You are on page 1of 22

1

ศิลปวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย

ศิลปะและวัฒนธรรมไทย ได้รับอิทธิพลจาก พระพุทธศาสนาและราชสานัก เป็นหลัก

สมัยสุโขทัย
สถาปัตยกรรม - เจดีย์ทรงลังกา หรือทรงระฆังคว่า
- เจดีทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ หรือทรงดอกบัวตูม (เป็นเอกลักษณ์ของสุโชทัย)
ประติมากรรม - พระพุทธรูปถือว่างดงามที่สุด โดยเฉพาะปางลีลา (เอกลักษณ์เฉพาะของ
สุโขทัย)
- มีการสร้างพระพุทธรูปสาคัญหลายองค์ เช่น พระพุทธชินราช พระพุทธ
ชินสีห์
- การทาถ้วยชามสังคโลก (ได้รับอิทธิพลจากจีน)

วรรณกรรม - การประดิษฐ์อักษรไทย ศิลาจารึก


- ไตรภูมิพระร่วง (วรรณกรรมทางพุทธศาสนาเล่มแรก เกี่ยวกับเรื่อง
บุญกรรม บาปบุญคุณโทษ นรกสวรรค์ นิพนธ์โดย พญาลิไท)
จิตรกรรม - ภาพวาดจิตรกรรมฝาผนัง (เน้นพุทธประวัติ)

สมัยอยุธยา
สถาปัตยกรรม - นิยมสร้างพระปรางค์ (ได้รับอิมธิพลขากขอม) เช่น วัดไชยวัฒนาราม
- เจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง (เอกลักษณ์ของอยุธยา)
- การสร้างเรือนไทยสาหรับสามัญชน 2 ลักษณะ คือ
1) เรือนไทยเครื่องสับ : ปลูกด้วยไม่ชั้นดีสาหรับชนชั้นไฮโซ
2) เรือนเครื่องผูก : ปลูกด้วยไม้ไผ่ ผูกมัดด้วยเส้นหวายและตอก
ชาวบ้านส่วนใหญ่ใช่อาศัย
ประติมากรรม - พระพุทธรูปอู่ทอง (ศิลปะทวาราวดี + ลพบุร)ี
- พระพุทธรูปทรงเครื่องแบบกษัตริย์
วรรณกรรม - ลิลิตโองการแช่งน้า ถือเป็นวรรณกรรมเล่มแรกของอยุธยา
- ยุ ค รุ่ ง เรื อ งของวรรณกรรมมี 2 สมั ย คื อ สมั ย พระนารายณ์ และ
พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
2

- วรรณกรรมที่สาคัญ ได้แก่ มหาชาติคาหลวง ลิลิตยวนพ่าย (แต่งเฉลิม


พระเกียรติพระบรมไตรโลกนาถ) ลิลิตพระลอ (เพื่อความบันเทิงและ
ความงามภาษา) โคลงกาสรวล โครงทวาทศมาส (งานนิราศ) กาพย์เห่
เรือ (พระราชนิพนธ์ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร หรือ เจ้าฟ้ากุ้ง) จินดามณี
(แบบเรี ย นเล่ ม แรก แต่ ง โดยพระโหราธิ บ ดี ) พระมาลั ย ค าฉั น ท์
(เรื่องนรกสวรรค์) สมุทรโฆษคาฉันท์ (สุดยอดแห่งฉันท์)
จิตรกรรม - ภาพวาดจิตรกรรมฝาผนัง (เน้นพุทธประวัติ และชาดก)
นาฏศิลป์ - ละครใน ละครนอก โขน (ใช้บทละครเรื่องรามเกียรติ์ในการแสดง)
หนังใหญ่

สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สถาปัตยกรรม - นิยมสร้างเลียนแบบอยุธ ยา เช่ น พระบรมหาราชวัง วัดพระศรี รัตน
ศาสดาราม (สร้างเลียนแบบวัดพระศรีสรรเพชญ์ อยุธยา)
- การสร้างพระปรางค์ เช่ น พระปรางค์ วัด อรุณราชวราราม (วัด ประจา
ร.2)
- เกิดศิลปะแบบพระราชนิยมในสมัย ร.3 (ไทย + จีน) เช่น วัดราช
โอรสาราม
ประติมากรรม - สร้างพระพุทธรูปเรียนแบบอยุธยา
- เริ่มมีการนาตุ๊กตาหินจากจีนเข้ามา
วรรณกรรม - ฟื้นฟูวรรณกรรมสมัยอยุธยา เช่น รามเกียรติ์ สามก๊ก ราชาธิราช ไซฮั่น
- ยุคทองของวรรณกรรม คือ สมัยรัชกาลที่ 2 วรรณกรรมที่สาคัญ ได้แก่
อิเหนา ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี ลิลิตตะเลงพ่าย โครงโลกนิติ
จิตรกรรม - จิตรกรรมฝาผนัง ไตรภูมิพระร่วง พุทธประวัติ ชาดก รามเกียรติ์

สมัยรัชกาลที่ 4 –พ.ศ.2475
เริ่มได้รับอิทธิพลจากตะวันตกมากขึ้น และนามาผสมผสานกับศิลปะไทย
สถาปัตยกรรม - แบบผสมไทย + ฝรั่ง ได้แก่พระที่นั่งจักรกรีมหาปราสาท อุโบสถวัด
ราชบพิตร
- แบบตะวันตก ได้แก่ พระราชวังสราญรมย์ พระราชวั งบางปะอิน หมู่
พระที่นั่งดุสิต วัดนิเวศธรรมประวัติ วังไกลกังวล พระที่นั่งอนันตสมาคม
- แบบไทย ได้แก่ พระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท พระที่นั่งอาภรณ์พิโมก
ปราสาท วัดเบญจมบพิตร (สร้างจากหินอ่อน)
3

ประติมากรรม - เน้นการสร้างรูปเหมือนจริงแบบตะวันตก เช่น พระบรมรูปรัชกาลที่ 4


พระบรมรูปทรงม้า
วรรณกรรม - เริ่มมีการซื้อขายลิขสิทธิ์ วรรณกรรมเรื่องเรื่องที่มีการซื้อขาย คือ นิราศ
ลอนดอน
- วรรณกรรมประเภทร้อยแก้ว ได้แก่ พระราชพิธี 12 เดือน ไกลบ้าน
- งานวรรณกรรมแปล เช่น นิทราชาคริต ความพยาบาท
- ยุคทองของวรรณกรรม คือ สมัยรัชกาลที่ 6 ตั้งวรรณกรรมสโมสร
+ งานแปล เช่น เวนิสวานิส โรมิโอจูเลียต
+ บทละครร้อง เช่น หัวใจนักรบ สกุนตลา สาวิตรี มัธนะพาธา
+ บทความ เช่น ยิวแห่งบูรพาทิศ เมืองไทยจงตื่นเถิด
ปลุกใจเสือป่า
- การขยายตัวของสื่อมวลชน โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ รวมทั้งงานวิจารณ์
การเมืองของสามัญชน เช่น ศิริพจนภาค ตุลวิภาคพจนกิจ ของเทียน
วรรณ
จิตรกรรม - เริ่มวาดภาพ 3 มิติ เน้นความสมจริง จิตรกรคนสาคัญ คือ ขรัวอินโข่ง
ภาพฝีพระหัตถ์ของเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
นาฏศิลป์ - เริ่มได้รับอิทธิพลจากตะวันตก เช่น ละคนดึกดาบรรพ์ (ได้รับอิทธิพล
มาจากละครโอเปร่า) ละครพันทาง ละครร้อง ละครพูด ลิเก

หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็นต้นมา
สถาปัตยกรรม - เริ่มการผสมผสานความคิดแบบตะวันตกมากยิ่งขึ้น
ประติมากรรม - ได้รับอิทธิพลจากชาติตะวันตกมากยิ่งขึ้น
- ปั้ น พระพุ ท ธรู ป ที่ มี ลั ก ษณะเหมื อ นมนุ ษ ย์ จ ริ ง มี ส รี ร ะ กล้ า มเนื้ อ
ที่ชัดเจน เช่น พระศรีศักยทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์ ที่
พุทธมณฑล จ.นครปฐม
- ก่อสร้างอนุสาวรีย์บุคคลสาคัญของชาติ เช่น พระปฐมบรมราชานุสรณ์
รัชกาลที่ 1 พระบรมรูปรัชกาลที่ 6 ที่สวนลุมพินี โดยผู้ปั้นที่มีชื่อเสียง
คือ ศิลป์ พีระศรี (ชาวอิตาลี)
- สร้างอนุสรณ์สถาน เช่น อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
วรรณกรรม - งานประเภทเรื่องสั้น นวนิยาย นิยายเชิงจินตนิยม
- ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เน้นที่งานปลุกใจ ชาตินิยม
- เริ่มมีงานเสียดสีสังคม ล้อการเมือง
- ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เน้นสะท้อนความจริงของชีวิตและสังคม
4

จิตรกรรม - เริ่มเป็นศิลปะสมัยใหม่ และศิลปะร่วมสมัย


นาฏศิลป์ - มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น

บทบาทของสตรีในประวัตศิ าสตร์ไทย

- สมัยโบราณสตรีมีบทบาทหน้าที่หลัก คือ ดูแลกิจการภายในครัวเรือน การบ้านการเรือน การเย็บปักถักร้อย และ


งานประดิษฐ์ต่างๆ
- ในประวัติศาสตร์ไทย สรีไทยยังมี หน้าที่และบทบาทที่โดดเด่นอื่นๆ เช่น บทบาทด้านการเมืองการปกครอง
ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษาและอื่นๆ
สตรีสาคัญในประวัติศาสตร์ไทย
พระมหาเทวีจิรปภา - เป็นกษัตริย์ปกครองล้านนา ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระไชยเชษฐา
ธิราชของอยุธ ยา ทรงถวายบรรณาการแด่ อยุธยาเพื่อหลีกเลี่ยงการทา
สงคราม
สมเด็จพระสุริโยทัย - มเหสีพระมหาจักรพรรดิ แห่งอยุธยา
- ปลอมเป็นชายช่วยพระสวามีทาสงครามระหว่าอยุธยากับหงสาวดี
โดนพระเจ้าแปรฟันสิ้นพระชนม์บนคอช้าง
เจ้าศรีอโนชา - เจ้านายฝ่ายเหนือ ต่อมาเป็นพระชายาในกรมพระราชวังบวรสถานมงคล
- มีบทบาทช่วยเหลือพระสวามีครั้งยังเป็นเจ้าพระยาสุรสีห์ปกป้องกรุธนบุรี
จากกบฎพระยาสรรค์
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ - พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 5
พระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี - ได้รับการสถาปนาเป็นผู้สาเร็จราชการแผ่นดินแทนพระองค์ หรือเรียกว่า
“สมเด็จรีเยนต์”
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี - เป็นพระราชเทวีในรัชกาลที่ 5 และเป็นพระอัยยิกา (ย่า) ในรัชกาลที่
พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า 8 และ 9
พระราชชายาเจ้าดารารัศมี - พระธิดาของเจ้าหลวงเชียงใหม่ พระเจ้าอินทรวิชยานนท์ ต่อมาถวายตัว
เป็นพระราชชายาในรัชกาลที่ 5
- ทรงผูกความสัมพันธ์ระหว่างกรุงเทพและหัวเมืองล้านนาให้แน่นแฟ้น
ท้าวเทพกระษัตรี และท้าวศรีสุนทร - มีบทบาทในสงคราม 9 ทัพ เมื่อพม่ายกลงมาตีเมืองถลาง ตอนนั้น
เจ้ า เมื อ งถึ ง แก่ ก รรม คุ ณ หญิ ง จั น ภรรยาของเจ้ า เมื อ ง และนางมุ ก
ร่วมต่อสู้ต้านทัพพม่า จนถอยทัพกลับไป
ท้าวสุรนารี (คุณหญิงโม) - ภรรยาพระปลัดเมืองนครราชสีมา
มีบทบาทในเหตุการณ์กบฏเจ้าอนุวงศ์ (สมัยรัชกาลที่ 3)
5

แหม่มแอนนา เลียวโนเวนส์ - สตรีต่างชาติที่เข้ามาสอนหนังสือให้กับเจ้านายในวังในสมัยรัชกาลที่ 4


- ได้บนั ทึกเรือ่ งราวสยามไว้ 2 เล่ม คือ
1) The Romance of the Harem
2) The English Governess at the Siamese Court
- ต่อมาได้ดัดแปลงผลงานเรื่องราวที่บันทึกเป็นละครเวทีและภาพยนตร์
เรื่อง Anna and the King
แหม่มเฮาส์ - ผู้ก่อตั้งโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง โรงเรียนสตรีแห่งแรก
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร - นายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศไทย

บุคคลสาคัญในประวัตศิ าสตร์ไทย
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า - ทรงเป็ น สมเด็ จ พระสั ง ฆราชเจ้ า มี บ ทบาทในด้ า นจั ด การการศึ ก ษา
กรมพระยาวชิรญาณวโรรส การศาสนา การปกครองคณะสงฆ์ ในสมัยปฏิรูปประเทศ (สมัย ร.5)
- ทรงนิพนธ์งานต่างๆ ทั้งด้านประวัติศาสตร์ พระศาสนา เช่น พงศาวดาร
สยาม ตานานประเทศไทย นวโกวาท เป็นต้น
สมเด็จฯ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ - ได้รับยกย่องว่าเป็น “พระบิดาแห่งการต่างประเทศของไทย”
พระบรมวงศ์เธอกรมหลวงวงษาธิราชสนิท - ทรงเป็นนักปราชญ์ โดยเฉพาะด้ านการแพทย์ และการต่างประเทศ
อีกทั้งความสามารถด้านงานพระนิพนธ์ด้านภาษา
ยู เ นสโกประกาศยกย่ อ งให้ เ ป็ น บุ ค คลส าคั ญ ของโลกในปี 2551
- สาขาปราชญ์และกวี
สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ - มีบทบาทอย่างมากต่อกระทรวงมหาดไทย การปกครองส่วนภู มิภาค และ
วิชาประวัติศาสตร์ไทย
- เป็นคนไทยคนแรกที่ยูเนสโก ประกาศยกย่องให้เป็นบุคคลสาคัญของโลก
สมเด็จเจ้าฟ้าฯ - ผลงานโดดเด่นด้านสถาปัตยกรรม และศิลปกรรม
กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ - ได้รับสมัญญานามว่า “นายช่างใหญ่แห่งกรุสยาม”
ออกญาโกษาธิบดี (ปาน) - ราชทู ต อยุ ธ ยาที่ ไ ปเจริ ญ สั ม พั น ธไมตรี กั บ ฝรั่ ง เศส ในสมั ย สมเด็ จ
พระนารายณ์
หม่อมราโชทัย - ทาหน้าที่ล่ามหลวงประจาคณะทูตที่ไปเจริญสัมพันธไมตรีกับอังกฤษใน
สมั ย ร.4 (หั ว หน้ า คณะทู ต ในตอนนั้ น คื อ พระยามนตรี สุ ริ ย วงศ์
(ชุ่ม บุนนาค)
- มีผลงานด้านวรรณคดี คือ นิราศลอนดอน
- เป็นผู้พิพากษาศาลต่างประเทศคนแรก
6

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวศ์ - ผู้สาเร็จราชการแผ่นดินในสมัย ร.5


(ช่วง บุนนาค) - เป็นชนชั้นนาของสยามที่มีแนวคิดก้าวหน้า สนใจวิทยาการตะวันตก
ลาลูแบร์ - หัวหน้าคณะทูตฝรั่งเศส เดินทางมายังอยุธยาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์
- ได้บันทึกเรื่องราวต่างๆ ของอยุธยา เป็น จดหมายเหตุลาลูแบร์
บาทหลวงปาเลอกัวซ์ - เป็นบาทหลวงนิกายคาทอลิก เผยแผ่ศาสนาคริสต์
- ผลงานส าคั ญ คื อ เล่ า เรื่ อ งกรุ ง สยาม และ ปทานุ ก รม “ศิ ร พจน์
ภาษาไทย”
ขรัวอินโข่ง - เป็นพระสงฆ์ที่โดดเด่นเรือง จิตรกรรม วาดภาพแบบสามมิติ
หมอบรัดเลย์ - นาการแพทย์สมัยใหม่เข้ามาในสังคม เช่น การปลูกฝี การฉีดวัคซีน
การผ่าตัด
- บุกเบิกด้านการพิมพ์ในสยาม งานพิมพ์แรกที่ใช้แท่นพิมพ์ฝรั่ง คื อ
“ประกาศห้ามสูบฝิ่นในสมัย ร.3” ทาหนังสือพิมพ์บางกอกรีคอร์เดอร์
พระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี - นักพัฒนาแห่งหัวเมืองปักษ์ใต้
(คอมซิมบี้ ณ ระนอง) - ริเริ่ม การปลูกสวนยางพารา การสร้างเส้ นทางคมนาคมในหัวเมื องใต้
กิจการเหมืองแร่
ดร. ฟรานซีส บี แซร์ - ชาวอเมริ ก า เป็ น ที่ ป รึ ก ษาด้ า นการต่ า งประเทศในสมั ย ร.6 ได้ รั บ
บรรดาศักดิ์เป็น “พระยากัลป์ยาณไมตรี ” (คนที่สองในประวัติศาสตร์
ไทย)
- ช่วยสยามเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรม ในประเด็นเรื่องคนใน
บังคับต่างชาติ และการเก็บสินค้าขาเข้า
- ในสมัย ร.7 ได้ร่างรัฐธรรมนูญ
ศ.ศิลป์ พีระศรี - ชาวอิ ตาลี มี ค วามสามารถด้ านศิล ปกรรม ประติ ม ากรรม จิ ตรกรรม
(คอร์ราโด เฟราจี) - วางรากฐานและสร้างความเจริญก้าวหน้าในวงการศึกษาศิลปะของไทย
- ผลงานที่สาคัญ คือ อนุสาวรีย์ต่างๆ เช่น พระพุทธรูปองค์ประธานพุทธ
มณฑล พระปฐมบรมราชานุสรณ์ อนุส ารวรีย์ประชาธิปไตย อนุสาวรีย์
ชัยสมรภูมิ
7

ประวัตศิ าสตร์ตะวันตก

เชี่อกันว่า มนุษย์ยุคแรกเกิดขึ้นที่ทวีปแอฟริกา หลักฐานสาคัญ คือ การค้ นพบโครงกระดูกที่มีอายุ 3.2 – 5


ล้านปีล่วงมาแล้ว โครงกระดูกที่เก่าแก่ที่สุดพบใน ประเทศแทนซาเนีย เคนยา และเอธิโอเปีย ในแอฟริกา

ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ตัวอักษรคูนิฟอร์ม ยุคประวัติศาสตร์

ยุคหิน ยุคโลหะ สมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยใหม่ สมัยปัจจุบัน


- หินเก่า - สาริด
- หินใหม่ - เหล็ก

สรุป...ก่อนเรียน

1. ประวัติศาสตร์ของตะวันตก (สากล) แบ่งออกเป็น 2 ยุค (สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์)


1.1 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (ยังไม่มีตัวอักษรใช้ : ใช้เกณฑ์ทางวัตถุเป็นตัวแบ่ง แบ่งเป็น ยุคหิน กับยุคโลหะ)
1) ยุคหิน แบ่งเป็น
1.1) ยุคหินเก่า
1.2) ยุคหินใหม่
2) ยุคโลหะ
2.1) ยุสาริด
2.2) ยุเหล็ก
1.2 สมัยประวัติศาสตร์ แบ่งเป็น 4 ยุค (จับประเด็นสาคัญ “มีอะไรสาคัญ เริ่มตรงไหน จบตรงไหน”)
1) สมัยโบราณ
- เป็นยุคของอาณาจักร เมโสโปเตเมีย อียิปต์ กรีก และโรมัน (สรุปให้ได้ว่าอารยธรรม
ตัวแม่เหล่านี้ทิ้งมรดกอะไรไว้ให้โลก)
- สิ้นสุดเมื่อ...อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลาย เพราะโดนชนเผ่ากอธโจมตี แต่โรมัน
ตะวันออก (ไบแซนไทน์) ยังคงอยู่
8

2) สมัยกลาง
- หรือที่เรียกกันว่า “ยุคมืด”
- “คริสตจักร พระสันตะปาปา ระบบฟิวดัล” มีอิทธิพลอย่างมากต่อสังคมยุโรป
สมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ (Renaissance)
- เป็นยุครอยต่อระหว่างสมัยกลางและสมัยใหม่
- เป็นการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการสมัยกรีกและโรมัน
- มนุษย์เริ่มให้ความสาคัญกับตัวเอง
3) สมัยใหม่
- เริ่มต้นเมื่อ... คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เดินเรือค้นพบทวีปอเมริกา
- สิ้นสุดเมื่อ... สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติ ในปี ค.ศ.1945
- Keywords
+ การปฏิรูปศาสนาคริสต์
+ การกาเนิดรัฐชาติ
+ การปฏิวัติวิทยาศาสตร์
+ การปฏิวัติอุตสาหกรรม
+ แนวคิดเรื่องประชาธิปไตย
+ การปฏิวัติครั้งสาคัญของโลก
+ สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
4) สมัยปัจจุบัน
- เริ่มต้นเมื่อ... เกิดสงครามเย็นใน ค.ศ.1945 จนถึงปัจจุบัน
9

เริม่ เรียนแล้วนะ
ประวัตศิ าสตร์ตะวันตก (สากล)...
ประวัติศาสตร์สากล แบ่งเป็น 2 ยุค คือ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์
1. สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ (ยังไม่มีอักษรใช้ : ใช้เกณฑ์ทางวัตถุเป็นตัวแบ่ง) แบ่งเป็น ยุคหิน กับ ยุคโลหะ
ยุคหินเก่า
- มีการสร้างเครื่องมือเครื่องใช้จากหิน เช่น เครื่องมือกะเทาะแบบหยาบ
หน้าเดียว
- เก็บของป่าเป็นอาหาร ล่าสัตว์ เก็บผลไม้ตามธรรมชาติ ใช้ชีวิตเร่ร่อนอพยพ
ตามฝูงสัตว์
- อาศัยอยู่ตามถ้า เพิงผา เริ่มมีพิธีกรรมบางประการ เช่น ฝังศพ สร้างศิลปะ
บนผนังถ้า มีการใช้ไฟ และมีภาษาพูด
- เครื่องมือเครื่องใช้ยังไม่ประณีต
ยุคหิน - หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ โครงกระดูกที่พบในประเทศแซนทาเนีย
(หินเก่า, หินใหม่) เคนยา เอธิโอเบีย ในทวีแอฟริกา
ยุคหินใหม่
- เริ่มทาเครื่องจักสาน
- ปรับปรุงเครื่องมือหินให้มีความประณีตมากขึ้น
- ใช้เปลือกหอยมาทาเครื่องมือ ทาเครื่องปั้นดินเผา
- เริ่มมีการเพาะปลูก (ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญหรือการเริ่มปฏิวัติ ทาง
เศรษฐกิจครั้งแรกของโลก)
- ตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง เป็นหมู่บ้าน มีลักษณะเป็นสังคมเกษตรกรรม
- หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ มี การค้นพบเครื่องประดั บตกแต่ง และ
อนุสาวรีย์หินที่มีชื่อเสียง คือ สโตนเฮนจ์ ในอังกฤษ สันนิษฐาณว่าสร้างขึ้น
เพื่อใช้คานวณเวลาทางดาราศาสตร์
- มนุษย์เริ่มหล่อ ทองแดง ได้ก่อนเป็นสิ่งแรก
- นาโลหะมาทาเครื่องมือเครื่องใช้แทนหิน เรียกว่า “สาริด” (ทองแดง+ดีบุก)
- เริ่มขยายตัวเป็นชุมชนเมือง
ยุคโลหะ - มีการจัดแบ่งความสัมพันธ์ทางสังคมตามความสามารถ เริ่มมีการแบ่งชนชั้น
(สาริด, เหล็ก) - หมดยุคสาริด เข้าสู่ยุคสมัยเหล็ก ใช้เหล็กผลิตเครื่องมือเครื่องใช้
- เริ่มทาสงครามขยายอาณาเขต และพัฒนาการรวมกลุ่มสังคมจนกลายเป็น
อาณาจักร
- หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ หลักฐานที่พบลุ่ม แม่ น้าไทกริสยูเฟรติส
ลุ่มแม่น้าไนล์ ลุ่มแม่น้าสินธุ และลุ่มแม่น้าหวางเหอ (แม่น้าเหลือง)
10

2. สมัยประวัตศิ าสตร์ แบ่งเป็น 4 ยุค (สมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยใหม่ และสมัยปัจจุบัน)


2.1 สมัยโบราณ (Ancient Period)

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

สมัยโบราณ - ตั้งอยู่ระหว่างดินแดนแม่น้าไทกริสยูเฟรติส หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ดินแดน


(เมโสโปเตเมีย อียิปต์ กรีก เสี้ยวพระจันทร์” ปัจจุบัน คือ ประเทศอิรัก
และโรมัน) - มี ช นเผ่ าต่างๆ ที่มี อานาจและสร้างอารยธรรมในดิ นแดนนี้ คื อ สุ เ มเรีย น
อะมอไรต์ อัสซีเรียน เปอร์เซีย และฮิบบรู
- ถูกพระเจ้าซาร์กอนที่ 1 (เผ่าซีไมต์) แห่งอาณาจักรอัค คาเดียน ทางตอนเหนือ
- เริ่มนับตั้งแต่การเริ่มใช้ตัวอักษร เข้ารุกรานและยึดครองได้ในเวลาสั้นๆ และพวกซูเมเรียนจากเมืองอูร์สามารถ
ในอารยธรรมเมโสดปเตเมีย ฟื้นฟูอานาจได้ ต่อมาถูกชนเผ่าอีลาไมต์จากดินแดนประเทศอิหร่าน (ปัจจุบัน)
เรื่อยมาจนถึง ค.ศ.746 บุกเข้าทาลายจึงได้สูญสิ้นอานาจทางการเมืองอย่างถาวร
ที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่ม สุเมเรียน
สลาย - มี ก ารประดิ ษ ฐ์ “อั ก ษรคู นิ ฟ อร์ ม ” (อั ก ษรลิ่ ม ) ลงบนแผ่ น ดิ น เหนี ย ว
- สิ้นสุดเมื่ออาณาจักรโรมัน ซึ่งนักประวัติศาสตร์นับเอาเป็นเกณฑ์ในการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
ตะวันตกล่มสลาย เพราะโดน การปกครองแบบนครรัฐ
ชนเผ่ากอธโจมตี แต่โรมัน - สร้างสถาปัตยกรรมขนาดใหญ่ “ซิกกูแรต” เพื่อเป็นเทวสถานในการบูชาพระ
ตะวันออก (ไบแซนไทน์) เจ้า และเป็นที่สอนหนังสือให้แก่นักบวชรุ่นเยาว์
ยังคงอยู่ - คิดค้นระบบชลประทาน และการระบายน้าไปยังพื้นที่เพาะปลูก
- วรรณกรรม...มหากาพย์กิลกาเมช (เรื่องราวการผจญภัยของกิลกาเมช ประมุข
และวีรบุรุษแห่งอูรุก)
- มรดกทางวัฒนธรรม ได้แก่ จานหมุนปิ้นภาชนะเพื่อทาเครื่องปั้นดินเผา วงล้อ
ประกอบเพลา การคิดค้นการคานวณวงกลม การคานวณระยาทาง มาตราชั่ง
ตวง วัด ความรู้ด้านการโคจรของดวงดาว การทาปฏิทิน โหราศาสตร์ เป็นต้น
ชนเผ่าอะมอไรต์ (อาณาจักรบาบิโลนเก่า)
- สถาปนาศูนย์กลางอานาจที่เมืองบาบิโลเนีย (เป็นจักรวรรดิบาบิโลเนีย)
เป็น “รัฐสวัสดิการ” ที่ดูแลพลเมืองอย่างใกล้ชิด
- ฝ่ายปกครองมีอานาจไม่นานนักบวชก็กลับมามีอิทธิ พลเช่นเดิม อาณาจักรจึง
อ่อนแอลงและถู กพวกฮิต ไตต์จ ากตอนเหนื อเข้า ปล้ นสะดม แล้ วปล่อ ยให้
พวกคัสไซต์จากเอเชียกลางเข้ายึดครองดินแดน
- มีการแบ่งชนชั้นเป็น 3 ชนชั้น คือ ชนชั้นผู้ดี (มีตาแหน่งหน้าที่ทางศาสนา
และการเมือง) ชนชั้นกลาง (พ่อค้าและช่างฝีมือ) ชนชั้นกรรมกรและทาส
11

- ผลงานที่สาคัญ คือ “ประมวลกฎหมายฮัมบูราบี”


+ เป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรฉบับแรกของโลก จารึกด้วยอักษร
คูนิฟอร์ม
+ มีจุดเด่นใช้บทลงโทษที่รุนแรง หรือหลักการ “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน”
+ มีอิทธิพลต่อประมวลกฎหมายของโมเสส ในอารยธรรมฮิบรูด้วย
+ เป็นกฎหมายฉบับแรกที่คานึงถึงสิทธิสตรีและให้สิทธิสตรีในการ
ฟ้องหย่าสามีได้
ชนเผ่าอัสซีเรียน (จักรวรรดิอัสซีเรีย)
- มี ค วามเก่ ง กาจในการรบ สามารถสร้ า งจั ก รวรรดิ ค รอบครองดิ น แดนเมโส
โปเตเมีย และขยายไปยังส่วนต่างๆ เช่น ชายฝั่งตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์
เรเนียน และตอนเหนือของอียิปต์
- มีศูนย์กลางการปกครองที่ เมืองนิเนเวห์
- กษัตริย์องค์สาคัญ คือ พระเจ้าอัสซูร์บานี
- ศิลปวัฒนธรรม... รุ่งเรืองสุดในสมัยพระเจ้าอัสซูร์บานี พระองค์สะสมผลงาน
เขียนอักษรลิ่ม และมหากาพย์กิลกาเมซ, นิยมสร้างวังแทนวัดเพราะเชื่อว่า
กษัตริย์เป็นสมมติเทพ เพื่อใช้เป็นที่ประทับและศูนย์กลางการปกครอง
ชนเผ่าคาลเดียน (อาณาจักรคาลเดียน หรือบาบิโลนใหม่)
- ชาวคาลเดี ย นสร้า งบาบิ โ ลนขึ้น ใหม่ มี ก ษัต ริย์ องค์ ส าคั ญ คื อ พระเจ้ าเนบู
คัดเนซซาร์
- สร้าง “สวนลอยบาบิโลน” เพื่อเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของพระมเหสี
พระเจ้าเบบูคั ดเนซซา (ได้รับยอย่องเป็น 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ข องโลก
ยุคโบราณ)
- สร้างซิกกูแรตขนาดใหญ่ “หอคอยแห่งบาเบล”
- ผลงาน... เป็นชนชาติแรกที่นาเอาความรู้ด้านดาราศาสตร์มาพยากรณ์โชคชะตา
ของมนุษย์ มีการแบ่งสัปดาห์ออกเป็น 7 วัน สามารถพยากรณ์สุริยุปราคา
เวลาการโคจรของดวงอาทิตย์ใ นรอบหนึ่งปีได้อย่างถูกต้อง และให้ความสาคัญ
กับโหราศาสตร์
- ถูกกองทัพพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียบุกเข้ายึดครอง และถูกรวมเข้า
เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เซีย นับเป็นการสิ้นสุดประวัติศาสตร์ดินแดน
เมโสโปเตเมียในยุคโบราณ
12

พวกฟินิเชีย
- เป็นชื่อชาวกรีกใช้เรียกพวกแคนาไนต์ ที่อาศัยอยู่ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเดียน
ในซีเรีย (ปัจจุบัน คือ เลบานอน)
- มีความสามารถทางการค้า สร้างเรือเดินสมุทรและจัดตั้งอาณานิคมหรือเมืองลูก
ก่อนชาวกรีก และเดินเรือไปไกลถึงอังกฤษเพื่อซื้อดีบุก แร่เงินและทองแดงที่
สเปน
- สร้างอาณาจักรคาร์เทจ ทางตอนเหนือของแอฟริกา และอาณาจักรในเกาะซิซิลี
ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และถูกกองทัพโรมันทาลายในสงครามพิวนิค
- ไม่มีผลงานทางวรรณกรรมหรืองานศิลปะที่สาคัญ
- ผลงาน...ทาเครื่องเรือน เครื่องแก้ว เครื่องโลหะและเครื่องประดับ รู้จักย้อมผ้า
โดยใช้สีจากเปลือกหอย
- มรดกที่ส าคัญ...นวัตกรรมตัวอักษรที่ใช้แทนเสียง โดยปรับปรุงมาจากอักษร
เฮียราติกของอียิปต์และอักษรลิ่ม จนเกิดเป็นพยัญชนะ 12 ตัว (ต้นตระกูล
ของอักษรชาติตะวันตก)
พวกฮิบรูหรือยิว
- เป็นชนเผ่าเซมิติก เรื่องราวปรากฏในพันธะสัญญาเก่า
- สร้ างอาณาจัก รและขยายเป็น จั กรวรรดิ อิส ราเอล แต่ไ ม่ ส ามารถรัก ษาไว้ ไ ด้
ถูกอาณาจักรบาบิโลนใหม่กวาดต้อนไปเป็นทาส
- ฮิบรูได้ก่อกบฏต่อจักรวรรดิโนมัน ถูกกองทัพโรมันปราบปรามจนกลายเป็นชน
เผ่าเร่ร่อนอยู่กระจัดกระจายในดินแดนต่างๆ พวกเขาจึงแสวงหาดินแดนแห่ง
คาสัญญา ได้แก่ ดินแดนปาเลสไตน์ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ฝ่ายพันธมิตร
ตกลงให้ตั้งประเทศอิสราเอลขึ้นบนดินแดนปาเลสไตน์ เพิ่อให้เป็นที่อยู่ของชาว
ฮิบรูหรือยิว ซึ่งกลายเป็นปัญหาทางการเมืองที่สาคัญในปัจจุบัน
- มรดกสาคัญ...การนับถือพระเจ้าองค์เดียว (พระยโฮวาห์) หรือ พระเป็นเจ้าใน
ศาสนาคริสต์, พันธสัญญาเดิม (ภาคแรกของคัมภีร์ไบเบิล)
- ศาสนาของฮิบรู คือ ศาสนายูดาห์ เนื่องจากพวกฮิบรูไม่ยอมรับพระเยซูเป็น
บุตรของพระผู้เป็นเจ้าและไม่ยอมรับพันธสัญญาใหม่ ดังนั้นศาสนายูดาห์กับ
ศาสนาคริสต์จึงแยกออกจากกัน
13

อารยธรรมอียปิ ต์

ทั่วไป
- อารยธรรมอียิปต์ตั้งอยู่ บริเวณลุ่มแม่น้าไนล์ ประกอบด้วยพื้นที่ 2 ส่วน คือ
1) อียิปต์บน : จะเป็นส่วนที่เป็นเส้นแม่น้ายาวไหลผ่านหุบเขา ตั้งอยู่
ตอนใต้บริเวณที่ราบจนถึงเมืองอัสวาน
2) อียิปต์ล่าง : อยู่ทางตอนเหนือบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้า
ไนล์ที่มีความอุดมสมบูรณ์ อันถือเป็นจุดกาเนิดของอารยธรรมอียิปต์
มีอาณาเขตจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลแดงเหนือนครเมมฟิส
- อียิปต์เป็นเสมือน “โอเอซีสกลางทะเลทราย” และบันทึกของฌอโรโดตัสพูดถึง
อียิปต์ว่า “ของขวัญจากลุ่มน้าไนล์ ” แต่อียิปต์ไม่ค่อยมีทรัพยากรเท่าไหร่นะ
เพราะมีหินทรายเต็มไปหมด
ความโดนเด่น
ด้านการปกครอง
+ มีฟาโรห์เป็นผู้ปกครองสูงสุด สถาปนาอานาจสูงสุดและควบคุม
ขุนนางได้ มีสถานะเป็นกึ่งมนุษย์กึ่งเทพ
ศาสนา
+ นับถือเทพเจ้าหลายองค์ ทั้งธรรมชาติและวิญญาณของฟาโรห์ บูชาเทพ
เจ้าด้วยความเคารพ มีความคิดว่าเทพเจ้ามีความเมตตา
+ เทพเจ้าที่สาคัญ ได้แก่ เทพเจ้ารา (สุริยเทพ:เทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์)
เป็นเทพเจ้าสูงสุด, เทพเจ้าโอเอซีส (เทพเจ้าแห่งลุ่มน้าไนล์)
เป็นเทพีแห่งพื้นดิน เทพเฮอรัส เทพเซท เป็นต้น
+ บูชาสัตว์ต่างๆ เพราะเชื่อว่าในสัตว์เหล่านั้นมีวิญญาณของเทพเจ้า
อักษรศาสตร์
+ พัฒนาอักษร “อักษรภาพเฮียโรกลิฟฟิก” เป็นอักษรศักดิ์สิทธิ์ใช้บันทึก
เรื่องราวทางศาสนาและวิทยาการ ต่อมาพัฒนาเป็นตัวเขียนที่ง่ายขึ้น
เพื่อให้เขียนเร็วขึ้นเรียกว่า “อักษรเฮียราติก” เขียนบน “กระดาษ
ปาปิรุส” ที่ทามาจากต้นปาปิรุสที่ขึ้นในแม่น้าไนล์ โดยใช้
ปล้องหญ้ามาตัดเป็นปากกาจิ้มหมึก
+ กระดาษปาปิรุส เป็นกระดาษแผ่นแรกที่ผลิตขึ้นใช้บันทึกบทสวดและ
คาสรรเสริญเทพเจ้า
14

ดาราศาสตร์
+ คานวณปฏิทินแบบสุริยคติ 1 ปี มี 12 เดือน มี 3 ฤดู (ฤดูน้าท่วม
ฤดูไถหว่าน และฤดูเก็บเกี่ยว)
คณิตศาสตร์
+ การคานวณพื้นฐาน เช่น บวก ลบ คูณ หาร
+ วางรากฐานการศึกษาเราขาคณิตและพีชคณิต เช่น วงกลมประกอบด้วย
360 องศา หาความสัมพันธ์ระหว่างเส้นรอบวงกับเส้นผ่าศูนย์กลาง
คานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยมปริมาตรของพีระมิด เป็นต้น
+ ความรู้ด้านฟิสิกส์ในการสร้างพีระมิด และวิหาร
การแพทย์
+ คิดค้นการผ่าตัดเพื่อรักษาผู้ป่วย
+ การทามัมมี่ (การใช้น้ายารักษาศพเพื่อไม่ให้เน่าเปื่อย)
+ การคิดค้นวิธีปรุงยาเพื่อรักษาโรคต่างๆ
สถาปัตยกรรม
+ การสร้างพีระมิด (เป็นเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมอียิปต์ ซึ่งเป็น
1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก) เพื่อใช้เป็นสุสานขนาดใหญ่สาหรับ
ฟาโรห์ เนื่องจากมีความเชื่อเรื่องชีวติ หลังความตายและความเป็นอมตะ
+ การสร้างวิหารเพื่อบูชาเทพขนาดใหญ่หลายแห่ง ได้แก่ วิหารคาร์นัก
วิหารอาร์บูซิมเบล
วรรณกรรม
+ ที่สาคัญ คือ คัมภีร์ของผู้ตาย (Book of the Dead) เพื่อใช้เป็น
คู่มือปฏิบัติตัวในการเดินทางสู่ปรโลก
เกษตรกรรม
+ สร้างระบบชลประทาน
+ สินค้าเกษตรที่สาคัญ ได้แก่ ข้าวสาลี ข้าวฟ่าง ข้าวบาเลย์ ปอ
และฝ้าย
การค้า
+ สินค้าส่งออก ได้แก่ ทองคา ข้าวสาลี และผ่าลินิน
+ สินค้านาเข้า ได้แก่ แร่เงิน งาช้าง และไม้ซุง
- ในสมัยปลายราชวงศ์อานาจของฟาโรห์ลดลง อานาจตกไปอยู่กับขุนนางกับพระ
ทาให้เกิดความอ่อนแอสูญเสียอานาจให้แก่ อัสซีเรีย เปอร์เซีย กรีกและโรมัน
ตามลาดับ
- ในกลางศตวรรษที่ 7 อียิปต์หันไปนับถือศาสนาอิสรามและกลายเป็นส่วนหนึ่ง
ของโลกอิสลาม
15

อารยธรรมกรีก

ทั่วไป
- สภาพที่ตั้งเต็มไปด้วยภูเขาและเนินเขา ไม่ค่อยอุดมสมบูรณ์ แต่เนื่องจากติด
กับทะเลอีเจียน ชาวกรีกจึงหันไปสนใจการค้าขายและเดินเรือ
- เกาะครีตเป็นเกาะใหญ่ที่สุ ด และเป็นอู่อารยธรรมของกรีก เกิด อารยธรรม
ไมนวน
การปกครอง
- กรีกปกครองแบบนครรัฐ (city - state) เรียกว่า “โพลิส” หรือ
“อะโครโพลิส” เป็นป้อมปราการที่ตั้งอยู่บนยอดเขา นครรัฐเหล่านี้มีพื้นที่น้อย
ใหญ่แตกต่างกัน และต่างปกครองตนเองอย่างเป็นอิสระ มีย่านการค้าของเมือง
เรียกว่า “อะกอรา”
- การปกครองแบบนครรัฐในกรีก เรียกยุคนี้ว่า “ยุคเฮเลนิก” มีนครรัฐขนาด
ใหญ่และมีบทบาทสาคัญ ได้แก่
1) นครรัฐเอเธนส์ เป็นจุดเริ่มต้นของการปกครองแบบประชาธิปไตย
พลเมืองชายอายุ 21 ปีขึ้นไป มีหน้าที่ปกครองและบริหารบ้านเมือง
โดยตรง มีสภาประชาชนเป็นที่ประชุม แต่ผู้หญิง เด็ก ทาสและคน
ต่างด้าวไม่มีสิทธิทางการเมือง
2) นครรั ฐ สปาตาร์ เป็ น นครรั ฐ ที่ สื บ เชื้ อ สายมาจากพวกดอเรี ย น
เป็นนครรัฐผู้นาทางการทหาร
- เอเธนส์กับสปาตาร์แย่งชิงความเป็นใหญ่กันเสมอจนเกิดสงคราม “เพโลโพนี
เชียน” ผลคือเอเธนส์แพ้และเริ่มเสื่อมอานาจ นครรัฐอื่นเริ่มแย่งชิงอานาจกัน
จนกรีกเริ่มเสื่อมลง ทาให้นครรัฐมาซิโดเนียขึ้นมามีอานาจรัฐของพระบิดาของ
พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช) ต่อมาในสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช
กรีกได้เข้าสู่การเริ่มต้นยุค “เฮเลนิสติก”
ศาสนา
- ชาวกรีกนับถือเทพเจ้าหลายองค์ ได้แก่
1) เทพซุส เป็นมหาเทพสูงสุด
2) เทพเฮรา (อัครมเหสีของซุส) เทพผู้ปกป้องสตรีทั้งหลาย
3) เทพโพไซดอน เจ้าแห่งท้องทะเล
4) เทพฮาเดช เจ้าผู้ครองใต้พิภพและความตาย
5) เทพอะพอลโล เทพเจ้ า แห่ ง แสงสว่ า ง แห่ ง บทกวี แ ละบทเพลง
เทพแห่งการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ และเทพแห่งความสัตย์จริง
16

6) เทพอะธีน่า เทพแห่งปัญญา และเทพประจาเอเธนส์


7) เทพเอรีส เทพแห่งสงคราม
8) เทพเฮอร์เมส เทพแห่งการเดินทาง การค้าขาย และเทพของขโมย
9) เทพอาร์ธีมิส เทพแห่งการล่าสัตว์
- มี การจั ด กีฬ า “โอลิม ปิค ” ถวายเทพเจ้า โดยตั้ งชื่ อ ตามยอดเขาโอลิ ม ปั ส
อันเป็นที่สถิตของเทพ จัดขึ้นที่เมืองโอลิมเปีย นครรัฐเอลิส บนคาบสมุทร
เพโลพอนนิซัส มีรางวัลเป็นช่อมะกอก
นักคิด นักปรัชญาที่สาคัญ
1) โสเครติ ส เพลโต บิ ด าวิ ช าปรั ช ญาการเมื อ ง และสร้ า งส านั ก
Academy
2) อริสโตเติล บิดาวิชารัฐศาสตร์และตั้งสานัก Lyceum
3) เฮโรโดตัส บิดาวิชาประวัติศาสตร์
4) ทาเลส นักปรัชญาคนสาคัญ
5) ทูซิดีดิส นักการทหารและนักประวัติศาสตร์
6) ปิทากอรัส ยูคลิด อาร์คีมีดิส นักฟิสิกส์
7) ฮิปโปกราติส บิดาแห่งการแพทย์
8) เฮโรฟิลลัส บิดาแห่งกายวิภาคศาสตร์
ด้านศิลปวัฒนธรรม
- สถาปั ต ยกรรมกรี ก เน้ น ความสวยงามและนิ ย มสร้า งด้ ว ยหิ น อ่อ น หั ว เสามี
3 แบบ คือ
1) แบบดอริก เรียบง่าย
2) แบบไอโอนิก ที่หินหัวเสามีลักษณะม้วนย้อยลงมาทั้งสองข้าง ซึ่งให้
ความรู้สึกเข้มแข็งแต่อ่อนโยน
3) แบบโครินเธียน นาความงามของธรรมชาติ เช่น รูปใบไม้มาตกแต่ง
ให้หรูมากขึ้น
- มีการก่อสร้างวิหาร สนามกีฬา โรงละคร ที่สาคัญ เช่น วิหารพาร์เธนอน
- การละครของกรีก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คื อ ละครโศกนาฏกรรมและ
สุขนาฏกรรม และชาวกรีกนิยมบวงสรวงเทพไดโอนิซุส (เทพแห่งการละครและ
องุ่น)
- วรรณกรรมเล่มสาคัญ คือ มหากาพย์อีเลียดและโอดิสซีย์ ของมหากวีโฮเมอร์
- มรดกทางวั ฒ นธรรมที่ ส าคั ญ ของชาวกรี ก ที่ ถ่ า ยทอดให้ แ ก่ ช าวโลก คื อ
“อุดมการณ์ประชาธิปไตย”
17

อารยธรรมโรมัน

- อารยธรรมโรมันตั้งอยู่บนคาบสมุทรอิตาลีที่ยื่นไปในทะเลเมอดิเตอร์เรเนียน
มีผู้คนตั้งถิ่นฐานอยู่ตรงนี้มาก่อนหลายกลุ่ม แต่กลุ่มสาคัญ ได้แ ก่ พวกลาติน
ที่ตั้งบ้านเมืองแถวที่ราบลุ่มละติอูม แม่น้าไทเบอร์
- ก่อนที่โรมจะยิ่งใหญ่มีอารยธรรมดั้งเดิม คือ อารยธรรมอีทรัสกัน
- โรมันพัฒนาจากหมู่บ้านเกษตรกรรมเล็กๆ จนมาเป็นอาณาจักรใหญ่
สมัยกษัตริย์
- ยุคนี้เป็นสมัยการปกครองของพวกอีทรัสกัน มีกษัตริย์ปกครอง
- ประชาชนแบ่งออกเป็น 2 พวก คือ พวกแพทริเชียน และพวกเพลเบียน
สมัยสาธารณรัฐ
- มีการล้มระบอบกษัตริย์ของอีทรัสกัน
- จัด การปกครองแบบสาธารณรัฐ มี ส ภาซี เ นท (สภาขุ นนาง) เลื อกกงสุ ล
ทาหน้าที่ประมุขแทนกษัตริย์
- เกิดประมวลกฎหมายโรมันที่เรียกว่า “กฎหมาย 12 โต๊ะ”
- กองทัพโรมันได้ทาสงครามฟินิเชียน (สงครามพิวนิค) กับอาณาจักรคาร์เทจของ
พวกพิ นี เ ชี ย น และได้ ท าลายอารยธรรมของคาร์ เ ทจได้ จึ ง ขยายอ านาจเข้ า
ครอบครองดินแดนต่างๆ
สมัยจักรวรรดิ
- โรมยุติการปกครองแบบสาธารณรัฐ และเปลี่ยนเป็นระบอบจักรวรรดิอย่างเป็น
ทางการ
- ออกุสตุส ซีซาร์ สถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิพระองค์แรก ถือเป็นจุดเริ่มต้น
จักรวรรดิโรมันที่แผ่ขยายอานาจไปอย่างกว้างขวาง
- เป็นยุคสมัยแห่งความเจริญรุ่งเรืองและสันติภาพ จนได้รับการขนานนามว้า
“สันติภาพแห่งโรม” (Pax Romana)
เหตุการณ์ทั่วไปของโรมัน
- จั ก รพรรดิ ค อนสแตนติ น สถาปนานครสแตนติ น ติ โ นเปิ ล เป็ น เมื อ งหลวง
(ปัจจุบัน คือ นครอิสตันบลู ในประเทศตุรกี) ถือเป็นจุดกาเนิดจักรวรรดิ
ไบเซนไทน์ และยอมรับคริสต์ศาสนาเป็นศาสนาประจาจักรวรรดิ
- ภายหลั ง โรมั น แบ่ ง ออกเป็ น 2 ส่ ว น คื อ จั ก รวรรดิ ไ บเซนไทน์ (โรมั น
ตะวันออก) และ โรมันตะวันตก
18

- ไบเซนไทน์เจริญสูงสุ ดในสมั ยจักรพรรดิจัส ซีเนียน เกิด ประมวลกฎหมาย


ของจัสติเนียน และเกิดศาสนาคริสต์นิกายออร์ทอดอกซ์
- ปี ค.ศ.476 โรมันตะวันตก ล่มสลายเพราะถูกอารยชนเยอรมันหรือเผ่า Goth
โจมตี อีกทั้ง การเงินแย่ ม ากเพราะชาวโรมั นชอบฟุ่ม เฟือย แต่ ไ บเซนไทน์
(โรมั น ตะวั น ออก) ยั ง อยู่ จ นถึ ง ศตวรรษที่ 15 ถู ก รุ ก รานจากชาวเติ ร์ ก จาก
จักรวรรดิออตโตมันและล่มสลายในที่สุด
โรมันมอบอะไร...ให้โลกไว้บ้าง
- ภาษาละติน ที่ใช้ในสมัยโรมัน เป็นรากศัพท์ในภาษาอังกฤษและพื้นฐานของ
กลุ่มภาษาโนมานช์ เช่น ภาษาอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน
- กฎหมายโรมัน เป็นรากฐานต่อระบบกฎหมายในยุโรป
- วิทยาการทางด้านการแพทย์ เช่น การผ่าตัดคลอดหน้าท้อง (เรียกว่า ศัลยกรรม
แบบซี ซ าร์ ) การใช้ ย าสลบ การใช้ เครื่ องมื อ ผ่ าตั ด แพทย์ และพยาบาล
ในสนามรบ
- สิ่งก่อสร้างที่เน้นประโยชน์ใช้สอย ใหญ่โตและแข็งแรงมากว่าความสวยงาม
เช่น สนามกีฬาโคลอสเซียม เซอคัส แมกซิมัส ท่อลาเลียงน้า ถนนเชื่อม
เมือง ที่อาบน้าสาธารณะ
- ศิลปะโดดเด่น คือ อาคารประตุโค้ง (โดม) เช่น แพนธีออน
- จักรพรรดิคอนสแตนติน ประกาศให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา ต่อมาศาสนา
คริสต์กลายเป็นศาสนาราชการของโรมันในสมัยจักรพรรดิธีโอโดซิอุสที่ 1
19
20

Test

1. ในประหวัดศาสตร์สมัยใหม่ของประเทศไทย ยังไม่เคยแต่งตั้งสตรีสามัญชนขึ้นดารงตาแหน่งสาคัญในข้อใด (64)


1. องคมนตรี
2. นายกรัฐมนตรี
3. ประธานศาลฎีกา
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
5. สมเด็จพระบรมราชินี
2. ผลงานสถาปัตยกรรมของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ข้อใดมีต้นแบบในสถาปัตยกรรมของรัฐอาณาจักรโบราณที่ตั้งอยู่บน
แผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (63)
1. พระปรางค์วัดอรุณราชวรราม
2. องค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม
3. พระที่นั่งอนันตสมาคม พระราชวังดุสิต
4. พระที่นั่งเวหาศน์จารูญ พระราชวังบางปะอิน
5. พระอุโบสถวัดเวศธรรมประวัติ อาเภอบางปิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
3. ในเดือนกันยายนพุทธศักราช 2562 รัฐบาลไทยโดยกระทรวงต่างประเทศได้ประกาศวาระเฉลิมฉลอง 333 ปี
ของเหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์การทูตของไทยเหตุการณ์หนึ่ง เหตุการณ์ดังกล่าวนี้เกี่ยวข้องกับบุคคลสาคัญใน
ประวัติศาสตร์ไทยท่านใด (63)
1. พระยากัลป์ยาณไมตรี (ดร.ฟรานซีส บี.แซร์)
2. หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร)
3. ออกพระวิสุทธสุนธร (เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน))
4. พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
5. พระยาสยามนุกูลกิจสยามมิตรมหายศ (เซอร์จอห์น เบาว์ริ่ง)
4. ใครคือผู้สาเร็จราชการแทนพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1 (62)
1. สมเด็จฯ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามกุฏราชกุมาร
2. สมเด็จเจ้าพระยามหาสุริยวงศ์
3. สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ
4. สมเด็จฯ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามกุฏราชกุมาร
5. สมเด็จฯ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ
21

5. ลักษณะของสถาปัตยกรรมไทยที่มีอิทธิพลจากศิลปะจีนอย่างมากจนถูกเรียกว่า “แบบพระราชนิยม” เป็นลักษณะ


ที่เกิดขึ้นในรัชสมัยใด (62)
1. รัชกาลที่ 3
2. รัชกาลที่ 4
3. รัชกาลที่ 5
4. รัชกาลที่ 6
5. รัชกาลที่ 7
6. ข้อใดเป็นภูมิปัญญาไทยที่เป็นนามธรรม (61)
1. การทาปลาร้าของคนอีสาน
2. พระพุทธรูปสมัยอยุธยา
3. การหาฤกษ์ยามแต่งงาน
4. หุ่นฟางแทนแม่โพสฬ
5. เครื่องทองสุโขทัย
7. ข้อใดเป็นมรดกของอารยธรรมกรีก (60)
1. ภาษาฝรั่งเศส
2. วิชาแคลคูลัส
3. การผสมคอนกรีตแทนไม้และหิน
4. การผ่าตัดนาทารกออกจากครรภ์มารดา
5. การแบ่งเขตการปกครองเป็นมณฑล จังหวัดและอาเภอ
8. ประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบีที่มีบทลงโทษที่รู้จักกันดี คือ “ตาต่อตาฟันต่อฟัน” เป็นกฎหมายของชนชาติใด
(32)
1. ฮิบรู
2. กรีก
3. อาหรับ
4. โรมัน
5. อะมอไรต์
9. ชนชาติใดเป็นผู้คิดค้นระบบทศนิยมซึ่งเป็นที่ใช้แพร่หลายอยู่ในโลกจนถึงปัจจุบัน (59)
1. อาหรับ
2. โรมัน
3. อินเดีย
4. กรีก
5. ฮิบรู
22

10. ชนเผ่าใดได้รับชัยชนะจากการเข้าโจมตีอาณาจักรโรมันตะวันตก (57)


1. แฟรงค์
2. มอลโกล
3. เยอรมัน
4. อีทรัสกัน
5. ออตโตมัน

You might also like