You are on page 1of 7

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม

เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 1

พลังงานในวงจรไฟฟ้า

1. แรงเคลื่อนไฟฟ้า (Electromotive Force; EMF)


แรงเคลื่อนไฟฟ้าคือพลังงานที่แหล่ง กาเนิดไฟฟ้าจ่ายให้ในการเคลื่อนประจุไ ฟฟ้า 1 คูลอมบ์
ออกมาภายนอกแหล่งกาเนิด
ให้ W คือ พลังงานที่ประจุไฟฟ้า Q ได้รับจากแหล่งกาเนิด หน่วย จูล (J)
Q คือ ประจุไฟฟ้า หน่วย คูลอมบ์ (C)
E คือ แรงเคลื่อนไฟฟ้า หน่วย จูล/คูลอมบ์ (J/C) หรือ โวลต์ (V)
แรงเคลื่อนไฟฟ้า หาได้ดังนี้
E = W
Q
เมื่อประจุไฟฟ้าได้รับพลังงานจากแหล่งกาเนิด ประจุไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ผ่านส่วนต่างๆ ของวงจร
พลัง งานของประจุไฟฟ้าจะลดลง เพราะถูกเปลี่ยนเป็นพลัง งานรูป อื่นๆ เช่น แรงและความร้อน เป็นต้ น
พลังงานไฟฟ้าที่ชิ้นส่วนต่างๆ ของวงจร (ความต้านทานภายนอก; R) ใช้ต่อหนึ่งหน่วยประจุไฟฟ้า เรียกว่าความ
ต่างศักย์ไฟฟ้า
V = W
Q
เมื่อ V คือ ความต่างศักย์ตกคร่อมชิ้นส่วนใดๆ ในวงจรไฟฟ้า หน่วย โวลต์ (V)
2. ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วเซลล์
คือ พลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนประจุไฟฟ้า 1 คูลอมบ์ จากขั้วบวกของเซลล์ไปยังขั้วลบของเซลล์
ดังนั้น ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างเซลล์จึงเป็นผลรวมของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมชิ้นส่วนต่างๆ ของ
วงจรนั่นเอง
3. ความต่างศักย์ไฟฟ้าภายในเซลล์
คือ พลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนประจุไฟฟ้า 1 คูลอมบ์ ภายในเซลล์ไฟฟ้าจากขั้วลบไปขั้วบวก
V R1 V R2

I Vr
E

ให้ VR คือ ความต่างศักย์ตกคร่อมตัวต้านทาน R


Vr คือ ความต่างศักย์ตกคร่อมตัวต้านทาน r (ความต้านทานภายในเซลล์)
E คือ แรงเคลื่อนไฟฟ้า

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 2

ภายในกรอบเส้นประ คือ แบตเตอรี่ที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า E และมีความต้านทานภายใน r จะได้


พลังงานไฟฟ้าที่ประจุไฟฟ้า Q ได้รับ และใช้ขณะเคลื่อนที่ผ่านส่วนต่างๆ ของวงจรมีค่าดังนี้
- ขณะผ่านแบตเตอรี่ E ประจุไฟฟ้า Q ได้รับพลังงานไฟฟ้าเท่ากับ QE
- ขณะผ่านความต้านทานภายใน r ประจุไฟฟ้า Q ใช้พลังงานไป QVr
- ขณะผ่านตัวต้านทาน R ประจุไฟฟ้า Q ใช้พลังงานไป QVR
จากฎการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานที่ประจุได้รับจากแบตเตอรี่จะเท่ากับพลังงานที่ประจุไฟฟ้าใช้
ในวงจร
QE = QV + QV
r R

E = V +V
r R

จากกฎของโอห์ม E = Ir + IR
หรือ E = V + Ir
จากสมการจะเห็นได้ว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะมีค่าเท่ากับความต่างศักย์ไฟฟ้าก็ต่อเมื่อความต้านทาน
ภายในเซลล์มีค่าเป็นศูนย์
4. พลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า
ในวงจรที่มีกระแสไฟฟ้าแสดงว่ามีการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า โดยประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่จะนพา
ลังงานไฟฟ้าไปด้วย เรียกพลังงานไฟฟ้าในหนึ่งหน่วยเวลาว่า กาลังไฟฟ้า
ให้ W คือ พลังงานไฟฟ้าในช่วงเวลา t หน่วย จูล (J)
P คือ กาลังไฟฟ้า หน่วย วัตต์ (W)
t คือ เวลา หน่วย วินาที (s)
จะได้ความสัมพันธ์ดังนี้
W = Pt
4.1 พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปในเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือความต้านทานไฟฟ้า
เมื่อประจุเคลื่อนที่ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือความต้านทานไฟฟ้า จะมีการใช้พลังงานไฟฟ้า
ให้ W คือ พลังงานไฟฟ้าในช่วงเวลา t หน่วย จูล (J)
P คือ กาลังไฟฟ้า หน่วย วัตต์ (W)
t คือ เวลา หน่วย วินาที (s)
Q คือ ประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ในช่วงเวลา t วินาที หน่วย คูลอมบ์ (C)
I คือ กระแสไฟฟ้า หน่วย แอมแปร์ (A)
V คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้า หน่วย โวลต์ (V)
R คือ ความต้านทานไฟฟ้า หน่วย โอห์ม (Ω)
พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปมีค่าเท่ากับงานในการเคลื่อนที่ประจุ Q ระหว่างสองตาแหน่งที่มีความ
ต่างศักย์ไฟฟ้า V
W = QV

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 3

จากสมการดังกล่าว เพื่อความสะดวกในการคานวณ เมื่อแทนค่า Q = It หรือ V = IR


และ W = Pt จะสรุปเป็นสมการต่างๆ สาหรับคานวณพลังงานไฟฟ้าได้ดังนี้
V2
W = QV = VIt = I2 Rt = t = Pt
R
4.2 กาลังไฟฟ้าที่ใช้ไปในเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือความต้านทานไฟฟ้า
กาลังไฟฟ้าที่ใช้ไปมีค่าเท่ากับพลัง งานไฟฟ้าที่ใช้ไ ปในหนึ่งหน่วยเวลา (หรือมีค่าเท่ากับ
อัตราการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า)
P = W
t
จากสมการดังกล่าว เพื่อความสะดวกในการคานวณเมื่อแทนค่า W=VIt หรือ W = I2 Rt
V2
หรือ W= t จะสรุปเป็นสมการต่างๆ สาหรับคานวณกาลังไฟฟ้าได้ดังนี้
R
W V2
P= = VI = I2 R =
t R
4.3 พลังงานไฟฟ้าหน่วยกิโลวัตต์.ชั่วโมงและการคิดเงินค่าไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดของแต่ละบ้านทางานโดยใช้พลังงานไฟฟ้า ซึ่ง ต้องซื้อพลังงาน
ไฟฟ้าจากหน่วยงานที่จาหน่ายพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าในระบบเอสไอบอกหน่วยเป็นจูล (หรือวัตต์.วินาที) แต่การคานวณพลังงาน
ไฟฟ้ า ที่ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า แต่ ล ะชนิ ด ของแต่ ล ะบ้ า นใช้ ไ ปคิ ด หน่ ว ยพลั ง งานเป็ น กิ โ ลวั ต ต์ . ชั่ ว โมง
( kW  h ) หรือเรียกโดยย่อว่า “หน่วยหรือยูนิต (Unit)”
พลังงานไฟฟ้า 1 kW  h หรือ 1 Unit = 1 kW  h
= (1,000 W )  (3,600 s )
= 3.6 106 W  s
= 3.6 106 J
เมื่อรู้กาลังไฟฟ้าของอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละชนิดและช่วงเวลาที่ใช้งาน คานวณหาพลังงาน
ไฟฟ้าที่ใช้งานในหน่วย kW.h หรือยูนิต ได้ดังนี้
P (W)
W ( kW  h ) =  t (h)
1,000
การคิดเงินค่าไฟฟ้าจะคิดจากพลังงานที่ใช้ไปในหน่วย kW  h คูณกับราคาต่อหน่วย

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 4

 ตัวอย่างการคานวณพลังงานในวงจรไฟฟ้า

ตัวอย่าง 1 เซลล์ไฟฟ้าตัวหนึ่งเมื่อนาตัวต้านทาน 14 โอห์ม มาต่อคร่อมจะมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร 0.1


แอมแปร์ แต่เมื่อนาตัวต้านทาน 2 โอห์ม มาต่อคร่อมจะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 0.5 แอมแปร์ จง
คานวณหาแรงเคลื่อนไฟฟ้าและความต้านทานภายในของเซลล์ไฟฟ้านี้

ตัวอย่าง 2 พัดลมไฟฟ้าขนาด 20 วัตต์ เปิดใช้งานเป็นเวลานาน 5 นาที จะใช้พลังงานไฟฟ้าเท่าใดในหน่วย


จูล

ตัวอย่าง 3 กาต้มน้าไฟฟ้าต่ออยู่กับความต่างศักย์ 100 โวลต์ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 2 แอมแปร์ เป็น


เวลานาน 1 นาที จะใช้พลังงานไฟฟ้าเท่าใดในหน่วยจูล

ตัวอย่าง 4 เส้นลวดความต้านทาน 10 โอห์ม มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 3 แอมแปร์ เป็นเวลานาน 2 นาที จะ


ใช้พลังงานไฟฟ้าเท่าใดในหน่วยจูล

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 5

ตัวอย่าง 5 หลอดไฟความต้านทาน 5 โอห์ม ต่ออยู่กับความต่างศักย์ 10 โวลต์ เป็นเวลานาน 1 นาที จะใช้


พลังงานไฟฟ้าเท่าใดในหน่วยจูล

ตัวอย่าง 6 หลอดไฟให้พลังงานไฟฟ้า 100 จูล ในเวลา 20 วินาที หลอดไฟนี้ใช้กาลังไฟฟ้ากี่วัตต์

ตัวอย่าง 7 หลอดไฟต่ออยู่กับความต่างศักย์ 100 โวลต์ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 1.5 แอมแปร์ หลอดไฟใช้


กาลังไฟฟ้ากี่วัตต์

ตัวอย่าง 8 เส้นลวดความต้านทาน 10 โอห์ม มีกระแสไหลผ่าน 2 แอมแปร์ กาลังที่ใช้ในเส้นลวดนี้มีค่ากี่วัตต์

ตัวอย่าง 9 หลอดไฟความต้านทาน 50 โอห์ม ต่ออยู่กับความต่างศักย์ 100 โวลต์ จะใช้กาลังไฟฟ้ากี่วัตต์

ตัวอย่าง 10 หลอดไฟขนาด 40 W 10 V จะทนกระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้สูงสุดกี่แอมแปร์

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 6

ตัวอย่าง 11 หลอดไฟขนาด 40 W 10 V มีความต้านทานกี่โอห์ม

ตัวอย่าง 12 หลอดไฟ 60 W 220 V ถ้านาไปต่อกับความต่างศักย์ 110 V จะให้กาลังไฟฟ้ากี่วัตต์

ตัวอย่าง 13 เตาไฟฟ้าเครื่องหนึ่งใช้กับความต่างศักย์ 200 โวลต์ ให้กาลังเป็น 5 เท่าของกาลังที่ใช้โดยหลอด


ไฟฟ้าหลอดหนึ่งซึ่งใช้กับความต่างศักย์ 100 โวลต์ ความต้านทานของเตาไฟฟ้าจะเป็นกี่เท่าของ
ความต้านทานหลอดไฟ

ตัวอย่าง 14 จากวงจรไฟฟ้าดังรูป ถ้าเปิดสวิชต์ S เป็นเวลานาน 1 นาที จงหา


ก พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในตัวต้านทาน 5 Ω
ข กาลังไฟฟ้าที่ใช้ในตัวต้านทาน 10 Ω

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 7

ตัวอย่าง 15 หลอดไฟขนาด 60 วัตต์ เปิดทิ้งไว้นาน 4 ชั่วโมง จะสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ากี่ยูนิต

ตัวอย่าง 16 หลอดไฟขนาด 100 วัตต์ เปิดทิ้งไว้ 8 ชั่วโมง จะเสียเงินค่าพลังงานไฟฟ้ากี่บาท (ค่าไฟหน่วยละ


5 บาท)

ตัวอย่าง 17 เปิดพัดลมขนาด 150 วัตต์ ตั้งแต่เวลา 20.00 น. ถึง 23.00 น. จะเสียเงินค่าไฟฟ้ากี่บาท (ค่าไฟ
หน่วยละ 2 บาท)

ตัวอย่าง 18 หลอดไฟขนาด 60 W 220 V ถ้านามาต่อกับความต่างศักย์ไฟฟ้า 110 โวลต์ เป็นเวลานาน 24


ชั่วโมง จะเสียค่าไฟฟ้ากี่บาท (ค่าไฟหน่วยละ 5 บาท)

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล

You might also like