You are on page 1of 35

คลืนกล

คลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า

มิสภารุจา ใจแก้ วแดง


• ว2.3ม3/10  สร้างแบบจำลองที่
อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยาย
ส่วนประกอบของคลื่น

• ว2.3ม3/11 อธิบาย
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัม
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากข้อมู ลที่
รวบรวมได้
• ว2.3ม3/12 ตระหนักถึงประโยชน์
และอ ันตรายจาก
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดยนำเสนอการ
ใช้ประโยชน์ดา้ นต่างๆและอ ันตราย
จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในชีวิต
ประจำวัน
• ้ ้เพื่อความเข ้าใจ
นักเรียนสามารถเข ้าไปดูและทำกิจกรรมตามคลิปนี ได

• คลิปVDO คลื่นกล (วิทยาศาสตร ์ ม. 3 เล่ม 1 หน่ วยที่ 3 บทที่ 1 คลื่น)


https://www.youtube.com/watch?v=7A0z3MoXP4k
• สรุปความสำคัญจากคำถาม
• คลิปVDO คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (วิทยาศาสตร ์ ม. 3 เล่ม 1 หน่ วยที่ 3 บทที่
1 คลื่น)
• https://www.youtube.com/watch?v=t-CzVqK697Q&t=295s
• สรุปความสำคัญจากคำถาม
• คลิปVDO หน่ วยที่3ม.3(เรื่องประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า)
https://www.youtube.com/watch?v=7mZ9EF_hLwk&t=41s
คลื่นเกิดขึนได้
้ อย่างไร
• คลื่นคืออะไร คลื่น (Wave) เป็ นปรากฏการ
ที่เกิดจากการรบกวนแหล่งกำเนิ ด หรือ

ต ัวกลาง เกิดการสันสะเทื อน ทำให้มีการ

แผ่หรือถ่ายโอนพลังงานจากการสันสะเทื อน
ไปยังจุดต่าง ๆ โดยที่ตวั กลางนันไม่
้ มีการ
เคลื่อนที่ไปกับคลื่น
ชนิดของ
คลืน่
ประเภทของคลื่น
• การจำแนกคลืน
่ ตามความจำเป็ นของการใช้
ตัวกลางในการเคลือ่ นทีส่ ามารถแบ่ งออกได้
2 ชนิด คือ
•  คลืน
่ กล จำเป็ นต้ องอาศัยตัวกลางในการ
เคลือ่ นที่
• คลืน
่ แม่ เหล็กไฟฟ้าซึ่งไม่ จำเป็ นต้ องอาศัย
ตัวกลางในการเคลือ่ นที่
คลื่นกล
• ลื่นกลเป็ นคลื่นที่ต ้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ สิ่งที่คลื่นนำไป
ด ้วยพร ้อมกับการเคลื่อนที่คือพลังงาน พลังงานเคลื่อนที่ผ่าน
ตัวกลางต่าง ๆ จะมีป ริมาณต่าง ๆกันไปในแต่ละกรณี เช่น
พลังงานของคลื่นในทะเลขณะที่มีพายุจะมีคา่ มากกว่าพลังงานที่เกิด
จากคลื่นเสียงที่เราตะโกนออกไป
• เช่น คลื่นเสียง คลื่นน้ำ คลื่นในเส ้นเชือก 
จำแนกตามลักษณะการเคลือ่ นที่
• 1. คลื่นตามขวาง (Transverse Waves) หมายถึง เป็ นคลื่นที่ทำให ้อนุ ภาค
ของตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านมีการเคลื่อนที่ไปกลับในทิศทางที่ตังฉากกั
้ บ
ทิศทางที่คลื่นเคลื่อนที่ ตัวอย่างเช่น คลื่นบนผิวน้ำ คลื่นในเส ้นเชือก
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทุกช
• 2. คลื่นตามยาว (Longitudinal Waves) หมายถึงคลื่นที่อนุ ภาคของตัวกลาง
ที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านมีการเคลื่อนที่ไปกลับในทิศทางเดียวกันกับทิศทางที่คลื่น
เคลื่อนที่ หรือคลื่นมีทิศการสันของตั
่ วกลางอยู่ในแนวขนานกับทิศการเคลื่อนที่
ของคลื่น ตัวอย่างเช่น คลื่นเสียง คลื่นใต ้ผิวน้ำ คลื่นอัดขยายในสปริง ดังนั้นจะ
เห็นได ้ว่าคลื่นตามยาวทุกนิ ด ดังนั้นคลื่นตามขวางอาจเป็ นคลื่นกลหรือ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าก็ได ้
จำแนกตามลักษณะการเกิดคลืน่
      3.1   คลืน่ ดล (Pulse wave)   เป็ นคลืน่ ทีเ่ กิดจาก
แหล่ งกำเนิดถูกรบกวนเพียงครั้งเดียว

       3.2   คลืน่ ต่ อเนื่อง (Continuous wave)   เป็ นคลืน่ ที่


เกิดจากแหล่ งกำเนิดถูกรบกวนเป็ นจังหวะต่ อเนื่อง
คลืน่ ทุกชนิดแสดงสมบัติ 4 อย่ าง
คือการสะท้ อน การหักเห การแทรกสอด และการเลีย้ วเบน
การสะท้ อน (reflection)   เกิดจากคลืน่ เคลือ่ นทีไ่ ปกระทบสิ่ งกีดขวาง แล้ วเปลีย่ นทิศทางกลับสู่
ตัวกลางเดิม

การหักเห (refraction)   เกิดจากคลืน่ เคลือ่ นทีผ่ ่ านตัวกลางทีต่ ่ างกัน แล้ วทำให้ อตั ราเร็วเปลีย่ นไป

การเลีย้ วเบน (diffraction)   เกิดจากคลืน่ เคลือ่ นทีไ่ ปพบสิ่ งกีดขวาง ทำให้ คลืน่ ส่ วนหนึ่งอ้ อมบริเวณ
ของสิ่ งกีดขวางแผ่ ไปทางด้ านหลังของสิ่ งกีดขวางนั้น

การแทรกสอด (interference)   เกิดจากคลืน่ สองขบวนทีเ่ หมือนกันทุกประการเคลือ่ นทีม่ าพบกัน แล้ ว


เกิดการซ้ อนทับกัน ถ้ าเป็ นคลืน่ แสงจะเห็นแถบมืดและแถบสว่ างสลับกัน ส่ วนคลืน่ เสี ยงจะได้ ยนิ
เสี ยงดังเสี ยงค่ อยสลับกัน
ส่วนประกอบของคลื่น
สั นคลืน่ คือตำแหน่ ง ท้ องคลืน่ คือ
ทีส่ ู งทีส่ ุ ดของคลืน่ ตำแหน่ งทีต่ ่ำของ
เหนือตำแหน่ งปกติ คลืน่ ใต้ ตำแหน่ ง
ปกติ
แอมพลิจด ู
ระยะการกระ
จ ัดสูงสุดจาก ความยาวของคลืน่ 1 ลูก คลืน่ มีค่าเท่ ากับ
แนวสมดุล หรือ ระยะห่ างจากสั นคลืน่ หนึ่งถึงสั นคลืน่ ทีอ่ ยู่ตดิ
ความสูงจาก กันหรือระยะห่ างจากท้ องคลืน่ หนึ่งถึงท้ อง
แนวสมดุลของ คลืน่ อีกลูกหนึ่งทีอ่ ยู่ตดิ กัน

สนคลื น

ความถี่ (frequency) คือ จำนวน
ลูกคลืน่ ทีเ่ กิดขึน้ หรือแผ่ ออกไป
จากแหล่ งกำเนิดในเวลา 1
วินาที มีหน่ วยเป็ นรอบต่ อวินาที
(s-1) หรือ เฮิรตซ์ (Hz) .
คาบ คือช่ วงเวลาทีอ่ นุภาคของตัวกลางสั่ นครบ
1 รอบหรือเป็ นช่ วงเวลาทีค่ ลืน่ เคลือ่ นทีไ่ ปเป็ น
ระยะทางเท่ ากับ 1 ความยาวคลืน่ มีหน่ วย
เป็ นวินาที
v = s/t = λ/T.
หรือ v =λf
(เมือ่ ความถี่ f = 1/T)
เมือ่ v แทน อัตราเร็ว มีหน่ วยเป็ นเมตร/วินาที
λ แทน ความยาวคลืน่ มีหน่ วยเป็ นเมตร
•  แสง คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic waves เรียกย่อๆ ว่า EM) ซึง่
ประกอบด้วย สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าเคลื ่อนที่ทำมุมตงฉากก
ั้ ัน  ระยะทางระหว่าง
ยอดคลื่นหนึ่ งถึงยอดคลื่นถัดไปเรียกว่า ความยาวคลื่น (Wavelength) ด ังภาพที่ 1 
• แสงที่ตามองเห็น (Visible light) เป็ นส่วนหนึ่ งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในช่วงคลื่น
400 – 700 นาโนเมตร (1 nm = 10-9 m หรือ 1/พันล้านเมตร) หากนำแท่งแก้ว
ปริซมึ มาหักเหแสงอาทิตย ์ เราจะเห็นว่าแสงสีขาวถู กหักเหออกเป็ นสีม่วง คราม น้ำเงิน
เขียว เหลือง แสด แดง คล้ายก ับสีของรุง้ กินน้ำ เรียกว่า “สเปกตรัม” (Spectrum)
แสงแต่ละสีมีความยาวคลื่นแตกต่างก ัน สีม่วงมีความยาวคลื ่นสันที
้ ่สุด (400 nm) สี
แดงมีความยาวคลื่นมากที่สุด นอกจากแสงที่ตามองเห็นแล้วยังมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ชนิ ดอืนๆ เรียงตามขนาดความยาวคลื่นจากน้อยไปมาก ด ังภาพที่ 2 ได้แก่
•         • รังสีแกมมา (Gamma ray) ความยาวคลื่นน้อยกว่า 0.01 nm 
        • รังสีเอ็กซ ์ (X-ray) มีความยาวคลื่น 0.01 - 1 nm 
        • รังสีอลุ ตราไวโอเล็ต (Ultraviolet radiation) มีความยาวคลื่น 1 - 400 nm 
        • แสงที่ตามองเห็น (Visible light) มีความยาวคลื่น 400 – 700 nm 
        • รังสีอินฟราเรด (Infrared radiation) มีความยาวคลื่น 700 nm – 1 mm 
        • คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) มีความยาวคลื่น 1 mm – 10 cm 
        • คลื่นวิทยุ (Radio wave) ความยาวคลื่นมากกว่า 10 cm
• เราสามารถนำความยาวของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าต่าง ๆ มาเปรียบเทียบกับขนาด
ของสรรพสิ่งบนโลก จะได ้ดังภาพที่ 3  คลื่นแสงที่ตามมนุ ษย ์มองเห็นมีขนาด
ความยาวคลื่นเท่าโปรโตซวั  คลื่นที่มีขนาดเล็กหรือใหญ่กว่านี ไม่้ อาจมองเห็น
ด ้วยตาได ้ แต่อาจรับรูด้ ้วยประสาทสัมผัส เช่น ถ ้ารังสีอินฟราเรดทำให ้เกิด
ความอบอุน ่ รังสีอลั ตราไวโอเล็ตทำให ้ผิวหนังไหม้ 
• นอกจากนักวิทยาศาสตร ์จะแบ่งประเภทของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดยใช้
ความยาวคลื่นเป็ นต ัวกำหนดแล้ว แต่บางครังในวงการวิ
้ ทยุ

โทรคมนาคม เรานิ ยมใช้ความถีของคลื ่นเป็ นตัวกำหนด เนื่ องจาก
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกประเภทเดินทางโดยไม่ตอ ้ งใช้ต ัวกลางด้วย
ความเร็วคงที่  300,000,000 เมตร/วินาที  เราสามารถคำนวณหาค่า
่ โดยใช้สูตร 
ความถีได้
               
•                          λ = c / f 
•         ความยาวคลื่น = ความเร็วแสง / ความถี ่
•         ความยาวคลื่น (λ) = ระยะห่างระหว่างยอดคลื่น มีหน่ วยเป็ น
เมตร (m) 
•         ความถี่ (f) = จำนวนคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านจุดที่กำหนด ในระยะ
เวลา 1 วินาที มีหน่ วยเป็ นเฮิรทซ ์ (Hz) 
•         ความเร็วแสง (c) = 300,000,000 เมตร/วินาที (m/s)
คลื่นวิทยุ (radio waves) เป็ นคลื่นที่มีความถี่น้อยกว่า
109 เฮิรตซ ์และความยาวคลื่นอยู่ ในระดับเซนติเมตรจนถึง
กิโลเมตร คลื่นวิทยุสามารถนำ ไปประยุกต ์ใช ้ประโยชน์ได ้
หลากหลาย โดย ความยาวคลื่นของคลื่นวิทยุที่แตกต่างกัน
ก็จะมีการนำ ไปใช ้ประโยชน์ที่แตกต่างกันด ้วย คลื่นวิทยุ
นิ ยมนำ มาประยุกต ์ใช ้ในการส่งสารสนเทศจากตำ แหน่ ง
หนึ่ ง
(ผู ้ส่ง) ไปยังอีกตำ แหน่ ง หนึ่ ง (ผูร้ บ
ั ) โดยไม่ต ้องมีสายส่ง
ระหว่างสองตำ แหน่ ง นั้น ในชีวิตประจำ วัน สถานี วิทยุจะ
ส่งสารสนเทศจาก สถานี สง่ ไปยังผูร้ บ ั โดยการผสม
สัญญาณไฟฟ้ าที่แปลงจากเสียงหรือภาพกับสัญญาณ
คลื่นวิทยุซงสามารถ
ึ่ ผสมสัญญาณได ้2 แบบ คือ แบบเอ
เอ็มและแบบเอฟเอ็ม แล ้วส่งสัญญาณคลื่นผสมเป็ น
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า จากสถานี สง่ ไปยังผูร้ บ ั รายละเอียดจะ
กล่าวถึงในหัวข ้อ 18.5 การสื่อสารโดยอาศัย
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
• ไมโครเวฟ (microwaves) เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่อยู่ในช่วง
109 ถึง 1011 เฮิรตซ ์ และความยาวคลื่นอยู่ในระดับ มิลลิเมตร จนถึง

เซนติเมตร มีสมบัติทะลุผ่านชันบรรยากาศได ้ดีกว่าคลื่นวิทยุ มีการนำ
ไมโครเวฟมาใช ้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น • การ ทำ ให ้อาหารร ้อน
ด ้วยเตาไมโครเวฟ กล่าวคือ ไมโครเวฟทำ ให ้อาหารร ้อนขึนได ้ ้
เนื่ องจากทำ ให ้โมเลกุลของน้ำ สันจนเกิ
่ ดความร ้อน เตาไมโครเวฟจะใช ้
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ที่มีความถี่ประมาณ 2.45 จิกะเฮิรตซ ์ • การส่ง
สัญญาณเสียงและภาพ โดยการส่งสัญญาณดังกล่าวเป็ นการผสม
สัญญาณแบบ เอฟเอ็ม และไมโครเวฟยังใช ้ในการส่งสัญญาณระยะไกล
โดยการส่งสัญญาณจากเครื่องส่ง ไปยังดาวเทียม จากนั้นดาวเทียมจะส่ง
สัญญาณต่อไปยังเครื่องรับที่อยู่ไกลออกไป
• • เรดาร ์(RADAR หรือ radio detection and ranging) เป็ นระบบที่
นำ ไปใช ้ระบุ ตำ แหน่ งและอัตราเร็วของวัตถุเช่น พายุเครื่องบิน หรือ
การตรวจจับความเร็วรถบน ท ้องถนนโดยตำ รวจจราจร นอกจากนี ้
ไมโครเวฟยังนำ ไปประยุกต ์ใช ้ในการระบุตำ แหน่ งบนพืนโลก ้
• รังสีใต ้แดงหรือรังสีอินฟราเรด (infrared) เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มี
ความถี่อยู่ในช่วง 1011 ถึง 1014 เฮิรตซ ์หรือความยาวคลื่นในระดับ
ไมโครเมตรจนถึงระดับมิลลิเมตร รังสีอินฟราเรดมีสมบัติ ผ่านชนบรรยากาศ ั้
ได ้ดีและยังสามารถผ่านเมฆหมอกที่หนาทึบเกินกว่าที่แสงธรรมดาจะผ่านได ้
ประสาท สัมผัสทางผิวหนังของมนุ ษย ์สามารถรับรู ้รังสีอินฟราเรด ที่มี
ความยาวคลื่นบางช่วงได ้โดยปกติวต ั ถุตา่ ง ๆ จะ แผ่รงั สีอินฟราเรดตลอด
เวลา จึงมีการพัฒนากล ้องที่ อาศัยรังสีอินฟราเรดในการถ่ายภาพ ซึงภาพ ่
ที่ถ่ายได ้ จากกล ้องนี จะแสดงอุ
้ ณหภูมิของวัตถุได ้ดังรูป 18.6 นอกจากนี ้

รังสีอินฟราเรดยังถูกนำ มาใช ้ในการถ่ายภาพพืนโลกจากดาวเที ยมสำ รวจ
ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อศึกษาการแปรสภาพของป่ าไม้หรือการอพยพ
เคลื่อนย ้ายของฝูงสัตว ์เนื่ องจาก รังสีอินฟาเรด สามารถทะลุผ่านเมฆหมอก
ได ้ดีกว่าแสง อุปกรณ์บางชนิ ดในชีวิตประจำ วัน มีการนำ รังสีอินฟาเร
ดมาประยุกต ์ใช ้งานในระบบควบคุม การทำงานของอุปกรณ์ที่เรียกว่า รีโมท
คอนโทรลเลอร ์ (remote controller) หรือ รีโมท เช่น รีโมทโทรทัศน์
รีโมทเครื่องปรับอากาศ โดยรายละเอียดหลักการประยุกต ์จะกล่าวถึงใน
หัวข ้อ 18.4 การประยุกต ์ใช ้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
• รังสีอินฟราเรดสามารถแบ่งตามความยาวคลื่นโดยเทียบกับ
ความยาวคลื่นของแสงที่ ตามองเห็น ได ้เป็ น 3 ชนิ ดดังนี ้ 1. รังสี
อินฟราเรดใกล ้ (near infrared) มีความยาวคลื่นในช่วง 0.7 ถึง
1.5 ไมโครเมตร เป็ นรังสีอินฟราเรดช่วงที่มีพลังงานสูงที่สุด จึงถูก
นำ ไปใช ้ในอุตสาหกรรมที่ต ้องการ ความร ้อนสูงเช่น การอบสีกา
รอบแห ้งผลิตภัณฑ ์ 2. รังสีอินฟราเรดปานกลาง (medium
infrared) มีความยาวคลื่นในช่วง 1.5 ถึง 4.0 ไมโครเมตร ซึง่
ถูกนำ ไปใช ้ในการสื่อสารด ้วยเส ้นใยนำ แสง 3. รังสีอินฟราเรด
ไกล (far infrared) มีความยาวคลื่นในช่วง 4.0 ถึง 1000
ไมโครเมตร เป็ นรังสีอินฟราเรดช่วงที่มีพลังงานต่ำ ที่สุด ซึงรั
่ งสีใน
ช่วงความยาวคลื่นนี ถู
้ กนำ ไปใช ้การ สร ้างอุปกรณ์ให ้ความร ้อน
เช่น ตู ้อบซาวน่ าระบบอินฟราเรด
•ประโยชน์ ของคลืน
่ แม่ เหล็กไฟฟ้า 
• 1.ประโยชน์ ของคลืน
่ วิทยุ
•    การสื่ อสารถือว่ าเป็ นสิ่ งสำคัญมากสำหรั บมนุษย์ เรา เรามีการติดต่ อ
สื่ อสารกันหลายลักษณะนอกเหนือจากการพูดคุยกัน การใช้ วทิ ยุ
โทรทัศน์ โทรศัพท์ มอื ถือ เป็ นปัจจัยสำคัญสำหรับมนุษย์ ทจี่ ะรับทราบ
ความเป็ นไปต่ าง ๆซึ่งอุปกรณ์ เหล่านีจ้ ะทำงานได้ ต้องอาศัย
คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้าทีเ่ รียกว่ า คลืน่ วิทยุ
     
• 2.ประโยชน์ ของคลืน
่ ไมโครเวฟ
          ได้ มกี ารนำคลืน่ ไมโครเวฟมาใช้ เพือ่ ตรวจหาตำแหน่ ง โดย
ในช่ วงความยาวคลืน่ ประมาณ 0.5 cm.- 1 m. เป็ นเรดาร์ จับวัตถุที่
เคลือ่ นไหว เช่ น วัตถุหรือเครื่องบินในอากาศ เป็ นต้ น ใช้ เป็ นแหล่ ง
กำเนิดความร้ อน เช่ น ทำให้ อาหารสุ กโดยใช้ เตาไมโครเวฟ เป็ นต้ น
• 3.ประโยชน์ของรังสีอินฟาเรต
           มีการนำคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าในช่วงรังสีอินฟาเรต มาใช ้ประโยชน์ใน
การค ้นหาสัตว ์ป่ าในที่มืดเพื่อการศึกษา ใช ้ในการถ่ายรูปในช่วงที่มีเมฆ หมอก
หนาทึบหรือทัศนวิสยั ไม่ดี ใช ้อบอาหารในเตาที่ใช ้รังสีอินฟาเรต ใช ้ใน
อุตสาหกรรมอบสี ใช ้ในการรักษาโรคผิวหนังบางชนิ ด

4.ประโยชน์ของรังสีอ ัลตาไวโอเลต
            การรับรังสีอลั ตาไวโอเลตในปริมาณที่ไม่มากจนเป็ นอันตราย จะ
ทำให ้เกิดประโยชน์ตอ
่ ร่างกายมนุ ษย ์ ในการช่วยสร ้างวิตามินดี แต่การรับใน
ปริมาณที่มากเกินไปจะเป็ นสาเหตุของการเกิดมะเร็งที่ผิวหนังได ้ การนำรังสีอลั ตาไว
โอเลตมาใช ้ประโยชน์ในด ้านอื่นๆ มีหลายประการ เช่น การใช ้รังสีอลั ตาไวโอเลต

ในการแพทย ์โดยใช ้ฆ่าเชือโรค ทำความสะอาดเครื่องมือแพทย ์ ใช ้รักษาอาการตัว
เหลืองในเด็กทารก ใช ้ในอุตสาหกรรมผลิตอาหารโดยนำรังสีอลั ตาไวโอเลตมาใช ้

ฆ่าเชือโรค
• 5.ประโยชน์ของรังสีเอกซ ์
             รังสีเอกซ ์เป็ นคลื่่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีอำนาจทะลุผ่าน
สูงจึงสามารถนำมาใช ้ประโยชน์ได ้หลายด ้าน
- ใช ้ตรวจสอบรอยร ้าวของส่วนประกอบสิ่งก่อสร ้าง
- ใช ้ตรวจหาอาวุธหรือระเบิดในกระเป๋ าเดินทางบริเวณด่านตรวจ
คนเข ้าเมือง
- ใช ้ตรวจดูอวัยวะภายในและใช ้รักษาโรคมะเร็งหรือใช ้ในการ
ศึกษาการจัดเรียงตัวของอะตอมในผลึก
• 6.ประโยชน์ ของรังสี แกมมา
             คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้ าทีม่ อี นั ตรายมากทีส่ ุ ดคือรังสี แกมมา เนื่องจากเป็ นคลืน่ ที่
มีพลังงานมากทีส่ ุ ดจึงสามารถทำลุ ทะลวงสิ่ งต่ าง ๆได้ ดแี ต่ เราก็สามารถนำมาใช้
ประโยชน์ ในทางการแพทย์ ได้ เช่ น
- การใช้ รังสี แกมมาจากการสลายตัวของโคบอลต์ - 60 เพือ่ รักษาโรคมะเร็ง
- การใช้ รังสี แกมมาจากการสลายตัวของไอโอดีน -1-3-1 เพือ่ รักษาโรคคอพอก
- นำไปใช้ ในการตรวจสอบรอยรั่วและรอยร้ าวของเครื่องใช้ ทที่ ำจากโลหะ
- ใช้ ในการศึกษาการดูดซึมของแร่ ธาตุของรากพืชและการสั งเคราะห์ แสง
- ใช้ ในการรักษาโรคพืชบางชนิด
-ใช้ เปลีย่ นแปลงพันธุ์พชื
- ใช้ ฉายลงบนผลการเกษตรบางชนิดเพือ่ ให้ เก็บรักษาผลผลิตไว้ ได้ เป็ นเวลานาน
รังสี แกมมา

You might also like