You are on page 1of 22

บทที่ 8

คลื่นและคลื่นเสียง
คลื่นที่นักศึกษาจะไดเรียนในบทนี้คือคลื่นกล ซึ่งเปนคลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ สิ่งที่
คลื่นนําไปดวยพรอมกับการเคลื่อนที่คือพลังงาน พลังงานเคลื่อนที่ผานตัวกลางตาง ๆ จะมีปริมาณตาง ๆ กัน
ไปในแตละกรณี เชน พลังงานของคลื่นในทะเลขณะที่พายุจะมีคามากกวาพลังงานที่เกิดจากคลื่นเสียงที่เรา
ตะโกนออกไป
8.1 ชนิดของคลื่น
เราสามารถแบงคลื่นออกเปน 2 ชนิดเมื่อพิจารณาจากลักษณะการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลางขณะ
คลื่นเคลื่อนที่ผาน คือ คลื่นตามยาว และ คลื่นตามขวาง
คลื่นตามยาว เปนคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น ตัวอยางคลื่น
ตามยาว เชน คลื่นในสปริง คลื่นเสียง เปนตน

รูปที่ 8.1 คลื่นตามยาวในสปริง

คลื่นตามขวาง เปนคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวตั้งฉากกับแนวการเคลื่อนที่ของคลื่น
ตัวอยางคลื่นตามขวาง เชน คลื่นในเสนเชือก เปนตน

รูปที่ 8.2 คลื่นตามขวางในสปริง

เมื่อพิจารณาลักษณะของการทําใหเกิดคลื่น เราอาจแบงคลื่นออกเปนคลื่นดลและคลื่น
ตอเนื่อง โดยคลื่นที่เกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดคลื่นในชวงเวลาสั้น ๆ หรือการไปรบกวนแหลงกําเนิด
คลื่นเพียงครั้งเดียว เรียกคลื่นนี้วา คลื่นดล และถาแหลงกําเนิดคลื่นสั่นตอเนื่องหรือการรบกวนแหลงกําเนิด
คลื่นอยางตอเนื่อง เรียกคลื่นที่เกิดขึ้นวา คลื่นตอเนื่อง
ฟสิกสเบื้องตน 78

8.2 สวนประกอบของคลื่น
เมื่อพิจารณาสวนประกอบของคลื่น จะเห็นลักษณะทางกายภาพที่สําคัญของคลื่น 3 ประการ คือ
ความยาวคลื่น ความถี่และอัตราเร็วของคลื่น นอกจากนี้คลื่นยังมีองคประกอบอื่น ๆ อีก ดังตอไปนี้

รูปที่ 8.3 สวนประกอบของคลื่น

ความยาวคลื่น หมายถึงระยะที่นอยที่สุดระหวางจุด 2 จุดบนคลื่นที่มีลักษณะการเคลื่อนที่


เหมือนกันทุกประการ เราใชสัญลักษณ λ แทนความยาวคลื่น มีหนวยเปน เมตร
ความถี่ของคลื่น หมายถึงจํานวนคลื่นที่ผานจุด ๆ หนึ่ง ในหนึ่งหนวยเวลาหรือจํานวนรอบที่
แหลงกําเนิดคลื่นหรือตัวกลางสั่นไดในหนึ่งหนวยเวลา ใชสัญลักษณ f มีหนวยเปนรอบตอวินาที หรือ
เฮิรตซ (Hz)
คาบของคลื่น หมายถึงชวงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ได 1 ความยาวคลื่น หรือเวลาที่แหลงกําเนิดคลื่น
หรือตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผานครบ 1 รอบ ใชสัญลักษณ T มีหนวยเปนวินาที
แอมพลิจูด หมายถึงขนาดของการกระจัดสูงสุดของอนุภาคของตัวกลางที่คลื่นผานจากตําแหนง
สมดุลเดิม ใชสัญลักษณ A มีหนวยเปน เมตร
อัตราเร็วคลื่น หมายถึงระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ไดใน 1 หนวยเวลา ใชสัญลักษณ v มีหนวยเปน
เมตร/วินาที
8.2.1 ความสัมพันธระหวางความถี่และคาบของคลืน่
เมื่อพิจารณาจากความหมายของคาบและความถี่ของคลื่น จะไดความสัมพันธดังนี้
1
T= (8.1)
f
เนื่องจากในเวลา T วินาที คลื่นเคลื่อนที่ไดระยะทาง λ เมตร
ระยะทาง
ดังนั้นจาก อัตราเร็ว =
เวลา
ดังนั้น v = fλ (8.2)

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 79

ตัวอยางที่ 8.1 คลื่นตอเนื่องขบวนหนึ่งมีความถี่ 90 เฮิรตซ ขณะเวลาหนึ่งมีลักษณะดังรูป ถาแกน x และ


แกน y แทนระยะทางในหนวยเซนติเมตร จงหาแอมพลิจูด ความยาวคลื่น คาบ อัตราเร็วของคลื่น ตามลําดับ

วิธีทํา
จากรูปวัดคาแอมพลิจูดของคลื่นไดเทากับ 1 เซนติเมตร คาความยาวคลื่นได 2 เซนติเมตร
หาคาบของคลื่น
1
T =
f
1
แทนคา T =
90
= 0.011 s
ดังนั้นคาบของคลื่นเทากับ 0.011 วินาที
หาอัตราเร็วของคลื่น
v = fλ
แทนคา v = (90)(2 × 10-2)
= 1.8 m/s
คําตอบ อัตราเร็วของคลื่นมีคาเทากับ 1.8 เมตรตอวินาที

8.2.2 เฟสของคลื่น
เฟสของคลื่นเปนการบอกตําแหนงตาง ๆ บนคลื่น โดยบอกเปนมุมในหนวยองศาหรือเรเดียน
ลักษณะของคลื่นสามารถนํามาเขียนในรูปของคลื่นรูปไซนได ดังนั้นตําแหนงตาง ๆ บนคลื่นรูปไซนจึงระบุ
ตําแหนงเปนมุมในหนวยองศาหรือเรเดียนได ซึ่งมุม 1 เรเดียนเทียบไดเทากับ 57.3 องศา มุม 360 องศา
เทียบไดเทากับ 2π เรเดียน

รูปที่ 8.4 ความสัมพันธระหวางมุมเรเดียนกับองศา

เราสามารถเปรียบเทียบลักษณะการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง ณ 2 ตําแหนงขณะคลื่นขบวนหนึ่ง
เคลื่อนที่ผานไดวา 2 ตําแหนงนั้น มีเฟสตรงกันหรือเฟสตรงขามกันได

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 80

รูปที่ 8.5 ตําแหนงตาง ๆ บนคลื่นรูปไซน

พิจารณารูปที่ 8.5 จะเห็นวาจุด A กับจุด B อยูหางกัน 1 ความยาวคลื่น มีเฟสตางกัน 360 องศา


หรือ 2π เรเดียน เรากลาวไดวาจุด A และ จุด B มีเฟสตรงกัน สําหรับจุด A กับจุด C อยูหางกัน 2 เทาของ
ความยาวคลื่น มีเฟสตางกัน 720 องศาหรือ 4π เรเดียน จุด A กับจุด C ก็มีเฟสตรงกัน
เมื่อพิจารณาจุด A กับจุด X อยูหางกัน λ/2 มีเฟสตางกัน 180 องศาหรือ π เรเดียน สําหรับจุด A
กับจุด Y อยูหางกัน 3λ/2 มีเฟสตางกัน 540 องศาหรือ 3π เรเดียน เราเรียกวาจุด A มีเฟสตรงขามกับจุด X
และจุด A ก็มีเฟสตรงขามกับจุด Y
ดังนั้นสรุปไดวา จุดสองจุดที่อยูหางกัน λ, 2λ , 3λ , ........... จะมีเฟสตรงกัน สําหรับจุดสองจุดที่
อยูหางกัน λ/2 , 3λ/2 , 5λ/2 , ........... จะมีเฟสตางกัน
8.3 สมบัติของคลื่น
คลื่นมีสมบัติ 4 ประการไดแก การสะทอน การหักเห การเลี้ยวเบน และการแทรกสอด
8.3.1 การสะทอนของคลื่น
คุณสมบัติประการหนึ่งของคลื่น คือ การสะทอน ลักษณะการสะทอนเปนไปตามสภาพของคลื่น
การสะทอนเกิดจากคลื่นเคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวางแลวเคลื่อนที่กลับมาในตัวกลางเดิมในการสะทอนของ
คลื่น รังสีตกกระทบ เสนปกติ และรังสีสะทอน อยูในระนาบเดียวกัน โดย
มุมตกกระทบ ( θ i ) = มุมสะทอน ( θ r )

เสนปกติ
รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน

θi θ r
หนาคลื่นตกกระทบ หนาคลื่นสะทอน

รูปที่ 8.6 การเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบและคลื่นสะทอน

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 81

8.3.2 การหักเหของคลื่น
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานเขาไปในตัวกลางที่เปลี่ยนไปจากเดิม ความเร็ว และความยาวคลื่นจะ
เปลี่ยนไป มีผลทําใหทิศการเคลื่อนที่เบนไปจากแนวเดิม ปรากฏการณนี้เรียกวา “การหักเห”

รั ง สี เสนปกติ รั ง สี หั ก เห เสนปกติ
λ1 λ2

ตั ว กลางที่ 1 ตั ว กลางที่ 2
(โปรง) (โปรง)
θ1 θ2
หนาคลื่ น หนาคลื่ น

λ2 λ1
θ2 θ1
ตั ว กลางที่ 2 หนาคลื่ น ตั ว กลางที่ 1 หนาคลื่ น
(ทึ บ ) (ทึ บ )
รั ง สี หั ก เห รั ง สี

(ก) (ข)
รูปที่ 8.7 (ก) คลื่นเดินทางจากตัวกลางที่โปรงไปยังตัวกลางที่ทึบกวา
(ข) คลื่นเดินทางจากตัวกลางที่ทึบไปยังตัวกลางที่โปรงกวา
จากรูปที่ 8.7 (ก) เมื่อคลื่นเดินทางจากตัวกลางที่โปรงเขาไปยังตัวกลางที่ทึบ คลื่นเบนเขาหาเสน
ปกติ ความเร็ว และความยาวคลื่นหักเหในตัวกลางที่ 2 มีคาลดลง ในกรณีกลับกัน จากรูปที่ 8.7 (ข) เมื่อคลื่น
เดินทางจากตัวกลางที่ทึบเขาไปยังตัวกลางที่โปรง คลื่นเบนออกจาก เสนปกติ ความเร็ว และความยาวคลื่น
หักเหในตัวกลางที่ 2 มีคาเพิ่มขึ้น
นิยามให “ดัชนีหักเห (n)” หมายถึง อัตราสวนระหวางความเร็วของแสงในสุญญากาศ (c) ตอ
ความเร็วของแสงในตัวกลางใด ๆ (v) ดังนั้น
c
ดัชนีหักเหของตัวกลางที่ 1 คือ n 1 =
v1
c
ดัชนีหักเหของตัวกลางที่ 2 คือ n 2 =
v2
n1 v 2
ดังนั้น = (8.3)
n 2 v1

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 82

ตัวกลางที่ 1 จากรูปที่ 8.8 ไดความสัมพันธดังนี้


(โปรง) λ
เสนปกติ sin θ1 = 1
รังสี AB
หนาคลื่น
λ λ2
θ

1
sin θ 2 =
AB
1

1
θ2 B
λ2 ดังนั้น
θ2
หนาคลื่น
รังสีหักเห sin θ1 λ 1
=
ตัวกลางที่ 2 sin θ 2 λ 2
(ทึบ)

รูปที่ 8.8 ภาพขยายของรูปที่ 8.7 (ก)


v
เนื่องจากรังสีหักเหและรังสีตกกระทบมีความถี่เทากัน ดังนั้น f = f1 = f 2 และจาก λ=
f

ดังนั้น สมการดานบนเปน
sin θ1 v 1 n 2
= =
sin θ 2 v 2 n 1
สมการที่ไดเรียกวา “กฎของสเนลล” มีความสัมพันธ ดังนี้
sin θ1 λ 1 v 1 n 2
= = = (8.4)
sin θ 2 λ 2 v 2 n 1
ที่นาสนใจอีกประการหนึ่งก็คือกรณีของรูปที่ 7.7 (ข) มีความเปนไปไดวา ถา θ1 มีมุมที่เหมาะสมจน
ทําให θ2 มีมุมเทากับ 90o คลื่นหักเหจะเกิดการสะทอนกลับหมด ในกรณีนี้เรียก θ1 วา “มุมวิกฤติ” ใช
สัญลักษณเปน θc พิจารณาจากกฎของสเนลล ดังนี้
sin θ1 λ 1 v 1 n 2
= = =
sin 90 o λ 2 v 2 n 1
หรือ
⎛n ⎞
θ1 = sin −1 ⎜⎜ 2 ⎟⎟
⎝ n1 ⎠
ดังนั้น มุมวิกฤติ คือ
⎛n ⎞
θ c = sin −1 ⎜⎜ 2 ⎟⎟ (8.5)
⎝ n1 ⎠

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 83

ตัวอยางที่ 8.2 คลื่นผิวน้ํามีความถี่ 12 เฮิรตซ เคลื่อนที่จากบริเวณน้ําลึกเขาสูบริเวณน้ําตื้น ดวยความเร็ว


0.18 เมตรตอวินาที โดยหนาคลื่นตกกระทบทํามุม 45 องศา กับเสนรอยตอน้ําลึกกับน้ําตื้น
ก) เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานเสนรอยตอน้ําลึกกับน้ําตื้น มุมหักเหเปนเทาใด กําหนดความยาวคลื่นใน
น้ําตื้นเทากับ 1.0 เซนติเมตร
ข) ความถี่ของคลื่นในน้ําตื้นเทากับกี่เฮิรตซ
วิธีทํา ก) จากสิ่งที่โจทยกําหนดให สามารถหาความยาวคลื่นบริเวณน้ําลึกได
จาก v = fλ
v
ดังนั้น λ =
f
0.18
=
12
= 1.5 × 10 −2 m
sin θ1 λ1
หามุมหักเห θ2 จาก =
sin θ2 λ2
sin45 1.5 × 10−2
แทนคา =
sin θ2 1.0 × 10−2
sin θ2 = 0.471
θ2 ≈ 28
∴ มุกหักเหมีคาประมาณ 28 องศา
ข) ความถี่บริเวณน้ําตื้นเทากับ 12 เฮิรตซ เนื่องจากเปนแหลงกําเนิดคลื่นเดียวกัน

8.3.3 การแทรกสอดของคลื่น
เมื่อคลื่นตอเนื่องจากแหงกําเนิดคลื่นสองแหลงเดินทางมาพบกันจะเกิดการซอนทับของคลื่นเรียก
ปรากฏการณนี้วา การแทรกสอดของคลื่น เพื่อใหการพิจารณางายขึ้น สมมติวามีคลื่นเพียง 2 ขบวนเขามาอยู
ในบริเวณเดียวกัน โดยคลื่นทั้งสองมีความถี่เทากัน และมีเฟสตรงกันหรือเฟสตางกันคงที่ การทําใหคลื่นสอง
ขบวนมีความถี่และเฟสเทากันทําไดโดยใหคลื่นทั้งสองเกิดจากแหลงกําเนิดอาพันธ (coherent source) การ
แทรกสอดของคลื่นที่เสริมกันจนมีแอมปลิจูดมากสุด เรียกวา “ปฏิบัพ” (antinode) ถาคลื่นหักลางกันจนมีแอม
ปลิจูดต่ําสุดหรือเปน 0 เรียกวา “บัพ” (node) ลักษณะการแทรกสอดจะเปนไปตามรูปที่ 8.9

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 84

ปฎิบัพที่ยอดคลื่น
ปฎิบัพที่ทองคลื่น
บัพ
ทองคลื่น ทองคลื่น

S1 S2
ยอดคลื่น ยอดคลื่น
แหลงกําเนิดอาพันธ

รูปที่ 8.9 การแทรกสอดของคลื่นน้ําที่เกิดจากแหลงกําเนิดอาพันธ 2 แหลง คือ S1 และ S2

8.3.4 การเลี้ยวเบนของคลื่น
คลื่ น มี ลั ก ษณะพิ เ ศษประการหนึ่ ง คื อ ทุ ก จุ ด บนหนาคลื่ น ถื อ ใหเปนตนกํ า เนิ ด คลื่ น ใหมได
ปรากฏการณนี้เรียกวา “หลักของฮอยเกนส” ถาคลื่นเคลื่อนที่ผานสิ่งกีดขวาง คลื่นสวนที่กระทบสิ่งกีดขวางจะ
สะทอนกลับ สวนคลื่นที่ผานไปไดจะแผจากขอบของสิ่งกีดขวางไปจนถึงดานหลังสิ่งกีดขวาง ปรากฏการณนี้
เรียกวา “การเลี้ยวเบน” คลื่นเลี้ยวเบนยังคงมีความยาวคลื่น ความถี่ และอัตราเร็วเทาเดิม

คลื่นเลี้ยวเบน

สิง่ กีดขวาง
รูปที่ 8.10 คลื่นเลี้ยวเบนออกจากสลิตเดี่ยว

8.4 ธรรมชาติของเสียง
ชีวิตประจําวันเราจะไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงตาง ๆ อยูตลอดเวลา การไดยินเสียงของเรา
เกิดจากหูไดรับพลังงานจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียงผานโมเลกุลของอากาศ ลักษณะการเคลื่อนที่ของ
โมเลกุลของอากาศจะอยูในรูปของคลื่นตามยาว มีผลทําใหความดันของอากาศบริเวณที่มีการถายทอด
พลังงานมีคาเปลี่ยนแปลงไปจากความดันปกติ บริเวณที่มีความดันมากกวาปกติเราเรียกวา สวนอัด สวน
บริเวณที่มีความดันนอยกวาปกติเราเรียกวา สวนขยาย

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 85

8.5 การเคลื่อนที่ของเสียงผานตัวกลาง
เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ผานตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง ความถี่ของคลื่นเสียงจะมีคาคงตัว
เทากับความถี่ของแหลงกําเนิดเสียง สวนอัตราเร็วของเสียงในตัวกลางหนึ่ง ๆ จะคงตัว เมื่ออุณหภูมิของ
ตัวกลางนั้นคงตัว ดังแสดงในตารางตอไปนี้

ตารางที่ 8.1 แสดงอัตราเร็วของเสียงที่ตัวกลางตาง ๆ ที่อุณหภูมิตาง ๆ


ตัวกลาง อัตราเร็ว (เมตร / วินาที)
แกส
อากาศ (0o C) 331
อากาศ (20o C) 343
ไฮโดรเจน (0o C) 1286
ออกซิเจน (0o C) 317
ฮีเลียม (0o C) 972
ของเหลว (25o C)
น้ํา 1493
เมทิลแอลกอฮอล 1143
น้ําทะเล 1533
ของแข็ง
อะลูมิเนียม 5100
ทองแดง 3560
เหล็ก 5130
ตะกั่ว 1322

จากอัตราเร็วของเสียงในอากาศพบวา อัตราเร็วของเสียงมีความสัมพันธกับอุณหภูมิของอากาศ โดย


เปนไปตามสมการ
vt = 331 + 0.6t (8.6)
เมื่อ vt เปนอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ t ใด ๆ มีหนวยเปน เมตร/วินาที
t เปนอุณหภูมิของอากาศมีหนวยเปนองศาเซลเซียส

ตัวอยางที่ 8.3 คนงานซอมทางรถไฟเคาะรางรถไฟ ปรากฏวาผูที่อยูหางออกไประยะหนึ่ง ไดยินเสียงเมื่อ


เวลาผานไป 2.0 วินาที ถาผูฟงแนบหูกับรางรถไฟ เขาจะไดยินเสียงกอนหรือหลังกวานี้เทาใด และเขาอยูหาง
จากคนงานรถไฟเปนระยะทางเทาใด
กําหนดให อุณหภูมิขณะนั้นเทากับ 15 oC และอัตราเร็วของเสียงในเหล็กเทากับ 5130 เมตร/วินาที
วิธีทํา หาอัตราเร็วของเสียงในอากาศขณะอุณหภูมิ 15 oC
จากสูตร vt = 331 + 0.6t
ดังนั้น vt = 331 + 0.6 (15)
= 340 m/s

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 86

หาระยะหางจากผูสังเกตถึงคนงาน
ระยะทาง
จาก อัตราเร็ว =
เวลา
ระยะทาง = (340 m/s)(2 s)
= 680 m
ดังนั้นระยะหางจากผูสังเกตถึงคนงานเทากับ 680 เมตร
หาเวลาที่เสียงใชในการเคลื่อนที่ในรางรถไฟ
ระยะทาง
จาก อัตราเร็ว =
เวลา
680 m
เวลา = = 0.13 s
5130 m / s
ถาเราแนบหูกับรางรถไฟจะไดยินเสียงเร็วกวาเสียงผานอากาศ = 2 – 0.13 = 1.87 วินาที

8.6 สมบัติของเสียง
ถาเราตะโกนภายในหองประชุมใหญ ๆ จะไดยินเสียงที่ตะโกนออกไปสะทอนกลับ เพราะเสียงที่
ตะโกนไปกระทบผนังหอง เพดาน และพื้นหอง แลวเกิดการสะทอนกลับมา ทําใหเราไดยินเสียงอีกครั้งหนึ่ง
แสดงวาเสียงมีสมบัติการสะทอน ซึ่งเปนสมบัติที่สําคัญของคลื่น
ปกติเสียงที่ผานไปยังสมองจะติดประสาทหูประมาณ 1/10 วินาที ดังนั้นเสียงที่สะทอนกลับมาสูหูชา
กวาเสียงที่ตะโกนออกไปเกิน 1/10 วินาที หูสามารถแยกเสียงตะโกนและเสียงที่สะทอนกลับมาได เสียง
สะทอนเชนนี้เรียกวา เสียงสะทอนกลับ (echo)
จากสมบัติของเสียงดังกลาว นักฟสิกสไดนํามาสรางเครื่องมือที่เรียกวาโซนาร ซึ่งใชหาตําแหนงของ
สิ่งที่อยูใตทะเล โดยสงคลื่นดลของเสียงที่มีความถี่สูงจากใตทองเรือ เมื่อกระทบสิ่งกีดขวาง เชน หินโสโครก
ฝูงปลา หรือเรือใตน้ํา ที่มีขนาดใหญกวาหรือเทากับความยาวคลื่นเสียง ก็เกิดการสะทอนของเสียงกลับมายัง
เครื่องรับบนเรือ จากชวงเวลาที่สงคลื่นเสียงออกไปและรับคลื่นสะทอนกลับมา ใชคํานวณหาระยะทางระหวาง
ตําแหนงของเรือกับสิ่งกีดขวางได

ตัวอยางที่ 8.4 เรือลําหนึ่งจอดอยูในหมูเกาะที่มีหนาผาสูง เมื่อเปดหวูดคนในเรือไดยินเสียงภายหลังเปดหวูด


1 นาที ถามวาเรืออยูหางจากหนาผากี่เมตร (ถาความเร็วเสียงเทากับ 335 เมตร/วินาที)
1
วิธีทํา ระยะหางจากเรือถึงหนาผา = ความเร็วของเสียง × เวลาที่เสียงเดินทางไปกลับ
2
1
= 335 m/s × × 60 s
2
= 10,050 m
คําตอบ เรื่ออยูหางจากหนาผา 10,050 เมตร

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 87

เมื่อคลื่นเสียงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งผานเขาไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง จะเกิดการหักเห ตัวอยางการ


หักเหของเสียงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งอาจสังเกตเห็นได เชน การเห็นฟาแลบแตไมไดยินเสียงฟารอง ทั้งนี้
เนื่องจากคลื่นเสียงเคลื่อนที่ผานอากาศรอนไดเร็วกวาอากาศเย็น ซึ่งเราทราบแลววาชั้นของอากาศเหนือ
พื้นดินมีอุณหภูมิไมเทากัน ยิ่งสูงขึ้นไปอุณหภูมิของอากาศยิ่งลดลง ดังนั้นในที่สูง ๆ จากพื้นผิวโลก อัตราเร็ว
ของเสียงจึงนอยกวาบริเวณใกลผิวโลก ขณะที่เกิดฟาแลบและฟารองในตอนกลางวันคลื่นเสียงจะเคลื่อนที่จาก
อากาศตอนบนซึ่งเย็นกวามาสูอากาศบริเวณใกลพื้นดินซึ่งรอนกวา ทําใหเกิดการหักเหของเสียงฟารองกลับ
ขึ้นไปในอากาศตอนบน ถาเสียงเกิดการหักเหกลับขึ้นไปทั้งหมด เราจะเห็นฟาแลบแตไมไดยินเสียงฟารอง
ปรากฏการณขางตนนี้แสดงวา เสียงมีสมบัติการหักเห
นอกจากนี้แลวเสียงยังมีสมบัติการเลี้ยวเบน ในชีวิตประจําวันเราจะพบการเลี้ยวเบนของเสียง เชน
การไดยินเสียงที่มุมตึก เปนตน
8.7 คลื่นนิ่ง
คลื่นนิ่งเปนปรากฏการณการแทรกสอดที่เกิดจากการซอนทับระหวางคลื่นสองขบวนซึ่งเคลื่อนที่
สวนทางกันโดยที่คลื่นทั้งสองมีความถี่ ความยาวคลื่น และแอมพลิจูดเทากัน สําหรับกรณีคลื่นเสียงสามารถ
เกิดคลื่นนิ่งได โดยสามารถศึกษาไดจากกการนําเอาลําโพงมาวางไวเหนือพื้นโตะ และใชทอรับฟงเสียง ณ
ตําแหนงตาง ๆ ตามแนวดิ่งระหวางลําโพงกับพื้นโตะ ขณะที่เสียงจากลําโพงเคลื่อนที่ไปกระทบพื้นโตะจะเกิด
การสะทอน และเสียงที่สะทอนจากพื้นโตะจะไปซอนทับกับคลื่นเสียงที่มาจากลําโพง ทําใหเกิดการแทรดสอด
มีลักษณะเปนคลื่นนิ่ง เมื่อฟงเสียง ณ ตําแหนงตาง ๆ จะไดยินเสียงดังและคอยสลับกัน ตําแหนงที่ไดยินเสียง
ดังแสดงวามีการแทรกสอดแบบเสริมเรียกตําแหนงนี้วา ปฏิบัพ ซึ่งคือตําแหนง A ดังรูปที่ 8.11 และตําแหนงที่
ไดยินเสียงคอยแสดงวามีการแทรกสอดแบบหักลางเรียกตําแหนงนี้วา บัพ ซึ่งคือตําแหนง N ดังรูป 8.11

รูปที่ 8.11 คลื่นนิ่งของเสียง

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 88

8.8 การไดยิน
เสียงที่เราไดยินจะดังหรือคอยขึ้นอยูกับพลังงานของเสียงที่มาถึงผูฟง อัตราการถายโอนพลังงาน
เสียงของแหลงกําเนิด คือปริมาณพลังงานเสียงที่สงออกมาแหลงกําเนิดในหนึ่งหนวยเวลา ซึ่ง
เรียกวา กําลังเสียง มีหนวยเปนจูลตอวินาที หรือ วัตต ในกรณีที่ระยะทางเทากันผูฟงจะไดยินเสียงจาก
แหลงกําเนิดเสียงที่มีกําลังมากดังกวาแหลงกําเนิดเสียงที่มีกําลังนอย
8.8.1 ความเขมเสียง
เราอาจพิจารณาไดวาหนาคลื่นของเสียงที่ออกจากแหลงกําเนิดเสียงมีการแผหนาคลื่นออกเปน
รูปทรงกลม โดยมีจุดกําเนิดเสียงอยูที่จุดศูนยกลางของทรงกลม กําลังของคลื่นเสียงที่แหลงกําเนิดเสียง
สงออกไปตอหนึ่งหนวยพื้นที่ของหนาคลื่นทรงกลม เรียกวา ความเขมเสียง ถากําหนดใหกําลังเสียงจาก
แหลงกําเนิดเสียงมีคาคงตัว ความเขมเสียง ณ ตําแหนงตาง ๆ หาไดจาก
P
I = (8.7)
4 πR 2
เมื่อ I เปนความเขมเสียง ณ ตําแหนงตาง ๆ มีหนวยเปนวัตตตอตารางเมตร
P เปนกําลังเสียงของแหลงกําเนิดเสียงมีหนวยเปนวัตต
R เปนระยะระหวางแหลงกําเนิดเสียงกับตําแหนงที่จะหาความเขมเสียงมีหนวย
เปนเมตร
ถากําลังเสียงจากแหลงกําเนิดมีคาคงตัว สามารถสรุปไดวา
1
I ∝
R2

ตัวอยางที่ 8.5 เครื่องยนตเครื่องหนึ่งมีกําลังเสียง 100 วัตต ความเขมเสียงที่ระยะหาง 10 เมตรมีคาเทาใด


P
วิธีทํา จาก I =
4 πR 2
100 W
I = 22
4 × ×10 2 m 2
7
= 8 × 10-2 W/m2

คําตอบ ความเขมเสียงที่ระยะหาง 10 เมตรมีคาเทากับ 8 × 10-2 วัตตตอตารางเมตร

หูมนุษยสามารถตอบสนองความเขมเสียงต่ําสุดที่ 10-12 วัตตตอตารางเมตร ซึ่งจะไดยินเสียงคอย


ที่สุด และความเขมเสียงมากที่สุดที่หูมนุษยสามารถทนฟงไดมีคาความเขมเทากับ 1 วัตตตอตารางเมตร ซึ่ง
จะไดยินเสียงดังที่สุดอาจเปนอันตรายตอหูได

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 89

8.8.2 ระดับความเขมเสียง
การบอกความดังของเสียงนิยมบอกในรูปของระดับความเขมเสียง ในหนวยเดซิเบล (dB) โดยเสียง
คอยสุดที่หูมนุษยไดยินคือ 0 dB และเสียงดังสุดที่หูมนุษยสามารถทนฟงไดและอาจเปนอันตรายตอหูมีคา
เทากับ 120 dB
การวัดระดับความเขมเสียงจะใชเครื่องมือที่ชื่อวา Sound meter ซึ่งเปนเครื่องมือที่สามารถอาน
ระดับความเขมเสียงเปนเดซิเบลดังแสดงในรูปที่ 8.12

รูปที่ 8.12 ตัวอยางเครื่องวัดระดับความเขมเสียง (Sound meter)

ความสัมพันธระหวางความเขมเสียงและระดับความเขมเสียง
ความเขมเสียงและระดับความเขมเสียงมีความสัมพันธดังสมการ 8.8
⎛I⎞
L = 10 log ⎜⎜ ⎟⎟ (8.8)
⎝ I0 ⎠
เมื่อ I เปนความเขมเสียงที่ตองการวัด มีหนวยเปนวัตตตอตารางเมตร
I0 เปนความเขมเสียงที่คอยที่สุดที่มนุษยไดยิน มีหนวยเปนวัตตตอตารางเมตร
L เปนระดับความเขมเสียง มีหนวยเปน เดซิเบล

ตัวอยางที่ 8.6 เสียงมีความเขม 10-5 วัตตตอตารางเมตร จะมีระดับความเขมเสียงเทาใด


⎛I⎞
วิธีทํา จาก L = 10 log ⎜⎜ ⎟⎟
⎝ I0 ⎠
⎛ 10 −5 ⎞
= 10 log ⎜⎜ −12 ⎟⎟
⎝ 10 ⎠
= 10 log 107
= 70 dB
คําตอบ ระดับความเขมเสียงมีคา 70 เดซิเบล

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 90

8.8.3 ระดับเสียง
การไดยินเสียงของมนุษยนอกจากขึ้นอยูกับความเขมเสียงแลวยังขึ้นกับความถี่ของคลื่นเสียงอีก
ดวย ความถี่เสียงต่ําสุดที่มนุษยสามารถไดยินคือ 20 เฮิรตซ และความถี่สูงสุดที่สามารถไดยินคือ 20,000
เฮิรตซ เสียงที่มีความถี่ต่ํากวา 20 เฮิรตซ เราเรียกวาคลื่นใตเสียงหรือ อินฟราซาวด ซึ่งเกิดจากแหลงกําเนิด
เสียงขนาดใหญ เชนการสั่นสะเทือนของสิ่งกอสราง สวนเสียงที่มีความถี่สูงกวา 20,000 เฮิรตซ เราเรียกวา
คลื่นเหนือเสียงหรือ อัลตราซาวด นอกจากนี้แหลงกําเนิดเสียงตาง ๆ ก็ใหเสียงที่มีชวงที่มีความถี่ตางกัน
ออกไป ดังแสดงตอไปนี้

เสียงที่มีความถี่นอยคนทั่วไปเรียกวาเสียงทุม สวนเสียงที่มีความถี่สูงคนทั่วไปเรียกวาเสียงแหลม
การแบงระดับจะใชความถี่ในการแบง การแบงเสียงดนตรีทางวิทยาศาสตรแสดงดังตารางที่ 8.2

ตารางที่ 8.2 แสดงการแบงเสียงดนตรีทางวิทยาศาสตร


ระดับเสียงดนตรี C D E F G(ซอล) A B C/
(โด) (เร) (มี) (ฟา) (ลา) (ที) (โด)
ความถี่(Hz) 256 288 320 341 384 427 480 512

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 91

8.8.4 คุณภาพเสียง
ความถี่เสียงต่ําสุดที่ออกมาจากแหลงกําเนิดเสียงใด ๆ เรียกวา ความถี่มูลฐาน ของแหลงกําเนิด
เสียงนั้นหรือฮารมอนิกที่ 1 สําหรับความถี่อื่น ๆ ที่ออกมาพรอมกันแตมีความถี่เปนจํานวนเทาของความถี่มูล
ฐาน เชนเปน 2 เทาของความถี่มูลฐานเรียกวาฮารมอนิกที่ 2 บางทีเรียกวาโอเวอรโทนที่ 1 ในขณะที่
แหลงกําเนิดเสียงตาง ๆ สั่น จะใหเสียงซึ่งมีความถี่ความถี่มูลฐานและฮารมอนิกตาง ๆ ออกมาพรอมกัน
เสมอ แตจํานวนฮารมอนิกและความเขมเสียงของแตละฮารมอนิกสจะแตกตางกันออกไป จึงทําใหลักษณะ
คลื่นเสียงแตกตางกัน สําหรับแตละแหลงกําเนิดเสียงที่ตางกัน เรียกวามี คุณภาพเสียงตางกัน
8.8.5 มลภาวะของเสียง
บริเวณใดที่มีระดับความเขมเสียงที่ทําใหหูและสภาพจิตใจของผูฟงผิดปกติ ถือวาเสียงในบริเวณนั้น
เปน มลภาวะของเสียง กระทรวงมหาดไทยไดกําหนดมาตรฐานความเขมเสียงของสถานประกอบการเพื่อ
ไมใหเกิดอันตรายแกคนงานและผูที่อยูใกลเคียงดังตาราง
เวลาในการทํางาน ระดับความเขมเสียงที่ลูกจางไดรับติดตอกัน
(ชั่วโมงตอวัน) ไมเกิน (เดซิเบล)
นอยกวา 7 91
7-8 90
มากกวา 8 80

8.8.6 หูกับการไดยิน
หูแบงออกเปน 3 สวน คือ หูสวนนอก หูสวนกลาง หูสวนใน ดังรูป

รูปที่ 8.13 สวนประกอบของหู

ภายในหูสวนกลางจะมีทอเล็ก ๆ ติดกับหลอดลม ซึ่งจะทําหนาที่ปรับความดันอากาศทั้งสองดาน


ของเยื่อแกวหูใหเทากันตลอดเวลา ถาความดันทั้งสองขางของเยื่อแกวหูไมเทากันจะทําใหเกิดอาการหูอื้อ
หรือ ปวดหู
หูสวนในมีสวนสําคัญตอการรับฟงเสียง สวนที่เปนทอกลวงขดเปนรูปคลายหอยโขงเรียกวา คลอ
เคลีย ภายในทอนี้มีเซลขนอยูเปนจํานวนมากทําหนาที่รับรูการสั่นของคลื่นเสียงที่ผานมาจากหูสวนกลาง
พรอมทั้งสงสัญญาณการรับรูผานโสตประสาทไปยังสมอง สมองจะทําหนาที่แปลงสัญญาณที่ไดรับ ทําใหเรา
ทราบเกี่ยวกับเสียงที่ไดยิน

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 92

8.9 ปรากฏการณของเสียง
8.9.1 บีตส
บีตสเกิดจากการแทรกสอดของคลื่นเสียงจากแหลงกําเนิดสองแหลงที่มีความถี่ตางกันไมมาก เราจะ
ไดยินเสียงเปนเสียงที่ดังคอยสลับกันไป โดยปกติหูมนุษสามารถจําแนกบีตสซึ่งมีความถี่ไมเกิน 7 เฮิรตซ
ถาแหลงกําเนิดเสียงสองแหลงมีความถี่ตางกันไมเกิน 7 เฮิรตซเมื่อมาซอนทับกันจะทําใหเกิดบีตส
จํานวนครั้งของเสียงดังที่ไดยินในหนึ่งวินาที เรียกวา ความถี่บีตส ซึ่งหาไดจาก
ความถี่บีตส = Δf = |f1 – f2|
เมื่อ f1 และ f2 เปนความถี่ของแหลงกําเนิดเสียงทั้งสอง

รูปที่ 8.14 การซอนทับระหวางคลื่นเสียงจากแหลงกําเนิดสองแหลงมีผลทําใหเกิดบีตส

8.9.2 การกําทอน
เมื่อเราใหวัตถุสั่นหรือแกวงอยางอิสระ วัตถุจะมีความถี่ในการสั่น เราเรียกวาความถี่นี้วาความถี่
ธรรมชาติ การสั่นอยางอิสระในกรณีนี้คือ การที่เราออกแรงเพียงครั้งเดียวแลวปลอยใหวัตถุเกิดการสั่น แตถา
เราออกแรงหลาย ๆ ครั้ง ความถี่ของแรงที่เราใหแกวัตถุจะมีผลตอการสั่นของมัน ปรากฏการณที่เราใหแรงแก
วัตถุ โดยความถี่ของแรงที่เราใหเทากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุ เราเรียกปรากฏการณนี้วา การสั่นพอง
หรือ การกําทอน (resonance) เมื่อเกิดการกําทอนขึ้นวัตถุจะมีการสั่นแบบรุนแรง กลาวคือ การสั่นของวัตถุ
จะมีแอมพลิจูดมากที่สุดเมื่อเทียบกับการสั่นดวยความถี่อื่น ๆ
ปรากฏการการกําทอนของเสียง คือปรากฏการณที่เสียงเคลื่อนที่ผานตัวกลางแลวอนุภาคของ
ตัวกลางมีการสั่นดวยความถี่เดียวกับความถี่ของแหลงกําเนิดเสียง ถาเราใหคลื่นเสียงเคลื่อนที่ผานอากาศที่
อยูในทอกําทอนซึ่งมีปริมาตรตางๆ กัน ณ ตําแหนงที่เกิดการกําทอนเราจะไดยินเสียงดังที่สุด ในขณะที่เกิด
การกําทอนของเสียงในทอกําทอนจะมีการแทรกสอดระหวางคลื่นเสียงจากแหลงกําเนิดกับเสียงที่สะทอนจาก
ทอกําทอน ทําใหเกิดคลื่นนิ่งขึ้น และระยะทางระหวางตําแหนงถัดกันที่ไดยินเสียงดังสองครั้งจะเทากับ
ครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่นเสียง ดังรูปที่ 8.15

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 93

(ก)

(ข)
รูปที่ 8.15 ระยะที่อนุภาคสั่นออกจากตําแหนงเดิมกับตําแหนงบนทอกําทอน ขณะเกิดการกําทอนของเสียง

8.9.3 ปรากฏการณดอปเพลอรของเสียง
ปรากฏการณดอปเพลอรเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นไดกับคลื่นทุกชนิด เชน คลื่นกล คลื่น
แมเหล็กไฟฟา เปนตน ปรากฏดอปเพลอรเปนปรากฏการณที่ความถี่ของคลื่นปรากฏตอผูสังเกตเปลี่ยนไป
จากความถี่เดิม ซึ่งเปนผลมาจากแหลงกําเนิดคลื่นเคลื่อนที่หรือผูสังเกตเคลื่อนที่ หรือทั้งแหลงกําเนิดคลื่น
และผูสังเกตเคลื่อนที่
สําหรับคลื่นเสียง ขณะแหลงกําเนิดเสียงเคลื่อนที่ ความยาวคลื่นที่อยูดานหนาแหลงกําเนิดเสียงจะ
สั้นลงและความยาวคลื่นดานหลังแหลงกําเนิดเสียงจะยาวขึ้น เมื่อเทียบกับความยาวคลื่นเสียงขณะที่
แหลงกําเนิดเสียงอยูกับที่ ดังนั้นถาผูสังเกตอยูดานหนาแหลงกําเนิดเสียง จะไดยินเสียงที่มีความถี่สูงกวา
ความถี่ของแหลงกําเนิดเสียง ดังรูปที่ 8.16 (ก) ละถาผูสังเกตอยูดานหลังแหลงกําเนิดเสียง จะไดยินเสียงที่มี
ความถี่ต่ํากวาความถี่ของแหลงกําเนิดเสียง ดังรูปที่ 8.16 (ข)

(ก) แหลงกําเนิดเสียงเคลื่อนที่เขาหาผูสังเกต (ข) แหลงกําเนิดเสียงเคลื่อนที่ออกจากผูสังเกต

รูปที่ 8.16 ปรากฏการณดอปเพลอรของเสียง

ในทางกลับกัน ถาแหลงกําเนิดเสียงอยูนิ่ง แตผูสังเกตเคลื่อนที่เขาหาหรือออกหางจากแหลงกําเนิด


เสียง ผูสังเกตจะไดยินเสียงที่มีความถี่เปลี่ยนไปความถี่ของแหลงกําเนิดเสียงเชนกัน โดยผูสังเกตจะไดยิน
เสียงที่มีความถี่สูงขึ้นเมื่อเคลื่อนที่เขาหาแหลงกําเนิดเสียง และผูสังเกตจะไดยินเสียงมีความถี่ต่ําลงเมื่อผูฟง
เคลื่อนที่ออกหางจากแหลงกําเนิดเสียง

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 94

8.9.4 คลื่นกระแทก
คลื่นกระแทกเกิดขึ้นเมื่อแหลงกําเนิดเสียงเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วมากกวาอัตราเร็วของคลื่นเสียง
หนาคลื่นจะอัดตัวกันในลักษณะที่เปนหนาคลื่นวงกลมเรียงซอนกันไป โดยแนวหนาคลื่นที่อัดตัวกันมีลักษณะ
เปนรูปตัว V ดังรูปที่ 8.17

รูปที่ 8.7 ลักษณะหนาคลื่นกระแทก

ในกรณีที่เครื่องบินเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วมากกวาอัตราเร็วของเสียง เปนผลทําใหเกิดเสียงดังคลาย
เสียงระเบิด ในบริเวณที่คลื่นกระแทกนี้เคลื่อนที่ผานอาจทําใหกระจกหนาตางแตกราวได เสียงที่เกิดขึ้น
เรียกวา ซอนิกบูม

ภาพเครื่องบินไอพน F-18 บินผานทะลุกําแพงเสียง หรือบินเร็วเหนือเสียง จะเห็นคลื่นกระแทก


เกิดขึ้นเปนแนวกรวยอยูทางดานหลัง

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 95

แบบฝกหัดบทที่ 8
1. คลื่นกลเกิดขึ้นไดอยางไร

2. คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวางแตกตางกันอยางไร

3. คลื่นตามรูปขางลาง กราฟเสนเต็มและเสนประเปนรูปรางของคลื่นที่เวลา t = 0 และ t = 0.2 วินาที


ตามลําดับ ถามวาคลื่นนี้
ก. มีความยาวคลื่นเทาใด
ข. มีความเร็วเทาใด
ค. มีความถี่เทาใด
ง. มีคาบเทาใด

4. คลื่นน้ําเคลื่อนที่เขากระทบฝงนับได 15 ลูกคลื่นทุก ๆ 10 วินาที ถาระยะระหวางสันคลื่นที่ติดกันเทากับ 3


เมตร คลื่นน้ํานี้จะมีความเร็วเทาใด

5. คลื่นในตัวกลางหนึ่ง ถาเพิ่มความถี่เปน 2 เทา ความยาวคลื่นจะเปนเทาใด

6. คลื่นขบวนหนึ่งมีระยะจากสันที่ 1 ถึงสันที่ 5 ยาว 10 เซนติเมตร และมีความถี่ 50 เฮิรตซ จงหาอัตราเร็ว


ของคลื่น

7. คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง โดยมีมุมตกกระทบ 30 องศา จะเกิดมุมหักเห 45


องศา ถาคลื่นนี้มีมุมตกกระทบ 45 องศา จะเกิดมุมหักเหเทาใด

8. บอลลูนเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเร็วสม่ําเสมอ 20 เมตรตอวินาที ขณะที่อยูสูงจากพื้นดินระยะหนึ่งไดสงคลื่น


เสียงความถี่ 1000 เฮิรตซ ลงมา และไดรับสัญญาณเสียงที่สะทอนกลับเมื่อเวลา 4 วินาที จงหาวา ขณะที่สง
คลื่นเสียง บอลลูนอยูสูงจากพื้นเดิมเปนระยะเทาไร ถาความเร็วเสียงเทากับ 350 วินาที

9. โรงงานผลิตผลไมกระปองแหงหนึ่งตองการคัดขนาดของผลไมในขณะกําลังไหลผานมาตามรางน้ําโดย
อาศัยการสะทอนของเสียงจากเครื่องโซนาร โดยตองการแยกผลไมที่มีขนาดใหญกวาและเล็กกวา 7.5
เซนติเมตร ออกจากกัน จงหาความถี่ที่เหมาะสมของคลื่นจากโซนาร (ความเร็วของคลื่นเสียงในน้ํา = 1500
เมตรตอวินาที)

10. ผูขับรถยนตคันหนึ่งกําลังเปดรายการวิทยุฟงรายการจากสถานีหนึ่งอยู ในขณะที่รถกําลังวิ่งเขาหาตึก


ใหญขางหนาดวยความเร็ว 1 เมตรตอวินาที สัญญาณวิทยุเงียบหายไป 2 ครั้งใน 3 วินาที ถาสถานีวิทยุอยูใน
ทิศที่ตรงไปขางหลังรถ คลื่นวิทยุนั้นจะมีความยาวคลื่นเทาไร

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน 96

11. ในการปรับเทียบเสียเปยโนที่ระดับเสียง C โดยเทียบกับสอมเสียงความถี่ 256 เฮิรตซ ถาไดยินเสียงบีตส


ความถี่ 3 ครั้งตอวินาที ความถี่ที่เปนไปไดของเปยโนมีคาเทาใด

12. แมลงตัวหนึ่งบินหนีในแนวเสนตรงดวยความเร็ว 0.1 เมตรตอวินาที จากคนๆหนึ่งซึ่งยืนนิ่งในที่โลง อยาก


ทราบวา คนนั้นจะไดยินเสียงการบินของแมลงนั้นอยูไดนานกี่วินาที กําหนดให อัตราพลังงานเสียงที่แมลงนั้น
สงออกมาในขณะที่บินมีคาเทากับ 4π × 10 วัตต ทั้งนี้กําหนดใหดวยวา สียงเบาที่สุดที่มนุษยไดยินมี
−12

−12
ความเขมเสียงเปน 10 วัตต

13. ใหนักศึกษาทําการทดลองเสมือจริงเรื่องการเกิดบีตสที่
http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/explorescience/beats/tonebeats1.htm

การทดลองนี้ เริ่มตนใหกดลําโพง ที่ 400 Hz ใหอยูในสภาวะ on ฟงเสียงความถี่ ตอไปใหกดลําโพง


ที่ 401 Hz ใหอยูในสภาวะ on ทดลองนับความถี่ โดยใชนาฬิกาจับเวลาใน 20 วินาที วาเกิดเสียงดัง
เปนจังหวะกี่ครั้ง นําคาที่ไดหารดวย 20 บันทึกไวในชองความถี่บีตส

14. ใหนักศึกษาทําการทดลองเสมือนจริงเรื่อปรากฏการณดอปเปลอร ที่


http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/virtual1/doppler/19537/java/Dopplerthai.html

ใหนักศึกษาตอบคําถามทายการทดลองสงอาจารย

สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
หนังสืออิเล็กทรอนิกส

ฟสิกส 1(ภาคกลศาสตร( ฟสิกส 1 (ความรอน)

ฟสิกส 2 กลศาสตรเวกเตอร
โลหะวิทยาฟสิกส เอกสารคําสอนฟสิกส 1
ฟสิกส 2 (บรรยาย( แกปญหาฟสิกสดวยภาษา c
ฟสิกสพิศวง สอนฟสิกสผานทางอินเตอรเน็ต
ทดสอบออนไลน วีดีโอการเรียนการสอน
หนาแรกในอดีต แผนใสการเรียนการสอน
เอกสารการสอน PDF กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร
แบบฝกหัดออนไลน สุดยอดสิ่งประดิษฐ
การทดลองเสมือน

บทความพิเศษ ตารางธาตุ ) ไทย1) 2 (Eng)


พจนานุกรมฟสิกส ลับสมองกับปญหาฟสิกส

ธรรมชาติมหัศจรรย สูตรพื้นฐานฟสิกส

การทดลองมหัศจรรย ดาราศาสตรราชมงคล
แบบฝกหัดกลาง

แบบฝกหัดโลหะวิทยา แบบทดสอบ

ความรูรอบตัวทั่วไป อะไรเอย ?

ทดสอบ)เกมเศรษฐี ( คดีปริศนา

ขอสอบเอนทรานซ เฉลยกลศาสตรเวกเตอร
คําศัพทประจําสัปดาห
ความรูรอบตัว

การประดิษฐแของโลก ผูไดรับโนเบลสาขาฟสิกส
นักวิทยาศาสตรเทศ นักวิทยาศาสตรไทย
ดาราศาสตรพิศวง การทํางานของอุปกรณทางฟสิกส
การทํางานของอุปกรณตางๆ
การเรียนการสอนฟสิกส 1 ผานทางอินเตอรเน็ต

1. การวัด 2. เวกเตอร
3. การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ 4. การเคลื่อนที่บนระนาบ
5. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 6. การประยุกตกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
7. งานและพลังงาน 8. การดลและโมเมนตัม
9. การหมุน 10. สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
11. การเคลื่อนที่แบบคาบ 12. ความยืดหยุน
13. กลศาสตรของไหล 14. ปริมาณความรอน และ กลไกการถายโอนความรอน
15. กฎขอที่หนึ่งและสองของเทอรโมไดนามิก 16. คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
17. คลื่น 18.การสั่น และคลื่นเสียง
การเรียนการสอนฟสิกส 2 ผานทางอินเตอรเน็ต

1. ไฟฟาสถิต 2. สนามไฟฟา
3. ความกวางของสายฟา 4. ตัวเก็บประจุและการตอตัวตานทาน
5. ศักยไฟฟา 6. กระแสไฟฟา
7. สนามแมเหล็ก 8.การเหนี่ยวนํา
9. ไฟฟากระแสสลับ 10. ทรานซิสเตอร
11. สนามแมเหล็กไฟฟาและเสาอากาศ 12. แสงและการมองเห็น
13. ทฤษฎีสมั พัทธภาพ 14. กลศาสตรควอนตัม
15. โครงสรางของอะตอม 16. นิวเคลียร
การเรียนการสอนฟสิกสทัว่ ไป ผานทางอินเตอรเน็ต

1. จลศาสตร )kinematic) 2. จลพลศาสตร (kinetics)


3. งานและโมเมนตัม 4. ซิมเปลฮารโมนิก คลื่น และเสียง
5. ของไหลกับความรอน 6.ไฟฟาสถิตกับกระแสไฟฟา
7. แมเหล็กไฟฟา 8. คลื่นแมเหล็กไฟฟากับแสง
9. ทฤษฎีสมั พัทธภาพ อะตอม และนิวเคลียร

ฟสิกสราชมงคล

You might also like