไปด ้วย

่ งแรงเฉื่อยซงึ่ เป็ นทีย


ความคิดในเรือ ่ อมรับกันว่าเป็ นหลักการของแมกได ้มี
อิทธิพลอย่างลึกซงึ้ ต่ออัลเบิรต
์ ไอน์สไตน์ และเป็ นแรงกระตุ ้นดัง้ เดิมให ้เขาสร ้างทฤษฎี
ั พัทธภาพทั่วไปขึน
สม ้ แต่เนือ ั ซอนของคณิ
่ งจากความซบ ้ ตศาสตร์ปรากฏในทฤษฎีของ
ิ สย
ไอน์สไตน์ นักฟิ สก ์ ังไม่แน่ใจว่ามันได ้รวมเอาหลักการของแมกเข ้าไปด ้วยหรือไม่ อย่าไร
ิ สส
ก็ตาม นักฟิ สก ์ ว่ นใหญ่เชอ
ื่ ว่ามันควรจะรวมเอาเข ้าไว ้ด ้วยไม่ทางใดก็ทางหนึง่ เพือ
่ สร ้าง
เป็ นทฤษฎีของความโน ้มถ่วงทีส
่ มบูรณ์
ดังนัน ิ สส
้ วิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ ได ้แสดงให ้เราเห็นอีกครัง้ หนึง่ ในระดับมหภาคว่า
่ งิ่ ซงึ่ แยกอยูต
สสารวัตถุมใิ ชส ่ า่ งหาก แต่เป็ นสงิ่ ทีไ่ ม่อาจแยกออกจากสภาพแวดล ้อมของมัน
นั่นคือปฏิกริ ย ่ ักรวาล ไปยังดวงดาว และดาราจักร ดังนั น
ิ าดังกล่าวขยายออกไปสูจ ้ เราจะ
เข ้าใจคุณสมบัตข
ิ องมันได ้ ก็แต่ในปฏิกริ ย ั สว่ นอืน
ิ าของมันต่อสด ่ ๆ ของโลก ตามหลักการ
่ ต่เฉพาะในโลกของวัตถุขนาดเล็ก แต่ยังปรากฏในโลกของวัตถุขนาดมหึมา
ของแม็ก มิใชแ
ด ้วย เป็ นข ้อเท็จจริงซงึ่ เป็ นทีย
่ อมรับมากขึน ิ สเ์ กีย
้ ในฟิ สก ่ วกับดวงดาวและจักรวาลวิทยา เฟ
รด ฮอย์ล (Fred Hoyle) นักดาราศาสตร์ได ้กล่าวว่า

พัฒนาการในยุคปั จจุบันของจักรวาลวิทยาได ้มาถึงจุดทีเ่ สนออย่างค่อนข ้างจะ


ี ว่ นอืน
หนักแน่นว่า สภาพการณ์ตา่ ง ๆในประจําวันไม่อาจคงอยูไ่ ด ้หากไม่มส ่ ทีอ
่ ยูไ่ กลออกไป
่ วกับอวกาศและเรขาคณิตจะกลายเป็ นสงิ่ ทีใ่ ช ้
ในจักรวาล ความคิดทัง้ หมดของเราเกีย
ประโยชน์ไม่ได ้เลยหากปราศจากสว่ นอืน
่ ๆ ในจักรวาลทีห
่ า่ งออกไป ประสบการณ์ใน
ชวี ต
ิ ประจําวันของเรา กระทั่งในรายละเอียดต่าง ๆ ดูเสมือนจะถูกรวมเข ้าไปในจักรวาลอัน
ิ จนกระทั่งไม่อาจจะพิจารณาทัง้ สองสว่ นแยกออกจากกัน
มหึมาอย่างใกล ้ชด

ั พันธ์ระหว่างสสารวัตถุและสภาพแวดล ้อมของมัน
เอกภาพและความประสานสม
ซงึ่ แสดงออกในระดับมหภาคในทฤษฎีสม
ั พัทธภาพทั่วไป ปรากฏในระดับอนุภาคทีเ่ ล็กกว่า
ั เจนและน่าสนใจยิง่ กว่า ความคิดทฤษฎีสนามดัง้ เดิมได ้ถูกรวมเข ้ากับทฤษฎี
อะตอมอย่างชด
ควอนตัมเพือ
่ ทีจ
่ ะอธิบายปฏิกริ ย
ิ าระหว่างอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม การรวมกันของสอง
ทฤษฎีเพือ
่ ทีจ ิ าโน ้มถ่วงยังไม่ปรากฏผลสําเร็จ เนือ
่ ะอธิบายปฏิกริ ย ั ซอนทาง
่ งจากความซบ ้
สมการคณิตศาสตร์ ของทฤษฎีความโน ้มถ่วงของไอน์สไตน์ แต่ในแง่ของวิชาพลศาสตร์
ไฟฟ้ าได ้รวมเข ้ากับทฤษฎีควอนตัมเป็ นทฤษฎีใหม่ทเี่ รียกว่า “ควอนต ัมอิเล็ กโตร
ไดนามิกส”์ ซงึ่ สามารถอธิบายปฏิกริ ย
ิ าทางแม่เหล็กไฟฟ้ าทัง้ หมดระหว่างอนุภาคทีเ่ ล็ก
ั ัทธ์” ของฟิ สก
กว่าอะตอมได ้เป็ นอย่างดีนับเป็ นแบบแผน “ควอนต ัม-สมพ ิ สส
์ มัยใหม่ชน
ิ้
แรก และยังคงประสบผลสําเร็จเป็ นอย่างมากเรือ
่ ยมา

ลักษณะใหม่และเป็ นข ้อเด่นของควอนตัมอิเล็กโตรไดนามิกส ์ เกิดจากการรวม


ของสองแนวคิด คือแนวคิดเรือ ่ งโฟตอน ซงึ่ เป็ น
่ งสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า และความคิดเรือ
ปรากฏการณ์ในรูปของอนุภาคคลืน
่ แม่เหล็กไฟฟ้ า เนือ
่ งจากโฟตอนเป็ นคลืน
่ แม่เหล็กไฟฟ้ า
และคลืน ั่ สะเทือน ดังนั น
่ ชนิดนีเ้ ป็ นสนามสน ้ โฟตอนต ้องเป็ นเครือ
่ งแสดงความเป็ นลักษณะ
สนามแม่เหล็กไฟฟ้ าด ้วย นีค
่ อ ่ ง “สนามควอนต ัม” อันเป็ นสนามซงึ่ อาจปรากฏ
ื ความคิดเรือ
ในรูปของควอนตาหรืออนุภาค ความคิดแนวนีน ิ้ เชงิ ได ้
้ ั บเป็ นแนวคิดทีใ่ หม่จากเดิมอย่างสน
ขยายขอบเขตเข ้าไปอธิบายอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมทัง้ หมดและปฏิกริ ย
ิ าของมัน อนุภาค
่ มโยงกับสนามแต่ละชนิด ใน “ทฤษฎีควอนต ัม” นีค
แต่ละชนิดเขือ ้ วามแตกต่างระหว่าง
อนุภาคซงึ่ เป็ นวัตถุแข็งกับทีว่ า่ งรอบ ๆ ตัวของมันได ้ถูกทําลายลง สนามควอนตัมได ้
กลายเป็ นสงิ่ พืน ิ ส ์ เป็ นมัชฌิมซงึ่ ต่อเนือ
้ ฐานทางฟิ สก ่ งกันตลอดทั่วทัง้ อวกาศ อนุภาคเป็ น
เพียงสนามซงึ่ มีความหนาแน่นมาก มีพลังเข ้มข ้นขึน
้ ซงึ่ เป็ นเรือ
่ งชวั่ ครัง้ ชวั่ คราวดังนั น
้ มันจึง
ี ลักษณะเฉพาะตัว และได ้ละลายลงสูส
สูญเสย ่ นามซงึ่ เป็ นพืน
้ ฐานรองรับอยู่ อัลเบิรต

ไอน์สไตน์ กล่าวว่า

ด ังนนเราอาจกล่
ั้ าวได้วา ื อวกาศบางสว่ นซงึ่ สนามมีความ
่ สสารว ัตถุคอ
เข้มข้นสูงมาก …ไม่มท
ี วี่ า ํ หร ับทงสนามและสสารว
่ งสา ั้ ัตถุพร้อมก ันในฟิ สก ์ ย่าง
ิ สอ
ใหม่น ี้ เนือ ั้ เ่ ป็นสงิ่ จริงแท้
่ งจากสนามเท่านนที

13.2 สุญญตา

ความคิดทีว่ า่ สงิ่ ต่าง ๆ ปรากฏการณ์ทัง้ หลายเป็ นการปรากฏแสดงชวั่ ครัง้ ชวั่ คราว


ของสงิ่ พืน
้ ฐานซงึ่ รองรับอยูน ้ มิใชเ่ ป็ นเพียงพืน
่ ัน ้ ฐานทางของทฤษฎีสนามควอนตัมเท่านั น

แต่ยังเป็ นประเด็นพืน ่ เดียวกับไอน์สไตน์ นั กปราชญ์ของ
้ ฐานของโลกทัศตะวันออกด ้วย เชน
ตะวันออกได ้ถือเอาสงิ่ พืน
้ ฐานรองรับสงิ่ ทัง้ หลายว่าเป็ นความจริงเพียงประการเดียว
ปรากฏการณ์ซงึ่ ปรากฏออกมามันเป็ นเพียงสงิ่ ซงึ่ ดํารงชวั่ ครัง้ ชวั่ คราวและเป็ นสงิ่ ลวงตา
ั จะของศาสนาตะวันออกไม่อาจนํ ามาเปรียบเทียบสนามควอนตัมของนั กฟิ สก
สจ ิ ส ์ เนือ
่ งจาก
ั จะดังกล่าวเป็ นแก่นแท ้ของปรากฏการณ์ทัง้ หลายในโลกนี้ ดังนั น
สจ ้ จึงเป็ นสงิ่ ทีพ ั
่ ้นวิสย
ทัศนะและความคิดเห็นทัง้ มวล ในทางตรงกันข ้าม สนามควอนตัมเป็ นความคิดทีช ั เจนซงึ่
่ ด
้ ้กับปรากฏการณ์ทางฟิ สก
ใชได ิ สบ
์ างประการ อย่างไรก็ตาม ญาณทัศนะซงึ่ อยูเ่ บือ
้ งหลังการ
อธิบายโลกของอนุภาคซงึ่ เล็กกว่าอะตอมของนั กฟิ สก
ิ ส ์ คล ้ายคลึงกับญาณทัศนะของ
นักปราชญ์ตะวันออกซงึ่ อธิบายประสบการณ์การหยั่งรู ้โลก โดยกล่าวถึงสจ
ั จะสูงสุดอันเป็ น
้ ฐานรองรับสรรพสงิ่ สบ
พืน ื เนือ
่ งจากการเกิดขึน
้ ของความคิดเรือ ิ สไ์ ด ้
่ งสนาม นั กฟิ สก
พยายามทีจ ้ ฐานเดียวซงึ่ อาจทีจ
่ ะรวมเอาสนามต่าง ๆ เข ้าไว ้ในพืน ้
่ ะใชในการอธิ
บายปรากฏ
ิ สท
การณ์ทางฟิ สก ์ ก ้
ุ อย่าง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ไอน์สไตน์ได ้ใชเวลาช ว่ งสุดท ้ายของชวี ต
ิ ใน
ิ ดู ธรรมกาย ของพุทธ และ
การค ้นหาสนามชนิดดังกล่าว อาจจะถือได ้ว่า พรหมัน ของฮน
เต๋า ของผู ้นับถึอเต๋า เป็ นสนามแห่งเอกภาพอันสูงสุด ซงึ่ ก่อกําเนิดแก่ทก
ุ ปรากฏการณ์ ไม่
เพียงแต่ปรากฏการณ์ทศ ึ ษากันในวิชาฟิ สก
ี่ ก ิ สเ์ ท่านั น

ั จะซงึ่ รองรับปรากฏการณ์ทัง้ มวลนั น


ในทัศนะของตะวันออก สจ ้ อยูพ ั ของ
่ ้นวิสย
รูปแบบ คําอธิบาย และการบ่งเฉพาะเจาะจงทุกชนิด ดังนัน
้ จึงมักกล่าวว่า มันไร ้รูป ว่างเปล่า
ทว่าความว่างเปล่านีม ่ วามไม่มอ
้ ใิ ชค ี ะไร ตรงกันข ้ามมันเป็ นแก่นแท ้ของรูปทัง้ มวลและเป็ น
แหล่งกําเนิดของสรรพชวี ต
ิ ดังทีค
่ ัมภีรอ
์ ป
ุ นิษัทกล่าวไว ้ว่า

พรหมันคือชวี ต
ิ พรหมันคือความร่าเริง พรหมันคือความว่าง…

ความร่าเริงคือสงิ่ เดียวกับความว่างอย่างแท ้จริง

ความว่างคือสงิ่ เดียวกับความร่าเริงอย่างแท ้จริง


ชาวพุทธก็ได ้เสนอทัศนะเดียวกันเมือ ั ธรรมสูงสุดว่า สุญตา “ความ
่ กล่าวเรียกสจ
ว่าง” และแสดงให ้เห็นว่ามันเป็ นความว่างซงึ่ เป็ นแหล่งกําเนิดของรูปทุกรูปในโลกแห่ง
่ เดียวกัน และเรียกมัน
ปรากฏการณ์นี้ ผู ้นับถือเต๋า ถือว่าเต๋าทรงสภาพเป็ นอนั นต์นริ ันดร์เชน
้ (Kua-tzu) กล่าวว่า “เต๋าแห่งสวรรค์ไร้รป
ว่า ความว่าง กวนจือ ู และว่างเปล่า” และเหล่า
จือ
้ ก็ได ้แสดงอุปมาหลายประการเกีย
่ วกับความว่างนี้ เหล่าจือ
้ มักจะเปรียบหุบเขาทีก
่ ว ้าง
ไพศาลนี้ หรือภาชนะซงึ่ ว่างเปล่าอยูเ่ สมอ และดังนั น ่ ะบรรจุสงิ่ ต่าง ๆ นั บด ้วย
้ สามารถทีจ
อนันต์

นักปราชญ์ตะวันออกได ้อธิบายความหมายของ พรหมัน สุญญตา หรือ เต๋า ว่า


มิได ้หมายถึงความว่างเปล่าอย่างสามัญ แต่ตรงข ้ามกัน มันเป็ นความว่างเปล่าซงึ่ ทรง
ศักยภาพเป็ นเอนกอนันต์ ดังนัน
้ ความว่างในศาสนาตะวันออกจึงอาจนํ ามาเปรียบเทียบกับ
ิ สท
สนามควอนตัมในฟิ สก ์ วี่ า่ ดัวยอะตอม จากความว่างได ้ก่อกําเนิดแก่รป
ู ลักษณ์ทัง้ หลาย
ทําให ้มันคงอยูแ
่ ละในทีส
่ ด
ุ ก็ได ้ดูดกลืนมันกลับไป ในคัมภีรอ
์ ป
ุ นิษัทกล่าวไว ้ว่า

สงบ จงบูชามัน

จากสงิ่ นัน
้ ทีเ่ ขามา

่ งิ่ นัน
สูส ้ ทีเ่ ขาจักต ้องมลายไป

ด ้วยสงิ่ นัน
้ ทีเ่ ขาหายใจ

่ เดียวกับอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอม ปรากฏการณ์ตา่ งๆ ทีป


เชน ่ รากฏขึน
้ จากความ
่ งิ่ ซงึ่ อยูน
ว่างในทางศาสนามิใชส ่ งิ่ และถาวร แต่มล
ี ก
ั ษณะทีเ่ คลือ
่ นไหวเปลีย
่ นแปลงและไม่
คงตัว เกิดขึน
้ และดับไปในการเริงรําอันเป็ นนิรันดร์ของการเคลือ
่ นไหวและพลังงาน
่ เดียวกับโลกของอนุภาคทีเ่ ล็กกว่าอะตอมของนักฟิ สก
เชน ิ ส ์ โลกแห่งปรากฏการณ์ของ
ศาสนาตะวันออกเป็ นโลกแห่ง สงั สารวัฏ แห่งการเกิดและตายเนือ
่ งจากมีสภาพเป็ นเพียง
การปรากฏแสดงชวั่ ครัง้ ชวั่ คราวของความว่าง สงิ่ ต่างๆ ในพิภพนีจ
้ งึ ไม่มเี อกลักษณ์พน
ื้ ฐาน
ั ในพระพุทธศาสนาซงึ่ ปฏิเสธการดํารงอยูอ
ใด ๆ ความคิดนีเ้ ด่นชด ่ ย่างแท ้จริงของสสารวัตถุ
่ งแท ้และเป็ นผู ้รับรู ้ประสบการณ์ตา่ งๆ ของชวี ต
ทัง้ หลาย และสอนว่า “ต ัวตน” ทีเ่ ทีย ิ นั น
้ เป็ น
เพียงภาพลวง ชาวพุทธมักจะเปรียบเทียบภาพลวงตาของสสารวัตถุและตัวปั จเจกบุคคลกับ
่ นํ้ า ซงึ่ การเคลือ
ปรากฏการณ์ของคลืน ่ นทีข
่ น ื่
ึ้ -ลงของอนุภาคของนํ้ าทําให ้เราเชอ
ว่า “สว่ น” ของนํ้ าเคลือ
่ นทีไ่ ปตามพืน ิ สก
้ ผิว น่าสนใจทีว่ า่ นักฟิ สก ์ ็ได ้ใชอุ้ ปมาเดียวกันใน
เรือ ่ ชใี้ ห ้เห็นภาพลวงของสสารวัตถุทก
่ งของทฤษฎีสนาม เพือ ี่ ําเนิดจากอนุภาคกําลัง
เคลือ
่ นไหวดังทีเ่ ฮอร์แมนน์ วีลย์ (Hermann Weyl) กล่าวไว ้ว่า

่ อิเล็กตรอนเป็ นเพียงขอบเล็กๆ ของ


ตามทฤษฎีสนามของสสารวัตถุ อนุภาคเชน
สนามไฟฟ้ า ซงึ่ ความเข ้มข ้นของสนามในบริเวณนั น
้ มีมาก นั่ นแสดงว่าพลังงานของสนามใน
่ เทียบกับสว่ นอืน
ปริมาณสูงมากเมือ ่ ๆ ได ้มารวมตัวกันในบริเวณทีเ่ ล็กมากๆ ปมพลังงาน
ดังกล่าวซงึ่ เป็ นภาพทีต
่ า่ งจากสนามสว่ นอืน
่ ๆ ได ้แผ่กระจายผ่านอวกาศทีว่ า่ งเปล่า
่ เดียวกับคลืน
เชน ่ นํ้ ากระเพือ ี งิ่ ๆ เดียวซงึ่ ยืนพืน
่ มไปบนผิวของสระ ไม่มส ้ เป็ นองค์ประกอบ
ของอิเล็กตรอนตลอดเวลา

13.3 ฉี้

ในปรัชญาจีน ความคิดเรือ ่ ต่ปรากฏโดยนั ยในความคิดเรือ


่ งสนามมิใชแ ่ งเต๋า ซงึ่
เป็ นความว่างซงึ่ ไร ้รูป แต่เป็ นแหล่งกําเนิดของรูปลักษณ์ตา่ ง ๆ ทัง้ ยังได ้แสดงออกอย่าง
ั เจนในความคิดเรือ
ชด ่ ง ฉี้ (Ch’i) คําคํานี้ มีบทบาทสําคัญในทุกสํานั กปรัชญาธรรมชาติของ
จีน และมีความสําคัญอย่างยิง่ ในลัทธิขงจือ
้ แนวใหม่ (Neo-Confucianism) ซงึ่ พยายาม
สงั เคราะห์ลัทธิขงจือ
้ พุทธศาสนา และลัทธิเต๋าเข ้าด ้วยกัน คําว่า ฉี้ ตามตัวอักษร
แปลว่า “ก๊าซ” หรือ “อีเทอร์” ในสมัยโบราณใชคํ้ านีเ้ พือ
่ แทนลมหายใจหรือพลังงานแห่ง
้ ” เป็ นรากฐานของการแพทย์จน
เอกภาพ ในร่างกายมนุษย์ “หนทางของขงจือ ี โบราณ การ
ฝั งเข็มก็มงุ่ หมายเพือ
่ ให ้กระตุ ้นให ้ฉี้สามารถไหลผ่านบริเวณดังกล่าว การเลือ
่ นไหลของฉี้
เป็ นรากฐานแห่งการเคลือ
่ นไหวอย่างเลือ
่ นไหลต่อเนือ
่ ง ของมวยไท ้จินฉวน ลัทธิขงจือ
้ แนว
่ งฉี้ ซงึ่ คล ้ายคลึงกันอย่างน่าสนใจ กับความคิดเรือ
ใหม่ได ้พัฒนาความคิดเรือ ่ งควอนตัม ใน
ิ สส
วิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ เชน
่ เดียวกับวิชาฟิ สก
ิ สส
์ มัยใหม่ ฉี้เป็ นรูปของสสารซงึ่ บางเบาและไม่
อาจเห็นได ้ ทว่าปรากฏทั่วไปในอวกาศ

่ ฉี้รวบรวมกันเข ้า มันก็เป็ นสงิ่ ทีแ


เมือ ั เจนเป็ นรูปร่าง (ของแต่ละสงิ่ ) แต่
่ ลเห็นได ้ชด
เมือ
่ มันกระจัดกระจายออกไป ก็ไม่อาจแลเห็นมันได ้และรูปร่างของมันก็ไม่อาจปรากฏ เมือ

่ นอกจากว่า มันเป็ นสงิ่ ซงึ่ ปรากฏชวั่ ครัง้ ชวั่ คราว
มันรวบรวมกันเข ้า เราจะกล่าวเป็ นอย่างอืน
ได ้หรือ แต่ในขณะซงึ่ มันกระจัดกระจายกันออกไปเราจะรีบกล่าวในทันทีได ้หรือ ว่ามันไม่ม ี
อยู่

ดังนัน
้ จึงรวบรวมเข ้าและกระจัดกระจายออกสลับกันไป ก่อกําเนิดแก่รป
ู ทัง้ มวล
ซงึ่ ในทีส
่ ด ่ วามว่าง จังไซกล่าวว่า
ุ ก็มลายไปสูค

ความว่างอันมหึมานัน
้ ย่อมประกอบด ้วยฉี้ ฉี้ยอ
่ มรวบรวมหนาแน่นเข ้าก่อตัวเป็ น
สรรพสงิ่ และสรรพสงิ่ ย่อมกระจัดกระจายออกเพือ ่ วามว่างอันมหึมา (อีกครัง้ )
่ กลับสูค

่ เดียวทฤษฎีสนามควอนตัม สนามหรือฉี้มใิ ชเ่ ป็ นเพียงแก่นแท ้ซงึ่ รองรับสรรพ


เชน
สงิ่ เท่านัน ิ าของสงิ่ ต่างๆ ในรูปของคลืน
้ แต่ยังเป็ นพาหะแห่งปฏิกริ ย ่ คําอธิบายต่อไปนี้
เกีย
่ วกับความคิดเรือ ิ สส
่ งสนามของฟิ สก ์ มัยใหม่โดยวอลเตอร์ เฮอร์รงิ และทัศนะของจีนต่อ
โลกของกายภาพโดยโจเซฟ นีคแฮม ได ้แสดงให ้เห็นความคล ้ายคลึงกันอย่างมาก

ิ สส
ทฤษฎีของวิชาฟิ สก ์ มัยใหม่ ได ้นํ าความคิดของเราเกีย
่ วกับแก่นแท ้ของสสาร
่ อบเขตทีต
วัตถุไปสูข ่ า่ งไปจากเดิม มันได ้นํ าเราจากสงิ่ ทีเ่ ห็นได ้คือ อนุภาค ไปสูส
่ งิ่ ทีร่ องรับ
มันอยูค
่ อ
ื สนาม การปรากฏของวัตถุเป็ นเพียงการรบกวนต่อสภาพทีส
่ มบูรณ์ของสนาม ณ ที่
้ เป็ นสงิ่ ทีเ่ กิดโดยไม่คาดฝั น เราอาจจะกล่าวได ้ว่าเป็ นเพียง “มลทิน” อันหนึง่ ของ
แห่งนัน
สนาม และไม่มก
ี ฎเกณฑ์งา่ ย ๆ ทีอ
่ ธิบายแรงกระทําระหว่างอนุภาคพืน
้ ฐาน…ระเบียบและ
สมมาตรพึงหาได ้จากสนามซงึ่ รับมันอยู่

จักรวาลทางกายภาพของชาวจีนในสมัยโบราณ และสมัยกลาง เป็ นสภาพหนึง่


เดียว ซงึ่ มีความต่อเนือ
่ งอย่างสมบูรณ์ การทีฉ
่ ี้หนาแน่นเข ้า ปรากฏเป็ นสสาร วัตถุ
ประกอบด ้วยอะตอมซงึ่ ไม่อาจแลเห็นได ้ มิใชส
่ งิ่ สําคัญพิเศษแต่อย่างใด แต่วต ิ้
ั ถุแต่ละชน
กระทํา และถูกกระทํากับวัตถุอน
ื่ ในโลก…ในลักษณะคล ้ายคลืน ั่ สะเทือน ขึน
่ หรือการสน ้ อยู่
กับจังหวะการเปลีย
่ นแปลง สลับไปมาในทุกระดับ ของแรงพืน
้ ฐานสองประการหยินและหยัง
ิ้ จึงมีจังหวะภายในตัวของมัน และจังหวะเหล่านีไ
วัตถุแต่ละชน ้ ด ้ถูกรวมกันเข ้า…เป็ นแบบ
แผนทั่วไปแห่งการบรรหารสอดคล ้องของโลกพิภพ

You might also like