You are on page 1of 16

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม

เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 1

ศักย์ไฟฟ้า

ศักย์ไฟฟ้า หมายถึง ระดับไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์


- ศักย์ไฟฟ้าเป็นปริมาณสเกลาร์ (ไม่มีทิศทาง) อาจมีค่าเป็นบวก ลบ หรือศูนย์ก็ได้
* รอบประจุบวก ศักย์ไฟฟ้ามีค่าเป็นบวก
* รอบประจุลบ ศักย์ไฟฟ้ามีค่าเป็นลบ
* พื้นดินและตาแหน่งระยะอนันต์ (ไกลจากประจุมากๆ) ศักย์ไฟฟ้ามีค่าเป็นศูนย์
- เมื่อปล่อยให้ประจุเคลื่อนที่อิสระในสนามไฟฟ้า
* ประจุบวกจะเคลื่อนที่จากศักย์สูงไปยังศักย์ต่า
* ประจุลบจะเคลื่อนที่จากศักย์ต่าไปยังศักย์สูง
1. ศักย์ไฟฟ้าของจุดประจุ
ให้ Q คือ ประจุไฟฟ้า หน่วย คูลอมบ์ (C)
r คือ ระยะห่างจากจุดประจุ หน่วย เมตร (m)
V คือ ศักย์ไฟฟ้าที่ระยะห่าง r หน่วย โวลต์ (V)
ศักย์ไฟฟ้าของจุดประจุ หาได้ดังนี้
kQ
V =
r
ศักย์ไฟฟ้าที่ระยะห่าง r จากจุดประจุมีค่าเท่ากับงานในการเลื่อนประจุทดสอบ +1 คูลอมบ์จาก
ระยะอนันต์มายังตาแหน่งนั้น
2. ศักย์ไฟฟ้าของตัวนาทรงกลมที่มีประจุไฟฟ้าบนผิวนอก
ตั ว น าทรงกลมประจุ ไ ฟฟ้ า บนผิ ว นอก ศั ก ย์ ไ ฟฟ้า V ที่ ต าแหน่ ง ภายในทรงกลมมี ค่ า เท่ ากับ
ศักย์ไฟฟ้าบนผิวนอกและจะลดลงเมื่อห่างออกจากตัวนา
ให้ Q คือ ประจุไฟฟ้าที่ผิวตัวนาทรงกลม หน่วย คูลอมบ์ (C)
r คือ ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของตัวนาทรงกลม หน่วย เมตร (m)
R คือ รัศมีของตัวนาทรงกลม หน่วย เมตร (m)
V คือ ศักย์ไฟฟ้า หน่วย โวลต์ (V)
- ศักย์ไฟฟ้าที่ตาแหน่งภายในและที่ผิวของตัวนาทรงกลม หาได้ดังนี้
kQ
V =
R
- ศักย์ไฟฟ้าที่ตาแหน่งภายนอกของตัวนาทรงกลม หาได้ดังนี้
kQ
V =
r

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 2

 ตัวอย่างการคานวณศักย์ไฟฟ้า

ตัวอย่าง 1 ตัวนาทรงกลมกลวงมีประจุไฟฟ้า +Q กระจายสม่าเสมออยู่บนผิวนอก ถ้า R คือรัศมีผิวนอก


และ r คือรัศมีผิวใน จงหา
ก. ศักย์ไฟฟ้าที่ตาแหน่งผิวนอกทรงกลม
ข. ศักย์ไฟฟ้าที่ตาแหน่งผิวในทรงกลม
ค. ศักย์ไฟฟ้าที่จุดศุนย์กลางทรงกลม

ตัวอย่าง 2 ตัวนาทรงกลมรัศมี 0.3 เมตร บนผิวนอกมีประจุไฟฟ้า +2 10−6 คูลอมบ์ จงห่าศักย์ไฟฟ้านี้ที่จุด


ศูนย์กลางทรงกลมนี้ในหน่วยโวลต์

ตัวอย่าง 3 ตัวนาทรงกลมอันหนึ่งมีประจุไฟฟ้ากระจายอยู่บนผิวนอก โดยทรงกลมมีรัศมี R ถ้าบนผิวนอก


ทรงกลมมีสนามไฟฟ้าเท่ากับ E จงหาศักย์ไฟฟ้าที่ผิวนอกทรงกลมนี้

ตัวอย่าง 4 ตัวนาทรงกลมอันหนึ่งมีประจุไฟฟ้ากระจายอยู่บนผิวนอก โดยทรงกลมมีรัศมี R บนผิวนอกทรง


กลมมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ V จงหาสนามไฟฟ้าบนผิวนอกทรงกลม

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 3

ตัวอย่าง 5 จุดประจุ +2 ไมโครคูลอมบ์ ให้สนามไฟฟ้าออกมาโดยรอบ จงหาศักย์ไฟฟ้าที่ระยะห่างจากจุด


ประจุ 10 เซนติเมตร

ตัวอย่าง 6 จุดประจุอันหนึ่งให้สนามไฟฟ้าออกมาโดยรอบ โดยที่ระยะห่างจากจุดประจุ 20 เซนติเมตร มี


ศักย์ไฟฟ้า 5 โวลต์ จงหาศักย์ไฟฟ้าที่ระยะห่างจากจุดประจุ 10 เซนติเมตร

ตัวอย่าง 7 ถ้าระยะห่างจากจุดประจุอันหนึ่งเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของเดิม ศักย์ไฟฟ้ าในครั้งหลังจะเป็นกี่เท่า


ของครั้งแรก

ตัวอย่าง 8 A, B และ C เป็นจุดประจุวางห่างกันดังรูป จงหาศักย์ไฟฟ้ารวมบนตาแหน่ง A


+1 C -2 C +4 C

A B C
10 c m 10 c m

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 4

ตัวอย่าง 9 A, B และ C เป็นจุดประจุวางห่างกันดังรูป จงหาศักย์ไฟฟ้ารวมบนตาแหน่ง B


+1 C -2 C +4 C

A B C
10 c m 10 c m

ตัวอย่าง 10 A, B และ C เป็นจุดประจุวางห่างกันเป็นระยะ a ดังรูป จงหาศักย์ไฟฟ้ารวมบนตาแหน่ง A


+Q -Q +Q

A B C
a a

ตัวอย่าง 11 A, B และ C เป็นจุดประจุวางห่างกันเป็นระยะ a ดังรูป จงหาศักย์ไฟฟ้ารวมบนตาแหน่ง B


+Q -Q +Q

A B C
a a

ตัวอย่าง 12 ประจุ -q, +2q และ +Q วางห่างกันเป็นระยะ a และ 2a ดังรูป ถ้าศักย์ไฟฟ้ารวมบนตาแหน่ง


ประจุ +2q มีค่าเป็นศูนย์ จงหาว่าประจุ Q เป็นกี่เท่าของประจุ q
-q +2q +Q

a 2a

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 5

ตัวอย่าง 13 A, B และ C เป็นจุดประจุวางห่างกันเป็นระยะ a ดังรูป จงหาศักย์ไฟฟ้ารวมบนตาแหน่ง B


+Q
A

B C
a
+Q +Q

ตัวอย่าง 14 A, B และ C เป็นจุดประจุวางห่างกันเป็นระยะ a ดังรูป จงหาศักย์ไฟฟ้ารวมบนตาแหน่ง B


+Q
B

a a

+Q A C +Q
a

ตัวอย่าง 15 จุดประจุ A, B, C และ D วางห่างกันเป็นระยะ a ดังรูป จงหาศักย์ไฟฟ้ารวมบนตาแหน่ง A


+Q +Q
a
A D

a a

B C
a
+Q +Q

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 6

ตัวอย่าง 16 จุดประจุ +1 และ -4 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างกัน 10 เซนติเมตร ตาแหน่งที่ศักย์ไฟฟ้ารวมเป็น


ศูนย์ระหว่างจุดประจุทั้งสองอยู่ห่างจากจุดประจุ +1 ไมโครคูลอมบ์เป็นระยะเท่าใด

ตัวอย่าง 17 จุดประจุ +Q และ -2Q วางห่างกันเป็นระยะ a ตาแหน่งที่ศักย์ไฟฟ้ารวมเป็นศูนย์ระหว่างจุด


ประจุทั้งสองอยู่ห่างจากจุดประจุ +Q เป็นระยะเท่าใด

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 7

ความต่างศักย์ไฟฟ้า

ความต่างศักย์ไฟฟ้า หมายถึง ผลต่างของระดับไฟฟ้าระหว่างสองตาแหน่ง มีหน่วยเป็นโวลต์


ความต่างศักย์เป็นปริมาณสเกลาร์ (ไม่มีทิศทาง) อาจมีค่าป็นบวก ลบ หรือศูนย์ก็ได้ ขึ้นอยู่กับต่าง
ของศักย์ไฟฟ้าระหว่างสองตาแหน่ง
1. ความต่างศักย์ไฟฟ้าของจุดประจุ
ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างสองตาแหน่ง ใดๆ มีค่าเท่ากับผลต่างของศักย์ไ ฟฟ้าระหว่างสอง
ตาแหน่งนั้น (หรือมีค่าเท่ากับงานในการเลื่อนประจุทดสอบ +1 คูลอมบ์ระหว่างสองตาแหน่งนั้น)
V1
r1

Q V2
r2
ความต่างศักย์ไฟฟ้าของจุดประจุระหว่างตาแหน่งที่ 1 และตาแหน่งที่ 2 หาได้ดังนี้
V12 = V − V 1 2

kQ kQ
แทนค่า V12 = −
r1 r2
1 1
หรือ V12 = kQ  − 
 r1 r2 
2. ความต่างศักย์ไฟฟ้าของแผ่นตัวนาคู่ขนานที่มีประจุไฟฟ้า

ให้ V คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้า หน่วย โวลต์ (V)


d คือ ระยะห่างของแผ่นตัวนา หน่วย เมตร (m)
E คือ สนามไฟฟ้า หน่วย นิวตัน/คูลอมบ์ (N/C) หรือ โวลต์/เมตร (V/m)
ความต่างศักย์ไฟฟ้าของแผ่นตัวนาขนาน หาได้ดังนี้
V = Ed

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 8

 ตัวอย่างการคานวณความต่างศักย์ไฟฟ้า

ตัวอย่าง 1 จุดประจุ +2 ไมโครคูลอมบ์ ให้สนามไฟฟ้าออกมาโดยรอบ ถ้าตาแหน่ง A และ B อยู่ห่างจากจุด


ประจุเป็นระยะ 20 และ 10 เซนติเมตร ตามลาดับ จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างตาแหน่ง A
และ B

ตัวอย่าง 2 จุดประจุ -4 ไมโครคูลอมบ์ ให้สนามไฟฟ้าออกมาโดยรอบ ถ้าตาแหน่ง A และ B อยู่ห่างจ่ากจุด


ประจุเป็นระยะ 20 และ 10 เซนติเมตร ตามลาดับ จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างตาแหน่ง
A และ B

ตัวอย่าง 3 A, B และ C เป็นจุดประจุว างห่ างกัน เป็นระยะ a ดัง รูป จงหาความต่ างศักย์ไ ฟฟ้ าระหว่ า ง
ตาแหน่ง A กับ B
+Q +Q +Q

A B C
a a

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 9

ตัวอย่าง 4 A, B และ C เป็นจุดประจุว างห่ างกัน เป็นระยะ a ดัง รูป จงหาความต่ างศักย์ไ ฟฟ้ าระหว่ า ง
ตาแหน่ง A กับ B
-Q -Q -Q

A B C
a a

ตัวอย่าง 5 A, B และ C เป็นตาแหน่งในสนามไฟฟ้าสม่าเสมอขนาด E ดัง รูป จงหาความต่างศักย์ไ ฟฟ้า


ระหว่างตาแหน่ง A กับ C
E = 200 N /C

C
5 cm
3 cm
A B
4 cm

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 10

งานในการนาประจุ

งานในการนาประจุ หมายถึง งานของแรงภายนอกที่ทาให้ประจุทดสอบเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัว


ในสนามไฟฟ้าระหว่างสองตาแหน่งที่มีศักย์ไฟฟ้าต่างกัน
งานในการนาประจุอาจมีค่าเป็นบวก ลบ หรือศูนย์ก็ได้ ขึ้นอยู่กับว่าประจุทดสอบที่ถูกแรงภายนอก
ทาให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัวในสนามไฟฟ้าเป็นประจุบวกหรือประจุลบ และเคลื่อนที่จากศักย์สูงไปศักย์ต่า
หรือศักย์ต่าไปศักย์สูง
งานในการนาประจุไม่ขึ้นกับเส้นทาง กล่าวคือ แรงภายนอกอาจทาให้ประจุทดสอบเคลื่อนที่แนว
ตรงหรือโค้งก็ได้ งานที่ใช้หรือได้จากการเคลื่อนที่ของประจุมีค่าเท่ากัน
งานในการนาประจุมีค่าเท่ากับผลคูณของประจุทดสอบที่เคลื่อนที่กับความต่างศักย์ระหว่างสอง
ตาแหน่ง
ให้ W12 คือ งานในการนาประจุทดสอบจากตาแหน่ง 1 ไปยังตาแหน่ง 2 หน่วย จูล (J)
q คือ ประจุทดสอบ หน่วย คูลอมบ์ (C)
V21 คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างตาแหน่ง 2 กับตาแหน่ง 1
งานในการนาประจุจากตาแหน่ง 1 ไปยังตาแหน่ง 2 หาได้ดังนี้
W12 = qV21

 ตัวอย่างการคานวณงานในการนาประจุ

ตัวอย่าง 1 จงหางานในการนาประจุทดสอบ +q จากระยะอนันต์ไปยังตาแหน่งในสนามไฟฟ้าที่มีศักย์ไฟฟ้า


เท่ากับ +V

ตัวอย่าง 2 จงหางานในการนาประจุทดสอบ -q จากตาแหน่งที่มีศักย์ไฟฟ้า +V ไปยังตาแหน่งที่มีศักย์ไฟฟ้า


+2V

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 11

ตัวอย่าง 3 ในการนาประจุทดสอบ +5 10−4 ูลอมบ์ คุ จากระยะอนันต์มายังจุดหนึ่งในสนามไฟฟ้าต้องใช้


งาน 5 10−2 จูล จงหาว่าจุดนั้นมีศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์

ตัวอย่าง 4 จุดประจุ -Q ให้สนามไฟฟ้าออกมาโดยรอบ ถ้าเลื่อนประจุทดสอบ +q จากระยะอนันต์มายัง


ตาแหน่งที่อยู่ห่างจากจุดประจุเป็นระยะ a งานในการนาประจุเป็นเท่าใด

ตัวอย่าง 5 จุดประจุ +Q ให้สนามไฟฟ้าออกมาโดยรอบ โดยมีตาแหน่ง A และ B อยู่ห่างจากจุดประจุเป็น


ระยะ r และ 2r ตามลาดับ จงหางานในการนาประจุทดสอบ +q จากตาแหน่ง B ไปยังตาแหน่ง
A

ตัวอย่าง 6 จุดประจุ +5 ไมโครคูลอมบ์ ให้สนามไฟฟ้าออกมาโดยรอบ ถ้าเลื่อนอิเล็กตรอนจากระยะอนันต์


มายังตาแหน่งที่ห่างจากจุดประจุเป็นระยะ 16 เซนติเมตร จงหางานในการนาประจุอิเล็กตรอน

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 12

ตัวอย่าง 7 A และ B เป็นตาแหน่งที่อยู่ห่างจากจุดประจุ +5 10−6 คูลอมบ์ เป็นระยะทาง 2 และ 5 เมตร


ตามลาดับ ถ้าต้องการเลื่อนประจุทดสอบ +1 คูลอมบ์ จาก B ไป A จะต้องใช้งานเท่าใดในหน่วย
กิโลจูล

ตัวอย่าง 8 ตาแหน่ง A และ B อยู่ห่างกันเป็นระยะ d ในสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ E ดังรูป จงหางานในการนา


ประจุทดสอบ +q จาก B ไป A
E

A B
d

ตัวอย่าง 9 A และ B เป็นตาแหน่งในสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ E โดยมี d1, d2 และ d3 เป็นระยะห่าง ดังรูป จง


หางานในการนาประจุ +q จาก B ไปยัง A
A

d3
d2
E
B

d1

ตัวอย่าง 10 ถ้าเลื่อนประจุ -1 ไมโครคูลอมบ์ ไปตามเส้นทาง ABC ดังรูป จะต้องใช้งานกี่จูล


E = 500 N /C
A
5 cm
B
37 C
10 c m

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 13

ตัวอย่าง 11 ในการเกิดฟ้าผ่าครั้งหนึ่ง พบว่ามีประจุถ่ายเทระหว่างก้อนเมฆกับพื้นดิน 50 คูลอมบ์ และความ


ต่างศักย์ระหว่างก้อนเมฆกับพื้นดินมีค่า 8 106 โวลต์ จงหาพลังงานที่เกิดขึ้นเนื่องจากฟ้าผ่าครั้ง
นี้

ตัวอย่าง 12 เมื่อเลื่อนประจุ +10 ไมโครคูลอมบ์จากระยะอนันต์มาที่ต าแหน่ง A และ B ในสนามไฟฟ้ า


สม่าเสมอ ต้องทางาน 80 จูล และ 50 จูล ตามลาดับ ถ้าตาแหน่ง A และ B อยู่ห่างกัน 0.3 เมตร
จงหาขนาดสนามไฟฟ้าในหน่วยนิวตัน/คูลอมบ์

ตัวอย่าง 13 จงหางานในการนาประจุ 3 จุดประจุ โดยแต่ละจุดประจุมีขนาด +Q จากระยะอนันต์มาไว้ที่


ตาแหน่ง A, B และ C ซึ่งเป็นมุมของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ายาวด้านละ a

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 14

พลังงานศักย์ไฟฟ้ากับพลังงานจลน์

พลังงานศักย์ไฟฟ้า หมายถึง พลังงานไฟฟ้าของอนุภาคที่มีประจุเมื่อยู่ในสนามไฟฟ้า


เมื่อปล่อยให้อนุภาคมีประจุเคลื่อนที่อิสระระหว่างสองตาแหน่งในสานามไฟฟ้าพลังงานศักย์ไฟฟ้า
จะเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานจลน์ โดยพลังงานศักย์ไฟฟ้าของอนุภาคมีประจุจะลดลงและพลังงานจลน์ของอนุภาค
มีประจุจะเพิ่มขึ้น ตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน
พลังงานศักย์ไฟฟ้าที่ลดลงมีค่าเท่ากับประจุคูณความต่างศักย์ไฟฟ้า
E = qV
p

พลังงานจลน์ที่เพิ่มขึ้นมีค่าเท่ากับผลต่างของพลังงานจลน์สุดท้ายกับพลังงานจลน์เริ่มต้น
1 2 1 2
E k = mv − mu
2 2
เมื่อพลังงานศักย์ไฟฟ้าเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานจลน์ ตามกฎการอนุรักษ์พลังงานจะได้ว่า “พลังงานศักย์ไฟฟ้าที่
ลดลงมีค่าเท่ากับพลังงานจลน์ที่เพิ่มขึ้น”
1 2 1 2
qV = mv − mu
2 2
ถ้าอัตราเร็วเริ่มต้น เท่ ากั บ ศูนย์จะได้ว่ า “พลัง งานศักย์ไ ฟฟ้าที่ลดลงมี ค่ าเท่ ากับพลัง งานจลน์ สุด ท้ า ยหรื อ
พลังงานจลน์สูงสุด”
1 2
qV = mv
2

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 15

 ตัวอย่างการคานวณพลังงานศักย์ไฟฟ้ากับพลังงานจลน์

ตัวอย่าง 1 อนุภาคมวล m มีประจุ +q ถูกเร่งจากสภาพหยุดนิ่งจากแผ่นบวกไปหาแผ่นลบซึ่งมีความต่าง


ศักย์ V จงหาพลังงานจลน์สูงสุดของอนุภาคนี้

ตัวอย่าง 2 อนุภาคมวล m มีประจุ +q ถูกเร่งจากสภาพหยุดนิ่งจากแผ่นบวกไปหาแผ่นลบซึ่งมีความต่าง


ศักย์เท่ากับ V จงหาอัตราเร็วสูงสุดของอนุภาคนี้

ตัวอย่าง 3 อิเล็กตรอนมวล m ประจุ e เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งจากแผ่นลบไปยังแผ่นบวกซึ่งมีสนามไฟฟ้า E


และวางห่างกันเท่ากับ d จงหาพลังงานจลน์สูงสุดของอิเล็กตรอน

ตัวอย่าง 4 อิเล็กตรอนมวล m ประจุ e เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งจากแผ่นลบไปยังแผ่นบวกซึ่งมีสนามไฟฟ้า E


และวางห่างกันเท่ากับ d จงหาอัตราเร็วสูงสุดของอิเล็กตรอน

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 16

ตัวอย่าง 5 ถ้าต้องการเร่งอนุภาคมวล 2 10−10 กิโลกรัม ที่มีประจุ 110 คูลอมบ์ จากสภาพหยุดนิ่งให้มี


−9

อัตราเร็ว 100 เมตร/วินาที จะต้องใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์

ตัวอย่าง 6 แผ่นโลหะขนานต่ออยู่กับความต่างศักย์ไฟฟ้า 500 โวลต์ อิเล็กตรอนที่หลุดจากขั้วลบเมื่อวิ่งไป


ถึงขั้วบวกจะมีพลังงานจลน์กี่จูล

ตัวอย่าง 7 แผ่นโลหะขนานต่อกับความต่างศักย์ไฟฟ้า 180 โวลต์ อิเล็กตรอนที่หลุดจากขั้วลบเมื่อวิ่งไปถึง


ขั้วบวกจะมีความเร็วกี่เมตร/วินาที

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล

You might also like