You are on page 1of 14

PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง

ไฟฟ้าสถิต

สรุปไฟฟ้ าสถิต
พืน้ ฐานที่นักเรียนต้ องมีก่อนเรียน
✓ คำอุปสรรคต่ำงๆ
✓ เลขยกกำลัง
✓ ค่ำมุมต่ำงๆ
✓ เวกเตอร์
✓ ควำมขยัน
สรุปเนือ้ หาที่สาคัญ
ไฟฟ้ าสถิต เป็ นกำรศึกษำเกี่ยวกับประจุไฟฟ้ ำขณะอยูน่ ิ่ง ซึ่งสรุ ปเป็ นหัวข้อต่ำงๆได้ดงั นี้

1.ประจุไฟฟ้า(Electric Charge)
ประจุไฟฟ้ ำมี 2 ชนิดคือ
- ประจุบวก
- ประจุลบ

2.กฎการอนุรักษ์ ประจุไฟฟ้า(Conservation of Charge)


วัตถุทุกชนิดย่อมประกอบด้วยอะตอมจำนวนมำก และในอะตอมก็ประกอบด้วย อิเล็กตรอน
โปรตรอน และนิวตรอน ซึ่งมีรำยละเอียดดังแสดงในตำรำง
อนุภำค มวล(kg) ประจุ(C)
อิเล็กตรอน 9.1  10-31 -1.6  10-19
โปรตรอน 1.67  10-27 +1.6  10-19
นิวตรอน 1.67  10-27 กลำง
ซึ่งจำกตำรำงจะเห็นได้วำ่ มวลของอิเล็กตรอนมีค่ำน้อยมำกเมื่อเทียบกับโปรตรอนและนิวตรอน
ดังนั้นถ้ำมีกำรเพิ่มพลังงำนเข้ำไปก็จะทำให้ อิเล็กตรอนหลุดออกไป เมื่อวัตถุที่เป็ นกลำงเสี ยอิเล็กตรอนทำ
ให้วตั ถุน้ นั จะแสดงประจุบวก และวัตถุที่ได้อิเล็กตรอนก็จะแสดงประจุลบ ดังนั้นเรำจึงสรุ ปได้วำ่ กำรทำ
ให้วตั ถุมีประจุไฟฟ้ ำไม่ใช่เป็ นกำรสร้ำงประจุข้ นึ ใหม่ แต่เป็ นเพียงกำรย้ำยประจุจำกจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง
เท่ำนั้น โดยผลรวมของประจุในระบบที่พิจำรณำยังคงเท่ำเดิมเรำเรี ยกผลสรุ ปนี้วำ่ กฎกำรอนุรักษ์ประจุ
ไฟฟ้ ำ

1
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

3.ตัวนาไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า(Conductor and Insulator)


ตัวนำไฟฟ้ ำ คือ วัตถุที่ยอมให้ประจุไฟฟ้ ำเคลื่อนที่ไปได้ง่ำย เช่น เงิน ทองแดง ทองคำ
ฉนวนไฟฟ้ ำ คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้ ำเคลื่อนที่ไปได้ง่ำย เช่น น้ ำบริ สุทธิ์ แก้ว ยำง
4.การทาให้ เกิดประจุไฟฟ้า
วัตถุที่แสดงอำนำจทำงไฟฟ้ ำคือวัตถุที่มีประจุบวกและประจุลบไม่เท่ำกัน เรำเรี ยกวัตถุน้ นั ว่ำมี
ประจุอิสระ กำรทำวัตถุมีประจุอิสระมีดว้ ยกันหลำยวิธีแต่ในระดับชั้นม.ปลำยนี้จะศึกษำเพียง 3 วิธีคือ
1. กำรขัดถู ทำได้โดยกำรนำวัตถุต่ำงชนิดกันมำขัดถูกนั
2. กำรสัมผัส ทำได้โดยกำรนำวัตถุที่มีประจุอิสระมำสัมผัสกับวัตถุที่เป็ นกลำง ทำให้เกิดกำรถ่ำย
โอนประจุ(จะหยุดเมื่อ ควำมต่ำงศักย์เท่ำกัน)
3. กำรเหนี่ยวนำ ทำได้โดยกำรนำวัตถุที่มีประจุอิสระมำใกล้วตั ถุที่เป็ นกลำง(วัตถุที่นำมำเหนี่ยวนำ
จะไม่มีกำรสูญเสี ยประจุ)

5.อิเล็กโทรสโคป(Electroscope)
อิเล็กโทรสโคปเป็ นเครื่ องมือสำหรับตรวจประจุไฟฟ้ ำสถิตมีอยู่ 2 ชนิดคือ
1. อิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิท
2. อิเล็กโทรสโคปแบบแผ่นโลหะ

6.การกระจายของประจุ
กำรกระจำยของวัตถุข้ นึ อยูก่ บั ชนิดของวัตถุคือ
1. วัตถุที่เป็ นฉนวน เมื่อเกิดประจุไฟฟ้ ำขึ้นก็จะอยูเ่ ฉพำะส่ วนนั้นๆ
2. วัตถุที่เป็ นตัวนำ เมื่อเกิดประจุไฟฟ้ ำก็จะกระจำยทัว่ ทั้งวัตถุโดยมีลกั ษณะพิเศษดังนี้
- ประจุจะกระจำยอยูเ่ ฉพำะผิวนอกเท่ำนั้น
- ประจุจะมีมำกบริ เวณปลำยแหลม

7.การถ่ ายเทประจุไฟฟ้าบนตัวนาทรงกลม
ในหัวข้อนี้จะกล่ำวเพียงบำงส่ วนเพื่อใช้ในกำรคำนวณแรงระหว่ำงประจุเท่ำนั้น ซึ่งรำยละเอียดอื่น
จะกล่ำวถึงในหัวข้ออื่นๆต่อไป โดยมีหลักกำรดังนี้
1. ประจุไฟฟ้ ำรวมจะคงที่เสมอ
2. หลังถ่ำยเท วัตถุจะเป็ นประจุเดียวกัน
3. หลังถ่ำยเท จำนวนประจุจะแปรผันตรงกับรัศมีของทรงกลม

2
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

8.แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์

 KQ1Q2
F=
r2

โดยที่ K = ค่ำคงที่ 9  109 N-m2/C2


Q1และQ2 = ประจุไฟฟ้ ำ (C)
r = ระยะห่ำงระหว่ำงประจุ
โจทย์เสริมเพิม่ ประสบการณ์ 1
1. ลูกพิท 2 ลูกแต่ละลูกมีประจุ +1 ไมโครคูลอมบ์ เมื่อวำงห่ำงกัน 30 เซนติเมตร จงหำแรงที่เกิดขึ้นบน
ลูกพิท
ก. 0.1 N ข. 1 N ค. 10 N ง. 100 N

2. ประจุAมีปริ มำณเป็ น 2 เท่ำของอีกประจุ B วำงห่ำงกัน 10 cm เกิดแรงกระทำระหว่ำงกัน 180 N จงหำ


ปริ มำณของประจุA
ก. 7  10-5 C ข. 5  10-5 C ค. 2  10-5 C ง. 1  10-5 C

3
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

3. ประจุไฟฟ้ ำ 5 C จำนวน 4 ประจุ วำงในแนวบนพื้นรำบเรี ยงกันโดยห่ำงเท่ำๆกันจุดละ 5 cm


จงหำแรงที่กระทำต่อประจุดอันที่ 2 นับจำกซ้ำยมือ
ก. 2.25 N ข. 10 N ค. 22.5 N ง. 100 N

4. สำมเหลี่ยม ABC มีประจุ -4 C -32 C และ 13.5C วำงที่จุดA,B,C ตำมลำดับดังรู ป จงหำแรงกระทำ


ต่อประจุ -4 C

A ก. 100 N ข. 300 N
4cm 3cm
ค. 600 N ง. 900 N
5cm C
B

5. ตัวนำทรงกลม 2 ลูก ลูกหนึ่งรัศมี 0.5 cm มีประจุ 6 nC อีกลูกหนึ่ง มีรัศมี 1.0 cm มีประจุ -3 nC นำทรง
กลมทั้งสองมำแตะกันแล้วนำไปวำงห่ำงกัน 10 cm จะเกิดแรงดูดหรื อแรงผลักกันเท่ำใด
ก. 1.8  10-5 N ข. 0.18  10-5 N ค. 7.2  10-5 N ง. 0.72  10-5 N

4
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

6. ตัวนำทรงกลม A และ B มีขนำดเท่ำกันและมีมวล 10 กรัม เท่ำกันวำงซ้อนกันอยูใ่ นทรงกระบอกซึ่งเป็ น


ฉนวนที่ต้ งั ในแนวดิ่งดังรู ป เมื่อใส่ ประจุแก่ทรงกลมทั้งสองเท่ำกัน ทำให้ทรงกลม B ลอยอยูเ่ หนือทรงกลม
A 24 cm จงหำประจุที่ให้แก่ทรงกลม A และ B
ก. 0.8 C ข. 0.4C
B

24 cm ค. 80C ง. 40C
A

9.สนามไฟฟ้า(Electric field)
คือบริ เวณโดยรอบประจุไฟฟ้ ำ ซึ่งประจุไฟฟ้ ำสำมำรถส่งอำนำจไปถึง หรื อบริ เวณที่เมื่อนำประจุ
ไฟฟ้ ำไปวำงแล้วจะเกิดแรงกระทำบนประจุไฟฟ้ ำนั้น

 F KQ
E= = 2
q r

สนำมไฟฟ้ ำมีทิศทำงดังนี้คือ
- ประจุบวก พุ่งออก
- ประจุลบ พุ่งเข้ำ
หมายเหตุ สนำมไฟฟ้ ำจะมีทิศเดียวกับแรงที่กระทำกับประจุบวก ตรงข้ำมกับประจุลบ

10.เส้ นแรงไฟฟ้า(Electric line of force)


มีลกั ษณะที่สำคัญดังนี้
1. เส้นแรงไฟฟ้ ำจะไม่ตดั กัน
2. เส้นแรงไฟฟ้ ำทีพุ่งออกจำกผิววัตถุจะตั้งฉำกกับผิววัตถุ
3. เส้นแรงไฟฟ้ ำจะสิ้ นสุ ดที่ผิวของตัวนำ
ความสัมพันธ์ ระหว่างเส้ นแรงไฟฟ้ ากับสนามไฟฟ้ า
- เส้นแรงไฟฟ้ ำชิดกันมำก สนำมไฟฟ้ ำจะมีค่ำมำก
- ถ้ำสนำมไฟฟ้ ำคงที่ เส้นแรงไฟฟ้ ำจะขนำนกัน
- จุดสะเทินคือจุดที่ไม่มีเส้นแรงไฟฟ้ ำ (E=0)

5
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

11.สนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุบนตัวนาทรงกลม

ขนำดสนำมไฟฟ้ ำ หมายเหตุ สนำมไฟฟ้ ำจะมีมำกที่สุดที่ผิววัตถุ


ตัวนำและจะเป็ นศูนย์ในผิววัตถุ
ระยะทำง

โจทย์เสริมเพิม่ ประสบการณ์ 2
1. ที่จุดๆหนึ่งมีประจุ 3 C วำงอยูม่ ีแรงกระทำต่อประจุน้ ี 0.03 N ไปทำงทิศตะวันออก จงหำควำมเข้มของ
สนำมไฟฟ้ ำ(N/C) ณ. จุดนั้น
ก. 10 ข. 100 ค. 1000 ง. 10000

2. อนุภำคมวล 1.5  10-6 kg มีประจุ 3  10-9 C วำงอยูใ่ นสนำมไฟฟ้ ำ 2000 N/C จงหำควำมเร่ ง(m/s2)ของ
อนุภำคนี้
ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8

3. เมื่อหยดน้ ำมันประจุ q ไปวำงระหว่ำงแผ่นคู่ขนำนที่มีสนำมไฟฟ้ ำ 10000 N/C ทิศทำงของสนำมไฟฟ้ ำนี้


จะขึ้นไปในแนวดิ่ง ปรำกฏว่ำหยดน้ ำมันลอยนิ่งอย่ำงสมบูรณ์ ถ้ำหยดน้ ำมันมีมวล 0.02 kg จงหำประจุบน
หยดน้ ำมันนี้มีขนำดเท่ำใด(C) และเป็ นประจุชนิดใด
ก. +20 ข. +40 ค. -20 ง. -40

6
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

4. ทรงกลมตัวนำลูกหนึ่งแขวนด้วยเชือกเส้นเล็กๆภำยในสนำมไฟฟ้ ำสม่ำเสมอ 6  104 N/C เมื่อใส่ ประจุแก่


ทรงกลมนี้ 2 C ปรำกฏว่ำเชือกที่แขวนเอียงทำมุม 370 กับแนวดิ่งจงหำมวลของทรงกลมนี้(กรัม)
ก. 1.6 ข. 16 ค. 3.2 ง. 32

5. ตัวนำทรงกลมเล็กๆมวล 1 g มีประจุขนำด 6 C ถูกแขวนด้วยเชือกเส้นเล็กๆอยูใ่ นสนำมไฟฟ้ ำสม่ำเสมอ


500 N/C ทิศลง จงหำควำมตึงในเส้นเชือกถ้ำประจุน้ นั เป็ น
ก.ประจุบวก

ข.ประจุลบ

6. จงหำสนำมไฟฟ้ ำ(MN/C) ณ.จุด A ซึ่งอยูห่ ่ำงจำกจุดประจุด 6 C เป็ นระยะทำง 10 cm


ก. 2.7 ข. 27 ค. 5.4 ง. 54

7
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

7. จุด A B C อยูบ่ นแนวเส้นตรงเดียวกัน ห่ำงกันช่วงละ 10 cm วำงจุดประจุ -4 C 5 C ที่จุด A C


ตำมลำดับจงหำสนำมไฟฟ้ ำ(MN/C)ที่จุด B
ก. 0.9 ข. 5.6 ค. 8.1 ง. 10.4

8. สำมเหลี่ยมด้ำนเท่ำ ABC ยำวด้ำนละ 20 cm ที่จุด A และ B มีประจุ 4 C และ -4 C วำงไว้ตำมลำดับจง


หำสนำมไฟฟ้ ำ(MN/C) ณ.จุด C
ก. 0.9 ข. 5.6 ค. 8.1 ง. 10.4

9. ABCD เป็ นสี่ เหลี่ยมจัตุรัส มีควำมยำวด้ำนละ 10 cm มีประจุ 2 C -2 C 2 C และ-2 C วำงไว้ที่จุด


A B C และDตำมลำดับ จงหำควำมเข้มของสนำมไฟฟ้ ำ (MN/C) ตรงจุดตัดของเส้นทแยงมุม
ก. 0 ข. 5 ค. 10 ง. 20

10. ประจุ 2  10-9 C และ -4  10-9 C วำงห่ำงกัน 10 cm จงหำตำแหน่งจุดสะเทินที่เกิดขึ้น(cm)


ก. 0 ข. 10 ค. 15 ง. 25

8
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

11. จุดประจุ +2 C และ +8 C วำงห่ำงกัน 30 cm จงหำตำแหน่งจุดสะเทินที่เกิดขึ้น(cm)


ก. 0 ข. 10 ค. 15 ง. 25

12.จุดประจุ 2 จุดอยูห่ ่ำงกัน 0.5 m จุดประจุหนึ่งมีค่ำ -4  10-8 C หำกสนำมไฟฟ้ ำเป็ นศูนย์อยูร่ ะหว่ำงประจุ
ทั้งสองและห่ำงจำกจุดประจุ-4  10-8C เท่ำกับ0.2mค่ำของอีกประจุหนึ่งเป็ นเท่ำใด(C)
ก. 9  10-8 C ข. 15  10-8 C ค. 2  10-5 C ง. 1  10-5 C

13. ทรงกลมตัวนำ r = 5 cm มีประจุ 1 C จงหำควำมเข้มของสนำมไฟฟ้ ำ ณ.ตำแหน่งที่อยูห่ ่ำงจำกจุด


ศูนย์กลำงเป็ นระยะ 10 และ 4 cm

12.ศักย์ไฟฟ้ า(Electric potential)


พลังงำนศักย์ไฟฟ้ ำ(W) คืองำนที่ใช้ในกำรย้ำยประจุ q C จำกระยะอนันต์มำยังจุดนั้นๆ
ศักย์ไฟฟ้ ำ(V) คืองำนที่ใช้ในกำรย้ำยประจุ +1C จำกระยะอนันต์มำยังจุดนั้นๆ

W = qV
KQ
V =
r

9
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

13.ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากประจุบนตัวนาทรงกลม

ขนำดศักย์ไฟฟ้ ำ หมายเหตุ ศักย์ไฟฟ้ ำ ณ.จุดใดๆของทรงกลม


ย่อมมีค่ำคงที่เท่ำกับผิวทรงกลมเสมอ
ระยะทำง

14.ความสั มพันธ์ ระหว่างความต่ างศักย์และสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ


E
+ -
+
+
-
-
V=Ed
+ -

15.ผิวสมศักย์และเส้ นสมศักย์
คือจุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้ ำเท่ำกัน

โจทย์เสริมเพิม่ ประสบการณ์ 3
1. จงหำศักย์ไฟฟ้ ำ(V)ณ.ตำแหน่ง ซึ่งอยูห่ ่ำงจำกจุดประจุ 4 C เป็ นระยะ 10 cm
ก. 1.8  105 ข. 3.6  105 ค. 7.2  105 ง. 9.6  105
2. สำมเหลี่ยมด้ำนเท่ำ ABC มีควำมยำวด้ำนละ 20 cm ที่จุด A และ B มีประจุ -2 C และ 4 C ตำมลำดับ
จงหำศักย์ไฟฟ้ ำ(V)ที่จุด C
ก. 1  104 ข. 3  104 ค. 6  104 ง. 9  104
3. ทรงกลมตัวนำรัศมี 10 cm มีประจุ -4 C จุด A B และ C อยูห่ ่ำงจำกจุดศูนย์กลำงของวงกลมเป็ นระยะ
5,10 และ 20 cm จงหำ
a. ศักย์ไฟฟ้ ำที่จุด A BและC
b. งำนในกำรย้ำยประจุ 10-9 C จำกระยะอนันต์ มำยัง A B และ C ตำมลำดับ
c. งำนในกำรย้ำยประจุ 10-9 C จำก C ไป B จำก B ไป A และจำก C ไป A

4. แผ่นคู่ขนำน 2 แผ่นห่ำงกัน 20 cm มีควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงแผ่นทั้งสอง 500 V จงหำสนำมไฟฟ้ ำ


(V/m)ระหว่ำงแผ่นคู่ขนำนทั้งสอง

10
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

ก. 0 ข. 1000 ค. 1500 ง. 2500

5. แผ่นตัวนำขนำน 2 แผ่น ห่ำงกัน 1m ทำให้เกิดสนำมไฟฟ้ ำสม่ำเสมอในแนวดิ่งถ้ำต้องกำรให้ประจุ -10 C


มวล 1 kg ลอยอยูน่ ิ่งในระหว่ำงแผ่นตัวนำนี้ จงหำทิศของสนำมไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์(V)ของแผ่นตัวนำ
ขนำน 2 แผ่นนี้
ก. ขึ้น 1 ข. ขึ้น 15 ค. ลง 1 ง. ลง 15

6. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ดว้ ยควำมเร็ว 4  107 m/s ขนำนกับสนำมไฟฟ้ ำสม่ำเสมอ 900 V/m ในทิศตำม


สนำมไฟฟ้ ำ
a. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ได้ไกลที่สุดเท่ำใดจึงเริ่ มเคลื่อนที่ยอ้ นกลับ
b. นำนเท่ำใด อิเล็กตรอนจึงเริ่ มเคลื่อนที่ยอ้ นกลับ

7. ถ้ำต้องกำรเร่ งอนุภำคมวล 2  10-10 kg ที่มีประจุ 10-9 C จำกหยุดนิ่งให้มีอตั รำเร็ ว1000 m/s จะต้องใช้ควำม
ต่ำงศักย์(V)เท่ำใด
ก. 10  104 ข. 30  104 ค. 50  104 ง. 70  104

8. อนุภำคหนึ่งมีประจุ 5  10-6C เริ่ มเคลื่อนที่จำกหยุดนิ่ง ในบริ เวณที่มีสนำมไฟฟ้ ำสม่ำเสมอขนำด 100


V/m เมื่ออนุภำคนี้เคลื่อนที่ในทิศทำงเดียวกับสนำมไฟฟ้ ำ ได้ไกลเท่ำใดจึงจะมีพลังงำนเป็ น 4  10-4 J
ก. 0.8 ข. 1.5 ค. 2.2 ง. 3.2

16.ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุ(C) คือตัวนำที่ทำหน้ำที่เก็บประจุ
ควำมจุไฟฟ้ ำของตัวนำ คือควำมสำมำรถในกำรเก็บประจุของตัวนำ หรื อปริ มำณประจุไฟฟ้ ำ ที่ทำ
ให้ตวั นำมีค่ำศักย์ไฟฟ้ ำเพิ่มขึ้นหรื อลดลง 1 หน่วย

Q
C=
V
17.การต่ อตัวเก็บประจุ

11
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

แบ่งเป็ น 3 ชนิดคือ
1. กำรต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม (ขั้วบวกต่อกับขั้วลบของอีกเซลหนึ่ง)

+ - + - + - Vรวม=V1+V2+V3
Qรวม=Q1=Q2=Q3
1 1 1 1
= + +
C รวม C1 C 2 C3

2. กำรต่อตัวเก็บประจุแบบขนำน (ขั้วบวกต่อกับขั้วบวก ลบต่อกับลบ)

Vรวม=V1=V2=V3
Qรวม=Q1+Q2+Q3
Cรวม=C1+C2+C3

3. กำรต่อแบบผสม เป็ นกำรรวมข้อ 1 และ 2 เข้ำด้วยกัน

18.การหาปริมาณประจุไฟฟ้าบนตัวนาทรงกลมเมื่อมีการถ่ ายเทประจุ
มีหลักกำรดังนี้
1. ประจุบวกจะเคลื่อนจำกศักย์ไฟฟ้ ำสูงไปสู่ศกั ย์ไฟฟ้ ำต่ำ
ประจุลบจะเคลื่อนจำกศักย์ไฟฟ้ ำต่ำไปสู่ศกั ย์ไฟฟ้ ำสูง
2. ผลรวมของประจุก่อนถ่ำยเทเท่ำกับผลรวมของประจุหลังถ่ำยเท
3. ประจุจะหยุดถ่ำยเทเมื่อศักย์ไฟฟ้ ำที่ผิวทรงกลมเท่ำกัน
r1 Q r2  Q
Q1 =
'
Q2 =
'

r r

12
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

19.พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ(U)
V 1
U= QV
2
1
U = CV 2
2
1 Q2
U=
0 2 C
Q

20.การนาความรู้เกีย่ วกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ ประโยชน์


1. เครื่ องกำจัดฝุ่ นในอำกำศ
2. เครื่ องพ่นสี
3. เครื่ องถ่ำยลำยนิ้วมือ
4. เครื่ องถ่ำยเอกสำร

โจทย์เสริมเพิม่ ประสบการณ์ 4
1. ทรงกลมตัวนำหนึ่งรัศมี 90 ซม. จะมีค่ำควำมจุไฟฟ้ ำ (F) เท่ำไร
ก. 1  10-10 ข. 3  10-10 ค. 0.5  10-10 ง. 10  10-10

2. ถ้ำนำทรงกลมที่มีผิวศักย์ไฟฟ้ ำ 20 V. มีควำมจุไฟฟ้ ำ 0.1 F จะมีประจุไฟฟ้ ำ ( C) บนผิวทรงกลม


เท่ำไร
ก. 4 ข. 6 ค. 2 ง. 8

3. ลูกกลมโลหะกลวง A และ B มีจุดศูนย์กลำงรวมกัน A อยูภ่ ำยใน B โดย A มีรัศมี 5 ซม. ส่วน B รัศมี 6
ซม. ถ้ำต่อด้ำนนอกของ B ลงดิน ควำมจุรวม ( pF ) มีค่ำเท่ำใด

13
PoP Education Center เรียนรูม้ ่งุ สูม่ หาวิทยาลัย อาจารย์ส ุขสวัสดิ์ เชียงหว่อง
ไฟฟ้าสถิต

ก. 40 ข. 24 ค. 25 ง. 33.3

4. เมื่อนำตัวเก็บประจุขนำด 5 F และ 20 F ไปต่อเข้ำกับควำมต่ำงศักย์ 200V. จะเกิดประจุและ ควำมต่ำง


ศักย์บนตัวเก็บประจุตวั ละเท่ำไร ถ้ำตัวเก็บประจุท้ งั สองนั้นต่อแบบ
a. อนุกรม b.ขนำน

5. โลหะทรงกลมตัวนำ 2 ลูก มีรัศมี 5 และ10 ซม.ตำมลำดับ มีประจุมวล 400 C และ 500 C วำงอยูบ่ น
ฉนวน เมื่อนำลวดตัวนำต่อเชื่อมระหว่ำงทรงกลม ปรำกฎว่ำประจุเกิดกำรถ่ำยเท จงหำจำนวนประจุบนตัวนำ
ทั้งสอง หลังกำรถ่ำยเทประจุเรี ยบร้อยแล้ว

6. โลหะทรงกลม 3 ลูก รัศมี 2 , 3 และ 5 ซม. และมีประจุไฟฟ้ ำ 50 , 100 และ 150 C ตำมลำดับ ถ้ำใช้ลวด
ตัวนำต่อโยงถึงกันหมด แต่ละลูกจะมีศกั ย์ไฟฟ้ ำเท่ำใด และประจุไฟฟ้ ำแต่ละลูกจะมีค่ำเท่ำใด

7. ตัวเก็บประจุขนำด 25 F เมื่อต่อกับควำมต่ำงศักย์ขนำด 100 V. จงหำพลังงำนสะสมในตัวเก็บประจุ ( J)


ก. 0.1 ข. 0.125 ค. 0.25 ง. 0.5

8. ตัวเก็บประจุ 2 ตัวมีควำมจุ 3 และ 6 F ตำมลำดับ นำมำต่อกันและนำไปต่อกับควำมต่ำงศักย์ 180 V จง


หำประจุและพลังงำนสะสมทั้งหมด ในตัวเก็บประจุ เมื่อต่อประจุแบบ
a. อนุกรม b.ขนำน

14

You might also like