You are on page 1of 27

PLuktarn Webythebrain

pluktarn_webythebrain

สารบัญ
เรื่อง หน้า
1. งาน 1
2. กำ�ลัง 1
3. เครื่องกลอย่างง่าย 2
4. พลังงานกล 8
5. กฎการอนุรักษ์พลังงาน 9
6. ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงาน 9
www.webythebrain.com

งานและพลังงาน

1 งาน
“งาน (Work : W)” เกิดขึ้นเมื่อ “ออกแรง (F )” กระทำ�ต่อวัตถุแล้วเกิดการเคลื่อนที่
จนมี “การกระจัด (S )”
WF= F × SF หรือ W =F.S
W = F S cos q
โดยที่ WF คือ งานของแรง F นิวตัน.เมตร [N.m] หรือ จูล [J]
F คือ แรง นิวตัน [N]
SF คือ การกระจัดตามแนวแรง เมตร [m]
งานจากพื้นที่ใต้กราฟ F – S F(N)
พื้นที่ใต้กราฟ บอกค่า FS
F
S
WF = พื้นที่ใต้กราฟ F กับ S S(m)

2 ก�ำลัง
กำ�ลัง คือ งานที่ทำ�ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา หรือ อัตราการทำ�งาน
งาน
HORSE POWER : HP P = W (จูล)
1 H.P. = 746 Watt
เวลา
กำ�ลังเป็นปริมาณ Scalar
t (วินาที)
หน่วย : จูล/วินาที (วัตต์ : W)

งานจากก�ำลัง กรณีความเร็วคงที่

W = P•t P = Wt = F•S
t = Fv

1
ติว Midterm / Final We By the Brain

3 เครื่องกลอย่างง่าย

เครื่องกล (Machine) คือ เครื่องมือที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยเหลือการท�ำงาน ใช้หลักการ


ของสมดุลของแรง โมเมนต์ของแรง และพลังงาน มาช่วยอ�ำนวยความสะดวกหรือช่วยผ่อนแรง
ในการท�ำงาน
เครื่องกลอย่างง่าย (Simple Machine) ประกอบด้วย

1 2

คาน รอก
3 4

พื้นเอียง ลิ่ม
5 6

ล้อและเพลา สกรู

2
www.webythebrain.com

แรงที่ให้ แรงที่ได้
หรือ เครื่องกล หรือ
แรงพยายาม แรงต้านที่เอาชนะได้

เครื่องกลที่ดีต้องช่วยอ�ำนวยความสะดวกหรือช่วยผ่อนแรง ความสามารถ
หรือสมรรถนะของเครื่องกล สามารถพิจารณาได้จาก
1. การได้เปรียบเชิงกล (M.A.) และ 2. ประสิทธิภาพเครื่องกล (Eff)

1. การได้เปรียบเชิงกล (Mechanical Advantage : M.A.)


M.A. < 1 เสียเปรียบเชิงกล
M.A. = 1 ไม่ได้เปรียบ/เสียเปรียบ (ไม่ผ่อนแรง)
M.A. > 1 ได้เปรียบเชิงกล

การได้เปรียบเทียบเชิงกลทางปฏิบัติ (Actual M.A.)


แรงต้าน = W
M.A.Act = แรงพยายาม F

การได้เปรียบเชิงกลทางทฤษฎี (Theoretical M.A.)


S
M.A.The = ระยะที่แรงพยายามเคลื่อนที่ = F
ระยะที่แรงต้านเคลื่อนที่ SW

3
ติว Midterm / Final We By the Brain

2. ประสิทธิภาพ (Efficiency)
คือ อัตราส่วนระหว่างงานที่ได้ (output) ต่องานที่เราให้ (input) เข้าไปแก่เครื่องกล

ประสิทธิภาพ (Eff) = งานที่ได้ x 100%


งานที่ให้
M.A. ปฏิบัติ
= x 100%
M.A. ทฤษฎี

ค่าประสิทธิภาพ (Eff)
Eff = 100% งานที่ให้ = งานที่ได้ “เครื่องกลอุดมคติ”
Eff < 100% เครื่องกลมีการสูญเสียพลังงาน (WLoss)

คาน

ประเภทของคาน

คานอันดับ 1 : แรงพยายาม แรงต้าน


มีจุดหมุนอยู่ระหว่าง
แรงต้านและแรงพยายาม

คานอันดับ 2 : แรงพยายาม

มีจดุ หมุนและแรงพยายาม
อยู่ที่ปลายคนละด้าน
แรงต้าน
คานอันดับ 3 : แรงพยายาม
มีจุดหมุนและแรงต้าน
อยู่ที่ปลายคนละด้าน
แรงต้าน

4
www.webythebrain.com

รอก

รอกเดี่ยวตายตัว
F=W M.A. = 1
รอกเดี่ยว
W
รอกเดี่ยวเคลื่อนที่
F = W2 M.A. = 2

W
ระบบที่ 1 ถ้า n เป็นจำ�นวนรอก
F
F = Wn
2
M.A. = 2n
W
รอกพวง
แบบดึงลง แบบดึงขึ้น ถ้า ช เป็นจำ�นวนเชือก
ระบบที่ 2 ที่ผ่านรอกชุดล่าง
F F = Wช
F
M.A. = ช
W W

ระบบที่ 3
ถ้า n เป็นจำ�นวนรอก
F = nW
2 –1
F M.A. = 2n–1
W

5
ติว Midterm / Final We By the Brain

พื้นเอียง B
B
L
H
q
q C F A C
A W
การคำ�นวณพื้นเอียง

พื้นลื่น
(ไม่มีแรงเสียดทาน)
งานที่ให้ = งานที่ได้
FL = WH และ M.A. = W = HL
F

พื้นฝืด
(มีแรงเสียดทาน)
งานที่ให้ = งานที่ได้ + งานที่เสียให้แรงเสียดทาน
FL = WH + Wf

ลิ่ม

L
F งานที่ให้ = งานที่ได้
FH = WL และ M.A. = W H
=
F L
W W H

6
www.webythebrain.com

ล้อและเพลา

R r
งานที่ให้ = งานที่ได้
F(2pR) = W(2pr)
FR = Wr

W F W
F
กรณีทราบระยะเคลื่อน งานที่ให้ = งานที่ได้
FL = Wl
เชือกพันล้อ เคลื่อนที่ระยะทาง L 2 ; L = l
เชือกพันเพลา เคลื่อนที่ระยะทาง l 1 R r
จะได้ Lr = lR
กรณีทราบอัตราเร็ว
จาก Lr = lR
เชือกพันล้อ เคลื่อนที่เร็ว V หาร t Lr = lR
t t
เชือกพันเพลา เคลื่อนที่เร็ว v
จะได้ Vr = vR

สกรู

R
งานที่ให้ = งานที่ได้
W
F(2pR) = Wh และ W 2pR
M.A. = =
F h
h F

7
ติว Midterm / Final We By the Brain

4 พลังงานกล

พลังงานกล

พลังงานจลน์ พลังงานศักย์
(Kinetic Energy) (Potential Enerygy)

พลังงานที่เกิดเมื่อ พลังงานที่สะสมในวัตถุ
วัตถุมคี วามเร็ว เมื่อวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงต�ำแหน่ง

พลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
m
= =
พลังงานที่สะสมในวัตถุ พลังงานที่สะสมในสปริง
Ek = 1 mv2 เมื่อวัตถุมคี วามสูงใน เมื่อวัตถุที่ติดสปริง
2 แนวดิ่งจากระดับอ้างอิง มีการยืด/หด จาก
ต�ำแหน่งสมดุล

m Ep2 = mgh x
mg h
Ep1 = 0

Ep = mgh Eps = 1 kx2


2

8
www.webythebrain.com

5 กฎการอนุรักษ์พลังงาน

หากแรงภายนอกที่มากระท�ำกับระบบมีค่าเป็นศูนย์
“ผลรวมของพลังงานกล จะมีค่าคงที่”
(พลังงานไม่สูญหายไปไหน เพียงแต่เปลี่ยนรูปจากพลังงานชนิดหนึ่งไปเป็นอีกชนิดหนึ่ง)

ΣE1 = ΣE2

6 ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงาน

เมื่อ แรงภายนอกที่มากระท�ำกับวัตถุมีค่าไม่เป็นศูนย์ (เช่น ออกแรงผลัก มีแรงเสียดทาน


หรือแรงต้านมากระท�ำ)
งานที่เกิดจากแรงภายนอกจะเปลี่ยนไปเป็นพลังงาน

E1 + W1 2 = E2
Ek Ek
Ep เป็นงานภายนอกที่ Ep
Eps กระท�ำกับระบบ Eps

งานที่ งานที่
ให้กับระบบ รับจากระบบ (ระบบสูญเสีย)

เครื่องหมาย + เครื่องหมาย _
เช่น งานจากการผลักดันไปด้านหน้า เช่น งานจากแรงเสียดทานที่ต้านการเคลื่อนที่

W1 2 = ΣE2 – ΣE1

W1 2 = ∆E

9
ติว Midterm / Final We By the Brain

ตะลุยโจทย์ งานและพลังงาน

1. ชายคนหนึ่งยกของมวล 20 kg จากจุด A ขึ้นบันไดไปถึงจุด C อย่างช้าๆ


C จงหา
ก. งานของแรงยกจาก A ไปยัง B
4 m = hดิ่ง ข. งานของแรงยกจาก B ไปยัง C
ค. งานของแรงยกจาก A ไปยัง C
A 2m B

10
www.webythebrain.com

2. ปีเตอร์แบกกระสอบข้าวหอมมะลิ 100 กิโลกรัมเดินขึ้นพื้นเอียงสูง 4 เมตร พื้นเอียงท�ำมุม


53 องศากับพืน้ ดิน จงหางานทีป่ เี ตอร์ท�ำได้ และหากปีเตอร์เปลีย่ นมาเป็นการลากกระสอบขึน้ ไป
ตามแนวพืน้ เอียง เขาจะต้องออกแรงกี่นิวตัน

3. จากรูป เป็นกราฟความสัมพันธ์ ระหว่างแรงกับระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่แนวตรง


งานทั้งหมดที่กระท�ำในช่วงระยะการเคลื่อนที่จาก 0 ถึง 6 m มีค่าเท่าใด
แรง (N)
+5
F
S=6m

การกระจัด (m)
3 6
_3

1. 7.5 J 2. 5.5 J 3. 4.5 J 4. 3 J

11
ติว Midterm / Final We By the Brain

4. ออกแรงลากวัตถุในทิศท�ำมุม 53° กับแนวราบ ถ้าสามารถเขียนกราฟระหว่างแรงที่ใช้ลาก


กับระยะทางที่เคลื่อนที่ไปบนพื้นราบได้ดังรูป จงหางานของแรงที่ใช้ลากวัตถุ

แรง (N) 1. 30 J 2. 41 J
3. 45 J 4. 51 J
25
20
5
ระยะทางบนพื้น (m)
0 2 4

5. ชายคนหนึ่งขี่จักรยานยนต์ด้วยอัตราเร็วคงตัว 10 เมตร/วินาที ไปบนพื้นถนนที่มีสัมประสิทธิ์


ความเสียดทาน 0.1 ถ้าน�้ำหนักตัวของเขาและจักรยานรวมกันเป็น 600 นิวตัน จงหาว่าเขาจะ
ต้องใช้ก�ำลังกี่วัตต์
1. 6 2. 60 3. 600 4. 6,000

12
www.webythebrain.com

6. บันไดเลื่อนยาว 14 m ก�ำลังพาชายคนหนึ่งมวล 70 kg จากชั้นหนึ่งไปยังชั้นหนึ่ง ซึ่งสูง 8.0 m


ถ้าอัตราเร็วเชิงเส้นของบันไดเลื่อนเป็น 1.0 m/s จงหางานที่บันไดเลื่อนท�ำได้ และก�ำลัง
เมื่อชายคนนั้นยืนนิ่งบนบันไดเลื่อน
ชั้นบน ยืนนิ่ง
v = 1.0 m/s
h = 8.0 m 14 m
ชั้นล่าง

7. วัตถุหนัก 5 นิวตัน แขวนห่างจากจุดหมุนของคานเบาเป็นระยะ 1 เมตร ปลายอีกข้างหนึ่ง


อยู่ห่างจากจุดหมุน 0.5 เมตร จะต้องออกแรงกดที่ปลายด้านที่ไม่มีน�้ำหนักเท่าใดคาน
จึงจะอยู่ในสภาพสมดุล
1. 5 นิวตัน
2. 10 นิวตัน
3. 15 นิวตัน
4. 20 นิวตัน

13
ติว Midterm / Final We By the Brain

8. คานในข้อใดไม่อยู่ในสภาพสมดุล
1.
2 cm 5 cm 2. 3 cm 1 cm

5N 2N 3N 9N

3.
4 cm 6 cm 4. 5 cm 4 cm

3N 2N 6N 5N

9. แขวนไม้เมตรที่จุดกึ่งกลาง ไม้เมตรอยู่ในภาวะสมดุลจากก้อนน�้ำหนัก ก. และ ข.

50 cm 50 cm

ก ข

ถ้า ก. มีน�้ำหนัก 40 N ข.จะมีน�้ำหนักเท่าใด


1. 10 N 2. 20 N
3. 40 N 4. 80 N

14
www.webythebrain.com

10. คานเบายาว 4 เมตร ที่ปลายคานทั้งสองข้าง มีมวล A และ B หนัก 50 และ 50 นิวตันติดอยู่


ถ้าต้องการให้คานสมดุลอยู่ได้จะต้องเอาหมอนรองคานที่ต�ำแหน่งใด เมื่อวัดจากมวล A
A B

11. ถ้าต้องการให้โมบายนกกระดาษอยู่ในสภาวะสมดุล มวล m ควรจะมีค่ากี่กรัม

3x x

M 30 กรัม
1. 3 กรัม
2. 10 กรัม
3. 30 กรัม
4. 40 กรัม

15
ติว Midterm / Final We By the Brain

12. คีมตัดลวดมีระยะดังรูป ถ้าต้องการตัดลวดที่ทนแรงกดได้ 30 N จะต้องออกแรงที่ปลายคีม


อย่างน้อยเท่าไร
10 cm

F=?
O

2 cm
1. 15 N 2. 12 N
3. 6 N 4. 5 N

13. ดช. แห้ง แรงน้อย ต้องการยกกล่องที่มีมวล 10 kg จากพื้นขึ้นรถบรรทุกซึ่งสูง 1 m


แต่เขามีแรงเพียง 28 N ในแนวขนานกับไม้กระดาน สมมุติว่าไม่มีแรงเสียดทานระหว่าง
กล่องกับไม้กระดาน เขาต้องใช้ไม้กระดานยาวเท่าใด

16
www.webythebrain.com

14. จากรูป หากต้องการให้พื้นเอียงได้เปรียบเชิงกล 1.25 จะต้องยกไม้กระดานให้สูงเท่าใด

m
10 h=?

15. ในการเคลื่อนย้ายตู้เย็นขนาดใหญ่จากร้านค้าไปส่งลูกค้านั้น ต้องยกตู้เย็นจากพื้นขึ้นไปบนรถ


บรรทุกที่สูงกว่าพื้น 1.5 เมตร ต้องออกแรง 1,800 นิวตัน หากต้องการออกแรงเพียง
180 นิวตัน เข็นตู้เย็นขึ้นรถบรรทุกนั้นโดยใช้ไม้พาดเอียงจากพื้นขึ้นไปบนรถบรรทุกจะ
ต้องใช้ไม้กระดานยาวกี่เมตร ในกรณีนี้ไม่คิดแรงเสียดทาน

17
ติว Midterm / Final We By the Brain

16. เสาเข็มต้นหนึ่งกว้าง 20 cm ยาว 2 m เมื่อออกแรง 100 N ตอกเสาเข็มลงไปในดินได้ลึก


30 cm จงหาแรงอัดของดินบริเวณที่ตอกเสาเข็มลงไป
1. 15 N 2. 30 N 3. 100 N 4. 150 N

17. ขวานเล่มหนึ่งยาว 20 cm สันขวานกว้าง 5 cm จงหาแรงพยายามที่ใช้ฟันต้นไม้ ซึ่งมี


แรงต้านของเนื้อไม้ 700 N และท�ำให้ขวานจมลงไป 10 cm จนเนื้อไม้แยกจากกัน 3 cm

18
www.webythebrain.com

18. ประสิทธิภาพของเครื่องกล ดังรูป มีค่าเท่าใด


0.5 m F=1N 1. 14 × 100 %
10 kg
2. 13 × 100 %
แขนหมุน
3. 12 × 100 %
1 cm
4. 1 × 100 %

19. ล้อมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 70 cm ติดอยูก่ บั เพลามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 cm ซึง่ ล้อและเพลาอันนี้


มีประสิทธิภาพ 75% ถ้าจะให้เครือ่ งกลนีย้ กวัตถุมวล 300 kg อยูไ่ ด้ ต้องออกแรงทีข่ อบล้อเท่าใด
70 cm
10 cm

ล้อ เพลา
FE = ?
FR = mg = 3000 N

19
ติว Midterm / Final We By the Brain

20. กระสอบน�้ำตาลหนัก 100 กิโลกรัม ถูกขนย้ายขึ้นสูงจากระดับเดิม 1.25 เมตร ด้วยพื้นเอียง


ยาว 5 เมตร ถ้ากระสอบน�้ำตาลเคลื่อนที่ไปตามพื้นเอียงด้วยความเร็วคงที่ โดยใช้แรงผลัก
300 นิวตันในทิศขนานกับพื้นเอียง สรุปได้ว่า
ก. การได้เปรียบเชิงกลเป็น 4 เท่า
ข. ประสิทธิภาพของพื้นเอียงเท่ากับ 83.33%
ข้อใดถูกต้อง (เตรียมฯ 61)
1. ข้อ ก. ผิด แต่ ข. ถูก
2. ข้อ ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ทั้งข้อ ก. และ ข. ถูก
4. ทั้งข้อ ก. และ ข. ผิด

20
www.webythebrain.com

21. จากรูป ระบบรอกมีประสิทธิภาพ 100% แต่พนื้ เอียง


มีประสิทธิภาพ 80% ถ้าวัตถุวางบนพื้นเอียงมีมวล 40 kg
จงหาว่าแรง F มีขนาดเท่าใด จึงจะพอดีดึงวัตถุขึ้นตามพื้นเอียงได้
F

53 ํ

21
ติว Midterm / Final We By the Brain

22. ลูกตุม้ ผูกกับปลายเชือกยาว 1.0 m แขวนให้แกว่งแบบลูกตุม้ นาฬิกา เมือ่ ลูกตุม้ อยูท่ ตี่ �ำแหน่งสูงสุด
เชือกท�ำมุม 60° กับแนวดิ่ง ถ้าลูกตุ้มมีพลังงานจลน์สูงสุด 50 J
จงหา
ก. มวลของลูกตุ้ม
ข. พลังงานจลน์ของลูกตุ้ม ขณะอยู่ที่ต�ำแหน่งสูงจากระดับต�่ำสุด 0.375 m

23. ปืนสปริงส�ำหรับเด็กเล่น 2 กระบอกที่เหมือนกัน


ปืน A ยิงกระสุนมวล mA ขึ้นไปในแนวดิ่งได้สูงที่สุด H
ปืน B ยิงกระสุนมวล mB = 2mA ขึ้นไปในแนวดิ่งได้สูงที่สุดกี่เท่า
2 1. H4 2. H2
3. H 4. H
2
h

22
www.webythebrain.com

24. แท่งไม้มวล 4 kg มีความเร็วเพิ่มขึ้นจาก 2 m/s เป็น 3 m/s ขณะเคลื่อนที่ในแนวตรง


ได้ระยะทาง 2 m ภายใต้แรงลัพธ์ 5 N ดังรูป
v1 = 2 m/s v2 = 3 m/s
4 kg F=5N 4 kg F=5N
1 S 2
2m
จงหา
ก. พลังงานจลน์ (Ek) ที่ 2 หรือ E2
ข. พลังงานจลน์ (Ek) ที่ 1 หรือ E1
ค. งานจาก 1 ไป 2 หรือ W12
ง. ความสัมพันธ์ของ E1 , E2 และ W12

25. มวล 5 kg ก�ำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2 m/s ถูกฉุดขึ้นไปตามระนาบเอียง 30°


ซึ่งไม่มีแรงเสียดทานด้วยแรง 100 N เป็นระยะทาง 2 m
จงหาความเร็วของมวลที่จุดปลาย
?
v2 =
m
S=2 2
1 0 0N
m /s F=
2 h2 = 1 m
v1 =
30° ระดับ Ep = 0
1

23
ติว Midterm / Final We By the Brain

24

You might also like