You are on page 1of 28

1

บทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต


13.1 แรงระหว่ างประจุและกฏของคูลอมบ์
กฏแรงกระทำระหว่ำงประจุของคูลอมบ์ กล่าวว่า
“ เมื่อประจุไฟฟ้ำ 2 ตัว อยูห่ ่ำงกันขนำดหนึ่งจะมีแรงกระทำซึ่ งกันและกันเสมอ หำก
เป็ นประจุชนิดเดียวจะมีแรงผลักกัน หำกเป็ นประจุต่ำงชนิ ดกันจะมีแรงดึงดูดกัน ”
ขนำดของแรงกระทำที่เกิดหำค่ำได้จำก
KQ1Q2
F =
R2
เมื่อ F คือขนำดของแรงกระทำ (นิวตัน)
K คือค่ำคงที่ของคูลอมบ์ มีค่ำเท่ำกับ 9 x 109 นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2
Q1 , Q2 คือขนำดของประจุตวั ที่ 1 และตัวที่ 2 ตำมลำดับ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะห่ำงระหว่ำงประจุท้ งั สอง ( เมตร )
หมายเหตุ : กำรคำนวณเกี่ยวกับขนำดของแรงกระทำระหว่ำงประจุ ไม่ตอ้ งนำ
เครื่ องหมำยบวกหรื อลบของประจุมำคำนวณ เพรำะเครื่ องหมำยบวกและลบจะบอกทิศทำงของ
แรงว่ำแรงนั้นจะเป็ นแรงดูดหรื อแรงผลักเท่ำนั้นไม่เกี่ยวกับขนำดของแรงที่เกิดขึ้น
1. จากรู ปให้หาแรงกระทาระหว่างประจุท้ งั สองนี้ R = 3 ม.
ว่ามีขนาดกี่นิวตัน
1. 0.01 2. 0.05 + –
3. 0.02 4. 0.15 Q1 = +5 x 10–6 C Q2 = –2 x 10–6 C
2

2. ประจุ +5.0 x 10–6 C และ –3.0 x 10–6 C วางอยูห่ ่างกัน 20 เซนติเมตร ถ้านาประจุทด
สอบขนาด +1.0 x 10–6 C มาวางไว้ที่จุดกึ่งกลางระหว่างประจุท้ งั สอง ขนาดและทิศทาง
ของแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบคือ
1. 0.72 นิวตัน และมีทิศชี้เข้าหาประจุลบ
2. 1.80 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุบวก
3. 7.20 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุลบ
4. 7.20 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุบวก

3. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B
C = +3 x 10–5 C
1. 3 นิวตัน
2. 4 นิวตัน 3 ม.
3. 5 นิวตัน A = 4 x 10–5 C
B = +1 x 10–4 C
4. 6 นิวตัน 3 ม.
3

13.2 สนามไฟฟ้ ารอบจุดประจุ


จุดประจุ หมายถึงประจุไฟฟ้าที่มีขนาดความกว้าง ความยาวน้อยมาก ( เช่นอิเล็กตรอน 1
ตัว ) และปกติน้ นั ประจุไฟฟ้ าใดๆ จะมีแรงทางไฟฟ้าแผ่ออกมารอบๆ ตัวประจุขนาดหนึ่งเสมอ
เราเรี ยกบริ เวณรอบประจุซ่ ึงมีแรงทางไฟฟ้าแผ่ออกมานั้นว่า สนามไฟฟ้ า ( E )
หากเรานาประจุขนาดเล็กอีกตัวหนึ่งมาวางในบริ เวณสนามไฟฟ้า ประจุที่นามาวางนั้นจะ
ถูกแรงที่แผ่ออกมากระทา ทาให้ประจุน้ นั เกิดการ
เคลื่อนที่ ประจุที่ถูกแรงทางไฟฟ้าทาให้เคลื่อนที่
นี้ เรี ยกเป็ นประจุทดสอบ (q ) ส่ วนประจุที่เป็ นตัว
(ประจุทดสอบ)
สร้างสนามไฟฟ้าจะเรี ยก ประจุต้นเหตุ( Q ) (ประจุ
ต ้ นเหตุ
)
สนามไฟฟ้าเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เพราะเป็ น
ปริ มาณที่มีทิศทาง และทิศของสนามไฟฟ้า กาหนดว่า
สาหรับตัวประจุบวก สนามไฟฟ้ามีทิศออกตัวประจุ
สาหรับตัวประจุลบ สนามไฟฟ้ามีทิศเข้าตัวประจุ
ดังแสดงในรู ป เส้นของแรงที่เขียนแทนแรงทางไฟฟ้า
ที่แผ่ออกมาเรี ยก เส้ นแรงไฟฟ้ า

สาหรับขนาดความเข้มสนามไฟฟ้าหาค่าได้จาก
E = KQ2 หรื อ E = Fq
R
เมื่อ E คือความเข้มสนามไฟฟ้า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
K คือค่าคงที่ของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9x109 นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2
Q คือขนาดของประจุตน้ เหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะห่างจากประจุตน้ เหตุ ( เมตร )
q คือขนาดของประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
F คือขนาดแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
4

4. จากรู ปจงหาว่าสนามไฟฟ้าของประจุ +2 x 10–3 คูลอมบ์ ณ.จุด A จะมีความเข้มกี่นิวตัน/-


คูลอมบ์ และ มีทิศไปทางซ้ายหรื อขวา
1. 1 x 106 N/C ไปทางขวา Q = +2 x 10–3 C
A
2. 2 x 106 N/C ไปทางขวา *
3. 1 x 106 N/C ไปทางซ้าย 3 ม.
4. 2 x 106 N/C ไปทางซ้าย

5(แนว En) ประจุ –1 คูลอมบ์ อยูท่ ี่จุด A และจุด B


C
ซึ่ งอยูห่ ่ำงกัน 5 เมตร ที่จุด C ซึ่ งอยูห่ ่ำงจำกทั้ง
จุด A และจุด B เป็ นระยะทำง 5 เมตร จะมี
ขนำดของสนำมไฟฟ้ำเท่ำไร 5 ม. 5 ม.
1. 3 25 K 2. 23 25 K
–1C –1C
3. 25 2 K K
4. 25 A 5 ม. B

สาหรับแรงที่สนามไฟฟ้ากระทาต่อประจุทดสอบ จะหาค่าได้จาก
F = qE
เมื่อ F คือขนาดแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
q คือขนาดของประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
E คือความเข้มสนามไฟฟ้า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
5

6. จงหำค่ำสนำมไฟฟ้ ำที่ เกิ ดจำกประจุ 50 x 10–10 คูลอมบ์ ณ จุดที่อยู่ห่ำงออกไป 80 เซน-


ติเมตร และถ้ำมีอิเล็กตรอน 2 ตัว อยูท่ ี่จุดนั้น อิเล็กตรอนจะถูกแรงกระทำเท่ำใด
( กำหนด e 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 70.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 2.25 x 10–17 นิวตัน
2. 75.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 9.25 x 10–17 นิวตัน
3. 70.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 8.25 x 10–17 นิวตัน
4. 76.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 5.25 x 10–17 นิวตัน

13.3 ศักย์ ไฟฟ้ารอบจุดประจุ


เมื่อเรานาประจุทดสอบ ( q ) มาวางใน
สนามไฟฟ้าของประจุตน้ เหตุ ( Q ) ประจุทด
สอบนั้นจะถูกแรงกระทาทาให้เกิดการเคลื่อน
ที่ และการที่ประจุทดสอบสามารถเคลื่อนที่
ได้ แสดงว่าประจุทดสอบนั้นมีพลังงานสะสมอยูภ่ ายในตัว พลังงานที่สะสมในประจุเช่นนี้
เรี ยกว่าพลังงานศักย์ไฟฟ้า ( Ep ) และขนาดของพลังงานศักย์ไฟฟ้าของประจุ 1 คูลอมบ์ จะ
เรี ยกว่าศักย์ไฟฟ้า ( V )
ศักย์ไฟฟ้าเป็ นปริ มาณสเกลาร์ เพราะเป็ นปริ มาณที่ไม่มีทิศทาง เราสามารถคานวณหาค่า
ของศักย์ไฟฟ้ารอบจุดประจุได้จาก
Ep
V= q หรื อ V = KQ R
เมื่อ V คือศักย์ไฟฟ้า ( โวลต์ )
q คือประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
Ep คือพลังงานศักย์ไฟฟ้าของประจุทดสอบ ( จูล )
Q คือประจุตน้ เหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะห่างจากประจุตน้ เหตุ ( เมตร )
6

ข้ อควรทราบ
1) การคานวณหาศักย์ไฟฟ้าต้องแทนเครื่ องหมาย บวก และลบ ของประจุดว้ ยเสมอ
2) เมื่อทาการเลื่อนประจุทดสอบ ( q ) จากจุดที่หนึ่งไปสู่ จุดที่สองซึ่ งมีศกั ย์ไฟฟ้าต่างกัน
เราสามารถคานวณหางานที่ใช้เลื่อนประจุน้ นั ได้จาก
W = q ( V2 – V1 )
เมื่อ W คืองานที่ใช้ในการเลื่อนประจุ ( จูล )
q คือประจุที่ถูกเลื่อน ( คูลอมบ์ )
V1 คือศักย์ไฟฟ้าที่จุดเริ่ มต้น (โวลต์ )
V2 คือศักย์ไฟฟ้าที่จุดสุ ดท้าย ( โวลต์ )

7. ประจุ Q มีขนาด –1 x 1 0–9 คูลอมบ์ จงหาศักย์ไฟฟ้ า ณ. จุดซึ่ งห่ างจากประจุ Q นี้ ออก
ไป 1 เมตร
1. 3 โวลต์ 2. 9 โวลต์ 3. –3 โวลต์ 4. –9 โวลต์

8. จงหางานที่ใช้ในการเลื่อนประจุขนาด – 2 คูลอมบ์ จากจุดซึ่งมีศกั ย์ไฟฟ้า +10 โวลต์ ไป


ยังจุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้า +15 โวลต์
1. 1 จูล 2. 10 จูล 3. –1 จูล 4. –10 จูล

9. จุด A อยูห่ ่ างจากประจุ –2 x 10–10 คูลอมบ์ เป็ นระยะ 1 เมตร จงหางานในหน่วยจูล ที่
ต้องทาในการพาประจุ 3 x 10–12 คูลอมบ์ จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้
1. 5.4 x 10–12 2. 7.2 x 10–12 3. –5.4 x 10–12 4. –7.2 x 10–12
7

กรณี ที่มีศกั ย์ไฟฟ้าย่อยหลายๆ ตัว หากต้องการหาค่าศักย์ไฟฟ้ารวมให้นาศักย์ไฟฟ้าย่อย


แต่ละตัวมารวมกันแบบพีชคณิ ตธรรมดา เพราะศักย์ไฟฟ้าเป็ นปริ มาณสเกลาร์ ไม่ใช่เวกเตอร์
10. จากรู ป A , B และ C มีจุดประจุขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ์
ตามลาดับ เมื่อ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ
BP = 0.1 เมตร หากนาประจุ +1.0 x 10–5 คูลอมบ์
จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด P ต้องทางานกี่จูล
C
1. 2.10 2. 1.05
3. 0.105 4. 10.5
A B
P
O

13.4 สนามไฟฟ้ า และศักย์ ไฟฟ้ าเนื่องจากประจุบนตัวนาทรงกลม


ในตอนที่ผา่ นนั้นเป็ นเรื่ องราวเกี่ยวกับสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้าของจุดประจุ ( ประจุที่มี
ขนาดเล็ก ) สาหรับในตอนนี้ จะเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าของตัวนาไฟฟ้ าที่มี
ประจุไฟฟ้ าสะสมอยู่ภายใน เช่ นลู กตุม้ เหล็กขนาดเท่ากาปั้ นซึ่ งมีอิเล็กตรอนอยูภ่ ายในมากมาย
เป็ นต้น การคานวณหาสนามไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้ารอบตัวนาเช่นนี้ตอ้ งแบ่งเป็ น 2 กรณี ได้แก่
กรณีที่ 1 หากจุดที่จะคานวณอยูภ่ ายนอก หรื อ
อยูท่ ี่ผวิ วัตถุ ให้ใช้สมการ
E = KQ2 และ V = KQ R
R
เมื่อ E คือความเข้มสนามไฟฟ้า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
V คือศักย์ไฟฟ้า ( โวลต์ )
K คือค่าคงที่ของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9x109 นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2
Q คือขนาดของประจุตน้ เหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะที่วดั จากจุดศูนย์กลางวัตถุตวั นาไปถึงจุดที่จะคานวณ
8

กรณีที่ 2 หากจุดที่จะคานวณอยูภ่ ายในวัตถุ ให้ถือหลักการว่า


Eทุกจุดภายในวัตถุตวั นา = 0
Vทุกจุดภายในวัตถุตวั นา = Vที่ผวิ วัตถุน้ นั

11. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –1 x 10–9 คูลอมบ์


จงหำสนำมไฟฟ้ำและศักย์ไฟฟ้ำที่
ก. ระยะทำง 2 เมตร จำกผิวทรงกลม 1 ม. 2 ม.
ข. ผิวทรงกลม
ค. ระยะ 0.2 เมตร จำกจุดศูนย์กลำงทรงกลม
1. ก) 1 N/ C , –3 โวลต์ ข) 9 N/ C , –9 โวลต์ ค) 0 N/ C , –9 โวลต์
2. ก) 2 N/ C , –3 โวลต์ ข) 8 N/ C , –7 โวลต์ ค) 2 N/ C , –8 โวลต์
3. ก) 1 N/ C , –3 โวลต์ ข) 8 N/ C , –8 โวลต์ ค) 0 N/ C , –7 โวลต์
4. ก) 2 N/ C , –3 โวลต์ ข) 3 N/ C , –6 โวลต์ ค) 1 N/ C , –9 โวลต์

12. ตัวนำทรงกลมรัศมี 90 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้ ำที่ระยะห่ ำง 45


เซนติเมตร จำกจุดศูนย์กลำงของทรงกลมจะมีค่ำกี่โวลต์
1. 0 2. 1.0 x 104 3. 2.0 x 104 4. 4.4 x 104
9

13.5 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความต่ างศักย์ และสนามไฟฟ้ าสมา่ เสมอ


ในกรณี ที่เรามีแผ่นโลหะ 2 แผ่นวางขนานกัน
แผ่นหนึ่งมีประจุไฟฟ้าบวกสะสมอยู่ อีกแผ่นหนึ่งนั้น
มีประจุไฟฟ้าลบสะสม สนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นทั้ง
สองจะมีทิศออกจากขั้วบวกเข้าหาขั้วลบดังรู ป และ
ขนาดของสนามไฟฟ้าทุกๆ จุดระหว่างแผ่นคู่ขนานนี้
จะมีค่าเท่ากันทุกจุด เราจึงเรี ยกสนามไฟฟ้าระหว่าง
แผ่นโลหะคูข่ นานเช่นนี้วา่ สนามไฟฟ้าสม่าเสมอ
เราหาค่าความเข้มของสนามไฟฟ้าสม่าเสมอได้จาก
E = Vd
เมื่อ E คือค่าความเข้มสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
V คือความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คานวณ (โวลต์ )
d คือระยะห่างระหว่างจุดที่คานวณ ( เมตร)
13. มีแผ่นโลหะสองแผ่นที่ขนำนกันและอยูห่ ่ ำงกัน 3 มิลลิ เมตร ถ้ำควำมต่ำงศักย์ระหว่ำง
แผ่นโลหะทั้งสองเท่ำกับ 90 โวลต์ สนำมไฟฟ้ำระหว่ำงแผ่นโลหะคู่น้ ีมีค่ำกี่โวลต์/เมตร
1. 3 V/m 2. 30 V/m 3. 300 V/m 4. 3x104 V/m

14. แผ่นตัวนำคู่ขนำนเท่ำกันวำงห่ำงกัน 5 เซนติเมตร มีสนำมไฟฟ้ำสม่ำเสมอเข้ม 20 โวลต์/-


เมตร จะมีค่ำควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงขั้วบวกและลบกี่โวลต์
10

จากสมการ E = Vd
อาจจัดสมการใหม่เป็ น V = Ed
เมื่อ V คือความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คานวณ (โวลต์ )
E คือค่าความเข้มสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
d คือระยะห่างระหว่างจุดที่คานวณ ( เมตร)
เงื่อนไขการใช้ สูตร V = Ed
1. ทิศของการกระจัด ( d ) และสนามไฟฟ้า ( E ) ต้องอยูใ่ นแนวขนานกัน
หากทิศของการกระจัด ( d ) ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้า ( E ) ให้ตอบ ความต่างศักย์ (V) = 0
หากทิศของการกระจัด ( d ) เอียงทามุมกับสนามไฟฟ้า ( E ) ต้องแตกการกระจัด d นั้น
ให้ขนานกับสนามไฟฟ้า ( E ) ก่อน แล้วใช้การกระจัดที่อยูใ่ นแนวขนานกับสนามไฟฟ้า ( E )
มาแทนค่าในสมการ
2. ถ้าการกระจัด ( d ) มีทิศไปทางเดียวกับสนามไฟฟ้า ( E ) ให้ใช้ค่าการกระจัด ( d ) เป็ นลบ
ถ้าการกระจัด ( d ) มีทิศสวนทางกับสนามไฟฟ้า ( E ) ให้ใช้ค่าการกระจัด ( d ) เป็ นบวก
การหางาน ( W ) เนื่องจากการเลื่อนประจุในสนามไฟฟ้าอาจหาได้จาก
W = q ( V2 – V1 ) ( ค่า V2 – V1 คือความต่างศักย์อาจแทนค่าด้วย V ก็ได้ )
จะได้ W = q V
เมื่อ W คืองานที่ใช้ในการเลื่อนประจุ ( จูล )
q คือประจุที่ถูกเลื่อน ( คูลอมบ์ )
V คือความต่างศักย์ไฟฟ้า (โวลต์ )
15. จงหางานในการเลื่อนประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ์ จาก
จุด A ไป B ซึ่ งอยูภ่ ายใต้สนามไฟฟ้า 8 โวลต์/เมตร ดังรู ป 2m o
B

1. 8 x 10–6 จูล 2. –8 x 10–6 จูล A


60
3. 16 x 10–6 จูล 4. –16 x 10–6 จูล E = 8 V/m
11

หากเรานาประจุทดสอบ ( q ) ไปวางในสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ ประจุทดสอบนั้นจะถูก


แรงกระทาแล้วทาให้เกิดการเคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้าสม่าเสมอนั้น
โดย ประจุไฟฟ้าบวกจะวิง่ ไปหาขั้วไฟฟ้าลบ
และ ประจุไฟฟ้าลบจะวิง่ ไปหาขั้วไฟฟ้าบวก
โปรดสั งเกตว่า
แรงกระทาต่อประจุบวกจะมีทิศเดียวกับสนามไฟฟ้า
แรงกระทาต่อประจุลบจะมีทิศตรงกันข้ามกับสนามไฟฟ้า
และ เราสามารถหาขนาดของแรงกระทานั้น ได้จาก
F = qE หรื อ F = q Vd
เมื่อ F คือ แรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
E คือค่าความเข้มสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
V คือความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คานวณ (โวลต์)
d คือระยะห่างระหว่างจุดที่คานวณ ( เมตร)
16. สนำมไฟฟ้ ำขนำด 280000 นิ วตัน/คูลอมบ์ มีทิศไปทำงใต้ จงหำขนำดและทิศทำงของ
แรงที่กระทำต่อประจุ –4.0 ไมโครคูลอมบ์ วำงอยูใ่ นสนำมไฟฟ้ำนี้
1. 1.12 นิวตัน , ทิศเหนือ 2. 3.12 นิวตัน , ทิศเหนือ
3. 3.12 นิวตัน , ทิศใต้ 4. 1.12 นิวตัน , ทิศใต้

17(แนว มช) แผ่นตัวนำขนำนห่ ำงกัน 1.0 เซนติเมตร ทำให้เกิดสนำมไฟฟ้ ำสม่ำเสมอในแนวดิ่ง


ถ้ำแผ่นบนมีศกั ย์ไฟฟ้ ำเป็ นศูนย์ จะต้องทำให้แผ่นล่ำงมีศกั ย์ไฟฟ้ำกี่โวลต์จึงจะทำให้อนุ ภำค
มวล 1.6 x 10–15 กิโลกรัม และมีประจุ +1.6 x 10–19 คูลอมบ์ ลอยอยูน่ ิ่ งๆ ได้ที่ตำแหน่ ง
หนึ่งระหว่ำงแผ่นตัวนำขนำนนี้
12

18. สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ E มีขนาด 1.0 x 104 นิ วตันต่อคู ลอมบ์ มีทิศตามแนวดิ่ ง กระทา
กับ ลูกพิธมวล 0.02 กรัม พบว่าลูกพิธเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ ง 2 เมตรต่อวินาที2 ลูกพิธมี
ประจุกี่คูลอมบ์
1. 1.6 x 10–7 2. 8 x 10–7 3. 1.6 x 10–8 4. 8 x 10–8

13.6 ตัวเก็บประจุและความจุ
13.6.1 ตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุ คือวัสดุที่สามารถเก็บสะสมประจุไฟฟ้าไว้ภายในตัวเองได้
สาหรับจานวนประจุที่ตวั เก็บประจุแต่ละตัวสามารถเก็บไว้ได้จะมากหรื อน้อยนั้น
สามารถดูได้จากค่าความจุของตัวเก็บประจุน้ นั ๆ ( C ) หากตัวเก็บประจุมีค่าความจุสูงก็จะเก็บ
ประจุได้มาก หากมีค่าความจุต่าก็จะเก็บประจุได้นอ้ ย
ตัวเก็บประจุ แบบทรงกลม
ตัวเก็บประจุแบบนี้ เราสามารถหาค่าความจุประจุได้จาก
C = ka หรื อ C = QV
เมื่อ C คือค่าความจุประจุ ( ฟารัด )
a คือรัศมีทรงกลม ( เมตร )
K คือค่าคงที่ของคูลอมบ์ = 9 x 109 นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2
Q คือประจุที่เก็บสะสม ( คูลอมบ์) V คือศักย์ไฟฟ้าที่ผวิ ( โวลต์ )
ตัวเก็บประจุ แบบแผ่ นโลหะคู่ขนาน
ตัวเก็บประจุแบบนี้จะมีแผ่นโลหะแบนๆ 2 แผ่น
วางขนานกันโดยแผ่นหนึ่งจะเก็บสะสมประจุบวก ส่ วน
อีกแผ่นจะเก็นสะสมประจุลบ ตัวเก็บประจุแบบนี้ เราสามารถหาค่าความจุประจุได้จาก
C = QV
เมื่อ C คือค่าความจุประจุ ( ฟารัด )
Q คือประจุที่ข้ วั บวก (คูลอมบ์)
V คือความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้า (โวลต์)
13

เราสามารถหาพลังงานไฟฟ้าที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุแผ่นโลหะคู่ขนานได้จาก
2
U = 12 Q V หรื อ U = 12 QC หรื อ U = 12 C V2
เมื่อ U คือพลังงานที่เก็บสะสม ( จูล )
Q คือประจุที่ข้ วั บวก ( คูลอมบ์ )
V คือความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้า ( โวลต์ )
C คือค่าความจุประจุ ( ฟารัด )
19. ประจุ 2 ไมโครคู ล อมบ์ กระจำยสม่ ำเสมอบนตัวน ำทรงกลมรั ศมี 10 เซนติ เมตร
ควำมจุทรงกลมนี้คือกี่ฟำรัด
1. 1.1 x 10–11 2. 0.11 x 10–11 3. 0.22 x 10–11 4. 0.44 x 10–11

20. แผ่นโลหะขนานห่ างกัน 0.1 เมตร ใช้ทาเป็ นตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุ 9 นาโนฟารัด


ถ้าสนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นโลหะมีค่า 3 นิ วตัน/คูลอมบ์ อยากทราบว่าตัวเก็บประจุน้ ี มี
ประจุกี่คูลอมบ์
1. 2.7 x 10–4 2 . 2.7 x 10–6 3. 2.7 x 10–9 4. 2.7x10–11

21. จงหำพลังงำนที่สะสมในคำปำซิ เตอร์ ที่มีควำมจุ 2 ไมโครฟำรัด เมื่อประจุไฟฟ้ ำให้คำปำ-


ซิ เตอร์ จนมีควำมต่ำงศักย์ 100 โวลต์
1. 10–2 จูล 2. 10–3 จูล 3. 10–4 จูล 4. 10–5 จูล
14

13.6.2 การต่ อตัวเก็บประจุ


ปกติแล้วในวงจรไฟฟ้าหนึ่งๆ นั้น จะต้องใช้ตวั เก็บประจุหลายๆ ตัวเข้ามาต่อร่ วมกัน
ทางาน การต่อตัวเก็บประไฟฟ้าหลายตัวเข้าด้วยกันนั้น โดยทัว่ ไปแล้วจะมี 2 แบบ ได้แก่
การต่อแบบอนุกรม และการต่อแบบขนาน
ก. การต่ อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม
การต่อแบบอนุกรมจะเป็ นการต่อตัวเก็บประจุหลายๆ ตัวให้อยูใ่ นแนวเส้นเดียวกัน ดังรู ป
การต่อแบบอนุกรมจะมีสิ่งต้องจดจาดังนี้
1. ประจุไฟฟ้าที่เก็บในตัวเก็บแต่ละตัว จะมี
ขนาดเท่ากัน และเท่ากับประจุไฟฟ้ารวมที่ไหลเข้า
Q1 Q2
วงจร นัน่ คือ Qรวม = Q1 = Q2 = …..
Q Q
2. ความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวเก็บประจุแต่ละ V1= C1 V2= C 2
1 2
ตัวอาจมีค่าไม่เท่ากันก็ได้ นัน่ คือ V1  V2  ……
3. ความต่างศักย์รวมทั้งวงจร จะเท่ากับความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุแต่ละตัวรวมกัน
นัน่ คือ Vรวม = V1 + V2 + …..
4. ค่าความจุประจุรวมหาค่าได้จาก C 1 = C1 + C1 + ….
รวม 1 2
C xC
และหากตัวเก็บประจุต่ออนุกรมกันเพียง 2 ตัว ค่าความจุรวมอาจหาได้จาก Cรวม = C1  C2
1 2
ข. การต่ อตัวเก็บประจุแบบขนาน
การต่อแบบขนานจะเป็ นการต่อตัวเก็บประจุหลายๆ ตัวโดยแยกกันอยูค่ นละสายดังรู ป
การต่อแบบอนุกรมจะมีสิ่งที่ตอ้ งจดจาดังนี้
1. ประจุไฟฟ้าที่เก็บในตัวเก็บแต่ละตัว อาจมี Q1

ขนาดไม่เท่ากันก็ได้ นัน่ คือ Qรวม  Q1  Q2  …..


2. ประจุไฟฟ้ารวม จะมีขนาดเท่ากับผลบวกของประจุไฟฟ้าในแต่ละตัวเก็Qบประจุ 2
Qรวม = Q1 + Q2 + …..
3. ความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวเก็บประจุแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากันและเท่ากับความต่างศักย์
รวมของวงจรด้วย นัน่ คือ Vรวม = V1 = V2
4. ค่าความจุประจุรวมหาค่าได้จาก Cรวม = C1 + C2
15

22. ตัวเก็บประจุแบบโลหะแผ่นขนำน C1 = 2 F และ C2 = 3F ต่อกันอย่ำงอนุ กรมกับขั้ว


ทั้งสองของแบตเตอรี่ ขนำด 10 โวลต์ จงหำ V1 V2
Q1 Q2
ก. ประจุไฟฟ้ำบน C1 และ C2
ข. ควำมต่ำงศักย์บน C1 และ C2 ( ตอบตำมลำดับ ) C1 C2
1. ก. 12 C , 12 C , ข. 6 V , 4 V
2. ก. 13 C , 10 C , ข. 8 V , 4 V
Vรวม = 10 V
3. ก. 15 C , 12 C , ข. 9 V , 4 V
4. ก. 18 C , 12 C , ข. 7 V , 4 V

23. ตัวเก็บประจุขนาด 4.0 F และ 8.0 F ต่อขนานกัน และต่อเข้ากับความต่างศักย์ 25


โวลต์ จงหาความจุไฟฟ้ารวม และ ประจุที่สะสมในตัวเก็บประจุแต่ละตัว ตามลาดับ
1. 12 F , 50 C , 100 C 2. 12 F , 50 C , 200 C
3. 12 F , 100 C , 100 C 4. 12 F , 100 C , 200 C
16

เฉลยบทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต


1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบ 1 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบ 1000 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 4.


ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย


บทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต ชุ ด ที่ 2
13.1 แรงระหว่ างประจุและกฏของคูลอมบ์
1(En46 มี.ค.) จำกรู ปจงหำขนำดของแรงลัพธ์บนประจุ +2q
2 +2q
1. 2 K2q cos 30o
r
2 60o
2. 4 K2q cos 30o
r r r
2
3. 2 K2q cos 60o
r 60o 60o
2
4. 4 K2q cos 60o –q r –q
r
2(มช 44) ประจุบวก q1 , q2 และ q3
กระจำยอยูบ่ นแกน X ดังรู ป โดยมี q1 q2 q3
q1 = +1 ไมโครคูลอมบ์ วำงที่จุดกำเนิ ด x
( X = 0) ประจุ q2 วำงที่ตำแหน่ง 2 ม.
X = 2 เมตร และประจุ q3 = +4 ไมโครคูลอมบ์ ห่ำง จำกประจุ q2 ไปทำงขวำ ถ้ำแรงลัพธ์
ที่กระทำต่อประจุ q2 เป็ นศูนย์ ประจุ q3 จะต้องห่ำงจำกประจุ q1 กี่เมตร
17

13.2 สนามไฟฟ้ ารอบจุดประจุ


3(มช 44) ประจุบวก q1 = +2 ไมโครคูลอมบ์ วำงห่ำงจำก ประจุลบ q2 = –2 ไมโครคูลอมบ์
เป็ นระยะ 6 เมตร สนำมไฟฟ้ำที่ตำแหน่งกึ่งกลำงระหว่ำง 2 ประจุน้ ี ในหน่วยของนิว-
ตัน/คูลอมบ์ มีค่ำเป็ นเท่ำใด
1. –2 x 103 2. 0 3. 2 x 103 4. 4 x 103
4(En 38) ประจุ –1 คูลอมบ์ อยูท่ ี่จุด A และจุด B
C
ซึ่ งอยูห่ ่ำงกัน 5 เมตร ที่จุด C ซึ่ งอยูห่ ่ำงจำกทั้ง
จุด A และจุด B เป็ นระยะทำง 5 เมตร จะมี
ขนำดของสนำมไฟฟ้ำเท่ำไร 5 ม. 5 ม.
1. 3 25 K 2. 23 25 K
–1C –1C
3. 25 2 K K
4. 25 A 5 ม. B

5(แนว มช) ประจุไฟฟ้าขนาด +9 C ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 0 ม. และประจุไฟฟ้าที่ สอง


+4 C ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 1 ม. จุดสะเทินจะอยูห่ ่างจากประจุ +9 C กี่เมตร
1. 0.2 2. 0.4 3. 0.6 4. 1.0
6(แนว มช) วางประจุ +9Q คูลอมบ์ ที่ตาแหน่งจุดกาเนิด (0 , 0) และจุดประจุ –4Q คูลอมบ์
ที่ตาแหน่ง X = 1 เมตร Y = 0 จงหาระยะบนแกน X ที่สนามไฟฟ้าเป็ นศูนย์
1. X = 0.4 2. X = 0.6 3. X = 2 4. X = 3

13.3 ศักย์ ไฟฟ้ารอบจุดประจุ


7(En48 มี.ค.) ประจุ Q วำงที่ตำแหน่ง A , B , C และ D
D
ของวงกลมที่มีรัศมี R ดังรู ป ศักย์ไฟฟ้ำที่จุดศูนย์กลำง
+Q
วงกลมนี้เป็ นตำมข้อใด ( ให้ K = 4  1 )
0 +Q O +Q
1. 0 2.  R Q A C

0 R
Q
3.  R 4. 4Q R +Q
0 0 B
18

8(มช 42) สี่ เหลี่ยมจัตุรัสมีเส้นทะแยงมุมยำว 0.2 เมตร วำงประจุ 5 x 10–6 , 3 x 10–6 ,


–4 x 10–6 และ –2 x 10–6 คูลอมบ์ ที่มุมทั้งสี่ ของรู ปสี่ เหลี่ยมนี้ จงหำศักย์ไฟฟ้ำที่จุด
ศูนย์กลำงของสี่ เหลี่ยมจัตุรัสในหน่วยโวลต์
1. 18 x 104 2. 2 x 104 3. 14 x 104 4. 9 x 104
9 (มช 38) ที่ตำแหน่ง O และ Q มีประจุไฟฟ้ำ P
3.0 x 10–6 คูลอมบ์ และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ์
ดังรู ป OR = QR = 0.4 เมตร และ PR = 0.3 0.3 ม.
เมตร จงหำควำมต่ำงศักย์ระหว่ำง R และ P 0.4 ม. R 0.4 ม.
( ตอบในหน่วยโวลต์ ) O Q

10(En 36) โลหะรู ปทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุ 10–9 คูลอมบ์ จำกรู ป จงหำงำน
ในกำรนำโปรตอน 1 ตัว เคลื่อนที่ A
จำกจุด B มำยังจุด A ดังรู ป 20 cm
1. 2.9 x 10–18 จูล
2. 4.3 x 10–18 จูล
3. 7.2 x 10–18 จูล B
–18
4. 30 x 10 จูล 10 cm 50 cm

11(En41 ต.ค) จุดประจุ A ขนำด 15 ไมโครคูลอมบ์ อยูบ่ นแกน Y ณ.ตำแหน่ง y = –3.0 เมตร
ในขณะที่จุดประจุ B ขนำด –4 ไมโครคู ลอมบ์ อยู่บนแกน X ณ.ตำแหน่ ง x = 2.0 เมตร
จงหำว่ำจะต้องใช้พลังงำนเท่ำใดในกำรย้ำยประจุ +2 ไมโครคูลอมบ์ จำกระยะอนันต์มำไว้
ยังจุดกำเนิดพิกดั ฉำกนี้
1. –27 mJ 2. 54 mJ 3. –63 mJ 4. 63 mJ
13.4 สนามไฟฟ้ า และศักย์ ไฟฟ้ าเนื่องจากประจุบนตัวนาทรงกลม
12(En 38) ลูกบอลทองแดงทรงกลมกลวงมีเนื้อหนำ 2 เซนติเมตร มีรัศมีภำยนอก 3 เซนติเมตร
รัศมีภำยใน 1 เซนติเมตร ถ้ำให้ประจุ +3 คูลอมบ์ แก่ลูกบอลนี้ อัตรำส่ วนของประจุที่ผิว
ภำยในต่อประจุที่ผวิ ภำยนอกเป็ นเท่ำไร
1. 0 : 3 2. 1 : 3 3. 1 : 9 4. 1 : 27
19

13(แนว A–net) ทรงกลมตัวนำรัศมี 0.1 เมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้ ำที่ระยะ 5


เซนติเมตร จำกจุดศูนย์กลำงภำยในทรงกลมเป็ นเท่ำใด
1. 0 V 2. 9 x 103 V 3. 9 x 104 V 4. 1.8 x 105 V
14(En41 ต.ค) ศักย์ไฟฟ้ ำของตัวนำทรงกลมรัศมี 60 เซนติเมตร มี ค่ำเท่ำกับ 3 x 105 โวลต์
ประจุไฟฟ้ำในข้อใดที่ตวั นำทรงกลมนี้สำมำรถเก็บได้
1. 12 C 2. 18 C 3. 20 C 4. 24 C

15(En44 ต.ค.) ถ้ำถือว่ำโลกมีรูปร่ ำงทรงกลมซึ่ งมีรัศมีเท่ำกับ 6400 กิโลเมตร และพบว่ำบริ เวณ


ใกล้ๆ ผิวโลกมี ควำมเข้มสนำมไฟฟ้ ำขนำดเท่ำกับ 100 โวลต์ต่อเมตร จงหำปริ มำณประจุ
ไฟฟ้ำบนผิวโลก
1. 9 x 10–2 C 2. 50 x 103 C 3. 4.55 x 105 C 4. 9 x 105 C

16(แนว A-net) ทรงกลมโลหะรัศมี 9 มิลลิเมตร สำมำรถรับประจุในอำกำศได้ปริ มำณสู งสุ ดเท่ำ


ใด ถ้ำอำกำศแตกตัวเป็ นไอออนเมื่อสนำมไฟฟ้ำในอำกำศมีขนำดสู งถึง 3 x 106 โวลต์/เมตร
1. 1.5 x 10–3 C 2. 1.7 x 10–3 C 3. 1.7 x 10–8 C 4. 2.7 x 10–8 C

17(En42 มี .ค) ทรงกลมโลหะกลวงมีรัศมี 20 เซนติเมตร ท ำให้มีศกั ย์ไฟฟ้ ำ 10,000 โวลต์


สนำมไฟฟ้ำภำยนอกทรงกลมบริ เวณใกล้ผวิ จะมีค่ำเท่ำใดในหน่วยโวลต์ต่อเซนติเมตร

18(En 40) ตัวนำทรงกลมมีรัศมี 10 เซนติ เมตร มี ป ระจุ ก ระจำยอย่ำงสม่ ำเสมอบนผิวตัวนำ


ถ้ำกรำฟแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงขนำดสนำมไฟฟ้ ำ (E) กับระยะจำกจุดศูนย์กลำงของ
ทรงกลม (r) มีค่ำดังรู ป ศักย์ไฟฟ้ำที่ E (N/C)
r = 5 เซนติเมตร จะมีค่ำเท่ำใด 5 x 106
1. 0 V
2. 5.0 x 105 V
3. 1.0 x 106 V
4. 5.0 x 107 V 0 10 r (cm)
20

19(En46 มี.ค.) ถ้ำตัวนำทรงกลมรัศมี R มีประจุ + +


+
บวกกระจำยสม่ำเสมอดังรู ป ศักย์ไฟฟ้ำเนื่อง R +
+ r
จำกประจุบนตัวนำทรงกลมเป็ นตำมข้อใด + +
+
1. v 2. v

r r
–R R –R R

v v

3. r
4. r
–R R –R R
13.5 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความต่ างศักย์ และสนามไฟฟ้ าสมา่ เสมอ
20(En41 เม.ย.) แผ่นตัวนำคู่ขนำนขนำดเท่ำกันวำงห่ำงกัน 3 มิลลิเมตร ถ้ำต่อแผ่นคู่ขนำนนี้เข้ำ
กับแบตเตอรี่ 9 โวลต์ สนำมไฟฟ้ำระหว่ำงแผ่นตัวนำคู่ขนำนจะมีขนำดเท่ำใด
1. 0.027 V.m 2. 27 V.m 3. 3 V/m 4. 3000 V/m
21(มช 43) สนำมไฟฟ้ำสม่ำเสมอขนำดเท่ำกับ 8 x 106 โวลต์/เมตร
ตำแหน่ง A และ B อยูห่ ่ำง กัน 0.5 เมตร ดังรู ป จงหำควำม 0.5 ม.
ต่ำงศักย์ไฟฟ้ำในหน่วยเมกกะโวลต์ (MV) ระหว่ำง A และ B A B

22(En44 มี.ค.) จงหำงำนของแรงภำยนอกใน


กำรเลื่อนประจุ +4 ไมโครคูลอมบ์ อย่ำง 5cm
A B
ช้ำๆ จำกตำแหน่ง C ไป B และจำก B 120o
ไป A ภำยใต้สนำมไฟฟ้ำสม่ำเสมอขนำด 10cm
1 x 104 โวลต์/เมตร ดังรู ป E C
1 . 4 x 10–3 J 2 . 6 x 10–3 J
3. –4 x 10–3 J 4. –6 x10–3 J
21

23(แนว มช) แผ่นตัวนำขนำนห่ ำงกัน 1.0 เซนติเมตร ทำให้เกิดสนำมไฟฟ้ ำสม่ำเสมอในแนวดิ่ง


ถ้ำแผ่นบนมีศกั ย์ไฟฟ้ ำเป็ นศูนย์ จะต้องทำให้แผ่นล่ำงมีศกั ย์ไฟฟ้ำกี่โวลต์จึงจะทำให้อนุ ภำค
มวล 1.6 x 10–15 กิโลกรัม และมีประจุ +1.6 x 10–19 คูลอมบ์ ลอยอยูน่ ิ่ งๆ ได้ที่ตำแหน่ ง
หนึ่งระหว่ำงแผ่นตัวนำขนำนนี้
24(En 32) บริ เวณที่มีสนำมไฟฟ้ำ 160 โวลต์/เมตร มีทิศในแนวดิ่งจำกบนลงล่ำง ปรำกฏว่ำ
ละอองน้ ำหยดหนึ่งซึ่ งมีประจุ –6.4 x 10–18 คูลอมบ์ เคลื่อนที่ลงในแนวดิ่งด้วยควำมเร่ ง 2
เมตร/วินำที2 มวลของละอองน้ ำนี้มีค่ำเท่ำใดในหน่วยของ 10–18 กิโลกรัม
25(En 26) อนุ ภำคอันหนึ่ งมวล 2.0 x 10–5 กิโลกรัม และมีประจุ +2.0 x 10–6 คูลอมบ์ เมื่อ
นำมำวำงไว้ใน สนำมไฟฟ้ำที่มีทิศตำมแนวดิ่ง ปรำกฏว่ำอนุ ภำคนี้ เคลื่อนที่ลงด้วยอัตรำเร่ ง
20 เซนติเมตร/วินำที2 ขนำดและทิศของสนำมไฟฟ้ำมีค่ำ
1. 100 N/C ทิศพุง่ ขึ้น 2. 98 N/C ทิศพุง่ ขึ้น
3. 100 N/C ทิศพุง่ ลง 4. 98 N/C ทิศพุง่ ลง
26(แนว 9 สามัญ) อิเล็กตรอนตัวหนึ่ งลอยนิ่ งอยู่ในสนำมไฟฟ้ ำเนื่ องจำกคู่ขนำนทิศชี้ จำกบนลง
ล่ำง ถ้ำกลับทิ ศของสนำมไฟฟ้ ำ ควำมเร่ งของอิ เล็กตรอนเป็ นกี่ เท่ำของควำมเร่ งจำกแรง
โน้มถ่วง
1. 14 2. 12 3. 1 4. 2 5. 4
27(En46 ต.ค) ลูกบอลพลำสติกพลำสติกมวล m แขวนด้วยเชือกยำว d และอยูใ่ นบริ เวณที่มี
สนำมไฟฟ้ ำสม่ ำเสมอขนำด E ในแนวระดับดังรู ป ถ้ำลู กบอลอยู่ในตำแหน่ งสมดุ ลเส้ น
เชือกทำมุม  กับแนวดิ่ง จงหำขนำดของประจุ
E
ไฟฟ้ำบนลูกบอลพลำสติก  d
1. E mg mg
2. E tan  g
3. mg E cot  4. mg
E cos 
28(En44 ต.ค.) โลหะทรงกลมมวล m แขวนด้วยเชือกที่
เป็ นฉนวน อยูใ่ นบริ เวณสนำมไฟฟ้ำ ( E ) สม่ำเสมอ E 37o
ขนำด 600 นิวตันต่อคูลอมบ์ มีทิศในแนวระดับ
ดังรู ป ถ้ำทรงกลมมีประจุ 5 ไมโครคูลอมบ์ และ m
ถูกผลักจนเชือกทำมุม 37 องศำกับแนวดิ่งแล้ว มวล
ของทรงกลมจะมีค่ำเท่ำใดในหน่วยกรัม
22

13.6 ตัวเก็บประจุและความจุ
13.6.1 ตัวเก็บประจุ
29(En41 ต.ค.) ศักย์ไฟฟ้ำของตัวนำทรงกลมรัศมี 60 เซนติเมตร มีค่ำเท่ำกับ 3 x 105 โวลต์
ประจุไฟฟ้ำในข้อใดที่ตวั นำ ทรงกลมนี้สำมำรถเก็บได้
1. 12 C 2. 18 C 3. 20 C 4. 24 C

30. แผ่นโลหะขนานห่างกัน 0.1 เมตร ใช้ทาเป็ นตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุ 9 นาโนฟารัด


ถ้าสนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นโลหะมีค่า 3 นิวตัน/คูลอมบ์ อยากทราบว่าตัวเก็บประจุน้ ีมี
ประจุกี่คูลอมบ์
1. 2.7 x 10–4 2 . 2.7 x 10–6 3. 2.7 x 10–9 4. 2.7x10–11

31(มช 42) ตัวเก็บประจุ 16 ไมโครฟำรัด ต่อเข้ำกับควำมต่ำงศักย์ค่ำหนึ่ ง ทำให้มีพลังงำน


สะสมในตัวเก็บประจุ 0.5 จูล จงหำค่ำควำมต่ำงศักย์น้ ีในหน่วยของโวลต์
1. 220 2. 150 3. 250 4. 180

32(En 39) ตัวเก็บประจุ ( C ) มีประจุที่แผ่นบวกและลบ +qo และ –qo ตำมลำดับ หลังปิ ด


สวิตซ์ S ให้มีกระแสในวงจรดังรู ป จะเกิด S
ควำมร้อนใน R เท่ำไร
+qo
1. 0 2. qo C C R
2 2
3. 2  qCo  4. 12  qCo 
–qo

   

33(แนว Pat2) ตัวนำทรงกลมมีรัศมีเท่ำกับ R และมีประจุเท่ำกับ Q พลังงำนสะสมในตัวเก็บ


ประจุตวั นำทรงกลมเท่ำกับ Eo ถ้ำประจุบนตัวนำเพิ่มขึ้นเป็ น 3Q พลังงำนสะสมในตัวเก็บ
ประจุน้ ีมีค่ำเท่ำใด
1. 0.5 Eo 2. 3 Eo 3. 4 Eo 4. 9 Eo
23

34(En 39) จงเลื อกกรำฟแสดงควำมสัมพันธ์ ระหว่ำงพลังงำนสะสม (U) ในตัวเก็บประจุ กบั


ควำมต่ำงศักย์ (V) ที่ต่อกับตัวเก็บประจุ
U
1. U 2.

V V
3. V 4. V

U U

13.6.2 การต่ อตัวเก็บประจุ

35(En41 เม.ย.) จำกรู ปจงหำประจุไฟฟ้ำในตัวเก็บ


ประจุ 8.00 x 10–12 ฟำรัด 8.00 x 10–12 F 12.0 x 10–12 F
1. 2.00 x 10–13 C
2. 8.00 x 10–13 C
3. 1.15 x 10–10 C + –
24.0 V
4. 4.80 x 10–10 C

36(En45 มี.ค.) ตัวเก็บประจุสองตัว 1 ไมโครฟำรัด


และ 3 ไมโครฟำรัด ต่ออยูก่ บั ควำมต่ำงศักย์ 12 1 F 3 F
โวลต์ ดังรู ป จงคำนวณหำประจุที่อยูใ่ นตัวเก็บ
ประจุ 1 ไมโครฟำรัด
1. 12 C 2. 9 C
Vรวม = 12 V
3. 4 C 4. 3 C
37(En46 ต.ค) วงจรกระแสตรงประกอบด้วยตัวเก็บประจุ A และ B มีควำมจุ C และ 4C
ตำมลำดับ ต่ออนุกรมกันและต่อกับควำมต่ำงศักย์ V จงหำศักย์ไฟฟ้ำตกคร่ อมตัวเก็บประจุ A
1. 14 V 2. 43 V 3. 15 V 4. 45 V
24

38(แนว Pat2) ภำพวงจรไฟฟ้ำ กำหนดให้ C2 = 2 C0 จงหำพลังงำนในตัวเก็บประจุ C0 และ


C2 ตำมลำดับ C0 C2
1. 23 C0V2 , 12 C0V2
2. 13 C0V2 , 23 C0V2
3. 29 C0V2 , 19 C0V2
4. 12 C0V2 , C0V2 V

39(แนว Pat2) ตัวเก็บประจุสองตัวขนาด 2 ไมโครฟารัด และ 3 ไมโครฟารัดต่ออนุ กรมกัน


และต่อเข้ากับแหล่งกาเนิ ดไฟฟ้ ากระแสตรง ณ ขณะที่ตวั เก็บประจุขนาด 2 ไมโครฟารัด
มีพลังงาน 2 ไมโครจูล ตัวเก็บประจุอีกตัวหนึ่งมีพลังงานกี่ไมโครจูล
1. 0.75 2. 1.33 3. 1.50 4. 3.00
40(แนว A–net) จำกรู ปถ้ำตัวเก็บประจุ A มีประจุ 2 ไมโคร- A 1 F
คูลอมบ์ จงหำพลังงำนไฟฟ้ำสะสมในตัวเก็บประจุ B
1. 2 x 10–6 J 2. 3 x 10–6 J
B 3 F
3. 4 x 10–6 J 4. 6 x 10–6 J

41(แนว A-net) หลังสับสวิทซ์ SW ลงแล้ว ควำม A


ต่ำงศักย์ระหว่ำงจุด A กับ B มีค่ำเท่ำใด SW
q q + qo
1. 13 C0 2. 12 C0 C 2C
q q – qo
3. 23 C0 4. C0
B
42(En 36) ตัวเก็บประจุขนำด 50 ไมโครฟำรัด อันหนึ่ งมีควำมต่ำงศักย์ 16 โวลต์ เมื่อนำมำ
ต่อขนำนกับตัวเก็บประจุขนำด 30 ไมโครฟำรัด ซึ่ งแต่เดิ มไม่มีประจุอยู่เลย จงหำควำม
ต่ำงศักย์ของตัวเก็บประจุ 30 ไมโครฟำรัดนี้ ( ตอบในหน่วยโวลต์ )
25

43(แนว 9 สามัญ) หลังจากสับสวิทซ์ SW ลงทั้งคู่แล้ว พลังงานศักย์ไฟฟ้ าของระบบลดลงไป


จากเดิมเป็ นปริ มาณเท่าใด
C q2 C q2 SW
1. 2 2o 2. 1 2o
2 C1 2 C2 +qo
Cq 2 Cq 2
3. 2 (C 2 Co ) C 4. 2 (C 2Co ) C –qo C1 C2
1 2 1 1 2 2
2 SW
5. 2 (C qo C )
1 2
44(En44 มี.ค.) วงจรไฟฟ้ำประกอบด้วยตัวเก็บประจุสำม
ตัวต่ออยูก่ บั ควำมต่ำงศักย์ 12 โวลต์ ดังรู ป จงคำ 3 F 6 F
นวณหำขนำดของควำมต่ำงศักย์ที่คร่ อมตัวเก็บประจุ
2 F
3 ไมโครฟำรัด และ 6 ไมโครฟำรัด ตำมลำดับ
1. 12 V และ 12 V 2. 6 V และ 6 V
12V
3. 4 V และ 8 V 4. 8 V และ 4 V

13.6.3 การถ่ ายโอนประจุระหว่ างทรงกลมตัวนา


45(En 36) ตัวนำรู ปทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็ น r และ 2r ตำมลำดับ ถ้ำ
ตัวนำ A มีประจุ Q และตัวนำ B มีประจุ –2Q เมื่อเอำมำแตะกันแล้วแยกออก จงหำ
ประจุของ ตัวนำ A
1. –Q 2.  Q2 3.  2Q
3 4.  Q3
46(แนว Pat2) ตัวนำทรงกลม A มีรัศมี 12 เซนติเมตร และมีประจุไฟฟ้ำขนำด 360 ไมโครคู -
ลอมบ์ ตัวนำทรงกลม B มีรัศมี 3 เซนติเมตร แต่ยงั ไม่มีประจุไฟฟ้ ำเมื่อนำ A มำแตะ B
แล้วแยกห่ำงจำกกัน 200 เซนติเมตร แรงไฟฟ้ำที่ A กระทำต่อ B มีค่ำกี่นิวตัน
( ไม่ตอ้ งคิดแรงดึงดูดระหว่ำงมวลของตัวนำทั้งสอง )
( ให้ K = 9 x 109 นิวตัน.เมตร2 ต่อคูลอมบ์2 )
26

47(แนว Pat2) ทรงกลมตัวนำ x , y และ z ที่มีประจุสุทธิ x y z


เป็ นศูนย์ วำงติดกันบนขำตั้งที่เป็ นฉนวนไฟฟ้ำดังรู ป
เมื่อนำแท่งวัตถุที่มีประจุบวกมำวำงใกล้กบั ทรงกลม x
แต่ไม่แตะ ข้อใดแสดงสิ่ งที่เกิดขึ้นได้ถูกต้อง

1. x y z 2. x y z
+ +
+ + – + – + – + – + – + – +
+ + – + – + – + – + – + – +
+ +
+ +

(1) (2)
3. + x y z 4. + x y z
+ + + + – – – + – – – + + +
+ + + + – – – + – – – + + +
+ +
+ +

(3) (4)

48(แนว Pat2) เมื่อนำแท่งพีวซี ี ถูกบั ผ้ำสักหลำดแล้วนำไปจ่อใกล้ๆ กระดำษชิ้นเล็กๆ ข้อใดถูก

1. 2. 3. 4.
27

49(แนว Pat2) ข้อใดเรี ยงลำดับกำรทำให้อิเลกโทรสโคปที่เป็ นกลำงกลำยเป็ นมีประจุสะสมเป็ น


บวก ได้ถูกต้อง
ก. นำสำยดินต่อเข้ำกับอิเล็กโทรสโคป
ข. นำสำยดินออกจำกอิเล็กโทรสโคป
ค. นำวัตถุมีประจุลบมำเข้ำใกล้อิเล็กโทรสโคป
ง. นำวัตถุมีประจุลบออกจำกอิเล็กโทรสโคป
1. ค ก ง ข 2. ค ก ข ง 3. ก ค ข ง
3. ก ค ง ข 5. ก ข ค ง


28

เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย


บทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต ชุ ด ที่ 2
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบ 6 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบ 9000 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบ 500 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบ 4 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบ 1000 24. ตอบ 128
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบ 0.4
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 4.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 2.
38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 4. 41. ตอบข้ อ 1.
42. ตอบ 10 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 4. 45. ตอบข้ อ 4.
46. ตอบ 46.66 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 3. 49. ตอบข้ อ 2.



You might also like